2.1 ให้ตีความอย่างแคบ ถ้าความหมายของตวั บทกว้างกว่าความมุ่ง หมายของกฎหมายเช่น ป.พ.พ มาตรา150 “การใดมวี ตั ถุประสงค์เป็ นการต้องห้ามชัดแจ้ง โดยกฎหมาย ขดั ต่อความสงบเรียบร้อยและ ศีลธรรมอนั ดขี องประชาชนย่อมเป็ นโมฆะ” การใดหมายถงึ นิติกรรมเท่าน้ัน
2.2 ให้ตีความอย่างกว้าง • ถ้าความหมายของตวั บทแคบกว่าความมุ่งหมาย ของกฎหมายเช่น ป.พ.พ มาต15วรรค2 ทารกในครรภ์มารดากส็ ามารถมีสิทธิต่างๆได้ หากว่าภายหลงั เกดิ มาอยู่รอดเป็ นทารก
เจตนารมณ์ของ ป.พ.พมาต15 • “ในกรณที จ่ี าต้องคุ้มวครรอรงคสิท2ธิของทารกในครรภ์ มารดาให้ถือเสมือนว่าเดก็ ทารกมสี ภาพบุคคลเริ่ม ต้งั แต่เม่ือมีการปฏิสนธิ” เป็ นหลกั กฎหมายโรมัน กฎหมายลกั ษณะมรดกบทที่ 48 “ลูกหลานอยู่ ในครรภ์ ให้ปันไว้แก่มันส่วนหน่ึงฯลฯ เหตุว่า เป็ นอยู่ในลูกหลาน มนั ได้เกดิ ปฏสิ นธิแล้ว...
คาว่าสิทธิต่างๆจะหมายถงึ • สทิ ธริ ับมรดกตามมาตรา1604 และสทิ ธในการ เป็ นบุตรชอบด้วยก.ม ตามมาตรา1536เท่านัน้ หรือรวมถงึ สิทธิประการอ่นื ด้วย เช่นสิทธใิ นเนือ้ ตัว ร่างกาย อนามัย เป็ นต้น • มาตรา1604“เพ่อื ประโยชน์แห่งมาตรานี้ ให้ถือว่า เดก็ ท่เี กดิ มารอดอย่ภู ายใน 310 วนั นับแต่เวลาท่ี เจ้ามรดกถงึ แก่ความตายนัน้ เป็ นทารกในครรภ์ มารดาอยู่ในเวลาท่เี จ้ามรดกถงึ แก่ความตาย”
2.3 ให้ตคี วามในทางตรงกนั ข้าม • กฎหมายบัญญตั ผิ ลสาหรับการกระทาอย่าง หน่ึงไว้ ย่อมบัญญตั ิผลสาหรับการกระทา อกี อย่างหน่ึงในทางตรงกนั ข้ามไว้ด้วย • ป.พ.พมาตรา 19 บุคคลย่อมบรรลนุ ิติ ภาวะเม่ือมอี ายุครบยส่ี ิบปี บริบูรณ์ดงั น้ันถ้า ไม่ถงึ 20ปี ย่อมไม่ บรรลนุ ิตภิ าวะ
2.4 ให้ตคี วามว่ายงิ่ ต้องเป็ นเช่นน้ัน • ม.1574 นิตกิ รรมใดอนั เกยี่ วกบั ทรัพย์สินของผู้เยาว์ ดงั ต่อไปนี้ ผู้ใช้อานาจปกครองจะกระทามไิ ด้ เว้นแต่ ศาลจะอนุญาต 1 ) ขาย….อสังหาริมทรัพย์ • ถ้า ผู้ใช้อานาจปกครองจะให้ความยนิ ยอมแก่ผู้เยาว์ไป ทานิตกิ รรมยงิ่ ต้องได้รับอนุญาตจากศาลเสียก่อน
2.5การตีความแก้ไข • ถ้าตวั บทกฎหมายมขี ้อผดิ พลาดในการใช้ถ้อยคา ทาให้เกดิ ปัญหาต้องตคี วาม เพ่อื แก้ไขปัญหา • พระราชบัญญัตใิ ช้กฎหมายอสิ ลามใน 4 จังหวัด ภาคใต้ มาตรา 3 บญั ญตั วิ ่า “ในการวนิ ิจฉัยชี้ ขาดตัดสนิ คดีแพ่งเก่ยี วด้วยเร่ืองครอบครัวและ มรดก อิสลามศาสนิกของศาลชัน้ ต้น ….”
ถ้อยคาผิดพลาด ควรตีความแก้ไขว่า ไม่ว่าจะมีการฟ้องคดหี รือไม่ก็ยงั คง ใช้กฎหมายอสิ ลามบังคับ • บทบาทของตวั บททาหน้าทเี่ พยี งเช่ือมโยงส่ิง สองส่ิงเข้าด้วยกนั คือ ปัญหาทีเ่ กิดขนึ้ กบั เจตนารมณ์ของผู้ร่างกฎหมายทจ่ี ะแก้ไข ปัญหา มิใช่เป็ นการสร้างปัญหาขนึ้ ใหม่
2.6การตีความให้กฎหมายมีผลบงั คบั ได้ • ถ้าตัวบทนัน้ อาจตคี วามได้เป็ น 2 นัย ให้ ตีความโดยนัยท่สี ามารถบังคบั ได้เช่น • ป.พ.พ.ม. 21 “ผู้เยาว์ทานิตกิ รรมใด ๆ ต้องได้รับ ความยนิ ยอมของผู้แทนโดยชอบธรรมก่อน นิตกิ รรม ใด ๆ ทผ่ี ู้เยาว์ได้กระทาโดยปราศจากความยนิ ยอมของ ผู้แทนโดยชอบธรรม ท่านว่าเป็ น โมฆยี ะ
ความยนิ ยอมของผู้แทนโดยชอบธรรม • สามารถตคี วามได้ 2นัยคือ • 1 ความยนิ ยอมเฉพาะเร่ืองทข่ี อความยนิ ยอมหรือ • 2 ความยนิ ยอมท่ัวไปเป็ นการถาวร(blank cheque) • ถ้าตคี วามตามแนวที่ 2บทบัญญตั วิ ่าด้วยความยนิ ยอม จะไม่มผี ลบังคบั จึงต้อง ตคี วามตามแนวที่ 1
2.7การตคี วามเทยี บเคยี ง (Analogy) • ถ้าตวั บทนัน้ ไม่ครอบคลุมกรณีท่เี กิดขนึ้ ให้ตีความ เทยี บเคยี ง (Analogy) ส่งิ ท่มี ีเหตผุ ลทานองเดียวกนั ย่อมใช้บทบัญญัตทิ านองเดยี วกนั บังคบั • ต้องพจิ ารณาว่าอะไรเป็ นข้อแตกต่าง และอะไรเป็ น ข้อเหมือนและข้อเหมือนนัน้ ต้องเป็ นเหตผุ ล สาระสาคญั ของเร่ืองนัน้ จงึ จะเทยี บเคยี งได้ เช่น
ตัวอย่างการตคี วามเทยี บเคียง • ความเสียหายของสัตว์ 4 เท้า ผู้เป็ นเจ้าของต้อง รับผดิ ชอบในความเสียหายนัน้ • ปัญหาว่าความเสียหายของสัตว์ 2 เท้า ผู้เป็ น เจ้าของต้องรับผดิ ชอบในความเสียหายนัน้ หรือไม่ • ข้อแตกต่างคือ จานวนเท้า ข้อเหมอื นท่ี เป็ น เหตุผลสาระสาคญั คอื ความเสียหาย
ที่ดินแปลงใดมีทางออกได้ แต่เมื่อ ต้องข้ามสระ บึง หรือทะเลหรือมีท่ี ชันอันระดับท่ีดินกับทางสาธารณะ สู งกว่ากันมากไซร้ ท่านว่าให้ ใช้ ความในวรรคต้นบงั คบั
ถนน ป่ าชแามย่นเา้ ลน ถนน
2.8บทกฎหมายจากดั สิทธเิ สรีภาพต้อง ตีความเคร่ งครัด • ป.พ.พ มาตรา1562 ห้ามมิให้บุตรฟ้อง บพุ การีของตน ต้องหมายถงึ ญาติ สืบสายโลหติ โดยตรงขนึ้ ไปเท่านัน้ ไม่หมายความรวมถงึ พ่อตาแม่ยาย
ลกั ษณะการตีความกฎหมายแต่ละประเภท • หลกั การตคี วามกฎหมายอาญา • หลกั การตีความ กฎหมายแพ่ง • หลกั การตีความกฎหมายมหาชน
หลกั การตีความกฎหมายอาญา • ก.มอาญามีบทกาหนดโทษทกี่ ระทบต่อสิทธิ เสรีภาพของผู้ถูกกล่าวหาว่ากระทาผดิ • ต้องตคี วามเคร่งครัด (ตามตัวบทกฎหมาย) การตีความตามเจตนารมณ์ของกฎหมายทาได้ น้อย • การตีความเคร่งครัด ตามตัวบทใช้เฉพาะกรณี ความผดิ และโทษเท่าน้ัน ดงั น้ันกรณอี ื่นไม่ต้อง
•จะตคี วามในทางขยายความเพื่อ ลงโทษหรือเพม่ิ โทษไม่ได้ • ในกรณีเป็ นที่สงสัยว่าจาเลยจะไม่ได้ กระทาผิดต้องยกผลประโยชน์แห่งข้อ สงสัยให้จาเลย (ยกฟ้อง)
หลกั การตคี วาม กฎหมายแพ่ง • การตคี วามต้องดูตวั บทกฎหมาย และเจตนารมณ์ ของ กฎหมายไปพร้อม ๆ กนั • ต้องคานึงถงึ หลกั ความเสมอภาคของเอกชน, สิทธิ ของบุคคล • การตคี วามไม่สู้จะเคร่งครัดตามตวั บทมากนัก ยกเว้น ข้อกฎหมายทเ่ี ป็ นข้อยกเว้น
หลกั การตีความกฎหมายมหาชน • ตคี วามโดยรักษาดุลยภาพระหว่างประโยชน์สาธารณะ กบั สิทธิเสรีภาพของเอกชน • ต้องไม่ตีความเคร่งครัดตามตวั บทกฎหมาย
• ผู้ทต่ี คี วามต้องมคี วามรู้ความเช่ียวชาญเฉพาะด้าน และต้องอาศัยหลกั วชิ าการหลายสาขา ประกอบการตีความเช่น ประวตั ศิ าสตร์ สังคม วทิ ยา รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ • (ผู้ตคี วามไม่จาเป็ นต้องเป็ นนักกฎหมายเสมอไป)
การอุดช่องว่างของกฎหมาย • คือ กรณีหรือเหตุการณ์ท่เี กิดขนึ้ ไม่มีกฎหมายลายลักษณ์ อักษรใดบัญญัตไิ ว้ครอบคลุมถงึ ทาให้มีช่องว่างของ กฎหมายเกดิ ขนึ้ • เกดิ จาก 1.ความบกพร่องของผู้ร่างทนี่ ึกไม่ถงึ 2.ในขณะทอ่ี อกกฎหมายยงั ไม่มเี หตุการณ์ 3.ผู้ร่างกฎหมายจงใจเพื่อศึกษาผลกระทบเสียก่อน
วธิ กี ารอดุ ชอ่ งวา่ ง (กฎหมายแต่ละประเภท แตกต่างกนั ไป • กฎหมายแพ่ง ป.พ.พ. ม.4 เม่อื ไม่มกี ฎหมายลาย ลักษณ์อักษรให้อุดช่องว่าง ดงั นี้ 1.ใช้จารีตประเพณี 2.บทกฎหมายใกล้เคยี งอย่างยงิ่ (analogy) 3.ใช้หลกั กฎหมายทวั่ ไป เช่น สุภาษติ กฎหมาย “ผู้ซื้อต้องระวงั ” 4.หลกั ความยตุ ธิ รรมตามธรรมชาติ
การอุดช่องว่างในกฎหมายอาญา • ไม่อดุ ชอ่ งวา่ งเพอื่ กาหนด ความผดิ ขนึ้ ใหม่ • ไม่อุดช่องว่างในทางเพม่ิ โทษ
การอุดช่องว่างในกฎหมายมหาชน • ไมน่ าเอากฎหมายเอกชนมา อดุ ช่องว่าง เว้นแต่จะปรับหลกั กฎหมายเอกชน ดงั กล่าว ให้เข้ากบั หลกั ปรัชญากฎหมายมหาชน • ตอ้ งคานึงถงึ การรกั ษาดลุ ย ภาพระหว่างประโยชน์สาธารณะกบั สิทธิเสรี ของประชาชน
การใช้กฎหมายกับความเป็ นธรรมในสังคม • เป้าหมาย ความยตุ ธิ รรม • (ความเสมอภาคเท่าเทียมกนั ในทางกฎหมาย) การปฏิบตั ติ ่อบุคคลอย่างเท่าเทยี มกนั คือ ความไม่ เท่าเทียมกนั และการปฏิบัตอิ ย่างไม่เท่าเทียมกบั บุคคลทไ่ี ม่เท่าเทยี มกนั น้ัน คือ ความเท่าเทียมกนั
การใช้ดุลพนิ ิจให้เกดิ ความยุตธิ รรม • ในระบบ Common Law ศาลมบี ทบาทในการสร้าง กฎหมาย/มาตรฐานของสังคม/ความเป็ นธรรมในสังคม ได้มาก • ตัวอย่าง ศาลฎกี าสหรัฐอเมริกา ทม่ี ีอานาจในการชี้ขาดว่า กฎหมายใดขดั ต่อรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกาและเคยตดั สิน ว่าโครงการNEW DEALขดั ต่อรัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา สร้างผลกระทบต่อสังคมมาก
• ในระบบ Civil Law ศาลมบี ทบาทน้อยกว่า เน่ืองจากมตี วั บทกฎหมายลายลกั ษณ์อกั ษรวาง กรอบใช้การอานาจดุลพนิ ิจไว้ค่อนข้างมาก • แต่อย่างไรกต็ ามหลกั กฎหมายทเ่ี ปิ ดโอกาสให้ ศาลได้ใช้ดุลพนิ ิจในการวางมาตรฐานความ เป็ นธรรมในสังคมกม็ ี คือ “หลกั ศีลธรรมอนั ดขี องประชาชน”
• “การใดมวี ตั ถุประสงค์เป็ นการ ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย ขดั ต่อ ความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอนั ดขี องประชาชนย่อมเป็ นโมฆะ”
การจดั กระบวนการยุตธิ รรมเพ่ือความเป็ นธรรม • ศาล 1. กลไกของกระบวนวธิ ีพจิ ารณาความ เป็ นกลาง อิสระ ทงั้ ในแง่ • การบริหารบคุ คล โดยมีองค์กรกลางบริหารงาน บคุ คล คือมีคณะกรรมการตุลาการ (ก.ต.) • การพจิ ารณาคดเี ป็ นกลาง ไม่มอี คติ (BIAS) และ รับผดิ ชอบ มจี ริยธรรม คุณธรรม ประกอบกับ ประสบการณ์
2.จัดโครงสร้าง ศาล หลกั ความเช่ียวชาญเฉพาะสาขา • คดตี ามกฎหมายเอกชน • คดีตาม กฎหมายมหาชน (คดีแพ่ง / คดอี าญา) (คดปี กครอง) • ระบบศาลปกครอง • ระบบศาลยตุ ธิ รรม • ศาลปกครองสูงสุด • ศาลปกครองอุทธรณ์ • ศาลฎกี า • ศาลปกครองชัน้ ต้น • ศาลอุทธรณ์ • ศาลชัน้ ต้น
ศาลช้ันต้น •ท่ัวไป •เยาวชนและครอบครัว •แรงงาน •ทรัพย์สินทางปัญญา
•ศาลปกครองช้ันต้น 1.ทวั่ ไป 2.ชานัญพเิ ศษ •ภาษี •สวสั ดกิ ารสังคม •วชิ าชีพ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133