Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore slide

slide

Published by pim, 2019-07-01 00:21:37

Description: e1502882083

Search

Read the Text Version

รฐั ธรรมนญู ไทย

เน้อื หาของรฐั ธรรมนญู สทิ ธิ+เสรภี าพของ กลไกในการใช้ ประชาชน อานาจรฐั การเมืองของ การเมืองของ พลเมอื ง นักการเมอื ง ฝ่ายนิติบัญญตั ิ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายตลุ าการ องค์กรตาม รัฐธรรมนูญ 2

รัฐธรรมนูญ • รัฐธรรมนูญ (Constitution) เป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐ supreme law และเป็นกฎหมายมูลฐาน fundamental law ถือไดว้ า่ เป็น กฎหมายแม่บทของกฎหมายท้งั หลายในรัฐซ่ึงกฎหมายท้งั หมดใน รัฐจาเป็นตอ้ งเป็นไปตามแนวทางของกฎหมายรัฐธรรมนูญ • ดร.ปรีดี พนมยงค์ “กฎหมายธรรมนูญการปกครองแผน่ ดิน เป็นกฎหมายที่ บญั ญตั ิถึงระเบียบแห่งอานาจสูงสุดในแผน่ ดินท้งั หลาย และวิธีการ ดาเนินการทวั่ ไปแห่งอานาจเหล่าน้ี หรือ เป็นการวางหลกั ทวั่ ไปแห่งอานาจ สูงสุดในประเทศ”

ประเภทของรัฐธรรมนูญ 1. รัฐธรรมนูญจารีตประเพณี (Unwritten Constitution) 2. รัฐธรรมนูญลายลกั ษณ์อกั ษร (Written Constitution) 3. รัฐธรรมนูญรัฐเด่ียวและรัฐธรรมนูญรัฐรวม (Unitary Constitution and Federal Constitution) 4. รัฐธรรมนูญกษตั ริยแ์ ละรัฐธรรมนูญสาธารณรัฐ (Monarchical and Republic Constitution)

เอกสารต่างๆสาคญั ท่ีจดั วา่ เป็นรัฐธรรมนูญขององั กฤษ 1. แม็กนา คารต์ า (Magna Carta) ซ่ึงถือเป็นปฐมรัฐธรรมนูญของ องั กฤษ เขียนเป็นภาษาลาติน แปลวา่ มหาเอกสาร หรือ กระดาษแผน่ ใหญ่ 2. บทบญั ญตั ิแห่งสิทธิ (Bill of Rights) 3. พ.ร.บ. ปฏิรูป (Reform Act) 4. พ.ร.บ. รัฐสภา (Parliament Act) รัฐธรรมนูญประเภทจารีตประเพณีน้ี การแกไ้ ขเปล่ียนแปลง โดยทวั่ ไปมกั จะง่ายกวา่ รัฐธรรมนูญประเภทลายลกั ษณ์อกั ษร เพราะนิติบญั ญตั ิสามารถออกกฎหมายแกไ้ ขใหเ้ หมาะสมตาม กาลเวลาได้ โดยไม่ตอ้ งผา่ นการออกเสียงประชามติ ดงั เช่น รัฐธรรมนูญประเภทลายลกั ษณ์อกั ษรส่วนใหญ่กาหนดไว้

พระราชบัญญตั ิ…………… พระราชบญั ญตั ิ เป็นกฎหมายที่มีลาดับศักดิร์ อง จากกฎหมายรัฐธรรมนญู ที่ตราขึน้ เปน็ กฎหมาย บังคับใช้แก่ประชาชน โดยคาแนะนาและยินยอม ของรฐั สภา ซึ่งประกอบดว้ ยสภาผแู้ ทนและ วฒุ ิสภา พระราชบญั ญัติจะมีผลบงั คับใช้อยา่ ง สมบรู ณ์ และเปน็ เครือ่ งมือของฝา่ ยบริหารในการ ใชอ้ านาจ จะต้องได้รบั ความเหน็ ชอบจากรัฐสภา พระมหากษตั ริยท์ รงลงพระปรมาภิไธย และ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว

การเสนอร่างพระราชบัญญตั ิ สว่ นการเสนอรา่ งพระราชบญั ญัติ รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย มาตรา 142 ได้บัญญัติวา่ การเสนอร่างพระราชบญั ญตั ิจะเสนอไดก้ แ็ ต่โดย 1) คณะรฐั มนตรี 2) สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรจานวนไมน่ ้อยกวา่ 20 คน 3) ศาลหรือองค์กรอิสระตามรฐั ธรรมนญู เฉพาะกฎหมายที่เกี่ยวกบั การจดั องคก์ รและกฎหมายที่ประธานศาล และประธานองคก์ รนนั้ เปน็ ผ้รู ักษาการ หรือ 4) ผมู้ ีสิทธิเลือกตัง้ จานวนไมน่ ้อยกว่า 10,000 คน โดยจะเข้าชือ่ เสนอ กฎหมายไดเ้ ฉพาะหมวดสิทธแิ ละเสรีภาพของปวงชนชาวไทย และหมวด แนวนโยบายพืน้ ฐานแห่งรฐั เทา่ นนั้ สาหรับร่างพระราชบัญญัติเกีย่ วดว้ ยการเงินที่จะเสนอเข้าสกู่ ารพิจารณา ของสภาจะต้องไดร้ บั คารบั รองจากนายกรัฐมนตรี กระบวนการพิจารณารา่ งพระราชบญั ญัติ

การเสนอร่างพระราชบัญญัติ กระบวนการพิจารณารา่ งพระราชบัญญตั ินั้น จะต้องเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรกอ่ น ซึ่งสภา ผแู้ ทนราษฎรจะตอ้ งพิจารณาเป็น 3 วาระ ตามลาดบั ดังนี้ วาระที่ 1 เป็นการพิจารณาหลกั การทว่ั ไปของร่าง พระราชบัญญตั ิว่าสมควรจะลงมติรับหลักการ หรือไม่รับหลกั การแหง่ ร่างพระราชบญั ญตั ินน้ั

การเสนอรา่ งพระราชบญั ญตั ิ วาระที่ 2 เป็นการพิจารณาในรายละเอียดของรา่ งพระราชบัญญตั ิ โดย คณะกรรมาธิการที่สภาตงั้ หรือคณะกรรมาธิการเต็มสภา คณะกรรมาธิการทีส่ ภาตัง้ ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติโดย คณะกรรมาธิการสภาผ้แู ทนราษฎรจะให้คณะกรรมาธิการสามญั หรือ คณะกรรมาธิการวิสามัญเปน็ ผูพ้ ิจารณากไ็ ด้ คณะกรรมาธิการเตม็ สภา ในกรณีที่สภาผูแ้ ทนราษฎรมีมติใหพ้ ิจารณา รา่ งพระราชบัญญัติโดยกรรมาธิการเตม็ สภาใหถ้ ือวา่ สมาชิกทกุ คนในที่ ประชมุ ประกอบกันเป็นคณะกรรมาธิการ และประธานของทีป่ ระชมุ มี ฐานะเปน็ ประธานคณะกรรมาธิการด้วย การพิจารณาโดยกรรมาธิการ เตม็ สภาเปน็ การพิจารณาขนั้ คณะกรรมาธิการและการพิจารณาของ สภาผูแ้ ทนราษฎรในวาระที่ 2 เรียงลาดบั มาตรารวมกนั ไป

การเสนอร่างพระราชบัญญัติ วาระที่ 3 การพิจารณาร่างพระราชบัญญตั ิในวาระ ที่ 3 นี้ จะไม่มีการอภิปราย และใหท้ ี่ประชมุ ลงมติ วา่ เห็นชอบหรือไมเ่ ห็นชอบ ในกรณีทีส่ ภา ผ้แู ทนราษฎรลงมติไมใ่ หค้ วามเหน็ ชอบ ร่าง พระราชบัญญัติน้ันเปน็ อนั ตกไป และในกรณีที่สภา ผู้แทนราษฎรมีมติให้ความเหน็ ชอบ ใหป้ ระธานสภา ผูแ้ ทนราษฎรดาเนินการเสนอรา่ งพระราชบัญญตั ิ น้นั ตอ่ วุฒิสภาตอ่ ไป

การพจิ ารณาร่างพระราชบัญญตั ขิ องวุฒสิ ภ วฒุ ิสภาต้องพิจารณารา่ งพระราชบัญญตั ิทีส่ ภา ผแู้ ทนราษฎรเสนอมานัน้ ให้เสรจ็ ภายใน 60 วนั แต่ ถา้ เป็นร่างพระราชบัญญตั ิทีเ่ กีย่ วด้วยการเงิน ต้อง พิจารณาใหเ้ สร็จภายใน 30 วนั ท้งั นี้เวน้ แตว่ ุฒิสภา จะไดล้ งมติใหข้ ยายเวลาออกไปเปน็ กรณีพิเศษ กาหนดวันดังกลา่ วใหห้ มายถึงวนั ในสมยั ประชมุ และให้เริม่ นบั แต่วันทีร่ า่ งพระราชบัญญตั ินน้ั มาถึง วฒุ ิสภา

การพจิ ารณาร่างพระราชบญั ญตั ขิ องวุฒสิ ภ ถา้ วฒุ ิสภาพจิ ารณาร่างพระราชบญั ญตั ิไม่เสร็จภายใน กาหนดเวลาดงั กล่าว ใหถ้ ือวา่ วฒุ ิสภาไดใ้ หค้ วามเห็นชอบ ในร่างพระราชบญั ญตั ิน้นั กรณีที่สภาผแู้ ทนราษฎรเสนอ ร่างพระราชบญั ญตั ิเกี่ยวดว้ ยการเงินไปยงั วฒุ ิสภา ให้ ประธานสภาผแู้ ทนราษฎรแจง้ ไปดว้ ยวา่ ร่าง พระราชบญั ญตั ิที่เสนอไปน้นั เป็นร่างพระราชบญั ญตั ิเก่ียว ดว้ ยการเงิน คาแจง้ ของประธานสภาผแู้ ทนราษฎรให้ถือ เป็ นเด็ดขาด

การพจิ ารณาร่างพระราชบญั ญตั ขิ องวุฒสิ ภ การพิจารณารา่ งพระราชบญั ญัติของวฒุ ิสภาจะ พิจารณาเป็น 3 วาระเชน่ เดียวกับการพิจารณาร่าง พระราชบญั ญตั ิของสภาผแู้ ทนราษฎร เมื่อวฒุ ิสภาลงมติในวาระที่ 3 เหน็ ชอบด้วยกบั สภา ผ้แู ทนราษฎร โดยไม่มีการแก้ไขให้ถือว่าร่างพระราชบัญญตั ิ น้ันได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแล้ว ให้นายกรฐั มนตรีนา ขึ้นทูลเกล้าถวายพระมหากษตั ริย์ภายใน 20 วันนับแต่วันที่ ได้รบั ร่างพระราชบญั ญัติน้นั จากรัฐสภา เพื่อทรงลงพระ ปรมาภิไธย และเมือ่ ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้ บงั คับเปน็ กฎหมายได้

การพจิ ารณาร่างพระราชบัญญตั ขิ องวุฒสิ ภ กระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญตั ิน้นั มีสาระสาคญั ทางกฎหมายทีต่ ้องพิจารณาในรายละเอียดตามแต่กรณีที่ เกิดขึ้น เช่น กรณีรัฐสภาให้ความเห็นชอบกบั ร่าง พระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนูญแล้ว ก่อนนาขึ้นทลู เกล้า ถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย ให้ส่งศาลรัฐธรรมนญู พิจารณาความชอบด้วยรฐั ธรรมนญู ซึง่ ต้องกระทาให้แล้ว เสรจ็ ภายใน 30 วัน นับแต่วันทีไ่ ด้รบั เรือ่ ง หรือในส่วนการ พิจารณาของวุฒิสภาอาจเกิดกรณีวฒุ ิสภาไม่เหน็ ชอบด้วยกบั สภาผู้แทนราษฎร กรณีวฒุ ิสภาแก้ไขเพิ่มเติม หรือกรณี พระมหากษตั ริย์ไม่ทรงเห็นชอบด้วย

การจดั ทาพระราชกฤษฎกี าRoyal Decree กฎหมายทีพ่ ระมหากษัตริย์ตราขึน้ โดยคาแนะนาของ คณะรฐั มนตรี ตามรัฐธรรมนูญการตราพระราช กฤษฎีกาจะเกดิ ขึ้นใน 3 กรณี คือ (1) ในกิจการที่สาคัญอนั เกีย่ วกับฝ่ายบริหารและฝา่ ยนิติ บัญญัติ (2) การตราพระราชกฤษฎีกาเพือ่ ใชก้ บั ฝ่ายบริหาร (3) โดยอาศยั อานาจตามกฎหมายแมบ่ ท (พระราชบัญญัติหรือพระราชกาหนด) ที่ใหอ้ านาจตรา พระราชกฤษฎีกาได้

เหตทุ ีก่ ฎหมายแมบ่ ทกาหนดแต่หลกั การ สว่ นรายละเอียดน้นั ให้ออกเป็นพระราชกฤษฎีกา 1. ทาให้กฎหมายแม่บทอ่านง่าย 2.ประหยดั เวลาของผ้บู ญั ญัติกฎหมายแม่บท ที่จะไม่ต้อง เสียเวลาพิจารณารายละเอียดปลีกย่อย 3.แก้ไขให้ทันกบั สภาวการณ์ที่เปลีย่ นแปลงไปได้ง่ายกว่า กฎหมายแม่บท

ผ้มู ีอานาจเสนอร่างพระราชกฤษฎีกา คือบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องหรือ ได้รักษาการตามกฎหมายแม่บทที่ให้ออกพระราชกฤษฎีกาน้นั ๆ ↓ ผ้มู ีอานาจพิจารณาร่างพระราชกฤษฎีกา คือ คณะรฐั มนตรี

กฎกระทรวง • เป็นกฎหมายที่รัฐมนตรีผู้รักษาการตาม กฎหมายแม่บทออกเพือ่ ดาเนินการใหเ้ ปน็ ไป ตามกฎหมายแม่บท เชน่ เรื่องคา่ ธรรมเนียม เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการในการขออนุญาต ต่าง ๆ เรือ่ งที่กฎหมายแมบ่ ทกาหนดให้ ออกเปน็ กฎกระทรวงมกั มีความสาคญั นอ้ ยกวา่ พระราชกฤษฎีกา

ผมู้ ีอานาจจดั ทา • ผมู้ ีอานาจเสนอรา่ งกฎกระทรวง คือ รฐั มนตรีผรู้ ักษาการ ตามกฎหมายแมบ่ ทซึ่งให้อานาจออกกฎกระทรวงน้นั ๆ •↓ • ผ้มู ีอานาจพิจารณาร่างกฎกระทรวง คือ คณะรฐั มนตรี

กฎหมายทต่ี ราโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • สาระสาคัญของหลักการกระจายอานาจประการหนึง่ ก็คือ การกระจายอานาจทางนิติบญั ญัติให้องคก์ รทอ้ งถิ่นเปน็ ผู้ กาหนดกฎหมายด้วยตนเอง สาหรับองคก์ รท้องถิ่นใน ประเทศไทย มีอานาจในการออกกฎหมายในรปู แบบต่าง ๆ ดงั นี้ • -ข้อบงั คบั ตาบล (องคก์ ารบริหารส่วนตาบล) • -เทศบัญญตั ิ (เทศบาล) • -ขอ้ บญั ญัติองค์การบริหารส่วนจงั หวดั • -ข้อบญั ญัติกรงุ เทพมหานคร • -ขอ้ บัญญตั ิเมืองพทั ยา

การใช้กฎหมาย (Application of Law) • การใช้กฎหมายในทางทฤษฎี (Theoretical application of Law) • การใช้กฎหมายในทางปฏบิ ตั ิ (Practical application of Law)

การใช้กฎหมายในทางทฤษฎี (Theoretical application of Law) • คือ การนากฎหมายไปใช้ในส่วนทเ่ี กย่ี วกบั • บุคคล • เวลา • สถานที่ • เงื่อนไขใด • สัมพนั ธ์กบั การร่างกฎหมาย ผู้ใช้คือ ผู้ร่างกฎหมาย

การใช้กฎหมายในทางปฏิบตั ิ (Practical application of Law) • คือ การนากฎหมายไปปรับกบั คดหี รือเหตุการณ์ เฉพาะเจาะจงเพ่ือวนิ ิจฉัยหาคาตอบทางกฎหมาย (ใช้จริง) • การตคี วามกฎหมาย • การอุดช่องว่างกฎหมาย • การใช้กฎหมายกบั ความยุตธิ รรม

การใช้กฎหมายในส่วนทเี่ กยี่ วกบั บุคคล •หลักดนิ แดน •กฎหมายย่อมใช้บังคับกบั บุคคลทกุ คนท่อี ย่ใู นดนิ แดน ของรัฐนัน้

ข้อยกเว้น • เอกสทิ ธ์ิ หรือสทิ ธพิ เิ ศษ (Privilege) คือ สทิ ธิเดด็ ขาดท่บี ุคคลอ่นื จะไม่สามารถ เข้ามาเก่ยี วข้องหรือนาไปฟ้องร้องใดๆได้ ไม่ว่าเวลาใด (ไม่ผิดกฎหมาย)

ความคุ้มกัน (immunity) ควา มคุ้ มครอง ตาม กฎ หมา ยที่จะไ ม่ ถู ก ดาเนินคดีในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง เม่ือพ้นเวลา แ ล้ ว ก็อ า จ ถู ก ด า เ นิ น ค ดีใ น ภ า ย ห ลัง ไ ด้

ขอ้ ยกเวน้ ตามกฎหมาย •1. รัฐธรรมนภูญายใน • กษัตริย์ตามหลัก King can do no wrong • ส.ส. วุฒิฯ ได้รับเอกสิทธ์ิในการแถลง ข้อเทจ็ จริงแสดงความคิดเหน็ รวมถึงผู้ พมิ พ์, โฆษณา, ประธานในท่ปี ระชุม อนุญาตให้แถลงข้อเทจ็ จริง

ยกเว้นมกี รณกี ารถ่ายทอดการประชุมสภา และข้อความดงั กล่าวไปปรากฏนอกห้องประชุมมี ผลกระทบบุคคลอื่นทไ่ี ม่ใช่รัฐมนตรีหรือสมาชิก รัฐสภา • สมาชิกรัฐสภาได้รับความคุ้มกันที่จะไม่ถูก ดาเนินคดใี นระหว่างสมยั การประชุมสภา • เว้นแต่ทป่ี ระชุมจะมมี ตไิ ม่ให้ ความคุ้มกนั

2. ตามกฎหมายอ่ืน ๆ เช่น พ.ร.บ.บัตรประจาตัวประชาชน ยกเว้นให้บคุ คลบางประเภทไม่ต้องมีบัตร ประจาตัวประชาชน

ตามกฎหมายระหวา่ ง ประเทศ • ประมุขของรัฐต่างประเทศ • ฑูต สมาชิกในคณะฑูต ครอบครัว บริวาร • กองทัพต่างประเทศท่เี ข้ามายดึ ครองจนทำให้ สูญเสียอำนำจอธิปไตย • องค์การระหว่างประเทศ

การใช้กฎหมายในส่วนทเ่ี กยี่ วกบั เวลา • วันเร่ิมใช้กฎหมาย • ร่างกฎหมายจะมผี ลบงั คบั เป็ นกฎหมายต่อเม่ือมี การประกาศในราชกจิ จานุเบกษาแล้ว • ส่วนวันเร่ิมใช้กฎหมาย จะเป็ นวันใดย่อมขึน้ อยู่กับ กฎหมายนัน้ ๆ จะระบุให้เร่ิมใช้วนั ใด ซ่งึ มักจะดู จากมาตรา 2 ดงั นี้



รูปแบบวนั เร่ิมใช้กฎหมาย 1.วันถัดจากวนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา 2.วนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา 3.วันเดือน ปี ในอนาคตหรือออก พ.ร.ฎ.ใช้บังคับ 4.วันก่อนวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาหรือ การใช้กฎหมายย้อนหลัง

การใชก้ ฎหมาย ย้อนหลงั • หลักท่วั ไป กฎหมายย่อมไม่มผี ลย้อนหลัง ไปกระทบสิทธิท่ไี ด้รับมาแล้ว • ข้อยกเว้น (ขึน้ อยู่กบั กฎหมายแต่ละประเภท)

กฎหมายอาญา คือกฎหมายท่บี ัญญัติว่าการกระทาอย่างไรเป็ น ความผดิ และกาหนดโทษไว้ ย่อมมีผลกระทบต่อสิทธิ เสรีภาพมาก •หลักท่วั ไป คอื กฎหมายอาญาย่อมไม่มผี ล ย้อนหลังไปลงโทษหรือเพ่มิ โทษแก่ผู้กระทาผดิ

ข้อยกเว้น คือ ย้อนหลังไปเป็ นคุณแก่ผู้กระทาผิดได้ 1.กฎหมายใหม่ยกเลกิ ความผดิ ตามกฎหมายเก่า ต้องถือว่าผู้กระทาไม่เคยกระทาผิดมาก่อนเลย 2.กฎหมายใหม่บญั ญัตคิ วามผิดแตกต่างจาก กฎหมายเก่า ให้ใช้กฎหมายใหม่เฉพาะในส่วนท่ี เป็ นคุณแก่ผู้กระทาผิดลงโทษ

กฎหมายแพ่ง ว่าด้วยเรื่องความสัมพนั ธ์ระหว่าง เอกชนด้วยกนั ต้งั แต่เกดิ จนกระท่ังตาย ซ่ึงส่วนใหญ่เอกชนมักจะได้รับสิทธิต่าง ๆ มาแล้วกฎหมายแพ่งจึงมกั ไม่มผี ลย้อนหลงั

กฎหมายมหาชน ว่าด้วยเร่ืองความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ (ประโยชน์ สาธารณะ)กับเอกชน(ประโยชน์ส่วนตวั ) ถ้ามีเหตผุ ลเพ่อื ประโยชน์สาธารณะแล้ว กฎหมายย่อมมผี ลย้อนหลังได้ (แต่ในทางปฏบิ ตั มิ กี รณีน้อยมากและทาใน ขอบเขตท่จี ากดั มาก)เช่น พรบ ภัยพบิ ัต(ิ สึนาม)ิ 2548 ยกเว้นมาตรา61แห่งปพพ.

กฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความ ว่าด้วยกติกาข้นั ตอนของการดาเนินคดี ไม่ เกย่ี วกบั หรือไม่กระทบต่อสิทธิทไ่ี ด้รับมาแล้วจึง มีผลย้อนหลงั ได้เสมอ

วันเลิกใช้กฎหมาย • หลกั เมื่อมีการประกาศใช้กฎหมายแล้ว กฎหมาย ย่อมมผี ลบังคบั ตลอดไปจนกว่าจะถูกยกเลกิ โดยชัดแจ้ง การยกเลกิ กฎหมาย โดยปริยาย

การยกเลกิ โดยชัดแจ้ง มีวธิ ีคือ • 1. ออกกฎหมายใหม่ ยกเลกิ กฎหมายเก่า (ดมู าตรา 3 ของกฎหมายใหม่) • 2. กฎหมายนัน้ ๆ กาหนดวันยกเลิกในกฎหมาย นัน้ เอง เช่น กาหนดให้ใช้บงั คับถงึ วันท่ที ่ี กาหนดหรือกาหนดไว้ในบทเฉพาะกาล • 3. การไม่อนุมัตพิ ระราชกาหนดโดยรัฐสภา

การยกเลกิ โดยปริยาย • 1. กฎหมายใหม่บัญญัตซิ า้ ในเร่ือง เดียวกนั กับกฎหมายเก่า • ถอื ว่าผู้ร่างกฎหมายใหม่มีเจตนารมณ์ ท่จี ะยกเลิกกฎหมายเก่าโดยปริยาย

ประมวลกฎหมายแพ่งฯ มาตรา ๔๔๘ สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายอนั เกดิ แต่มูลละเมดิ น้ัน ท่านว่าขาดอายุความเม่ือพ้นปี หนึ่งนับแต่วนั ทผ่ี ู้ต้อง เสียหายรู้ถึงการละเมดิ และรู้ตวั ผู้จะพงึ ต้องใช้ค่าสินไหม ทดแทน หรือเมื่อพ้นสิบปี นับแต่วนั ทาละเมดิ แต่ถ้าเรียกร้องค่าเสียหายในมูลอนั เป็ นความผดิ มโี ทษ ตามกฎหมายลกั ษณะอาญา และมกี าหนดอายคุ วามทางอาญา ยาวกว่าทก่ี ล่าวมาน้ันไซร้ ท่านให้เอาอายุความทย่ี าวกว่าน้ัน มาบังคบั

ประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญา • มาตรา ๕๑ ถา้ ไม่มีผใู้ ดฟ้องทางอาญา สิทธิของ ผเู้ สียหายที่จะฟ้องทางแพง่ เน่ืองจากความผดิ น้นั ยอ่ มระงบั ไปตามกาหนดเวลาดงั ที่บญั ญตั ิไวใ้ น ประมวลกฎหมายอาญาเร่ืองอายคุ วามฟ้อง คดีอาญา

การยกเลกิ โดยปริยาย • 2. การยกเลกิ กฎหมายแม่บท(พ.ร.บ.) ต้องถอื ว่ากฎหมายลาดับรองหรือ กฎหมายลูกบทถูกยกเลิกโดยปริยาย

• 3.ยกเลกิ รัฐธรรมนูญ ถอื ว่ากฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ถูกยกเลิกโดยปริยาย ได้แก่ พระราชบญั ญัตปิ ระกอบร.ธน. • ว่าด้วยการเลือกตงั้ ส.ส.และ ส.ว. • ว่าด้วยพรรคการเมอื ง • ว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตงั้ (ก.ก.ต. ) • ว่าด้วยคณะกรรมการการป.ป.ช. • ว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดนิ รัฐสภา • ว่าด้วยการตรวจเงนิ แผ่นดนิ • ว่าด้วยการลงประชามติ • ว่าด้วยวิธีฯศาลฎีกาแผนกคดอี าญาของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง • ว่าด้วยวิธีพจิ ารณาศาลรัฐธรรมนูญ

การใช้กฎหมายในส่วนท่เี กย่ี วกบั สถานที่ • หลักดนิ แดน (อานาจเหนือดนิ แดน) กฎหมายของรัฐใดย่อมบังคับกับ บุคคลทุกคนในดินแดนของรัฐนัน้ ราชอาณาจักรไทย มสี ่วนประกอบดงั นี้ • 1. อาณาเขตทางบก ได้แก่ พนื้ ดนิ ผวิ ดนิ ใต้ พนื้ ดนิ ท่อี ย่บู นแผ่นดนิ ใหญ่และเกาะภายใน ดนิ แดนของรัฐ






Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook