Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore slide

slide

Published by pim, 2019-07-01 00:21:37

Description: e1502882083

Search

Read the Text Version

2. อาณาเขตทางนา้ ได้แก่ •2.1 น่านนา้ ภายใน คือ แม่นา้ ทะเลสาบภายใน ดนิ แดนของรัฐ รวมถึงอ่าวประวัตศิ าสตร์ เช่น อ่าวไทย •2.2 ทะเลอาณาเขต คือ บริเวณซ่งึ นับจากจุดท่นี า้ ลดต่าสุดจากชายฝ่ังทะเลไป 12 ไมล์ทะเล

อ่าวไทย(น่านน้าภายใน) ทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเล ทะเลหลวง



ข้อแตกต่างระหว่างน่านน้าภายในกบั ทะเลอาณาเขตคือ • น่านนา้ ภายในประเทศไทยมีอานาจอธิปไตย โดยสมบรู ณ์ • ทะเลอาณาเขตรัฐชายฝ่ังจะต้องเปิ ดโอกาส ให้เดินเรือได้เสรี แต่ต้องเข้ามาโดยสุจริต และโดยสงบ

เขตต่อเนื่อง คือ บริเวณท่ีวดั จากขอบนอกสุดของทะเลอาณา เขต โดยวดั จากเส้นฐาน ออกไป 12 ไมล์ทะเล  มีอานาจป้องกนั ไม่ให้มีการฝ่ าฝื นกฎหมายว่าด้วย ศุลกากร การเข้าเมือง รัษฎากร และสุขาภิบาล การคุ้มครองวตั ถุโบราณหรือทางประวตั ศิ าสตร์

เขตเศรษฐกจิ จาเพาะ • บริเวณที่วัดจากชายฝ่ังไปไม่เกิน 200 ไมล์ทะเล หรือไม่เกิน 188 ไมล์ทะเล จากขอบนอกสุดของ ทะเลอาณาเขต 12 ไมล์ทะเล • มีอานาจสารวจ แสวงหาประโยชน์ อนุรักษ์ และ จัดการทรัพยากรธรรมชาตชิ ายฝั่ง

3.อาณาเขตทางอากาศ • ได้แก่ บริเวณอากาศเหนืออาณาเขต ทางนา้ และทางบกขนึ้ ไป จนถงึ ชัน้ บรรยากาศ • ส่วนอวกาศไม่มีประเทศใดมอี านาจ อธปิ ไตย

ข้อยกเว้นหลักดนิ แดน (กฎหมายไทยบงั คับนอกราชอาณาจักร) • 1. ตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการขัดกนั แห่ง กฎหมาย เช่น คนไทยสมรสกบั คนไทย หรือคนไทยสมรสกบั คนต่างด้าวกอ็ าจทา การสมรสตามกฎหมายไทย ณ สถานฑูต ไทยหรือสถานกงสุลไทยในต่างประเทศได้

2. กฎหมายอาญา หลักอานาจเหนือ บุคคลผู้กระทาผดิ เช่น 1. กระทาผิดบนเรือไทย หรืออากาศยานไทย 2. ผู้กระทาผิดเป็ นคนไทย/พนักงานของรัฐไทย 3. ผู้เสียหายเป็ นคนไทย/รัฐไทย 4. กระทาผดิ ระหว่างประเทศ เช่น ความผิดฐานโจรสลัด เป็ นภยั ต่อมนุษยชาติ หมายเหตุ : ข้อสาคัญบุคคลผู้กระทาผดิ ต้องเข้ามา อย่ใู นดนิ แดนของรัฐไทย

กฎหมายบางฉบับมขี อบเขตการบงั คับท่วั ราชอาณาจักร • เช่น ประมวลกฎหมายอาญา/แพ่งและ พาณิชย์เป็ นต้น

กฎหมายบางฉบับมขี อบเขตการบงั คับใช้ เฉพาะบางพนื้ ท่ี • 1. กฎหมายอสิ ลาม (ครอบครัว/มรดก) ใช้บงั คบั กับความสัมพันธ์ระหว่างคนท่นี ับถือศาสนา อิสลามด้วยกนั • มีภมู ิลาเนาภายใน 4 จงั หวัดภาคใต้ (ปัตตานี, ยะลา, นราธิวาส,และสตลู )

2. กฎหมายขององค์กรปกครองท้องถนิ่ เช่น เทศบญั ญตั ิใช้บังคบั เฉพาะเขตเทศบาลน้ัน 3. กฎหมายแม่บท จะบงั คบั ทใี่ ดให้ตรา พ.ร.ฎ. กาหนดพืน้ ทใี่ ช้กฎหมาย เช่น พ.ร.ฎ. ประกาศใช้กฎอยั การศึก ในเขตพืน้ ทใ่ี ดพืน้ ที่ หนึ่งของประเทศ เป็ นต้น

การตคี วามกฎหมาย (interpretation) คือการค้นหาความหมายของบทบญั ญตั ิกฎหมาย ทคี่ ลมุ เครือโดยวธิ ีใช้เหตุผลเชิงหลกั ตรรกวทิ ยา ทฤษฎแี ละสามญั สานึกเพื่อทจี่ ะได้ความหมาย ทชี่ ัดเจนแล้วนาไปปรับกบั คดหี รือเหตุการณ์ได้ อย่างถูกต้องเป็ นธรรม

สาเหตุทตี่ ้องตคี วามกฎหมาย • การเขียนกฎหมายย่ิงสัน้ เท่าไหร่ กฎหมายก็ย่ิง ยาวเท่านัน้ และในทางกลับกนั การเขียนกฎหมาย ย่งิ ยาวเท่าไหร่ กฎหมายกย็ ่งิ สัน้ เข้าเท่านัน้ • เทคนิคการเขียนกฎหมาย ต้องใช้ถ้อยคาท่ีรัดกุม ไม่สัน้ ไม่ยาวเกินไป มีแนวทางขอบเขตการ ตีความบ้าง แล้ วปล่ อยให้เป็ นหน้ าท่ีของนัก กฎหมายตีความขยายความออกไป

(๕) “อาวุธ”คือ อะไร

(๕) “อาวุธ”คือ • หมายความรวมถงึ ส่ิงซ่ึงไม่เป็ นอาวุธ โดยสภาพ แต่ซึ่งได้ใช้หรือเจตนาจะใช้ ประทุษร้ายร่างกายถงึ อนั ตรายสาหัส อย่างอาวุธ

หลักเกณฑ์ท่วั ไปในการตีความกฎหมาย • ป.พ.พ. ม. 4 “กฎหมายน้ันต้องใช้ในบรรดากรณี ซึ่งต้องด้วยบทบญั ญตั ิใด ๆ แห่งกฎหมายตาม ตัวอกั ษร หรือ ตามความมุ่งหมายของ บทบญั ญตั ิน้ัน ๆ

เม่ือไม่มีบทกฎหมายทจ่ี ะยกมาปรับคดไี ด้ 1. ให้วนิ ิจฉัยคดนี ้ันตามจารีตประเพณแี ห่งท้องถน่ิ ถ้าไม่มจี ารีตประเพณเี ช่นว่า 2. ให้วนิ ิจฉัยคดอี าศัยเทียบกฎหมายท่ใี กล้เคยี งอย่างยงิ่ ถ้าบทกฎหมายเช่นว่าน้ันกไ็ ม่มีด้วย 3. ให้วนิ ิจฉัยตามหลกั กฎหมายทวั่ ไป

มาตรา 4ได้วางหลกั เกณฑ์ 3 เรื่อง • 1.ท่มี าของกฎหมาย • 2.การตีความกฎหมาย • 3.การอุดช่องของกฎหมาย

หา้ มเดินลดั สนาม

หลักการตีความกฎหมาย • ตคี วามตามตัวอักษร และ /หรือ เจตนารมณ์ของกฎหมายไปพร้อม ๆ กนั จงึ จะได้ความหมายที่แท้จริง

1. การตคี วามตามตวั อกั ษร (grammatical or literal interpretation) • ผู้ตคี วามอาจค้นหาความหมายของบทบัญญตั ไิ ด้โดย การค้นหาจากถ้อยคาตัวบทลายลกั ษณ์อกั ษร • 1.1ถ้าเป็ นคาศัพท์ธรรมดาต้องเข้าใจอย่างธรรมดา แต่ถ้าเป็ นคาศัพท์กฎหมายจะมีความหมายแตกต่าง จากธรรมดาสามัญ

คาศัพท์กฎหมาย อาจเกดิ จาก • คาอธิบายของนักนติ ศิ าสตร์ • คาพพิ ากษาของศาล • ผูร้ า่ งกฎหมายใหค้ านิยาม ศัพท์

เกดิ จากคาอธบิ ายของ นักนิตศิ าสตร์ • คาว่า โมฆะหมายถงึ การกระทา ท่ีทาขนึ้ แล้วเสียเปล่า ต้งั แต่เร่ิมต้นเสมือนหนึ่งว่าไม่ได้ทาคู่กรณไี ม่สามารถ อ้างการกระทาน้ันเพ่ือให้มีผลทางกฎหมายได้ • โมฆยี ะ • หนี้ ได้แก่หนีท้ ่เี ป็ น1 การส่งมอบทรัพย์สิน 2 กระทาการ หรือ 3 งดเว้นกระทาการ

เกดิ จากคาพพิ ากษาของศาล • คาว่า ผู้เสียหาย หมายถงึ ผู้ทไ่ี ด้รับความรับความ เสียหายจากการกระทาผดิ อาญาและต้องเป็ น ผู้เสียหายโดยนิตนิ ัยด้วย • ฎกี าท2่ี 23-224/2513โจทก์จาเลยต่าง สมคั รใจเข้าววิ าททาร้ายร่างกายซึ่งกนั และกนั โจทก์จงึ ไม่ไช่ผู้เสียหายโดยนิตนิ ัยไม่มีอานาจ

เกดิ จากผูร้ า่ งกฎหมายให้ • คานิยามศัพท์ ผู้ร่างกฎหมายมกั มเี หตุผลทางเทคนิคใน การบัญญัติคานิยามศัพท์ให้แตกต่างไปจาก ความหมายธรรมดาสามญั เพื่อประโยชน์ ของการใช้กฎหมายน้ัน เช่น

ตามกฎหมายห้ามจับสัตว์นา้ • บญั ญตั คิ านิยามศัพท์ คาว่า สัตว์นา้ หมายถงึ ก้งุ หอย ปู ปลา ปะการัง และให้ หมายความรวมถงึ สาหร่ายทะเลด้วย • เพ่ือไม่ต้องเขียนก.มสองฉบับทีม่ ีหลกั การ เดยี วกนั

1.2ให้พจิ ารณาตาแหน่งของถ้อยคาตัวบทน้ันด้วยว่า เป็ นกฎหมายประเภทใด ความหมายอาจแตกต่างกนั ได้ เมื่ออยู่คนละตาแหน่งเช่น • คาว่า บิดา ในก.มแพ่งหมายถงึ บดิ าที่ชอบด้วยก.ม • แต่ คาว่า บิดา ในป.ว.ิ อาญา(ม.29 เมื่อผู้เสียหายได้ ย่ืนฟ้องแล้วตายลง ผู้บุพการี ผู้สืบสันดาน …จะ ดาเนินคดตี ่างผู้ตายต่อไปกไ็ ด้) หมายถงึ บิดาในความ เป็ นจริง ดงั น้ันบุตรนอก ก.มย่อมมสี ิทธิขอเป็ นโจทก์ ร่วมกบั อยั การได้

1.3ในกรณที ีต่ วั บทภาษาไทยไม่ชัดเจนให้ดู ตวั บทภาษาองั กฤษประกอบ

ป.พ.พ มาตรา 15 บัญญัตวิ ่าสภาพบคุ คล ย่อมเร่ิมเม่ือคลอด และอยู่รอดเป็ นทารก คาว่า คลอด หมายความว่าอย่างไร •Personality begins with the full completion of birth หมายถงึ การคลอดหมดตวั (อวยั วะทกุ ส่วนพ้น จากตัวมารดาโดยไม่จาเป็ นต้องตัดสายรก)

มาตรา1 6 3 0 … .ให้บิดามารดาได้ส่วนแบ่งมรดก เสมือนทายาทช้ันบุตร • ปัญหาว่าบิดามารดา สองคนรวมกนั ได้ 1 ส่วน หรื อคนละส่ วน • “…in such case each parent is entitled to the same share as an heir in the degree of children”

ทายาท ทายาทโดยธรรม ผู้รับพนิ ัยกรรม ญาติ คู่สมรส หลยกั กญเวา้นต[ิส1น]ิทไตมดั่ตญดั [าต2หิ ]่าง •ถ้ามี 1ได้เสมือนทายาทช้ันบุตร 1.ผู้สืบสันดาน •ถ้าไม่มี 1 แต่มี 2 หรือ 3 ได้ 2.บิดามารดา 1/2 3.พน่ี ้องร่วมบิดามารดา •ถ้ามี 4 หรือ5 หรือ6 ได้ 2/3 เดยี วกนั •ถ้าไม่มี 1-6 ได้ส่วนแบ่ง 4.พนี่ ้องร่วมบดิ าหรือมารดา ท้งั หมด เดยี วกนั 5.ป่ ู ย่า ตา ยาย

2.การตคี วามในทางตรรกวทิ ยาหรือ การตีความตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย (logical interpretation) • กฎหมายเป็ นกฎเกณฑ์ทมี่ คี วามเป็ นเหตุเป็ นผล และอาศัยหลกั เหตุผลทางตรรกวทิ ยาท้งั ในแง่ การร่างกฎหมาย การตคี วาม และการต่อสู้คดี

ทฤษฎกี ารตีความกฎหมาย • ทฤษฎอี าเภอจิตต์(Subjective theory) • ทฤษฎอี าเภอการณ์(Objective theory)

ทฤษฎอี าเภอจิตต์(Subjective theory) • ถือว่าผู้ตคี วามจะต้องค้นหา ความมุ่งหมาย ของกฎหมายจาก เจตนารมณ์ทแ่ี ท้จริงของ ผู้บญั ญตั กิ ฎหมายในขณะน้ัน ซ่ึงได้ แสดงออกทางตัวบทลายลกั ษณ์อกั ษรจะ ตคี วามเป็ นอย่างอื่นไม่ได้

ทฤษฎอี าเภอการณ์(Objective theory) • ถือว่าผู้ตคี วามสามารถค้นหาความมุ่งหมายของ กฎหมายเป็ นอสิ ระจากเจตนารมณ์ทแ่ี ท้จริงของ ผู้บญั ญตั กิ ฎหมายในขณะน้ันได้ • กฎหมายมวี วิ ฒั นาการยืดหยุ่นเปลยี่ นแปลงปรับ ให้เข้ากบั สภาพความของสังคมแต่ละยุคสมัย

การตีความในเชิงสังคมวทิ ยา (Sociological interpretation) • เป็ นการค้นหาเจตนารมณ์ของกฎหมายโดยคานึงถึง สภาพแวดล้อมทางสังคมและวฒั นธรรมของแต่ละ สังคมซึ่งอาจมกี ารเปลยี่ นแปลงยืดหยุ่นได้ความหมาย ของบทบัญญัตยิ ่อมมคี วามหมายแตกต่างกนั ไปตาม มาตรฐานของแต่ละสังคม เช่น การทาแท้งเสรีในบาง ประเทศทาได้แต่บางประเทศทาไม่ได้ แค่ไหนเป็ น อนาจารขอบเขตต่างกนั ในแต่ละประเทศ

การตีความอาศัยความเป็ นมาทางประวตั ิศาสตร์ (Historical interpretation) • เป็ นการค้นหาเจตนารมณ์ของกฎหมายโดย อาศัยความเป็ นมาทางประวตั ศิ าสตร์ สาเหตุของปัญหาทต่ี ้องบัญญตั กิ ฎหมายออกมา ซ่ึงดูได้จากหลกั การและเหตุผลของร่างกฎหมาย รายงานประชุมของคณะกรรมาธิการ/สภา ถามผู้ร่าง กฎหมาย

การค้นหาเจตนารมณ์ของกฎหมาย • ก.เหตุผลของผู้บญั ญตั กิ ฎหมาย • ข.ทฤษฎที างกฎหมาย • ค.หลกั ความยุตธิ รรม • ง.แนวคดิ ทางการเมือง เศรษฐกจิ และสังคม • จ.คาพพิ ากษาบรรทดั ฐาน • ฉ.สถานการณ์ปัจจุบัน

ก.เหตุผลของผู้บัญญตั ิกฎหมาย • ค้นได้จากคาปรารภของกฎหมาย หลกั การและ เหตุผลของร่างกฎหมาย รายงานการประชุม ของกรรมาธิการ /สภา เช่น ส.ป.ก4-01ตาม พ.ร.บปฏริ ูปทด่ี นิ ออกให้กบั เกษตรกรผู้ทมี่ ี ฐานะยากจน ไม่มีทดี่ นิ ทากนิ เพ่ือแก้ปัญหา ประชาชนไม่มที ด่ี นิ ทากนิ

ข.ทฤษฎที างกฎหมาย • ทฤษฎคี วามเป็ นนิตบิ ุคคลโดยสภาพ ถ้ามกี ารรวมตวั ของกล่มุ ผลประโยชน์จริง มี วตั ถุประสงค์ทแ่ี น่นอน และมกี ารจดั องค์กร พอทจี่ ะปกป้องผลของกลุ่มผลประโยชน์ได้ย่อม มฐี านะเป็ น นิตบิ ุคคลโดยสภาพ • ดงั น้ันรัฐย่อมมฐี านะเป็ น นิตบิ ุคคลโดยสภาพ

ค.หลกั ความยุตธิ รรม • ฎกี าท3ี่ 41/2502 บุตรนอกกฎหมายทบี่ ดิ า รับรองแล้วย่อมหมายความรวมถงึ การรับรองบุตรใน ครรภ์มารดาด้วยเพื่อคุ้มครองผลประโยชน์ของเดก็

ง.แนวคดิ ทางการเมือง เศรษฐกจิ และสังคม • แนวคดิ รัฐธรรมนูญนิยม(Constitutionalism) • หลกั ความศักด์สิ ิทธ์ิในกรรมสิทธ์ิ • หลกั สิทธิมนุษยชน ศักด์ศิ รีความเป็ นมนุษย์ • แนวคดิ รัฐสวสั ดกิ าร(Welfair State)

จ.คาพพิ ากษาบรรทัดฐาน • ศาลวางหลกั ความยนิ ยอมไม่เป็ นละเมิด • ผู้เสียหายทมี่ อี านาจฟ้องต้องไม่มสี ่วนร่วมใน ความผดิ น้ันด้วย

ฉ.สถานการณ์ปัจจุบนั • การวนิ ิจฉัยการตายให้ถือการหยุดหายใจและ หัวใจหยุดเต้นแต่ปัจจุบนั เพื่อให้การปลูกถ่าย เปลยี่ นอวยั วะได้ผลจึงใช้การวนิ ิจฉัยสมอง ตายแทน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook