Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาบุคลากรกระทรวง ทส. E-Book

แผนพัฒนาบุคลากรกระทรวง ทส. E-Book

Description: แผนพัฒนาบุคลากรกระทรวง ทส. E-Book

Keywords: แผนพัฒนาบุคลากรกระทรวง ทส.

Search

Read the Text Version

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม (พ.ศ. 2565 – 2569) shorturl.asia/LN3nX

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (พ.ศ. 2565 – 2569) ก

แผนพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) คำนำ การพัฒนาบุคลากรของกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมใหม้ ีความรู้ ความสามารถ ทักษะ มีความเป็นมืออาชีพที่เหมาะสมกับการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และเป็น ผู้มีคุณธรรมจริยธรรม ถือเป็นภารกิจสำคัญ ซึ่งมีเป้าหมายให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นที่รวมของคนดีและคนเก่ง สามารถปฏิบัติงานที่รองรับความต้องการของประชาชนได้อย่างมืออาชีพ โดยมุ่งเน้นให้บุคลากรเป็นผู้ปฏิบัติงานแบบมืออาชีพ มีขีดสมรรถนะสูง สามารถรองรับภารกิจที่ท้าทายของ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล รวมทั้งเป็นผูม้ ีคณุ ธรรม จริยธรรม เป็นที่เชือ่ มั่นของประชาชน ซึ่งหน่วยงานหลกั ด้านการพัฒนาบุคลากรของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คือ สถาบันพัฒนาบุคลากร ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม บูรณาการทำงานร่วมกับกองกลางของทุกส่วนราชการในสังกัด กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กองยุทธศาสตร์และแผนงาน ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร และศูนย์ปฏิบตั ิการต่อต้านการทุจริต เพื่อวางรากฐานและกำหนดทิศทางการพัฒนาบุคลากรของ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้สอดรับและสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจและการ บริหารงานกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้สัมฤทธิ์ผลตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ โดยเฉพาะ สามารถตอบสนองต่อความคาดหวังของประชาชนที่มีต่อกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ อยา่ งเต็มศักยภาพ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สป.ทส.) โดยสถาบันพัฒนา บุคลากรด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สพบ.) ในฐานะหนว่ ยงานหลักดา้ นการพัฒนาบุคลากรของ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม จึงไดจ้ ดั ทำแผนพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ สิ่งแวดล้อม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) เพื่อเป็นแนวทางให้บุคลากรของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมได้รับการพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล โดยการระดมความคิดเห็นจากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อมเพือ่ รวบรวมข้อเสนอแนะประกอบการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรฯ ฉบบั ดงั กลา่ วให้มีความสมบูรณ์ และเหมาะสมกับบริบทของกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมากยิ่งข้ึน โดยเน้อื หาของแผนพัฒนา บุคลากรฯ ประกอบด้วย ๔ ประเด็นการพัฒนา ดงั นี้ ข

แผนพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ด้านที่ ๑ พัฒนาบคุ ลากรทุกระดับเพ่อื ก้าวไปสู่ความเปน็ มืออาชีพ ดา้ นที่ ๒ พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศด้านบุคลากรเพือ่ สนับสนนุ การทำงาน ในยคุ ดิจิทัล ด้านท่ี ๓ ส่งเสริมการบริหารทรพั ยากรบุคคลตามหลกั ธรรมาภบิ าล ด้านท่ี ๔ เสริมสรา้ งความสุข ความผูกพนั และคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ีในการทำงาน ดังนั้น แผนพัฒนาบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) จึงเปรยี บเสมอื นแนวทางการพัฒนาบุคลากรของกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม ในช่วง ๕ ปี ข้างหน้าอย่างมีทิศทางที่ชัดเจนและสอดคล้องกับคูม่ ือแนวทางการพัฒนาบุคลากรภาครัฐของสำนกั งาน ก.พ. และจะเป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนาบุคลากรของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ มคี วามรู้ ความสามารถ ทกั ษะ และสมรรถนะในการปฏิบตั ิงานอย่างมปี ระสิทธิภาพ เพ่ือขับเคลอื่ นภารกิจของ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้บรรลุสัมฤทธิ์ผล เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนและ ประเทศชาตติ อ่ ไป สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม สถาบันพฒั นาบุคลากรด้านทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม กันยายน ๒๕๖๔ ค

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) บทสรปุ ผบู้ รหิ ำร (Executive Summary) กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ได้ให้ความสำคญั กับกระบวนการพัฒนาศกั ยภาพ ของบุคลากรทกุ ระดบั มกี ารพัฒนากลไกสนับสนุนให้บุคลากรไดม้ ีโอกาสเพม่ิ พูนความรู้ความสามารถท่ีจำเป็น และส่งผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ในขณะเดียวกัน ยังให้ความสำคัญในเรื่องของ การสร้างดุลยภาพชีวิตที่ดีร่วมกบั การทำงานอย่างมีความสุขของบุคลากรด้วย ดังนั้น ในการจัดทำแผนพฒั นา บุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙) จึงได้มีการวิเคราะห์ ความจำเป็นในการพัฒนาบุคลากรด้านต่างๆ โดยผ่านความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะทำงานจัดทำแผนพัฒนา บุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ในคราวประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๖๔ เมื่อวนั ที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๖๔ และในคราวประชุมครั้งที่ ๒/๒๕๖๔ เมื่อวันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๖๔ ประกอบกับมติที่ประชุม คณะกรรมการพัฒนาบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในคราวประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๖๔ เมื่อวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๖๔ ได้เห็นชอบการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙) เพื่อเป็นกรอบทิศทางในการพัฒนาบุคลากรให้มีความพร้อมทั้ง ด้านศักยภาพ คุณภาพชีวิต และความภาคภูมิใจเพื่อขับเคลื่อนภารกิจของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอ้ มไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพและประสทิ ธิผล โดยม่งุ เนน้ การพฒั นาสมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์สอดคล้องกับ แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ ระบบราชการ 4.0 แนวทางการพัฒนาบุคลากรภาครัฐ แนวทางพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐเพื่อปรับเปลี่ยนเป็นรัฐบาลดิจิทัล แผน แมบ่ ทกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม ระยะ ๒0 ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – 2580) แผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙) ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และนโยบายการ ดำเนินงาน “ทส. ยกกำลงั 2 บวก 4” ของนายวราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งการวิเคราะห์ประเมินสภาพการณ์ด้านการพัฒนาบุคลากร และสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นจริง ในการพฒั นาบคุ ลากรของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ง

แผนพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) การจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) มีวัตถุประสงค์เพื่อให้กระบวนการพัฒนาบุคลากรของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีเป้าหมายและทิศทางที่ชัดเจน ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม และ ใช้เป็นเครื่องมือสำคัญในการเสริมสร้างบุคลากรทุกสายงานสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ สนับสนนุ และขับเคลื่อนภารกิจของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อมใหบ้ รรลุเป้าหมายอย่างยั่งยืน รวมถึงใหบ้ คุ ลากรมโี อกาสความก้าวหน้าในสายอาชีพอย่างต่อเน่ือง ผ่านการพฒั นาใหม้ ีความรู้ ความสามารถ มีทักษะ มีความเป็นผู้นำ เป็นคนดี รวมทั้งมีพลังกาย พลังใจในการปฏิบัติภารกิจของตนเองให้ประสบ ความสำเร็จ และตอบสนองต่อสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ได้อย่างทันท่วงที จึงกำหนด ประเด็น การพฒั นาไว้ ๔ ดา้ น ดังนี้ ดา้ นที่ ๑ พัฒนาบุคลากรทุกระดบั เพอ่ื กา้ วไปสูค่ วามเปน็ มืออาชีพ เปา้ ประสงค์ : ๑) บุคลากรมีขีดความสามารถ ทักษะที่หลากหลายในการปฏิบัติงานตามภารกิจ องคก์ าร แนวทางการพฒั นา : ๒) องค์การมีแผนเส้นทางการฝึกอบรม (Training Roadmap) และแผนพัฒนา ความก้าวหน้าในสายอาชพี (Career Development Plan) ๑.๑) กำหนดกรอบแนวทางการพัฒนาขีดความสามารถตามสมรรถนะและเพิ่มพนู ทกั ษะอยา่ งตอ่ เนื่องใหค้ รอบคลมุ บคุ ลากรทุกระดบั เพอ่ื รองรบั การทำงานวถิ ใี หม่ ๑.๒) พัฒนาบุคลากรและเพิ่มพูนทักษะทีจ่ ำเป็นในการขบั เคลื่อนการปฏิรูปภาครฐั (ทักษะเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Skillset) ทักษะด้านภาวะผู้นำ (Leadership Skillset) และทักษะตามสายงาน (Functional Skillset)) ๒.๑) จัดทำแผนเส้นทางการฝึกอบรม (Training Roadmap) และแผนพัฒนา ความก้าวหน้าในสายอาชีพ (Career Development Plan) ให้ครอบคลุมบุคลากร ทุกระดับ ๒.๒) พัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนคุณภาพ (Talent Management) พร้อม เขา้ สตู่ ำแหนง่ ทางการบรหิ ารและวชิ าการทส่ี ำคญั (Succession Plan) ๒.๓) ติดตามและประเมินความสอดคล้องของแผนพัฒนาบุคลากรกับทิศทางการ บริหารจดั การงานดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม จ

แผนพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ด้านท่ี ๒ พฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศด้านบคุ ลากรเพ่ือสนับสนนุ การทำงานในยุคดิจทิ ัล เปา้ ประสงค์ : ๑) องค์การมีระบบและกลไกการพัฒนาบุคลากรด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ทม่ี ีประสิทธภิ าพ แนวทางการพัฒนา : ๒) องค์การมีระบบฐานข้อมูลการพัฒนาบุคลากรที่มีความทันสมัย สนับสนุนการ ปฏิบตั งิ านอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล ด้านท่ี ๓ ๑.๑) จดั ทำระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนบั สนนุ การพฒั นาบุคลากร เปา้ ประสงค์ : ๑.๒) สร้างกระบวนการพัฒนาบุคลากรผ่านแพลตฟอร์มการเรียนรู้ดิจิทัล (Digital Learning Platform) แนวทางการพฒั นา : ๑.๓) พัฒนาความร่วมมือเครือข่ายกำลังคน หน่วยงาน องค์การ และสถาบันที่ เก่ียวข้องด้านพัฒนาบคุ ลากรระดบั กระทรวงและระดับกรม ด้านท่ี ๔ ๒.๑) จัดทำระบบฐานข้อมูลกลางด้านบุคลากรระดับกระทรวงและหน่วยงาน เปา้ ประสงค์ : ในสังกัดกระทรวงให้เป็นมา ตรฐ านเด ียวกัน เพื่อ เชื ่อมโยง ข้อ ม ูลใช ้ประ โ ย ช น์ ในการบริหารและใช้ศกั ยภาพของบคุ ลากรให้เกิดประโยชน์ต่อองคก์ าร สง่ เสริมการบริหารทรัพยากรบุคคลตามหลักธรรมาภิบาล ๑) บคุ ลากรมีจติ สำนกึ ประพฤตปิ ฏิบัติตนตามค่านิยม วัฒนธรรมการทำงานร่วมกัน โดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาล ๒) องค์การมีกระบวนการสรรหาและคัดเลือกบุคลากรเข้าสู่ระบบราชการ ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ ๑.๑) เสริมสร้างจิตสำนึกและค่านิยมในการทำงานเพื่อประชาชนโดยยึด หลกั ธรรมาภิบาล ๑.๒) ส่งเสรมิ คุณธรรมจริยธรรม และวัฒนธรรมในการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภบิ าล ๒.๑) พัฒนากระบวนการสรรหามีมาตรฐาน และคัดเลือกบุคลากรที่มีประสิทธภิ าพ โปร่งใส และเปน็ ธรรม เสรมิ สร้างความสุข ความผกู พนั และคุณภาพชวี ิตท่ีดใี นการทำงาน ๑) บุคลากรมีความผูกพันกับองค์การ มีคุณภาพชีวิตการทำงานที่ดี และมีความสุข ในการทำงาน ฉ

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) แนวทางการพัฒนา : ๑.๑) ส่งเสริมให้บุคลากรมีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งด้านร่างกายและจิตใจเพื่อให้ทำงาน อยา่ งมีความสขุ และเพอ่ื ผลสมั ฤทธขิ์ ององค์การ ๑.๒) เสรมิ สร้างความสมดลุ ระหวา่ งชวี ติ กบั การทำงานใหแ้ ก่บุคลากร ๑.๓) สรา้ งระบบนิเวศในการทำงานอยา่ งมีสว่ นร่วมและการทำงานเปน็ ทีม การจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ปี พ.ศ.๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ได้มีการกำหนดแผนปฏิบัติการที่สอดคล้องกับประเด็นการพัฒนาแต่ละเรื่องไว้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว พร้อมกับได้จัดทำตัวชี้วัดการดำเนินงานในแต่ละแนวทางการพัฒนาเพื่อบริหารจัดการให้เป็นไปในทิศทาง ทีย่ ทุ ธศาสตร์กำหนด หัวใจสำคญั ในการนำแผนไปสู่ปฏิบัติอีกประการ คือ การสรา้ งความเข้าใจให้แก่บุคลากร ทกุ ระดบั เพ่ือให้เกดิ การยอมรับและมีส่วนรว่ ม พร้อมทีจ่ ะนำแผนงาน โครงการต่างๆ ไปดำเนินการตามแนวทาง ได้อย่างเหมาะสมกับสภาพแวดล้อม และสามารถประยุกต์การดำเนนิ งานให้เหมาะสมกับแนวทางปฏิบัติงาน ของหน่วยงาน และผลักดันให้หน่วยงานในสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จัดทำ แผนปฏิบัติการที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙) และดำเนนิ การใหเ้ ป็นไปตามแผนทวี่ างไว้ โดยมกี ารกำกับดูแล การตดิ ตามผล รวมทง้ั สามารถ ประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนพัฒนาบุคลากรฯ ที่กำหนดไว้ รวมทั้ง มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การดำเนินงานอย่างตอ่ เนอ่ื งผ่านช่องทางหรือกิจกรรมต่างๆ อยา่ งตอ่ เน่ือง ช

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) สำรบญั เร่ือง หน้า คำนำ ข บทสรุปผบู้ รหิ าร ง สารบัญ ซ สารบญั ภาพ ญ สารบัญแผนภมู ิ ฐ สารบญั ตาราง ฑ บทที่ ๑ บทนำ ๑ ๑.๑ หลักการและเหตุผล ๒ ๑.๒ วัตถปุ ระสงค์ ๓ ๑.๓ วิธีการดำเนินงาน ๓ ๑.๔ ผลท่ีคาดว่าจะได้รบั ๕ บทที่ ๒ กรอบแนวคดิ ในการจัดทำแผนพัฒนาบคุ ลากร ๖ ๒.๑ ยทุ ธศาสตร์ นโยบาย และแผนทีเ่ กย่ี วข้องในการจดั ทำแผนพัฒนาบคุ ลากร ๗ ๒.๒ ความเชื่อมโยงนโยบายและแผนทส่ี ำคัญกับการจัดทำแผนพัฒนาบคุ ลากร ๔๘ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ๔๙ ๕๐ บทท่ี ๓ กระบวนการจัดทำแผนพฒั นาบุคลากร ๕๐ ๓.๑ กระบวนการและข้ันตอนการดำเนนิ งาน ๕๓ ๓.๒ การศกึ ษาและรวบรวมข้อมลู ๓.๓ ขอ้ มูลองค์การ (ทส.) ๕๙ บทที่ ๔ การวิเคราะหป์ ระเมินสภาพการณ์ปจั จยั ภายนอก ปจั จยั ภายในดา้ นการพัฒนา ซ บคุ ลากรของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม (HRD SWOT Analysis)

แผนพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) เร่อื ง หน้า บทที่ ๕ แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ๖๔ (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙) ๖๕ ๕.๑ วสิ ัยทัศน์ ๖๖ ๕.๒ พันธกจิ ๖๖ ๕.๓ เปา้ ประสงค์หลกั ๖๗ ๕.๔ ประเด็นการพัฒนา ๖๗ ๕.๕ เปา้ ประสงค์ ๖๘ ๕.๖ กลยทุ ธ์ ๗๐ ๕.๗ ความเช่ือมโยงของการพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๗๕ ๕.๘ แผนปฏิบตั ิการพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม ๘๐ บทที่ ๖ การนำแผนพฒั นาบคุ ลากรไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิและการติดตามรายงานผล ๘๑ ๖.๑ การนำแผนพัฒนาบคุ ลากรไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ ๘๓ ๖.๒ การตดิ ตามและประเมินผลแผนพัฒนาบคุ ลากร ๘๕ ภาคผนวก ๘๖ ๑. สำเนาคำสั่งกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ท่ี ๔๓/๒๕๖๔ เรือ่ ง แตง่ ต้งั คณะทำงานจดั ทำแผนพัฒนาบุคลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม ๘๙ ลงวนั ท่ี ๑๕ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๒. สำเนาคำส่งั กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม ท่ี ๑๐๙/๒๕๖๔ เรอ่ื ง แต่งต้ัง ๙๒ คณะกรรมการพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม ลงวนั ที่ ๑๘ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ๙๔ ๓. ภาพการประชมุ คณะทำงานจัดทำแผนพฒั นาบุคลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ สง่ิ แวดล้อม ครั้งท่ี ๑/๒๕๖๔ เมือ่ วันพฤหัสบดที ่ี ๑๘ มีนาคม ๒๕๖๔ ๙๖ ๔. ภาพการประชุมคณะทำงานจดั ทำแผนพฒั นาบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอ้ ม ครั้งท่ี ๒/๒๕๖๔ เมอื่ วนั พุธท่ี ๑๖ มิถุนายน ๒๕๖๔ ๙๘ ๕. ภาพการประชมุ คณะกรรมการพฒั นาบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ ๑๑๑ สง่ิ แวดลอ้ ม ครงั้ ที่ ๑/๒๕๖๔ เมอ่ื วนั ศุกร์ท่ี ๒๗ สิงหาคม ๒๕๖๔ ๖. แนวคดิ และทฤษฎีทเี่ กย่ี วข้องกับการพัฒนาบคุ ลากร ฌ ๗. แบบสำรวจความคิดเหน็ ต่อปัจจัยท่มี ีผลต่อการดำเนนิ การพัฒนาบคุ ลากร กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙)

แผนพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) สำรบญั ภำพ เรอ่ื ง หน้า ภาพที่ ๑ ยุทธศาสตรช์ าติด้านการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ปน็ มิตรกบั ๙ สิ่งแวดล้อม ๑๐ ภาพท่ี ๒ ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ๑๑ ภาพที่ ๓ ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ ๑๒ ภาพที่ ๔ แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ ๑๕ และส่งิ แวดลอ้ ม และการบรหิ ารจดั การทรัพยากรบุคคล ๑๘ ภาพที่ ๕ แผนการปฏริ ูปประเทศด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ๒๒ ภาพท่ี ๖ แผนการปฏิรปู ประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ๒๔ ภาพท่ี ๗ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ภาพท่ี ๘ แผนแม่บทกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม ระยะ ๒๐ ปี ๒๗ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ ) ๓๑ ภาพท่ี ๙ นโยบายการทำงาน ทส. ยกกำลัง 2 บวก 4 ของ นายวราวุธ ศลิ ปอาชา ๓๒ ๓๕ รฐั มนตรีว่าการกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ภาพที่ ๑๐ ระบบราชการ 4.0 ยดึ หลักธรรมาภิบาลเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ๓๖ ภาพที่ ๑๑ ระบบราชการแบบใหม่ (ระบบราชการ 4.0) ภาพที่ ๑๒ แนวทางการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ ๔๑ ๔๒ เพือ่ ปรับเปลยี่ นเปน็ รัฐบาลดิจทิ ลั ๔๔ ภาพท่ี ๑๓ แนวทางการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ ๔๗ เพ่ือปรับเปล่ียนเปน็ รฐั บาลดจิ ิทลั (ตอ่ ) ภาพที่ ๑๔ แนวทางการพัฒนาบุคลากรภาครฐั พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ภาพท่ี ๑๕ ประเด็นและแนวทางการพัฒนาบุคลากรภาครฐั พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ภาพที่ ๑๖ การพฒั นาคุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA) ภาพที่ ๑๗ กรอบมาตรฐานความสำเร็จด้านการบรหิ ารทรัพยากรบคุ คลของสว่ นราชการ (HR scorecard) ญ

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) เรอื่ ง หน้า ภาพที่ ๑๘ ผังความเชื่อมโยงนโยบายและแผนที่สำคัญกับการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากร ๔๘ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙) ๕๐ ภาพที่ ๑๙ ข้นั ตอนการดำเนินงานจัดทำแผนพฒั นาบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ ๕๖ และสิ่งแวดล้อม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙) ๖๐ ภาพท่ี ๒๐ สายงานกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม ๖๑ ภาพที่ ๒๑ ปัจจยั สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Factors) : จดุ แข็ง (Strengths) ๖๑ ภาพท่ี ๒๒ ปัจจยั สภาพแวดลอ้ มภายใน (Internal Factors) : จดุ ออ่ น (Weaknesses) ๖๒ ภาพท่ี ๒๓ ปัจจยั สภาพแวดลอ้ มภายนอก (External Factors) : โอกาส (Opportunities) ๖๓ ภาพท่ี ๒๔ ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก (External Factors) : ภัยคุกคาม (Threats) ภาพท่ี ๒๕ ผลการวิเคราะห์ประเด็นกลยุทธ์การพัฒนาบุคลากรกระทรวงทรัพยากร ๖๕ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) โดยใช้เทคนิค TOWS ๖๖ Matrix ภาพที่ ๒๖ วิสยั ทัศนข์ องแผนพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม ๖๖ (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ภาพท่ี ๒๗ พันธกจิ ของแผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ๖๗ (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ภาพที่ ๒๘ เป้าประสงค์หลักของแผนพัฒนาบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ ๖๗ ส่ิงแวดล้อม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ภาพท่ี ๒๙ ประเด็นการพัฒนาของแผนพัฒนาบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ ๖๘ สงิ่ แวดล้อม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ภาพท่ี ๓๐ เป้าประสงค์ของแผนพัฒนาบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ ๖๘ สิ่งแวดลอ้ ม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ภาพที่ ๓๑ กลยทุ ธข์ องประเด็นการพฒั นาด้านท่ี ๑ พฒั นาบุคลากรทกุ ระดับเพือ่ ก้าวไปสู่ ๖๙ ความเปน็ มอื อาชีพ ภาพท่ี ๓๒ กลยุทธ์ของประเด็นการพัฒนาด้านที่ ๒ พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศด้าน ๖๙ บุคลากรเพอ่ื สนับสนนุ การทำงานในยคุ ดจิ ทิ ลั ภาพที่ ๓๓ กลยุทธ์ของประเด็นการพัฒนาด้านที่ ๓ ส่งเสริมการบริหารทรัพยากรบุคคล ตามหลกั ธรรมาภิบาล ภาพที่ ๓๔ กลยทุ ธ์ของประเด็นการพัฒนาดา้ นที่ ๔ เสริมสร้างความสุข ความผกู พัน และ คุณภาพชวี ติ ท่ดี ใี นการทำงาน ฎ

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) เร่อื ง หน้า ภาพท่ี ๓๕ ผังความเชื่อมโยงของการพัฒนาบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ ๗๐ ๗๑ สง่ิ แวดลอ้ ม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ๗๒ ภาพที่ ๓๖ ผังความเชือ่ มโยงของการพัฒนาบุคลากร : ด้านที่ ๑ พัฒนาบุคลากรทุกระดับ ๗๓ ๗๔ เพอื่ กา้ วไปสคู่ วามเป็นมืออาชีพ ๘๔ ภาพที่ ๓๗ ผังความเชื่อมโยงของการพัฒนาบุคลากร : ด้านท่ี ๒ พัฒนาเทคโนโลยี ๑๐๖ สารสนเทศด้านบุคลากรเพือ่ สนับสนุนการทำงานในยุคดจิ ิทลั ภาพท่ี ๓๘ ผังความเชื่อมโยงของการพัฒนาบุคลากร : ด้านท่ี ๓ ส่งเสริมการบริหาร ทรัพยากรบุคคลตามหลกั ธรรมาภบิ าล ภาพที่ ๓๙ ผังความเชื่อมโยงของการพัฒนาบุคลากร : ด้านที่ ๔ เสริมสร้างความสุข ความผกู พัน และคุณภาพชวี ติ ทด่ี ีในการทำงาน ภาพที่ ๔๐ การขับเคลื่อนแผนพัฒนาบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙) ไปสู่การปฏิบตั ิ ภาพที่ ๔๑ การพัฒนาทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (21ST - Century Skill) ของ World Economic Forum (WEF) ฏ

แผนพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) สำรบญั แผนภมู ิ เรื่อง หน้า แผนภูมิท่ี ๑ แผนภมู ิโครงสรา้ งและอตั รากำลงั กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ๕๓ สิ่งแวดล้อม ฐ

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) สำรบญั ตำรำง ตารางท่ี ๑ เร่อื ง หนา้ ประเด็นและแนวทางการดำเนนิ การของหน่วยงานภาครฐั ตามแนวทาง ๓๗ ตารางที่ ๒ การพฒั นาบคุ ลากรภาครฐั พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ทกั ษะเชิงยทุ ธศาสตรท์ ่ีสำคญั (Strategic Skillset) จำนวน ๔ ทักษะ ๓๙ ตารางท่ี ๓ ตามแนวทางการพัฒนาบคุ ลากรภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ ทักษะด้านภาวะผูน้ ำ (Leadership Skillset) จำนวน ๖ ทกั ษะตาม ๓๙ ตารางที่ ๔ แนวทางการพัฒนาบคุ ลากร ภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕ ตารางที่ ๕ จำนวนบุคลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม ๕๔ ตารางท่ี ๖ จำนวนตำแหน่งทีม่ ผี ูด้ ำรงตำแหน่งและจำนวนตำแหน่งวา่ ง ๕๔ จำนวนกลุ่มกำลังคนคุณภาพ (Talent Pool) กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ ๕๕ ตารางที่ ๗ และส่ิงแวดล้อม ตารางท่ี ๘ ช่วงอายุราชการขา้ ราชการพลเรอื นสามัญ จำแนกตามระดบั ตำแหนง่ ๕๗ แผนปฏิบัติการพัฒนาบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ ๗๕ สง่ิ แวดล้อม (ปี พ.ศ. ๒๕๔ – ๒๕๖๙) ฑ

แผนพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม (พ.ศ. 2565 – 2569) 1

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ๑ บทนำ ๑.๑ หลักการและเหตุผล ภายใต้กระแสแห่งการปฏิรูประบบราชการ และการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี การบริหาร จดั การยคุ ใหม่ ผ้นู ำหรอื ผู้บริหารองค์การต่าง ๆ ตอ้ งมคี วามตนื่ ตวั และเกิดความพยายามปรับตัวในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะการเร่งรัดพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ การปรับเปลี่ยนวิธีคิด วิธีการทำงาน เพื่อแสวงหา รูปแบบใหม่ๆ และนำระบบมาตรฐานในระดับต่างๆ มาพัฒนาองค์การ ซึ่งนำไปสู่แนวคิดการพัฒนาระบบ บริหารความรู้ภายในองค์การ เพื่อให้องค์การสามารถใช้และพัฒนาความรู้ที่มีอยู่ภายในองค์การได้อย่าง มีประสิทธิภาพและปรับเปลี่ยนวิทยาการความรู้ใหม่มาใช้กับองค์การได้อยา่ งเหมาะสม ประกอบกับพระราช กฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ระบุว่า “ส่วนราชการมีหน้าท่ี พัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้อย่างสมำ่ เสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูล ข่าวสารและสามารถประมวลผลความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อนำมาประยุกตใ์ ชใ้ นการปฏิบัตริ าชการไดอ้ ย่างถูกต้อง รวดเร็วและเหมาะสมตอ่ สถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์และ ปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในสังกัดให้เป็นข้าราชการที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน ทั้งน้ี เพื่อประโยชนใ์ นการปฏบิ ัตริ าชการของส่วนราชการให้สอดคลอ้ งกบั การบริหารราชการให้เกดิ ผลสัมฤทธิ์” การผลักดันองค์การไปสู่อีกหนึ่งขั้นของความก้าวหน้าหรือความสำเร็จ นอกจากเครื่องมือท่ี เพียบพร้อม ระบบงานที่ทันสมัย ยังต้องอาศัย “ทรัพยากรมนุษย์ หรือ Human Resource” ที่มีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญในหน้าที่ของตนเอง การยกระดับขีดความสามารถของบุคลากร นับเป็นกลไก สำคัญในการขบั เคลอื่ นภารกิจขององค์การให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างสมั ฤทธ์ิผล องคก์ ารสามารถนำการพัฒนา บุคลากรไปสู่ความสำเร็จดังกล่าวได้จำเป็นต้องมีแผนและกลยุทธ์ที่มีความเชื่อมโยงและตอบสนองต่อ ยุทธศาสตร์ทกุ ระดับ ดังนน้ั เพอื่ ให้ทุกส่วนราชการมีบคุ ลากรทมี่ คี วามเชีย่ วชาญในสายงาน และสามารถร่วมมือ เพื่อพัฒนาบุคลากรไปสู่ทิศทางเดียวกัน จึงจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ สมรรถนะ และดึงศักยภาพของบุคลากร ที่มีอยอู่ อกมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสดุ และเพื่อเอื้ออำนวยตอ่ การขบั เคล่ือนองคก์ ารให้บรรลุเปา้ หมายทีต่ ้งั ไว้ 2

แผนพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาบุคลากร ซ่งึ เป็นหน่ึงในปัจจัยสำคัญท่ีจะชว่ ยให้องค์การสามารถขับเคลือ่ นการพัฒนาประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งภายใต้ บริบทความท้าทายและการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่รวดเร็วและรุนแรง ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเทคโนโลยีแบบพลิกผันที่กำลังเผชิญอยู่ ประกอบกบั ผลกระทบของสถานการณ์การแพรร่ ะบาด ของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ส่งผลใหก้ ารบริหารราชการตอ้ งปรบั เปลย่ี นเพือ่ ใหม้ ีความพร้อม และสามารถปรับตัวได้ทันต่อสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ดังนั้น จึงถือเป็นความท้าทายต่อ การบริหารและพัฒนาบุคลากรภาครัฐเพื่อสร้าง ดึงดูด รักษา และใช้ประโยชน์จากบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ (Competent) มีความมุ่งมั่น ผกู พัน และทมุ่ เท (Commitment) และสามารถสรา้ งสรรค์ผลงาน ท่เี ป็นประโยชน์ (Contribution) เพื่อใหบ้ คุ ลากรภาครัฐสามารถปฏบิ ัติงานอย่างมีประสิทธภิ าพ คลอ่ งตัว และ ตอบสนองตอ่ สถานการณท์ ไ่ี ม่แน่นอนและเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเรว็ ในยุคแหง่ ฐานชวี ิตวถิ ีใหม่ (New Normal) จึงได้จัดทำแผนพัฒนาบุคลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙) และ ยึดตามกรอบยุทธศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙) และแนวทางการพัฒนาบุคลากรภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนือ่ ง มุ่งเน้นให้บุคลากรมีสมรรถนะสูง มีความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่ทันสมัย ปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพ และยึดมน่ั ในคุณธรรม รวมถึงพฒั นาภาวะผ้นู ำในทุกระดบั ให้มขี ดี ความสามารถสูง มคี วามเปน็ มอื อาชพี ๑.๒ วตั ถุประสงค์ แผนพัฒนาบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ใหก้ ระบวนการพัฒนาบุคลากรของกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มมีเป้าหมาย และทิศทางที่ชัดเจน ตอบสนองต่อแผนแม่บทกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และเพื่อใช้เป็น เครื่องมือสำคัญในการเสริมสร้างบุคลากรทุกสายงานสามารถปฏิบัติหนา้ ที่ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ สนับสนุน และขับเคลื่อนภารกิจของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้บรรลุเป้าหมายอย่างยั่งยืนและ ทันทว่ งที รวมถึงให้บุคลากรมโี อกาสความกา้ วหน้าในสายอาชีพอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ๑.๓ วธิ กี ารดำเนินการ การดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) มขี ้นั ตอนการดำเนินการ ดงั นี้ 3

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) 1.3.1 การกำหนดประเด็นสำคญั ในการพฒั นาบุคลากร (๑) ศึกษานโยบายและแผนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาบุคลากรของหน่วยงานภาครัฐต่างๆ ท่ี เกี่ยวข้อง แผนแม่บทกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ระยะ ๒๐ ปี และนโยบายการดำเนินงาน “ทส ยกกำลัง 2 บวก 4” ของนายวราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สงิ่ แวดลอ้ ม ตลอดจนแผนกลยุทธ์ต่างๆ ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั พนั ธกิจของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม มาวเิ คราะห์ เพอื่ กำหนดแนวทางและหาประเดน็ สำคญั ในการพฒั นาบคุ ลากร (๒) ศกึ ษาแนวโนม้ ในการพัฒนาบุคลากรและการพัฒนาทกั ษะทีจ่ ำเป็นในอนาคต เช่น การพฒั นา ทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 โดย World Economic Forum แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารคน ในแตล่ ะช่วงอายุ (Generations) และ Digital Transformation เป็นต้น เพือ่ ให้บุคลากรมีความรู้ความสามารถ ทกั ษะ และสมรรถนะทีจ่ ำเป็นต่อการปฏบิ ตั งิ านในบรบิ ททีม่ กี ารเปลี่ยนแปลงในอนาคต 1.3.2 การวิเคราะห์ขอ้ มลู ทเี่ ก่ียวข้องกบั การพัฒนาบุคลากร ดำเนินการประมวลและจัดกลุ่มประเด็นข้อมูลการวิเคราะห์ประเมินสภาพการณด์ ้านการพัฒนา บุคลากร (HRD SWOT Analysis) ในภาพรวมของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ ดำเนินการสำรวจความคิดเห็นตอ่ ปัจจัยที่มีผลตอ่ การดำเนินการพัฒนาบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ที่มีลำดับความสำคัญมากอย่างยิ่ง (Critical Factors) ต่อการ ดำเนนิ การพฒั นาบุคลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ๓ ลำดบั แรกของปจั จยั สภาพแวดล้อม ภายในองค์การและปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกองค์การ และหาความสัมพันธ์โดยการใช้เทคนิค TOWS Matrix เพื่อใช้เป็นแนวทางในการกำหนดกลยุทธ์ด้านการพัฒนาบุคลากรที่เหมาะสมกับบริบทของกระทรวง ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ๑.๓.๓ การกำหนดรายละเอยี ดประเด็นการพัฒนาบคุ ลากร (๑) กำหนด (ร่าง) วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชี้วัด และแนวทางการพัฒนา บุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยการนำผลการวิเคราะห์จากขั้นตอนที่ ๑ และ ข้ันตอนที่ ๒ เป็นข้อมูลนำเข้าในการวิเคราะห์เพอ่ื กำหนดรายละเอียดประเดน็ ต่างๆ ทเี่ กีย่ วข้อง (๒) กำหนดแผนงาน/โครงการหลักรองรบั แผนพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม โดยในแต่ละแนวทางการพัฒนาบุคลากรได้กำหนดแผนงาน/โครงการหลัก และต้องดำเนินการ ให้เห็นผลเป็นรูปธรรม และเป็นแนวทางให้หน่วยงานในสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นำไปปฏิบัติตามความจำเป็นของแต่ละหนว่ ยงาน 4

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) (๓) พิจารณาเสนอ (ร่าง) แผนพัฒนาบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙) ต่อคณะทำงานจดั ทำแผนพฒั นาบุคลากรทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และ คณะกรรมการพัฒนาบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อโปรดพิจารณา (ร่าง) แผนพฒั นาบุคลากรฯ ตามลำดบั ๑.๓.๔ การกำหนดกลไกการขบั เคลือ่ นแผนพฒั นาบุคลากร (๑) นำแผนพัฒนาบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙) ไปสู่การปฏบิ ัติ และผลักดันให้หนว่ ยงานในสังกดั กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมจัดทำ แผนปฏิบัติการที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙) และดำเนนิ การให้เป็นไปตามแผนทีว่ างไว้ โดยมีการกำกับดูแล การติดตามผล รวมทงั้ สามารถ ประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนพัฒนาบุคลากรฯ ที่กำหนดไว้ รวมทั้ง มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การดำเนนิ งานอยา่ งตอ่ เนอ่ื งผ่านชอ่ งทางหรอื กิจกรรมตา่ งๆ อยา่ งต่อเนอื่ ง (๒) ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาบุคลากร โดยจัดทำแบบฟอร์ม การรายงานและตดิ ตามผล รวมทัง้ กำหนดรายละเอียดขอ้ มลู ท่ตี ้องการให้สอดคล้องกบั ความจำเป็นและการนำ ข้อมูลไปใช้ประโยชน์ตามนโยบายและความคาดหวังของผู้บริหาร โดยออกแบบแบบฟอร์มการติดตามและ รายงานผลให้มกี ารเช่อื มโยงขอ้ มูล ๑.๔ ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีแผนพัฒนาบุคลากรกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) เพื่อให้กระบวนการพัฒนาบุคลากรของ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีเป้าหมายและทิศทางที่ชัดเจน ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม และเพ่ือใชเ้ ปน็ เครอื่ งมือสำคญั ในการเสรมิ สร้างบุคลากรทุกสาย งานสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สนับสนุนและขับเคลื่อนภารกิจของกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้บรรลุเป้าหมายอย่างยั่งยืนและทันท่วงที รวมถึงให้บุคลากรมีโอกาส ความกา้ วหนา้ ในสายอาชีพอยา่ งตอ่ เนอื่ ง 5

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) 6

แผนพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) กรอบแนวคิดในกำรจดั ทำ ๒ แผนพฒั นำบคุ ลำกร ๒.๑ ยุทธศาสตร์ นโยบาย และแผนทเ่ี กย่ี วขอ้ งในการจดั ทำแผนพัฒนาบคุ ลากร กรอบแนวคิดในการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ได้นำนโยบายและแผนของชาตใิ นทุกระดับท่เี กี่ยวขอ้ งมาจัดวางเปา้ หมายและถ่ายทอด เชือ่ มโยงใหส้ อดคลอ้ งและตอบสนองกับแนวโนม้ ทศิ ทาง และสถานการณ์ปัจจบุ นั ของการพัฒนาบุคลากรของ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม ซ่งึ ประกอบดว้ ย ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรปู ประเทศ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๖๕) แผนแม่บทกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) และแผนปฏิบัติราชการ ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๕ - ๒๕๖๙) ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม คำแถลงการนโยบายของคณะรัฐมนตรีเมื่อ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒ นโยบายการดำเนินงานของ นายวราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งนโยบายและ แนวทางด้านการพัฒนาบุคลากรภาครฐั ทีเ่ กย่ี วข้อง โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี แผนระดบั 1 ๒.๑.๑ ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) เป็นการวางแผนและกำหนดยุทธศาสตร์ การพัฒนาในระยะยาวและกำหนดแนวทางการพัฒนาของทกุ ภาคส่วนให้ขบั เคลอ่ื นไปในทิศทางเดยี วกนั ดงั นัน้ จึงจำเป็นต้องกำหนดยุทธศาสตร์ชาติในระยะยาว เพื่อถ่ายทอดแนวทางการพัฒนาสู่การปฏิบัติในแต่ละ ช่วงเวลาอย่างต่อเน่ือง และมีการบูรณาการและสร้างความเข้าใจถึงอนาคตของประเทศไทยร่วมกัน และเกิด การรวมพลังของทุกภาคส่วนในสังคม ทั้งประชาชน เอกชน ประชาสังคม ในการขับเคลื่อนการพัฒนาเพื่อ การสร้างและรักษาไว้ซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติและบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เปน็ ประเทศพฒั นาแลว้ ด้วยการพัฒนาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ซ่ึงยุทธศาสตร์ชาติท่ีจะใช้เป็น กรอบแนวทางการพัฒนาในระยะ ๒๐ ปีต่อจากนี้ไป ประกอบด้วย ๖ ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ๑) ยุทธศาสตร์ด้าน ความมน่ั คง ๒) ยทุ ธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน ๓) ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาและเสริมสร้าง 7

แผนพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ศักยภาพคน ๔) ยุทธศาสตรด์ ้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทยี มกนั ทางสังคม ๕) ยทุ ธศาสตร์ด้าน การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ ๖) ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและ พัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ดังนั้น เมื่อพิจารณาทั้ง ๖ ยุทธศาสตร์แล้ว พบว่า มียุทธศาสตร์ท่ี เกีย่ วข้องกับกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มและการบริหารจดั การทรพั ยากรบคุ คล ดงั นี้ ยุทธศาสตรช์ าตทิ ี่ ๕ ด้านการสรา้ งการเติบโตบนคณุ ภาพชีวิตท่ีเปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อม เป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพื่อนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกมิติ ทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกัน ทั้งภายใน และภายนอกประเทศอย่างบรู ณาการ ใชพ้ ื้นท่ีเปน็ ตัวต้ังในการกำหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให้ทุกฝ่าย ที่เกยี่ วขอ้ งได้เขา้ มา มีส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากท่ีสดุ เทา่ ทีจ่ ะเป็นไปได้ โดยเป็นการดำเนนิ การบนพ้ืนฐาน การเติบโตร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิต โดยให้ความสำคัญกับการสร้าง สมดลุ ทงั้ ๓ ดา้ น อนั จะนำไปสคู่ วามย่งั ยนื เพือ่ คนรุ่นตอ่ ไปอย่างแทจ้ รงิ ซ่ึงประกอบไปดว้ ยประเด็นยทุ ธศาสตร์ จำนวน ๖ ประเด็น ได้แก่ (๑) สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสเี ขยี ว (๒) สร้างการเติบโตอยา่ ง ยั่งยืน บนสังคมเศรษฐกิจภาคทะเล (๓) สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ (๔) พัฒนา พื้นที่เมือง ซนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเซิงนิเวศ มุ่งเน้นความเป็นเมืองที่เติบโตอย่าง ต่อเนื่อง (๕) พัฒนาความมั่นคงนํ้า พลังงาน และเกษตรที่เปน็ มิตรต่อสิ่งแวดล้อม และ (๖) ยกระดับกระบวน ทัศนเ์ พ่อื กำหนดอนาคตประเทศ 8

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ภาพที่ ๑ ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นการสรา้ งการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ิตทเ่ี ป็นมติ รกับสง่ิ แวดล้อม ยทุ ธศาสตรช์ าตทิ ่ี ๓ ด้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ สำหรับยุทธศาสตร์ที่มีความเก่ียวข้องกับการบริหารจัดการทรัพยากรบคุ คล คือ ยุทธศาสตร์ ชาติที่ ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญ เพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปญั ญา มพี ฒั นาการท่ีดรี อบดา้ น และมสี ุขภาวะทด่ี ใี นทกุ ช่วงวยั มีจิตสาธารณะ รบั ผิดชอบตอ่ สงั คมและผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรมและเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะ ที่จำเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่สาม และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรัก การเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผปู้ ระกอบการ เกษตรกรยุคใหมแ่ ละอน่ื ๆ โดยมสี ัมมาชพี ตามความถนัดของตนเอง ซ่งึ ประกอบไปด้วยประเด็น ยุทธศาสตร์ จำนวน ๗ ประเด็น ได้แก่ (๑) การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม (๒) การพัฒนาศักยภาพคน ตลอดชว่ งชีวิต (๓) ปฏริ ปู กระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21 (๔) การตระหนัก 9

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ถึงพหุปัญญาของมนษุ ย์ที่หลากหลาย (๕) การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะท่ีดี (๖) การสร้างสภาพแวดลอ้ ม ที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ และ (๗) การเสริมสร้างศักยภาพการกีฬา ในการสร้างคุณค่าทางสงั คมและพฒั นาประเทศ ภาพที่ ๒ ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ยทุ ธศาสตรช์ าตทิ ่ี ๖ ด้านการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั นอกจากนั้น ยังที่มีความสำคัญในการบริหารจัดการภาครัฐ คือ ยุทธศาสตร์ชาติที่ ๖ ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ มีเป้าหมายการพฒั นาที่สำคัญเพื่อปรับเปลีย่ น ภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดท่ี เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาทหน่วยงานของรัฐที่ทำหน้าที่ในการกำกับหรือในการให้บริการ ในระบบเศรษฐกิจทีม่ ีการแขง่ ขันมีสมรรถนะสูง ยดึ หลักธรรมาภิบาล ปรับวฒั นธรรมการทำงานให้มุ่งผลสัมฤทธ์ิ และผลประโยชน์ส่วนร่วม มีความทันสมัย และพร้อมที่จะปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก 10

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) อยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งการนำนวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการทำงานที่เป็นดจิ ิทลั เข้ามาประยกุ ต์ใชอ้ ยา่ งค้มุ ค่าและปฏิบัตงิ านเทียบไดก้ ับมาตรฐานสากล รวมท้งั มลี กั ษณะเปดิ กวา้ ง เชือ่ มโยงถึงกัน และเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสงั คมตอ้ งรว่ มกนั ปลูกฝังคา่ นยิ มความซ่ือสัตย์สุจริต ความมธั ยัสถ์ และ สร้างจิตสำนึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างสิ้นเชิง นอกจากนั้น กฎหมายต้อง มีความชัดเจน มีเพียงเท่าที่จำเป็น มีความทันสมยั มีความเปน็ สากล มีประสทิ ธภิ าพ และนำไปสูก่ ารลดความ เหลื่อมล้ำและเอื้อต่อการพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรมมีการบริหารที่มีประสิทธิภาพ เป็นธรรมไม่เลือก ปฏิบัติ และการอำนวยความยุติธรรมตามหลักนิติธรรม ซึ่งประกอบไปด้วยประเด็นยุทธศาสตร์ จำนวน ๗ ประเดน็ ได้แก่ (๑) ภาครัฐทย่ี ดึ ประชาชนเปน็ ศูนย์กลาง ตอบสนองความตอ้ งการ และให้บริการอย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส (๒) ภาครัฐบริหารงานแบบบูรณาการโดยมียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายและเชื่อมโยง การพัฒนาในทุกระดับ ทุกประเด็น ทุกภารกิจ และทุกพื้น (๓) ภาครัฐมีขนาดเล็กลง เหมาะสมกับภารกิจ สง่ เสริมใหป้ ระชาชนและทุกภาคส่วนมีสว่ นร่วมในการพัฒนาประเทศ (๔) ภาครฐั มคี วามทนั สมัย (๕) บุคลากร ภาครัฐเป็นคนดีและเก่ง ยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสำนึก มีความสามารถสูง มุ่งมั่น และเป็นมืออาชพี (๖) ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ (๗) กฎหมายมีความสอดคล้องเหมาะสมกับ บริบทต่างๆ และมีเท่าที่จำเป็น และ (๘) กระบวนการยุติธรรมเคารพสิทธิมนุษยชนและปฏิบัติต่อประชาชน โดยเสมอภาค ภาพท่ี ๓ ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ 11

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) แผนระดับ ๒ ๒.๑.๒ แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นแผนแม่บทเพื่อบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ ในยุทธศาสตร์ชาติ มีทั้งสิ้น ๒๓ ประเด็น ซึ่งจะมีผลผูกพันต่อหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องที่จะต้องปฏิบัติให้ เป็นไปตามนน้ั รวมทั้งการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ ตอ้ งสอดคลองกับแผนแมบท ซึ่งจะ นำไปสู่การปฏิบัติเพื่อให้ประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนเป็นประเทศ พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยมีแผนแม่บทที่เกี่ยวข้องกบั กระทรวง ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมและการบริหารจัดการทรพั ยากรบคุ คล ดังนี้ ภาพที่ ๔ แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติที่เกีย่ วขอ้ งกบั กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม และการบริหารจัดการทรพั ยากรบุคคล 12

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ๒.๑.๓ แผนการปฏิรปู ประเทศ และแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรงุ ) พระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการดำเนินงานปฏิรูปประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๐ กำหนดให้ มีคณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านต่างๆ เพื่อรับผิดชอบจัดทำแผนการปฏิรูปประเทศ ซึ่งประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๖ เมษายน ๒๕๖๑ ต่อมา คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการปรับปรุงองค์ประกอบ และแต่งตั้งเพ่ิมเตมิ คณะกรรมการปฏิรปู ดา้ นต่างๆ เม่อื วันท่ี ๓๐ มถิ นุ ายน ๒๕๖๓ รวม ๑๓ ดา้ น ประกอบด้วย ด้านการเมือง ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ด้านกฎหมาย ด้านกระบวนการยุติธรรม ด้านเศรษฐกิจ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านสาธารณสุข ด้านสื่อสารมวลชนและเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านสงั คม ด้านพลังงาน และดา้ นการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ ด้านการศึกษา และ ด้านวัฒนธรรม กีฬา แรงงานและการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ ส่งผลให้ต้องดำเนินการปรับปรงุ แผนการปฏริ ูป ประเทศทั้ง ๑๓ ด้าน ซึ่งแล้วเสรจ็ ภายในวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๖๓ ท้ังนี้ ให้ดำเนินการตามมติคณะรฐั มนตรี เมื่อวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๖๒ ที่เห็นชอบการปรับปรงุ แผนการปฏิรูปประเทศให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทฯ และมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง และมอบหมายคณะกรรมการปฏิรูปประเทศดำเนินการตาม ขน้ั ตอนและกรอบระยะเวลาของกฎหมาย โดยกำหนดประเด็นในการปรับปรุง ๖ ประเดน็ ได้แก่ (๑) การกำหนด เป้าหมายและตัวชี้วัดในระดับแผนให้ชัดเจน สามารถวัดผลการดำาเนินการได้ (๒) การปรับตัดกิจกรรมที่ เข้าข่ายเป็นภารกิจปกติของหน่วยงานและคัดเลือกเฉพาะกิจกรรมปฏิรูปประเทศที่จะส่งผลให้เกิดการ เปล่ยี นแปลงตอ่ ประชาชนอย่างมีนยั สำคญั (Big Rock) (๓) การทบทวนกฎหมายภายใตแ้ ผนการปฏริ ูปประเทศ โดยคัดเลือกเฉพาะกฎหมายทม่ี ีความสำคัญ รวมท้ังจัดลำดับความสำคัญของการเสนอกฎหมาย (๔) การทบทวน ขอ้ เสนอให้จดั ตั้งหนว่ ยงานของรัฐตามแผนการปฏริ ูปประเทศตามมติคณะรฐั มนตรเี มื่อวันท่ี ๒ มกราคม ๒๕๖๒ (๕) พิจารณาความเห็นของหน่วยงานรับผิดชอบตามแผนการปฏิรูปประเทศ ตามมาตรา ๒๖ และมาตรา ๒๗ ของพระราชบัญญัติฯ และ (๖) ปรับเค้าโครงของแผนการปฏิรูปประเทศแต่ละด้านให้เป็นรูปแบบเดียวกัน โดยคณะกรรมการปฏิรูปประเทศได้ดำเนินการรับฟังความเห็นเพื่อประกอบการจัดทำแผนการปฏิรปู ประเทศ ด้านที่รับผิดชอบให้มีความสมบูรณ์ครบถ้วนแล้ว เมื่อระหว่างวันที่ ๒ - ๓ กันยายน ๒๕๖๓ และดำเนินการ จัดทำแผนแล้วเสร็จ รวมท้ังจัดส่งให้สำนักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติในฐานะสำนักงาน เลขานุการคณะกรรมการปฏิรูปประเทศ เพื่อนำเสนอตามข้ันตอนต่อไป โดยที่ประชุมร่วมประธานกรรมการ ปฏิรูปประเทศ คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ และคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) แล้วเมื่อวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๖๓ วันท่ี ๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ และวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๖๓ ตามลำดบั 13

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ในการดำเนินการปรับปรุงแผนการปฏิรูปประเทศตามมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าวสอดคล้องกับ ข้อเสนอแนะของวฒุ สิ ภาและสภาผู้แทนราษฎรทีเ่ หน็ ควรให้ความสำคัญกับการคัดเลอื กเฉพาะกิจกรรมปฏริ ูป ประเทศที่จะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อประชาชนอย่างมีนัยสำคัญ (Big Rock) ซึ่งเป็นกิจกรรมท่ี มีความสำคัญเร่งดว่ นและดำเนินการร่วมกนั หลายหน่วยงาน สามารถดำเนินการและวดั ผลไดอ้ ย่างเปน็ รูปธรรม ในช่วงปี ๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ เพื่อบรรจุในแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) เนื่องจากกิจกรรมท่ีมีอยู่ ในปัจจุบันยังไม่เป็นการปฏริ ูปท่ีชัดเจน โดยแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ยังคงเป็นแผนระดับที่ ๒ ตามนัยมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยต้องส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ซึ่งทุกหน่วยงานต้องดำเนินการตามกิจกรรมปฏิรูป ประเทศที่จะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อประชาชนอย่างมีนัยสาคัญ (Big Rock) นำไปสู่การปฏิบัติตาม หลักความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล (Causal Relationship: XYZ) เพื่อให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายของ ยุทธศาสตร์ชาติของแต่ละชว่ งเวลา ๕ ปี โดยแผนการปฏิรปู ประเทศ (ฉบับปรับปรุง) จะดำเนินการคูข่ นานไป กบั เลม่ แผนการปฏริ ูปประเทศฉบบั เดิมทีป่ ระกาศใชเ้ มื่อเดอื นเมษายน ๒๕๖๑ ทีเ่ ป็นกจิ กรรมในลักษณะภารกิจ ปกติของหน่วยงาน ทั้งนี้ มีแผนการปฏิรูปประเทศด้านที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมและการบริหารจดั การทรพั ยากรบุคคล ได้แก่ ดา้ นที่ ๖ แผนการปฏริ ปู ประเทศดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม แผนการปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การสร้างความสมดุลในการ อนรุ ักษ์และใช้ประโยชน์ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วยประเดน็ ปฏิรปู ๖ เรือ่ งหลัก ได้แก่ - ทรัพยากรทางบก ประกอบด้วย ป่าไมแ้ ละสัตว์ปา่ ดิน และแร่ - ทรัพยากรน้ำ ประกอบด้วย การบริหารแผนโครงการที่สำคัญตามแผนยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ การบริหารเชิงพื้นที่ ระบบเส้นทางน้ำ การขยายผลแบบอย่างความสำเร็จ และความร้เู ทคโนโลยแี ละทรัพยากรมนษุ ย์เพอ่ื การบรหิ ารจัดการนำ้ 14

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) - ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ประกอบด้วย เขตทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง รายจังหวัด การปรับสมดุลโครงสร้างองค์การ ขยะในทะเลและชายฝั่ง องค์ความรู้ทางทะเล มลพิษในทะเล และชายฝงั่ การประมงทะเล สินแร่และแหล่งพลังงานในทะเล การแบง่ เขตการใชป้ ระโยชน์ ปะการัง การกดั เซาะ ชายฝงั่ ความร่วมมือระหวา่ งประเทศ คมุ้ ครองทางทะเลและสัตวท์ ะเลและกฎหมายทางทะเล - ความหลากหลายทางชีวภาพ ประกอบด้วย กลไกระดับชาติและพื้นที่ ระบบการวิจัย พฒั นาและเช่ือมโยงฐานข้อมูล ระบบและเครอื ข่ายฐานทรัพยากรท้องถิ่น ระบบบุคลากร กลไกรองรับการใช้ ประโยชนแ์ ละอนรุ ักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพอยา่ งย่งั ยืน - ส่ิงแวดล้อม ประกอบด้วย การจัดการมลพษิ ทีแ่ หลง่ กำเนิด การเฝา้ ระวัง ติดตาม ตรวจสอบ และควบคมุ มลพษิ และการแก้ปัญหาการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ - ระบบบริหารจัดการ ประกอบด้วย รายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ การประเมินยุทธศาสตร์การพัฒนาอยางยั่งยืน เขตควบคุมมลพิษ ผังเมือง เครื่องมือเศรษฐศาสตร์ องค์การ ระบบแผน ระบบงบประมาณ และเครื่องมือบริหารจัดการ ระบบยุติธรรมด้านสิ่งแวดล้อม และกฎหมาย ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม ภาพที่ ๕ แผนการปฏิรปู ประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม แผนการปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีเป้าประสงค์เพื่อ ให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้รับการดูแล รักษา และฟื้นฟูอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ และ มคี วามสมบรู ณ์ย่ังยืน เปน็ ฐานการพัฒนาประเทศท้ังทางเศรษฐกิจ สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม พรอ้ มทั้งเกิดความสมดุล 15

แผนพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ระหว่างการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ ลดความขัดแยง้ ของการพฒั นาท่ีใช้ฐานทรพั ยากรธรรมชาติ บรรเทา ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และลดภัยพิบัติทางธรรมชาติ และมีระบบบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพบนพื้นฐานการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนตามแนวทางประชารัฐ โดยกำหนด กิจกรรมปฏิรูปประเทศที่จะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อประชาชนอย่างมีนัยสำคัญ จำนวน ๔ กิจกรรม ประกอบด้วย ๑) เพ่มิ และพฒั นาพ้นื ทีป่ ่าไม้ใหไ้ ด้ตามเป้าหมาย ๒) การบริหารจดั การเขตทางทะเลและชายฝั่ง รายจังหวดั ๓) การบริหารจดั การนำ้ เพอ่ื สร้างเศรษฐกจิ ชุมชนในพืน้ ท่นี อกเขตชลประทาน และ ๔) ปฏริ ปู ระบบ การบรหิ ารจดั การเขตควบคมุ มลพิษ กรณีเขตควบคุมมลพิษมาบตาพดุ ทัง้ น้ี ในการดำเนนิ การดังกลา่ วจะส่งผล ให้ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมมีความอุดมสมบูรณ์และยัง่ ยนื มีพื้นที่สีเขียวเพ่ิมมากขึ้นทั้งในเขตเมือง และชุมชน มลพิษทางอากาศดีขึ้น และเกิดความสมดุลระหว่างการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ทั้งทรัพยากร ทางบก ทรัพยากรนำ้ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ สิง่ แวดล้อม และระบบการ บรหิ ารจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม ดา้ นที่ ๒ แผนการปฏิรปู ประเทศดา้ นการบริหารราชการแผ่นดนิ แผนการปฏิรูปประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ในการสร้างภาครัฐของประชาชนเพ่อื ประชาชน สามารถตอบสนองความต้องการและความคาดหวังของประชาชนที่หลากหลายได้อย่าง มีประสิทธผิ ล ประกอบด้วยประเดน็ ปฏิรูป ๖ เรอื่ งหลัก ไดแ้ ก่ - บริการภาครัฐ สะดวก รวดเร็ว และตอบโจทย์ชีวิตประชาชน ประกอบดว้ ย ๓ กลยทุ ธ์ ดงั นี้ (๑) เพิ่มสมรรถนะของหนว่ ยงานภาครัฐในการตอบสนองต่อประชาชนในสถานการณ์หรือ ภาวะฉกุ เฉนิ (๒) ยกระดับการใหข้ ้อมลู และใหค้ ำปรึกษาจากหน่วยงานของรฐั (๓) ยกระดับการใหบ้ รกิ ารประชาชนสู่การบรกิ ารที่เรว็ ขน้ึ ง่ายขึน้ และถูกลง - ระบบข้อมลู ภาครัฐมีมาตรฐาน ทันสมัย และเช่อื มโยงกัน ก้าวส่รู ัฐบาลดจิ ิทัล ประกอบด้วย ๓ กลยุทธ์ ดังน้ี (๑) บรู ณาการและยกระดับโครงสรา้ งพ้นื ฐานรัฐบาลดจิ ิทลั (๒) นำระบบดิจทิ ัลมาใช้ในการปฏิบตั ิงาน และการบรหิ ารราชการ 16

แผนพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) (๓) บรู ณาการขอ้ มูลของหน่วยงานภาครัฐเพอื่ การบรหิ ารราชการแผน่ ดิน - โครงสร้างภาครัฐกะทัดรัด ปรับตัวได้เร็วและระบบงานมีผลสัมฤทธิ์สูง ประกอบด้วย ๖ กลยทุ ธ์ ดงั น้ี (๑) ปรับปรงุ และพฒั นาโครงสร้างและระบบบรหิ ารงานของรัฐ (๒) เพิม่ ประสิทธภิ าพและสรา้ งความเขม้ แข็งของการบรหิ ารจัดการเชิงพ้ืนที่ (๓) พฒั นาขีดความสามารถในการจดั บรกิ ารสาธารณะขององค์การปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ (๔) พฒั นาระบบงบประมาณและการคลงั ภาครัฐเพ่ือเพิ่มประสิทธภิ าพในการบริหารจัดการ (๕) สร้างระบบธรรมาภบิ าลที่ย่งั ยนื ในหนว่ ยงานภาครฐั (๖) พฒั นากฎหมายเกยี่ วกับระเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดินให้สอดคลอ้ งกับสถานการณ์ที่ เปล่ียนแปลงไป - กำลังคนภาครัฐมีขนาดที่เหมาะสมและมีสมรรถนะสูง พร้อมขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบดว้ ย ๔ กลยทุ ธ์ ดังนี้ (๑) จัดกำลังคนให้สอดคล้องกับความจำเป็นในการบริการสาธารณะที่สำคัญ และ ขับเคล่อื นขีดความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ (๒) ลดขนาดกำลังคนและค่าใช้จ่ายด้านบุคคลภาครัฐที่มีผลผูกพันภาระงบประมาณ ในระยะยาว (๓) พัฒนาทกั ษะและสมรรถนะใหมเ่ พอ่ื สร้างความพรอ้ มเชิงกลยทุ ธ์ใหก้ บั กำลังคนภาครัฐ (New Mindsets and Skillsets) (๔) ตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการใช้กำลงั คนในส่วนราชการและหนว่ ยงานของรัฐ (Workforce Audit) - ระบบบริหารงานบุคคลที่สามารถดึงดูด สร้างและรักษาคนดีคนเก่งไว้ในภาครัฐได้ ประกอบด้วย ๖ กลยุทธ์ ดงั นี้ (๑) ดึงดดู ผู้มีความรคู้ วามสามารถและมจี ิตสาธารณะเขา้ มาทำงานในหนว่ ยงานของรฐั (๒) สง่ เสริม จงู ใจ และรักษาผูม้ ีความรู้ความสามารถและมีจิตสาธารณะไว้ในภาครฐั (๓) พัฒนาทรัพยากรบุคคลภาครัฐใหม้ ีขดี ความสามารถและความผกู พันต่อองคก์ าร (๔) พฒั นาผูน้ ำทเ่ี ปน็ ตัวอย่าง (Leadership by Example) (๕) สง่ เสริมคุณธรรมและจริยธรรมในการบริหารทรพั ยากรบคุ คล (๖) พฒั นาทางกา้ วหนา้ ในสายอาชพี และสร้างความตอ่ เนอ่ื งในการดำรงตำแหน่ง 17

แผนพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) - การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ คล่องตัว โปร่งใส และมีกลไกป้องกันการทุจริตทุกขั้นตอน ประกอบด้วย ๒ กลยุทธ์ ดังน้ี (๑) นำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ปรับปรุงระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐให้มีความคล่องตัว และมีประสทิ ธิภาพมากขึ้น (๒) ส่งเสริมและสร้างความเข้มแข็งให้กับกลไกการติดตามตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้าง ภาครฐั เพ่อื ให้เกิดความโปร่งใสและตรวจสอบได้ ภาพที่ ๖ แผนการปฏิรูปประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดิน แผนการปฏิรูปประเทศด้านการบริหารราชการแผ่นดิน มีเป้าประสงค์เพื่อให้ความสำคัญในการ เตรียมความพร้อมเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงในทุกมิติและรองรับผลกระทบของสถานการณ์ชีวิตวิถีใหม่ และ ทิศทางที่กำหนดไว้ตามยุทธศาสตร์ชาติ โดยกำหนดกิจกรรมปฏิรูปประเทศที่จะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ต่อประชาชนอย่างมีนัยสำคัญ จำนวน ๕ กิจกรรม ประกอบด้วย ๑) ปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารงานและ การบรกิ ารภาครฐั ไปสูร่ ะบบดิจิทัล ๒) จัดโครงสร้างองค์การ และระบบงานภาครัฐให้มีความยดื หยุ่น คล่องตัว และเปลยี่ นแปลงไดต้ ามสถานการณ์ ๓) ปรับเปล่ยี นการบริหารทรพั ยากรบุคคลภาครฐั สู่ระบบเปดิ เพ่ือใหไ้ ด้มา และรักษาไว้ซึ่งคนเก่ง ดี และมีความสามารถอย่างคล่องตัว ตามหลักคุณธรรม ๔) สร้างความเข้มแข็ง ในการบริหารราชการในระดบั พนื้ ท่ี โดยการมีสว่ นร่วมของประชาชน และ ๕) ขจัดอปุ สรรคในการจัดซ้ือจัดจ้าง ภาครฐั และการเบกิ จ่ายเงินเพื่อให้เกิดความรวดเรว็ คุ้มค่าโปรง่ ใส ปราศจากการทุจริต ท้ังนี้ ในการดำเนินการ 18

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ดังกล่าวจะส่งผลให้ภาครัฐมีความโปร่งใส เป็นที่เชื่อถือไว้วางใจของประชาชนในความซ่ือตรง และมาตรฐาน การทำงานที่มีคุณภาพสูงในระดับสากล มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและมุ่งเน้นให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ชัดเจน ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงมุ่งเน้นการสร้างเอกภาพแห่งพลังในการขับเคลื่อนกระบวนการปฏิรูประบบ บริหารราชการแผน่ ดิน เพือ่ ใหก้ ารจดั ทำบรกิ ารสาธารณะ การอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนมีประสิทธิภาพ และประสิทธผิ ล เป็นประโยชนต์ ่อประชาชนอย่างมีนัยสำคัญ ๒.๑.๔ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ไดจ้ ัดทำบนพ้ืนฐาน ของยทุ ธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) การพัฒนาประเทศในระยะแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ ๑๒ จะมุ่ง บรรลุเป้าหมายในระยะ ๕ ปี ที่จะสามารถต่อยอดในระยะต่อไป เพื่อให้บรรลุเป้าหมายอนาคตประเทศไทย ปี ๒๕๘๐ การพัฒนาระยะยาวตามยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี โดยมีหลักการสำคัญของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๒ ได้แก่ (๑) ยึด “หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” (๒) ยดึ “คนเปน็ ศนู ย์กลางการพัฒนา” (๓) ยึด “วสิ ัยทศั น์ ภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ป”ี (๔) ยดึ “เปา้ หมายอนาคตประเทศไทยปี 2559” (๕) ยดึ “หลักการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจที่ลดความเหลื่อมล้ำและขับเคลื่อนการเจริญเติบโตจากการเพิ่ มผลิตภาพการผลิตบนฐานของ การใชภ้ ูมิปัญญาและนวัตกรรม” และ (๖) ยึด “หลกั การนำไปส่กู ารปฏบิ ตั ใิ หเ้ กิดผลสัมฤทธิ์อย่างจริงจังใน ๕ ปี ทีต่ อ่ ยอดไปสผู่ ลสัมฤทธ์ทิ ี่เป็นเป้าหมายระยะยาว” เป้าหมายการพัฒนาทีย่ ่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) รวมทั้งการปรับโครงสร้างประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย 4.0 ตลอดจนประเด็นการปฏิรูป ประเทศ นอกจากนั้น ไดใ้ หค้ วามสำคญั กับการมีส่วนรว่ มของภาคกี ารพฒั นาทุกภาคส่วน ทงั้ ในระดับกลุ่มอาชีพ ระดับภาค และระดับประเทศในทุกขั้นตอนของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๒ อย่างกว้างขวางและต่อเนื่อง เพื่อร่วมกันกำหนดวิสัยทัศน์และทิศทางการพัฒนาประเทศ รวมทั้งร่วมจัดทำรายละเอียดยุทธศาสตร์ของ 19

แผนพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ เพื่อมุ่งสู่ “ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” ซึ่งถือเป็น จุดเปลี่ยนที่สำคัญในการเชื่อมต่อกับยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ในลักษณะการแปลงยุทธศาสตร์ระยะยาวไปสู่ การปฏิบัติ โดยได้กำหนดประเด็นการพัฒนา พร้อมทั้งแผนงาน/โครงการสำคัญที่ต้องดำเนินการให้เห็นผล เป็นรูปธรรมในช่วง ๕ ปีแรกของการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติเพื่อเตรียมความพร้อมคน สังคม และระบบ เศรษฐกิจของประเทศให้สามารถปรบั ตัวรองรบั ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงได้อยา่ งเหมาะสม ยุทธศาสตร์การพัฒนาในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๒ ประกอบด้วย ๑๐ ยุทธศาสตร์ โดย มียุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและการบริ หารจัดการทรัพยากร บคุ คล ไดแ้ ก่ ๑) ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งมเี ป้าหมาย คือ (๑) รกั ษา และฟนื้ ฟูฐานทรพั ยากรธรรมชาติ เพิม่ พ้นื ทป่ี ่าไมเ้ พอื่ การอนรุ กั ษ์ปา่ เศรษฐกจิ และ ป่าชายเลน ลดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ แก้ไขปัญหาการบุกรกุ ที่ดินของรัฐและจัดท่ีดินทำกนิ ใหผ้ ยู้ ากไรโ้ ดยให้สทิ ธิร่วม (๒) สร้างความมั่นคงด้านน้ำ และบริหารจัดการทรัพยากรน้ำทั้งน้ำผิวดินและน้ำใต้ดินให้ มีประสิทธิภาพ บริหารจัดการน้ำในระดับลุ่มน้ำให้มีความสมดุลระหว่างความต้องการใช้น้ำทุกกิจกรรมกับ ปริมาณน้ำต้นทุนเพื่อแกไ้ ขปญั หาการขาดแคลนนำ้ และลดจำนวนประชาชนทป่ี ระสบปญั หาจากการขาดแคลนน้ำ ควบคู่กับการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำทั้งภาคการผลิตและการบริโภค ป้องกัน และลดความเสียหายจาก อทุ กภัยและภัยแลง้ (๓) สร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี ลดมลพิษ และลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนและ ระบบนิเวศ โดยให้ความสำคัญเป็นลำดับแรกกับการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย ฟื้นฟูคุณภาพ แหล่งนำ้ สำคัญของประเทศ และแก้ไขปญั หาวกิ ฤตหมอกควนั (๔) เพิ่มประสิทธิภาพการลดก๊าซเรือนกระจกและขีดความสามารถในการปรับตัวต่อ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ มีกลไกจัดการเพื่อลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในด้านต่างๆ หรอื ในพืน้ ท่หี รอื สาขาที่มีความเสี่ยงจะได้รับผลกระทบสูง (๕) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยงจากภัยพิบตั ิ ความสูญเสียในชีวิต และทรพั ยส์ นิ ที่เกดิ จากสาธารณภัยลดลง ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กำหนด แนวทางการพฒั นาท่มี ีความสำคัญสูงและสามารถผลกั ดันสกู่ ารปฏิบตั ไิ ว้ ดังน้ี 20

แผนพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) (๑) การรักษาฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ สร้างสมดุลของการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อย่าง ยง่ั ยนื และเป็นธรรม (๒) เพิ่มประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการทรพั ยากรนำ้ เพอ่ื ให้เกดิ ความม่ันคง สมดุล และยัง่ ยืน (๓) แกไ้ ขปัญหาวกิ ฤตส่งิ แวดลอ้ ม (๔) ส่งเสริมการผลิตและการบรโิ ภคที่เปน็ มติ รกับสงิ่ แวดล้อม (๕) สนับสนุนการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวตอ่ การเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ (๖) บรหิ ารจัดการเพือ่ ลดความเสีย่ งด้านภยั พิบตั ิ (๗) พัฒนาระบบการบริหารจัดการและกลไกแกไ้ ขปญั หาความขัดแยง้ ด้านทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ ม (๘) การพัฒนาความรว่ มมอื ด้านสงิ่ แวดลอ้ มระหว่างประเทศ ๒) ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและ ธรรมาภิบาลในสงั คมไทย (๑) ลดสัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร และเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและ การให้บรกิ ารของภาครฐั และประสทิ ธภิ าพการประกอบธุรกจิ ของประเทศ (๒) เพิ่มประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการท่ดี ขี ององคก์ ารปกครองสว่ นท้องถิน่ (๓) เพมิ่ คะแนนดชั นกี ารรบั รู้การทุจริตใหส้ ูงข้ึน (๔) ลดจำนวนการดำเนนิ คดกี บั ผมู้ ไิ ด้กระทำความผดิ ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและ ธรรมาภิบาลในสงั คมไทย กำหนดแนวทางการพัฒนาท่ีมคี วามสำคญั สูงและสามารถผลักดันสกู่ ารปฏิบัตไิ ว้ ดงั น้ี (๑) ปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงาน บทบาท ภารกิจ และคุณภาพบุคลากรภาครัฐ ให้มีความ โปร่งใส ทนั สมัย คลอ่ งตัว มขี นาดที่เหมาะสม เกดิ ความค้มุ ค่า (๒) ปรับปรงุ กระบวนการงบประมาณ และสรา้ งกลไกในการติดตามตรวจสอบการเงนิ การคลัง ภาครัฐ (๓) เพ่มิ ประสทิ ธิภาพและยกระดบั การให้บริการสาธารณะให้ไดม้ าตรฐานสากล (๔) เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การให้แก่องค์การปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน (๕) ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมชิ อบ (๖) ปฏิรูปกฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรมให้มีความทันสมัย เป็นธรรม และสอดคล้องกับ ขอ้ บังคบั สากลหรือข้อตกลงระหว่างประเทศ 21

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ดังนั้น การดำเนินงานในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มตลอดระยะเวลา ๕ ปีนั้น ควรพิจารณาให้มีความสอดคล้องและส่งเสริมให้มีการขับเคลื่อนที่เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับทิศทาง การพัฒนาของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๒ เพื่อให้เกิดเป็นรูปธรรม ชัดเจน และมีการบริหารจัดการท่ี มปี ระสทิ ธิภาพ ภาพท่ี ๗ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) แผนระดบั ๓ ๒.๑.๕ แผนแม่บทกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ ) และแผนปฏิบัตริ าชการ ระยะ ๕ ปี (พ.ศ.๒๕๖๕ - ๒๕๖๙) ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดล้อม วิสัยทัศน์ : ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีตามแนววิถีใหม่ ภายใต้ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่งิ แวดลอ้ มท่ีย่ังยืน 22

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) พนั ธกจิ : ๑) ยกระดับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการเพื่อรองรับ การเปลี่ยนแปลงในอนาคต ๒) บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติเพื่ออนุรักษ์และใช้ประโยชน์ภายใต้แนวคิดการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมที่ยัง่ ยนื ๓) บรหิ ารจัดการน้ำเพือ่ การอนรุ ักษ์และใชป้ ระโยชน์ให้เกิดความสมดลุ และยั่งยืน ๔) บริหารจัดการสิง่ แวดลอ้ มให้มปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลเพอ่ื คณุ ภาพชวี ิตทด่ี ี ๕) ยกระดบั ขีดความสามารถองคก์ รเพอื่ ใหเ้ ปน็ ท่เี ช่ือม่ันของประชาชน เปา้ หมายการให้บรกิ ารกระทรวง : ๑) ทกุ ภาคส่วนมีสว่ นรว่ มในการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมให้สมดุล ๒) ทรัพยากรธรรมชาติถูกนำมาใช้ประโยชน์ภายใต้แนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและ ส่งิ แวดลอ้ มที่ย่ังยืน ๓) ทรพั ยากรน้ำมคี วามความสมดลุ และยัง่ ยนื ๔) ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ภายใต้การบริหารจัดการส่ิงแวดล้อมตามแนวทางโมเดล เศรษฐกจิ ใหม่ (BCG Economy) ๕) เป็นองคก์ รทเี่ ขา้ ถงึ เปดิ กวา้ ง เชือ่ มั่นและไว้ใจของประชาชน ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ : ๑) ขบั เคลื่อนกระบวนทศั น์ใหมเ่ พือ่ รองรบั การเปลีย่ นแปลงในอนาคต ๒) บริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์อย่างสมดุล ๓) สร้างความสมดุลและย่ังยืนด้านทรัพยากรน้ำให้กับประชาชนอย่างทั่วถึงและรักษาระบบ นเิ วศ ๔) ส่งเสรมิ และรกั ษาคุณภาพสง่ิ แวดลอ้ มเพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตทีด่ ี ๕) เพม่ิ ศกั ยภาพองคก์ รรองรบั วถิ ใี หมแ่ ละนวัตกรรมใหม่ 23

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ภาพที่ ๘ แผนแม่บทกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ ) นโยบายและแผนท่เี กีย่ วขอ้ ง ๒.๑.๖ คำแถลงการณน์ โยบายของคณะรัฐมนตรี 24

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) พลเอก ประยุทธ์ จันทรโ์ อซา นายกรฐั มนตรี ไดแ้ ถลงนโยบายต่อรัฐสภา เมอื่ วันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒ โดยมีนโยบายที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและการบริหารจัดการ ทรัพยากรบุคคล ไดแ้ ก่ ๑) นโยบายที่ ๘ การปฏริ ปู กระบวนการเรยี นรแู้ ละการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย การพฒั นาคนไทยให้มีความพรอ้ มในการดำรงชีวติ ในศตวรรษที่ ๒๑ เพอื่ ใหค้ นไทยในอนาคตเป็นพลงั ขับเคล่ือน การพัฒนาประเทศให้ก้าวไปข้างหน้าอย่างมแี บบแผนได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ รฐั บาลไดก้ ำหนดนโยบายในการ พัฒนาที่มุ่งพัฒนาคนในทุกมิติตามความเหมาะสมในแต่ละช่วงวัยให้มีความสมบูรณ์ เป็นคนดี มีวินัย เห็นแก่ ประโยชน์สว่ นรวม โดยมนี โยบายการพฒั นาทสี่ ำคัญ ประกอบดว้ ย (๑) ส่งเสรมิ การพัฒนาเดก็ ปฐมวัย (๒) พัฒนาบณั ฑิตพันธใุ์ หม่ (๓) พฒั นาอาชวี ะ พัฒนาคุณภาพวชิ าชีพ และพัฒนาแรงงานรองรบั อุตสาหกรรม ๔.๐ (๔) ดึงดดู คนเกง่ จากทัว่ โลกเข้ามารว่ มทำงานกับคนไทย และส่งเสรมิ ผูม้ ีความสามารถสูง (๕) วจิ ัยและพฒั นานวตั กรรมที่ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ (๖) สง่ เสรมิ การเรียนรแู้ ละพฒั นาทกั ษะทุกชว่ งวัย (๗) จดั ทำระบบปรญิ ญาชมุ ชนและการจัดอบรมหลกั สูตรระยะสัน้ ๒) นโยบายท่ี ๑๐ การพื้นฟทู รพั ยากรธรรมชาติและการรักษาสิ่งแวดล้อมเพอื่ สร้างการเติบโต อย่างยั่งยืน การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในระยะต่อไป จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมุ่งเน้นให้เกดิ ความสมดุลระหวา่ งการใช้ทรัพยากรเพอ่ื การพัฒนาประเทศ และการอนรุ กั ษ์ ฟ้นื ฟูทรพั ยากร เพื่อให้เกิดความ ยั่งยืนในระยะยาว นอกจากนี้ การบริหารราชการแผ่นดินในระยะต่อไป จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องคำนึงถึง ผลกระทบด้านทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งเป็นประเด็นท่ี ประเทศไทยซ่ึงเปน็ สว่ นหนงึ่ ในสังคมโลกตอ้ งมุ่งม่ันดำเนินการเพอื่ ลดผลกระทบด้านสง่ิ แวดล้อมที่เกิดจากการ พฒั นา รัฐบาลจึงไดก้ ำหนดนโยบายการพัฒนาในด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม ประกอบด้วย (๑) ปกป้อง รกั ษา ฟื้นฟูทรพั ยากรปา่ ไม้และสัตวป์ ่า (๒) ปรบั ปรงุ ระบบที่ดินทำกินและลดความเหล่ือมลํา้ ด้านการถือครองทีด่ ิน (๓) สง่ เสริมการบริหารจัดการนํ้าท้ังระบบ แหล่งน้ำชุมชน และทะเล (๔) สรา้ งความมั่นคงของฐานทรพั ยากรแรแ่ ละทรัพยากรทางทะเลและซายฝงั่ เพ่ือการพัฒนา ประเทศและเพมิ่ ขีดความสามารถในการแข่งขนั (๕) แก้ไฃปัญหากา๊ ซเรอื นกระจกและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (๖) พัฒนาระบบการจดั การสิ่งแวดล้อมภายใตแ้ นวคิดเศรษฐกจิ หมนุ เวียน 25

แผนพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) (๗) พัฒนากลไกแก้ไขปัญหาความขัดแย้งดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (๘) แกไ้ ขปญั หาการจัดการขยะและของเสียอย่างเปน็ ระบบ ๓) นโยบายท่ี ๑๑ การปฏริ ูปการบริหารจดั การภาครัฐ เพอ่ื ให้การขับเคล่ือนการพฒั นาประเทศ สามารถบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น การปฏิรูประบบการบริหารจัดการภาครัฐ โดยการนำ เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาช่วยในการให้บริการของภาครัฐ และการบูรณาการการทำงานของหน่วยงานต่างๆ นอกจากนี้ กระบวนการยุติธรรมจะต้องเป็นที่พ่ึงของประชาชนได้อย่างแท้จริง กฎหมายจะต้องได้รับการ ปรับปรุงให้มีความทันสมัย เป็นธรรม และเกิดประโยชน์ต่อประชาชนโดยรวม โดยรัฐบาลได้กำหนดนโยบาย การดำเนนิ การ ประกอบด้วย (๑) พัฒนาโครงสรา้ งและระบบการบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ (๒) ปรับเปลี่ยนกระบวนการอนุมตั ิ อนุญาตของทางราชการที่มีความสำคัญต่อการประกอบ ธุรกิจและดำเนินชวี ติ ของประชาชนให้เปน็ ระบบดจิ ิทลั (๓) พฒั นาระบบขอ้ มูลขนาดใหญใ่ นการบรหิ ารราชการแผ่นดิน (๔) เปดิ เผยข้อมลู ภาครฐั ส่สู าธารณะ (๕) สง่ เสริมระบบธรรมาภบิ าลในการบริหารจดั การภาครัฐ (๖) พฒั นากลไกใหป้ ระชาชนมสี ่วนร่วมในการพัฒนาบรกิ ารสาธารณะและการตรวจสอบภาครฐั (๗) ปรับปรุงระเบยี บ กฎหมาย เพ่ือเอ้อื ต่อการทำธรุ กจิ และการใชช้ วี ติ ประจำวนั (๘) การป้องกนั และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมชิ อบ และกระบวนการยุติธรรม ๒.๑.๗ นโยบายการทำงาน ทส.ยกกำลัง 2 บวก 4 ของนายวราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม จากการประชมุ ผู้บริหารกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม คร้งั ที่ ๕/๒๕๖๓ เม่ือวันท่ี ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ นายวราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม (รมว.ทส.) เป็นประธานการประชุมดังกล่าว เพื่อพิจารณาร่างแผนแม่บทกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมระยะ ๕ ปี และระยะ ๒๐ ปี โดยมีนายจตุพร บุรุษพัฒน์ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม และคณะผู้บริหารกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เข้าร่วมประชุม ณ ห้องประชุม อารีย์สัมพันธ์ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ซึ่ง รมว.ทส. ได้มอบนโยบายในการทำงานของกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมว่า ขอให้มีการยกระดับคุณภาพในการทำงานด้วยการวางเป้าหมายใหส้ ัน้ และวัดผลได้ เพื่อทำให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยมีศักยภาพที่ดีขึ้น และสามารถ แก้ไขปัญหาให้กับประชาชนได้ รวมถึงได้เน้นย้ำการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการขับเคลื่อนงานต่างๆ 26

แผนพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) และให้ความสำคัญกับการประชาสัมพนั ธ์งานที่ได้ทำ โดยจะทำอย่างไรทีจ่ ะใหค้ นรุ่นใหม่เขา้ มาสนใจงานของ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มมากขน้ึ ภาพที่ ๙ นโยบายการทำงาน ทส. ยกกำลัง 2 บวก 4 ของนายวราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม นโยบายและแนวทางด้านการพฒั นาบุคลากรภาครัฐ ๒.๑.๘ ระบบราชการ 4.0 จากนโยบายประเทศไทย 4.0 ซึ่งเป็นวิสัยทัศน์เชิงนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ รัฐบาลเพือ่ ม่งุ สกู่ ารบรรลวุ ิสยั ทัศน์ “ความมนั่ คง มัง่ คงั่ และยัง่ ยนื ” ด้วยการสรา้ ง “ความเขม้ แข็งจากภายใน” โดยเน้นการใชน้ วัตกรรมและความคดิ สร้างสรรค์ในการสร้างมลู ค่าและคุณค่าเพ่ิม เพื่อขับเคล่ือนประเทศตาม แนวคิด “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ผ่านกลไก “ประชารัฐ” โดยกำหนดให้มีการปฏิรูปภาครัฐสู่การเป็นระบบ ราชการ 4.0 ที่มียทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี เป็นตัวชี้นำ สง่ เสริมให้ภาครฐั ปรับตวั ให้เขา้ กบั เศรษฐกจิ และสังคม ยุคดิจิทัล ยกระดับประสทิ ธิภาพการทำงานโดยยึดประชาชนเป็นศนู ย์กลาง มีการบูรณาการเชื่อมโยงขอ้ มูลและ การดำเนินงานรว่ มกนั ระหว่างหน่วยงาน (Government Integration) การนำเทคโนโลยีมาสนับสนนุ การปฏิบัติงาน (Smart Operations) เพื่อให้เกิดความประหยัดและคุ้มค่า ยกระดับงานบริการภาครัฐให้ตรงกับความต้องการ 27

แผนพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ของประชาชนที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา (Citizen-centric Services) ซึ่งนโยบายนี้ถือเป็นโอกาสสำคัญ ในการขับเคลือ่ นการปฏริ ปู การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ใหป้ ระสบความสำเร็จ เพ่อื รองรับตอ่ ยทุ ธศาสตร์ประเทศ ไทย 4.0 ภาครฐั หรอื ระบบราชการจะต้องทำงาน โดยยึดหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เพ่ือประโยชนส์ ขุ ของประชาชน (Better Governance, Happier Citizens) หมายความว่า ระบบราชการต้อง ปรับเปลี่ยน แนวคิดและวิธีการทำงานใหม่เพื่อพลิกโฉม (Transform) ให้สามารถเป็นที่เชื่อถือไว้วางใจ และ เปน็ พงึ่ ของประชาชนได้อย่างแท้จริง (Credible and Trusted Government) ดงั นี้ ๑) เปิดกว้างและเชื่อมโยงกัน (Open & Connected Government) ต้องมีความเปิดเผย โปร่งใสในการทำงานโดยบคุ คลภายนอกสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของทางราชการ หรอื มีการแบ่งปันข้อมูล ซึ่งกันและกัน และสามารถเข้ามาตรวจสอบการทำงานได้ ตลอดจนเปิดกว้างให้กลไกหรือภาคส่วนอื่นๆ เช่น ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วม และโอนถ่ายภารกิจที่ภาครัฐไม่ควรดำเนินการเองออกไป ให้แก่ภาคส่วนอื่นๆ เป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการแทน โดยการจัดระเบียบความสัมพันธ์ในเชิงโครงสร้างให้ สอดรับกับการทำง า นแนวระน าบในลักษณะ ของเครือข่ายมากกว่าตามสายการบังคับบัญชา ในแนวดิ่ง ขณะเดียวกัน ก็ยังต้องเชื่อมโยงการทำงานในภาครัฐดว้ ยกันเองให้มเี อกภาพและสอดรบั ประสานกัน ไม่ว่าจะ เปน็ ราชการบริหารสว่ นกลาง ส่วนภมู ภิ าค และส่วนท้องถิน่ ๒) ยึดประชาชนเปน็ ศนู ย์กลาง (Citizen-Centric Government) ต้องทำงานในเชิงรุกและ มองไปข้างหน้า โดยตั้งคำถามกับตนเองเสมอว่า ประชาชนจะได้อะไร มุ่งเน้นแก้ไขปัญหาและตอบสนอง ความต้องการของประชาชน โดยไม่ต้องรอให้เข้ามาติดต่อขอรับบริการหรือร้องขอความช่วยเหลือจาก ทางราชการ (Proactive Public Services) รวมทั้งใช้ประโยชน์จากข้อมูลภาครัฐ (Big Government Data) และระบบดจิ ทิ ัลสมัยใหม่ในการจัดการบริการสาธารณะทีต่ รงกับความต้องการของประชาชน (Personalized หรือ Tailored Services) พร้อมท้ังอำนวยความสะดวก โดยมีการเชื่อมโยงกันเองของทางราชการเพื่อให้ บริการได้เสร็จสนิ้ ในจุดเดยี ว ประชาชนสามารถเรียกใช้บรกิ ารของทางราชการได้ตลอดเวลาตามความต้องการ ของตนและผ่านการติดต่อได้หลายช่องทางผสมผสานกัน ทั้งการติดต่อมาด้วยตนเอง เว็บไซต์ โซเชียลมีเดีย หรือแอปพลิเคช่นั ทางโทรศพั ทม์ อื ถือ ๓) มีขีดสมรรถนะสูงและทนั สมยั (Smart & High Performance Government) ตอ้ งทำงาน อย่างเตรียมการณ์ไว้ล่วงหน้า มีการวิเคราะห์ความเสี่ยง สร้างนวัตกรรมหรือความคิดริเริ่ม และประยุกต์ องค์ความรู้ในแบบสหสาขาวิชาเข้ามาใช้ในการตอบโต้กับโลกแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน เพื่อสร้าง คุณค่า มีความยืดหยุ่น และความสามารถในการตอบสนองกับสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างทันเวลาตลอดจน เป็นองค์การที่มีขดี สมรรถนะสูง และปรับตัวเข้าสู่สภาพความเปน็ สำนักงานสมัยใหม่ รวมทั้งทำให้ข้าราชการ มคี วามผกู พนั ตอ่ การปฏิบตั ิราชการและปฏบิ ัตหิ น้าท่ีไดอ้ ย่างเหมาะสมกบั บทบาทของตน 28

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ปัจจยั แห่งความสำเร็จของระบบราชการ 4.0 ตอ้ งอาศยั ปัจจยั สำคัญอย่างน้อย ๓ ประการ ไดแ้ ก่ ๑) การสานพลังระหว่างภาครัฐและภาคส่วนอื่นๆ ในสังคม (Collaboration) เป็นการ ยกระดับการทำงานให้สูงขึน้ ไปกวา่ การประสานงานกัน (coordination) หรือทำงานด้วยกัน (cooperation) ไปส่กู ารรว่ มมอื กัน (collaboration) อยา่ งแทจ้ ริง โดยจัดระบบใหม้ กี ารวางแผนเพอ่ื ให้บรรลุวตั ถุประสงค์และ เป้าหมายที่ต้องการร่วมกัน มีการระดมและนำเอาทรัพยากรทุกชนิดเข้ามาแบ่งปันและใช้ประโยชน์ร่วมกัน มีการยอมรับความเสี่ยงและรับผิดชอบต่อผลสำเร็จที่เกิดขึ้นร่วมกันเพื่อพัฒนาประเทศหรือแก้ปัญหา ความต้องการของประชาชนที่มีความสลับซับซ้อนมาขึ้น จนไม่มีภาคส่วนใดในสังคมจะสามารถดำเนินการได้ ลุลว่ งด้วยตนเองโดยลำพังอีกต่อไป หรือเปน็ การบริหารกิจการบ้านเมืองในรปู แบบ “ประชารัฐ” ๒) การสร้างนวัตกรรม (Innovation) เปน็ การคดิ ค้นและแสวงหาวธิ ีการหรือ solutions ใหม่ๆ ทำให้เกิด big impact เพื่อปรับปรุงและออกแบบการให้บริการสาธารณะและนโยบายสาธารณะให้สามารถ ตอบโจทย์ความท้าทายของประเทศ หรือตอบสนองปัญหาความต้องการของประชาชนได้อย่างมีคุณภาพ อันแปรผันไปตามสภาพพลวัตของการเปลี่ยนแปลง โดยอาศัยรูปแบบห้องปฏิบัติการ (GovLab/Public Sector Innovation Lab) และใช้กระบวนการความคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) ในลักษณะที่ให้ ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อสร้างความเข้าใจและเข้าถึงความรู้สึกนึกคิด (Empathize) ก่อนจะสร้าง จนิ ตนาการ (Ideate) พฒั นาต้นแบบ (Prototype) ทำการทดสอบ ปฏิบัติจริง และขยายผลตอ่ ไป 29

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ๓) การปรับเข้าสู่ความเปน็ ดิจทิ ัล (Digitization / Digitalization) เป็นการผสมผสานกนั ของ การจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลผ่านระบบคลาวด์ (cloud computing) อุปกรณ์ประเภทสมาร์ทโฟน และ เครื่องมือเพื่อการใช้งานรว่ มกัน (collaboration tool) ทำให้สามารถติดต่อกันได้อย่างเรียลไทม์ ไม่ว่าจะอยู่ ที่ใด และสามารถวิเคราะห์ข้อมูลอันสลับซับซ้อนต่างๆ ได้ และช่วยให้บริการของทางราชการสามารถ ตอบสนองความคาดหวังของประชาชนที่ต้องการให้ดำเนินการได้ในทุกเวลา ทุกสถานที่ ทุกอุปกรณ์และ ช่องทางได้อย่างมั่นคง ปลอดภัย และประหยัดในส่วนของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ต้องได้รับการ ปรับเปลี่ยนกระบวนการทางความคิด (mindset) ให้ตนเองมีความเป็นผู้ประกอบการสาธารณะ (Public Entrepreneurship) เพิ่มทักษะให้มีสมรรถนะที่จำเป็นและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตน อันจะช่วยทำให้ สามารถแสดงบทบาทของการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (change leader) เพื่อสร้างคุณค่า (public value) และประโยชนส์ ุขใหแ้ ก่ประชาชน 30

แผนพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ภาพที่ ๑๐ ระบบราชการ 4.0 ยึดหลกั ธรรมาภิบาลเพ่ือประโยชน์สุขของประชาชน 31

แผนพฒั นาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ภาพที่ ๑๑ ระบบราชการแบบใหม่ (ระบบราชการ 4.0) 32

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ๒.๑.๙ มติคณะรฐั มนตรี เร่อื ง แนวทางพัฒนาทักษะด้านดิจทิ ัลของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครฐั เพื่อปรับเปล่ยี นเป็นรฐั บาลดจิ ิทลั (เมอื่ วนั ที่ ๒๖ กนั ยายน ๒๕๖๐) ตามที่คณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๖๐ ได้มีมติเห็นชอบกับแนวทาง การพฒั นาทักษะดา้ นดจิ ทิ ัลของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐเพื่อการปรับเปลยี่ นเปน็ รัฐบาลดิจิทัล เพื่อให้ใช้ เป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพกำลังคนภาครัฐ โดยให้ข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ เร่งพัฒนาตนเองและสนบั สนนุ การพัฒนาผู้อืน่ อย่างตอ่ เนอ่ื ง เพื่อใหท้ กุ ส่วนราชการ หนว่ ยงานของรัฐ องค์การ กลางบริหารงานบุคคล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีทักษะด้านดิจิทัลในระดับที่สามารถนำเทคโนโลยีดิจิทัล ที่ทันสมัยมาใช้ในการปฏิบัติงานให้เกิดประโยชน์สูงสุด และสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรม การทำงานหรือ การให้บริการภาครัฐที่ทันสมัยและมีการเชื่อมโยงการทำงานและข้อมูลข้ามหน่วยงาน และการสร้างรัฐบาล แบบเปดิ ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างเปน็ รูปธรรม เพือ่ การปรบั เปล่ยี นเปน็ รัฐบาลดจิ ิทัลและการพัฒนาประเทศ ไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน โดยดำเนินการให้มีการนำแนวทางการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลดังกล่าว ไปปรบั ใชใ้ นการพฒั นาและเสริมสรา้ งกำลงั คนในสังกดั ซง่ึ แนวทางพฒั นากำลังคนภาครัฐใหม้ ีทกั ษะด้านดิจิทัล ได้แก่ ๑) กำหนดให้ “การพัฒนาคนเพื่อสร้างและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงาน” และ “การสร้างและพัฒนาคนให้เท่าทันและสามารถใช้เทคโนโลยีดจิ ิทัลในการปฏิบัติงานได้อยา่ งรอบรู้” เป็นหน่งึ ในประเด็นหลกั ของการพัฒนาขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครัฐ ในระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕ ๒) กำหนดใหห้ น่วยงานของรฐั ส่งเสรมิ และดำเนนิ การ เพอื่ ให้มกี ารพัฒนาขา้ ราชการและบคุ ลากร ภาครัฐเกี่ยวกับการสร้างและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลของหน่วยงาน เพื่อประโยชน์ในการปรับปรุง ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการให้บริการของหน่วยงานรัฐ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลของ หน่วยงานให้เป็นระบบที่สามารถใช้งานได้อย่างสะดวก ทันสมัย มีเสถียรภาพ ปลอดภัย และตอบสนอง 33

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ความต้องการของผู้ใช้ รวมทงั้ เป็นระบบทม่ี ีการเช่อื มโยงข้อมลู การทำงาน และการให้บรกิ ารระหว่างหนว่ ยงาน ทส่ี รา้ งคุณค่ารว่ มกนั ๓) กำหนดให้เป็นหน้าที่ของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐในการนำรูปแบบการเรียนรู้และ พัฒนา ๗๐:๒๐:๑๐ (ร้อยละ ๗๐ เรียนรู้ด้วยตนเองและจากการปฏิบัติงาน ร้อยละ ๒๐ เรียนรู้จากผู้อื่นและ การสอนงาน และร้อยละ ๑๐ เรียนรู้จากการฝึกอบรม) มาปรับใช้ในการเพิ่มพูนและพัฒนาทักษะด้านดิจิทัล ของตนเอง และให้การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชาและผู้ร่วมงาน เพื่อให้รู้เท่าทันและ สามารถนำเทคโนโลยีดจิ ิทัลมาใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานได้อย่างเตม็ ที่ ๔) กำหนดให้ส่วนราชการและหนว่ ยงานของรัฐ หน่วยงานท่ีรับผิดชอบงานด้านการบริหารและ พัฒนาทรัพยากรบุคคล และหน่วยงานที่มีภารกิจด้านการจัดฝึกอบรมและพัฒนาข้าราชการและบุคลากร ภาครัฐ รวมถึงหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้ รวมทั้งจัดดำเนนิ การเพือ่ ใหข้ ้าราชการ และบุคลากรภาครัฐแต่ละกลมุ่ ไดร้ บั การพัฒนาทักษะด้านดิจทิ ัลตามที่ ก.พ. กำหนด เพื่อใหส้ ามารถขับเคล่ือน ภาครัฐไปสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัลได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ทั้งนี้ ในการส่งเสริม สนับสนุนการเรียนรู้ และจัดให้ มีการพฒั นาทกั ษะด้านดิจิทลั ของขา้ ราชการและบคุ ลากรภาครฐั ให้นำแนวทางการจัดการเรียนรแู้ บบผสมผสาน มาปรับใช้ อาทิ การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-learning) การเรียนรู้ด้วยการฝึกอบรม (In-class Training) การเรียนรู้จากการปฏิบัติงาน (On the Job Training) และการเรียนรู้ด้วยการเรียนรู้และสอนงานผู้อ่ืน (Learning from others และ Coaching and Developing Others) เปน็ ต้น 34

แผนพัฒนาบคุ ลากรกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม (พ.ศ. ๒๕๖๕ – ๒๕๖๙) ภาพที่ ๑๒ แนวทางการพัฒนาทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั ของข้าราชการและบคุ ลากรภาครัฐเพอื่ ปรับเปลี่ยนเป็นรัฐบาล ดิจิทลั 35


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook