Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4

แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4

Published by NITTIKA NUANHOM, 2019-09-16 12:02:13

Description: แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ 4

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๔ สหกรณ์และเศรษฐกิจชุมชน ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๕ รายวชิ าสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม รหัสวชิ า ส ๓๒๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จัดทาโดย นางสาวณัฐธิกา นวลหอม นักศึกษาฝึกประสบการณว์ ิชาชีพครู โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๑ ตาบลช่างเคิ่ง อาเภอแมแ่ จม่ จงั หวัดเชยี งใหม่ สานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานกั งานการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๕ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๔ สหกรณแ์ ละเศรษฐกิจชุมชน เร่อื ง ววิ ฒั นาการของระบบสหกรณ์ ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ เวลาเรียน ๒ ช่วั โมง/สัปดาห์ หน่วยกิต ๑ (นน./นก.) ผสู้ อน นางสาวณัฐธิกา นวลหอม โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ เวลา ๒ ชัว่ โมง ๑. สาระสาคัญ สหกรณ์เป็นองค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ตามหลักการ ประชาธิปไตย เพือ่ ใหป้ ระชาชนในท้องถิน่ รว่ มมอื กนั แก้ไขปญั หาเศรษฐกิจในชุมชนด้วยความสมัครใจ และแบ่งผลประโยชนอ์ ย่างยุติธรรม จงึ เปน็ องคก์ รท่ีมีประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจไทย เป็นแบบ แผนในการพฒั นาชนบท พฒั นาชุมชน และชว่ ยเหลือผู้เดอื ดรอ้ นทางเศรษฐกจิ ไดเ้ ปน็ อย่างมาก ๒. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชีว้ ัดช้นั ป/ี ผลการเรียนรู/้ เป้าหมายการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ ทรพั ยากรที่มีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่ารวมท้ังเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพอื่ การดารงชีวิตอยา่ งมีดลุ ยภาพ ตัวชว้ี ัดช้นั ป/ี ผลการเรียนรู้ ส ๓.๑ ม.๔-๖/๓ ตระหนักถงึ ความสาคญั ของระบบสหกรณ์ในการพฒั นาเศรษฐกิจในระดบั ชมุ ชนและประเทศ ๓. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๓.๑ ดา้ นความรู้ : Knowledge - อธบิ ายความหมาย ความสาคญั และหลักการของระบบสหกรณ์ - อธิบายวิวฒั นาการของสหกรณ์ และประเภทของสหกรณ์ได้ ๓.๒ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ : Process สบื คน้ อภปิ รายและนาเสนอขอ้ มูลเกีย่ วกับหลักการสหกรณ์ในประเทศไทยได้ ๓.๓ ดา้ นคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ : Attitude มีความมุ่งม่ันในการทางาน และมีทัศนคติท่ีดีต่อการศึกษารายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและ วฒั นธรรม

๔. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๕. คุณลกั ษณะของวชิ า - ความรบั ผิดชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกลมุ่ ๖. ช้ินงาน/ภาระงาน ๖.๑ ชิน้ งาน ๑) ใบกจิ กรรมที่ ๔.๑ ความหมายและวิวัฒนาการของระบบสหกรณ์ ๖.๒ ภาระงาน ๑) นักเรยี นทากิจกรรมกลุ่ม ๒) นักเรียนนาเสนอ ๗. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชวั่ โมงที่ 1 เรอ่ื ง วิวฒั นาการของสหกรณ์ในประเทศไทย นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ เรื่องสหกรณ์และเศรษฐกิจชุมชน จานวน ๑๐ ข้อ ๑๐ คะแนน ขนั้ นาเขา้ สูบ่ ทเรียน ๑. ครูกล่าวทักทายนักเรียน พร้อมท้ังแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ จากนั้นครู สอบถามนักเรียนว่านกั เรยี นรู้จกั หรือเคยเป็นสมาชกิ สหกรณ์อะไรบ้าง ๒. ครอู ธบิ ายคาตอบนกั เรยี นเพ่ือเชอ่ื มโยงเขา้ สเู่ น้อื หา ขน้ั สอน ๓. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น ๕ กลุ่ม ตามความสมัครใจ จากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกัน ศึกษาความหมาย ความสาคัญและวิวัฒนาการของระบบสหกรณ์ จากหนังสือเรียนหนังสือเพ่ิมเติม หอ้ งสมดุ และแหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ ๔. นกั เรยี นชว่ ยกันทาใบกจิ กรรมท่ี ๔.๑ ความหมายและวิวัฒนาการของระบบสหกรณ์ จากนั้นให้ นักเรียนสรปุ ความรทู้ ไ่ี ดร้ บั ลงในกระดาษชารท์ ท่คี รแู จกให้ โดยหัวข้อท่ีนักเรยี นต้องศกึ ษามดี ังนี้ - ความหมายของสหกรณ์ - ลกั ษณะสาคัญของสหกรณ์ - หลกั การของสหกรณ์ - วิวฒั นาการของสหกรณใ์ นประเทศไทย ๕. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มส่งตวั แทนออกมานาเสนอผลงานของกลุ่มตัวเองหน้าชั้นเรียน โดยให้กลุ่มที่ นาเสนอตั้งคาถามกลุม่ ละ ๓ คาถาม แลว้ ใหก้ ลุม่ ทเี่ หลอื ตอบ

ข้ันสรุป ๖. ครูและนักเรียนช่วยกนั สรปุ ความหมายและววิ ฒั นาการของระบบสหกรณ์ จากนัน้ ครูเปิดโอกาส ใหน้ ักเรียนซกั ถามในประเด็นท่นี ักเรียนสงสยั หรอื ไมเ่ ขา้ ใจ ๘. สือ่ การเรยี นการสอน / แหล่งเรียนรู้ ๘.๑ ส่ือการเรยี นการสอน ๑) แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ ๔ เร่ืองสหกรณ์และเศรษฐกจิ ชุมชน จานวน ๑๐ ข้อ ๑๐ คะแนน ๒) หนงั สอื เรยี น เศรษฐศาสตร์ ม.๕ ๓) หนังสือเพ่ิมเติม ๔) ใบกิจกรรมที่ ๔.๑ ความหมายและวิวัฒนาการของระบบสหกรณ์ ๘.๒ แหลง่ เรยี นรู้ ๑) หอ้ งสมดุ ๒) แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ - http://webhost.cpd.go.th/rlo/knowledge.html ๙. การวัดผลและประเมินผล วธิ ีการ เครอื่ งมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ย แบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการ ประเมนิ ตามสภาพจรงิ การเรยี นรทู้ ี่ ๔ เรียนรู้ที่ ๔ ตรวจใบกิจกรรมท่ี ๔.๑ ใบกิจกรรมท่ี ๔.๑ ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ ประเมนิ การนาเสนอผลงาน แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์ สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ สงั เกตความสามารถในการใช้ แบบประเมินสมรรถนะสาคญั ของ ระดับคณุ ภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ เทคโนโลยี นักเรยี น สังเกตความมงุ่ มัน่ ในการทางาน แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ ประสงค์

๑๐. จุดเนน้ ของโรงเรียน การบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาเศรษฐกจิ ครู ผเู้ รียน พอเพยี ง พอดดี า้ นเทคโนโลยี พอดดี ้านจิตใจ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล รู้จักใช้เทคโนโลยีมาผลิตสื่อท่ีเหมาะสม มี จิ ต ส า นึ ก ท่ี ดี เ อื้ อ อ า ท ร มีภมู คิ มุ้ กันในตัวทด่ี ี และสอดคล้องเนื้อหาเป็นประโยชน์ต่อ ประนีประนอม นึกถึงประโยชน์ เง่ือนไขความรู้ ผู้เรียนและพัฒนาจากภูมปิ ญั ญาของผเู้ รียน สว่ นรวม/กลุ่ม เงอ่ื นไขคุณธรรม - ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความ ไม่หยุดนิ่งท่ีหาหนทางในชีวิต ถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาด หลุดพ้นจากความทุกข์ยาก (การ แคลน ในการดารงชีวิต ค้นหาคาตอบเพื่อให้หลุดพ้นจาก - ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลด เลิก ส่ิง ความไมร่ ้)ู ย่ัวกิเลสให้หมดส้ินไป ไม่ก่อความช่ัวให้เป็น เคร่ืองทาลายตัวเอง ทาลายผู้อ่ืน พยายาม เพิ่มพูนรักษาความดี ที่มีอยู่ให้งอกงาม สมบรู ณ์ยงิ่ ขนึ้ ภูมปิ ัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ ระมดั ระวัง และระมดั ระวงั สรา้ งสรรค์ ภูมธิ รรม : ซื่อสัตย์ สุจริต ขยนั อดทน ภูมิธรรม : ซ่ือสัตย์ สุจริต ขยัน ตรงต่อเวลาและแบง่ ปัน อดทน ตรงต่อเวลา เสียสละและ แบง่ ปนั ความร อบรู้ เรื่ อง พ ระ รัตนตรัย ท่ี ความรอบรู้ เร่ืองพระรัตนตรัย เกี่ยวข้องรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนา กรณีที่เกิดงาน ปริมาณที่เก่ียวข้อง ความรู้เหล่าน้ันมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน การคานวณสูตรที่ต้องใช้ สามารถ เพ่อื ประกอบการวางแผน การดาเนินการจัด นาความรู้เหล่าน้ันมาพิจารณาให้ กิจกรรมการเรียนรใู้ หก้ บั ผ้เู รียน เชอ่ื มโยงกนั สามารถประยุกต์ใช้ใน ชวี ติ ประจาวัน มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มคี วาม มีความตระหนักในคุณธรรม มี ซือ่ สัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความ ความซื่อสัตย์สุจริตและมีความ เพยี ร ใชส้ ตปิ ัญญาในการดาเนนิ ชวี ติ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญา ในการดาเนินชวี ติ

กจิ กรรม ครู ผูเ้ รียน สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น ต้นไม้เป็นทรพั ยากรท่ีมีอยู่อย่าง ต้นไมท้ ่พี ระพุทธเจ้าประสตู ิ ตรสั รู้ ต้นไมเ้ ป็นทรพั ยากรท่ีมีอยู่ อยา่ งจากัด จากดั ปรินพิ พาน - การใช้ทรพั ยากรจาก - อธิบายที่มาของสิ่งของท่ี - ระบุท่ีมาของส่ิงของที่ผลิตมา ต้นไมใ้ ห้ประหยดั และได้ ประโยชน์มากทีส่ ดุ ผลิ ต ม าจ า ก ต้ น ไ ม้ แ ล ะ จ า ก ต้ น ไ ม้ แ ล ะ วิ ธี ก า ร ใ ช้ วิธีการใช้ทรัพยากรจาก ท รั พ ย า ก ร จ า ก ต้ น ไ ม้ ใ ห้ ต้นไม้ให้ประหยัดและได้ ประหยัดและได้ประโยชน์มาก ประโยชน์มากท่ีสุด ทีส่ ุด

๑๑. ขอ้ เสนอแนะ □ ใชส้ อนได้ □ ควรปรับปรุง......................................................................................................................... .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ความคดิ เหน็ อ่นื ๆ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................. ลงช่ือ………..………….......………….……… (นายนิกร ไชยบตุ ร) ครูพ่เี ลย้ี ง วันท่ี........เดอื น....................พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๒. บันทกึ หลงั การจดั การเรยี นรู้ ๑๒.๑) ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั นกั เรยี น ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๕ ด้านความรู้ จานวนนกั เรียนทผ่ี า่ นเกณฑ์......................คน คิดเปน็ ร้อยละ................... จานวนนักเรียนท่ไี ม่ผ่านเกณฑ์..................คน คิดเปน็ ร้อยละ................... ด้านทักษะกระบวนการ จานวนนักเรยี นทผี่ ่านเกณฑ์......................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ................... จานวนนกั เรียนทไี่ มผ่ า่ นเกณฑ์..................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ................... ดา้ นคณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ จานวนนักเรยี นที่ผา่ นเกณฑ.์ .....................คน คิดเป็นร้อยละ................... จานวนนกั เรยี นที่ไม่ผา่ นเกณฑ.์ .................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ................... ดา้ นสมรรถนะผู้เรียน จานวนนกั เรยี นท่ีผ่านเกณฑ์......................คน คดิ เปน็ ร้อยละ................... จานวนนักเรยี นทไ่ี ม่ผา่ นเกณฑ.์ .................คน คดิ เปน็ ร้อยละ................... ๑๒.๒) ปญั หาและอุปสรรค ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ๑๒.๓) แนวทางการแกป้ ัญหา ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (ลงช่อื )……………………………….…………… (นางสาวณัฐธกิ า นวลหอม) ผู้สอน วันท่.ี .......เดือน....................พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๓. ความเหน็ ของหวั หน้ากลุม่ สาระ/สายช้ัน ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (ลงชื่อ)……………………………….…………… (นายนกิ ร ไชยบตุ ร) หัวหนา้ กลุ่มสาระ/สายช้นั วันท.่ี .......เดอื น....................พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๔. ความเหน็ ของฝ่ายวชิ าการ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (ลงช่ือ)……………………………….…………… (นางสาวรัตติกาล ยศสุข) หัวหน้าฝ่ายวชิ าการ วันท.่ี .......เดอื น....................พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๕. ความเห็นของผู้อานวยการโรงเรยี น ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (ลงชอ่ื )……………………………….…………… (นางวลิ าวัลย์ ปาลี) ผ้อู านวยการโรงเรียน วันท่ี........เดือน....................พ.ศ. ๒๕๖๒

ใบกจิ กรรมท่ี 4.1 เรือ่ ง ความหมายและววิ ัฒนาการของระบบสหกรณ์ คาชี้แจง ให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกันศึกษาความหมายและวิวัฒนาการของระบบสหกรณ์ จากหนังสือเรียน หนังสือเพิม่ เตมิ หอ้ งสมดุ และแหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ จากนั้นใหน้ กั เรยี นสรุปความรู้ท่ีได้รับลงในกระดาษชาร์ท ทค่ี รแู จกให้ โดยหวั ขอ้ ท่ีนกั เรยี นต้องศกึ ษามีดงั น้ี - ความหมายของสหกรณ์ - ลกั ษณะสาคัญของสหกรณ์ - หลักการของสหกรณ์ - ววิ ฒั นาการของสหกรณใ์ นประเทศไทย

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๒ กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๕ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๔ สหกรณแ์ ละเศรษฐกิจ เรื่องตวั อยา่ งและประเภทของสหกรณใ์ นประเทศไทย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ เวลาเรียน ๒ ชวั่ โมง/สัปดาห์ หนว่ ยกิต ๑ (นน./นก.) ผ้สู อน นางสาวณฐั ธกิ า นวลหอม โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ เวลา ๒ ช่ัวโมง ๑. สาระสาคัญ สหกรณ์เป็นองค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ตามหลักการ ประชาธปิ ไตย เพื่อให้ประชาชนในท้องถน่ิ รว่ มมือกนั แก้ไขปญั หาเศรษฐกิจในชุมชนด้วยความสมัครใจ และแบ่งผลประโยชนอ์ ยา่ งยตุ ธิ รรม จึงเปน็ องคก์ รที่มีประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจไทย เป็นแบบ แผนในการพฒั นาชนบท พฒั นาชมุ ชน และช่วยเหลอื ผูเ้ ดือดร้อนทางเศรษฐกิจไดเ้ ป็นอยา่ งมาก ๒. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวชี้วัดชั้นป/ี ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ ทรัพยากรท่ีมีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่ารวมท้ังเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการดารงชีวิตอยา่ งมีดุลยภาพ ตวั ชว้ี ดั ช้นั ป/ี ผลการเรยี นรู้ ส ๓.๑ ม.๔-๖/๓ ตระหนกั ถึงความสาคญั ของระบบสหกรณ์ในการพฒั นาเศรษฐกจิ ในระดบั ชมุ ชนและประเทศ ๓. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๓.๑ ดา้ นความรู้ : Knowledge - บอกตวั อย่างและประเภทของสหกรณ์ ในประเทศไทย ๓.๒ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ : Process มีทกั ษะกระบวนการทางานกล่มุ ๓.๓ ดา้ นคณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ : Attitude มีมีจติ สาธารณะและมีทศั นคติท่ดี ีต่อการศกึ ษารายวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๔. สมรรถนะสาคัญของนกั เรียน ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต

๕. คุณลกั ษณะของวิชา - ความรบั ผดิ ชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกลุ่ม ๖. ช้ินงาน/ภาระงาน ๖.๑ ชน้ิ งาน ๑) ใบงานที่ ๔.๑ เร่ือง ข้อมูลกจิ การสหกรณ์ ๖.๒ ภาระงาน ๑) นักเรยี นทากิจกรรมกลุ่ม ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ข้ันนาเข้าสบู่ ทเรียน ๑. ครูกล่าวทักทายนักเรียน จากนั้นครูนารูปภาพเก่ียวกับสหกรณ์ต่างๆ ในประเทศไทยมาให้ นักเรียนดแู ลว้ รว่ มกนั ตอบคาถามวา่ เปน็ สหกรณอ์ ะไร มหี นา้ ท่ที าอะไรบ้าง ๒. ครูอธบิ ายคาตอบนกั เรยี นเพือ่ เชื่อมโยงเขา้ สูเ่ นอื้ หา ขน้ั สอน ๓. นกั เรยี นแบ่งกล่มุ ออกเปน็ ๕ กลมุ่ ตามความสมัครใจเพ่ือเล่นเกม โดยกติกามีอยู่ว่าให้นักเรียน แตล่ ะกลุ่มแบง่ หน้าทีก่ ันภายในกลุ่ม ซึง่ จะประกอบดว้ ยคนยกมือ คนตอบคาถาม และคนหาคาตอบ ๔. นกั เรยี นร่วมกันศกึ ษาความรเู้ รื่องตวั อย่างและประเภทของสหกรณ์ ในประเทศไทย จากหนังสือ เรยี น หนังสอื ค้นคว้าเพม่ิ เตมิ จากนนั้ ให้นกั เรยี นยกมือตอบคาถาม โดยครูจะให้สัญญาณในการยกมือ ตอบคาถามเพือ่ แลกกับคะแนน ๕. ครมู อบหมายให้นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ช่วยกนั สบื คน้ ข้อมลู การดาเนินกิจการของสหกรณ์ท่ีนักเรียน สนใจมา ๑ แห่ง แลว้ รายงานสรปุ ตามหวั ขอ้ ท่กี าหนดในใบงานที่ ๔.๑ เร่ือง ขอ้ มลู กิจการสหกรณ์ ขนั้ สรปุ ๖. ครูและนักเรียนชว่ ยกนั สรุปตัวอยา่ งและประเภทของสหกรณ์ ในประเทศไทย จากนัน้ ครูเปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนซกั ถามในประเด็นทน่ี กั เรยี นสงสยั หรอื ไมเ่ ขา้ ใจ ๘. ส่ือการเรียนการสอน / แหล่งเรยี นรู้ ๘.๑ ส่ือการเรยี นการสอน ๑) หนงั สือเรยี น เศรษฐศาสตร์ ม.๕ ๒) หนงั สือคน้ ควา้ เพม่ิ เตมิ ๓) ใบงานที่ ๔.๑ เร่อื ง ขอ้ มูลกจิ การสหกรณ์ ๘.๒ แหล่งเรียนรู้ ๑) หอ้ งสมุด

๙. การวัดผลและประเมนิ ผล เครอ่ื งมือ เกณฑ์ วิธกี าร คะแนนการตอบคาถามของแต่ละ ประเมนิ ตามสภาพจริง การตอบคาถามของแต่ละกลมุ่ กลุ่ม สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม สังเกตความสามารถในการใช้ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์ ทกั ษะชวี ิต สังเกตความใฝเ่ รียนรู้ แบบประเมนิ สมรรถนะสาคัญของ ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ นักเรยี น แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึง ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์ ประสงค์ ๑๐. จุดเน้นของโรงเรยี น การบรู ณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรยี นปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ปรัชญาเศรษฐกจิ ครู ผเู้ รยี น พอเพียง พอดีด้านเทคโนโลยี พอดดี ้านจิตใจ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รู้จักใช้เทคโนโลยีมาผลิตส่ือท่ีเหมาะสม มี จิ ต ส า นึ ก ที่ ดี เ อื้ อ อ า ท ร มภี ูมคิ มุ้ กนั ในตวั ท่ดี ี และสอดคล้องเน้ือหาเป็นประโยชน์ต่อ ประนีประนอม นึกถึงประโยชน์ ผูเ้ รยี นและพัฒนาจากภูมิปญั ญาของผู้เรยี น สว่ นรวม/กลมุ่ - ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความ ไม่หยุดน่ิงที่หาหนทางในชีวิต ถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาด หลุดพ้นจากความทุกข์ยาก (การ แคลน ในการดารงชวี ิต ค้นหาคาตอบเพ่ือให้หลุดพ้นจาก - ปฏิบัติตนในแนวทางท่ีดี ลด เลิก สิ่ง ความไม่รู้) ยั่วกิเลสให้หมดสิ้นไป ไม่ก่อความชั่วให้เป็น เครื่องทาลายตัวเอง ทาลายผู้อื่น พยายาม เพิ่มพูนรักษาความดี ที่มีอยู่ให้งอกงาม สมบูรณย์ ิง่ ขึน้ ภูมิปัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ ระมัดระวงั และระมัดระวงั สร้างสรรค์ ภมู ิธรรม : ซ่อื สัตย์ สุจรติ ขยันอดทน ภูมิธรรม : ซ่ือสัตย์ สุจริต ขยัน ตรงต่อเวลาและแบง่ ปัน อดทน ตรงต่อเวลา เสียสละและ แบ่งปนั

เง่อื นไขความรู้ ความร อบรู้ เร่ื อง พ ระ รัตนตรัย ท่ี ความรอบรู้ เร่ืองพระรัตนตรัย เง่อื นไขคุณธรรม เก่ียวข้องรอบด้าน ความรอบคอบท่ีจะนา กรณีท่ีเกิดงาน ปริมาณที่เกี่ยวข้อง ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เช่ือมโยงกัน การคานวณสูตรท่ีต้องใช้ สามารถ เพอ่ื ประกอบการวางแผน การดาเนนิ การจัด นาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้ กิจกรรมการเรยี นรูใ้ หก้ บั ผู้เรยี น เช่ือมโยงกนั สามารถประยุกต์ใช้ใน ชีวติ ประจาวัน มีความตระหนกั ใน คุณธรรม มคี วาม มีความตระหนักในคุณธรรม มี ซอื่ สตั ย์สจุ รติ และมีความอดทน มคี วาม ความซื่อสัตย์สุจริตและมีความ เพยี ร ใชส้ ตปิ ัญญาในการดาเนินชวี ติ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญา ในการดาเนินชวี ติ กจิ กรรม ครู ผเู้ รยี น สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ต้นไมเ้ ป็นทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง ต้นไมท้ พี่ ระพทุ ธเจ้าประสูติ ตรัสรู้ ตน้ ไม้เปน็ ทรพั ยากรทมี่ อี ยู่ อยา่ งจากดั จากัด ปรินพิ พาน - การใช้ทรัพยากรจาก - อธิบายที่มาของสิ่งของที่ - ระบุท่ีมาของสิ่งของที่ผลิตมา ตน้ ไม้ใหป้ ระหยดั และได้ ประโยชนม์ ากทส่ี ุด ผลิ ต ม าจ า ก ต้ น ไ ม้ แ ล ะ จ า ก ต้ น ไ ม้ แ ล ะ วิ ธี ก า ร ใ ช้ วิธีการใช้ทรัพยากรจาก ท รั พ ย า ก ร จ า ก ต้ น ไ ม้ ใ ห้ ต้นไม้ให้ประหยัดและได้ ประหยัดและได้ประโยชน์มาก ประโยชน์มากทสี่ ุด ทส่ี ดุ

๑๑. ข้อเสนอแนะ □ ใช้สอนได้ □ ควรปรบั ปรุง......................................................................................................................... .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ความคดิ เหน็ อน่ื ๆ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................. ลงชือ่ ………..………….......………….……… (นายนิกร ไชยบตุ ร) ครพู เ่ี ลยี้ ง วันที.่ .......เดอื น....................พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๒. บันทกึ หลงั การจัดการเรยี นรู้ ๑๒.๑) ผลทเี่ กดิ ขึ้นกับนกั เรยี น ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๕ ด้านความรู้ จานวนนกั เรยี นที่ผา่ นเกณฑ.์ .....................คน คิดเป็นรอ้ ยละ................... จานวนนักเรียนทไี่ มผ่ า่ นเกณฑ์..................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ................... ด้านทักษะกระบวนการ จานวนนกั เรียนทผ่ี ่านเกณฑ์......................คน คดิ เป็นร้อยละ................... จานวนนกั เรียนทไ่ี ม่ผ่านเกณฑ์..................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ................... ด้านคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ จานวนนักเรยี นทผ่ี า่ นเกณฑ์......................คน คิดเป็นรอ้ ยละ................... จานวนนักเรยี นทีไ่ ม่ผ่านเกณฑ์..................คน คิดเปน็ ร้อยละ................... ดา้ นสมรรถนะผู้เรียน จานวนนักเรียนที่ผา่ นเกณฑ์......................คน คดิ เปน็ ร้อยละ................... จานวนนกั เรยี นท่ไี ม่ผ่านเกณฑ.์ .................คน คิดเปน็ ร้อยละ................... ๑๒.๒) ปญั หาและอปุ สรรค ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ๑๒.๓) แนวทางการแกป้ ัญหา ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (ลงชือ่ )……………………………….…………… (นางสาวณฐั ธกิ า นวลหอม) ผู้สอน วนั ที่........เดือน....................พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๓. ความเหน็ ของหัวหน้ากลุม่ สาระ/สายชัน้ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (ลงชอื่ )……………………………….…………… (นายนกิ ร ไชยบุตร) หวั หนา้ กลุ่มสาระ/สายชัน้ วนั ที.่ .......เดอื น....................พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๔. ความเหน็ ของฝ่ายวชิ าการ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (ลงชอ่ื )……………………………….…………… (นางสาวรัตติกาล ยศสุข) หวั หน้าฝา่ ยวิชาการ วนั ที.่ .......เดอื น....................พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๕. ความเห็นของผู้อานวยการโรงเรียน ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (ลงช่ือ)……………………………….…………… (นางวิลาวลั ย์ ปาลี) ผอู้ านวยการโรงเรียน วันที่........เดือน....................พ.ศ.๒๕๖๒

คาถาม เรื่อง ตวั อย่างและประเภทของสหกรณ์ ในประเทศไทย ๑. สหกรณท์ ่ีสมาชิกมีความรบั ผิดชอบจากัดเพยี งไมเ่ กินจานวนคา่ หุน้ ท่ยี งั ใช้ไมค่ รบมูลค่าท่ตี นถอื สหกรณจ์ ากัด ๒. สหกรณ์ซ่งึ สมาชกิ ทกุ คนมคี วามรบั ผิดชอบรว่ มกนั ในหนที้ ั้งปวงของสหกรณ์ โดยไม่จากดั สหกรณไ์ ม่จากัด ๓. เป็นสหกรณ์ที่ผู้ประกอบอาชีพทางการเกษตรรวมตัวจัดตั้งมีจุดมุ่งหมายให้สมาชิกช่วยเหลือกันเพ่ือแก้ไข ความเดือดรอ้ นในการประกอบอาชีพของสมาชกิ สหกรณ์การเกษตร ๔. จดั ตงั้ ในหมู่ชาวประมง เพอื่ แก้ไขปญั หาและอปุ สรรคในการประกอบอาชีพ สหกรณป์ ระมง ๕. สหกรณท์ ่ีดินมีลกั ษณะอย่างไร เป็นสหกรณท์ มี่ ีการดาเนนิ การจัดสรรทด่ี ินทากินมาใหแ้ ก่ราษฏร ผู้ประกอบอาชพี ทางการเกษตร ๖. สหกรณร์ ้านค้ามลี ักษณะอย่างไร เป็นสหกรณ์สาหรับผู้บริโภคทั่วไป โดยการจัดจาหน่ายสินค้าเคร่ืองอุปโภคบริโภคท่ีจาเป็นในครอบครัว ให้แก่สมาชกิ เพอื่ ลดคา่ ใชจ้ ่ายในครอบครวั ๗. เป็นสหกรณ์สาหรับผู้ที่มีรายได้ประจาทั่วไปท่ีต้องการออมทรัพย์เป็นประจาและช่วยเหลือกันด้วยการให้ ก้ยู มื เมือ่ เกิดความจาเป็น สหกรณอ์ อมทรพั ย์ ๘. เปน็ สหกรณ์ท่ีจดั ต้งั ข้นึ สาหรับผู้ต้องการแก้ไขปญั หาการประกอบอาชพี รวมทัง้ การส่งเสรมิ อาชีพเพ่ือให้เกิด ความมั่นคงและรักษาอาชพี ดง้ั เดมิ ทด่ี ีให้คงอยู่ตอ่ ไป สหกรณ์บรกิ าร ๙. สหกรณ์เครดติ ยูเน่ยี นมลี กั ษณะอย่างไร เปน็ สหกรณท์ จ่ี ัดตง้ั ขนึ้ ในกล่มุ ประชากรทีม่ ีภูมิลาเนาหรอื มกี ารประกอบอาชีพหลักท่มี ีความสัมพันธ์กันและ อยูใ่ นเขตพน้ื ท่ีดาเนนิ การของสหกรณ์ทจ่ี ัดตัง้ มีการนาเงนิ ของตนมาสะสมเป็นกองทุนมกี ารบริหารจดั การให้ สมาชิกกยู้ ืม

ใบงานท่ี 4.1 เรอ่ื ง ข้อมูลกจิ การสหกรณ์ คาช้ีแจง ให้นกั เรียนสืบคน้ ข้อมลู การดาเนนิ กิจการของสหกรณ์ ท่ีนกั เรยี นสนใจมา 1 แห่ง แล้วนามารายงาน สรปุ ในหัวข้อทก่ี าหนด ๑. ชื่อสหกรณ์ .............................................................................................................................................................................. ๒. มีท่ีต้งั /ท่ีทาการอยทู่ ่ีใด .............................................................................................................................................................................. ๓. จดั อยู่ในสหกรณ์ประเภทใด .............................................................................................................................................................................. ๔. มวี ัตถุประสงค์อยา่ งไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ๕. คณะกรรมการประกอบด้วยตาแหน่งใดบา้ ง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ๖. ลกั ษณะการดาเนินงานเป็นอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ๗. มผี ลประโยชน์ตอ่ สมาชกิ อยา่ งไรบ้าง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

๘. การดาเนินงานของสหกรณ์เป็นประโยชน์ตอ่ สงั คมและประเทศอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ๙. บทสรปุ /หรอื ขอ้ คิดจากการสืบคน้ ข้อมูล .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

ใบงานท่ี 4.1 เรื่อง ข้อมลู กจิ การสหกรณ์ คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นสืบค้นขอ้ มูลการดาเนนิ กจิ การของสหกรณ์ ทนี่ ักเรยี นสนใจมา 1 แหง่ แล้วนามารายงาน สรปุ ในหัวข้อทกี่ าหนด ๑. ชือ่ สหกรณ์ .............................................................................................................................................................................. ๒. มที ่ตี ัง้ /ทีท่ าการอยูท่ ใี่ ด .............................................................................................................................................................................. ๓. จัดอยใู่ นสหกรณ์ประเภทใด .............................................................................................................................................................................. ๔. มีวัตถปุ ระสงค์อย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ๕. คณะกรรมการประกอบด้วยตาแหนง่ ใดบ้าง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ๖. ลกั ษณะการดาเนินงานเปน็ อย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ๗. มีผลประโยชน์ต่อสมาชิกอยา่ งไรบา้ ง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

๘. การดาเนนิ งานของสหกรณเ์ ปน็ ประโยชนต์ ่อสงั คมและประเทศอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ๙. บทสรุป/หรือข้อคิดจากการสืบค้นขอ้ มูล .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรยี น โดยอยใู่ นดลุ ยพนิ ิจของครผู ูส้ อน)

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๓ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๕ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๔ สหกรณแ์ ละเศรษฐกิจชมุ ชน เรอ่ื ง ความสาคัญของระบบสหกรณ์ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ เวลาเรียน ๒ ช่ัวโมง/สัปดาห์ หนว่ ยกิต ๑ (นน./นก.) ผสู้ อน นางสาวณฐั ธกิ า นวลหอม โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ เวลา ๒ ชว่ั โมง ๑. สาระสาคญั สหกรณ์เป็นองค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ตามหลักการ ประชาธปิ ไตย เพือ่ ใหป้ ระชาชนในท้องถิ่นรว่ มมอื กันแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจในชุมชนด้วยความสมัครใจ และแบง่ ผลประโยชน์อย่างยุติธรรม จงึ เป็นองคก์ รท่ีมีประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจไทย เป็นแบบ แผนในการพัฒนาชนบท พัฒนาชุมชน และชว่ ยเหลือผู้เดอื ดรอ้ นทางเศรษฐกจิ ไดเ้ ปน็ อย่างมาก ๒. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชีว้ ัดชัน้ ปี/ผลการเรียนรู/้ เปา้ หมายการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่ารวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวติ อยา่ งมดี ลุ ยภาพ ตัวชีว้ ัดชนั้ ป/ี ผลการเรยี นรู้ ส ๓.๑ ม.๔-๖/๓ ตระหนักถงึ ความสาคัญของระบบสหกรณ์ในการพฒั นาเศรษฐกจิ ในระดับ ชมุ ชนและประเทศ ๓. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๓.๑ ด้านความรู้ : Knowledge - อธิบายความสาคัญของระบบสหกรณ์ในการพัฒนาเศรษฐกิจในชุมชนและประเทศ ๓.๒ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ : Process มีทกั ษะกระบวนการทางานกลุ่ม ๓.๓ ด้านคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ : Attitude มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ และมีทัศนคติที่ดีต่อการศึกษารายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ๔. สมรรถนะสาคัญของนักเรยี น ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

๕. คุณลักษณะของวชิ า - ความรับผิดชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกลมุ่ ๖. ชิน้ งาน/ภาระงาน ๖.๑ ภาระงาน ๑) นักเรยี นคน้ ควา้ เกีย่ วกับเรอ่ื งความสาคัญของระบบสหกรณ์ ๒) นกั เรยี นทากิจกรรมกลมุ่ ๗. กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้ันนาเข้าสบู่ ทเรยี น ๑. ครกู ลา่ วทักทายนกั เรียน จากนั้นครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับเร่ืองความสาคัญของสหกรณ์ในแต่ ละประเภทวา่ มีความสาคญั อย่างไร ๒. ครเู ชอ่ื มโยงคาตอบนกั เรยี นเขา้ สเู่ นือ้ หา ข้ันสอน ๓. นักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕ คน แลว้ ช่วยกันคน้ ควา้ เก่ียวกบั เร่อื งความสาคัญของระบบสหกรณ์ จากนั้นสรุปความรู้ที่ไดร้ ับเป็นแผนผงั ความคิดลงในกระดาษ A๔ ทค่ี รูแจกให้ ๔. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานาเสนองานกลุ่ม จากน้ันให้กลุ่มที่เหลือตั้งคาถามกลุ่มที่ นาเสนอกลุม่ ละ ๒ คาถาม ขนั้ สรปุ ๕. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปตัวอย่างและประเภทของสหกรณ์ ในประเทศไทย จากนั้นครูเปิด โอกาสใหน้ ักเรยี นซักถามในประเด็นที่นกั เรียนสงสัยหรือไมเ่ ข้าใจ ๘. สือ่ การเรียนการสอน / แหล่งเรยี นรู้ ๘.๑ สื่อการเรียนการสอน ๑) หนังสอื เรียน เศรษฐศาสตร์ ม.๕ ๒) หนังสือคน้ ควา้ เพ่ิมเติม ๘.๒ แหล่งเรียนรู้ ๑) ห้องสมดุ ๒) อินเทอร์เนต็ - https://www.bootcampdemy.com/content/

๙. การวัดผลและประเมินผล เครอื่ งมอื เกณฑ์ วธิ ีการ แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์ ประเมนิ การนาเสนอผลงาน สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์ สังเกตความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี แบบประเมนิ สมรรถนะสาคัญของ ระดบั คุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์ นักเรียน สงั เกตความมีวนิ ัย แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ ประสงค์ ๑๐. จุดเน้นของโรงเรยี น การบรู ณาการปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ปรชั ญาเศรษฐกิจ ครู ผู้เรยี น พอเพยี ง พอดดี า้ นเทคโนโลยี พอดีด้านจิตใจ ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล รู้จักใช้เทคโนโลยีมาผลิตส่ือท่ีเหมาะสม มี จิ ต ส า นึ ก ที่ ดี เ อ้ื อ อ า ท ร มีภมู คิ มุ้ กันในตวั ทด่ี ี และสอดคล้องเนื้อหาเป็นประโยชน์ต่อ ประนีประนอม นึกถึงประโยชน์ ผเู้ รยี นและพัฒนาจากภมู ิปัญญาของผู้เรียน สว่ นรวม/กลุ่ม - ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความ ไม่หยุดนิ่งที่หาหนทางในชีวิต ถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาด หลุดพ้นจากความทุกข์ยาก (การ แคลน ในการดารงชวี ิต ค้นหาคาตอบเพื่อให้หลุดพ้นจาก - ปฏิบัติตนในแนวทางท่ีดี ลด เลิก สิ่ง ความไม่ร้)ู ย่ัวกิเลสให้หมดสิ้นไป ไม่ก่อความช่ัวให้เป็น เคร่ืองทาลายตัวเอง ทาลายผู้อื่น พยายาม เพ่ิมพูนรักษาความดี ท่ีมีอยู่ให้งอกงาม สมบูรณ์ยิง่ ขึน้ ภมู ิปญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง และระมัดระวงั สรา้ งสรรค์ ภูมธิ รรม : ซอ่ื สตั ย์ สุจริต ขยันอดทน ภูมิธรรม : ซ่ือสัตย์ สุจริต ขยัน ตรงตอ่ เวลาและแบ่งปัน อดทน ตรงต่อเวลา เสียสละและ แบง่ ปนั

เง่อื นไขความรู้ ความร อบรู้ เร่ื อง พ ระ รัตนตรัย ท่ี ความรอบรู้ เร่ืองพระรัตนตรัย เง่อื นไขคุณธรรม เก่ียวข้องรอบด้าน ความรอบคอบท่ีจะนา กรณีท่ีเกิดงาน ปริมาณที่เกี่ยวข้อง ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เช่ือมโยงกัน การคานวณสูตรท่ีต้องใช้ สามารถ เพอ่ื ประกอบการวางแผน การดาเนนิ การจัด นาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้ กิจกรรมการเรยี นรูใ้ หก้ บั ผู้เรยี น เช่ือมโยงกนั สามารถประยุกต์ใช้ใน ชีวติ ประจาวนั มีความตระหนกั ใน คุณธรรม มคี วาม มีความตระหนักในคุณธรรม มี ซอื่ สตั ย์สจุ รติ และมีความอดทน มคี วาม ความซ่ือสัตย์สุจริตและมีความ เพยี ร ใชส้ ตปิ ัญญาในการดาเนินชวี ติ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญา ในการดาเนนิ ชวี ติ กจิ กรรม ครู ผูเ้ รียน สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ต้นไมเ้ ป็นทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง ต้นไมท้ พี่ ระพุทธเจา้ ประสตู ิ ตรัสรู้ ตน้ ไม้เปน็ ทรพั ยากรทมี่ อี ยู่ อยา่ งจากดั จากัด ปรินพิ พาน - การใช้ทรัพยากรจาก - อธิบายที่มาของสิ่งของที่ - ระบุท่ีมาของสิ่งของท่ีผลิตมา ตน้ ไม้ใหป้ ระหยดั และได้ ประโยชนม์ ากทส่ี ุด ผลิ ต ม าจ า ก ต้ น ไ ม้ แ ล ะ จ า ก ต้ น ไ ม้ แ ล ะ วิ ธี ก า ร ใ ช้ วิธีการใช้ทรัพยากรจาก ท รั พ ย า ก ร จ า ก ต้ น ไ ม้ ใ ห้ ต้นไม้ให้ประหยัดและได้ ประหยัดและได้ประโยชน์มาก ประโยชน์มากทสี่ ุด ทส่ี ดุ

๑๑. ข้อเสนอแนะ □ ใช้สอนได้ □ ควรปรับปรุง......................................................................................................................... .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ความคิดเห็นอ่นื ๆ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................. ลงช่ือ………..………….......………….……… (นายนิกร ไชยบตุ ร) ครูพ่ีเลยี้ ง วันท.ี่ .......เดอื น....................พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๒. บันทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้ ๑๒.๑) ผลทีเ่ กิดขึ้นกับนักเรียน ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๕ ด้านความรู้ จานวนนกั เรยี นทผ่ี ่านเกณฑ.์ .....................คน คิดเป็นรอ้ ยละ................... จานวนนักเรียนทไ่ี มผ่ า่ นเกณฑ์..................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ................... ด้านทักษะกระบวนการ จานวนนักเรียนทผี่ า่ นเกณฑ์......................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ................... จานวนนักเรยี นที่ไม่ผ่านเกณฑ.์ .................คน คิดเป็นรอ้ ยละ................... ดา้ นคณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ จานวนนกั เรยี นที่ผ่านเกณฑ.์ .....................คน คิดเป็นรอ้ ยละ................... จานวนนักเรียนที่ไมผ่ า่ นเกณฑ.์ .................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ................... ด้านสมรรถนะผู้เรยี น จานวนนกั เรยี นทผี่ ่านเกณฑ.์ .....................คน คิดเป็นรอ้ ยละ................... จานวนนกั เรียนทไ่ี มผ่ ่านเกณฑ.์ .................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ................... ๑๒.๒) ปญั หาและอปุ สรรค ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ๑๒.๓) แนวทางการแกป้ ัญหา ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (ลงช่ือ)……………………………….…………… (นางสาวณฐั ธกิ า นวลหอม) ผูส้ อน วนั ท.่ี .......เดือน....................พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๓. ความเห็นของหวั หนา้ กลุ่มสาระ/สายช้ัน ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (ลงช่ือ)……………………………….…………… (นายนกิ ร ไชยบุตร) หวั หน้ากลุ่มสาระ/สายช้นั วันที่........เดือน....................พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๔. ความเหน็ ของฝา่ ยวิชาการ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (ลงชอ่ื )……………………………….…………… (นางสาวรัตตกิ าล ยศสุข) หัวหน้าฝ่ายวชิ าการ วันท่.ี .......เดอื น....................พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๕. ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (ลงชอ่ื )……………………………….…………… (นางวิลาวัลย์ ปาลี) ผู้อานวยการโรงเรียน วนั ท่.ี .......เดือน....................พ.ศ.๒๕๖๒

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๔ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๔ สหกรณแ์ ละเศรษฐกิจชมุ ชน เรอื่ ง ปญั หาเศรษฐกจิ ของชุมชน ภาคเรียนที่ ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ เวลาเรียน ๒ ช่ัวโมง/สปั ดาห์ หน่วยกิต ๑ (นน./นก.) ผ้สู อน นางสาวณฐั ธิกา นวลหอม โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ เวลา ๒ ชวั่ โมง ๑. สาระสาคญั สหกรณ์มีความสาคญั ตอ่ การพัฒนาเศรษฐกิจทงั้ ในระดับชมุ ชนและประเทศ และมีสว่ นในการ แกป้ ัญหาชุมชน ๒. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชีว้ ัดชนั้ ปี/ผลการเรียนรู้/เปา้ หมายการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ ทรพั ยากรท่ีมีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่ารวมท้ังเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการดารงชวี ติ อยา่ งมีดลุ ยภาพ ตัวช้วี ัดชั้นป/ี ผลการเรียนรู้ ส ๓.๑ ม.๔-๖/๔ วิเคราะห์ปญั หาทางเศรษฐกิจในชมุ ชนและแนวทางแกไ้ ข ๓. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ ด้านความรู้ : Knowledge - ระบปุ ญั หาและแนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจในชมุ ชนได้ - บอกแนวทางการพัฒนาเศรษฐกจิ ของชุมชนได้ ๓.๒ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ : Process มีทักษะกระบวนการทางานกลุ่ม ๓.๓ ด้านคณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ : Attitude มวี นิ ัยและมที ัศนคตทิ ด่ี ตี ่อการศึกษารายวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๔. สมรรถนะสาคญั ของนักเรยี น ๔.๑ ความสามารถในการคดิ - ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์

๕. คณุ ลักษณะของวิชา - ความรบั ผดิ ชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกลุม่ ๖. ชนิ้ งาน/ภาระงาน ๖.๑ ภาระงาน ๑) นกั เรียนทากิจกรรมกลุ่ม ๒) นกั เรียนนาเสนอ ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ขัน้ นาเขา้ สู่บทเรียน ๑. ครูกล่าวทักทายนกั เรยี น จากนนั้ ครูซักถามนักเรียนเก่ียวกับเร่ืองปัญหาเศรษฐกิจในชุมชนของ นักเรียนว่ามอี ะไรบ้าง ๒. ครเู ช่อื มโยงคาตอบเข้าสู่เนอื้ หา ขนั้ สอน ๓. นักเรียนแบ่งเป็น ๒ ทีมใหญ่ ให้แข่งขันกันเขียนปัญหาทางเศรษฐกิจในชุมชนบนกระดาน/ บอร์ดหนา้ ช้นั เรียน กลุ่มใดเขยี นไดจ้ านวนมากท่ีสุดในเวลาท่ีกาหนด ๓ นาที จะเปน็ ฝา่ ยชนะ ๔. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มชว่ ยกนั ระดมความคิดรวมกลมุ่ ปัญหาเศรษฐกิจท่ีนักเรียนเขียนบนกระดาน/ บอรด์ เปน็ จาพวกเดียวกัน เชน่ - ปัญหาความยากจน - ปัญหาความแตกตา่ งกนั ระหว่างรายไดข้ องประชาชนในชมุ ชน - ปญั หาขาดแคลนบคุ ลากรทีม่ คี วามรู้ - ปัญหาการขาดแคลนเทคโนโลยีและวิทยาการ - ปญั หาขาดผู้นาหรอื กล่มุ ผนู้ าชมุ ชนท่มี คี วามสามารถหรือมกี ารบริหารจดั การทเี่ ข้มแขง็ ๕. ครูให้นักเรียนรวมกลุ่มกันตามความสมัครใจ กลุ่มละ ๕ - ๗ คน ร่วมมือกันศึกษาความรู้และ ข้อมูลเกี่ยวกับเศรษฐกิจในชุมชนของไทย จากหนังสือเรียน หนังสืออ่านเพิ่มเติมและแหล่งข้อมูล สารสนเทศ ในหวั ขอ้ ต่อไปนี้ - ลักษณะทัว่ ไปของชมุ ชนไทย - ปญั หาเศรษฐกิจในชมุ ชน - แนวทางการแก้ไขและพฒั นาเศรษฐกจิ ของชุมชน ๖. จากนนั้ ให้นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มผลัดกันนาเสนอผลงาน และถามคาถามกลมุ่ ละ ๒ คาถาม ขน้ั สรปุ ๗. ครแู ละนักเรียนช่วยกันสรุปปัญหาและแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน จากนั้นครูเปิด โอกาสใหน้ ักเรียนซกั ถามในประเดน็ ทน่ี ักเรียนสงสยั หรือไม่เข้าใจ

๘. สื่อการเรยี นการสอน / แหล่งเรียนรู้ ๘.๑ ส่ือการเรยี นการสอน ๑) หนังสือเรียน เศรษฐศาสตร์ ม.๕ ๒) หนังสอื เพม่ิ เตมิ ๘.๒ แหล่งเรยี นรู้ ๑) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ - https://www.academia.edu/9347312/ ๙. การวัดผลและประเมินผล วิธกี าร เครือ่ งมอื เกณฑ์ ประเมินการนาเสนอผลงาน สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน ระดบั คุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์ สงั เกตความสามารถในการคิด แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ ระดบั คุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ สังเกตความมวี ินยั แบบประเมนิ สมรรถนะสาคัญของ ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ นกั เรียน แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึง ระดับคุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์ ประสงค์ ๑๐. จดุ เนน้ ของโรงเรยี น การบูรณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรยี นปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ปรัชญาเศรษฐกจิ ครู ผู้เรยี น พอเพยี ง พอดีดา้ นเทคโนโลยี พอดดี า้ นจติ ใจ ความพอประมาณ รู้จักใช้เทคโนโลยีมาผลิตสื่อที่เหมาะสม มี จิ ต ส า นึ ก ท่ี ดี เ อื้ อ อ า ท ร ความมเี หตุผล และสอดคล้องเน้ือหาเป็นประโยชน์ต่อ ประนีประนอม นึกถึงประโยชน์ ผเู้ รยี นและพัฒนาจากภูมิปญั ญาของผู้เรยี น ส่วนรวม/กลุ่ม - ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความ ไม่หยุดนิ่งท่ีหาหนทางในชีวิต ถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาด หลุดพ้นจากความทุกข์ยาก (การ แคลน ในการดารงชีวติ ค้นหาคาตอบเพื่อให้หลุดพ้นจาก - ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลด เลิก สิ่ง ความไม่รู้) ย่ัวกิเลสให้หมดสิ้นไป ไม่ก่อความชั่วให้เป็น เคร่ืองทาลายตัวเอง ทาลายผู้อ่ืน พยายาม เพ่ิมพูนรักษาความดี ท่ีมีอยู่ให้งอกงาม สมบูรณย์ งิ่ ขึน้

มีภมู คิ มุ้ กันในตัวทด่ี ี ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ เงอ่ื นไขความรู้ เงอื่ นไขคุณธรรม ระมัดระวัง และระมัดระวัง สรา้ งสรรค์ ภูมธิ รรม : ซ่อื สัตย์ สุจรติ ขยนั อดทน ภูมิธรรม : ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน ตรงต่อเวลาและแบ่งปัน อดทน ตรงต่อเวลา เสียสละและ แบ่งปนั ความร อบรู้ เรื่ อง พ ระ รัตนตรัย ท่ี ความรอบรู้ เรื่องพระรัตนตรัย เกี่ยวข้องรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนา กรณีท่ีเกิดงาน ปริมาณที่เกี่ยวข้อง ความรู้เหล่าน้ันมาพิจารณาให้เช่ือมโยงกัน การคานวณสูตรที่ต้องใช้ สามารถ เพ่ือประกอบการวางแผน การดาเนนิ การจัด นาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ให้กบั ผูเ้ รียน เชอ่ื มโยงกนั สามารถประยุกต์ใช้ใน ชวี ิตประจาวนั มีความตระหนกั ใน คุณธรรม มคี วาม มีความตระหนักในคุณธรรม มี ซ่อื สัตย์สุจรติ และมีความอดทน มคี วาม ความซื่อสัตย์สุจริตและมีความ เพยี ร ใชส้ ติปญั ญาในการดาเนนิ ชวี ิต อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญา ในการดาเนนิ ชวี ิต กิจกรรม ครู ผู้เรยี น สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ตน้ ไม้เป็นทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง ตน้ ไมท้ ี่พระพุทธเจ้าประสูติ ตรสั รู้ ต้นไมเ้ ป็นทรพั ยากรที่มอี ยู่ อยา่ งจากัด จากัด ปรินิพพาน - การใช้ทรัพยากรจาก - อธิบายที่มาของส่ิงของที่ - ระบุที่มาของสิ่งของที่ผลิตมา ต้นไมใ้ หป้ ระหยัดและได้ ประโยชนม์ ากทสี่ ุด ผลิ ต ม าจ า ก ต้ น ไ ม้ แ ล ะ จ า ก ต้ น ไ ม้ แ ล ะ วิ ธี ก า ร ใ ช้ วิธีการใช้ทรัพยากรจาก ท รั พ ย า ก ร จ า ก ต้ น ไ ม้ ใ ห้ ต้นไม้ให้ประหยัดและได้ ประหยัดและได้ประโยชน์มาก ประโยชนม์ ากทีส่ ุด ท่สี ุด

๑๑. ข้อเสนอแนะ □ ใช้สอนได้ □ ควรปรับปรุง......................................................................................................................... .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ความคิดเห็นอ่นื ๆ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................. ลงช่ือ………..………….......………….……… (นายนิกร ไชยบตุ ร) ครูพ่ีเลยี้ ง วันท.ี่ .......เดอื น....................พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๒. บนั ทกึ หลังการจดั การเรยี นรู้ ๑๒.๑) ผลท่ีเกดิ ขึน้ กับนกั เรียน ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๕ ด้านความรู้ จานวนนกั เรยี นที่ผ่านเกณฑ.์ .....................คน คดิ เปน็ ร้อยละ................... จานวนนกั เรียนท่ไี ม่ผา่ นเกณฑ์..................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ................... ดา้ นทักษะกระบวนการ จานวนนกั เรียนที่ผ่านเกณฑ์......................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ................... จานวนนกั เรียนทไ่ี มผ่ า่ นเกณฑ.์ .................คน คิดเปน็ ร้อยละ................... ด้านคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ จานวนนักเรยี นทผ่ี ่านเกณฑ์......................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ................... จานวนนักเรียนที่ไมผ่ ่านเกณฑ.์ .................คน คดิ เปน็ ร้อยละ................... ด้านสมรรถนะผู้เรียน จานวนนักเรยี นทผ่ี า่ นเกณฑ.์ .....................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ................... จานวนนกั เรยี นทไ่ี มผ่ า่ นเกณฑ์..................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ................... ๑๒.๒) ปัญหาและอปุ สรรค ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ๑๒.๓) แนวทางการแกป้ ญั หา ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (ลงช่อื )……………………………….…………… (นางสาวณัฐธิกา นวลหอม) ผู้สอน วนั ท.่ี .......เดือน....................พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๓. ความเหน็ ของหัวหน้ากลุม่ สาระ/สายชัน้ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (ลงชอื่ )……………………………….…………… (นายนกิ ร ไชยบุตร) หวั หนา้ กลมุ่ สาระ/สายชนั้ วนั ที.่ .......เดอื น....................พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๔. ความเหน็ ของฝ่ายวชิ าการ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (ลงชอ่ื )……………………………….…………… (นางสาวรัตติกาล ยศสุข) หวั หน้าฝ่ายวิชาการ วนั ที.่ .......เดอื น....................พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๕. ความเห็นของผู้อานวยการโรงเรียน ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (ลงช่ือ)……………………………….…………… (นางวิลาวลั ย์ ปาลี) ผอู้ านวยการโรงเรียน วันที่........เดือน....................พ.ศ.๒๕๖๒

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๕ กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๕ หน่วยการเรียนรูท้ ่ี ๔ สหกรณแ์ ละเศรษฐกิจชุมชน เรอ่ื ง ชุมชนท่ีรวมกลุ่มประสบความสาเร็จ ภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ เวลาเรียน ๒ ช่วั โมง/สัปดาห์ หนว่ ยกิต ๑ (นน./นก.) ผูส้ อน นางสาวณฐั ธิกา นวลหอม โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ เวลา ๒ ชว่ั โมง ๑. สาระสาคญั สหกรณ์มคี วามสาคัญตอ่ การพฒั นาเศรษฐกจิ ทั้งในระดับชมุ ชนและประเทศ และมีส่วนในการ แก้ปัญหาชุมชน ๒. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ัดชัน้ ปี/ผลการเรียนรู้/เป้าหมายการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ ทรพั ยากรที่มีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่ารวมท้ังเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการดารงชวี ิตอยา่ งมีดลุ ยภาพ ตัวชีว้ ัดช้ันป/ี ผลการเรยี นรู้ ส ๓.๑ ม.๔-๖/๔ วิเคราะหป์ ัญหาทางเศรษฐกจิ ในชุมชนและแนวทางแก้ไข ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ ด้านความรู้ : Knowledge - บอกยกตัวอย่างของการรวมกลมุ่ ทป่ี ระสบความสาเร็จในการแก้ปญั หาทางเศรษฐกิจของ ชุมชนได้ ๓.๒ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ : Process มที ักษะกระบวนการทางานกล่มุ ๓.๓ ด้านคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ : Attitude มีความมุ่งม่นั ในการทางาน และมที ัศนคติท่ีดีตอ่ การศึกษารายวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ๔. สมรรถนะสาคัญของนักเรยี น ๔.๑ ความสามารถในการคดิ - ทักษะการคิดวเิ คราะห์ - ทักษะการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ

๕. คุณลกั ษณะของวชิ า - ความรบั ผิดชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกล่มุ ๖. ช้ินงาน/ภาระงาน ๖.๑ ชิน้ งาน ๑) ใบงานที่ ๔.๒ เร่อื ง การพฒั นาเศรษฐกจิ ของชุมชน ๖.๒ ภาระงาน ๑) นกั เรยี นทากิจกรรมกลมุ่ ๒) นักเรียนนาเสนอ ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ขนั้ นาเขา้ สู่บทเรียน ๑. ครูกล่าวทักทายนักเรียน จากนั้นซักถามนักเรียนเกี่ยวกับตัวอย่างการรวมกลุ่มในชุมชนท่ี นักเรียนอาศยั วา่ มีกลุ่มอะไรบา้ ง แล้วแตล่ ะกลุ่มนนั้ ประสบความสาเร็จไหม ๒. ครเู ชื่อมโยงคาตอบเข้าสเู่ น้ือหา ขนั้ สอน ๓. ครใู หน้ กั เรียนรวมกล่มุ กนั ตามความสมัครใจ กลุ่มละ ๕-๗ คน ชว่ ยกนั หาข่าวเก่ียวกับการพัฒนา เศรษฐกจิ ของชมุ ชนต่างๆ มารว่ มกันวิเคราะหต์ ามหวั ขอ้ ท่กี าหนดให้ในใบงานท่ี ๔.๒ เรื่อง การพัฒนา เศรษฐกิจของชุมชน ๔. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มผลดั กนั นาเสนอผลงาน แล้วตง้ั คาถามกลมุ่ ละ ๑ คาถาม ข้นั สรุป ๕. ครูและนกั เรยี นชว่ ยกนั สรปุ ตัวอย่างในการรวมกลมุ่ ท่ปี ระสบความสาเรจ็ ในชมุ ชน จากนั้นครูเปิด โอกาสให้นกั เรยี นซกั ถามในประเด็นท่ีนักเรียนสงสัยหรือไม่เขา้ ใจ ๖. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ เร่ือง สหกรณ์และเศรษฐกิจชุมชน จานวน ๑๐ ข้อ ๑๐ คะแนน ๘. ส่อื การเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้ ๘.๑ สื่อการเรยี นการสอน ๑) หนงั สือเรยี น เศรษฐศาสตร์ ม.๕ ๒) หนงั สอื เพิ่มเติม ๓) ใบงานท่ี ๔.๒ เรอื่ ง การพัฒนาเศรษฐกจิ ของชุมชน ๔) แบบทดสอบหลงั เรียนหนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๔ เรอ่ื ง สหกรณแ์ ละเศรษฐกจิ ชุมชน ๘.๒ แหลง่ เรยี นรู้ ๑) แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ - https://www.thaihealth.or.th/Content/29501

๙. การวัดผลและประเมินผล เครื่องมือ เกณฑ์ วิธกี าร ใบงานที่ ๔.๒ ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ ตรวจใบงานท่ี ๔.๒ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการ ประเมนิ ตามสภาพจรงิ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ ๔ เรยี นรูท้ ี่ ๔ ประเมินการนาเสนอผลงาน สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์ สังเกตความสามารถในการคิด แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ ระดบั คุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์ สงั เกตความมุง่ มั่นในการทางาน แบบประเมนิ สมรรถนะสาคญั ของ ระดับคุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์ นกั เรียน แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พึง ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ ประสงค์ ๑๐. จุดเนน้ ของโรงเรยี น การบรู ณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและกิจกรรมสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจ ครู ผู้เรียน พอเพยี ง พอดดี ้านเทคโนโลยี พอดดี า้ นจติ ใจ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล รู้จักใช้เทคโนโลยีมาผลิตสื่อที่เหมาะสม มี จิ ต ส า นึ ก ที่ ดี เ อื้ อ อ า ท ร มภี มู คิ มุ้ กนั ในตัวทดี่ ี และสอดคล้องเนื้อหาเป็นประโยชน์ต่อ ประนีประนอม นึกถึงประโยชน์ ผ้เู รยี นและพฒั นาจากภูมิปัญญาของผู้เรียน สว่ นรวม/กล่มุ - ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความ ไม่หยุดน่ิงท่ีหาหนทางในชีวิต ถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาด หลุดพ้นจากความทุกข์ยาก (การ แคลน ในการดารงชวี ติ ค้นหาคาตอบเพื่อให้หลุดพ้นจาก - ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลด เลิก สิ่ง ความไม่ร)ู้ ย่ัวกิเลสให้หมดส้ินไป ไม่ก่อความช่ัวให้เป็น เคร่ืองทาลายตัวเอง ทาลายผู้อ่ืน พยายาม เพิ่มพูนรักษาความดี ที่มีอยู่ให้งอกงาม สมบรู ณ์ยงิ่ ข้ึน ภมู ปิ ัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมิปัญญา : มีความรู้ รอบคอบ ระมดั ระวงั และระมดั ระวงั สรา้ งสรรค์ ภูมิธรรม : ซอ่ื สัตย์ สุจริต ขยันอดทน ภูมิธรรม : ซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน ตรงตอ่ เวลาและแบ่งปัน อดทน ตรงต่อเวลา เสียสละและ แบ่งปนั

เง่อื นไขความรู้ ความร อบรู้ เร่ื อง พ ระ รัตนตรัย ท่ี ความรอบรู้ เร่ืองพระรัตนตรัย เง่อื นไขคุณธรรม เก่ียวข้องรอบด้าน ความรอบคอบท่ีจะนา กรณีท่ีเกิดงาน ปริมาณที่เกี่ยวข้อง ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เช่ือมโยงกัน การคานวณสูตรท่ีต้องใช้ สามารถ เพอ่ื ประกอบการวางแผน การดาเนนิ การจัด นาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้ กิจกรรมการเรยี นรูใ้ หก้ บั ผู้เรยี น เช่ือมโยงกนั สามารถประยุกต์ใช้ใน ชีวติ ประจาวัน มีความตระหนกั ใน คุณธรรม มคี วาม มีความตระหนักในคุณธรรม มี ซอื่ สตั ย์สจุ รติ และมีความอดทน มคี วาม ความซื่อสัตย์สุจริตและมีความ เพยี ร ใชส้ ตปิ ัญญาในการดาเนินชวี ติ อดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญา ในการดาเนินชวี ติ กจิ กรรม ครู ผเู้ รยี น สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ต้นไมเ้ ป็นทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง ต้นไมท้ พี่ ระพทุ ธเจ้าประสูติ ตรัสรู้ ตน้ ไม้เปน็ ทรพั ยากรทมี่ อี ยู่ อยา่ งจากดั จากัด ปรินพิ พาน - การใช้ทรัพยากรจาก - อธิบายที่มาของสิ่งของที่ - ระบุท่ีมาของสิ่งของที่ผลิตมา ตน้ ไม้ใหป้ ระหยดั และได้ ประโยชนม์ ากทส่ี ุด ผลิ ต ม าจ า ก ต้ น ไ ม้ แ ล ะ จ า ก ต้ น ไ ม้ แ ล ะ วิ ธี ก า ร ใ ช้ วิธีการใช้ทรัพยากรจาก ท รั พ ย า ก ร จ า ก ต้ น ไ ม้ ใ ห้ ต้นไม้ให้ประหยัดและได้ ประหยัดและได้ประโยชน์มาก ประโยชน์มากทสี่ ุด ทส่ี ดุ

๑๑. ขอ้ เสนอแนะ □ ใชส้ อนได้ □ ควรปรบั ปรุง......................................................................................................................... .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ความคดิ เหน็ อนื่ ๆ .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................. ลงชื่อ………..………….......………….……… (นายนิกร ไชยบตุ ร) ครพู ีเ่ ลีย้ ง วันท.่ี .......เดือน....................พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๒. บันทกึ หลังการจดั การเรียนรู้ ๑๒.๑) ผลท่ีเกดิ ขึน้ กบั นักเรียน ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕ ด้านความรู้ จานวนนกั เรียนที่ผา่ นเกณฑ.์ .....................คน คดิ เปน็ ร้อยละ................... จานวนนักเรียนทไี่ มผ่ ่านเกณฑ์..................คน คิดเปน็ ร้อยละ................... ดา้ นทกั ษะกระบวนการ จานวนนักเรยี นท่ีผา่ นเกณฑ.์ .....................คน คิดเปน็ ร้อยละ................... จานวนนกั เรยี นที่ไมผ่ า่ นเกณฑ์..................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ................... ด้านคณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ จานวนนกั เรียนทผ่ี ่านเกณฑ.์ .....................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ................... จานวนนักเรียนที่ไม่ผา่ นเกณฑ์..................คน คิดเปน็ ร้อยละ................... ด้านสมรรถนะผู้เรียน จานวนนักเรียนทผี่ า่ นเกณฑ์......................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ................... จานวนนกั เรียนท่ีไมผ่ า่ นเกณฑ.์ .................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ................... ๑๒.๒) ปัญหาและอปุ สรรค ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ๑๒.๓) แนวทางการแกป้ ญั หา ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (ลงช่ือ)……………………………….…………… (นางสาวณัฐธกิ า นวลหอม) ผู้สอน วนั ท่ี........เดอื น....................พ.ศ. ๒๕๖๒

๑๓. ความเหน็ ของหวั หน้ากลุ่มสาระ/สายชั้น ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (ลงชอ่ื )……………………………….…………… (นายนิกร ไชยบตุ ร) หัวหน้ากลุ่มสาระ/สายชน้ั วันท่.ี .......เดือน....................พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๔. ความเห็นของฝา่ ยวิชาการ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (ลงชือ่ )……………………………….…………… (นางสาวรัตตกิ าล ยศสุข) หัวหน้าฝา่ ยวิชาการ วนั ที่........เดอื น....................พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๕. ความเห็นของผู้อานวยการโรงเรยี น ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (ลงชอื่ )……………………………….…………… (นางวิลาวัลย์ ปาลี) ผอู้ านวยการโรงเรยี น วันที.่ .......เดือน....................พ.ศ.๒๕๖๒

ภาคผนวก

แบบประเมนิ ใบงาน/ใบกจิ กรรม ชื่อ............................................................................................. ชั้น..............................เลขท่ี............................... คาชแ้ี จง การบันทกึ ใหก้ าเครือ่ งหมาย  ลงในชอ่ งทตี่ รงกับพฤติกรรมท่ีเกดิ ข้ึนจรงิ ลาดั พฤตกิ รรม ระดบั คะแนน บท่ี ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง (4) (3) (2) (1) 1 ความถกู ตอ้ งของเน้อื หา และความครบถ้วนของเนอ้ื หา 2 ความรบั ผิดชอบ สง่ งานตรงเวลา 3 ความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ยของงาน 4 ตรงตามจดุ ประสงค์ทีก่ าหนด รวม ข้อเสนอแนะ ลงชอ่ื ผู้ประเมิน ) ( ครูผู้สอน / วัน เดอื น ปี ท่ปี ระเมนิ /

แบบประเมินการนาเสนอผลงาน กลมุ่ ท่ี................ สมาชกิ ของกลุม่ 1 ..................................................................................................................................... 2 ..................................................................................................................................... 3 ..................................................................................................................................... 4 ..................................................................................................................................... ลาดับ รายการประเมนิ ดีมาก ระดับคะแนน ท่ี (4) ดี พอใช้ ปรบั ปรุง (3) (2) (1) 1 การวางแผนการทางานและการเตรียมความพรอ้ ม ก่อนนาเสนอ 2 การนาเสนอเน้ือหาถูกต้อง มีความครบถ้วน ชัดเจน เขา้ ใจงา่ ย 3 ความร่วมมอื ในการทางานของสมาชกิ ในกลุ่ม 4 รปู แบบการนาเสนอมีความคดิ สร้างสรรค์ 5 นา้ เสยี งในการนาเสนอ เสยี งดงั ฟังชัด รวม ข้อเสนอแนะ ลงชื่อ ผู้ประเมนิ ) ( ครผู สู้ อน / วัน เดอื น ปี ทปี่ ระเมิน /

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ ชื่อ............................................................................................. ชั้น..............................เลขที่............................... คาชแี้ จง การบันทกึ ให้กาเครือ่ งหมาย  ลงในชอ่ งทต่ี รงกบั พฤติกรรมทเ่ี กิดขึน้ จรงิ ลาดับ รายการประเมิน คุณภาพการปฏบิ ัติ ท่ี ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง (3) (3) (2) (1) 1 สนใจการเรียนรู้ ขยนั ซื่อสัตย์ มีวนิ ัยในชัน้ เรยี น และมี นา้ ใจตอ่ ผ้อู ื่น 2 ทักษะการคดิ และทกั ษะการทางานอยา่ งเชีย่ วชาญ 3 รบั ผิดชอบตอ่ การทางาน มีส่วนรว่ มในการตอบคาถาม และรับฟงั ความคิดเห็นของผู้อน่ื 4 ทางานด้วยความเพยี รพยายาม และมีความถกู ต้องของ งาน รวม ข้อเสนอแนะ ลงช่อื / ผู้ประเมนิ ) ( ครผู ู้สอน / วัน เดอื น ปี ทีป่ ระเมนิ

แบบสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียน เพ่ือการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ด้านมุง่ ม่นั ในการทางาน ชื่อ............................................................................................. ชั้น..............................เลขท่ี............................... คาชแ้ี จง การบนั ทกึ ใหก้ าเคร่ืองหมาย  ลงในชอ่ งทตี่ รงกับพฤติกรรมทเี่ กดิ ขึ้นจรงิ ลาดั พฤติกรรม ดีมาก ระดับคะแนน บท่ี (4) ดี พอใช้ ปรับปรุง (3) (2) (1) 1 มีความรับผดิ ชอบในหนา้ ท่กี ารงาน 2 ต้ังใจและเอาใจใส่ตอ่ การปฏิบัตหิ น้าที่ท่ีได้รบั มอบหมาย 3 ทางานด้วยความเพียรพยายาม 4 อดทนเพอ่ื ใหง้ านสาเร็จตามเป้าหมาย 5 ปรบั ปรงุ และพฒั นาการทางานใหด้ ขี ึ้นดว้ ยตนเอง รวม ข้อเสนอแนะ ลงชือ่ ผู้ประเมิน ) ( ครูผ้สู อน / วนั เดอื น ปี ทปี่ ระเมิน /

แบบสงั เกตพฤติกรรมนักเรียน เพื่อการประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ดา้ นใฝเ่ รียนรู้ ชอ่ื ............................................................................................. ช้ัน..............................เลขที่............................... คาชแ้ี จง การบันทกึ ใหก้ าเคร่ืองหมาย  ลงในชอ่ งที่ตรงกับพฤตกิ รรมทเี่ กิดข้นึ จรงิ ลาดับ พฤติกรรม ดีมาก ระดบั คะแนน ท่ี (4) ดี พอใช้ ปรับปรุง (3) (2) (1) 1 ตั้งใจเรียน 2 เอาใจใสใ่ นการเรียน และมีความเพยี รพยายามใน การเรียน ศึกษาค้นคว้า หาความรู้จากหนังสอื เอกสาร สิ่งพิมพ์ 3 สอ่ื เทคโนโลยีต่างๆ แหลง่ การเรียนร้ทู ั้งภายในและ ภายนอกโรงเรยี น และเลอื กใช้ส่อื ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 4 บันทกึ ความรู้ วเิ คราะห์ ตรวจสอบบางสงิ่ ทเ่ี รยี นรู้ สรปุ เปน็ องค์ความรู้ 5 แลกเปล่ยี นความรู้ ดว้ ยวธิ ีการตา่ งๆ และนาไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน รวม ขอ้ เสนอแนะ ลงช่ือ ผู้ประเมิน ) ( ครูผ้สู อน / วัน เดือน ปี ที่ประเมนิ /

แบบสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรยี น เพือ่ การประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ดา้ นมีวินัย ชื่อ............................................................................................. ชั้น..............................เลขท่ี............................... คาชี้แจง การบนั ทึกใหก้ าเครอ่ื งหมาย  ลงในช่องท่ีตรงกับพฤตกิ รรมท่ีเกดิ ขน้ึ จรงิ ลาดั พฤติกรรม ระดบั คะแนน บท่ี ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง (4) (3) (2) (1) 1 แตง่ กายถกู ต้องตามระเบียบของโรงเรียน 2 เม่อื ถึงชว่ั โมงเรยี นเข้าเรียนตามเวลา 3 ทางานเสร็จตามเวลาที่กาหนด 4 เขา้ รว่ มกิจกรรมตามเวลาทีน่ ัดหมาย 5 จดั เกบ็ สงิ่ ของเปน็ ท่เี ปน็ ทาง รวม ข้อเสนอแนะ ลงชื่อ ผู้ประเมิน ) ( ครูผสู้ อน / วนั เดือน ปี ที่ประเมนิ /


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook