Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือประเมินสถานศึกษาพอเพียง

คู่มือประเมินสถานศึกษาพอเพียง

Description: คู่มือประเมินสถานศึกษาพอเพียง

Search

Read the Text Version

คู่มอื ประเมินและเกณฑค์ ณุ ภาพ สถานศกึ ษาแบบอย่างการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ และการบรหิ ารจดั การตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (สถานศกึ ษาพอเพียง) ปี 2 554 เ ป็น ต้น ไป ร ะ ดั บ การศึกษาข้ัน พื้น ฐาน ก ระท รว งศึ ก ษ า ธิก าร ร่ว มกับ สา นัก ง านค ณะก รร มก า รก า รศึ ก ษา ข้ัน พื้น ฐา น ศูนย์สถ า นศึก ษา พอเ พีย ง มู ลนิธิ ยุวสถิรคุ ณ

สารบญั 1 2 1. แผนผงั เครอื่ งมือประเมินสถานศึกษาพอเพยี ง 2. รายการประเมนิ และเกณฑค์ ณุ ภาพ 3 11 สถานศกึ ษาแบบอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และ 19 การบริหารจดั การตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (สถานศึกษาพอเพียง) 27 31 2.1 รายการประเมนิ ดา้ นที่ 1 ด้านการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา 37 2.2 รายการประเมนิ ด้านท่ี 2 ดา้ นหลักสูตรและการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 2.3 รายการประเมินดา้ นที่ 3 ดา้ นการจัดกิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น 47 2.4 รายการประเมินด้านท่ี 4 ดา้ นการพัฒนาบุคลากรของสถานศกึ ษา 2.5 รายการประเมินด้านท่ี 5 ดา้ นผลลัพธ์/ภาพความสาเรจ็ 48 3. แบบสรุปผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินสถานศกึ ษาแบบอยา่ ง การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้และการบรหิ ารจดั การตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (สถานศึกษาพอเพยี ง) 4. วิธีคานวณคะแนนการประเมินสถานศึกษาแบบอย่างการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ และการบรหิ ารจัดการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (สถานศึกษาพอเพยี ง) 5. เกณฑก์ ารประเมนิ ศนู ยก์ ารเรยี นร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

1. แผนผงั เคร่อื งมอื ประเมนิ สถานศึกษาพอเพยี ง

-1- เคร่อื งมือประเมินสถานศึกษาพอเพยี ง 1. ดา้ นการ 5 ดา้ น บรหิ ารจดั การ 17 องค์ประกอบ สถานศกึ ษา 62 ตวั ชว้ี ัด 4. ดา้ นพัฒนา 5. ผลลัพธ์/ 2. ดา้ นหลักสูตร บคุ ลากรของ ภาพ และการจดั สถานศึกษา กิจกรรมการ ความสาเร็จ เรียนรู้ 3. ด้านการจดั กิจกรรมพฒั นา ผู้เรยี น ระดบั คณุ ภาพปฏบิ ตั ิ 0-4 เกณฑ์คะแนนผ่านการประเมนิ คอื คะแนนเฉลีย่ ของแต่ละดา้ น ได้คะแนน ตง้ั แต่ 3 ข้นึ ไป ทง้ั 5 ดา้ น คูม่ ือประเมนิ สถานศกึ ษาแบบอย่างการจดั กิจกรรมการเรียนรู้และการบรหิ ารจัดการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ปี 2554 เป็นต้นไป

2. รายการประเมนิ และเกณฑ์คุณภาพสถานศึกษาแบบอยา่ ง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการบรหิ ารจัดการตาม หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (สถานศกึ ษาพอเพยี ง)

-2- รายการประเมิน และเกณฑ์คณุ ภาพ สถานศึกษาแบบอยา่ งการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ และการบริหารจัดการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (สถานศึกษาพอเพยี ง) การประเมินสถานศกึ ษาแบบอย่างการจัด กิจกรรมการเรยี นรู้ และการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง หรือสถานศึกษาพอเพียง เป็นการประเมินระดับคุณภาพการปฏิบัติของ สถานศึกษา ใน 5 ดา้ น 17 องค์ประกอบ 62 ตัวบ่งชี้ ซึง่ ระบใุ นเครอื่ งมอื ประเมินสถานศึกษาแบบอยา่ งการจัด กจิ กรรมการเรยี นรู้ และการ บริหารจดั การตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยมรี ายละเอียด ดงั น้ี รายการประเมนิ ด้านที่ 1 ดา้ นการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา ม4ี องคป์ ระกอบ 14 ตัวบง่ ช้ี องคป์ ระกอบท่ี 1 นโยบาย (4 ตวั บ่งช้ี) องค์ประกอบท่ี 2 วชิ าการ (4 ตวั บ่งช้ี) องคป์ ระกอบที่ 3 งบประมาณ (4 ตัวบง่ ชี้) องคป์ ระกอบที่ 4 บรหิ ารท่วั ไป (2 ตวั บง่ ชี้) รายการประเมนิ ดา้ นที่ 2 ดา้ นหลักสูตรและการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้มี 4 องค์ประกอบ 14 ตัวบ่งช้ี องค์ประกอบท่ี 1 หนว่ ยการเรียนรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (3 ตวั บ่งช้ี) องค์ประกอบท่ี 2 การบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (4 ตวั บง่ ช้ี) องค์ประกอบท่ี 3 ส่อื และแหลง่ เรียนรูเ้ กย่ี วกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (3 ตวั บ่งช้ี) องค์ประกอบที่ 4 การวัดและประเมนิ ผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (4 ตัวบ่งช้ี) รายการประเมนิ ด้านที่3 ด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน มี3 องค์ประกอบ 15 ตวั บ่งช้ี องค์ประกอบที่ 1 การแนะแนวและระบบดแู ลชว่ ยเหลือผู้เรยี น (5 ตัวบ่งชี้) องคป์ ระกอบที่ 2 กิจกรรมนกั เรียน (6 ตวั บง่ ช้ี) องค์ประกอบที่ 3 กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ (4 ตัวบ่งช้ี) รายการประเมิน ดา้ นที่4 ดา้ นการพัฒนาบคุ ลากรของสถานศึกษามี 2 องค์ประกอบ 7 ตวั บง่ ช้ี องคป์ ระกอบที่ 1 การพัฒนาบคุ ลากรตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (4 ตวั บง่ ชี้) องค์ประกอบที่ 2 การติดตามและขยายผล (3 ตวั บง่ ชี้) รายการประเมนิ ด้านที่5 ดา้ นผลลัพธ/์ ภาพความสาเร็จ มี 4 องค์ประกอบ 12 ตัวบ่งชี้ องคป์ ระกอบที่ 1 สถานศกึ ษา (1 ตัวบง่ ช้ี) องคป์ ระกอบที่ 2 ผู้บริหารสถานศึกษา (1 ตัวบ่งช้ี) องค์ประกอบท่ี 3 บุคลากรของสถานศึกษา (5 ตวั บ่งชี้) องคป์ ระกอบที่ 4 ผเู้ รยี น (5 ตวั บง่ ช้ี) คูม่ อื ประเมินสถานศกึ ษาแบบอย่างการจัดกจิ กรรมการเรียนรูแ้ ละการบรหิ ารจัดการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2554 เป็นตน้ ไป

องคป์ ระกอบท่ี 1 -3- ตัวบง่ ชี้ท่ี 1.1 รายการประเมิน ด้านท่ี 1 ตวั บง่ ชท้ี ่ี 1.2 ดา้ นการบริหารจัดการสถานศกึ ษา มี 4 องค์ประกอบ 14 ตวั บง่ ชี้ ประกอบดว้ ย ตัวบง่ ช้ีที่ 1.3 นโยบาย (4 ตัวบ่งชี้) ตวั บ่งชี้ท่ี 1.4 มีนโยบายน้อมนา หลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งมาขบั เคลือ่ นในสถานศึกษา และบรู ณาการในแผนปฏิบัติงานประจาปี องคป์ ระกอบท่ี 2 ดาเนินการตา มนโยบายและแผนปฏบิ ัตงิ านประจาปี ท่ีนอ้ มนา หลกั ปรชั ญาของ ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 เศรษฐกจิ พอเพยี งมาขับเคลอื่ นในสถานศึกษา ตดิ ตามผลการดาเนนิ การต ามนโยบายและแผนปฏบิ ตั ิ งานประจาปี ทน่ี อ้ มนา หลัก ตัวบง่ ชี้ท่ี 2.2 ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาขบั เคลื่อนในสถานศกึ ษา นาผลการติดตามมาพัฒนา น โยบาย /แผนงาน /โครงการ /กจิ กรรม ขบั เคล่อื น หลกั ตัวบง่ ชี้ที่ 2.3 ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในสถานศึกษา ตัวบง่ ช้ีท่ี 2.4 วิชาการ (4 ตัวบง่ ชี้) มแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ด้านวชิ าการ ท่ีส่งเสริมการบูรณาการ หลกั ปรชั ญาของ องคป์ ระกอบท่ี 3 เศรษฐกิจพอเพยี งสู่การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ตัวบง่ ชี้ที่ 3.1 ดาเนินการตาม แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ด้านวชิ าการ ทีส่ ง่ เสริมการบรู ณาการ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ตวั บง่ ชท้ี ่ี 3.2 ตดิ ตามผล การดาเนินการตาม แผนงาน /โครงการ /กิจกรรม ดา้ นวชิ าการ ท่สี ง่ เสรมิ ตัวบง่ ช้ที ่ี 3.3 การบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ นาผลการติดตามไปพัฒนา แผนงาน /โครงการ /กจิ กรรม ดา้ นวชิ าการ ทีส่ ่งเสรมิ การ ตัวบง่ ชี้ท่ี 3.4 บูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สู่การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ องค์ประกอบที่ 4 งบประมาณ (4 ตวั บ่งช้ี) ตัวบ่งชท้ี ่ี 4.1 มีการวางแผนการบรหิ ารจัดการงบประมาณของสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกบั หลกั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตวั บง่ ชี้ท่ี 4.2 ดาเนนิ การตามแผนงบประมาณของสถานศกึ ษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ติดตามผลการดาเนินงานตามแผนงบประมาณของสถานศกึ ษาตามหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง นาผลการตดิ ตามมาพฒั นาและปรับปรงุ การบรหิ ารจัดการงบประมาณตาม หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง บริหารทัว่ ไป (2 ตวั บง่ ช้ี) บริหาร จัดการ อาคารสถานทแี่ ละแหลง่ เรยี นรูใ้ นสถานศึกษา ตาม หลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ประสานสมั พนั ธก์ ับชมุ ชนให้มีส่วนร่วมใน การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ เพอื่ เสริมสรา้ ง คณุ ลกั ษณะอยู่อย่างพอเพียงของผ้เู รียน ค่มู ือประเมินสถานศึกษาแบบอยา่ งการจดั กิจกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปี 2554 เปน็ ตน้ ไป

-4- ตัวอย่าง รอ่ งรอย/เอกสาร/หลักฐานประกอบการประเมิน  หลกั สตู รสถานศึกษา / หลกั สูตรสาระการเรยี นรู้ท้องถน่ิ  แผนปฏบิ ตั ิงานประจาปี  คาสัง่ / ประกาศ  บันทกึ การประชมุ / การนาผลการรายงานไปใช้ / เอกสารการประชุม  รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน / รายงานผลการดาเนินโครงการ  ผลการวดั ความสาเร็จของกจิ กรรมในแต่ละโครงการ / รายงานผลการจัดกิจกรรม  แผนการตดิ ตามประเมนิ ผล  เคร่อื งมือการติดตามประเมนิ ผล  รายงานการวิจัย  แผนการนิเทศ / บันทกึ ผลการนิเทศ / ภาพนิ่ง / วดิ ิทศั น์  เอกสารการระดมทุน / ทรพั ยากร  รายงานการใช้ทรพั ยากร ในการจดั การศกึ ษา  แหล่งเรยี นรู้ / หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์  สอื่ นวตั กรรมการเรียนรู้ / ทะเบยี นส่ือ นวัตกรรม  เอกสารเผยแพรแ่ ละประชาสมั พันธ์  สังเกตสภาพภมู ทิ ัศน์ ฯลฯ คมู่ อื ประเมนิ สถานศกึ ษาแบบอย่างการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้และการบริหารจัดการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ปี 2554 เป็นต้นไป

-5- เกณฑ์การให้คะแนน 1. ดา้ นการบรหิ ารจดั การสถานศกึ ษา องค์ประกอบที่ 1 นโยบาย ตัวบง่ ชท้ี ี่ 1.1 มนี โยบายนอ้ มนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาขบั เคลอ่ื นในสถานศกึ ษา และบรู ณาการใน แผนปฏบิ ตั ิงานประจาปี 0 = ไมม่ /ี ไม่ปฏิบัติ 1 = มีการนอ้ มนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการเปน็ นโยบายของสถานศึกษา 2 = บคุ ลากร และผ้เู กย่ี วข้องของสถานศกึ ษา มีสว่ นร่วมในการกาหนดนโยบายข้างตน้ ของสถานศกึ ษาตามเกณฑ์ คณุ ภาพ 1 3 = มผี ู้รับผิดชอบท่ีเหมาะสม ในการดาเนินการตามนโยบายขา้ งต้นของสถานศึกษา ทเ่ี กดิ จากกระบวนการมีสว่ นรว่ ม ตามเกณฑ์คณุ ภาพ 2 4 = มีแผนปฏบิ ัตงิ านประจาปที ่ีสอดคลอ้ งกับนโยบายข้างต้นของสถานศกึ ษาตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 3 และมีกิจกรรม ครอบคลมุ ทุกกลุ่มงาน อยา่ งเหมาะสมกบั สภาพความเป็นจรงิ ทางภมู ิสงั คมของสถานศกึ ษา นโยบาย : สถานศกึ ษามกี ารกาหนดวสิ ัยทศั น์ /พนั ธกิจ/เปาู ประสงค์ /เปาู หมาย /ยุทธศาสตร์ /กลยทุ ธ์/มาตรการ เปน็ แนวทางในการบริหารสถานศึกษาและการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา นยิ าม บคุ ลากร : ผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรอน่ื ๆ ทเ่ี กีย่ วข้องกบั การจัดการศึกษา ศัพท์ กล่มุ งาน : กลุม่ งาน/ฝาุ ย ทส่ี ถานศกึ ษาได้กาหนดไว้ในโครงสรา้ งการบริหารของสถานศกึ ษา ผู้เกีย่ วขอ้ ง : กรรมการสถานศกึ ษา ผนู้ าชมุ ชน ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ และผู้ปกครอง ภูมิสังคม : ภูมิประเทศ และวถิ ีชวี ิตความเปน็ อยู่ของคนในชุมชน/สงั คม ท่ีสถานศกึ ษาตั้งอยู่ ตวั บง่ ชที้ ี่ 1.2 ดาเนนิ การตามนโยบาย และแผนปฏบิ ตั งิ านประจาปี ทนี่ อ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมา ขับเคลื่อนในสถานศกึ ษา 0 = ไมม่ /ี ไมป่ ฏิบัติ 1 = มกี ารประชุมชแี้ จงการนานโยบายส่กู ารปฏบิ ตั ิ ตามแผนปฏบิ ัติงานประจาปีฯ ให้บุคลากรและผู้เกย่ี วข้องของ สถานศึกษาทราบ 2 = ดาเนนิ การตามเกณฑ์คณุ ภาพ 1 และแต่งตั้งผู้รบั ผิดชอบทเี่ หมาะสมกับแต่ละโครงการ/กจิ กรรมทบี่ รู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง สกู่ ารปฏิบัติในสถานศกึ ษา 3 = ดาเนนิ การตามเกณฑ์คุณภาพ 2 และมกี ารดาเนนิ การตามแผนปฏิบตั งิ านประจาปีฯ แตไ่ มค่ รบทุกกิจกรรม 4 = ดาเนนิ การตามเกณฑ์คุณภาพ 2 และมกี ารดาเนินการตามแผนปฏิบตั ิงานประจาปีฯ ครบทกุ กจิ กรรมอยา่ ง เหมาะสมกบั สถานการณ์ และสภาพความเป็นจริงทางภูมิสังคมของสถานศกึ ษา แผนปฏิบตั ิงานประจาปฯี : แผนปฏบิ ัติงานประจาปที ก่ี าหนดขึ้น ตามนโยบายนอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ นิยาม พอเพียงมาขับเคลื่อนในสถานศกึ ษา ศัพท์ อยา่ งเหมาะสม : ในกรณที ี่มีการเปลีย่ นแปลงใดๆเกิดขนึ้ มกี ารปรบั แผนฯ/กจิ กรรม ใหเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ เพอื่ ให้บรรลุเปูาหมาย/วัตถปุ ระสงค์ท่ตี ง้ั ไว้ คู่มอื ประเมินสถานศึกษาแบบอยา่ งการจัดกิจกรรมการเรียนรแู้ ละการบรหิ ารจดั การตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปี 2554 เป็นต้นไป

-6- 1. ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา ตวั บง่ ชี้ที่ 1.3 ตดิ ตามผลการดาเนนิ การตามนโยบายและแผนปฏบิ ัติงานประจาปี ทน่ี ้อมนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาขับเคลอื่ นในสถานศกึ ษา 0 = ไม่ม/ี ไม่ปฏบิ ตั ิ 1 = มผี ูร้ ับผิดชอบการตดิ ตามผลการดาเนินงานตามนโยบายและแผนปฏบิ ัติงานประจาปฯี 2 = ดาเนนิ การตามเกณฑค์ ุณภาพ 1 และมเี ครอ่ื งมือ/วธิ ีการตดิ ตามผล ทีส่ อดคลอ้ งตามวัตถปุ ระสงค์และเปาู หมาย ของโครงการ/กิจกรรมในแผนปฏบิ ตั ิงานประจาปีฯ 3 = ดาเนนิ การตามเกณฑค์ ุณภาพ 2 และตดิ ตามผลการปฏิบตั ิงานตามโครงการ/กจิ กรรมต่างๆ อยา่ งเหมาะสมกบั สภาพความเปน็ จริงทางภูมสิ ังคมของสถานศกึ ษา 4 = ดาเนินการตามเกณฑ์คุณภาพ 3 และมกี ารรายงานผลการติดตามผลแก่ผเู้ ก่ยี วข้อง อยา่ งสม่าเสมอ ตวั บง่ ช้ีที่ 1.4 นาผลการตดิ ตามมาพฒั นา นโยบาย/แผนงาน/โครงการ ขับเคลอ่ื นหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งใน สถานศกึ ษา 0 = ไม่ม/ี ไม่ปฏบิ ัติ 1 = มีการพิจารณารว่ มกนั ระหว่างผู้เกยี่ วข้อง เพื่อหาสาเหตุและปจั จัย ทีส่ ง่ ผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ ตอ่ การ ดาเนนิ การตามนโยบาย/แผนงาน/โครงการ ขบั เคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในสถานศกึ ษา 2 = ดาเนินการตามเกณฑค์ ุณภาพ 1 และพิจารณาหาแนวทางแกไ้ ข/ปรับปรุง/พฒั นา เพื่อให้การดาเนินการขบั เคลอ่ื น หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในสถานศึกษา ได้ผลดีย่ิงขน้ึ 3 = ดาเนนิ การ แก้ไข/ปรบั ปรุง/พัฒนา การดาเนนิ โครงการ/กิจกรรม/การดาเนนิ งาน ตามแนวทาง/ขอ้ เสนอ ทไี่ ด้จาก การพจิ ารณาตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 2 4 = รายงาน/แจ้งใหผ้ ้เู ก่ยี วขอ้ งได้รบั ทราบถงึ ผลการแก้ไข/ปรบั ปรงุ /พฒั นา การดาเนินโครงการ/กจิ กรรมฯ ตามท่ีได้ ดาเนนิ การแลว้ ตามเกณฑ์คุณภาพ 3 องคป์ ระกอบท่ี 2 วชิ าการ ตวั บ่งชี้ที่ 2.1 มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดา้ นวชิ าการทส่ี ง่ เสรมิ การบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 0 = ไมม่ /ี ไมป่ ฏิบตั ิ 1 = มีแผนงานดา้ นวชิ าการ เพือ่ ส่งเสรมิ ให้นาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาบูรณาการสู่การจดั กจิ กรรมการ เรยี นรู้ 2 = บุคลากรและผู้เกย่ี วขอ้ งของสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการจดั ทาแผนสง่ เสริมงานวชิ าการฯ ตามเกณฑค์ ุณภาพ 1 3 = มผี ู้รบั ผดิ ชอบที่เหมาะสมในการดาเนนิ งาน และจดั สรรทรพั ยากรสนบั สนนุ ในการดาเนนิ การตามแผนสง่ เสรมิ งาน วิชาการฯ ตามเกณฑ์คณุ ภาพ 2 อย่างพอประมาณ และเป็นเหตุเปน็ ผล 4 = มีการดาเนนิ งานตามแผนส่งเสริมงานวิชาการฯ ตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 3 มโี ครงการ/กิจกรรม ครอบคลมุ ทุกกลมุ่ งาน และทุกระดบั ชัน้ และมีความยดื หยุ่นในทางปฏบิ ัติ เพ่อื รองรบั การเปล่ียนแปลงต่างๆ คู่มือประเมินสถานศกึ ษาแบบอย่างการจดั กิจกรรมการเรียนรแู้ ละการบรหิ ารจดั การตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปี 2554 เปน็ ต้นไป

-7- 1. ด้านการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา นิยาม งานวิชาการ : การเกบ็ ขอ้ มลู /ศกึ ษา/วเิ คราะห์/วิจยั เพอื่ ปรบั ปรุงและพัฒนางานตา่ ง ๆ ของสถานศกึ ษา ศัพท์ แผนสง่ เสรมิ งานวิชาการฯ : แผนงานดา้ นวิชาการ เพอ่ื ส่งเสรมิ ให้นาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มาบรู ณา การสู่การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.2 ดาเนนิ การตาม แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ด้านวิชาการทสี่ ง่ เสริมการบรู ณาการหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 0 = ไมม่ /ี ไมป่ ฏบิ ัติ 1 = ประชุมช้แี จงการดาเนินการตาม แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ดา้ นวิชาการท่ีส่งเสริมการบูรณาการหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ใหบ้ ุคลากรและผเู้ ก่ยี วขอ้ งทราบ 2 = ดาเนินการตามเกณฑ์คุณภาพ 1 และมีผู้รบั ผิดชอบท่ีมีศักยภาพ และเหมาะสมในการดาเนินโครงการ/กจิ กรรม ตามแผนส่งเสริมงานวิชาการฯ 3 = มีผูร้ ับผดิ ชอบในการดาเนนิ งาน ตามเกณฑ์คณุ ภาพ 2 และดาเนินโครงการ/กิจกรรม ตามแผนส่งเสริมงานวิชาการ ฯ แตไ่ ม่ครบทกุ ข้นั ตอน/ไม่ครบทกุ กจิ กรรม มผี รู้ ับผดิ ชอบตามเกณฑค์ ุณภาพ 2 และดาเนนิ การตาม โครงการ/กิจกรรม ของแผนส่งเสรมิ งานวชิ าการฯ 4 = ทกุ ขน้ั ตอนและทกุ กจิ กรรมตามความเหมาะสม และมีความยดื หยุ่นในทางปฏิบัติตามความจาเปน็ และสถานการณ์ ที่เปล่ยี นแปลง ตวั บ่งชี้ท่ี 2.3 ติดตามผลการดาเนนิ การตาม แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ด้านวิชาการที่สง่ เสริมการบรู ณาการหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 0 = ไมม่ /ี ไม่ปฏบิ ัติ 1 = มผี ู้รับผดิ ชอบการติดตามผลการปฏิบตั งิ านตามแผนส่งเสรมิ งานวิชาการฯ 2 = ดาเนนิ การตามเกณฑ์คณุ ภาพ 1 และมเี ครอ่ื งมือ/วิธกี ารตดิ ตามผล การปฏิบัตงิ านตามแผนสง่ เสริมงานวิชาการฯ ท่ี สอดคลอ้ งกับวตั ถปุ ระสงคแ์ ละเปูาหมายของแผนงานฯ และเหมาะสมกบั สภาพความเปน็ จรงิ ของสถานศึกษา 3 = ดาเนนิ การตามเกณฑ์คุณภาพ 2 และตดิ ตามผลการปฏบิ ัตงิ านตามแผนส่งเสริมงานวชิ าการฯ 4 = ดาเนินการตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 3 และรายงานผลการติดตามผลแก่ผู้เกีย่ วข้องทราบ ตัวบง่ ชี้ที่ 2.4 นาผลการตดิ ตามไปพัฒนา แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ดา้ นวิชาการที่สง่ เสรมิ การบรู ณาการหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 0 = ไม่ม/ี ไมป่ ฏบิ ัติ 1 = มีการพจิ ารณาร่วมกันระหว่างผู้เก่ยี วขอ้ ง เพอ่ื หาสาเหตุและปัจจัยที่ส่งผลกระทบ ต่อการปฏบิ ตั ิงานดา้ นวิชาการท่ี สง่ เสรมิ การบรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2 = ดาเนินการตามเกณฑค์ ุณภาพ 1 และมกี ารพจิ ารณาหาแนวทาง แกไ้ ข/ปรบั ปรงุ /พฒั นา การส่งเสรมิ งานดา้ น วิชาการฯ ให้ได้ผลดีย่ิงข้นึ 3 = ดาเนนิ การแกไ้ ข/ปรับปรงุ /พฒั นา การสง่ เสริมงานดา้ นวชิ าการฯ ตามแนวทาง/ข้อเสนอ ที่ไดจ้ ากการพจิ ารณาตาม เกณฑ์คุณภาพ 2 คู่มอื ประเมนิ สถานศึกษาแบบอยา่ งการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้แู ละการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปี 2554 เปน็ ต้นไป

-8- 1. ด้านการบริหารจดั การสถานศึกษา 4 = รายงาน/แจง้ ใหผ้ เู้ ก่ียวข้องไดร้ ับทราบถงึ ผลการแกไ้ ข/ปรบั ปรงุ /พฒั นา การสง่ เสรมิ งานดา้ นวิชาการฯ ตามทีไ่ ด้ ดาเนินการแลว้ ตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 3 นยิ าม การสง่ เสริมงานดา้ นวชิ าการฯ : การปฏบิ ตั งิ านตา่ งๆ ด้านวชิ าการ ท่ีส่งเสริมการบูรณาการหลกั ปรัชญาของ ศัพท์ เศรษฐกิจพอเพยี งสู่การเรียนรู้ องค์ประกอบที่ 3 งบประมาณ ตวั บ่งช้ีท่ี 3.1 มกี ารวางแผนการบริหารจัดการงบประมาณของสถานศึกษาทีส่ อดคลอ้ งกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง 0 = ไมม่ /ี ไมป่ ฏบิ ตั ิ 1 = มแี ผนการบริหารจัดการงบประมาณของสถานศกึ ษา 2 = บุคลากรและผเู้ ก่ียวข้องของสถานศกึ ษามีส่วนรว่ มในการจดั ทาแผนการบริหารจัดการงบประมาณของสถานศึกษา ตามเกณฑ์คุณภาพ 1 และมีผูร้ ับผดิ ชอบในการบริหารจดั การงบประมาณท่ีมศี ักยภาพและมีความเหมาะสม 3 = ดาเนินการตาม เกณฑค์ ุณภาพ 2 และมีการจดั สรรงบประมาณอยา่ งเหมาะสม และเป็นเหตเุ ปน็ ผล สาหรับแต่ละ โครงการ/กจิ กรรม 4 = ดาเนนิ การตามเกณฑ์คุณภาพ 3 และการจัดสรรงบประมาณคานึงถงึ การใช้ประโยชน์ของทรพั ยากรท่ีมีอยูอ่ ยา่ ง คมุ้ ค่า และผลที่จะเกิดขึ้นในระยะยาว ตัวบง่ ช้ที ี่ 3.2 ดาเนินการตามแผนงบประมาณของสถานศกึ ษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 0 = ไม่ม/ี ไมป่ ฏบิ ัติ 1 = มีการประชุมช้แี จงการดาเนินการบรหิ ารจดั การงบประมาณใหบ้ คุ ลากรและผ้เู กี่ยวขอ้ งของสถานศกึ ษาทราบ 2 = ดาเนนิ การตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 1 และมีผู้รับผดิ ชอบการเบกิ จ่าย และบริหารจัดการงบประมาณ แตล่ ะโครงการ/ กิจกรรมตามแผนการบรหิ ารจดั การงบประมาณของสถานศกึ ษา 3 = ดาเนนิ การตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 2 และมีการเบกิ จา่ ยและใช้ทรพั ยากร ตามแผนการบริหารจดั การงบประมาณของ สถานศกึ ษา อยา่ งโปรง่ ใส เปน็ ไปตามระเบียบทางราชการ 4 = ดาเนนิ การตามเกณฑ์คณุ ภาพ 3 และมกี ารเบกิ จา่ ยงบประมาณและใชท้ รพั ยากรตามความจาเปน็ อย่างเหมาะสม ด้วยความซ่ือสัตยส์ ุจรติ สามารถตรวจสอบการเบกิ จา่ ยไดท้ ุกโครงการ/กจิ กรรม ตวั บง่ ชท้ี ี่ 3.3 ตดิ ตามผลการดาเนนิ งานตามแผนงบประมาณของสถานศึกษา ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 0 = ไมม่ /ี ไมป่ ฏบิ ตั ิ 1 = มผี ู้รับผดิ ชอบท่ีชัดเจน ในการติดตามผลการใช้งบประมาณของสถานศึกษา 2 = ดาเนนิ การตามเกณฑ์คุณภาพ 1 และมีการติดตามผลการใชง้ บประมาณ ตามวัตถปุ ระสงคแ์ ละเปูาหมายของ โครงการ/กจิ กรรม ทตี่ ัง้ ไว้ อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ และสภาพความเปน็ จรงิ ของสถานศกึ ษา 3 = ดาเนินการตามเกณฑ์คณุ ภาพ 2 และมีการตรวจสอบความถูกต้อง เหมาะสม และความซื่อสัตยส์ จุ ริต ในการใช้ งบประมาณตามแผนงบประมาณของสถานศกึ ษา 4 = ดาเนนิ การตามเกณฑค์ ุณภาพ 3 และมกี ารรายงานการตดิ ตามผลการใช้งบประมาณแก่ผเู้ กี่ยวข้องทราบ คมู่ อื ประเมินสถานศกึ ษาแบบอยา่ งการจดั กจิ กรรมการเรียนรแู้ ละการบรหิ ารจดั การตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2554 เป็นต้นไป

-9- 1. ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา องคป์ ระกอบท่ี 3 งบประมาณ ตัวบง่ ชี้ท่ี 3.4 นาผลการติดตามมาพัฒนา/ปรบั ปรุง การบริหารจดั การงบประมาณตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 0 = ไม่ม/ี ไม่ปฏิบตั ิ 1 = มีการพจิ ารณาร่วมกัน เพอ่ื หาสาเหตแุ ละปจั จยั ท่สี ง่ ผลกระทบทงั้ ทางบวกและทางลบ ตอ่ การบริหารจดั การ งบประมาณ ของสถานศึกษา 2 = ดาเนนิ การตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 1 และพิจารณาหาแนวทางแกไ้ ข/ปรับปรงุ /พัฒนา การดาเนนิ การบริหารจดั การ งบประมาณของสถานศึกษา ใหไ้ ดผ้ ลดยี ิ่งขึน้ 3 = ดาเนนิ การปรับปรุง/พฒั นา การบริหารจดั การงบประมาณตามขอ้ เสนอทไี่ ด้จากเกณฑ์คุณภาพ 2 4 = รายงาน/แจง้ ให้ผู้เกีย่ วขอ้ งไดร้ บั ทราบ ผลการแกไ้ ข/ปรบั ปรงุ /พฒั นา การบรหิ ารจัดการงบประมาณตามทไี่ ด้ ดาเนนิ การแลว้ ตามเกณฑ์คุณภาพ 3 องคป์ ระกอบท่ี 4 บรหิ ารงานทว่ั ไป ตวั บง่ ชีท้ ่ี 4.1 บรหิ ารจดั การอาคารสถานที่และแหลง่ การเรยี นรูใ้ นสถานศึกษา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 0 = ไมม่ /ี ไม่ปฏบิ ัติ 1 = แตง่ ต้ังผรู้ ับผิดชอบ การใช้/ดูแล/รักษา/ปรบั ปรงุ อาคารสถานที่ และแหลง่ เรียนรู้ในสถานศกึ ษาอยา่ งเหมาะสม 2 = ดาเนินการตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 1 และผเู้ รยี น/บุคลากร/ผู้เก่ยี วขอ้ งของสถานศกึ ษามีส่วนร่วม ในการใช/้ ดูแล/รักษา/ ปรับปรงุ อาคารสถานที่และแหล่งเรียนรใู้ นสถานศกึ ษาอยา่ งเหมาะสมกบั ภูมิสงั คมที่สถานศึกษาต้ังอยู่ 3 = ดาเนนิ การตามเกณฑ์คณุ ภาพ 2 และใช้ประโยชน์อาคารสถานท่ี/สภาพแวดล้อม/แหล่งเรียนรูใ้ นสถานศกึ ษาอยา่ ง คมุ้ ค่าและเกิดประโยชน์ตอ่ การเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาคณุ ลักษณะ “อยอู่ ย่างพอเพยี ง” 4 = ดาเนินการตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 3 และมีการบารงุ รกั ษาอาคารสถานท่ี/สภาพแวดลอ้ ม/แหลง่ เรียนรู้ ในสถานศกึ ษา อย่างสมา่ เสมอ เพ่ือใชป้ ระโยชนไ์ ด้นานและคุ้มคา่ นิยาม อยอู่ ย่างพอเพยี ง : ใชช้ วี ติ สอดคล้องกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือคิด พูด ทา อยา่ งพอประมาณ มีเหตผุ ล ศพั ท์ และมีภูมคิ มุ้ กนั ในตัวที่ดี โดยใช้ความรู้และคณุ ธรรม เป็นพน้ื ฐานในการดาเนนิ ชีวิตและการปฏิบตั ภิ ารกจิ หน้าทใี่หเพ้ ือ่ เจรญิ ก้าวหนา้ ไปอยา่ งสมดลุ และพรอ้ มรับการเปลยี่ นแปลง ในด้านวตั ถุ สงั คม สิง่ แวดลอ้ ม และวฒั นธรรม คู่มอื ประเมนิ สถานศึกษาแบบอย่างการจดั กิจกรรมการเรยี นรแู้ ละการบริหารจดั การตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2554 เป็นตน้ ไป

- 10 - 1. ด้านการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา องค์ประกอบที่ 4 บรหิ ารงานทวั่ ไป ตวั บง่ ชท้ี ่ี 4.2 ประสานสัมพันธ์กับชมุ ชนใหม้ สี ว่ นร่วมในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอย่อู ย่าง พอเพยี งของผ้เู รียน 0 = ไม่ม/ี ไมป่ ฏบิ ัติ 1 = มผี ู้รับผดิ ชอบ งานประสานสัมพันธ์กับชุมชนให้เขา้ มามีส่วนร่วม ในการจัดกจิ กรรมการเรียนรูเ้ พอ่ื เสรมิ สร้าง คณุ ลกั ษณะอยู่อยา่ งพอเพยี งของผเู้ รียน 2 = ดาเนินการตามเกณฑค์ ุณภาพ 1 และบุคลากรของสถานศึกษา รวมถึงผู้เรยี น มีส่วนร่วมในการประสานสัมพนั ธ์กับ ชุมชน เพอื่ สง่ เสรมิ การเรยี นรู้เพือ่ เสริมสรา้ งคุณลกั ษณะอยูอ่ ย่างพอเพยี งของผ้เู รียน 3 = ดาเนนิ การตามเกณฑ์คุณภาพ 2 และใชป้ ระโยชน์จากบุคลากรและทรัพยากรของชุมชน ในการจดั กิจกรรมการ เรยี นรู้ เพอ่ื เสริมสรา้ งคุณลักษณะอยู่อยา่ งพอเพียงของผู้เรียน 4 = ดาเนนิ การตามเกณฑค์ ุณภาพ 3 อยา่ งสมา่ เสมอ นิยาม ชมุ ชน : คณะกรรมการสถานศกึ ษา และ/หรอื ผปู้ กครอง และ/หรือ ชุมชนทอี่ ย่บู รเิ วณรอบสถานศึกษา ศัพท์ ค่มู ือประเมนิ สถานศึกษาแบบอยา่ งการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้และการบรหิ ารจัดการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2554 เปน็ ต้นไป

องคป์ ระกอบท่ี 1 - 11 - ตัวบ่งชี้ท่ี 1.1 ตวั บ่งชที้ ี่ 1.2 รายการประเมนิ ด้านท่ี 2 ตัวบ่งช้ีที่ 1.3 ดา้ นหลักสตู รและการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ มี 4 องค์ประกอบ 14 ตวั บง่ ช้ี ประกอบดว้ ย องค์ประกอบที่ 2 ตัวบง่ ชี้ท่ี 2.1 หนว่ ยการเรยี นรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (3 ตัวบง่ ช้ี) ตัวบง่ ชี้ท่ี 2.2 ตัวบ่งชี้ท่ี 2.3 มีหน่วยการเรียนรู้ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.4 มกี ารนิเทศ/ตดิ ตาม/ประเมินผล การนาหนว่ ยการเรยี นรู้ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ไปใชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ องค์ประกอบที่ 3 มกี ารศึกษา/วิเคราะห์ /วิจัย เพอ่ื พฒั นา การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ ตวั บง่ ชี้ท่ี 3.1 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตัวบ่งช้ีที่ 3.2 ตวั บง่ ชี้ท่ี 3.3 การบรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (4 ตัว บง่ ช้ี) องคป์ ระกอบที่ 4 ตัวบ่งชี้ท่ี 4.1 มีแผนจดั การเรียนรบู้ รู ณาการ หลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งในกลุ่มสาระการ ตัวบง่ ช้ีที่ 4.2 เรียนรู้ต่าง ๆ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 คณุ ภาพของแผนจดั การเรยี นรู้ท่ีบูรณาการ หลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง ตัวบ่งชี้ท่ี 4.4 ในกลมุ่ สาระการเรยี นรตู้ ่าง ๆ จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ทีบ่ รู ณาการ หลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งในกลมุ่ สาระ การเรียนร้ตู ่างๆ ผู้เรยี นมีสว่ นรว่ มในการจดั กิจกรรมการเรียน รู้ที่บูรณาการ หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจ พอเพยี ง สือ่ และแหล่งเรยี นรเู้ กย่ี วกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (3 ตัวบ่งช้ี) จัดหา/ผลิต/ใช้/เผยแพร่ ส่อื การเรียนรู้ เพื่อบรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ จดั ทา/พฒั นา/เผยแพร่ แหลง่ เรียนรใู้ นสถานศึกษาเพ่ือสนบั สนนุ การเรยี นรู้เก่ียวกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ใชแ้ หล่งเรียนรู้/ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ินในชุมชน ที่เสรมิ สรา้ งการพฒั นาคุณลกั ษณะ “อยู่อย่างพอเพยี ง” ของผ้เู รยี น การวัดและประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง (4 ตัวบง่ ช้ี) จัดทาเครือ่ งมอื วดั ผลและประเมินผลที่หลากหลาย และสอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์ของ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ใช้วิธีการวดั ผลและประเมนิ ผลทีห่ ลากหลาย และสอดคล้องกบั การจัดกจิ กรรมการ เรยี นรู้ทบ่ี รู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รายงานผลการประเมิน และนามาปรับปรงุ /พัฒนา การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ท่บี ูรณา การหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง จัดแสดง/ เผยแพร่/ ประกวด/ แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ ผลงานของผเู้ รยี นท่ีเกิดจากการนา หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยกุ ต์ใช้ คู่มอื ประเมินสถานศกึ ษาแบบอย่างการจดั กิจกรรมการเรยี นรแู้ ละการบริหารจดั การตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปี 2554 เป็นต้นไป

- 12 - ตวั อยา่ ง ร่องรอย/เอกสาร/หลกั ฐานประกอบการประเมนิ  หลักสูตรสถานศึกษา/หลกั สูตรสาระการเรยี นร้ทู ้องถ่นิ /เอกสารหลักสตู ร  แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม/คาส่งั ปฏบิ ัตงิ าน/แผนปฏบิ ตั ิงานประจาปี  หน่วยการเรยี นรู้/แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้/แผนการนิเทศติดตามผล  โครงงานของผเู้ รยี น  บันทึกการประชุม  ส่อื นวัตกรรมการเรยี นรู้/แหล่งเรียนรู้/ทะเบียนสอื่ นวตั กรรม  งานวจิ ัยในชั้นเรียน  เครอ่ื งมือวัดผลประเมินผล  แผนงาน/ช้นิ งานของผู้เรยี น/ภาพถ่ายกิจกรรม  แฟูมสะสมผลงานผ้เู รียน/รางวลั ทไี่ ดร้ ับ ฯลฯ คู่มอื ประเมนิ สถานศกึ ษาแบบอยา่ งการจัดกจิ กรรมการเรียนรแู้ ละการบริหารจัดการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปี 2554 เปน็ ต้นไป

- 13 - เกณฑ์การให้คะแนน 2. ดา้ นหลักสตู รและการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ องค์ประกอบท่ี 1 หลกั สูตร/ หน่วยการเรยี นรู้ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตัวบง่ ช้ที ่ี 1.1 มหี นว่ ยการเรยี นรู้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ 0 = ไมม่ /ี ไมป่ ฏบิ ัติ 1 = สถานศึกษามหี น่วยการเรียนรู้ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามมาตรฐานการเรียนรู้ 2 = มี และใช้ หนว่ ยการเรียนรปู้ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงตามเกณฑ์คุณภาพ 1 แต่ไมค่ รบทุกระดบั ช้นั ท่เี ปิดสอน 3 = มี และใช้ หน่วยการเรยี นรปู รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามเกณฑ์คุณภาพ 1 ครบทุกระดบั ชั้นที่เปดิ สอน 4 = มี และใช้ หนว่ ยการเรียนรู ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ตามเกณฑ์คณุ ภาพ 1 ครบทุกระดบั ชน้ั ทเ่ี ปดิ สอน และเป็นแบบอย่างให้สถานศกึ ษาอ่ืนๆ นาไปปรบั ใช้ได้ หน่วยการเรยี นรู้ ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง : หนว่ ยการเรยี นรู้ ที่มีสาระการเรยี นรู้ เกี่ยวกบั หลัก นิยาม ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง และการ ประยุกต์ใช้ ตามมาตรฐานการเรยี นรทู้ กี่ าหนด สาหรับ แตล่ ะชั้นปี ศัพท์ ในหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 2551 ตัวบง่ ชท้ี ่ี 1.2 มกี ารนเิ ทศ /ติดตาม /ประเมนิ ผล การนาหน่วยการเรยี นรู้ หลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ไปใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 0 = ไม่ม/ี ไมป่ ฏิบัติ 1 = มกี ารดาเนนิ การ นเิ ทศ/ตดิ ตาม/ประเมินผล การนาหนว่ ยการเรยี นรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ไป ใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยผ้บู รหิ ารหรอื ผทู้ ่ีไดร้ ับมอบหมาย 2 = มแี ผนและเครือ่ งมือในการ นิเทศ/ตดิ ตาม/ประเมนิ ผล เพ่ือดาเนนิ การตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 1 3 = ดาเนนิ การตามเกณฑ์คุณภาพ 2 และมีการบนั ทึกผลการดาเนินงาน โดยผบู้ ริหาร หรือผูท้ ไี่ ด้รบั มอบหมาย รายงานผลการนิเทศ /ตดิ ตาม/ประเมนิ ผล การใชห้ น่วยการเรียนรู้ หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ตอ่ ผู้บริหาร 4 = ดาเนินการตาม เกณฑค์ ณุ ภาพ 3 และนาผลการนิเทศ /ตดิ ตาม/ประเมินผล ไปปรบั ปรุง /พัฒนา การจัด กจิ กรรมการเรียนรู้หนว่ ยการเรยี นรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง อยา่ งสม่าเสมอ ตวั บง่ ชท้ี ี่ 1.3 มีการศึกษา /วิเคราะห์/วจิ ยั เพื่อพฒั นา การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ หน่วยการเรียนรู้ หลักปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 0 = ไมม่ /ี ไมป่ ฏิบตั ิ 1 = มกี ารสารวจ/ศกึ ษา/วเิ คราะห์/วิจัย ผลสัมฤทธ์ิท่ีเกดิ ขึ้น ตลอดจนสภาพของปัญหา/ปจั จัยทมี่ ผี ลกระทบทงั้ ทางบวกและทางลบ ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้หนว่ ยการเรยี นรู้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มกี ารดาเนินการตามเกณฑค์ ุณภาพ 1 และพิจารณาเสนอแนะ แนวทางแก้ไขปญั หา /ปรบั ปรุง/พัฒนา การ 2 = จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ หลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ให้สมั ฤทธิผ์ ลยงิ่ ขน้ึ ตาม มาตรฐานการเรยี นรู้ ค่มู อื ประเมนิ สถานศกึ ษาแบบอยา่ งการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้และการบรหิ ารจัดการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2554 เปน็ ต้นไป

- 14 - 2. ดา้ นหลักสตู รและการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 3 = มกี ารนาข้อเสนอแนะทีไ่ ดจ้ ากการดาเนินการตามเกณฑ์คุณภาพ 2 มาแกไ้ ขปัญหา/ปรับปรงุ /พฒั นา การ จัดกจิ กรรมการเรียนรู้หน่วยการเรยี นรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4 = มกี ารดาเนนิ การตาม เกณฑค์ ณุ ภาพ 3 อย่างสม่าเสมอ และเผยแพรห่ นว่ ยการเรียนรู้ หลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง ทส่ี ามารถเปน็ แบบอยา่ งได้ ภายใน/นอกสถานศึกษา นิยาม วจิ ัย : มกี ารศึกษาเพือ่ ให้ได้ขอ้ คน้ พบในการนามาใชใ้ นการแกป้ ัญหาเพอ่ื ปรบั ปรุง /พฒั นางาน การจดั ศพั ท์ กจิ กรรมการเรยี นรู้หน่วยการเรียนรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ให้ดีย่งิ ขึน้ องคป์ ระกอบที่ 2 การบรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ตวั บง่ ชท้ี ่ี 2.1 มีแผนการจัดการเรยี นรู้ ที่บูรณาการหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ตา่ ง ๆ ทุกระดบั ชน้ั 0 = ไม่ม/ี ไมป่ ฏบิ ัติ 1 = มแี ผนการจดั การ เรียนรู้ ท่ีบูรณาการหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ในกล่มุ สาระการเรียนรู้ตา่ ง ๆ ไมค่ รบทุกกลุม่ สาระการเรยี นรู้ 2 = มีแผนการจัดการเรียนรู้ฯ ในกลุ่มสาระการเรียนรตู้ ่าง ๆ ครบทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ 3 = มแี ผนการจดั การเรยี นรู้ฯ ในกลุม่ สาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ครบทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และครบทกุ ระดับชัน้ 4 = แผนการจัดการเรียนร้ฯู ตามเกณฑค์ ุณภาพ 3 สามารถนาไปเผยแพร่เป็นแบบอย่างใหผ้ อู้ ่นื นาไปปรบั ใชไ้ ด้ นิยาม แผนการจัดการเรยี นรู้ ท่ีบรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง : แผนการจัดการเรียนรู้ ทรี่ ะบุ ศัพท์ การบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ไว้ในจุดประสงค์การเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรียน รู้ และการ วัดผลประเมนิ ผล ตัวบ่งชที้ ่ี 2.2 คณุ ภาพของแผน การจัดการเรยี นรทู้ ีบ่ ูรณาการ หลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ในกลมุ่ สาระ การเรยี นรู้ต่าง ๆ 0 = ไมม่ /ี ไมป่ ฏบิ ตั ิ 1 = มีแผนการจัดการเรยี นร้ทู บ่ี ูรณาการ หลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง ท่ีมีคุณภาพ อยา่ งถูกต้องและ สมบูรณ์ 1 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 2 = มีแผนการจัดการเรียนรู้ทบี่ ูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงตามเกณฑ์คุณภาพ 1 ครอบคลมุ 2 - 3 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ 3 = มีแผนการจัดการเรยี นรู้ทบ่ี รู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งตามเกณฑค์ ุณภาพ 1 ครอบคลมุ 4 – 5 กลุม่ สาระการเรียนรู้ 4 = มีแผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ีบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงตามเกณฑ์คุณภาพ 1 ต้งั แต่ 6 กลุ่มสาระ การเรียนรู้ขนึ้ ไป คมู่ ือประเมินสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปี 2554 เป็นต้นไป

- 15 - 2. ดา้ นหลักสตู รและการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ คุณภาพของแผน : ประกอบดว้ ยมาตรฐานการเรยี นรู้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ สาระหรอื เนื้อหา กจิ กรรม การเรยี นรู้ ส่อื การวดั ผลประเมนิ ผล และบนั ทกึ หลังสอน การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ทบี่ ูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงอย่างถกู ต้องและสมบรู ณ์ : การ นิยาม ระบุถงึ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ทคี่ านึงถงึ หลกั ความพอประมาณ การมเี หตผุ ล การมีภมู คิ ุม้ กนั ในตวั ทด่ี ี ศพั ท์ เพื่อพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ตา่ งๆ โดยใช้คณุ ธรรมนาความรู้ ในการเตรยี มการสอน การ จดั กิจกรรมการ เรยี นรู้ และการวัดผลประเมินผล เพอ่ื มุง่ ให้ ผู้เรยี นเกดิ การเรียนรู้ เข้าใจ ซึมซับ ฝกึ ฝน และเห็นคณุ ค่าของ การอยู่อยา่ งพอเพียง ตัวบ่งชท้ี ่ี 2.3 จดั กจิ กรรมการเรยี น รู้ทีบ่ รู ณาการ หลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ 0 = ไมม่ /ี ไมตป่ ่าฏงบิ ๆัติ 1 = มกี ารจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ทบี่ รู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 2 = มีการจัดกจิ กรรมการเรยี น รู้ท่ีบรู ณาการหลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ตา่ ง ๆ มากกวา่ 1 กล่มุ สาระการเรียนรู้ 3 = มกี ารจัดกิจกรรมการเรียน รู้ท่ีบูรณาการหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ต่าง ๆ ครบทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 4 = มกี ารจดั กิจกรรมการเรียน รู้ที่บรู ณาการหลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง ในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ตา่ ง ๆ ครบทุกกลุม่ สาระการเรยี นรู้ และครบทกุ ระดับชัน้ ตวั บ่งชท้ี ี่ 2.4 ผเู้ รียนมีสว่ นรว่ มในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ที่บรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 0 = ไม่ม/ี ไม่ปฏิบตั ิ 1 = ผู้เรยี นมีสว่ นร่วมในการจดั กิจกรรมการเรยี น รู้ทบี่ ูรณาการหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงพอเพียง 1 กล่มุ สาระการเรียนรู้ 2 = ผเู้ รยี นมีส่วนรว่ มในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามเกณฑ์คณุ ภาพ 1 มากกวา่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 3 = ผเู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ตามเกณฑ์คุณภาพ 1 ครบทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ 4 = ผูเ้ รยี นมีส่วนร่วมในการจดั กิจกรรมการเรยี น เรยี นรู้ ตามเกณฑ์คุณภาพ 1 ครบทกุ กลุม่ สาระการเรียนรู้ และ ครบทกุ ระดบั ชนั้ นยิ าม ผเู้ รยี นมสี ่วนร่วม : ผเู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการดาเนินกิจกรรมการเรียน รู้ ตา่ ง ๆ เช่น เกบ็ ขอ้ มลู วิเคราะห์ ศัพท์ ปฏบิ ตั ิ ทดลอง แสดงความคิดเห็น ตอบคาถาม นาเสนอ ฯลฯ คูม่ อื ประเมินสถานศกึ ษาแบบอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนร้แู ละการบริหารจดั การตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ปี 2554 เป็นต้นไป

- 16 - 2. ด้านหลักสูตรและการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ องค์ประกอบท่ี 3 สื่อและแหลง่ เรยี นรูเ้ ก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตัวบ่งชท้ี ่ี 3.1 จัดหา/ผลติ /ใช้/เผยแพร่สือ่ การเรยี นรู้ เพอ่ื บูรณาการ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงใน การ จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 0 = ไมม่ /ี ไมป่ ฏบิ ัติ 1 = จัดหา/ผลติ และใช้ สื่อการเรยี นรู้ เพ่ือบรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ในการจดั กิจกรรมการ เรยี นรู้ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 2 = มกี ารดาเนินการตามเกณฑค์ ุณภาพ 1 ครอบคลุมการจัดกิจกรรมการเรยี นรมู้ ากกว่า 1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ 3 = มีการดาเนินการตามเกณฑค์ ุณภาพ 2 ครอบคลมุ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ครบทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 4 = เผยแพร่สือ่ การเรยี นร้ฯู ท่ีดาเนนิ การตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 3 ท้งั ภายในและนอกสถานศกึ ษา นยิ าม การจดั หา/ผลติ /ใช้/เผยแพร่ สอ่ื การเรียนรู้ : การไดม้ าซง่ึ ส่ือท่ีใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ทีบ่ รู ณาการ ศพั ท์ หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง ดว้ ยวธิ ีการทห่ี ลากหลาย เชน่ การผลติ ขน้ึ เอง การจัดซอ้ื การขอรบั บรจิ าค ฯลฯ และการเผยแพร่สือ่ ทีไ่ ดม้ า เพ่ือใช้ประโยชน์ ทง้ั ภายในและนอกสถานศึกษา ตวั บ่งชที้ ่ี 3.2 จัดทา/พัฒนา/เผยแพร่ แหลง่ เรยี นรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในสถานศกึ ษา 0 = ไม่ม/ี ไม่ปฏิบตั ิ 1 = จดั ทา /พฒั นา แหล่งเรยี นรใู้ นสถานศกึ ษา เพ่อื สนับสนนุ การเรียนรูเ้ กี่ยวกับ หลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกิจ พอเพียง 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 2 = มกี ารดาเนนิ การตามเกณฑ์คณุ ภาพ 1 ครอบคลุม การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ มากกว่า 1 กลุ่มสาระการ เรียนรู้ 3 = มีการดาเนนิ การตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 2 ครอบคลมุ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ครบทกุ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ 4 = มกี ารดาเนินการตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 3 และเผยแพร่ แหลง่ เรียนรู้ในสถานศกึ ษา เพ่อื สนับสนุนการเรยี นรู้ เกี่ยวกหั ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ในระดับอาเภอ/เขตพื้นท่กี ารศึกษา ขึ้นไป แหลง่ เรียนรู้ : แหลง่ ทใี่ ห้ความรเู้ กี่ยวกับ หลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง และการประยกุ ตใ์ ช้หลกั นยิ าม ปรชั ญาฯ ในดา้ นต่าง ๆ ที่มีอยใู่ นสถานศึกษา ศพั ท์ การเผยแพร่แหล่งเรียนรู้ : การทาให้ชมุ ชนในระดบั ต่างๆ ไดร้ บั ทราบ และมสี ว่ นรว่ มในการ ใช้ประโยชน์ จากแหลง่ เรียนรู้หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งของสถานศึกษา ตัวบ่งช้ที ่ี 3.3 ใชแ้ หล่งเรยี นรู้ /ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ในชมุ ชน ทเ่ี สรมิ สร้าง การ พัฒนาคุณลกั ษณะ “อย่อู ยา่ ง พอเพียง” ของผูเ้ รียน คมู่ ือประเมนิ สถานศกึ ษาแบบอยา่ งการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้และการบรหิ ารจดั การตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปี 2554 เป็นตน้ ไป

- 17 - 2. ดา้ นหลกั สตู รและการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 0 = ไมม่ /ี ไม่ปฏบิ ัติ 1 = บคุ ลากรสถานศึกษาและผู้เรียน มสี ว่ นร่วมในการรวบรวมภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นในชมุ ชน เพอื่ นามาเป็นส่วนหนง่ึ ของการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้เสริมสรา้ งการพฒั นาคุณลักษณะ “อยูอ่ ยา่ งพอเพียง” ของผเู้ รยี น 2 = บคุ ลากรสถานศกึ ษาและผูเ้ รยี น ดาเนินการตาม เกณฑค์ ณุ ภาพ 1 และมีส่วนร่วมในการจัดแหลง่ เรยี นรู้ / สบื ค้นภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน ในชุมชน 3 = บุคลากรสถานศึกษาและผู้เรยี น ดาเนนิ การตามเกณฑ์คณุ ภาพ 2 และมสี ่วนรว่ มในการพัฒนาแหลง่ เรียนรู้/ พัฒนาตอ่ ยอดภูมิปัญญาท้องถน่ิ ในชุมชน 4 = ดาเนินการตาม เกณฑ์คุณภาพ 3 เพ่ือเสรมิ สร้างการพฒั นาคณุ ลักษณะ “อยอู่ ย่างพอเพยี ง ” ของผเู้ รยี น อยา่ งต่อเนอ่ื งมาอย่างน้อย 2 ปี นิยาม ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น : องคค์ วามรูเ้ กย่ี วกบั การดาเนนิ ชีวติ ที่สอดคล้องกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ศพั ท์ ทมี่ ีอยูใ่ นท้องถิ่น/ชุมชน อยา่ งนอ้ ย 2 ปี : ยอ้ นหลงั 4 ภาคการศึกษา นับจากภาคการศึกษาปจั จบุ นั องคป์ ระกอบท่ี 4 การวัดผลและประเมินผลการจัดกจิ กรรมการเรยี นทรีบ่ ู้ รู ณาการหลักปรชั ญาขอเงศรษฐกจิ พอเพยี ง ตัวบ่งชีท้ ่ี 4.1 จัดทาเคร่ืองมอื วดั ผลและประเมนิ ผล ทหี่ ลากหลาย และสอดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงค์ของ การจัด กจิ กรรมการเรยี นรู้ทบ่ี ูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 0 = ไม่ม/ี ไมป่ ฏบิ ัติ 1 = มีการจดั ทาเครอ่ื งมือวดั ผลและประเมินผลท่ีหลากหลาย และสอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงคข์ อง การจัดกิจกรรม การเรยี นรู้ท่บี รู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2 = ดาเนนิ การตามเกณฑ์คุณภาพ 1 และนาไปใช้ในการวัดผล/ประเมนิ ผล แต่ไมค่ รบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 3 = ดาเนนิ การตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 1 และนาไปใช้ในการวดั ผล/ประเมินผล ครบทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ 4 = นาผลทไี่ ด้ จากการวดั ผลและการประเมนิ ผลดว้ ยเครือ่ งมอื ฯ ตาม เกณฑค์ ุณภาพ 3 มาใช้ประโยชน์ เพือ่ พฒั นาผู้เรยี นให้มคี ุณลักษณะ “อยู่อยา่ งพอเพยี ง” ตัวบ่งช้ที ่ี 4.2 ใช้วธิ ีการวัดผลและประเมนิ ผลท่ีหลากหลาย และสอดคล้องกับการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่บี รู ณา การหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 0 = ไมม่ /ี ไม่ปฏบิ ตั ิ 1 = มีวิธีการวดั ผลและประเมินผล แต่ไมห่ ลากหลาย และ /หรือ ไม่สอดคล้องกบั การจดั กจิ กรรม การเรยี นรู้ ที่ บรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2 = มีวธิ ีการวดั และประเมนิ ผลท่ีไม่หลากหลาย แต่สอดคล้องกบั การจดั กจิ กรรม การเรยี นรู้ ทบี่ รู ณาการ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ค่มู อื ประเมินสถานศกึ ษาแบบอย่างการจัดกจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละการบรหิ ารจดั การตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปี 2554 เป็นต้นไป

- 18 - 2. ดา้ นหลักสูตรและการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 3 = มีวิธีการวัดและประเมินผลท่ีหลากหลาย และสอดคล้องกบั การจดั กจิ กรรม การเรยี นรู้ ท่ีบรู ณาการ หลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4 = นาผลท่ไี ด้จากการวัด ผลและการประเมิน ผล ตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 3 มาใช้ประโยชน์ เพือ่ พฒั นาคุณลักษณะ “อยู่อย่างพอเพียง” ของผ้เู รยี น ตัวบ่งช้ที ี่ 4.3 รายงานผลการประเมนิ และนามาปรบั ปรงุ /พฒั นา การจดั กิจกรรม การเรยี นรู้ท่ีบูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 0 = ไม่ม/ี ไม่ปฏิบัติ 1 = รายงานผลการ ประเมนิ การ จดั กิจกรรม การเรียนรู้ ทีบ่ ูรณาการ หลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง ทุกกลุ่ม สาระการเรยี นรู้ ให้ผเู้ รยี นไดร้ ับทราบ 2 = ดาเนินการตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 1 และรายงานผลการประเมินฯ ให้ผบู้ ริหารทราบดว้ ย 3 = ดาเนนิ การตามเกณฑค์ ุณภาพ 2 และรายงานผลการประเมนิ ฯ ใหผ้ ู้ปกครอง/กรรมการสถานศึกษาทราบ 4 = ดาเนินการตามเกณฑ์คณุ ภาพ 3 และนาผลการประเมิน ฯไปปรบั ปรุง /พฒั นา กิจกรรมการเรียนรู้ ทีบ่ รู ณา การหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให้สัมฤทธผิ์ ลมากยิง่ ขึน้ ตัวบ่งชีท้ ่ี 4.4 จดั แสดง/เผยแพร่/ประกวด/แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ผลงานของ ผู้เรยี น ท่เี กิดจากการนาหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยกุ ตใ์ ช้ 0 = ไมม่ /ี ไมป่ ฏิบัติ 1 = ผู้เรยี นมีส่วนร่วมในการจัดแสดง/เผยแพร่/ประกวด/แลกเปลย่ี นเรียนรู้ ผลงานของ ผู้เรียน ท่เี กดิ จากการนา หลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยุกต์ใช้ ด้วยวธิ ีการท่หี ลากหลายปรากฏใหเ้ ห็นประจกั ษ์ ในระดับ สถานศกึ ษา 2 = ผู้เรียน มีส่วนรว่ มในการจัดแสดง /เผยแพร่ /ประกวด /แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ ผลงานของ ผูเ้ รียน ฯ ในระดับ สถานศึกษา ตามเกณฑ์คุณภาพ 1 และระหว่างสถานศกึ ษา/ทอ้ งถ่ิน 3 = ผูเ้ รยี น มสี ่วนรว่ มในการจัดแสดง /เผยแพร่ /ประกวด /แลกเปล่ียนเรยี นรู้ ผลงาน ของผเู้ รยี นฯ ตามเกณฑ์ คณุ ภาพ 2 และระดับเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา/จังหวดั ขน้ึ ไป 4 = ผู้เรยี น มสี ่วนรว่ มในการจัดแสดง /เผยแพร่ /ประกวด /แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ผลงาน ของผ้เู รียนฯ ตามเกณฑ์ คณุ ภาพ 3 อย่างตอ่ เนอื่ งย้อนหลัง 2 ปี นิยาม แลกเปล่ียนเรยี นรู้ ผ้เู รยี นนาเสนอความรู้ ประสบการณ์ ของตนเอง ใหผ้ ้อู น่ื รับรู้ และรับฟังความคิดเห็น ศัพท์ ความรู้ และประสบการณข์ องผ้อู น่ื จนเกดิ เปน็ องค์ความรู้ใหม่ หรือประสบการณใ์ หม่ ค่มู ือประเมินสถานศกึ ษาแบบอยา่ งการจัดกจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละการบริหารจดั การตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปี 2554 เปน็ ต้นไป

องค์ประกอบท่ี 1 - 19 - ตวั บ่งช้ีท่ี 1.1 รายการประเมนิ ดา้ นท่ี 3 ตัวบง่ ช้ีท่ี 1.2 ดา้ นการจดั กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน มี 3 องค์ประกอบ 15 ตวั บ่งชี้ ประกอบดว้ ย ตวั บ่งช้ีที่ 1.3 การแนะแนวและระบบดูแลชว่ ยเหลือผเู้ รยี น (5 ตวั บ่งช้ี ) ตัวบง่ ช้ีที่ 1.4 มีแผนงานแนะแนว เพ่อื สนับสนนุ การดาเนินชวี ิตทีส่ อดคล้องกับหลกั ปรัชญาของ ตวั บง่ ชี้ที่ 1.5 เศรษฐกิจพอเพยี ง จดั กิจกรรมแนะแนวให้ผเู้ รยี นไดร้ ู้จกั การวางแผนชีวติ ของตนเอง ได้อยา่ งสอดคล้องกับ องค์ประกอบท่ี 2 หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ตัวบง่ ช้ีที่ 2.1 มีระบบดูแลชว่ ยเหลอื ผเู้ รยี นให้สามารถ แก้ปัญหาและพฒั นาตนเอง ได้อยา่ งสอดคล้อง ตัวบง่ ช้ีท่ี 2.2 กับหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ติดตามผล การจัดกิจกรรมแนะแนว และระบบดแู ลชว่ ยเหลือผู้เรยี น ตามหลกั ปรัชญา ตัวบ่งช้ีท่ี 2.3 ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตวั บง่ ช้ีท่ี 2.4 นาผลการติดตามมาใช้พัฒนาการจัดกิจกรรมแนะแนว และระบบดแู ลชว่ ยเหลอื ผเู้ รยี น ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตัวบ่งชี้ที่ 2.5 ตัวบง่ ช้ีที่ 2.6 กิจกรรมนกั เรียน (6 ตวั บง่ ช้ี) องคป์ ระกอบที่ 3 มแี ผนงาน/โครงการ สง่ เสริมกจิ กรรมนักเรียน เพือ่ ให้ผูเ้ รยี นอยอู่ ย่างพอเพยี ง ตัวบ่งช้ีที่ 3.1 จดั กจิ กรรมลูกเสอื /เนตรนารี/ยวุ กาชาด หรือผ้บู าเพญ็ ประโยชน์ สอดคลอ้ งกับหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตวั บง่ ช้ีท่ี 3.2 ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารจัดตัง้ ชุมนุม/ชมรม ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มกี ารประยกุ ต์ใช้ ภูมิปัญญาทอ้ งถนิ่ /วฒั นธรรม/หลกั คาสอนทางศาสนา ในการจัด ตวั บ่งช้ีที่ 3.3 กิจกรรมนักเรียนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ติดตามผลการจดั กิจกรรมนักเรียน ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ตัวบ่งช้ีที่ 3.4 นาผลการติดตามมาปรบั ปรุง/พัฒนา กจิ กรรมนกั เรยี น ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ (4 ตวั บง่ ช้ี ) มกี ิจกรรมเพ่ือส่งเสรมิ สนบั สนนุ ให้ผู้เรียนเกดิ จิตอาสา และมีส่วนร่วมในกจิ กรรม เพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้เรียนมสี ว่ นร่วมในการ แก้ปญั หา/พัฒนา สถานศกึ ษา/ชมุ ชน ดา้ นเศรษฐกจิ /สังคม/ สิ่งแวดล้อม/วัฒนธรรม ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตดิ ตามผลการดาเนินกจิ กรรมเพื่อสงั คมและ สาธารณประโยชน์ ของผูเ้ รยี น ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นาผลการติดตามมา ปรับปรงุ /พฒั นา การดาเนินกิจกรรม เพ่ือสังคมและสาธารณ ประโยชน์ของผเู้ รยี น ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คู่มือประเมนิ สถานศึกษาแบบอยา่ งการจัดกจิ กรรมการเรียนร้แู ละการบรหิ ารจัดการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ปี 2554 เป็นตน้ ไป

- 20 - ตัวอยา่ ง ร่องรอย / เอกสาร/หลักฐานประกอบการประเมิน  แผนงาน/โครงการ แนะแนว และระบบดแู ลชว่ ยเหลือผเู้ รยี น  การจัดกจิ กรรมแนะแนว การประเมนิ ผล การนาผลไปใช้ให้ผเู้ รียนได้รู้จักศกั ยภาพของตนเอง  แฟมู สะสมงาน/ การสรุปงาน ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื ผู้เรียน  การจดั กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด หรือผูบ้ าเพญ็ ประโยชน์  แผนงาน/โครงการท่ีสง่ เสรมิ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน  การจัดกจิ กรรม และการประเมนิ ผล ตลอดจนการนาผลการประเมินไปใช้ เพอ่ื ให้ผ้เู รยี นมีส่วนร่วม ในการแกป้ ัญหา/พัฒนา สถานศกึ ษา/ชมุ ชน ในดา้ นตา่ งๆ  การจดั กจิ กรรม และการประเมนิ ผล ตลอดจนการนาผลการประเมินไปใช้ เพ่อื ให้ผูเ้ รียนมีสว่ นร่วม กิจกรรมของสถานศกึ ษา/ชุมชน ด้านภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น ศิลปวฒั นธรรม ประเพณี ภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ หรอื วฒั นธรรม หรือหลกั คาสอนทางศาสนา ตามภมู ิสังคม  แผนงาน/โครงการ เพื่อสง่ เสริมสนับสนุนให้ผเู้ รยี นเกิดจติ อาสา และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อสงั คม และสาธารณประโยชน์  การจัดกจิ กรรม และการประเมินผล ตลอดจนการนาผลการประเมนิ ไปใช้ เพื่อให้ผเู้ รยี นเกิดจติ อาสา และมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์  แฟูมสะสมงาน/ การสรุปงาน/ โครงการทีเ่ ก่ียวข้อง  รปู ภาพประกอบการทากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ต่างๆ  เกียรตบิ ัตร/ รางวลั ต่างๆท่เี กี่ยวขอ้ ง  สอบถาม/ สมั ภาษณผ์ ู้บริหาร ครู ผู้เรียน ผู้แทนชุมชน ฯลฯ คู่มอื ประเมนิ สถานศึกษาแบบอยา่ งการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปี 2554 เปน็ ตน้ ไป

- 21 - เกณฑก์ ารให้คะแนน 3. ดา้ นการจัดกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน องคป์ ระกอบท่ี 1 การแนะแนวและระบบดแู ลชว่ ยเหลือผู้เรยี น ตวั บง่ ชี้ท่ี 1.1 มีแผนงานแนะแนว เพื่อสนับสนุนการดาเนนิ ชวี ติ ท่ีสอดคล้องกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 0 = ไมม่ /ี ไม่ปฏิบัติ 1 = มแี ผนงานแนะแนว เพ่ือส่งเสริมและสนบั สนนุ ให้ผเู้ รียนสามารถดาเนินชวี ติ ไดอ้ ยา่ งสอดคล้องกับหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมผี รู้ บั ผิดชอบการดาเนินการตามแผนงานแนะแนวฯ ดงั กลา่ ว 2 = แผนงานแนะแนวฯ ตามเกณฑ์คณุ ภาพ 1 มกี ิจกรรม/งานต่างๆ ทีจ่ ดั ทาข้ึนโดยพิจารณาจากขอ้ มลู พื้นฐาน รายบุคคลของผเู้ รียนในสถานศกึ ษา 3 = บคุ ลากรและผู้เกี่ยวขอ้ งทั้งในและนอกสถานศึกษา มสี ่วนร่วมในการกาหนดแผนงานแนะแนวฯ ตามเกณฑ์ คุณภาพ 2 4 = แผนงานแนะแนวฯ ตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 3 มีโครงการ/กิจกรรม ทด่ี าเนนิ การสอดคลอ้ งกบั สภาพความเปน็ จรงิ บรบิ ท และภูมิสังคมของโรงเรียน /ชุมชน ตวั บง่ ช้ีที่ 1.2 จดั กิจกรรมแนะแนวให้ผเู้ รียนได้รจู้ ักการวางแผนชวี ติ ของตนเอง ได้อย่างสอดคล้องกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 0 = ไม่ม/ี ไม่ปฏบิ ัติ 1 = มีการจดั กิจกรรมแนะแนวให้ผเู้ รียนได้รู้จกั ศกั ยภาพของตนเอง 2 = มกี ารจดั กิจกรรมตามเกณฑ์คณุ ภาพ 1 และมกี ารจดั กิจกรรมแนะแนว ให้ผ้เู รียนเขา้ ใจสภาพแวดลอ้ มตาม ความเปน็ จริงของชุมชน/สังคมและการเปลยี่ นแปลงตา่ ง ๆ ทางดา้ นวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอ้ ม และวัฒนธรรม มกี ารจัดกจิ กรรมตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 2 และมีการจดั กิจกรรมส่งเสรมิ การวางแผนชวี ิต ท้ังดา้ นการเรยี น 3 = และการประกอบอาชพี ท่ีเหมาะสมกับศักยภาพของผูเ้ รยี นในสถานศึกษา และสอดคล้องกับสภาพของ โรงเรียน/ชมุ ชน มีการจัดกิจกรรมตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 3 จนทาให้ผเู้ รียนสามารถใช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการ 4 = เลอื กประกอบอาชพี หรอื ศกึ ษาต่อ เพ่ือให้ชวี ติ มีความเจรญิ กา้ วหนา้ ไปได้อย่างสมดลุ และพร้อมรบั การ เปล่ยี นแปลงตา่ งๆ ตวั บง่ ชี้ท่ี 1.3 มรี ะบบดแู ลช่วยเหลือผเู้ รียนใหส้ ามารถ แก้ปัญหาและพัฒนาตนเองไดอ้ ย่างสอดคลอ้ งกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 0 = ไมม่ /ี ไม่ปฏบิ ตั ิ 1 = มรี ะบบดแู ลช่วยเหลอื และใหค้ าปรกึ ษาแก่ผู้เรยี น เพ่ือให้สามารถ แก้ปัญหาและพฒั นาตนเองได้อยา่ ง เหมาะสมกบั ตนเองและสภาพแวดลอ้ ม อยา่ งเป็นเหตเุ ปน็ ผล ค่มู ือประเมนิ สถานศึกษาแบบอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนร้แู ละการบริหารจดั การตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปี 2554 เปน็ ตน้ ไป

- 22 - 3. ด้านการจดั กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น 2 = บคุ ลากร และผูเ้ กี่ยวข้อง ท้ังในและนอกสถานศกึ ษา มีส่วนรว่ มในระบบดแู ลชว่ ยเหลอื และให้คาปรึกษาแก่ ผูเ้ รยี น ตามเกณฑ์คุณภาพ 1 3 = มผี ู้รับผิดชอบดาเนนิ การตามเกณฑ์คณุ ภาพ 2 อย่างต่อเนื่อง จริงจัง และพฒั นาปรบั ปรุงการดาเนินงานอย่าง สมา่ เสมอ 4 = ผลจากการดาเนินงานตามเกณฑค์ ุณภาพ 3 ทาให้ผู้เรียนสามารถน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ไปใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา และพฒั นาตนเองได้ จนเหน็ ผลประจกั ษ์ ตวั บ่งช้ีที่ 1.4 ตดิ ตามผลการจัดกจิ กรรมแนะแนวและระบบดูแลชว่ ยเหลือผู้เรยี น ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 0 = ไม่ม/ี ไมป่ ฏบิ ตั ิ 1 = มผี รู้ ับผดิ ชอบทเ่ี หมาะสมในการตดิ ตามผลการจดั กจิ กรรมแนะแนวและระบบดแู ลช่วยเหลือผ้เู รียน 2 = มกี ารดาเนนิ การตามเกณฑค์ ุณภาพ 1 และมีเคร่อื งมือ/วธิ กี ารติดตามผล การจดั กจิ กรรมแนะแนวและระบบ ดแู ลชว่ ยเหลือผเู้ รยี นทห่ี ลากหลาย และสอดคล้องกับสภาพทเ่ี ป็นจรงิ ของสถานศึกษา และสภาพแวดล้อม 3 = มกี ารดาเนินการตามเกณฑ์คณุ ภาพ 2 และมกี ารดาเนนิ การติดตามผล การจัดกิจกรรมแนะแนวและระบบ ดูแลชว่ ยเหลอื ผูเ้ รียนอยา่ งจรงิ จังและสม่าเสมอ 4 = มกี ารดาเนินการตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 3 และมกี ารรายงานผลการติดตามผลแก่ผ้เู กีย่ วข้อง ตวั บ่งช้ีที่ 1.5 นาผลการติดตามมาใช้พัฒนาการจัดกจิ กรรมแนะแนว และระบบดูแลชว่ ยเหลือผู้เรียนตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 0 = ไมม่ /ี ไมป่ ฏบิ ัติ 1 = มีการพิจารณาร่วมกนั เพอ่ื หาสาเหตแุ ละปจั จยั ทสี่ ง่ ผลกระทบทงั้ ทางบวกและทางลบต่อการพฒั นาการจดั กิจกรรมแนะแนวและระบบดูแลชว่ ยเหลอื ผู้เรียนของสถานศกึ ษา 2 = มีการดาเนนิ การตามเกณฑค์ ุณภาพ 1 และมกี ารพิจารณาหาแนวทางแก้ไข/ปรับปรงุ /พฒั นา กิจกรรมแนะ แนว และระบบดแู ลชว่ ยเหลือผู้เรยี น ใหด้ าเนินการได้ผลดียง่ิ ขนึ้ 3 = พิจารณาดาเนนิ การ แกไ้ ข/ปรบั ปรุง/พัฒนา กจิ กรรมแนะแนวและระบบดแู ลช่วยเหลือผูเ้ รยี น ตามแนวทาง/ ขอ้ เสนอ ทีไ่ ด้จากการพจิ ารณาตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 2 4 = รายงาน/แจง้ ใหผ้ ูเ้ กีย่ วข้องไดร้ บั ทราบ ถึงผลการแก้ไข/ปรับปรุง/พัฒนา กิจกรรมแนะแนว และระบบดแู ล ชว่ ยเหลอื ผู้เรยี น ตามที่ไดด้ าเนินการ ตามเกณฑ์คณุ ภาพ 3 คูม่ ือประเมนิ สถานศกึ ษาแบบอยา่ งการจัดกจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละการบริหารจดั การตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2554 เปน็ ต้นไป

- 23 - 3. ดา้ นการจัดกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน องคป์ ระกอบท่ี 2 กิจกรรมนักเรยี น ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.1 มีแผนงาน/โครงการ สง่ เสรมิ กิจกรรมนกั เรยี น เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนอยู่อยา่ งพอเพยี ง 0 = ไมม่ /ี ไม่ปฏิบตั ิ 1 = มแี ผนงาน/โครงการ และผู้รับผิดชอบ ในการดาเนนิ การส่งเสรมิ กจิ กรรมนักเรยี น ทสี่ นบั สนุนให้ผ้เู รียนใช้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนินชีวิต 2 = บคุ ลากร และผู้เกย่ี วขอ้ ง มสี ่วนรว่ มในการกาหนดแผนงาน/โครงการ สง่ เสริมกิจกรรมนักเรียนทสี่ นบั สนนุ ให้ ผูเ้ รียนอยู่อย่างพอเพียง ตามเกณฑ์คณุ ภาพ 1 3 = ผูเ้ รยี นมสี ่วนร่วมในการกาหนดแผนงาน/โครงการ สง่ เสริมกิจกรรมนักเรียนที่สนับสนนุ ให้ผ้เู รยี นอยอู่ ย่าง พอเพยี ง ตามเกณฑค์ ุณภาพ 2 4 = กิจกรรมในแผนงาน/โครงการ สง่ เสริมกิจกรรมนักเรียนทส่ี นบั สนนุ ใหผ้ ู้เรยี นอยอู่ ยา่ งพอเพียง ตามเกณฑ์ คณุ ภาพ 3 มกี จิ กรรมที่หลากหลาย และสอดคลอ้ งกบั สภาพภมู สิ งั คมและบรบิ ทของสถานศึกษา ตัวบ่งช้ีที่ 2.2 จดั กจิ กรรมลูกเสอื /เนตรนารี/ยุวกาชาด หรอื ผบู้ าเพ็ญประโยชน์ สอดคล้องกับหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง 0 = ไมม่ /ี ไมป่ ฏบิ ัติ 1 = มกี ารจดั กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี/ยวุ กาชาดหรือผู้บาเพญ็ ประโยชน์ ในสถานศึกษา และมีครผู รู้ ับผิดชอบ ดาเนินการท่เี หมาะสม 2 = การจดั กจิ กรรมลูกเสอื /เนตรนารี/ยุวกาชาดหรอื ผบู้ าเพญ็ ประโยชน์ ของสถานศึกษา ตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 1 มี ความเหมาะสมกบั ศักยภาพของผู้เรยี น 3 = การจัดกจิ กรรมลกู เสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาดหรือผู้บาเพญ็ ประโยชน์ ตามเกณฑค์ ุณภาพ 2 มคี วามหลากหลาย และสอดคลอ้ งกับสภาพภมู สิ ังคมและบริบทของสถานศึกษา 4 = การจัดกิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาดหรือผู้บาเพ็ญประโยชน์ ตามเกณฑค์ ุณภาพ 3 ก่อให้เกิดประโยชน์ ต่อสถานศึกษา และชมุ ชน/สังคม ตวั บ่งชี้ท่ี 2.3 ส่งเสรมิ ใหม้ ีการจัดต้ัง ชมุ นุม/ชมรม ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 0 = ไม่ม/ี ไม่ปฏิบัติ 1 = มกี ารจดั ตงั้ ชมุ นมุ /ชมรม เพื่อสง่ เสริมกิจกรรมตา่ งๆ ของผเู้ รยี น ในสถานศกึ ษา 2 = ชมุ นุม/ชมรม ตามเกณฑ์คุณภาพ 1 เกิดจาก ความสนใจและสมคั รใจ ของผเู้ รียน 3 = ชุมนมุ /ชมรม ตามเกณฑ์คณุ ภาพ2 มกี จิ กรรมที่หลากหลายและสอดคล้องกับสภาพภูมิสังคแมละบริบทของ สถานศึกษา 4 = กจิ กรรมของ ชมุ นมุ /ชมรม ตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 3 ขยายผลสชู่ มุ ชน/ สงั คม คมู่ ือประเมินสถานศึกษาแบบอยา่ งการจดั กจิ กรรมการเรียนรแู้ ละการบรหิ ารจดั การตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปี 2554 เปน็ ต้นไป

- 24 - 3. ด้านการจัดกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ตัวบง่ ช้ีท่ี 2.4 มีการประยุกต์ใช้ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน/วฒั นธรรม/หลักคาสอนทางศาสนา ในการจดั กจิ กรรม นักเรยี นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 0 = ไมม่ /ี ไม่ปฏบิ ตั ิ 1 = ส่งเสรมิ ให้มีการจัดต้ังชมุ นุม/ ชมรม/ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ทสี่ อดคลอ้ งกับ ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ / ศลิ ปวัฒนธรรม/ ประเพณีไทย/ ประเพณีทอ้ งถิ่น/ หลักคาสอนทางศาสนาท่ตี นนับถอื 2 = มีผรู้ ับผิดชอบดาเนินการ ชมุ นุม/ชมรม/กิจกรรมการเรียนรู้ ตามเกณฑค์ ุณภาพ 1 และมีผู้เรียนสนใจเข้าร่วม กจิ กรรม อย่างสม่าเสมอ 3 = ชุมนมุ /ชมรม/กจิ กรรมการเรยี นรู้ ตามเกณฑค์ ุณภาพ 2 ใชป้ ระโยชน์จากแหลง่ เรียนรู้/ ศาสนสถาน/ ปราชญ์ ชาวบ้าน/ บุคลากร/ ทรพั ยากรที่มอี ยู่ในชุมชนและพ้ืนทีใ่ กลเ้ คยี ง 4 = ชุมนุม/ ชมรม/ กิจกรรมการเรียนรู้ ตามเกณฑค์ ุณภาพ 3 ส่งผลใหผ้ ู้เรยี น เห็นคุณค่า ภมู ิใจ และร่วมเชดิ ชู ภูมิ ปัญญาทอ้ งถ่นิ / ศิลปวฒั นธรรม/ ประเพณีไทย/ ประเพณีทอ้ งถน่ิ / หลกั คาสอนทางศาสนาทตี่ นนบั ถือ ตวั บ่งช้ที ่ี 2.5 ตดิ ตามผลการจดั กิจกรรมนักเรยี นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 0 = ไม่ม/ี ไมป่ ฏบิ ัติ 1 = มผี ูร้ ับผิดชอบทีเ่ หมาะสมในการตดิ ตามผลการจดั กจิ กรรมนักเรยี น 2 = มีการดาเนนิ การตามเกณฑค์ ุณภาพ 1 และมเี ครอ่ื งมือ/วิธีการตดิ ตามผล การจัดกจิ กรรมนักเรียนท่ี หลากหลายและสอดคล้องกบั สภาพทเ่ี ป็นจรงิ ในสถานศึกษา และสภาพแวดลอ้ ม 3 = มกี ารดาเนนิ การตามเกณฑ์คุณภาพ 2 และมีการติดตามผลการจัดกิจกรรมนักเรยี นอยา่ งจรงิ จังและสม่าเสมอ 4 = มีการดาเนินการตามเกณฑ์คุณภาพ 3 และมกี ารรายงานผลการตดิ ตามผลแก่ผู้เกี่ยวข้อง ตวั บง่ ช้ีที่ 2.6 นาผลการตดิ ตามมา ปรบั ปรงุ /พฒั นา กิจกรรมนักเรยี นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 0 = ไมม่ /ี ไม่ปฏิบตั ิ 1 = มกี ารพจิ ารณาร่วมกนั เพ่ือหาสาเหตแุ ละปัจจัย ท่สี ง่ ผลกระทบทงั้ ทางบวกและทางลบ ต่อการปรับปรงุ / พฒั นา กจิ กรรมนกั เรียน ของสถานศึกษา 2 = ดาเนนิ การตามเกณฑ์คณุ ภาพ 1 และมีการพจิ ารณาอยา่ งเปน็ เหตุเป็นผล เพื่อหาแนวทางแกไ้ ข/ปรับปรงุ / พฒั นา กจิ กรรมนักเรยี นให้สมั ฤทธ์ิผลยง่ิ ขน้ึ 3 = พจิ ารณาดาเนนิ การแก้ไข/ปรับปรงุ /พัฒนา กิจกรรมนักเรียน ตามแนวทาง/ขอ้ เสนอ ท่ีได้จากการพิจารณา ตามเกณฑ์คุณภาพ 2 อยา่ งเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับสถานการณ์และสภาพความเป็นจริงของสถานศึกษา 4 = รายงาน/แจ้งใหผ้ ู้เกีย่ วข้องได้รบั ทราบ ถึงผลการแก้ไข/ปรับปรงุ /พฒั นา กิจกรรมนกั เรียน ตามทไี่ ดด้ าเนินการ ตามเกณฑ์คุณภาพ 3 คมู่ อื ประเมนิ สถานศึกษาแบบอยา่ งการจดั กิจกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปี 2554 เปน็ ต้นไป

- 25 - 3. ด้านการจัดกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น องค์ประกอบที่ 3 กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ตวั บง่ ชี้ท่ี 3.1 มกี จิ กรรมเพอื่ ส่งเสริมสนับสนนุ ใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ จิตอาสา และมีสว่ นรว่ มในกิจกรรมเพอ่ื สงั คมและ สาธารณประโยชน์ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 0 = ไมม่ /ี ไมป่ ฏบิ ัติ 1 = มกี ารจัดทากจิ กรรมเพอ่ื ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้ผ้เู รียนเกิดจิตอาสา และมสี ่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อสงั คมและ สาธารณประโยชน์ ตามความสนใจของผเู้ รยี น 2 = บคุ ลากรและผเู้ กีย่ วข้องของสถานศกึ ษา มสี ว่ นร่วมในการจดั ทากจิ กรรมเพอ่ื สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ผู้เรยี นเกิดจติ อาสาฯ และมผี ู้รับผิดชอบในการดาเนินกิจกรรม ตามเกณฑ์คณุ ภาพ 1 3 = กจิ กรรมสง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหผ้ เู้ รียนเกิดจติ อาสาฯ ตามเกณฑ์คณุ ภาพ 2 มีความหลากหลาย และสอดคล้อง กับบรบิ ทของสถานศึกษา สภาพภูมิสงั คมของชมุ ชน 4 = กจิ กรรมสง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหผ้ ้เู รียนเกิดจติ อาสาฯ ตามเกณฑ์คณุ ภาพ 3 ครอบคลุมทกุ ระดับชนั้ ที่เปิดสอน จิตอาสา : การท่ผี ู้เรยี น ช่วยเหลืองานผอู้ นื่ โดยทีไ่ ม่ต้องร้องขอและกระทาโดยไม่หวังผลตอบแทน นยิ าม กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ : กจิ กรรมทส่ี ่งเสรมิ ให้ผ้เู รยี นบาเพญ็ ตนใหเ้ ป็นประโยชน์ต่อสังคม ศพั ท์ ชมุ ชนและท้องถ่ิน ตามความสนใจ ในลักษณะอาสาสมัคร เพือ่ แสดงถงึ ความรับผิดชอบต่อส่วนรวม การ เสยี สละ การมีจติ สาธารณะ โดยทากิจกรรมในรูปแบบต่างๆ ในดา้ นเศรษฐกจิ /สงั คม/สง่ิ แวดล้อม/วัฒนธรรม ตัวบ่งชท้ี ่ี 3.2 ผ้เู รียนมสี ่วนร่วมในการแก้ปัญหาหรือพฒั นา สถานศกึ ษา/ชมุ ชน ด้านเศรษฐกจิ หรือสังคม หรอื สง่ิ แวดลอ้ ม หรอื วัฒนธรรม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 0 = ไมม่ /ี ไมป่ ฏบิ ัติ 1 = ผู้เรียนมีสว่ นรว่ มในการแกป้ ัญหา/พัฒนา สถานศกึ ษา/ชมุ ชน ด้านเศรษฐกจิ /สังคม/สิง่ แวดลอ้ ม/วฒั นธรรม 2 = กจิ กรรมตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 1 เกิดจากความสนใจของผเู้ รยี น และ สอดคล้องกบั ความจาเปน็ และความ ตอ้ งการตามความเป็นจรงิ ของสถานศกึ ษา/ชมุ ชน 3 = กจิ กรรมตามเกณฑค์ ุณภาพ 2 ปรากฏผลการแก้ปัญหา/ ปรบั ปรุง/ พฒั นา สถานศกึ ษา/ชุมชน อยา่ ง สรา้ งสรรคแ์ ละชัดเจน 4 = ผลจากกิจกรรมตามเกณฑค์ ุณภาพ 3 สามารถเป็นแบบอยา่ งแก่สถานศึกษา หรือองค์กรอ่ืน ๆ ในการพัฒนา กิจกรรมจติ อาสา และ/หรอื กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ ตัวบง่ ชท้ี ่ี 3.3 ตดิ ตามผลการดาเนนิ กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ ของผู้เรยี นตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 0 = ไมม่ /ี ไมป่ ฏิบตั ิ 1 = มผี ู้รับผดิ ชอบที่เหมาะสมในการติดตามผลการจดั กิจกรรเมพื่อสังคมและสาธารณประโยชนข์องผเู้ รียน 2 = ดาเนนิ การตามเกณฑ์คุณภาพ1 และมีเคร่ืองมอื /วธิ ีการติดตามผลการจัดกิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณ ประโยชนข์ องผู้เรียนทีห่ ลากหลาย และสอดคล้อกงบั สภาพทีเ่ ปน็ จรงิ ของสถานศกึ ษาและสภาพแวดลอ้ ม คู่มอื ประเมนิ สถานศึกษาแบบอย่างการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้และการบรหิ ารจดั การตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ปี 2554 เปน็ ต้นไป

- 26 - 3. ด้านการจัดกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน 3 = ดาเนนิ การตามเกณฑ์คณุ ภาพ 2 และมีการติดตามผลการจัดกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนข์อง ผู้เรียน อยา่ งจริงจงั และสม่าเสมอ 4 = ดาเนนิ การตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 3 และมีการรายงานผลการติดตามผลแก่ผเู้ ก่ยี วข้อง ตัวบง่ ชที้ ่ี 3.4 นาผลการตดิ ตามมา ปรบั ปรุง/พัฒนา การดาเนนิ กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ของ ผู้เรียน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 0 = ไมม่ /ี ไม่ปฏิบตั ิ 1 = มกี ารพิจารณารว่ มกัน เพ่อื หาสาเหตุและปัจจยั ทส่ี ง่ ผลกระทบทงั้ ทางบวกและทางลบ ตอ่ การดาเนนิ กิจกรรม เพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ของผู้เรียน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2 = ดาเนินการตามเกณฑ์คณุ ภาพ 1 และมีการพิจารณาหาแนวทางแก้ไข/ปรับปรงุ /พัฒนา กจิ กรรมเพอื่ สังคม และสาธารณประโยชน์ ของผูเ้ รยี น ใหด้ าเนนิ การไดผ้ ลดยี ิ่งขน้ึ 3 = พจิ ารณาดาเนนิ การแกไ้ ข/ปรับปรุง/พัฒนา กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ของผูเ้ รียน ตาม แนวทาง/ขอ้ เสนอ ทไ่ี ด้จากการพิจารณาตามเกณฑ์คณุ ภาพ 2 4 = รายงาน/แจง้ ใหผ้ ู้เก่ยี วขอ้ งได้รบั ทราบ ถงึ ผลการแกไ้ ข/ปรบั ปรงุ /พฒั นา กิจกรรมเพอ่ื สังคมและ สาธารณประโยชน์ ของผูเ้ รียน ตามทีไ่ ดด้ าเนินการ ตามเกณฑค์ ุณภาพ 3 คูม่ อื ประเมินสถานศกึ ษาแบบอย่างการจัดกิจกรรมการเรยี นร้แู ละการบริหารจดั การตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ปี 2554 เป็นตน้ ไป

องคป์ ระกอบท่ี 1 - 27 - ตัวบง่ ชี้ท่ี 1.1 ตวั บ่งชี้ท่ี 1.2 รายการประเมนิ ด้านที่ 4 ตวั บง่ ช้ีท่ี 1.3 ด้านการพัฒนาบุคลากรของสถานศกึ ษา ตวั บง่ ชี้ท่ี 1.4 มี 2 องค์ประกอบ 7 ตวั บง่ ชี้ ประกอบด้วย องค์ประกอบท่ี 2 การพฒั นาบคุ ลากรตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตัวบ่งช้ีท่ี 2.1 ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.2 มแี ผนงาน/โครงการ พัฒนาบคุ ลากรของสถานศกึ ษา เพอ่ื สร้างความรคู้ วามเข้าใจ และตระหนกั ในคณุ คา่ ของหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ตัวบง่ ช้ีที่ 2.3 ประชุม/อบรม/สัมมนา/ศึกษาดงู านแหล่งเรียนรู้ตา่ งๆ เพ่ือส่งเสรมิ การประยกุ ตใ์ ช้หลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการดาเนินชวี ิตและปฏิบัตภิ ารกจิ หนา้ ที่ สง่ เสรมิ ใหบ้ ุคลากรแสวงหาความรู้เก่ยี วกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งอย่าง สมา่ เสมอ จดั กิจกรรมสง่ เสริมการดาเนินชีวิตและการปฏิบัตภิ ารกิจหน้าท่ตี ามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง แกบ่ คุ ลากรของสถานศึกษา การตดิ ตามและขยายผล ตดิ ตามผลการดาเนินโครงการ/กิจกรรมพัฒนาบุคลากร เพ่อื ส่งเสรมิ การดาเนนิ ชวี ติ และปฏบิ ตั ิภารกจิ หน้าทตี่ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง นาผลการติดตามมา ปรบั ปรุง/พัฒนา การดาเนินโครงการ/กิจกรรมพฒั นาบคุ ลากร เพ่ือสง่ เสรมิ การดาเนนิ ชีวิตและปฏิบัตภิ ารกจิ หนา้ ทต่ี ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ขยายผลและเผยแพร่ ผลการดาเนินชวี ติ และปฏิบตั ิภารกจิ หนา้ ที่ของบคุ ลากรตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ตัวอยา่ ง รอ่ งรอย/เอกสาร/หลกั ฐานประกอบการประเมิน  แผนพฒั นาบคุ ลากร  แผนปฏิบตั ิการประจาปี  แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม  หนว่ ยการเรยี นรู้/แผนการจัดการเรียนรบู้ ูรณาการฯ  บนั ทึกการประชุม  แบบประเมนิ ตนเองของครู  รายงานการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมคณุ ธรรม  แผนการนเิ ทศ ติดตามผลการดาเนนิ งานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  รายงานผลการประชุม อบรม และสมั มนาเกีย่ วกบั เศรษฐกิจพอเพยี ง  ภาพถา่ ยกจิ กรรม / รางวลั / เกียรตบิ ัตร ฯลฯ คมู่ ือประเมนิ สถานศกึ ษาแบบอยา่ งการจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ ละการบริหารจดั การตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปี 2554 เปน็ ต้นไป

- 28 - เกณฑก์ ารให้คะแนน 4. ดา้ นการพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา องค์ประกอบที่ 1 การพฒั นาบคุ ลากรตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตวั บ่งชี้ที่ 1.1 มแี ผนงาน/โครงการ พัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา เพ่อื สร้างความรู้ความเขา้ ใจและตระหนกั ใน คณุ ค่าของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 0 = ไม่ม/ี ไม่ปฏิบัติ 1 = มกี ารจัดทาแผนงาน/โครงการพฒั นาบุคลากรของสถานศึกษา เพอื่ สรา้ งความรคู้ วามเข้าใจและตระหนักใน คณุ ค่าของหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2 = บคุ ลากรและผู้เก่ียวข้องของสถานศึกษา มสี ่วนร่วมในการจัดทา แผนงาน/โครงการ พฒั นาบุคลากรของ สถานศกึ ษา ตามเกณฑ์คณุ ภาพ 1 3 = มผี ้รู ับผิดชอบในการดาเนินการตาม แผนงาน/โครงการพฒั นาบุคลากร ของสถานศึกษา ตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 2 และช้ีแจงให้ผ้เู กย่ี วข้องได้รบั รู้การดาเนนิ การอยา่ งท่ัวถึง 4 = มีการดาเนินการตาม แผนงาน/โครงการพัฒนาบคุ ลากรของสถานศึกษา ตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 3 ครอบคลุมทกุ กลมุ่ งาน และทุกระดับชน้ั นยิ าม บุคลากรของสถานศึกษา : ผู้บรหิ าร ครู ลกู จ้างประจา และลูกจา้ งช่วั คราว ศัพท์ ตัวบง่ ชีท้ ี่ 1.2 ประชุม/อบรม/สมั มนา/ศึกษาดงู านแหลง่ เรยี นร้ตู า่ งๆ เพอื่ ส่งเสริมการประยกุ ตใ์ ช้หลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนนิ ชีวิตและปฏบิ ัตภิ ารกจิ หนา้ ที่ 0 = ไม่ม/ี ไมป่ ฏิบตั ิ 1 = บคุ ลากรของสถานศึกษา เขา้ ร่วม การประชมุ /อบรม/สัมมนา/ศกึ ษาดงู านแหลง่ เรียนรู้ เพ่อื ส่งเสริมการน้อม นาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการดาเนินชวี ติ และปฏิบัติภารกจิ หน้าที่ 2 = สถานศึกษา จดั การประชมุ /อบรม/สัมมนา/ศกึ ษาดูงานแหลง่ เรยี นรู้ ใหแ้ กบ่ คุ ลากรของสถานศกึ ษา เพ่ือ ส่งเสรมิ การน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มาใช้ในการดาเนนิ ชีวิตและปฏบิ ัติภารกิจหน้าท่ี บุคลากรของสถานศึกษา นาผล/ความรู้/ประสบการณ์ ทีไ่ ด้จาก การประชุม/อบรม/สมั มนา/การศกึ ษาดงู าน 3 = ตามเกณฑค์ ุณภาพ 1 และ/หรอื เกณฑค์ ณุ ภาพ 2 มาแลกเปลีย่ นเรียนรู้ระหวา่ งบคุ ลากรในสถานศกึ ษา เพือ่ สง่ เสรมิ การน้อมนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการดาเนนิ ชวี ิตและปฏิบัตภิ ารกิจหน้าที่ 4 = บคุ ลากรของสถานศึกษาส่วนใหญ่ มีส่วนร่วมในกิจกรรมพฒั นาบคุ ลากรของสถานศกึ ษา ตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 1 และ/หรือ เกณฑ์คณุ ภาพ 2 และ/หรือ เกณฑค์ ณุ ภาพ 3 นยิ าม การมีส่วนรว่ ม : ความร่วมมอื ของบุคลากรในการวางแผนการดาเนนิ งาน การระดมทรพั ยากร การลงมือ ศพั ท์ ปฏิบตั ิ รวมท้ังการประเมนิ ผล และการรายงานผลการดาเนนิ งาน คู่มือประเมินสถานศึกษาแบบอยา่ งการจดั กิจกรรมการเรยี นร้แู ละการบริหารจัดการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปี 2554 เปน็ ต้นไป

- 29 - 4. ดา้ นการพัฒนาบคุ ลากรของสถานศกึ ษา ตัวบ่งช้ีท่ี 1.3 ส่งเสรมิ ให้บคุ ลากรแสวงหาความรู้เก่ยี วกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงอย่างสมา่ เสมอ 0 = ไมม่ /ี ไมป่ ฏิบัติ 1 = สถานศึกษา จัดหาส่ือ/ช่องทาง/วัสดุอปุ กรณ์/แหลง่ เรยี นรู้ เพอ่ื สง่ เสริมการแสวงหาความรู้ เกยี่ วกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ใหแ้ กบ่ ุคลากร 2 = มกี ารดาเนินการตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 1 และบุคลากรมีการแสวงหาความรู้ เก่ยี วกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ผา่ นวิธีการ/ชอ่ งทาง ต่างๆ 3 = มกี ารดาเนนิ การตามเกณฑ์คณุ ภาพ 2 และมีการแสวงหาองคค์ วามร้ขู องบคุ ลากรและการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ระหวา่ งบุคลากรอย่างสม่าเสมอ 4 = มีการดาเนินการตามเกณฑ์คุณภาพ 3 และบุคลากรมีการนาความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการปฏิบตั หิ น้าท่ี และ การดารงชีวิตได้อยา่ งเหมาะสม นิยาม การดารงชวี ติ ได้อยา่ งเหมาะสม : การใชช้ ีวติ อยา่ งสงบสุขในครัวเรือน อย่างเหมาะสมตามฐานะทาง ศัพท์ เศรษฐกจิ และสังคม มกี ารละลดเลิกอบายมุข ดารงตนเป็นพลเมืองดขี องสงั คม มสี ่วนรว่ มในการกจิ กรรมเพ่ือ พฒั นาเศรษฐกจิ ของชุมชน /พัฒนาสงั คม / รกั ษาสิ่งแวดลอ้ ม / อนรุ ักษส์ บื สานวฒั นธรรม ประเพณี ตวั บ่งชี้ท่ี 1.4 จดั กจิ กรรมส่งเสริมการดาเนินชีวติ และการปฏบิ ัติภารกจิ หนา้ ที่ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง แกบ่ ุคลากรของสถานศึกษา 0 = ไมม่ /ี ไม่ปฏบิ ตั ิ 1 = มกี ารจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การดาเนินชวี ิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ให้แกบ่ ุคลากรของ สถานศกึ ษาในดา้ นวัตถุ / สงั คม / สิ่งแวดลอ้ ม / วัฒนธรรม 2 = มกี ารระดมทรพั ยากร จากทัง้ ภายในและนอกสถานศึกษา เพ่ือดาเนนิ การตามเกณฑ์คุณภาพ 1 3 = ทุกภาคส่วนท่ีเก่ยี วข้อง มสี ว่ นร่วมในการดาเนินกิจกรรม ตามเกณฑค์ ุณภาพ 1 และเกณฑค์ ุณภาพ 2 อย่าง สม่าเสมอ 4 = มีการดาเนนิ การตามเกณฑค์ ุณภาพ 3 และบุคลากรมกี ารพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตทด่ี ขี ้นึ จากผลของการจดั กจิ กรรม ตลอดจนมกี ารขยายผลการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตส่บู คุ คล ในครอบครัว และชมุ ชน นยิ าม การพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ : การเปล่ยี นแปลงสภาพการดารงชวี ติ ไปสแู่ นวทางปฏิบัตทิ ีด่ ีขนึ้ กวา่ เดิม เช่น การ ศัพท์ ประหยดั การออม การมีวินยั การลดละเลกิ อบายมขุ การใช้ชวี ติ โดยไมป่ ระมาท การเหน็ แก่ประโยชน์ สว่ นรวม ฯลฯ องค์ประกอบท่ี 2 การติดตามและขยายผล ตวั บ่งชี้ที่ 2.1 ตดิ ตามผลการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรม พัฒนาบุคลากร เพ่อื ส่งเสรมิ การดาเนินชวี ติ และปฏบิ ตั ิ ภารกจิ หน้าที่ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 0 = ไมม่ /ี ไม่ปฏิบัติ 1 = มีผ้รู ับผิดชอบทเ่ี หมาะสม ในการตดิ ตามผลดาเนนิ โครงการ/กิจกรรม พฒั นาบุคลากร เพอื่ ส่งเสริมการดาเนนิ ชีวติ และปฏบิ ัติภารกจิ หนา้ ที่ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คู่มอื ประเมนิ สถานศึกษาแบบอย่างการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้และการบริหารจัดการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ปี 2554 เปน็ ต้นไป

- 30 - 4. ดา้ นการพัฒนาบุคลากรของสถานศกึ ษา 2 = มกี ารดาเนินการตามเกณฑ์คณุ ภาพ 1 และมเี ครื่องมอื /วิธีการ ติดตามผลการดาเนนิ โครงการ/กิจกรรม พฒั นา บคุ ลากรฯ 3 = มีการดาเนินการติดตามผลการดาเนนิ โครงการ/กิจกรรมพัฒนาบุคลากร ฯ โดยใชเ้ ครื่องมอื /วธิ ีการ ตามเกณฑ์ คณุ ภาพ 2 4 = มีการดาเนนิ การตามเกณฑ์คุณภาพ 3 และมีการรายงานผลการตดิ ตามผลการดาเนนิ งาน แก่ผ้เู กย่ี วข้อง ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 นาผลการตดิ ตามมา ปรับปรงุ /พฒั นา การดาเนินโครงการกิจกรรมพัฒนาบคุ ลากร เพอ่ื สง่ เสรมิ การดาเนินชวี ติ และปฏบิ ตั ภิ ารกิจหน้าท่ี ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 0 = ไมม่ /ี ไม่ปฏิบัติ มีการพจิ ารณารว่ มกัน เพอ่ื หาสาเหตแุ ละปจั จัยท่สี ่งผลกระทบท้งั ทางบวกและทางลบ ตอ่ การปรับปรงุ /พฒั นา 1 = การดาเนินโครงการ/กิจกรรมพฒั นาบคุ ลากรเพ่อื สง่ เสริมการดาเนินชวี ิตและปฏบิ ตั ภิ ารกิจหน้าทต่ีามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2 = มีการดาเนนิ การตามเกณฑ์คุณภาพ 1 และมีการพิจารณาหาแนวทางแก้ไข/ปรับปรงุ /พฒั นา การดาเนิน โครงการ/กิจกรรม พฒั นาบคุ ลากร ฯ ให้ไดผ้ ลดียง่ิ ขน้ึ 3 = มกี ารพิจารณาดาเนินการแกไ้ ข/ปรับปรงุ /พฒั นา โครงการ/กจิ กรรม พัฒนาบุคลากร ฯ ตามแนวทาง/ข้อเสนอ ที่ได้จากการดาเนนิ การ ตามเกณฑค์ ุณภาพ 2 4 = มีการรายงาน/แจง้ ให้ผู้เกี่ยวข้องไดร้ ับทราบ ถงึ ผลการแก้ไข/ปรบั ปรงุ /พัฒนา โครงการ/กจิ กรรม พัฒนา บุคลากร ฯ ตามท่ีไดด้ าเนินการ ตามเกณฑ์คณุ ภาพ 3 ตัวบง่ ชี้ที่ 2.3 ขยายผลและเผยแพร่ ผลการดาเนินชีวิตและปฏบิ ัตภิ ารกิจหน้าทีข่ องบุคลากรตามหลักปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 0 = ไมม่ /ี ไม่ปฏิบัติ 1 = มกี ารเผยแพร่หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และ ผลการดาเนินชวี ิตและปฏิบัติภารกิจหน้าทข่ี อง บุคลากร ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง แก่บคุ ลากรภายในสถานศึกษา 2 = มกี ารปฏบิ ัติตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 1 และเผยแพร่ ขยายผล ด้วยวธิ ีการท่ีหลากหลาย 3 = มกี ารปฏบิ ัตติ ามเกณฑ์คุณภาพ 2 โดยใชก้ ระบวนการมีส่วนร่วมจากบุคลากรของสถานศกึ ษาและชมุ ชน 4 = มกี ารดาเนินการตามเกณฑ์คณุ ภาพ 3 อย่างต่อเน่ือง เพื่อเผยแพร่ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง แก่บุคลากรท้งั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา อยา่ งนอ้ ย 2 ปี นิยาม วธิ กี ารเผยแพรท่ ่ีหลากหลาย : มชี อ่ งทางในการพัฒนาและเผยแพรป่ รัชญาฯ ไดห้ ลายวธิ ี เชน่ จดั ทา ศพั ท์ เอกสารประชาสัมพันธ์ แผน่ พบั ประชาสมั พันธผ์ ่านหอกระจายขา่ ว การประชุมต่างๆ จัดทา website เพือ่ การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เป็นต้น คมู่ อื ประเมนิ สถานศึกษาแบบอย่างการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้แู ละการบริหารจัดการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปี 2554 เป็นต้นไป

- 31 - รายการประเมิน ดา้ นที่ 5 ดา้ นผลลพั ธ์/ภาพความสาเร็จ มี 4 องคป์ ระกอบ 12 ตัวบง่ ชี้ ประกอบดว้ ย องค์ประกอบท่ี 1สถานศกึ ษา ตัวบ่งชี้ท่ี 1.1 คณุ ลกั ษณะของสถานศกึ ษาพอเพียง องค์ประกอบที่ 2ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ตวั บง่ ชี้ท่ี 2.1 คุณลักษณะของผูบ้ ริหารสถานศึกษาพอเพยี ง องค์ประกอบท่ี 3บคุ ลากรของสถานศกึ ษา ตวั บ่งชี้ท่ี 3.1 บคุ ลากรของสถานศกึ ษามคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเก่ียวกับ หลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกิจ พอเพยี ง ตวั บง่ ช้ีท่ี 3.2 บคุ ลากรจัดการทรัพยากรและดาเนนิ ชีวิตด้านเศรษฐกจิ อย่างสอดคลอ้ งกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตัวบ่งช้ีที่ 3.3 บคุ ลากรอยูร่ ว่ มกบั ผอู้ ื่นในสงั คม ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และสามารถ เป็นแบบอยา่ งทดี่ ีในการปฏิบตั ติ นเพ่ือสว่ นรวมและสาธารณประโยชน์ ตัวบ่งชี้ที่ 3.4 บคุ ลากรรจู้ ักใช้และจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมได้อย่างสมดลุ และ พร้อมรับต่อการเปล่ียนแปลง ตา่ งๆ ตวั บ่งชี้ท่ี 3.5 บุคลากรดาเนนิ ชวี ิตอยา่ งมีฐานรากทางวัฒนธรรม และพร้อมรบั ตอ่ การเปลี่ยนแปลง ทางวัฒนธรรม จากกระแสโลกาภวิ ัฒน์ องคป์ ระกอบที่ 4ผเู้ รียน ตัวบง่ ชี้ท่ี 4.1 ผู้เรยี นมคี วามรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกบั หลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงตามมาตรฐาน การเรียนรู้หลักเศรษฐกิจพอเพยี งของแตล่ ะระดบั ชั้นปกี ารศกึ ษา ตัวบ่งชี้ท่ี 4.2 ผ้เู รียนปฏิบัตติ นใหด้ าเนนิ ชีวติ ได้อยา่ งสมดลุ และพรอ้ มรบั ต่อการเปลีย่ นแปลงในด้าน วัตถ/ุ เศรษฐกจิ ตวั บง่ ชท้ี ี่ 4.3 ผเู้ รียนปฏิบตั ติ นให้ดาเนนิ ชีวิตไดอ้ ยา่ งสมดุล และพรอ้ มรับต่อการเปลย่ี นแปลงในด้าน สงั คม ตวั บง่ ช้ีที่ 4.4 ผเู้ รียนปฏบิ ตั ติ นใหด้ าเนินชีวติ ได้อยา่ งสมดุล และพร้อมรับต่อการเปลยี่ นแปลงในดา้ น สง่ิ แวดล้อม ตัวบ่งชี้ที่ 4.5 ผู้เรียนปฏบิ ตั ิตนใหด้ าเนินชีวติ ได้อย่างสมดุล และพรอ้ มรับตอ่ การเปลย่ี นแปลงในดา้ น วัฒนธรรม ตวั อย่างร่องรอย/เอกสาร หลกั ฐานประกอบการประเมนิ  สภาพภูมิทัศน์สถานศกึ ษา (ภายใน - ภายนอก)  บรรยากาศการปฏิบตั งิ านของบคุ ลากรในสถานศกึ ษา  รายงานผลการรว่ มกิจกรรมต่าง ๆ ในชมุ ชน  หลกั ฐานแสดงความเปน็ “บุคคลตวั อยา่ ง / ตน้ แบบ” เกีย่ วกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง  ผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ฯลฯ คมู่ อื ประเมนิ สถานศึกษาแบบอย่างการจดั กิจกรรมการเรยี นรแู้ ละการบรหิ ารจัดการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2554 เปน็ ต้นไป

- 32 - เกณฑ์การใหค้ ะแนน 5. ด้านผลลัพธ์/ภาพความสาเรจ็ องค์ประกอบที่ 1 สถานศกึ ษา ตัวบง่ ชี้ที่ 1.1 คุณลักษณะของสถานศึกษาพอเพียง 0 = ไม่ม/ี ไม่ปฏิบัติ 1 = สถานศึกษาสะอาด เปน็ ระเบยี บ ร่มรน่ื ปลอดภัย เออ้ื ต่อการเรยี นรู้ในการดาเนินชีวติ ตามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 2 = สถานศกึ ษาสะอาด เปน็ ระเบยี บ รม่ ร่นื ปลอดภัย เอ้ือต่อการเรียนรใู้ นการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง และบคุ ลากรรวมถึงผู้เรยี น มีการแบ่งปนั สามคั คี ชว่ ยเหลือ เอื้อเฟือ้ เผ่อื แผก่ ัน สถานศกึ ษาสะอาด เปน็ ระเบยี บ รม่ ร่นื ปลอดภัย เอือ้ ตอ่ การเรียนรใู้ นการดาเนินชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของ 3 = เศรษฐกิจพอเพียง และบุคลากรรวมถึงผู้เรยี น มกี ารแบ่งปนั สามคั คี ช่วยเหลอื เออื้ เฟ้อื เผอื่ แผ่กนั รวมถงึ มี ส่วนรว่ มในการอนุรักษ์ และพื้นฟูวัฒนธรรม/ภูมิปัญญาท้องถนิ่ สถานศกึ ษาสะอาด เปน็ ระเบียบ รม่ รื่น ปลอดภัย เออ้ื ตอ่ การเรียนรใู้ นการดาเนนิ ชวี ิตตามหลักปรัชญาของ 4 = เศรษฐกิจพอเพียง และบุคลากรรวมถึงผู้เรยี น มกี ารแบ่งปัน สามัคคี ชว่ ยเหลอื เอือ้ เฟือ้ เผื่อแผ่กนั รวมถงึ มี ส่วนร่วมในการอนุรกั ษ์ และพ้ืนฟูวัฒนธรรม/ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น ตลอดจนมสี ว่ นรว่ มในการดาเนินกิจกรรม อนั เปน็ ประโยชนต์ ่อ ชุมชน/สงั คม/ประเทศชาติ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ไม่น้อยกว่า 2 ปี องค์ประกอบท่ี 2 ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา ตวั บง่ ช้ที ่ี 2.1 คุณลักษณะของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาพอเพยี ง 0 = ไม่ม/ี ไม่ปฏบิ ัติ 1 = ผูบ้ รหิ ารมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจอยา่ งถกู ต้องเกยี่ วกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผบู้ รหิ ารมคี วามรูค้ วามเข้าใจอยา่ งถกู ต้องเก่ยี วกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และนาหลกั ปรัชญาของ 2 = เศรษฐกจิ พอเพยี งไปปฏบิ ตั ติ น อย่างเปน็ เหตุเป็นผล พอประมาณกบั ศกั ยภาพของตน และสอดคลอ้ งกบั ภมู ิสังคม ผู้บรหิ ารมคี วามร้คู วามเข้าใจอยา่ งถกู ตอ้ งเกยี่ วกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และนาหลักปรชั ญาของ 3 = เศรษฐกิจพอเพียงไปปฏบิ ตั ติ น อยา่ งเปน็ เหตเุ ป็นผล พอประมาณกบั ศักยภาพของตน และสอดคล้องกบั ภมู ิ สงั คม รวมถึงมีการสรา้ งภมู คิ ุม้ กนั ในตัวทีด่ ี ตอ่ การเปล่ียนแปลงในดน่ ตา่ งๆ ใหก้ ับตนเอง และสถานศกึ ษา ผู้บรหิ ารมีความรคู้ วามเข้าใจอย่างถูกต้องเก่ียวกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และนาหลกั ปรัชญาของ 4 = เศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติตน อยา่ งเปน็ เหตุเป็นผล พอประมาณกับศกั ยภาพของตน และสอดคล้องกบั ภมู ิ สงั คม รวมถงึ มีการสรา้ งภูมิคมุ้ กันในตัวที่ดี ต่อการเปลีย่ นแปลงในดา้ นตา่ งๆ ใหก้ บั ตนเอง และสถานศึกษา ตลอดจนเป็นแบบอยา่ งที่ดีในการใชค้ ณุ ธรรมนาความรู้ในการดาเนนิ ชวี ติ คู่มอื ประเมนิ สถานศกึ ษาแบบอย่างการจัดกจิ กรรมการเรียนรแู้ ละการบริหารจดั การตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปี 2554 เปน็ ต้นไป

- 33 - 5. ดา้ นผลลพั ธ์/ภาพความสาเรจ็ องค์ประกอบที่ 3 บุคลากรของสถานศึกษา ตัวบง่ ช้ีที่ 3.1 บคุ ลากรของสถานศึกษามีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 0 = ไม่ม/ี ไมป่ ฏบิ ตั ิ 1 = บคุ ลากรของสถานศึกษามีความเข้าใจเกีย่ วกับความหมายทถ่ี ูกต้องของหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2 = บคุ ลากรของสถานศกึ ษาเกินกวา่ ครง่ึ หน่งึ มคี วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั ความหมายท่ีถูกต้องของหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง บุคลากรของสถานศกึ ษาเกินกวา่ ครึ่งหนง่ึ มคี วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั ความหมายท่ถี ูกตอ้ งของหลกั ปรัชญาของ 3 = เศรษฐกิจพอเพียง และบุคลากรของสถานศกึ ษาสว่ นหนึง่ มีความเข้าใจทีถ่ ูกต้อง เก่ียวกับการจดั กิจกรรมการ เรยี นรู้ท่ีบูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง บคุ ลากรของสถานศกึ ษาเกินกว่าครึง่ หนงึ่ มคี วามเข้าใจมคี วามเข้าใจเก่ยี วกับความหมายทถ่ี กู ตอ้ งของหลกั 4 = ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมีความเข้าใจทถ่ี ูกตอ้ งเกย่ี วกบั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ท่บี รู ณาการหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ตวั บ่งชี้ท่ี 3.2 บคุ ลากรจัดการทรพั ยากร และดาเนินชีวติ ด้านเศรษฐกจิ อยา่ งสอดคลอ้ งกบั หลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง 0 = ไมม่ /ี ไมป่ ฏบิ ัติ 1 = มบี คุ ลากรทีเ่ ปน็ แบบอยา่ งในการวางแผน และมีวินยั ในการใชจ้ ่าย ไมฟ่ มุ เฟอื ย ไม่สรุ ยุ่ สุรา่ ย 2 = มีบคุ ลากรที่เป็นแบบอยา่ งในการวางแผนและมีวนิ ัยในการใชจ้ า่ ย ไมฟ่ มุ เฟือย ไม่สรุ ุ่ยสุร่าย และมีการออม ทรพั ยต์ ามศกั ยภาพ และ/หรอื เปน็ แบบอยา่ งในการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า มบี ุคลากรที่เปน็ แบบอยา่ งในการวางแผนการใช้จา่ ย ใช้จ่ายทรัพย์อย่างพอประมาณ ไมเ่ กินตัว และมกี าร 3 = ออมทรพั ยต์ ามศักยภาพ และ/หรอื เป็นแบบอย่างในการใช้ทรัพยากรอยา่ งประหยัดและค้มุ คา่ รวมทัง้ มสี ่วน รว่ มในการดูแลการใชป้ ระโยชน์จากสาธารณะสมบตั ิ อยา่ งประหยัดและคมุ้ ค่า 4 = มีบุคลากรท่เี ปน็ แบบอย่าง ตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 3 จานวนมากกวา่ รอ้ ยละ 25 ของบุคลากรในสถานศึกษา นิยาม สาธารณะสมบตั ิ : สนามโรงเรียน นา้ ไฟฟูา ตน้ ไม้ คคู ลอง ถนน ฯลฯ ศพั ท์ มวี นิ ยั ในการใช้จา่ ย : ใช้จ่ายอยา่ งพอประมาณ ไม่เกินตวั สมฐานะ มีเหตผุ ลในการใช้จา่ ย ตวั บง่ ช้ีที่ 3.3 บุคลากรอยรู่ ่วมกับผู้อื่นในสังคมตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถเปน็ แบบอย่างท่ีดใี นการปฏบิ ัตติ นเพ่ือสว่ นรวมและสาธารณประโยชน์ 0 = ไมม่ /ี ไม่ปฏิบัติ 1 = มบี คุ ลากรท่เี ป็นแบบอย่างในการมีวนิ ัยในตนเอง และดาเนินชวี ติ ที่ไมท่ าให้ ตวั เองและผ้อู ื่นเดือดรอ้ น คู่มอื ประเมนิ สถานศกึ ษาแบบอยา่ งการจัดกจิ กรรมการเรียนร้แู ละการบริหารจดั การตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปี 2554 เป็นต้นไป

- 34 - 5. ด้านผลลพั ธ์/ภาพความสาเร็จ 2 = มีบุคลากรทเ่ี ปน็ แบบอย่างในการมีวินัยในตนเอง มีการดาเนนิ ชีวิตท่ไี มท่ าให้ตัวเองและผอู้ ่นื เดอื ดร้อน และมี อปุ นสิ ัยเออื้ เฟื้อเผือ่ แผ่ แบ่งปัน / ชว่ ยเหลือผู้อ่ืน /บริจาค / ทาบญุ ตามความเชื่อทางศาสนา อย่างสม่าเสมอ มีบคุ ลากรท่เี ป็นแบบอย่างในการมีวนิ ยั ในตนเอง มีการดาเนนิ ชีวติ ท่ีไมท่ าให้ ตวั เองและผ้อู น่ื เดอื ดรอ้ น และมี 3 = อปุ นิสัยเอ้อื เฟอื้ เผอื่ แผ่ แบง่ ปัน /ชว่ ยเหลือผ้อู น่ื /บรจิ าค / ทาบุญตามความเชอ่ื ทางศาสนา และมสี ว่ นรว่ มใน การทาตนใหเ้ ป็นประโยชน์ตอ่ สังคม อยา่ งสม่าเสมอ 4 = มีบคุ ลากรที่เป็นแบบอย่าง ตามเกณฑค์ ุณภาพ 3 จานวนมากกว่าร้อยละ 25 ของบุคลากรในสถานศกึ ษา ตวั บ่งช้ีที่ 3.4 บคุ ลากรร้จู ักใชแ้ ละจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ไดอ้ ยา่ งสมดุล และพร้อมรับตอ่ การเปล่ยี นแปลงตา่ งๆ 0 = ไมม่ /ี ไมป่ ฏบิ ัติ 1 = มีบุคลากรทเ่ี ปน็ แบบอยา่ งในการมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ และเห็นความสาคญั ของทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม 2 = มบี ุคลากรที่เป็นแบบอย่างในการมคี วามรู้ความเขา้ ใจ เห็นความสาคญั รวมถงึ ร้จู กั ใชท้ รัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอ้ มอย่างประหยัดและค้มุ คา่ มบี คุ ลากรทเ่ี ป็นแบบอย่างในการมคี วามรู้ความเขา้ ใจ เห็นความสาคญั รวมถงึ ร้จู กั ใชท้ รัพยากรธรรมชาติและ 3 = ส่ิงแวดล้อมอยา่ งประหยัดและคมุ้ คา่ ตลอดจนมสี ว่ นร่วมในการอนุรกั ษ์/ ฟ้ืนฟสู ภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ มในสถานศึกษาและชุมชน 4 = มบี คุ ลากรท่เี ปน็ แบบอยา่ ง ตามเกณฑ์คณุ ภาพ 3 จานวนมากกวา่ ร้อยละ 25 ของบุคลากรในสถานศกึ ษา ตัวบ่งช้ีที่ 3.5 บคุ ลากรดาเนินชวี ิตอย่างมีฐานรากทางวฒั นธรรม และพร้อมรบั ต่อการเปล่ยี นแปลงทาง วฒั นธรรมจากกระแสโลกาภวิ ัฒน์ 0 = ไมม่ /ี ไม่ปฏบิ ัติ 1 = มีบคุ ลากรทเ่ี ป็นแบบอย่างในการเห็นคณุ คา่ และภมู ใิ จในวฒั นธรรมไทย ทั้งดา้ นภาษาการแตง่ กแายละประเพณี ศาสนาและประวัตศิ าสตร์ ความเป็นมาของทอ้ งถ่นิ /ชาตพิ นั ธ์ุ 2 = มีบุคลากรทเ่ี ป็นแบบอย่างตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 1 และมสี ่วนรว่ มในการสบื ทอด/สานต่อ/รกั ษา วฒั นธรรมไทย ฯ และมรดกของชุมชน/สงั คม/ประเทศชาติ 3 = มีบุคลากรทเี่ ปน็ แบบอยา่ งตามเกณฑค์ ณุ ภา2พและมสี ว่ นรว่ มในการรณรงค์ใหส้ ถานศกึ /ษชาุมชน/สงั คม ดาเนนิ การ สืบทอด/ สานตอ่ /รักษา วฒั นธรรมไทฯย และมรดกของชมุ ชน/สังคม/ประเทศชาติ 4 = มบี ุคลากรทเ่ี ปน็ แบบอยา่ ง ตามเกณฑค์ ุณภาพ 3 จานวนมากกว่าร้อยละ 25 ของบคุ ลากรในสถานศกึ ษา คูม่ อื ประเมินสถานศกึ ษาแบบอยา่ งการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้และการบรหิ ารจัดการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2554 เป็นต้นไป

- 35 - 5. ด้านผลลพั ธ์/ภาพความสาเรจ็ องคป์ ระกอบท่ี 4 ผเู้ รยี น ตัวบง่ ชี้ที่ 4.1 ผเู้ รียนมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ หลกั เศรษฐกิจพอเพียงของแตล่ ะระดบั ช้ันปกี ารศกึ ษา 0 = ไมม่ /ี ไม่ปฏบิ ตั ิ 1 = ผเู้ รยี นมผี ลการเรยี นรูต้ ามมาตรฐานการเรยี นรู้หลกั เศรษฐกิจพอเพยี งของแต่ละระดบั ช้นั ปีการศึกษา เฉลย่ี ตา่ กว่าร้อยละ 25 2 = ผู้เรียนมีผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้หลกั เศรษฐกจิ พอเพียงของแต่ละระดบั ช้ันปีการศกึ ษา เฉลี่ย รอ้ ยละ 25 – 50 3 = ผเู้ รียนมีผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรยี นรู้หลักเศรษฐกจิ พอเพียงของแตล่ ะระดบั ช้นั ปีการศึกษา เฉลยี่ รอ้ ยละ 51 – 74 4 = ผเู้ รียนมผี ลการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรยี นรู้หลกั เศรษฐกจิ พอเพียง ของแต่ละระดับช้นั ปีการศึกษา เฉลี่ย ร้อยละ75 ขึ้นไป ผลการเรยี นรตู้ ามมาตรฐานการเรยี นรู้ฯ : ผา่ นเกณฑ์การวดั ผลการเรียนรู้ตามทีก่ าหนดในหน่วยการเรยี นรู้ นิยาม หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 2551 ของแต่ละระดับชนั้ ปี ศพั ท์ การศึกษา ทจี่ ัดสอนในชว่ งปีการศกึ ษาทีผ่ า่ นมา เฉล่ียรอ้ ยละ xx : จานวนผูเ้ รยี นที่มผี ลการเรยี นร้ผู า่ น เกณฑ์ตามขา้ งต้น มีจานวนโดยเฉล่ยี ร้อยละ xx ของจานวนผเู้ รียนท้งั หมดของแตล่ ะระดับชั้นปีการศึกษา ตัวบง่ ชี้ท่ี 4.2 ผู้เรยี นปฏิบตั ิตนให้ดาเนนิ ชีวิตไดอ้ ยา่ งสมดลุ และพรอ้ มรับต่อการเปลีย่ นแปลง ในดา้ นวตั ถ/ุ 0 = ไม่ม/ี ไมเ่ปศฏรบิษตัฐิกิจ 1 = มผี ู้เรยี นที่เปน็ แบบอยา่ งในการมวี นิ ัยในการใชจ้ า่ ย 2 = มีผเู้ รียนทเี่ ปน็ แบบอย่างตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 1 และมีการออมทรพั ยต์ ามศกั ยภาพหรือเปน็ แบบอยา่ งในการใช้ ทรพั ยากรอย่างประหยัดและคุ้มคา่ 3 = มีผู้เรียนทเี่ ป็นแบบอยา่ งตามเกณฑ์คณุ ภาพ 2 และเปน็ แบบอยา่ งในการมีส่วนร่วมในการดูแลการใช้ประโยชน์ จากสาธารณะสมบตั ิอย่างประหยดั และค้มุ คา่ 4 = มผี ู้เรยี นเปน็ แบบอย่างตามเกณฑ์คณุ ภาพ 3 อย่างนอ้ ยห้องละ 1 คน ตวั บ่งชี้ที่ 4.3 ผเู้ รยี นปฏบิ ัตติ นให้ดาเนินชวี ิตไดอ้ ย่างสมดลุ และพรอ้ มรบั ต่อการเปลี่ยนแปลงในดา้ นสงั คม 0 = ไมม่ /ี ไม่ปฏบิ ตั ิ 1 = มผี เู้ รยี นเปน็ แบบอยา่ งในการดาเนินชวี ติ ประจาวนั โดยไมเ่ บียดเบยี น หรือสร้างความเดือดรอ้ นให้ตัวเอง/ผอู้ น่ื 2 = มีผเู้ รียนทีเ่ ป็นแบบอยา่ งตามเกณฑ์คุณภาพ 1 และเป็นแบบอย่างในการแบง่ ปนั ชว่ ยเหลือเอ้ือเฟื้อเผือ่ แผ่ ให้กบั ผอู้ ่ืน 3 = มผี ู้เรียนที่เปน็ แบบอย่างตามเกณฑ์คณุ ภาพ 2 และเปน็ แบบอย่างในการทาตนให้เป็นประโยชน์ตอ่ ผูอ้ ่นื และ สังคม ค่มู อื ประเมินสถานศึกษาแบบอยา่ งการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้และการบริหารจดั การตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2554 เป็นตน้ ไป

- 36 - 5. ด้านผลลัพธ์/ภาพความสาเร็จ 4 = มีผเู้ รยี นเป็นแบบอยา่ งตามเกณฑ์คุณภาพ 3 อยา่ งน้อยห้องละ 1 คน ตวั บ่งช้ีที่ 4.4 ผู้เรียนปฏบิ ตั ิตนใหด้ าเนนิ ชีวติ ไดอ้ ยา่ งสมดุลและพรอ้ มรบั ตอ่ การเปล่ียนแปลงในดา้ นส่งิ แวดล้อม 0 = ไม่ม/ี ไม่ปฏบิ ตั ิ 1 = มีผู้เรยี นเป็นแบบอย่างในการมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจ และเห็นความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติและ สงิ่ แวดลอ้ ม 2 = มีผู้เรยี นเป็นแบบอยา่ งตามเกณฑ์คณุ ภาพ 1 และเป็นแบบอยา่ งในการรจู้ ักใช้ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ สง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งประหยดั และคมุ้ คา่ 3 = มีผู้เรียนเป็นแบบอยา่ งตามเกณฑค์ ณุ ภาพ 2 และเปน็ แบบอย่างในการมีส่วนรว่ มในการอนรุ กั ษ์/ ฟ้นื ฟู สภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม ในสถานศึกษา และชุมชน 4 = มผี ู้เรยี นเปน็ แบบอย่างตามเกณฑ์คณุ ภาพ 3 อย่างนอ้ ยห้องละ 1 คน ตวั บ่งชี้ที่ 4.5 ผ้เู รียนปฏิบตั ติ นใหด้ าเนนิ ชีวิตได้อย่างสมดุลและพร้อมรบั ตอ่ การเปลี่ยนแปลงในด้านวฒั นธรรม 0 = ไม่ม/ี ไมป่ ฏิบัติ 1 = มีผู้เรยี นเปน็ แบบอยา่ งในการเหน็ คณุ คา่ และภูมใิ จในวัฒนธรรมไทย ทัง้ ด้านภาษา การแต่งกาย ประเพณี ศาสนา และประวตั ิศาสตรค์ วามเป็นมาของท้องถิ่น/ชาตพิ นั ธุ์ 2 = มีผ้เู รยี นเป็นแบบอยา่ งในการเห็นคุณค่าและภมู ใิ จในวัฒนธรรมไทยฯ ตามเกณฑค์ ุณภาพ 1 และมีสว่ นร่วมใน การสบื ทอด/สานตอ่ /รักษา วฒั นธรรมไทยฯ และมรดกของชมุ ชน/สังคม/ประเทศชาติ มีผเู้ รยี นเปน็ แบบอยา่ งในการเห็นคณุ ค่า และมีสว่ นรว่ มตามเกณฑ์คุณภาพ 2 ตลอดจน มีสว่ นร่วมในการ 3 = รณรงคใ์ ห้สถานศึกษา/ชมุ ชน/สังคม ดาเนินการสบื ทอด/สานต่อ/รักษาวฒั นธรรมไทยฯ และมรดกของชุมชน/ สังคม/ประเทศชาติ 4 = มผี เู้ รียนเป็นแบบอยา่ งตามเกณฑค์ ุณภาพ 3 อย่างน้อยหอ้ งละ 1 คน คูม่ ือประเมนิ สถานศกึ ษาแบบอย่างการจัดกิจกรรมการเรยี นร้แู ละการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2554 เปน็ ตน้ ไป

3. แบบสรุปผลการประเมินของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาแบบอยา่ งการจดั กิจกรรมการเรียนรู้และ การบรหิ ารจดั การตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (สถานศกึ ษาพอเพียง)

- 37 - แบบสรปุ ผลการประเมนิ ของคณะกรรมการประเมิน สถานศกึ ษาแบบอย่างการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ และการบริหารจดั การตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (สถานศกึ ษาพอเพยี ง) ตอนท่ี 1 รายชื่อคณะกรรมการประเมิน ชือ่ /สกลุ ของผ้ปู ระเมนิ สังกดั /จังหวัด #คาส่งั แตง่ ตัง้ * ลงนามผ้ปู ระเมิน 1. 2. 3. 4. 5. * ใหร้ ะบุหมายเลขคาสงั่ แตง่ ตั้งใหเ้ ปน็ ผูป้ ระเมินสถานศกึ ษาพอเพยี งของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ในกรณีทไี่ ด้รับการแตง่ ตง้ั โดย ศธ.) หรอื หมายเลขคาส่งั ของหน่วยงานตน้ สงั กัด (ในกรณที ไี่ ม่ไดร้ บั การแตง่ ตงั้ เปน็ ผปู้ ระเมินโดย ศธ.) ตอนที่ 2 ขอ้ มูลท่ัวไปเกีย่ วกับสถานศึกษาท่ีรับการประเมิน 1. ช่ือสถานศกึ ษา.................................................................................สังกดั ...................................................... ทอี่ ยู่ .................................................................................................................................................................. อาเภอ.............................................................จังหวัด............................รหสั ไปรษณยี .์ ..................................... โทรศัพท.์ .....................................โทรสาร...........................................E-MAIL.................................................. 2. ช่อื - สกุล ผู้บริหารสถานศกึ ษา ...........................................................ดารงตาแหน่งตั้งแต่…………………….... ชื่อ – สกุล ครูแกนนาผู้รับผิดชอบ ........................................................รับภารกจิ แกนนาต้ังแต่........................ 3. สงั กดั สถานศกึ ษา  3.1 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร  3.2 สงั กดั อนื่ (โปรดระบุ) ....................................... 4. ระดบั การศกึ ษา  4.1. การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน  4.2. อืน่ ๆ (โปรดระบุ) ................................................ เปดิ สอนตง้ั แตระดับชนั้ ......................................ถงึ ระดับชั้น.................................... ตอนที่ 3 สรปุ ผลการประเมนิ สถานศกึ ษาโดยคณะกรรมการประเมนิ ตามรายช่อื ข้างต้น 1. สรุปคะแนนเฉล่ยี รายดา้ น ด้านที่ 1………..….. ดา้ นท่ี 2………….….. ดา้ นท่ี 3……………….. ดา้ นท่ี 4…..……….…… ดา้ นที่ 5…….……….... 2. สรปุ ผลการประเมนิ สถานศกึ ษา……………..……… … ผ่าน ไม่ผ่าน การสรุปผลการประเมินข้างตน้ มีมตเิ ป็นเอกฉนั ท์ ใช่ เป็นเอกฉนั ท์ ไมเ่ ป็นเอกฉันท์ เพราะ (อธิบาย) ………………………………………….………………………………………………… 3. วันเดอื นปีท่เี ขา้ ประเมิน ............................................................................................................................. คู่มอื ประเมินสถานศกึ ษาแบบอย่างการจัดกิจกรรมการเรยี นร้แู ละการบรหิ ารจัดการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปี 2554 เป็นตน้ ไป

- 38 - ตอนที่ 2 ข้อมูลการประเมนิ (5 ดา้ น 17 องคป์ ระกอบ 62 ตวั บ่งช้ี) โปรดทาเครื่องหมาย  ในชอ่ งระดบั คณุ ภาพการปฏบิ ตั ิของสถานศึกษา องคป์ ระกอบ ตวั บ่งช้ีเกณฑค์ ณุ ภาพ ไม่มี ระดบั คณุ ภาพปฏิบัติ 01234 1. ด้านการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา (4 องค์ประกอบ 14 ตัวบ่งช้ี ) 1. นโยบาย 1.1 มีนโยบายน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมา ขับเคลื่อนในสถานศกึ ษา และบูรณาการในแผนปฏิบัตงิ าน ประจาปี 1.2 ดาเนินการตามนโยบาย และแผนปฏบิ ัติงานประจาปี ทีน่ ้อมนา หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาขบั เคลอื่ นในสถานศกึ ษา 1.3 ตดิ ตามผลการดาเนินการตามนโยบายและแผนปฏิบัตกิ าร ประจาปี ทน่ี ้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมา ขบั เคลอื่ นในสถานศึกษา 1.4 นาผลการติดตามมาพฒั นา นโยบาย/แผนงาน/โครงการ/ กจิ กรรม ขบั เคล่อื นหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งใน สถานศึกษา 2. วชิ าการ คะแนน รวม/เฉลย่ี องคป์ ระกอบที่ 1 2.1 มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ด้านวิชาการท่สี ง่ เสริมการ บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารจัดกิจกรรม การเรยี นรู้ 2.2 ดาเนินการตาม แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ดา้ นวชิ าการที่ สง่ เสรมิ การบรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสูก่ าร จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 3. งบประมาณ 2.3 ติดตามผลผลการดาเนินการตาม แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ดา้ นวชิ าการทส่ี ง่ เสริมการบูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 2.4 นาผลการตดิ ตามไปพัฒนา แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ด้าน วชิ าการทสี่ ่งเสรมิ การบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งสู่การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ คะแนน รวม/เฉลยี่ องค์ประกอบท่ี 2 3.1 มกี ารวางแผนการบริหารจดั การงบประมาณของสถานศึกษาท่ี สอดคลอ้ งกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3.2 ดาเนินการตามแผนงบประมาณของสถานศึกษาตามหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง คมู่ ือประเมินสถานศกึ ษาแบบอย่างการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้และการบริหารจัดการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปี 2554 เปน็ ตน้ ไป

องค์ประกอบ ตวั บ่งชเ้ี กณฑ์คุณภาพ - 39 - 3.3 ติดตามผลการดาเนนิ งานตามแผนงบประมาณของสถานศกึ ษา ไม่มี ระดบั คณุ ภาพปฏิบัติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 01234 3.4 นาผลการตดิ ตามมาพฒั นาและปรบั ปรงุ การบริหารจดั การ งบประมาณตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง คะแนน รวม/เฉล่ีย องคป์ ระกอบท่ี 3 4. บริหารท่วั ไป 4.1 บรหิ ารอาคารสถานท่ีและจัดการแหลง่ การเรยี นรู้ในสถานศกึ ษา ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4.2 ประสานสัมพนั ธ์กับชมุ ชนใหม้ สี ่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้เพ่ือเสริมสรา้ งคณุ ลักษณะอยูอ่ ย่างพอเพียงของผูเ้ รียน คะแนน รวม/เฉล่ีย องคป์ ระกอบที่ 4 คะแนนรวม / คะแนนเฉล่ีย 4 องคป์ ระกอบ ของรายด้านท่ี 1 ขอ้ สงั เกตของผูป้ ระเมนิ : ดา้ นบริหารจดั การสถานศึกษา (จดุ เดน่ และขอ้ ควรพฒั นา) ........................................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................... ........ ......................................................................................... .............................................................................................. ............................................................................................................................................................ ........................... ........................................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................... ค่มู อื ประเมนิ สถานศกึ ษาแบบอยา่ งการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้และการบรหิ ารจัดการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2554 เป็นตน้ ไป

- 40 - องค์ประกอบ ตัวบ่งช้เี กณฑค์ ุณภาพ ไมม่ ี ระดบั คณุ ภาพปฏิบตั ิ 01234 2. ด้านหลักสูตรและการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ( 4 องค์ประกอบ 14 ตวั บง่ ชี้ ) 1. หน่วยการ 1.1 มหี น่วยการเรยี นรปู้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ตามมาตรฐาน เรยี นรปู้ รชั ญา การเรียนรู้ ของเศรษฐกิจ พอเพียง 1.2 มกี ารนเิ ทศ/ติดตาม/ประเมนิ ผล การนาหน่วยการเรียนรู้ปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 1.3 มกี ารศกึ ษา/วิเคราะห/์ วจิ ัย เพ่อื พัฒนาการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรปู้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คะแนน รวม/เฉล่ีย องคป์ ระกอบท่ี 1 2. การบูรณา 2.1 มีแผนจัดการเรียนรูท้ บี่ รู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ การหลกั พอเพยี งในกลุม่ สาระการเรียนรตู้ า่ ง ๆ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ปรัชญาของ เศรษฐกิจ 2.2 คุณภาพของแผนจัดการเรยี นรู้ทบี่ ูรณาการหลกั ปรัชญาของ พอเพยี งส่กู าร เศรษฐกจิ พอเพียงในกลุ่มสาระการเรียนรู้ตา่ ง ๆ จดั กจิ กรรมการ เรยี นรู้ 2.3 จัดกจิ กรรมการเรยี นร้ทู ่ีบูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในกลมุ่ สาระการเรยี นรูต้ า่ งๆ 2.4 ผเู้ รยี นมสี ว่ นร่วมในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ทบี่ รู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง คะแนน รวม/เฉล่ยี องคป์ ระกอบที่ 2 3. ส่อื และแหลง่ 3.1 จัดหา/ผลติ /ใช้/เผยแพร่ สือ่ การเรยี นรู้ เพ่อื บูรณาการหลัก เรียนรเู้ กี่ยวกับ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ หลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกจิ 3.2 จัดทา/พัฒนา/เผยแพร่ แหลง่ เรียนร้ใู นสถานศึกษาเพอ่ื สนบั สนุน พอเพยี ง การเรียนรู้ เกี่ยวกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3.3 ใช้แหล่งเรียนรู้/ภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ ในชุมชน ท่ีเสรมิ สรา้ งการ พฒั นาคณุ ลกั ษณะอยอู่ ยา่ งพอเพียงของผูเ้ รียน คะแนน รวม/เฉล่ยี องคป์ ระกอบท่ี 3 4. การวดั และ 4.1 จัดทาเครอื่ งมือวดั ผลและประเมนิ ผลท่หี ลากหลาย และสอดคล้อง ประเมนิ ผลการจัด กับวตั ถุประสงคข์ องการจัดกิจกรรมการเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญา กจิ กรรมการ ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เรียนรู้ตามหลัก ปรชั ญาของ 4.2 ใชว้ ธิ ีการวัดผลและประเมินผลทหี่ ลากหลาย และสอดคล้องกบั เศรษฐกจิ พอเพยี ง การจัดกิจกรรมการเรยี นรูท้ บ่ี ูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คูม่ อื ประเมินสถานศึกษาแบบอยา่ งการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้และการบรหิ ารจัดการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปี 2554 เป็นตน้ ไป

- 41 - องคป์ ระกอบ ตัวบ่งช้ีเกณฑค์ ณุ ภาพ ไม่มี ระดบั คุณภาพปฏบิ ตั ิ 0 1234 4.3 รายงานผลการประเมิน และนามาปรบั ปรุง/พฒั นา การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ทีบ่ รู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4.4 จัดแสดง/เผยแพร/่ ประกวด/แลกเปล่ียนเรียนรู้ ผลงานของผ้เู รียน ทเ่ี กดิ จากการนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยกุ ตใ์ ช้ คะแนน รวม/เฉลยี่ องคป์ ระกอบที่ 4 คะแนนรวม/คะแนนเฉล่ยี 4 องค์ประกอบ ของรายด้านที่ 2 ขอ้ สังเกตของผู้ประเมนิ : ดา้ นหลกั สูตรและการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (จดุ เด่น/ขอ้ ควรพฒั นา) ............................................................................................................................. .............................................................................. ............................................................................................................................. .................................................................... ........ ........................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................ ................. ........ ........................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .......................... ...................... ................... ........ ............................................................................................................................. ........................................................................... .. ............................................................................................................................. .................................................................... ........ ........................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................. ........ ............................................................................................................................. .............................................................................. ............................................................................................................................. ............................................................................. ............................................................................................................................. .............................................................................. ............................................................................................................................. .................................................................... ........ ........................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... .................. ........ ............................................................................................................................. .............................................................................. ............................................................................................................................. ................................................................... .......... ............................................................................................................................. .............................................................................. ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .............................................................................. ..................................................................................................................................................................................... ..................... ............................................................................................................................. .............................................................................. .......................... ............................................................................................................................ ....................... ................... ........ ........................................................................... .................................................................. ............................................................. ............................................................................................................................ ..................................................................... ........ ค่มู ือประเมนิ สถานศึกษาแบบอยา่ งการจดั กจิ กรรมการเรียนรแู้ ละการบริหารจัดการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2554 เปน็ ต้นไป

- 42 - องค์ประกอบ ตัวบ่งชเ้ี กณฑ์คุณภาพ ไม่มี ระดบั คุณภาพปฏบิ ัติ 01234 3. ด้านการจัดกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน (3 องค์ประกอบ 15 ตัวบ่งชี้ ) 1. การแนะแนว 1.1 มแี ผนงานแนะแนว เพ่อื สนับสนุนการดาเนินชีวติ ที่สอดคลอ้ งกบั และระบบดแู ล หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ชว่ ยเหลือ ผเู้ รียน 1.2 จัดกิจกรรมแนะแนวใหผ้ เู้ รียนได้ร้จู ักการวางแผนชวี ิตของตนเอง ได้อย่างสอดคลอ้ งกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1.3 มรี ะบบดแู ลชว่ ยเหลือผู้เรียนให้สามารถ แก้ปัญหาและพัฒนา ตนเองได้อยา่ งสอดคล้องกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 1.4 ตดิ ตามผล การจดั กจิ กรรมแนะแนว และระบบดูแลชว่ ยเหลอื ผู้เรยี นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1.5 นาผลการติดตามมาใชพ้ ฒั นาการจัดกจิ กรรมแนะแนว และระบบ ดแู ลช่วยเหลือผู้เรียน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. กิจกรรม คะแนน รวม/เฉลีย่ องคป์ ระกอบท่ี 1 นกั เรยี น 2.1 มแี ผนงาน/โครงการส่งเสรมิ กิจกรรมนกั เรยี น เพ่อื ให้ผูเ้ รียน “อยู่อยา่ งพอเพียง” 2.2 จัดกิจกรรมลกู เสอื /เนตรนารี /ยวุ กาชาด หรือผบู้ าเพ็ญ ประโยชน์ สอดคล้องกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.3 สง่ เสริมให้มกี ารจดั ต้งั ชมุ นมุ /ชมรม ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 2.4 มกี ารประยุกต์ใช้ ภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ /วฒั นธรรม/หลักคาสอน ทางศาสนา ในการจัดกิจกรรมนกั เรียนตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง 2.5 ติดตามผลการจดั กิจกรรมนกั เรียนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2.6 นาผลการติดตามมาปรับปรงุ /พัฒนา กิจกรรมนักเรยี นตาม หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. กิจกรรมเพื่อ คะแนน รวม/เฉล่ยี องค์ประกอบที่ 2 สงั คมและ สาธารณะ 3.1 มีกจิ กรรมเพ่อื สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ผเู้ รียนเกดิ จติ อาสา และมีสว่ น ประโยชน์ ร่วมในกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 3.2 ผูเ้ รียนมสี ว่ นรว่ มในการแก้ปญั หา หรอื พฒั นาสถานศึกษา/ชมุ ชน ด้านเศรษฐกจิ หรือสงั คมหรือส่งิ แวดลอ้ มหรอื วฒั นธรรม ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง คมู่ อื ประเมนิ สถานศกึ ษาแบบอยา่ งการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้แู ละการบรหิ ารจดั การตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2554 เป็นตน้ ไป

- 43 - องคป์ ระกอบ ตวั บง่ ชีเ้ กณฑ์คุณภาพ ไมม่ ี ระดบั คณุ ภาพปฏิบัติ 01234 3.3 ติดตามผลการดาเนนิ กจิ กรรม เพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ ของผู้เรยี น ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3.4 นาผลการติดตามมา ปรบั ปรุง/พัฒนา การดาเนินกิจกรรม เพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ของผู้เรยี น ตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง คะแนน รวม/เฉลีย่ องคป์ ระกอบท่ี 3 คะแนนรวม / คะแนนเฉล่ีย 3 องค์ประกอบ ของรายด้านท่ี 3 ข้อสงั เกตของผู้ประเมิน : ด้านการจดั กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน (จดุ เดน่ /ขอ้ ควรพัฒนา) ........................................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................... ........ ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................. .......................................... ....................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ........ ......................................................................................... ..................................................................................... ........ ....................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ค่มู ือประเมนิ สถานศึกษาแบบอย่างการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้และการบริหารจัดการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปี 2554 เป็นต้นไป

- 44 - องคป์ ระกอบ ตวั บง่ ช้เี กณฑ์คณุ ภาพ ไมม่ ี ระดบั คณุ ภาพปฏิบตั ิ 0 1234 4. ดา้ นพฒั นาบคุ ลากรของสถานศกึ ษา (2 องคป์ ระกอบ 7 ตวั บ่งช้ี ) 1. การพัฒนา 1.1 มแี ผนงาน/โครงการพัฒนาบุคลากรของสถานศกึ ษาเพ่ือสรา้ ง บุคลากรตาม ความร้คู วามเขา้ ใจ และตระหนกั ในคุณคา่ ของหลักปรัชญาของ หลกั ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ของเศรษฐกิจ พอเพียง 1.2 มกี ารจัดการประชมุ /อบรม/สัมมนา/ศกึ ษาดงู านแหล่งเรยี นรู้ ต่างๆเพอ่ื สง่ เสรมิ การประยุกตใ์ ชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ในการดาเนนิ ชวี ติ และปฏิบตั ภิ ารกจิ หนา้ ที่ 1.3 ส่งเสรมิ ใหบ้ คุ ลากรแสวงหาความรเู้ ก่ียวกบั หลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง อยา่ งสม่าเสมอ 1.4 จัดกิจกรรมสง่ เสริมการดาเนนิ ชีวิตและการปฏบิ ตั ภิ ารกจิ หนา้ ที่ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง แก่บคุ ลากรของ สถานศกึ ษา คะแนน รวม/เฉล่ีย องคป์ ระกอบท่ี 1 2. การตดิ ตาม 2.1 ติดตามผลการดาเนนิ โครงการ/กจิ กรรมพัฒนาบุคลากรเพ่ือ สง่ เสริมการดาเนินชีวิตและปฏิบัตภิ ารกจิ หนา้ ที่ ตามหลกั ปรัชญา และขยายผล ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2.2 นาผลการตดิ ตามมาปรบั ปรงุ /พฒั นาการดาเนนิ โครงการ/ กจิ กรรมพัฒนาบุคลากรเพอ่ื ส่งเสรมิ การดาเนินชวี ิตและปฏิบัติ ภารกิจหนา้ ทีต่ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2.3 ขยายผลและเผยแพร่ ผลการดาเนนิ ชีวิตและปฏิบัตภิ ารกจิ หนา้ ที่ ของบคุ ลากร ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คะแนน รวม/เฉลีย่ องคป์ ระกอบท่ี 2 คะแนนรวม/คะแนนเฉลย่ี 2 องค์ประกอบ ของรายดา้ นที่ 3 ข้อสังเกตของผูป้ ระเมนิ : ดา้ นพฒั นาบคุ ลากรของสถานศึกษา (จดุ เดน่ /ข้อควรพัฒนา) ........................................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................... ........ ......................................................................................... .............................................................................................. ............................................................................................................................................................ ........................... ...................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... คมู่ ือประเมินสถานศกึ ษาแบบอย่างการจัดกิจกรรมการเรยี นร้แู ละการบริหารจัดการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปี 2554 เปน็ ต้นไป

- 45 - องค์ประกอบ ตวั บง่ ชี้เกณฑ์คุณภาพ ไม่มี ระดบั คณุ ภาพปฏบิ ัติ 0 1234 5. ผลลัพธ์/ภาพความสาเร็จ (4 องคป์ ระกอบ 12 ตวั บ่งช้ี ) 1. สถานศกึ ษา 1.1 คุณลักษณะของสถานศกึ ษาพอเพียง 2. ผ้บู ริหาร คะแนน รวม/เฉลีย่ องค์ประกอบท่ี 1 สถานศกึ ษา 2.1 คุณลกั ษณะของผู้บริหารสถานศึกษาพอเพยี ง 3. บคุ ลากรของ คะแนน รวม/เฉล่ีย องคป์ ระกอบที่ 2 สถานศกึ ษา 3.1 บุคลากรของสถานศกึ ษามีความรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกับหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 3.2 บคุ ลากรจดั การทรพั ยากรและดาเนินชวี ิตด้านเศรษฐกิจ อยา่ ง สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3.3 บคุ ลากรอย่รู ่วมกบั ผ้อู ื่นในสงั คม ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และสามารถเป็นแบบอยา่ งที่ดีในการปฏิบตั ติ นเพ่อื ส่วนรวมและสาธารณประโยชน์ 3.4 บคุ ลากรร้จู ักใช้และจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม ไดอ้ ยา่ งสมดุลและพรอ้ มรบั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง ตา่ งๆ 3.5 บคุ ลากรดาเนนิ ชวี ิตอยา่ งมฐี านรากทางวัฒนธรรม และพร้อมรับ ต่อการเปลยี่ นแปลงทางวฒั นธรรม จากกระแสโลกาภวิ ัฒน์ 4. ผู้เรยี น คะแนน รวม/เฉลย่ี องค์ประกอบท่ี 3 4.1 ผเู้ รยี นมีความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงตามมาตรฐานการเรยี นรหู้ ลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง ของแตล่ ะระดับช้นั ปกี ารศกึ ษา 4.2 ผเู้ รียนปฏิบตั ติ นใหด้ าเนนิ ชีวิตไดอ้ ย่างสมดุลและพร้อมรับตอ่ การ เปลีย่ นแปลงในด้านวัตถ/ุ เศรษฐกิจ 4.3 ผู้เรียนปฏิบัตติ นใหด้ าเนินชีวติ ไดอ้ ย่างสมดุลและพรอ้ มรบั ต่อการ เปลีย่ นแปลงในดา้ นสงั คม 4.4 ผู้เรียนปฏบิ ัตติ นให้ดาเนินชวี ิตได้อยา่ งสมดลุ และพรอ้ มรบั ต่อการ เปลย่ี นแปลงในด้านส่งิ แวดล้อม 4.5 ผ้เู รยี นปฏิบัติตนให้ดาเนนิ ชีวติ ไดอ้ ย่างสมดลุ และพร้อมรับตอ่ การ เปลย่ี นแปลงในด้านวัฒนธรรม คะแนน รวม/เฉลย่ี องคป์ ระกอบที่ 4 คะแนนรวม/คะแนนเฉลี่ย 4 องค์ประกอบ ของรายด้านที่ 5 คมู่ อื ประเมนิ สถานศึกษาแบบอยา่ งการจัดกจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละการบรหิ ารจดั การตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปี 2554 เป็นตน้ ไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook