Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่1-2

หน่วยที่1-2

Published by poptme40, 2019-10-09 00:21:18

Description: หน่วยที่1-2

Search

Read the Text Version

ความปลอดภยั ในการทางานเกย่ี วกบั ไฟฟ้ า 1 1

บทที่ 2 1 มาตรฐานสายไฟฟา้ และบริภณั ฑไ์ ฟฟา้ โดย สธุ ี ป่ิ นไพสิฐ วศิ วกรไฟฟ้ าเช่ ยี วชาญ กรมโยธาธิการและผังเมือง (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทท่ี 2 หน้า 2-1

มาตรฐานตา่ งๆ ทส่ี าคัญ ทบเ่ี กทีย่ วนขา้องกับวัสดุอุปกรณแ์ ละ  การเดินสายและตดิ ตัง้ บริภณั ฑ์ไฟฟ้า การเลือกใช้บรภิ ัณฑไ์ ฟฟา้ - มาตรฐาน ว.ส.ท. (EIT Standard 2001-56) - มาตรฐาน มอก. - มาตรฐานระหว่าง - National Electrical Code (NEC) ประเทศ - British Standard (BS) - ถา้ ไม่มที ั้ง มอก.และ IEC ก็เลือกตาม - National Electrical Manufacturers Association (NEMA) มาตรฐาน ประจาชาติ - American National Standard Institute (ANSI) - IEC - มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.(ม)าตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทท่ี 2.) 2

ระบบการจ่ายไฟแรงสูง เคร่ืองวดั หน่วยไฟฟา้ แรงสงู บริภณั ฑ์ประธานแรงสงู ข้อ 2.3 หมอ้ แปลงไฟฟา้ ข้อ 2.6 บริภณั ฑ์ประธานแรงต่า ข้อ 2.3 ตวั นาไฟฟ้าแรงดนั ตา่ ขอ้ 2.1, 2.2 แผงจา่ ยไฟย่อย โหลด(Loads) 3 (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทท่ี 2.)

2.1 มาตรฐานสายไฟฟ้า สายไฟฟ้าในระบบสายอากาศระบบไฟฟ้าแรงสูง สายเปลือย(Bare Conductor)  ACC (All Copper Conductor ) TIS 64-2517  AAC( All Aluminum Conductor); TIS 85-2548  ACSR (Aluminum Conductor Steel Reinforced); TIS 85-2528 สายไฟฟา้ หมุ้ ฉนวน(Insulated Conductor)  APC or PIC (Partially Insulated Cable) = สายหุ้มฉนวนแรงสงู ไมเ่ ตม็ พิกัด  ASC or SAC ( Space Aerial Cable) = สายหุ้มฉนวน 2 ชั้นไมเ่ ต็มพกิ ดั  FIC or AFC ( Fully InsulateedCable)= สายหุ้มฉนวนแรงสูงเต็มพิกดั ตีเกลียว (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทที่ 2 ขอ้ 2.1.2. หน้า 2-1) 4

- สายอลมู เิ นียมตีเกลียวเปลือย(All Aluminium Conductor ; AAC) เป็นตัวนาอลูมิเนียมพันตเี กลียวเป็นชั้นๆ รบั แรงดึงได้ต่า ระยะหา่ งชว่ งเสาไม่เกนิ 50 เมตร มาตรฐานสายชนิดน้ี คือ มอก. 85- 2548 สาย AAC 5 (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทท่ี 2 ขอ้ 2.1.2.หนา้ 2-1)

- สายอลมู ิเนยี มตเี กลียวเปลอื ยแกนเหลก็ (Aluminium - Conductor Steel Reinforced ; ACSR) เปน็ สายอลูมิเนียมตีเกลียวและมสี ายเหลก็ อยตู่ รงกลาง เพ่ือใหร้ บั แรงดึงได้สงู มาตรฐานของสายนคี้ อื มอก. 85-2528 สาย ACSR 6 (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทท่ี 2 ขอ้ 2.1.2 หน้า 2-1.)

- สาย Partial Insulated Cable ( PIC or APC) สาย PIC ประกอบดว้ ย ตัวนาอลูมเิ นยี มตีเกลียวหุ้มด้วยฉนวน XLPE 1 ชัน้ ใช้แทนสายเปลอื ยเพื่อช่วยลดการลัดวงจรของสาย เปลอื ยไมส่ ามารถแตะตอ้ งโดยตรงได้ สาย PIC or APC 7 (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทท่ี 2 ข้อ 2.1.1.3หนา้ 2-1)

สาย PIC or APC 8 (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทท่ี 2 ขอ้ 2.1.1.หน้า 2-1)

- สาย Space Aerial Cable (SAC or ASC) เป็นตัวนาอลมู เิ นยี มตีเกลียว มีฉนวน XLPE หมุ้ และมีเปลอื ก(Sheath) ท่ีทาจาก XLPE หุ้มฉนวนอีกชน้ั หน่งึ แต่ไม่สามารถสมั ผัสโดยตรง การเดินสายต้องใช้ Spacer เพอื่ จากดั ระยะห่างสาย ต้องใช้ Messenger Wire ช่วยดึงสายและเปน็ Over Head Ground Wire (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทท่ี 2 ข้อ 2.1.1.3. หน้า 2-1) 9

สาย SAC or ASC ขนาด (ตร.มม.) ขนาดกระแส(A) 35 170 120 365 10 185 470 (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทที่ 2 ข้อ 2.1.1.3 หนา้ 2-1)

สายหมุ้ ฉนวนแรงสงู เต็มพิกัดตเี กลยี ว(XLPE ALUMINIUM PREASSEMBLY AERIAL CABLE : FIC หรือ PAC หรอื AFC ระบบแรงดนั 11-33kV ถอื ว่าเปน็ สายอลูมิเนียม ชนิด Fully Insulated มีโครงสรา้ ง Cross-Linked Polyethylene Insulation เหมอื นกับสายใต้ดิน สามารถ Compact Aluminium Conductor สมั ผสั โดยตรงขณะจ่ายไฟฟา้ ใช้ กบั บริเวณทตี่ ้องการลดระยะห่าง Extruded Semiconducting Cross-Linked ทางไฟฟา้ หรอื บรเิ วณทค่ี น Polyethylene Conductor Shielding Layer สามารถสัมผสั ถึง Cross-Linked Polyethylene Sheath (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทท่ี 2 ขอ้ 2.1.13 .หน้า 2-1) 11

Preassembly Aerial Cable (FIC or PAC or AFC) 12

- สาย Cross-linked Polyethylene(XLPE) สาย XLPE เปน็ สาย Fully Insulated โครงสรา้ งประกอบด้วย สายทองแดงตีเกลียว มีชีลด์ของตัวนา ฉนวน ชีลดข์ องฉนวน และเปลอื กนอก สายชนดิ น้ีสามารถเดินลอยในอากาศหรือฝังดิน ตวั นาทองแดงหุ้มฉนวน XLPE เป็นไป ตามมาตรฐาน IEC 60502 XLPE = Cross-linked polyethylene insulated, copper wire screen and polyethylene jacke(มteาตdรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทที่ 2 ข้อ 2.1.1.3 หนา้ 2-1) 13

มีผลใช้บงั คบั ตงั้ แตว่ นั ท่ี 31กรกฎาคม 2556 เป็นต้นไป 14

สายไฟฟา้ หมุ้ ฉนวนพอลไิ วนลิ คลอไรด์ แรงดันไฟฟา้ ที่ กาหนดไม่เกิน 450/750 โวลต์ 1. มอก. 11 เลม่ 1-2553 ขอ้ กาหนดท่วั ไป 2. มอก. 11 เลม่ 2-2553 วิธที ดสอบ 3. มอก. 11 เล่ม 3-2553 สายไฟฟ้าไมม่ เี ปลือกสาหรับงานติดตง้ั ยดึ กับที่ 4. มอก. 11 เล่ม 4-2553 สายไฟฟา้ มีเปลอื กสาหรบั งานตดิ ตงั้ ยึดกบั ท่ี 5. มอก. 11 เล่ม 5-2553 สายอ่อน 6. มอก. 11 เลม่ 101-2553 สายไฟฟ้ามเี ปลือกสาหรบั งานท่วั ไป 15

มอก. 11-2553 เล่ม 1 ขอ้ กาหนดทั่วไป (IEC 60227-1) (ต่อ) การระบุแกนของสายไฟฟ้า N+L L1 = สนี า้ ตาล ,L2 = สดี า, L3 = สีเทา N = สีฟา้ , G = สเี ขียวแถบเหลือง  การแสดงด้วยสี จานวนแกนไม่เกิน 5 แกน (หลกี เลี่ยงการใชส้ แี ดงและสี ขาว) กาหนดรปู แบบของสฉี นวนดงั น้ี G+N+L L1+L2+L3  สายแกนเด่ยี ว: ไมก่ าหนด  สาย 2 แกน : สฟี ้าและน้าตาล  สาย 3 แกน : สเี ขียวแถบเหลอื ง สีฟา้ สนี ้าตาล หรอื สนี า้ ตาล สีดา สเี ทา  สาย 4 แกน : สีเขยี วแถบเหลอื ง สนี า้ ตาล สดี า สเี ทา N+L1+L2+L3 G+L1+L2+L3 หรือ สีฟ้า สนี า้ ตาล สดี า สเี ทา G+N+L1+L2+L3  สาย 5 แกน : สเี ขียวแถบเหลอื ง สีฟา้ สนี า้ ตาล สดี า สเี ทา ไมม่ ีใช้ หรอื สฟี ้า สนี ้าตาล สีดา สีเทา สีดา 16

มอก.11-2531 มอก.11-2553 N นิวทรลั เทาอ่อน ขาว ฟ้ า เฟส A ดา น้าตาล เฟส B แดง ดา เฟส C น้าเงิน เทา เขียวแถบเหลือง เขียว เขียวแถบเหลือง G สายดิน เปรียบเทียบสีของสายไฟฟ้า

มอก. 11-2553 เล่ม 1 ขอ้ กาหนดท่ัวไป (IEC 60227-1) (ต่อ) แรงดันไฟฟา้ สายPVC แรงดนั 450/750 V แรงดนั 300/500 V กาหนดให้ เป็น Uo /U ตามมอก. 11-2553 Uo = แรงดนั RMS ระหว่าง ตวั นา กับ ดิน U = แรงดนั RMS ระหวา่ งตัวนากบั ตัวนา U แรงดนั 600/1000 V Uo XLPE ตาม IEC 18

สาย มอก.11-2553, 60227 IEC 01 โครงสรา้ งเหมือนสาย THW เป็นสายชนดิ แกนเดียว กลม แรงดันใช้งาน 450/750 โวลต์ ขนาด 1.5 ถึง 400 ตร.มม. การใช้งาน ใชง้ านทั่วไป เดินในชอ่ งเดนิ สายและต้องป้องกันน้าเข้าช่องเดนิ สาย หา้ มรอ้ ยทอ่ ฝังดนิ หรือฝังดนิ โดยตรง 19

สาย มอก.11-2553, การใช้งาน  ใชง้ านทั่วไป 60227 IEC 10  เดินในชอ่ งเดินสายและตอ้ ง โครงสรา้ งเหมอื นสาย NYY ป้องกนั นา้ เข้าช่องเดนิ สาย เปน็ สายชนดิ หลายแกน  วางบนรางเคเบิล  ห้ามร้อยท่อฝังดินหรอื ฝังดนิ (2-5แกน) ม/ี ไม่มีสายดิน แรงดนั ใช้งาน 300/500 โดยตรง โวลต์ ฉนวนบางกว่า NYY ขนาด 1.5 ถึง 35 ตร.มม. 20

มอก. 11-2553 เลม่ 101 สายไฟฟ้ามเี ปลือกสาหรับงานทั่วไป ชื่อ รหัส แรงดนั ไฟฟ้ า จานวนแกน ขนาด (โวลต์) (ตร.มม.) 1. สายไฟฟ้ าหุ้มด้วยฉนวน และเปลอื ก VAF, 300/500 2 1 - 16 2 และมสี าย 1 - 16 สายแบน 2 แกน และสายแบน 2 แกนมี VAF-G, VAF/G ดนิ สายดนิ 2. สายไฟฟ้ าหุ้มด้วยฉนวน เปลอื กใน และ NYY, 450/750 1 1 - 500 เปลอื ก NYY-G, 2-4 50 - 300 2 - 4 และมี 25 - 300 NYY/G สายดนิ 3. สายอ่อนหุ้มด้วยฉนวนและเปลอื ก VCT, 450/750 1-4 4 - 35 VCT-G, 2 - 4 มีสาย 4 - 35 VCT/G ดนิ 21

สาย มอก.11-2553, VAF สายแบน 2 แกน เป็นสายแบน 2 แกน สายแบน2 แกนมสี ายดนิ และ 2 แกนมีสายดิน แรงดนั ใช้งาน 300/500 โวลต์ 22 ขนาด 1.5 ถงึ 16 ตร.มม. การใช้งาน  เดิ นเกาะผนัง  เดิ นในช่องเดิ นสาย ห้ามรอ้ ยท่อ ห้ามฝงั ดิน

สาย มอก.11-2553, NYY เป็นสายชนิดแกนเดยี วและหลายแกน การใชง้ าน แรงดนั ใชง้ าน 450/750 โวลต์  ใชง้ านทวั่ ไป แกนเดียว ขนาด 1.0 ถงึ 500 ตร.มม.  วางบนรางเคเบิล หลายแกน ขนาด 50 ถงึ 300 ตร.มม.  รอ้ ยทอ่ ฝงั ดนิ หรอื ฝงั ดิน หลายแกนมสี ายดิน ขนาด 25 ถงึ 300 โดยตรง ตร.มม. 23

สาย มอก.11-2553, VCT ลกั ษณะเป็นสายฝอย การใชง้ าน เป็นสายชนิดแกนเดยี ว หลายแกน ใชง้ านทวั่ ไป ใชต้ ่อเขา้ เคร่อื งใชไ้ ฟฟ้ า และหลายแกนมีสายดิน วางบนรางเคเบลิ แรงดนั ใชง้ าน 450/750 โวลต์ ขนาด 4 ถงึ 35 ตร.มม. 24

ขนาดพืน้ ท่ีหนา้ ตัดสายดินในสายหลายแกนที่เปลีย่ นแปลงตาม มอก.11-2553 ใหม่ ขนาดพื้นที่หนา้ ตดั สายไฟ ขนาดพื้นทห่ี นา้ ตดั สายดนิ (ตร.มม.) (ตร.มม.) S  16 S 16 < S  35 16 S / 2 25 S >35

สายไฟฟ้าห้มุ ฉนวน XLPE สายไฟฟ้าชนดิ นี้ ทาตามมาตรฐาน IEC 60502-1 - ฉนวน XLPE 90°C และมีเปลอื ก - แรงดนั ไฟฟ้าที่กาหนด 600/1000V (0.6/1kV) - มีขนาด 1,2,3,4 แกน - นากระแสได้สงู เน่อื งจากฉนวนเป็น XLPE 90°C - การใช้งาน ใช้งานท่วั ไป เดนิ บน Cable trayรอ้ ยท่อฝงั ดนิ หรือฝงั ดนิ โดยตรง - การตดิ ต้งั ในอาคารตอ้ งเดนิ ในทป่ี ดิ มดิ ชิด ยกเว้น เปลือกนอกของสายมีคุณสมบัติต้านทานการลุกไหม้ (Flame retardant) IEC 60332-3 category C EIT Standard บทท่ี 5 สายไฟฟา้ และวธิ เี ดินสาย กติ ตพิ งษ์ วีระโพธิ์ประสิทธ์ิ 26

2.2 มาตรฐานตัวนาไฟฟ้า 1) บสั บารท์ องแดง ( Copper Bus Bar ) ตอ้ งมคี วาม บรสิ ทุ ธิ์ไมน่ อ้ ยกว่า 98 % 2) บัสบาร์อลูมเิ นียม (Aluminum Bus Bar ) ต้องมคี วาม บริสุทธ์ิไม่น้อยกว่า 98 % 3) บสั เวย์ ( Busway ) หรือบสั ดกั (Bus Duct) ตอ้ งเปน็ ชนิดทป่ี ระกอบสาเรจ็ รูปจากบริษทั ผูผ้ ลติ และไดม้ กี ารทดสอบแล้วตามมาตรฐานข้างต้น 19/11/57 (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทท่ี 2 ขอ้ 2.2.หนา้ 2-1) 27

บสั บาร์ ( Busbar ) มาตรฐานที่เกี่ยวขอ้ ง : IEC 60468 ,BS EN 2626, BS EN 13601, มอก.308, มอก.408 (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทท่ี 2 ขอ้ 2.2.หนา้ 2-1) 28

Busway or Bus Duct • ใชแ้ ทนสายไฟฟา้ • เหมาะสาหรบั อาคารสูงท่ใี ช้กาลงั ไฟฟ้ามากๆ • มีท้ังแบบทองแดงและอลมู เิ นียม • ติดตั้งงา่ ยใช้พ้ืนที่นอ้ ย Busway or Busduct standard : IEC 61439-6 : UL857 (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทที่ 2 ขอ้ 2.2.หน้า 2-2) 29

Busway or Bus Duct 30

2.3 มาตรฐานเครื่องปอ้ งกนั กระแสเกนิ “ Switchgear in Metal Enclosure ” ตามมาตรฐาน IEC 60298 ไดแ้ บง่ ตู้สวติ ช์ออกเป็น 3 แบบ 1.Cubicle Switchgear NEW IEC Standard = IEC 62271-200 2. Compartmented Switchgear published on 2003-11 3. Metal - Clad Switchgear (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทท่ี 2.) 31

“ Switchgear in Metal Enclosure ” Cubicle Switchgear 1. มนี ้อยกวา่ 3 Compartments 2. ถา้ มี Partition อาจเปน็ โลหะ (Metallic)หรอื ฉนวน ( Insulated ) 3. Switching Device อาจเป็นแบบติด ถาวร ( Fixed )หรอื ถอดออกได้ ( Withdrawable ) 32

“ Switchgear in Metal Enclosure ” Compartmented Switchgear 1.มี 3 Compartment สาหรับ Switching Device , Busbar , Connectors และ CTS 2.Partition และ Shutters ระหว่าง Compartment โดยทว่ั ไปจะ Insulated 3.ไม่มี Insulated Bushing สาหรบั ผ่านจาก Compartment หนงึ่ ไปยงั อีกCompartmentหนง่ึ 33

“ Switchgear in Metal Enclosure ” Metal - Clad Switchgear 1.มีอยา่ งนอ้ ย 3 Compartments สาหรบั Switching Device , Busbar , Connectors และ CTS 2. Partition ระหว่าง Compartment จะตอ้ งเปน็ โลหะ 3. ชอ่ งผา่ นจาก Compartment หนึ่ง ไปยังอกี Compartment หน่งึ จะตอ้ งมี Insulated Bushing 34

การใช้ฟิวส์ทางานร่วมกบั สวิตชต์ ดั โหลด (Load-break Switch with Fuses)  การใช้ HRC ร่วมกับสวิตชต์ ดั โหลด เมือ่ ฟิวสเ์ สน้ ใดเสน้ หนึ่งขาด จะตอ้ งทาให้สวติ ช์ ปลดวงจรทัง้ 3 เฟส พร้อมกนั พิกดั กระแสขณะตัดวงจร(Breaking Current) ของสวิตชต์ ดั โหลดต้องไม่ตา่ กว่า 7 เท่าของฟวิ ส์ (ตาม IEC 60420) (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทที่ 2.) 35

สวิตชแ์ ยกวงจร ( Isolators or Disconnecting Switches : DS ) ใช้ให้ความปลอดภัยบุคคลและการบารงุ รกั ษา  ทางด้านโหลดของสวติ ช์แยกวงจร จะต้องมสี วติ ช์ ตอ่ ลงดิน  จะตอ้ งทา Interlock กับเซอร์กติ เบรกเกอร์  ใช้ปิด-เปิดวงจรไฟฟ้าแรงสูง ขณะท่ีไม่มโี หลด  สามารถสับ-ปลด เมอื่ เซอร์กิตเบรกเกอร์อยใู่ น ตาแหน่งปลดเท่านัน้ Circuit breaker unit 36 (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทท่ี 2.)

มาตรฐานเครอ่ื งปอ้ งกันกระแสเกนิ (แรงตา่ ) Overcurrent protective devices อปุ กรณ์ท่ีใช้คือ ฟวิ ส์ หรือ เซอร์กิตเบรกเกอร์ ตอ้ งมีคณุ สมบัติตามมาตรฐาน ท่กี ารไฟฟา้ ฯ ยอมรบั เช่น IEC, UL, BS, DIN และ JIS เป็นต้น (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทที่ 2.) 37

การปอ้ งกนั กระแสเกนิ (แรงตา่ ) สาเหตุ • โหลดเกนิ (Overload) • ลดั วงจร (Short-circuit ) ของ • รวั่ หรอื ลดั วงจรลงดนิ กระแส เกิน หลกั การเบอื้ งต้น • เครื่องตดั วงจร ต้องตดั ก่อนท่ี การป้ องกระแสเกิน ตวั นา / ฉนวนสาย จะชารดุ ของสายไฟฟ้ าคือ (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทที่ 2.) 38

เทคโนโลยีเครอ่ื งป้องกนั กระแสเกิน Overload protective devices Technologies Thermal Technologies t I Ir 39 • Fuses (Ir ปรบั ค่าไม่ได้) • Bimetal Ir • MCB (Ir ปรบั ค่าไม่ได้ ):IEC 60898 Ref: 14-Overcurrent protective devices • MCCB and ACB (Ir ปรบั ค่าได้) E Tison : SCT/Cial excellence/DNE • โดยทวั ่ ไป 0,7 In  Ir  In (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทท่ี 2.)

2.3.6 Circuit Breaker • Breaker สาหรบั บา้ นอย่อู าศยั / IEC อาคาร (IEC 60898) • Breaker สาหรบั งานอตุ สาหกรรม (IEC 60947-2) (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-516บทที่ 2.) ขอ้ 2.3.6 ภาคผนวก ง และ จ.. 40

IEC 60898 & IEC 60947-2 IEC 60898 IEC 60947-2 กล่มุ ผใู้ ช้งาน บา้ นอย่อู าศยั โรงงานอตุ สาหกรรม อาคารทวั่ ไป (ผมู้ ีความร้ใู นการปรบั ค่า พิกดั แรงดนั (Ue) (phase to phase) < 440 Vac setting) < 1000 Vac พิกดั กระแสใช้งาน 6,8,10,13,16,20,25,32, กาหนดโดยผผู้ ลิต (In) 40,50,63,80,100,125A (มีค่าสงู สดุ ถึงหลายพนั แอมป์ ) (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทท่ี 2.) ขอ้ 2.3.6 ภาคผนวก ง แลละ จ. 41

IEC 60898 & IEC 60947-2 การปรับตั้งค่า IEC 60898 IEC 60947-2 ปรบั ต้ังค่าไม่ได้ ประเภท A - ปรบั ตงั้ คา่ หนว่ งเวลาไมไ่ ด้ ตัวอยา่ งการเรียกประเภทและพิกัดกระแส - ไม่มี Icw ใชง้ าน ประเภท B C16 - ปรับตัง้ คา่ หนว่ งเวลาให้ ทางานรว่ มกับอุปกรณ์ หมายถึง เซอกติ เบรกเกอรป์ ระเภท C ปอ้ งกนั อืน่ ได้ ขนาดพิกดั กระแสใชง้ าน 16A - มี Icw (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56บทที่ 2.) ข้อ 2.3.6 ภาคผนวก ง.และ จ 42

IEC 60898 & IEC 60947-2 IEC 60898 IEC 60947-2 Thermal Trip 1.13 ถึง 1.45 In 1.05 ถงึ 1.30 In Magnetic Trip Curve B, C, D กาหนดโดยผผู้ ลติ B : ตดั ทันทีท่ี ≥ 3-5 In C : ตัดทันทีท่ี ≥ 5-10 In D : ตัดทันทีที่ ≥ 10-50 In (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทท่ี 2.) ข้อ 2.3.6 ภาคผนวก ง และ จ. 43

1.13 1.45 IEC 60898 35 B : ตัดทันทที ่ี ≥ 3-5 In ใช้กับ Load ที่ไม่มีไฟกระโชก (Inrush current) หรือ Switching Surge เช่น พวก เคร่ืองใช้ไฟฟ้าทั่วๆ ไป In=พิกดั กระแสใชง้ านปกติ (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทท่ี 2.) ขอ้ 2.3.6 ภาคผนวก ง. 44

1.13 1.45 IEC 60898 C : ตัดทนั ทีท่ี ≥ 5-10 In ใชก้ ับ Load ทม่ี ไี ฟกระโชก เชน่ Fluorescent Lighting, มอเตอร์ เลก็ ๆ, เครือ่ งปรับอากาศ 5 10 (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทที่ 2.) ข้อ 2.3.6 ภาคผนวก ง. 45

1.13 1.45 IEC 60898 D : ตดั ทนั ทที ่ี ≥ 10-50 In ใช้กบั Load ในงานอุตสาหกรรมทม่ี ี ไฟกระโชกสูง เช่น เคร่ืองเชื่อม, เคร่ือง X-ray 10 50 (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทท่ี 2.) ขอ้ 2.3.6 ภาคผนวก ง. 46

Coordination(Discrimination, Selectivity, Selective Coordination) การจดั การให้อปุ กรณ์ ป้ องกนั กระแสเกิน ทางานประสานกนั เพื่อจากดั วงจรที่เกิด fault โดยให้มี ผลกระทบ (ไฟดบั ) ให้ น้อยท่ีสดุ นน่ั คือให้ CBs ตวั ที่อย่ใู กล้กบั fault มากท่ีสดุ ทางานก่อน 47

Selectivity with Short-Time Delay No Selectivity with Instantaneous Trip (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56บทท่ี 2.) 48

 Icw เป็นค่าพิกดั กระแส(rms) ลดั วงจรที่อปุ กรณ์ สามารถรองรบั ได้ (คงอย่ใู นตาแหน่งสบั ) ใน ระยะเวลาสนั้ ๆ โดยไมเ่ กิดความเสียหายใดๆ  ช่วงระยะเวลาของ Icw  แรงตา่ (IEC 60947-2 )ใช้ค่า 0.05, 0.1, 0.25, 0.5, 1 วินาที  แรงสงู ใช้ค่า 1 วินาที (มาตรฐาน ว.ส.ท. 2001-56 บทท่ี 2 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook