Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โรงเรียนสุจริตคิดฐานสอง

โรงเรียนสุจริตคิดฐานสอง

Published by Plaifa Amornrattakun, 2019-06-22 15:00:09

Description: โรงเรียนสุจริตคิดฐานสอง

Search

Read the Text Version

โรงเรียนสุจริตคิดฐานสอง คาํ นาํ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสํานักพัฒนานวัตกรรม การจัดการศึกษาไดดําเนินการปองกันการทุจริตคอรรัปชัน โดยการปลูกฝงใหผูเรียน เกิดคณุ ลกั ษณะ 5 ประการ ไดแก ทักษะกระบวนการคิด มวี นิ ยั ซ่อื สตั ยสุจรติ อยอู ยางพอเพยี ง และจิตสาธารณะ ผานกิจกรรมการดําเนินโครงการเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรมและ ธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “ปองกันการทุจริต” (โครงการโรงเรียนสุจริต) พรอมท้ัง ดําเนินการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ โดยประเมินสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และโรงเรียนในสังกัดท่ีเขาโครงการโรงเรียนสุจริต ซึ่งผลจากการประเมินที่ไดจะเปนกระจกเงาสะทอนผลการดําเนินงานของสํานักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาและโรงเรยี นสจุ รติ วา มกี ารดาํ เนนิ งานทโี่ ปรง ใสมากนอ ยเพยี งใด และเพอ่ื ใหเ กดิ ความ ตอเนื่องในการดําเนินการปลูกฝงคุณลักษณะ 5 ประการของโรงเรียนสุจริต สํานักพัฒนา นวตั กรรมการจดั การศกึ ษาจงึ รว มกบั สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหงชาติ (สาํ นักงาน ป.ป.ช.) นาํ ระบบคิดฐานสองมาใชเปน แนวทางในการพัฒนานกั เรยี นและ บุคลากรในสังกดั ซ่งึ ระบบคิดฐานสองเปนระบบการคิดวิเคราะหข อ มลู ทส่ี ามารถเลอื กไดเพียง สองทางเทาน้ัน จึงเหมาะตอการนํามาเปรียบเทียบกับการปฏิบัติงานของเจาหนาที่รัฐ ที่ตอง สามารถแยกเรอ่ื งตาํ แหนง หนา ทก่ี บั เรอ่ื งสว นตวั ออกจากกนั ไดอ ยา งเดด็ ขาด มกี ารทาํ งานทตี่ อ ง ยึดประโยชนสวนรวมเปนหลัก อันจะสงผลใหปญหาการทุจริตคอรรัปชันลดลง สงผลใหการ ปฏิบัติงานเกิดความโปรง ใสและเปนธรรมมากขึ้น สาํ นักพฒั นานวตั กรรมการจดั การศึกษา หวงั เปนอยา งยิง่ วาหนงั สอื “โรงเรียนสจุ รติ คดิ ฐานสอง” ทีจ่ ดั ทําข้ึนน้ี จะเปนประโยชนแ กน กั เรยี นและผูเกี่ยวขอ งทุกฝาย และขอขอบคณุ คณะผูจ ดั ทําทุกทานไว ณ โอกาสนด้ี วย สาํ นกั พัฒนานวตั กรรมการจดั การศกึ ษา สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน

âç àÃÕ Â ¹ Êب ÃÔ μ ¤Ô ´ ° Ò ¹ ÊÍ § กระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน Ministry of Education Office of the Basic Education Commission

โรงเรยี นสจุ ริตคิดฐานสอง พิมพค์ รง้ั ท่ี 1 พ.ศ. 2560 จ�ำ นวนพิมพ ์ 3,000 เลม่ ผู้จัดพิมพ์ สำ�นักพฒั นานวัตกรรมการจดั การศกึ ษา ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ พมิ พ์ที่ โรงพิมพช์ มุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ�กัด 79 ถนนงามวงศว์ าน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรุงเทพมหานคร 10900 โทร. 0-2561-4567 โทรสาร 0-2579-5101 นายโชคดี ออสวุ รรณ นายโชคดี ออสวุ รรณ ผพู้ ิมพ์ผโู้ ฆษณา

คาํ นาํ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสํานักพัฒนานวัตกรรม การจัดการศึกษาไดดําเนินการปองกันการทุจริตคอรรัปชัน โดยการปลูกฝงใหผูเรียน เกิดคณุ ลกั ษณะ 5 ประการ ไดแก ทักษะกระบวนการคิด มวี นิ ยั ซ่อื สตั ยสุจรติ อยอู ยางพอเพยี ง และจิตสาธารณะ ผานกิจกรรมการดําเนินโครงการเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรมและ ธรรมาภิบาลในสถานศึกษา “ปองกันการทุจริต” (โครงการโรงเรียนสุจริต) พรอมท้ัง ดําเนินการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ โดยประเมินสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และโรงเรียนในสังกัดท่ีเขาโครงการโรงเรียนสุจริต ซึ่งผลจากการประเมินที่ไดจะเปนกระจกเงาสะทอนผลการดําเนินงานของสํานักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาและโรงเรยี นสจุ รติ วา มกี ารดาํ เนนิ งานทโี่ ปรง ใสมากนอ ยเพยี งใด และเพอ่ื ใหเ กดิ ความ ตอเนื่องในการดําเนินการปลูกฝงคุณลักษณะ 5 ประการของโรงเรียนสุจริต สํานักพัฒนา นวตั กรรมการจดั การศกึ ษาจงึ รว มกบั สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหงชาติ (สาํ นักงาน ป.ป.ช.) นาํ ระบบคิดฐานสองมาใชเปน แนวทางในการพัฒนานกั เรยี นและ บุคลากรในสังกดั ซ่งึ ระบบคิดฐานสองเปนระบบการคิดวิเคราะหข อ มลู ทส่ี ามารถเลอื กไดเพียง สองทางเทาน้ัน จึงเหมาะตอการนํามาเปรียบเทียบกับการปฏิบัติงานของเจาหนาที่รัฐ ที่ตอง สามารถแยกเรอ่ื งตาํ แหนง หนา ทก่ี บั เรอ่ื งสว นตวั ออกจากกนั ไดอ ยา งเดด็ ขาด มกี ารทาํ งานทตี่ อ ง ยึดประโยชนสวนรวมเปนหลัก อันจะสงผลใหปญหาการทุจริตคอรรัปชันลดลง สงผลใหการ ปฏิบัติงานเกิดความโปรง ใสและเปนธรรมมากขึ้น สาํ นักพฒั นานวตั กรรมการจดั การศึกษา หวงั เปนอยา งยิง่ วาหนงั สอื “โรงเรียนสจุ รติ คดิ ฐานสอง” ทีจ่ ดั ทําข้ึนน้ี จะเปนประโยชนแ กน กั เรยี นและผูเกี่ยวขอ งทุกฝาย และขอขอบคณุ คณะผูจ ดั ทําทุกทานไว ณ โอกาสนด้ี วย สาํ นกั พัฒนานวตั กรรมการจดั การศกึ ษา สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน



สารบัญ หนา คํานํา สารบญั ความเปน มา.............................................................................................................................1 แบบสังเกตพฤติกรรมเด็กปฐมวัย.............................................................................................6 แบบทดสอบเบ้ืองตนเกีย่ วกับระบบความคิดของนกั เรียน ช้ันประถมศึกษาปท ่ี 1-3 ...............8 เฉลยแบบทดสอบเบอ้ื งตน เกย่ี วกบั ระบบความคดิ ของนกั เรยี น ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 1-3.......10 แบบทดสอบเบอื้ งตนเก่ียวกับระบบความคิดของนักเรยี น ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 4-6 .............14 เฉลยแบบทดสอบเบอื้ งตน เกย่ี วกบั ระบบความคดิ ของนกั เรยี น ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 4-6.........17 แบบทดสอบเบอ้ื งตน เกีย่ วกับระบบความคิดของนกั เรียน ชัน้ มธั ยมศึกษาปท ี่ 1-3.................20 เฉลยแบบทดสอบเบ้อื งตน เกี่ยวกับระบบความคิดของนกั เรียน ช้นั มัธยมศกึ ษาปที่ 1-3........22 แบบทดสอบเบื้องตนเก่ยี วกับระบบความคดิ ของนกั เรยี น ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 4-6.................25 เฉลยแบบทดสอบเบือ้ งตน เกี่ยวกบั ระบบความคดิ ของนักเรยี น ช้นั มัธยมศึกษาปท่ี 4-6........27 เรยี นรอู ยางเขา ใจมอี ะไรใน “ระบบคิดฐานสอง”………..………………………………………….....….31 ระบบคดิ ฐานสบิ (Analog)..........................................................................................32 ระบบฐานสอง (Digital) .........................................................................................33 ความแตกตางระหวางจรยิ ธรรมและการทจุ รติ .......................................................36 การขดั กนั ระหวา งประโยชนส ว นบคุ คลและผลประโยชนส ว นรวม...........................38 ประโยชนส ว นบคุ คลและประโยชนส ว นรวม.............................................................40 ผลประโยชนท บั ซอ น................................................................................................42 รปู แบบของผลประโยชนท บั ซอ น.............................................................................45 แนวทางการพฒั นาโรงเรยี นสจุ รติ “ระบบคดิ ฐานสอง”..........................................................48 การกาํ หนดนโยบาย................................................................................................................51 การสรางความเขาใจ..............................................................................................................52 การพฒั นาบคุ ลากร.................................................................................................................53

สารบัญ (ตอ่ ) การตดิ ตาม..............................................................................................................................54 การประเมนิ .............................................................................................................................55 การแลกเปลยี่ นเรยี นร.ู ............................................................................................................56 การรายงานผลการพฒั นา.......................................................................................................57 ตวั อยา งผลการพัฒนาโรงเรยี นสุจริต “ระบบคดิ ฐานสอง” (สํานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา)....58 ตวั อยางผลการพัฒนาโรงเรียนสจุ รติ “ระบบคิดฐานสอง” (ผูบรหิ ารโรงเรียน)......................68 ตัวอยา งผลการพฒั นาโรงเรียนสุจรติ “ระบบคิดฐานสอง” (ครู).............................................77 ตวั อยา งผลการพฒั นาโรงเรยี นสจุ รติ “ระบบคดิ ฐานสอง” (นกั เรยี น).....................................80 ตวั อยา งผลการพฒั นาโรงเรยี นสจุ รติ “ระบบคดิ ฐานสอง” (ผปู กครองและชมุ ชน)..................83 ตัวอยา งแนวทางการพฒั นาบคุ ลากรเพอ่ื ใหเกิดระบบการคดิ ฐานสอง (สาํ หรบั สํานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา)....................................................................................86 แนวทางการพฒั นาโรงเรียนสจุ ริต เพอ่ื สรางความตระหนกั ใหเ กิด “ระบบคิดฐานสอง” (สาํ หรบั ผบู รหิ ารโรงเรยี น)...............................................................................………………………87 แนวทางการพัฒนาโรงเรียนสุจริต เพอ่ื สรางความตระหนกั ใหเกิด “ระบบคดิ ฐานสอง” (สาํ หรบั คร)ู ..............................................................................................................................88 แนวทางการพฒั นาโรงเรียนสจุ ริต เพอื่ สรา งความตระหนักใหเกดิ “ระบบคดิ ฐานสอง” (สาํ หรบั นกั เรยี น)......................................................................................................................88 แนวทางการพัฒนาโรงเรยี นสุจริต เพอื่ สรา งความตระหนักใหเกดิ “ระบบคดิ ฐานสอง” (สาํ หรบั ผปู กครองและชมุ ชน)..................................................................................................89 ภาพความสาํ เรจ็ ของโรงเรยี นสจุ รติ “ระบบคดิ ฐานสอง”.......………………………………………....…..90 ระดบั โรงเรยี น (เจา หนา ทขี่ องรฐั ).............................................................................93 ระดบั โรงเรยี น (ผรู บั บรกิ าร).....................................................................................95 ระดบั ชมุ ชน..............................................................................................................97 ระดบั ประเทศ..........................................................................................................98 คณะทาํ งาน..............................................................................................................................99

“ ความซ่ือสตั ยสจุ ริตน้ี คือไมโ กง คือไมค อรร ัปชนั คือไมขโมย ไมท จุ ริต น่กี ็พูดไดง า ย ๆ แตปฏบิ ตั ิไดหรอื เปลา เพราะบางอยางมนั ไมใ ชขโมย บางอยา ง ไมใ ชค อรร ัปชัน บางอยางไมใ ชทุจริต แตวา เปนการทําใหค นอ่ืนเขาทุจรติ ได” พระราชดํารสั พระราชทานแกคณะบุคคลทเี่ ขาเฝา ฯ ณ ศาลาดุสดิ าลัย ๔ ธันวาคม ๒๕๒๑



ความเป็นมา อีกท้ังยังทําใหนักลงทุนขาดความเช่ือมั่น ในระบบราชการไทยท่ีมักจะมีการใชอํานาจ การคอรรัปชัน (Corruption) โดยมชิ อบ เปนปญหาที่เกิดขึ้นและถูกส่ังสมมาเปนระยะ เวลานานในสังคมไทย โดยผลกระทบจาก ป  ญ ห า ก า ร ค อ ร  รั ป ชั น ดั ง ก ล  า ว การคอรรัปชันจะสงผลโดยตรงตอการพัฒนา ย่ิงแสดงใหเห็นชัดเจนมากข้ึน จากผลการ ประเทศ ท้ังในดานการบริหารจัดการ จัดอันดับดัชนีชี้วัดภาพลักษณคอรรัปชัน งบประมาณ การจัดสรรทรัพยากรท่ีมีอยู ที่จัดโดยองคกรเพื่อความโปรงใสระหวาง ใหเกิดประโยชนสูงสุด รวมไปถึงการพัฒนา ประเทศ (Transparency International) ทรัพยากรบุคคลใหกลายเปนกําลังสําคัญ ประจําป 2558 พบวา ประเทศไทยไดคะแนน ของประเทศชาติ ซ่ึงในปจจุบันประเทศไทย 38 คะแนนจากคะแนนเต็ม 100 คะแนน ไดพยายามแกไขปญหาดังกลาว โดยการ ถูกจัดอยูในอันดับท่ี 76 จาก 168 ประเทศ กําหนดใหป ญหาการคอรร ัปชัน เปนนโยบาย ท่ัวโลก และเปนอันดับท่ี 3 ในกลุมประเทศ สําคัญในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย อาเซยี นรองจากประเทศสงิ คโปรแ ละประเทศ และมีการกําหนดแนวทางแกไขปญหา มาเลเซยี โดยผลการจดั อันดับพบวา ประเทศ คอรรัปชันในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เดนมารกเปนประเทศท่ีไดคะแนนสูงท่ีสุด แหงชาติฉบับตางๆ แตท้ังน้ีการแกไขปญหา เปนอนั ดับหนง่ึ ตดิ ตอกันเปนปทีส่ อง คอื 91 คอรร ปั ชนั กย็ งั ไมเ กดิ เปน รปู ธรรมอยา งแทจ รงิ คะแนน (ทีม่ า: http://www.transparency.org/ อกี ทง้ั ยงั ไดท วคี วามรนุ แรงและมคี วามซบั ซอ น สืบคนเมื่อ 26 ธันวาคม 2559) และจาก ยากตอการตรวจสอบมากขึ้นเร่ือยๆ โดยจาก การวิเคราะหผลการจัดอันดับดังกลาวอยาง ผลการวิจัยพบวา ในแตละปพอคาและ ตอเนื่องเปนประจําทุกป สามารถวิเคราะห นักธุรกิจกวา 80 เปอรเซ็นตตองสูญเสียเงิน ไดว ากลมุ ประเทศทไี่ ดคะแนนสูง คอื 70, 80 ใหกับการคอรรัปชันเปน จํานวนสูงถึงเกือบ 3 หรือ 90 คะแนน สวนใหญอยูในยุโรป แสนลา นบาท ซงึ่ เงินจํานวนนีส้ ามารถอาํ นวย ตอนเหนอื อาทิ เดนมารก ฟนแลนด นอรเ วย ประโยชนแกคนสวนใหญของประเทศได สวีเดน ฯลฯ ซึ่งประเทศเหลานี้มีประเด็น ทําใหรัฐตองจายเงินงบประมาณสูงกวาท่ีเปน ที่เปน จดุ รว มกนั คือ จริง สงผลใหประชาชนตองไดรับบริการ สาธารณะที่ไมม คี ุณภาพ 1) มีการบังคับใชกฎหมายและ กระบวนการยุติธรรม เพ่ือตอสูกับปญหา คอรรปั ชนั มายาวนานและจรงิ จัง สุจริต คดิ ฐานสอง 1

2) มีความสามารถในการลดความ ซงึ่ กาํ หนดใหเ ปนแผนงานและโครงการสําคญั เหลื่อมลํ้าดานรายไดของประชาชน ทําให ขอ ที่ 4.9 วา ดวยการสรา งกลไก “ยับยั้ง” และ ประชาชนมีฐานะใกลเคียงกัน (จํานวนคน “สรางความตระหนักรู” เพื่อปองกัน ช้ันกลางมีจํานวนประมาณรอยละ 80 การทุจริต ท่ีมุงเนนการเสริมสรางคุณธรรม ของประชากรทัง้ หมด) จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา 3) สงเสริมการมีสวนรวมของ ภายใตกรอบแนวคิด “โรงเรียนสุจริต” ประชาชนและประชาสังคมในดานความ เพื่อสรางองคความรูและกระบวนการเรียนรู โปรงใสของการบริหารภาครัฐ การใชอํานาจ ที่เทาทันตอการเปลี่ยนแปลง ปลูกจิตสํานึก ของฝายการเมือง ฯลฯ ซึ่งเปนองคประกอบ ทักษะกระบวนการคิด มีวินัย ซ่ือสัตย สําคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตย อยูอยางพอเพยี ง จติ สาธารณะ โดยเฉพาะมงุ เนน เสรภี าพและมาตรฐานความ น อ ก จ า ก แ ผ น พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ รับผดิ ชอบของสื่อสารมวลชน และสังคมแหงชาติท่ีเปรียบเสมือนเข็มทิศ ซึ่งแตกตางจากกลุมประเทศกําลัง ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ แ ล  ว พัฒนาที่มีแนวโนมของการคอรรัปชันเพ่ิมข้ึน ประเทศไทยไดกําหนดใหมียุทธศาสตรชาติ อยางตอเน่ือง สงผลใหประเทศกําลังพัฒนา วาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต แตล ะประเทศ พยายามหาแนวทางและวธิ กี าร ที่มีเน้ือหาเกี่ยวกับการปองกันการคอรรัปชัน แกไ ขปญ หาดงั กลา วเพอ่ื สรา งภาพลกั ษณ และ ข้ึนโดยเฉพาะ เพ่ือเปนแนวทางในการ สรางความเช่ือมั่นในการลงทุนใหกับประเทศ ดําเนินงานของหนวยงาน และองคกรภายใน ของตนเอง (ชัยณรงค อินทรมีทรัพย, 2559) ประเทศมาอยา งตอเนื่อง ไดแก ประเทศไทยไดก าํ หนดใหม มี าตรการ 1) ยุทธศาสตรชาติวาดวยการ ปองกันและปราบปรามคอรรัปชันเปนวาระ ปองกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 1 สําคัญของชาติโดยกําหนดไวอยางชัดเจน (พ.ศ.2551 - 2555) ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 2) ยุทธศาสตรชาติวาดวยการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564) (คณะรฐั มนตรี ปองกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 2 มีมติเห็นชอบในการประชุมเมื่อวันท่ี 13 (พ.ศ.2556 – 2560) กันยายน พ.ศ.2559) ยุทธศาสตรท่ี 6 3) ยุทธศาสตรชาติวาดวยการ การบริหารจัดการในภาครัฐ การปองกัน ปองกันและปราบปรามการทุจริต ระยะท่ี 3 การทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาล (พ.ศ.2560 – 2564) ในสังคมไทย 2 สจุ รติ คดิ ฐานสอง

เน้ือหาของยุทธศาสตรชาติวาดวย 2) ประยกุ ตห ลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ การปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ทกุ ฉบบั พอเพยี งเปน เครอ่ื งมือตานทุจรติ มุงเนนใหหนวยงาน องคกร และบุคคลจาก 3 ) ส  ง เ ส ริ ม ใ ห  มี ร ะ บ บ แ ล ะ ทุกภาคสวนประสานความรวมมือกัน กระบวนการกลอมเกลาทางสังคมเพื่อ ใ น ก า ร แ ก  ไ ข ป  ญ ห า ก า ร ค อ ร  รั ป ชั น ตานทุจริต อยางเปนระบบและสอดคลองกัน และ 4) เสริมพลังการมีสวนรวมของ มีการประเมินผลความพึงพอใจสําหรับ พลเมอื ง (Civic Participation) และบรู ณาการ ผูมีสวนเกี่ยวของ เพ่ือกระตุนใหประชาชน ทุกภาคสว นเพ่อื ตอตานการทุจรติ รับรู เขาใจสาเหตุของปญหาและตระหนักถึง จากยุทธศาสตรสําคัญดังกลาว ผลเสียของการทุจริตคอรรัปชัน รวมถึง แสดงใหเห็นวาหนวยงาน หรือองคกรดาน การผลกั ดนั ใหอ งคก รอสิ ระ ภาคเี ครอื ขา ยและ การศึกษาถือไดวาเปนกําลังสําคัญที่จะชวย ภาครัฐจริงจังในการดําเนินการภายใตกรอบ สงเสริมและสนับสนุนใหการดําเนินงาน แนวทางดานจริยธรรม และกรอบแนวทาง ตามยุทธศาสตรประสบความสําเร็จ และเพื่อ ดา นกฎหมาย โดยมงุ ยกระดบั การดาํ เนนิ งาน ใหการดําเนินการตามยุทธศาสตรน้ันเปนไป ของหนวยงาน และองคกรตางๆ ภายใน อยางมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล ประเทศ ไมวาจะเปนหนวยงานดาน สูงสุด จึงไดมีการรางพระราชบัญญัติวาดวย ทรัพยากรธรรมชาติ หนวยงานดานแรงงาน ความผิดเก่ียวกับการขัดกันระหวางประโยชน และหนวยงานดานการศึกษา เปนตน สวนบุคคลกับประโยชนสวนรวมข้ึน สําหรับ โดยเฉพาะยุทธศาสตรชาติวาดวยการปองกัน หนวยงานภาครัฐ ขาราชการ รวมไปถึง และปราบปรามการทุจริตระยะที่ 3 บคุ ลากรทเ่ี กย่ี วขอ ง เพอื่ นาํ ไปใช เปน แนวทาง (พ.ศ.2560 – 2564) (คณะรัฐมนตรมี ีมตเิ หน็ บริหารจัดการท่ีชัดเจน และเปนแนวปฏิบัติ ชอบในการประชมุ เมื่อวนั ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. ที่ตองยึดถืออยางเครงครัด แตจากขอมูลของ 2559) ในยุทธศาสตรที่ 1 สรางสังคมทีไ่ มท น สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบ ตอ การทจุ รติ อนั ประกอบดว ย 4 กลยทุ ธส าํ คญั ปรามการทุจริตแหงชาติ (ขอมูลเมื่อวันที่ 27 ไดแก ตุลาคม พ.ศ.2559) ทไ่ี ดส รปุ ขอมูล เรื่องกลาว 1) ปรับฐานความคิดทุกชวงวัย หารองเรียนที่เก่ียวของกับการทุจริตซึ่งอยู ต้ังแตปฐมวัยใหสามารถแยกระหวางผล ระหวา งการไตส วนขอ เทจ็ จรงิ มจี าํ นวน 2,220 ประโยชนส ว นบคุ คลและผลประโยชนส ว นรวม เรอ่ื ง พบวา มเี รอื่ งกลา วหารอ งเรยี นจากบคุ คล สุจริต คดิ ฐานสอง 3

และหนวยงานภายใตสังกัดกระทรวง ดา นการศกึ ษา ใหเ ปน ไปตามหลกั ธรรมาภบิ าล ศกึ ษาธกิ าร จาํ นวนถึง 75 เรือ่ ง โดยเรอื่ งรอง โดยเริ่มตน จากการปรับกระบวนทัศน เรียนดังกลาวเกี่ยวกับการทุจริตในการ (Paradigm Shift) ของบุคลากรภายใน ดําเนินงานของผูบริหาร ครู และบุคลากร หนวยงานใหมองวาปญหาคอรรัปชัน ทางการศึกษา อาทิ การจดั ซื้อจัดจางทไ่ี มเปน เปนหนาที่ของทุกคนท่ีจะรวมกันแกไข ไปตามระเบียบ การทุจริตเงนิ โครงการอาหาร และเรียนรูท่ีจะปรับเปลี่ยนระบบการคิด กลางวัน การตอไฟฟาของโรงเรียนไปใช ของตนเองจากระบบคิดฐานสิบ (Analog) ท่ีบานพักของผูบริหารและครู การเรียกเก็บ ซึ่งเปนการคิดโดยใชความรูสึก และอารมณ เงินจากผูรับเหมา การยืมเงินทดรองราชการ อยูเหนือเหตุผล เชน การนําประโยชน และอนุมัติดวยตนเอง และการปลอมลายมือ สว นบคุ คลและประโยชนส ว นรวมมาปะปนกนั ผบู รหิ าร เปน ตน ซึ่งจากขอ มลู ดงั กลา วแสดง พฤติกรรมการนําสิ่งของราชการมาใช ใหเห็นไดชัดเจนวาหนวยงานทางดานการ เพ่ือประโยชนสวนบุคคล และการแสวงหา ศึกษาในประเทศไทยจําเปนตองไดรับการ ประโยชนจากตําแหนงหนาที่เพื่อตนเอง พฒั นาใหม คี วามโปรง ใสในการดาํ เนนิ งานมาก เครือญาติ หรือพวกพอง เปนตน ซึ่งการ ท่ีสุด ไมวาจะเปนหนวยงานในระดับนโยบาย กระทําเหลาน้ีเปนสาเหตุสําคัญท่ีนําไปสู เชน กระทรวง ทบวง กรมไปจนกระทั่งถึง การคอรร ปั ชนั ไดใ นทสี่ ดุ ไปสรู ะบบคดิ ฐานสอง หนวยงานในระดบั ปฏบิ ัติการ เชน สาํ นกั งาน (Digital) คอื การคดิ แบบตรรกะโดยใชเหตผุ ล เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา และโรงเรยี น เพอื่ เปน แบบ อยูเหนืออารมณ และความรสู ึก เชน การแยก อยางท่ีดีใหกับเยาวชนท่ีจะตองเขาสู ออกอยางชัดเจนวาส่ิงใดถูกส่ิงใดผิด การเห็น กระบวนการพฒั นาในลาํ ดบั ตอ ไป แกประโยชนสวนรวม หรือประโยชนของ การแกไ ขปญ หาคอรร ปั ชนั ไดด าํ เนนิ หนว ยงานมากอ นประโยชนส ว นบคุ คล เปน ตน การมาอยางตอเนื่องดวยวิธีการที่หลากหลาย นอกจากน้ี การพัฒนาคนใหมีระบบคิดฐาน แตยังไมประสบความสําเร็จตามเปาหมาย สองไมไดมีความสําคัญเฉพาะตอการปฏิบัติ ท่ีกําหนดไว ดังนั้นสํานักงานคณะกรรมการ งานภายในหนว ยงาน หรอื องคกรเทานน้ั แต ปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ ยังกอใหเกิดการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของคนใน (ป.ป.ช.) และสํานักงานคณะกรรมการ สังคมไปสูการมีวัฒนธรรมดิจิทัล อันเปนองค การศึกษาข้ันพื้นฐาน จึงไดรวมกันยกระดับ ประกอบสาํ คญั ในการพฒั นาประเทศชาตใิ หม ี ความโปรงใสในการดําเนินงานของภาครัฐ ความม่นั คง มง่ั คง่ั และยงั่ ยืนตอไป 4 สุจริต คิดฐานสอง

สจุ รติ คิดฐานสอง 5

แบบสังเกตพฤติกรรมเด็กปฐมวัย คําชีเ้ เจง 1. ใหค รสู งั เกตพฤตกิ รรมเดก็ ปฐมวยั ตามรายการตอ ไปนจี้ าํ นวน 10 รายการ แลว ใสเ ครอื่ งหมาย ถูกตามระดับการปฏิบตั ิจรงิ ของเด็กปฐมวัย ดงั นี้ 0 = ทําเปนประจาํ 1 = นานๆ ครั้ง 2 = ไมเ คยทํา 2. ใหครูรวมคะแนนระดับการปฏบิ ัติ และแปลผลพฤติกรรมลงในตารางแบบสงั เกตพฤตกิ รรม เด็กปฐมวยั เปน รายบุคคล 3. เกณฑก ารตัดสินพฤตกิ รรม ชวงคะแนน พฤตกิ รรม 16 – 20 เด็กมีพฤตกิ รรมเห็นแกป ระโยชนสวนรวมมากกวาสวนบคุ คล 11 – 15 เดก็ มพี ฤติกรรมคอ นขา งเหน็ แกป ระโยชนสวนรวมมากกวาสวนบคุ คล 6 – 10 เด็กมีพฤตกิ รรมคอ นขา งเหน็ แกประโยชนสวนบุคคลมากกวา สว นรวม 0–5 เด็กมีพฤตกิ รรมเหน็ แกประโยชนสว นบุคคลมากกวา สวนรวม 4. ใหครูสังเกตพฤติกรรมของเด็กปฐมวัยภาคเรียนละ 2 คร้ัง แลวเปรียบเทียบผลพัฒนาการ ดา นพฤติกรรมของเด็กปฐมวัยในแตล ะครั้ง 5. ถาเด็กไดร ะดับคะแนนตา่ํ กวา 10 คะแนน ครตู อ งปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมเดก็ โดยฝกใหเ ด็ก คดิ เหน็ แกป ระโยชนส ว นรวมมากกวา ประโยชนส ว นบคุ คล และประเมนิ อกี ครงั้ จนกวา ระดบั คะแนนพฤตกิ รรมมากกวา 10 คะแนนขน้ึ ไป 6 สุจรติ คดิ ฐานสอง

แ บ บ สั ง เ ก ต พ ฤ ติ ก ร ร ม เ ด็ ก ครั้งที่..............ภาคเรียนท่.ี .............ปก ารศึกษา........................ ช่ือ – สกลุ ........................................................................ชนั้ .................................เลขท.่ี ........... ขอ ที่ รายการสังเกตพฤติกรรม ระดับการปฏิบัติ 0 12 1. หยิบของเลนในหองเรียนกลับไปเลนท่ีบานได โดยไมไ ดรบั อนญุ าตจากครู 2. นําสง่ิ ของเพ่ือนมาเปนของตนเอง 3. เลน ของเลน แลวไมต อ งเก็บเขาท่ี 4. ชอบทําของใชสวนรวมพงั เสียหาย 5. ชอบขีดเขียนตามฝาผนงั ในหอ งเรยี น 6. เขา หองน้ําหอ งสวมเสร็จแลวไมร าดนํ้าทุกครงั้ 7. แทรกแถวเพือ่ รบั อาหารหรือนม 8. ถอดรองเทาแลวไมเรียงรองเทาใหเปน ระเบียบ 9. ไมทงิ้ ขยะลงในถังขยะ 10. ไมป ดนา้ํ ทกุ คร้งั หลังจากเลกิ ใช รวมคะแนน รวมคะแนนระดบั การปฏบิ ัติ ระดบั พฤตกิ รรม ลงชอ่ื ...............................................ผปู ระเมนิ (.................................................) ............./...................../............. สจุ รติ คดิ ฐานสอง 7

แบบทดสอบเบอื้ งตน้ เก่ียวกับระบบความคิดของนักเรียน ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3 คําชีเ้ เจง : แบบทดสอบมีทัง้ หมด 10 ข้อ ให้นักเรียนเลือกคําตอบท่ีตรงกับ ความคิดของนกั เรียนมากท่สี ุด 1. เด็กหญิงออยเด็ดดอกไมใ นสวนหยอมของโรงเรียนนําไปใหครูประจําชั้นทุกวัน การกระทํา ของเด็กหญิงออยถูกหรอื ไม เพราะเหตุใด ก. ไมถ ูก เพราะดอกไมเ ปน ของสว นรวมไมค วรเด็ด ข. ถูก เพราะดอกไมอ ยใู นโรงเรียนของเราใครจะเด็ดกไ็ ด 2. เด็กชายนวิ ฒั น ตั้งใจไปซ้ือไอศกรีมในสหกรณร านคาโรงเรยี น เด็กชายนวิ ัฒนค วรทาํ อยางไร ก. แซงคิวไปเลย เพราะจะรีบไปเลน กบั เพ่ือนๆ ข. ตอแถว เพราะยง่ิ ตอแถวยง่ิ เปน ระเบยี บยงิ่ เร็วข้นึ 3. เด็กชายไกรสร นําฟุตบอลของโรงเรียนไปเลน ท่บี าน นักเรียนคิดวาเด็กชายไกรสรทําถกู ตอง หรอื ไม ก. ถกู ตอ ง เพราะฟุตบอลในโรงเรยี นมีเยอะ ใครจะนาํ กลบั บานก็ได ข. ไมถูกตอง เพราะฟุตบอลเปนของโรงเรียน การจะนําไปเลนท่ีบานไดตองไดรับ อนญุ าตจากครูกอ น 4. เด็กหญิงสุนิสา เรยี นเกงเปนหวั หนา หอง ช้นั ป.2 เพอ่ื นขอลอกการบา น แตส นุ สิ าไมยอม ใหล อกนักเรียนคิดวาสุนิสาควรทําอยางไรถึงจะเปน การกระทําที่ถกู ตอง ก. เด็กหญิงสนุ ิสาชวยสอนการบานใหเพ่ือนแทนการใหลอก ข. เดก็ หญิงสนุ สิ ารับจางทาํ การบา นใหเพอื่ น 8 สจุ รติ คิดฐานสอง

5. เด็กหญิงปราณีชอบวาดภาพ นักเรียนคิดวาการกระทําในขอใดของเด็กหญิงปราณี เปน การกระทาํ ที่ถกู ตอ ง ก. เดก็ หญงิ ปราณฝี ก ฝนวาดภาพลงในสมดุ วาดเขียน ข. เด็กหญิงปราณฝี กฝนวาดภาพบนโตะ หรือฝาผนงั หองอยูเปนประจํา 6. เด็กชายประจักษเก็บกระเปาเงินไดท่ีบริเวณหนาประตูโรงเรียน เด็กชายประจักษควรทํา อยา งไร ก. เด็กชายประจกั ษนํากระเปา เงินทเ่ี ก็บไดไปใหคุณครูเพอ่ื ประกาศหาเจา ของ ข. เดก็ ชายประจกั ษเ กบ็ กระเปา ไปใชเ ปน การสว นตวั เพราะของทเี่ กบ็ ไดเ ปน ของตนเอง 7. เดก็ ชายสมทรง ออกจากหองเรยี นเปน คนสดุ ทายเสมอ นักเรยี นคิดวาสมทรงควรทําอยางไร ก. รีบออกจากหองเรียนเพ่อื ไปเรยี นวิชาตอไปโดยไมป ด ไฟฟาและพดั ลม ข. ปดไฟฟา และปดพัดลมทุกครั้งกอนออกจากหอ งเรยี น 8. คุณครูปราณีนัดนักเรียนมาซอมดนตรีที่โรงเรียนและเล้ียงอาหารกลางวันนักเรียนทุกคน หลงั จากรับประทานอาหารเสร็จ นักเรียนควรทําอยา งไร ก. รบั ประทานอาหารเสร็จแลว กร็ ีบไปซอมดนตรีตอ ข. รับประทานอาหารเสร็จแลว ชวยกันลางจาน และชอนใหเรียบรอยกอนไป ซอมดนตรี 9. เด็กชายชํานาญชวยครูถือของหรือกระเปาไปหองเรียนทุกวัน เด็กชายชํานาญทําเพ่ืออะไร ก. เดก็ ชายชํานาญมจี ติ อาสายนิ ดใี หบ ริการครู ข. เด็กชายชาํ นาญชว ยงานครเู พราะอยากไดค ะแนนจากครู 10. ในการเลอื กตัง้ หัวหนาชั้น ป.2 นกั เรยี นคิดวาวธิ กี ารหาเสยี งของใครถกู ตอ ง ก. เดก็ ชายอนันตส ญั ญาวาจะเปนตัวแทนทีด่ มี คี วามรับผิดชอบ ข. เด็กหญงิ วารแี จกขนมเพ่ือนและสัญญาวา จะเปน ตวั แทนที่ดี สจุ รติ คิดฐานสอง 9

เฉลยแบบทดสอบเบือ้ งต้นเก่ียวกับระบบความคิดของนักเรยี น ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 - 3 คาํ ชีเ้ เจง : ให้ครูตรวจแบบทดสอบ ซ่ึงในแต่ละคําตอบมีคะแนนแตกต่างกัน ตงั้ แต่ 0 – 1 1. เดก็ หญิงออยเด็ดดอกไมในสว นหยอ มของโรงเรียนนาํ ไปใหค รูประจําชั้นทกุ วนั การกระทํา ของเด็กหญงิ ออยถกู หรอื ไม เพราะเหตุใด คําตอบ คะแนน ก. ไมถ กู เพราะดอกไมเ ปน ของสว นรวมไมค วรเด็ด 1 ข. ถกู เพราะดอกไมอยูในโรงเรยี นของเราใครจะเด็ดกไ็ ด 0 2. เดก็ ชายนวิ ฒั น ตง้ั ใจไปซอื้ ไอศกรมี ในสหกรณร า นคา โรงเรยี น เดก็ ชายนวิ ฒั นค วรทาํ อยา งไร คําตอบ คะแนน ก. แซงควิ ไปเลย เพราะจะรบี ไปเลน กับเพอ่ื นๆ 0 ข. ตอ แถว เพราะยง่ิ ตอ แถวย่ิงเปน ระเบียบยิ่งเรว็ ขนึ้ 1 3. เดก็ ชายไกรสร นาํ ฟตุ บอลของโรงเรยี นไปเลน ทบี่ า น นกั เรยี นคดิ วา เดก็ ชายไกรสรทาํ ถกู ตอ ง หรือไม คําตอบ คะแนน ก. ถูกตอ ง เพราะฟตุ บอลในโรงเรยี นมเี ยอะ ใครจะนาํ กลบั บา นกไ็ ด 1 ข. ไมถ กู ตอง เพราะฟุตบอลเปนของโรงเรียน การจะนาํ ไปเลนท่บี านไดตอ ง 0 ไดรบั อนญุ าตจากครูกอ น 10 สจุ รติ คดิ ฐานสอง

4. เด็กหญงิ สนุ สิ า เรียนเกง เปนหวั หนา หอง ชน้ั ป.2 เพอื่ นขอลอกการบาน แตสุนสิ าไมย อมให ลอกการบา น นกั เรยี นคิดวา สนุ สิ าควร ทาํ อยา งไรถงึ จะเปน การกระทําทถ่ี กู ตอง คําตอบ คะแนน ก. เดก็ หญิงสนุ สิ าชวยสอนการบา นใหเ พือ่ นแทนการใหลอก 1 ข. เดก็ หญิงสนุ ิสารับจางทาํ การบานใหเพอ่ื น 0 5. เด็กหญิงปราณีชอบวาดภาพ นักเรียนคิดวาการกระทําในขอใดของเด็กหญิงปราณี เปน การกระทาํ ที่ถูกตอ ง คาํ ตอบ คะแนน ก. เดก็ หญิงปราณีฝกฝนวาดภาพลงในสมดุ วาดเขียน 1 ข. เดก็ หญงิ ปราณีฝก ฝนวาดภาพบนโตะ หรือฝาผนังหองอยเู ปน ประจํา 0 6. เด็กชายประจักษเก็บกระเปาเงินไดท่ีบริเวณหนาประตูโรงเรียน เด็กชายประจักษควรทํา อยา งไร คําตอบ คะแนน ก. เดก็ ชายประจกั ษน ํากระเปา เงนิ ที่เกบ็ ไดไปใหค ณุ ครูเพ่ือประกาศหา 1 เจาของ ข. เดก็ ชายประจักษเ กบ็ กระเปา ไปใชเปนการสว นตัวเพราะของทเี่ ก็บได 0 เปนของตนเอง สจุ รติ คิดฐานสอง 11

7. เดก็ ชายสมทรง ออกจากหองเรียนเปนคนสดุ ทา ยเสมอ นักเรยี นคิดวา สมทรงควรทําอยางไร คําตอบ คะแนน ก. รบี ออกจากหอ งเรียนเพื่อไปเรยี นวชิ าตอไปโดยไมปด ไฟฟา และพดั ลม 0 ข. ปด ไฟฟา และปด พัดลมทุกครั้งกอนออกจากหองเรยี น 1 8. คุณครูปราณีนัดนักเรียนมาซอมดนตรีที่โรงเรียนและเลี้ยงอาหารกลางวันนักเรียนทุกคน หลงั จากรบั ประทานอาหารเสร็จ นกั เรียนควรทําอยางไร คาํ ตอบ คะแนน ก. รบั ประทานอาหารเสร็จแลวกร็ บี ไปซอมดนตรีตอ 0 ข. รบั ประทานอาหารเสรจ็ แลว ชว ยกันลา งจาน และชอ นใหเรียบรอยกอน ไปซอมดนตรีตอ 1 9. เด็กชายชํานาญชว ยครูถือของหรอื กระเปาไปหอ งเรยี นทกุ วัน เด็กชายชาํ นาญทําเพอื่ อะไร คําตอบ คะแนน ก. เด็กชายชาํ นาญมีจิตอาสายินดใี หบรกิ ารครู 1 ข. เดก็ ชายชาํ นาญชว ยงานครูเพราะอยากไดค ะแนนจากครู 0 10. ในการเลือกตัง้ หวั หนา ช้ัน ป.2 นกั เรียนคิดวา วธิ กี ารหาเสยี งของใครถูกตอง คําตอบ คะแนน ก. เดก็ ชายอนนั ต สญั ญาวาจะเปน ตวั แทนท่ีดมี คี วามรับผิดชอบ 1 ข. เดก็ หญงิ วารี แจกขนมเพอื่ นและสญั ญาวาจะเปนตวั แทนท่ีดี 0 12 สุจรติ คิดฐานสอง

เกณฑก์ ารตดั สนิ พฤติกรรม ช่วงคะแนน พฤตกิ รรม 9 – 10 เด็กมีพฤติกรรมเหน็ แกประโยชนส วนรวมมากกวา สวนบคุ คล 6–8 เด็กมพี ฤตกิ รรมคอ นขางเห็นแกประโยชนสว นรวมมากกวาสว นบุคคล 3–5 เดก็ มีพฤตกิ รรมคอนขางเห็นแกป ระโยชนสว นบุคคลมากกวาสว นรวม 0–2 เด็กมพี ฤตกิ รรมเห็นแกประโยชนส วนบุคคลมากกวา สวนรวม หมายเหตุ ถานักเรียนไดระดับคะแนนต่ํากวา 5 คะแนน ครูตองปรับเปล่ียนพฤติกรรมนักเรียน โดยฝกใหนักเรียนคิดเห็นแกประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนบุคคล และประเมิน อกี ครัง้ จนกวา ระดบั คะแนนพฤตกิ รรมมากกวา 5 คะแนนข้ึนไป สุจรติ คดิ ฐานสอง 13

แบบทดสอบเบือ้ งตน้ เก่ียวกับระบบความคดิ ของนกั เรยี น ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 คําชีเ้ เจง : 1. แบบทดสอบมที งั้ หมด 10 ขอ้ 2. ใหน้ ักเรยี นเลอื กคาํ ตอบท่ตี รงกับความคดิ ของนกั เรยี นมากท่ีสุด 1. แมคาวางของขายบนทางเทา นักเรียนคิดวาถกู ตองหรอื ไม ก. ถูกตอ ง เพราะทําใหมขี องขายดี ข. ถกู ตอ ง เพราะทาํ ใหผ ซู อื้ ไมต อ งเดินไกล ค. ไมถ กู ตอ ง เพราะไมใชตลาด ง. ไมถกู ตอง เพราะกีดขวางทางเดนิ 2. เดก็ ชายสมชายนาํ โทรศพั ทม าโรงเรยี น แบตเตอรห่ี มด จงึ ใชไ ฟฟา ของโรงเรยี นชารจ แบตเตอร่ี นักเรยี นคดิ วา สมชายทําไดหรือไม ก. ทาํ ได เพราะจะไดใชโ ทรศัพทสะดวก ข. ทาํ ได เพราะเปนไฟฟาของโรงเรียน ทกุ คนมีสทิ ธใิ์ ช ค. ทําไมไ ด เพราะครูหามไมใหท ํา ง. ทาํ ไมได เพราะเปน ไฟฟา ของโรงเรียนถอื เปน ของราชการ 3. นักเรยี นยืมฟุตบอลไปเลน ชวงพักกลางวนั แลว ไมนํากลบั ไปคืน การกระทาํ ของนักเรยี นถกู ตองหรือไม ก. ทําถูกตอ ง เพราะไมร วู าใครยมื ข. ทําถูกตอ ง เพราะสนามบอลอยูในโรงเรียน ค. ทําไมถูกตอ ง เพราะฟตุ บอลเปน ของโรงเรียน ง. ทาํ ไมถ ูกตอ ง เพราะเห็นแกตัว 14 สจุ ริต คิดฐานสอง

4. เด็กหญิงสมศรีมาโรงเรียนแตเชาทุกวันเพื่อชวยพอตนเองทําความสะอาดบริเวณโรงเรียน นกั เรียนคดิ วาสมศรที ําดว ยเหตุผลอะไรจงึ ถกู ตอ ง ก. เดก็ หญิงสมศรีทําเพอื่ พอ ท่ีตนรัก ข. เด็กหญิงสมศรีทาํ เพื่อตนเองจะไดม าโรงเรยี นเชา ค. เด็กหญิงสมศรีทาํ เพือ่ ชวยพอ ดแู ลความสะอาดใหโ รงเรียน ง. เด็กหญงิ สมศรีทําเพ่อื อวดเพอื่ นใหช ื่นชมตนเอง 5. เด็กชายยอดรักสอบเรียนตอโรงเรียนประจําจังหวัดไมได ผูปกครองจึงขอพบผูอํานวยการ โรงเรยี นและบรจิ าคเงนิ เพอื่ ใหเ ดก็ ชายยอดรกั ไดเ ขา เรยี นตอ การกระทาํ ของพอ เดก็ ชายยอกรกั ถกู ตองหรือไม ก. ถูกตอ ง เพราะพอบรจิ าคเงนิ เพื่อใหล กู ไดเ รียน ข. ถกู ตอง เพราะพอบริจาคเงนิ เพอ่ื ชวยเหลอื โรงเรยี น ค. ไมถูกตอ ง เพราะจะทาํ ใหล ูกไมรจู กั ชวยเหลอื ตนเอง ง. ไมถกู ตอ ง เพราะเปน การตดิ สนิ บนโรงเรยี น 6. เมอ่ื นักเรียนพบเห็นวามีนกั เรียนกระทาํ ผิดโดยหนีเรยี นไปเทยี่ ว นักเรียนจะทาํ อยางไร ก. เฉย ไมต อ งทาํ อะไรเพราะไมใ ชห นา ที่ของเรา ข. ชวยกนั ปกปดไมบอกใหใ ครทราบ ค. แจง ใหค รูเวรประจําวันทราบ ง. เขา ไปวา กลาวตักเตอื นมใิ หกระทําผดิ ตอไป 7. เม่อื นกั เรียนสามารถปฏบิ ตั ิตนไดถ กู ตอ งตามกฎระเบียบของโรงเรยี นจะมคี วามรสู กึ อยางไร ก. รูส ึกภมู ใิ จในตนเองมาก เพราะจะไดม ีผูค นยกยอ ง ข. รูสกึ วาตนเองเปน คนมคี าทส่ี ามารถทาํ ไดดกี วาคนอื่น ค. รสู ึกเปน หนา ท่ที ่ตี องปฏบิ ตั ิตามกฏระเบยี บของโรงเรียน ง. เฉยๆ ไมม ีความรูสึกอยางไร สจุ ริต คิดฐานสอง 15

8. เมอ่ื ตอ งเลอื กระหวา งประโยชนส าธารณะกบั ประโยชนส ว นบคุ คล นกั เรยี นจะเลอื กทาํ อยา งไร ก. เลือกประโยชนส วนบคุ คลกอ น เพอื่ สรา งความสุขใหต นเองเปน ลําดับแรก ข. เลือกประโยชนส าธารณะกอ น เพราะจะไดช อ่ื วาเปน บคุ คลที่เสียสละ ค. เลอื กประโยชนสว นบคุ คลกอ น เพราะธรรมชาติของมนุษยทีต่ องทําใหตนเอง สมบูรณกอ นท่จี ะเผื่อแผไปยังผอู ื่น ง. เลือกประโยชนสาธารณะกอ น เพราะประโยชนส าธารณะตองมากอน ประโยชนส วนบุคคล 9. ครสู ดุ าสอนนกั เรยี นชน้ั ป.6 ดว ยความตง้ั ใจอยา งเตม็ ความสามารถทกุ วนั พรอ มทงั้ สอนพเิ ศษ เพมิ่ ใหน กั เรยี นหลงั เลกิ เรยี น โดยไมค ดิ คา ตอบแทน นกั เรยี นคดิ วา ครสู ดุ าทาํ อยา งนเี้ พราะเหตใุ ด จงึ จะถกู ตอง ก. ครสู ุดารักนักเรยี น ข. ครสู ุดาอยากใหผลการทดสอบทางการศกึ ษาของนักเรียนสงู ขน้ึ ค. ครสู ดุ าเสยี สละเพอื่ ชว ยเหลือนักเรยี น ง. ครสู ุดาตอ งการใหผูอ น่ื ชม 10. นกั เรยี นชน้ั ป.4 ชว ยกนั กาํ หนดระเบยี บของหอ งเรยี นเพอ่ื ใหท กุ คนถอื ปฏบิ ตั ิ เปน การกระทาํ ท่ดี หี รอื ไม เพราะเหตใุ ด ก. ดี เพราะไมเหมอื นชั้นอนื่ ข. ดี เพราะตรงกันตามท่ตี กลงกนั ไวจ ะไดปฏบิ ตั ิถูกตอง ค. ไมด ี เพราะมรี ะเบยี บของโรงเรยี นอยแู ลว ง. ไมดี เพราะมีความยงุ ยาก 16 สุจรติ คิดฐานสอง

เฉลยแบบทดสอบเบือ้ งต้นเก่ียวกับระบบความคดิ ของนักเรยี น ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 - 6 คาํ ชีเ้ เจง : แบบทดสอบมที งั้ หมด 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน 1. แมคา วางของขายบนทางเทา นกั เรยี นคิดวาถกู ตอ งหรือไม ก. ถูกตอง เพราะทําใหม ขี องขายดี ข. ถูกตอง เพราะทาํ ใหผ ูซอื้ ไมตองเดินไกล ค. ไมถ ูกตอ ง เพราะไมใชต ลาด ง. ไมถูกตอง เพราะกีดขวางทางเดนิ 2. เดก็ ชายสมชายนาํ โทรศพั ทม าโรงเรยี น แบตเตอรหี่ มด จงึ ใชไ ฟฟา ของโรงเรยี นชารจ แบตเตอรี่ นกั เรียนคิดวา สมชายทาํ ไดหรือไม ก. ทําได เพราะจะไดใชโทรศพั ทสะดวก ข. ทําได เพราะเปนไฟฟาของโรงเรียน ทกุ คนมีสิทธ์ใิ ช ค. ทาํ ไมไ ด เพราะครหู า มไมใหท าํ ง. ทาํ ไมได เพราะเปนไฟฟาของโรงเรียนถือเปนของราชการ 3. นักเรียนยืมฟุตบอลไปเลนชวงพักกลางวันแลวไมนํากลับไปคืน การกระทําของนักเรียน ถกู ตองหรอื ไม ก. ทาํ ถกู ตอง เพราะไมรวู า ใครยืม ข. ทําถูกตอง เพราะสนามบอลอยใู นโรงเรยี น ค. ทาํ ไมถ กู ตอ ง เพราะฟตุ บอลเปน ของโรงเรียน ง. ทําไมถกู ตอ ง เพราะเหน็ แกต ัว 4. เด็กหญิงสมศรีมาโรงเรียนแตเชาทุกวันเพื่อชวยพอตนเองทําความสะอาดบริเวณโรงเรียน นักเรยี นคิดวา สมศรีทําดวยเหตผุ ลอะไรจงึ ถูกตอง ก. เด็กหญิงสมศรที าํ เพอ่ื พอ ทีต่ นรัก ข. เด็กหญิงสมศรที ําเพอื่ ตนเองจะไดมาโรงเรยี นเชา ค. เดก็ หญงิ สมศรีทาํ เพ่อื ชวยพอดูแลความสะอาดใหโรงเรียน ง. เดก็ หญิงสมศรีทําเพอื่ อวดเพ่อื นใหชน่ื ชมตนเอง สุจริต คดิ ฐานสอง 17

5. เด็กชายยอดรักสอบเรียนตอโรงเรียนประจําจังหวัดไมได ผูปกครองจึงขอพบผูอํานวยการ โรงเรยี นและบรจิ าคเงนิ เพอื่ ใหเ ดก็ ชายยอดรกั ไดเ ขา เรยี นตอ การกระทาํ ของพอ เดก็ ชายยอกรกั ถูกตอ งหรือไม ก. ถกู ตอ ง เพราะพอบริจาคเงินเพื่อใหลกู ไดเรียน ข. ถกู ตอ ง เพราะพอบรจิ าคเงนิ เพือ่ ชว ยเหลือโรงเรยี น ค. ไมถ กู ตอ ง เพราะจะทาํ ใหล กู ไมรจู กั ชวยเหลือตนเอง ง. ไมถ ูกตอ ง เพราะเปนการตดิ สินบนโรงเรยี น 6. เม่อื นักเรยี นพบเหน็ วามีนักเรยี นกระทาํ ผดิ โดยหนเี รียนไปเทีย่ ว นักเรยี นจะทาํ อยางไร ก. เฉย ไมตองทาํ อะไรเพราะไมใชหนาทขี่ องเรา ข. ชวยกนั ปกปด ไมบ อกใหใ ครทราบ ค. แจงใหค รูเวรประจาํ วันทราบ ง. เขา ไปวา กลา วตกั เตือนมใิ หก ระทาํ ผดิ ตอ ไป 7. เมอื่ นักเรยี นสามารถปฏบิ ัตติ นไดถูกตอ งตามกฎระเบียบของโรงเรียนจะมีความรูสึกอยา งไร ก. รสู กึ ภูมใิ จในตนเองมาก เพราะจะไดมีผูคนยกยอง ข. รสู ึกวา ตนเองเปนคนมคี า ทส่ี ามรถทาํ ไดดีกวาคนอน่ื ค. รูสกึ เปนหนาที่ทตี่ องปฏบิ ตั ติ ามกฏระเบยี บของโรงเรยี น ง. เฉยๆ ไมมคี วามรูสกึ อยา งไร 8. เมอ่ื ตอ งเลอื กระหวา งประโยชนส าธารณะกบั ประโยชนส ว นบคุ คล นกั เรยี นจะเลอื กทาํ อยา งไร ก. เลือกประโยชนสวนบุคคลกอน เพื่อสรางความสุขใหตนเองเปนลําดับแรก ข. เลือกประโยชนสาธารณะกอน เพราะจะไดชอื่ วาเปน บคุ คลทเ่ี สียสละ ค. เลอื กประโยชนสวนบคุ คลกอ น เพราะธรรมชาติของมนุษยทีต่ องทําให ตนเองสมบูรณก อนท่ีจะเผอ่ื แผไ ปยังผอู ืน่ ง. เลอื กประโยชนส าธารณะกอ น เพราะประโยชนส าธารณะตอ งมากอน ประโยชนสวนบคุ คล 18 สุจรติ คิดฐานสอง

9. ครสู ดุ าสอนนกั เรยี นชนั้ ป.6 ดว ยความตงั้ ใจอยา งเตม็ ความสามารถทกุ วนั พรอ มทง้ั สอนพเิ ศษ เพ่มิ ใหน ักเรยี นหลังเลิกเรยี น โดยไมค ิดคา ตอบแทน นกั เรยี นคดิ วาครสู ุดาทาํ อยางนเ้ี พราะเหตุ ใดจึงถูกตอง ก. ครูสดุ ารักนกั เรยี น ข. ครูสดุ าอยากใหผลการทดสอบทางการศึกษาของนักเรียนสงู ขึ้น ค. ครูสดุ าเสยี สละเพอื่ ชว ยเหลือนกั เรยี น ง. ครูสุดาตองการใหผ ูอน่ื ชม 10. นกั เรยี นชนั้ ป.4 ชว ยกนั กาํ หนดระเบยี บของหอ งเรยี นเพอ่ื ใหท กุ คนถอื ปฏบิ ตั ิ เปน การกระทาํ ทีด่ ีหรอื ไม เพราะเหตใุ ด ก. ดี เพราะไมเ หมอื นชน้ั อนื่ ข. ดี เพราะจะไดป ฏบิ ัติถกู ตองตรงกันตามทีต่ กลงกนั ไว ค. ไมดี เพราะมรี ะเบียบของโรงเรยี นอยแู ลว ง. ไมดี เพราะมคี วามยุงยาก เกณฑก์ ารตดั สนิ พฤติกรรม ช่วงคะแนน พฤติกรรม 9 – 10 เดก็ มพี ฤตกิ รรมเหน็ แกป ระโยชนส ว นรวมมากกวา สว นบุคคล 6–8 เด็กมีพฤตกิ รรมคอ นขา งเห็นแกประโยชนส ว นรวมมากกวา สวนบุคคล 3–5 เดก็ มีพฤติกรรมคอนขา งเหน็ แกประโยชนสวนบคุ คลมากกวา สวนรวม 0–2 เด็กมีพฤตกิ รรมเหน็ แกประโยชนสวนบุคคลมากกวา สว นรวม หมายเหตุ ถานักเรียนไดระดับคะแนนตํ่ากวา 5 คะแนน ครูตองปรับเปล่ียนพฤติกรรมนักเรียน โดยฝกใหนักเรียนคิดเห็นแกประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนบุคคล และประเมิน อกี ครง้ั จนกวาระดับคะแนนพฤติกรรมมากกวา 5 คะแนนขึ้นไป สุจรติ คิดฐานสอง 19

แบบทดสอบเบือ้ งตน้ เก่ยี วกบั ระบบความคิดของนักเรียน ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 - 3 คําชีเ้ เจง : 1. แบบทดสอบมที งั้ หมด 10 ขอ้ ข้อละ 1 คะแนน 2. ให้นกั เรยี นเขียนคาํ ตอบท่ตี รงกับความคดิ ของนักเรยี นมากท่ีสดุ 1. นักเรียนเห็นเพื่อนๆ นําโทรศัพทสวนตัวมาชารจแบตเตอร่ีท่ีโรงเรียน นักเรียนคิดวา เหมาะสมหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ............................................................................................................................................ 2. “การรับจางทาํ รายงานเปนเรอ่ื งปกติ เพราะใครๆกท็ าํ กนั ทงั้ น้ัน” นักเรียนเหน็ ดว ย หรือไม เพราะเหตใุ ด ตอบ............................................................................................................................................ 3. นกั เรยี นรสู กึ อยางไรเมื่อเห็นเพือ่ นๆ ลอกขอสอบหรอื ลอกการบานอยเู ปน ประจาํ ตอบ............................................................................................................................................ 4. จากคํากลาวที่วา “ฉันพรอมที่จะยอมรับผิดถาทําผิด” นักเรียนเห็นดวยหรือไม เพราะเหตใุ ด ตอบ............................................................................................................................................ 5. การใชน ้าํ ประปาของโรงเรยี นลางรถจกั รยานยนตข องตนเอง นักเรียนคดิ วาเปนการกระทํา ที่เหมาะสมหรือไม เพราะเหตใุ ด ตอบ............................................................................................................................................ 6. นักเรียนเขาไปคนหาขอมูลในหองสมุดเพื่อทํารายงาน แตไมอยากยืมหนังสือจึงฉีกหนังสือ เฉพาะหนาท่ีจําเปน ตอ งใช การกระทําดังกลา วถกู ตองหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ............................................................................................................................................ 20 สุจรติ คิดฐานสอง

7. มีคํากลาวท่ีวา “ทุจริตบางไมเปนไรถาเราไดประโยชน” นักเรียนเห็นดวยหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ............................................................................................................................................ 8. การวางแผงขายของบนทางเทาของพอคา/แมคา เปนสิ่งที่สมควรกระทําหรือไม เพราะ เหตุใด ตอบ............................................................................................................................................ 9. นักเรยี นเหน็ ดวยกบั การรบั จางสอนพิเศษของครู หรอื ไม เพราะเหตุใด ตอบ............................................................................................................................................ 10. จากคํากลาวที่วา “การปองกันการทุจริตคอรรัปชันเปนเร่ืองของผูใหญ ไมเก่ียวกับ เด็กและเยาวชน” นกั เรยี นเหน็ ดวยหรอื ไม เพราะเหตุใด ตอบ............................................................................................................................................ สจุ ริต คดิ ฐานสอง 21

เฉลยแบบทดสอบเบือ้ งต้นเก่ียวกบั ระบบความคดิ ของนักเรียน ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 – 3 คําชีเ้ เจง : 1. แบบทดสอบมที งั้ หมด 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน 2. แต่ละคาํ ตอบมีคะแนนแตกตา่ งกัน 1. นักเรยี นเหน็ เพ่ือนๆ นาํ โทรศพั ทสวนตวั มาชารจ แบตเตอร่ีท่ีโรงเรียน นกั เรียนคิดวา เหมาะ สมหรือไม เพราะเหตใุ ด ตอบ ไมเหมาะสม เนือ่ งจากการกระทําดงั กลาวเปนการเห็นแกป ระโยชนส ว นตวั ทําให โรงเรียนตอ งมีภาระคา ใชจายเพิ่มมากขึ้นจากการนาํ โทรศพั ทสว นตัวมาชารจ แบตเตอร่ี 2. “การรับจา งทํารายงานรายงานเปน เรื่องปกติ เพราะใครๆก็ทํากันทงั้ นนั้ ” นกั เรียนเห็นดว ย หรือไม เพราะเหตุใด ตอบ ไมเหน็ ดวย เน่ืองจากคนทร่ี บั จางมุงแตป ระโยชนตนเองเปน หลกั เพราะการรับจา งทาํ รายงานมงุ แตห ารายไดแ ละเปน การสง เสรมิ ใหค นทจี่ า งขาดความรแู ละความวริ ยิ ะ อตุ สาหะ และ ความรับผิดชอบในหนาที่และการทํารายงานเปนหนาที่ของนักเรียนทุกคนท่ีมีความรับผิดชอบ หนาทีข่ องตนเอง 3. นกั เรียนรูสกึ อยางไรเมอ่ื เหน็ เพือ่ นๆ ลอกขอสอบหรอื ลอกการบา นอยูเปน ประจํา ตอบ รสู กึ ไมเ หน็ ดว ย เพราะเปน การกระทาํ ทเ่ี อารดั เอาเปรยี บผอู น่ื ไมใ ชค วามรคู วามสามารถ ของตนเอง เห็นแกประโยชนสวนตัวเปน หลัก ทําใหข าดความรู ความวริ ิยะ อุตสาหะ และความ รบั ผิดชอบในหนา ที่ 4. จากคาํ กลา วท่ีวา “ฉนั พรอมทีจ่ ะยอมรบั ผดิ ถาทําผิด” นักเรยี นเห็นดว ยหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ เห็นดวย เพราะแสดงใหเ หน็ ถงึ ความรับผิดชอบ เมื่อทาํ ผดิ ตอ งรูสาํ นึก ทกุ คนสามารถ ทาํ ผดิ ได แตท ี่สาํ คญั ตนเองตอ งรจู กั ปรบั ปรงุ แกไขขอ ผดิ พลาดน้ัน 22 สจุ ริต คดิ ฐานสอง

5. การใชนา้ํ ประปาของโรงเรยี นลา งรถจกั รยานยนตข องตนเอง นักเรียนคิดวา เปนการกระทํา ทเี่ หมาะสมหรือไม เพราะเหตใุ ด ตอบ ไมเหมาะสม เพราะเปนการนําทรัพยสินของโรงเรียนมาใชเพื่อประโยชนสวนตวั โดย ไมจ าํ เปน ทาํ ใหโ รงเรียนตองจายคาน้ําประปาเพม่ิ เตมิ 6. นักเรยี นเขา ไปคนหาขอ มลู ในหองสมุดเพอื่ ทํารายงาน แตไ มอยากยมื หนงั สอื จึงฉีกหนังสือ เฉพาะหนาท่จี าํ เปน ตองใช การกระทาํ ดงั กลา วถูกตอ งหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ ไมถกู ตอง เพราะเปน การกระทาํ ทีท่ ําใหทรัพยสินของโรงเรยี นเสียหายโดยทรพั ยส นิ ของโรงเรยี นตอ งใชเ พอื่ สว นรวม เหน็ แกป ระโยชนส ว นตนมากกวา ประโยชนสว นรวม ทาํ ใหผ อู น่ื ไมสามารถใชประโยชนจากหนงั สอื ดงั กลาว 7. มีคํากลาวที่วา “ทุจริตบางไมเปนไรถาเราไดประโยชน” นักเรียนเห็นดวยหรือไม เพราะเหตใุ ด ตอบ ไมเ หน็ ดว ย เพราะการทจุ ริตเปนการกระทําท่ผี ิดกฎหมาย ถงึ แมวาเราจะไดป ระโยชน แตส ว นรวมก็เสียหาย 8. การวางแผงขายของบนทางเทาของพอคา/แมคา เปนส่ิงท่ีสมควรกระทําหรือไม เพราะเหตใุ ด ตอบ ไมค วรกระทาํ เพราะทางเทา เปนทางสาธารณะเพ่ือประโยชนส ว นรวมใหป ระชาชน ใชส ญั จรใหเ กดิ ความปลอดภยั จากอบุ ตั เิ หตบุ นทอ งถนน การวางแผงขายของบนทางเทา เปน การ ขวางทางสัญจรของประชาชนจะทําใหป ระชาชนตองไปเดนิ บนถนนอาจกอใหเ กดิ อุบตั เิ หตุได 9. นกั เรยี นเห็นดว ยกบั การรับจางสอนพิเศษของครูหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ ไมเห็นดวย เนอ่ื งจากครูตอ งไมเลอื กปฏบิ ัติตอนกั เรียนไมวา จะเรียนพิเศษหรือไม โดย ยดึ ประโยชนส ว นรวมของนกั เรยี นเปน หลกั มากกวา ประโยชนส ว นตนจากการไดร บั คา ตอบแทน 10. จากคํากลาวท่ีวา “การปอ งกันการทจุ รติ คอรรปั ชนั เปน เรอ่ื งของผูใหญ ไมเ กยี่ วกับเด็ก และเยาวชน” นักเรยี นเหน็ ดวยหรอื ไม เพราะเหตใุ ด ตอบ ไมเห็นดวย เนื่องจากการปองกันและแกไขการปญหาทุจริตเปนหนาที่ของทุกคน ทีจ่ ะตอ งชวยกันโดยเร่มิ ตนทตี่ นเอง สุจรติ คดิ ฐานสอง 23

เกณฑ์การตัดสนิ พฤติกรรม ชว่ งคะแนน พฤติกรรม 9 – 10 เด็กมีพฤตกิ รรมเหน็ แกประโยชนสวนรวมมากกวาสว นบคุ คล 6–8 เดก็ มพี ฤติกรรมคอนขา งเห็นแกป ระโยชนสวนรวมมากกวา สวนบุคคล 3–5 เดก็ มีพฤติกรรมคอนขางเหน็ แกป ระโยชนสวนบุคคลมากกวาสว นรวม 0–2 เด็กมีพฤตกิ รรมเหน็ แกป ระโยชนส ว นบคุ คลมากกวา สวนรวม หมายเหตุ ถานักเรียนไดระดับคะแนนตํ่ากวา 5 คะแนน ครูตองปรับเปลี่ยนพฤติกรรมนักเรียน โดยฝกใหนักเรียนคิดเห็นแกประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนบุคคล และประเมิน อีกคร้งั จนกวา ระดับคะแนนพฤตกิ รรมมากกวา 5 คะแนนขึ้นไป 24 สุจริต คิดฐานสอง

แบบทดสอบเบือ้ งตน้ เก่ียวกับระบบความคดิ ของนกั เรียน ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 - 6 คําชีเ้ เจง : 1. แบบทดสอบมที งั้ หมด 10 ข้อ ขอ้ ละ 1 คะแนน 2. ใหน้ กั เรยี นเขยี นคาํ ตอบทต่ี รงกบั ความคดิ ของนกั เรยี นมากทส่ี ดุ 1. นกั เรยี นจะไมช อบคบกบั เพอื่ นทเ่ี ปน คนซอื่ สตั ย เพราะจะทาํ ใหต นเองตอ งถกู จาํ กดั ดว ยกรอบ ของระเบียบตลอดเวลา ทําใหขาดความเปนอิสระในการใชชีวิต นักเรียนเห็นดวยหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ............................................................................................................................................. 2. นกั เรยี นมคี วามเชอื่ วา “การขบั รถแมจ ะผดิ กฎจราจรบา ง แตห ากทาํ ใหป ระหยดั เวลาและ ถงึ ทหี่ มายกอ นใครก็ถือวา ดที ่สี ดุ แลว ” นกั เรยี นเห็นดวยหรอื ไม เพราะเหตใุ ด ตอบ............................................................................................................................................. 3. คําวาคณุ ธรรมสาํ หรบั นักเรียน หมายความวา ผใู ดกระทําดตี อ งไดร บั ความดีตอบแทน แตถา หากกระทาํ ชว่ั ควรไดรบั ความเหน็ ใจสงสาร เพราะเขาอาจจะทาํ ไปเพราะความจาํ เปนบางอยา ง เพอื่ ความอยรู อดของชวี ิต นักเรียนเห็นดว ยหรอื ไม เพราะเหตใุ ด ตอบ............................................................................................................................................. 4. นกั เรยี นจะยกยองบุคคลท่ที าํ บุญทําทานดวยจํานวนเงนิ มากๆ โดยไมต องสนใจวา เขาหาเงิน ไดม าดวยวธิ ีทถี่ ูกตองสุจริตหรอื ไม นกั เรยี นเหน็ ดว ยหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ............................................................................................................................................. 5. เด็กชายตองหนีออกจากบานโดยข่ีรถจักรยานยนตเพื่อเดินทางเขากรุงเทพฯ ระหวางทาง เจอดา นตรวจเดก็ ชายตอ งกลวั จะโดนตาํ รวจจบั จงึ โกหกวา เดนิ ทางมาตามหาพช่ี ายเนอื่ งจากพอ เสียชวี ติ นกั เรียนเห็นดว ยกบั การกระทาํ ของเดก็ ชายตอ งหรอื ไม เพราะเหตใุ ด ตอบ............................................................................................................................................. สุจริต คดิ ฐานสอง 25

6. นกั เรียนไดแอบนาํ โทรศพั ทม าใชท ่ีโรงเรียน เน่อื งจากมีความจําเปนตองตดิ ตอกับผูปกครอง แตบ งั เอญิ โทรศพั ทแ บตเตอรหี่ มด ในชว งพกั กลางวนั จงึ ขน้ึ มาบนอาคารเรยี นเพอื่ ชารจ แบตเตอรี่ โทรศัพท เพราะกลัววาจะไมสามารถติดตอกับผูปกครองได นักเรียนคิดวาเปนการกระทําที่ ถกู ตอ งหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ............................................................................................................................................ 7. ครูสมหมายมักจะใชเวลาวางจากชั่วโมงสอนทําธุรกิจขายตรงผานโปรแกรมไลนใน คอมพิวเตอรของโรงเรียน เพ่ือเปนการหารายไดเสริม เน่ืองจากลูกกําลังเขาเรียนตอใน มหาวิทยาลัยตองใชเงินจํานวนมาก นักเรียนคิดวาครูสมหมายทําถูกตอ งหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ............................................................................................................................................ 8. เด็กชายสมบัติมาโรงเรียนพรอมกับคุณพอโดยรถยนตที่มีตราของคณะแพทยศาสตรมา รับ-สงที่ประตูทางเขาโรงเรียนทุกวัน นักเรียนคิดวาการกระทําดังกลาวสมควรหรือไม เพราะ เหตุใด ตอบ............................................................................................................................................ 9. คนขับรถโรงเรียนเปนคนขยัน จะลางรถของผูอํานวยการโรงเรียนเปนประจํา โดยใชน้ําใน โรงเรยี น นักเรียนคดิ วา คนขบั รถโรงเรียนทาํ ถกู ตองหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ............................................................................................................................................ 10. สมชายเปน บตุ รของคณุ ครสู ายสมร ตอนเยน็ หลงั เลกิ เรยี นสมชายตอ งไปนง่ั รอคณุ ครสู ายสมร ในหองพักครู โดยนั่งเลนคอมพิวเตอรและเปดเคร่ืองปรับอากาศ นักเรียนคิดวาสมชายทํา ถกู ตองหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ............................................................................................................................................ 26 สุจรติ คดิ ฐานสอง

เฉลยแบบทดสอบเบือ้ งต้นเก่ยี วกบั ระบบความคดิ ของนักเรยี น ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 - 6 คําชีเ้ เจง : 1. แบบทดสอบมที งั้ หมด 10 ข้อ ขอ้ ละ 1 คะแนน 2. ใหน้ กั เรยี นเขยี นตอบคาํ ถามทต่ี รงกบั ความคดิ ของนกั เรยี นมากทส่ี ดุ 1. นกั เรยี นจะไมช อบคบกบั เพอ่ื นทเ่ี ปน คนซอื่ สตั ย เพราะจะทาํ ใหต นเองตอ งถกู จาํ กดั ดว ยกรอบ ของระเบียบตลอดเวลา ทําใหขาดความเปนอิสระในการใชชีวิต นักเรียนเห็นดวยหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ ไมเหน็ ดว ย เพราะความซ่อื สตั ยเปนลักษณะนสิ ัยของบุคคลท่พี งึ มี อกี ทั้งการปฏบิ ัติ ตามกรอบของระเบยี บกฎหมาย ซง่ึ เปน กตกิ าในการปฏบิ ตั ติ อ กนั ในสงั คม เพอื่ ใหเ กดิ ความสงบ เรยี บรอยในบา นเมือง 2. นกั เรยี นมคี วามเชอื่ วา “การขบั รถแมจ ะผดิ กฎจราจรบาง แตห ากทาํ ใหป ระหยดั เวลาและ ถึงท่หี มายกอนใครก็ถือวาดที สี่ ุดแลว” นักเรยี นเหน็ ดว ยหรอื ไม เพราะเหตใุ ด ตอบ ไมเ หน็ ดว ย เพราะกฎจราจรเปน กฎหมายเพอ่ื ปอ งกนั อบุ ตั เิ หตแุ ละสรา งความปลอดภยั บนถนน การขับรถผิดกฎจราจรทําใหเกิดอุบัติเหตุกับบุคคลอื่นได เปนการกระทําท่ีเห็นแก ประโยชนส วนตัวมากกวา ประโยชนสว นรวม 3. คาํ วา คุณธรรมสาํ หรับนักเรียน หมายความวาผูใ ดกระทาํ ดีตองไดร บั ความดีตอบแทน แตถ า หากกระทาํ ชวั่ ควรไดร บั ความเหน็ ใจสงสาร เพราะเขาอาจจะทาํ ไปเพราะความจาํ เปน บางอยา ง เพอ่ื ความอยรู อดของชวี ติ นกั เรยี นเหน็ ดวยหรือไม เพราะเหตใุ ด ตอบ 1. เห็นดวยกับ “คุณธรรมสําหรับนักเรียน” เพราะผูใดกระทําดีตองไดรับความดี ตอบแทน แมอ าจไมไดร บั ผลตอบแทนอยางฉบั พลนั หรือเปน รูปธรรม แตอ ยางนอยก็ภมู ใิ จใน ตนเองที่ไดกระทําความดแี มไ มม ีใครรเู หน็ หรอื ไดรบั การช่ืนชม 2. ไมเห็นดวย กับประโยคทวี่ า “การกระทําช่วั ควรไดรบั ความเห็นใจสงสาร เพราะความ จําเปนบางอยางเพอ่ื ความอยรู อดของชีวติ ” เนือ่ งจากการกระทําชั่วกบั การกระทําเพราะความ จาํ เปน ตอ งแยกออกจากกนั หากตอ งตดั สนิ ใจทาํ สง่ิ ใดในเรอ่ื งทจ่ี าํ เปน หรอื ความอยรู อดของชวี ติ หรือเร่ืองอืน่ ใดก็ตาม ตองยดึ หลกั ความถูกตอ งเปน ท่ีต้ัง ไมทําใหผ อู ื่นไดร บั ความเดือดรอน สุจริต คดิ ฐานสอง 27

4. นกั เรยี นจะยกยอ งบคุ คลทที่ าํ บญุ ทาํ ทานดว ยจาํ นวนเงนิ มากๆ โดยไมต อ งสนใจวาเขาหาเงนิ ไดม าดว ยวธิ ีท่ถี ูกตองสุจรติ หรอื ไม นักเรยี นเหน็ ดวยหรอื ไม เพราะเหตใุ ด ตอบ ไมเ หน็ ดวย เพราะการทําบญุ ทําทานไมข ึน้ อยูกับจํานวนเงนิ ที่บริจาค หากนําเงิน หรือทรัพยสินที่ไดจากการทุจริต มาสรางประโยชนในสังคมก็ไมควรไดรับการยกยอง ในทาง กลบั กนั หากทาํ บญุ ทาํ ทานดว ยเงนิ เพยี งเลก็ นอ ยแตห ามาดว ยความถกู ตอ งซอื่ สตั ยส จุ รติ ควรได รบั การยกยอ ง 5. เด็กชายตองหนีออกจากบานโดยข่ีรถจักรยานยนตเพื่อเดินทางเขากรุงเทพฯ ระหวางทาง เจอดานตรวจเด็กชายตองกลัวจะโดนตํารวจจับจึงโกหกวา เดินทางมาตามหาพ่ีชายเนื่องจาก พอ เสียชีวิต นักเรยี นเห็นดว ย กับการกระทาํ ของเด็กชายตอ งหรือไม เพราะเหตใุ ด ตอบ ไมเ ห็นดว ย เพราะตามกฎหมายกําหนดใหผ ทู ี่ขับข่ีรถจักรยานยนตบนทองถนนได น้ัน ตองมีใบอนุญาตขับขี่รถจักรยานยนต โดยเด็กชายตองไดฝาฝนขอบังคับของกฎหมาย ซง่ึ อาจกอ ใหเ กดิ อบุ ตั เิ หตตุ อ ตนเองหรอื ผสู ญั จรไปมา เปน การเหน็ แกป ระโยชนส ว นตนเปน หลกั และการโกหกเพ่ือใหตนเองพนจากความรับผิด เปนการแสดงออกถึงการไมซื่อสัตยสุจริต ไมม ีความรบั ผิดชอบในสง่ิ ท่ตี นไดก ระทําลงไป 6. นักเรียนไดแอบนําโทรศัพทม าใชท่โี รงเรยี น เนื่องจากมคี วามจําเปน ตอ งติดตอ กบั ผปู กครอง แตบ งั เอญิ โทรศพั ทแ บตเตอรห่ี มด ในชว งพกั กลางวนั จงึ ขน้ึ มาบนอาคารเรยี นเพอื่ ชารจ แบตเตอร่ี โทรศัพท เพราะกลัววาจะไมสามารถติดตอกับผูปกครองได นักเรียนคิดวาเปนการกระทํา ที่ถูกตอ งหรือไม เพราะเหตุใด ตอบ ไมถ กู ตอ ง เนอ่ื งจากการกระทาํ ดงั กลา วเปน การเหน็ แกป ระโยชนส ว นตวั ทาํ ใหโ รงเรยี น ตองมีภาระคาใชจายเพ่ิมมากขึ้นจากการนําโทรศัพทสวนตัวมาชารจแบตเตอร่ีท่ีโรงเรียน หากมคี วามจาํ เปน ในการตดิ ตอสอื่ สารกบั ผปู กครองอยางยง่ิ อาจใชโทรศพั ทส าธารณะ หรอื ยมื โทรศพั ทเพือ่ น ครใู นการติดตอ เปน ตน 28 สุจรติ คดิ ฐานสอง

7. ครูสมหมายมักจะใชเวลาวางจากชั่วโมงสอนทําธุรกิจขายตรงผานโปรแกรมไลนใน คอมพิวเตอรของโรงเรียน เพ่ือเปนการหารายไดเสริม เน่ืองจากลูกกําลังเขาเรียนตอใน มหาวิทยาลัยตอ งใชเ งนิ จาํ นวนมาก นักเรียนคิดวา ครสู มหมายทําถกู ตองหรอื ไม เพราะเหตใุ ด ตอบ ทําไมถูกตอง เพราะเปนการนําทรัพยสินของโรงเรียนมาใชในประโยชนสวนตน ไมวาจะเปนคอมพิวเตอร สัญญาณอินเตอรเน็ต ซ่ึงทํางานดวยกระแสไฟฟาของโรงเรียน ทาํ ใหโ รงเรยี นมีภาระคาใชจ ายสงู ข้นึ และเปน การเบยี ดบงั เวลาราชการ เน่ืองจากยังอยูในเวลา ปฏิบัติหนาท่ีราชการ จึงควรที่จะเอาเวลาวางจากช่ัวโมงสอนในการพัฒนาการศึกษาหลักสูตร การเรยี นการสอนหรือท่เี ปน ประโยชนตอสว นรวม 8. เด็กชายสมบัติมาโรงเรียนพรอมกับคุณพอโดยรถยนตที่มีตราของคณะแพทยศาสตรมา รับ-สงท่ีประตูทางเขาโรงเรียนทุกวัน นักเรียนคิดวาการกระทําดังกลาวสมควรหรือไม เพราะ เหตใุ ด ตอบ ไมส มควร เพราะเปนการนําทรัพยสินทางราชการมาใชในประโยชนส วนตัว ซึ่งการใช รถยนตข องทางราชการตองใชในกจิ การของหนวยงานและตองเปนงานทางราชการเทานนั้ และ เปนความผดิ ตามกฎหมาย 9. คนขับรถโรงเรียนเปนคนขยัน จะลางรถของผูอํานวยการโรงเรียนเปนประจํา โดยใชน้ําใน โรงเรียน นักเรียนคดิ วา คนขับรถโรงเรยี นทาํ ถกู ตองหรอื ไม เพราะเหตใุ ด ตอบ ไมถูกตอง เพราะเปนการนํานํ้าประปาของโรงเรียนซ่ึงเปนทรัพยสินของโรงเรียน มาลา งรถยนตข องผอู าํ นวยการโรงเรยี นซง่ึ เปน ทรพั ยส นิ สว นตวั เปน การนาํ ทรพั ยส นิ ทางราชการ มาใชประโยชนส วนตน ทาํ ใหโรงเรียนตองจายคา น้ําประปาเพม่ิ ขน้ึ 10. สมชายเปน บตุ รของคณุ ครสู ายสมร ตอนเยน็ หลงั เลกิ เรยี นสมชายตอ งไปนง่ั รอคณุ ครสู ายสมร ในหองพักครู โดยน่ังเลนคอมพิวเตอรและเปดเคร่ืองปรับอากาศ นักเรียนคิดวาสมชายทํา ถูกตองหรือไม เพราะเหตใุ ด ตอบ ไมถูกตอ ง เพราะคอมพิวเตอรแ ละเคร่ืองปรบั อากาศเปน ทรัพยสนิ ของโรงเรียนตอ งใช ในงานราชการเทาน้ัน การที่คุณครูสายสมรใหสมชายนั่งเลนคอมพิวเตอรและเปดเคร่ืองปรับ อากาศในหอ งพกั ครู ระหวางรอคณุ ครสู ายสมร เปน การใชทรพั ยข องทางราชการเพอ่ื ประโยชน สวนตวั ทําใหโ รงเรยี นตองมภี าระคา ใชจ า ยเพมิ่ ข้นึ สุจรติ คิดฐานสอง 29

เกณฑ์การตัดสนิ พฤติกรรม ชว่ งคะแนน พฤติกรรม 9 – 10 เด็กมีพฤตกิ รรมเหน็ แกป ระโยชนส วนรวมมากกวาสวนบุคคล 6–8 เดก็ มพี ฤติกรรมคอ นขา งเหน็ แกประโยชนส ว นรวมมากกวา สว นบุคคล 3–5 เด็กมีพฤติกรรมคอ นขา งเห็นแกป ระโยชนส วนบุคคลมากกวาสว นรวม 0–2 เด็กมีพฤตกิ รรมเหน็ แกประโยชนสวนบุคคลมากกวา สวนรวม หมายเหตุ ถานักเรียนไดระดับคะแนนต่ํากวา 5 คะแนน ครูตองปรับเปล่ียนพฤติกรรมนักเรียน โดยฝกใหนักเรียนคิดเห็นแกประโยชนสวนรวมมากกวาประโยชนสวนบุคคล และประเมิน อกี ครง้ั จนกวาระดับคะแนนพฤตกิ รรมมากกวา 5 คะแนนขน้ึ ไป 30 สุจริต คิดฐานสอง

เรยี นรู้อยา่ งเข้าใจมอี ะไรใน “ระบบคดิ ฐานสอง” ระบบการคดิ ทส่ี รา งปญ หาใหแ กส งั คม คอื ระบบการคดิ ทไี่ มส ามารถแยกเรอื่ งประโยชน สวนบุคคลและประโยชนสวนรวมออกจากกันใหไดอยางชัดเจน โดยมักจะนําประโยชนสวน บคุ คลและประโยชนส ว นรวมมาปะปนกนั นาํ ประโยชนส ว นรวมมาเปน ประโยชนส ว นบคุ คล เหน็ แกประโยชนสวนบุคคลเปนหลัก เห็นแกประโยชนของเครือญาติและพวกพองสําคัญกวา ประโยชนของประเทศชาติ ระบบการคิดดงั กลาวจึงเปนตน เหตสุ ําคัญทีจ่ ะนาํ ไปสูก ารทุจรติ ระบบเลข “ฐานสบิ ” (decimal number system) เปน ระบบเลขที่มีตวั เลข 10 ตวั คือ 0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 , 9 เปน ระบบคิดเลขท่ีเราใชใ นชีวิตประจําวนั กันมาตัง้ แต จาํ ความกันได ไมวาจะเปนการใชบอกปริมาณหรือบอกขนาด ชว ยใหเ กิดความเขาใจทต่ี รงกัน ในการส่อื ความหมาย สอดคลอ งกบั ระบบ “Analog” ทใี่ ชค าตอเน่ืองหรือสัญญาณซึ่งเปน คา ตอ เน่ือง หรอื แทนความหมายของขอมลู โดยการใชฟ ง กชนั ทีต่ อ เน่ือง (Continuous) แผนภาพ แสดงระบบเลข “ฐานสบิ ” (decimal number system) เปนระบบเลขทม่ี ตี วั เลข 10 ตัว และระบบเลข “ฐานสอง” (binary number system) เปน ระบบเลขท่ีมสี ัญลักษณ เพียงสองตัว คือ 0 (ศนู ย) กับ 1 (หนง่ึ ) สอดคลองกับการทาํ งานระบบ Digital ทม่ี ีลกั ษณะ การทํางานภายในเพียง 2 จงั หวะ คอื 0 กับ 1 หรอื ON กับ OFF (Discrete) ตดั เด็ดขาด 01 แผนภาพแสดงระบบเลข “ฐานสอง” (binary number system) เปนระบบเลขท่ีมสี ัญลักษณเ พยี งสองตัว จากที่กลาวมาเม่ือนําระบบเลข “ฐานสิบ” และระบบเลข “ฐานสอง” มาปรับใช เปนแนวคิด คือระบบคิด “ฐานสิบ (Analog)” และระบบคิด “ฐานสอง (Digital)” จะเห็นไดวา สจุ ริต คดิ ฐานสอง 31

1. ระบบคิดฐานสิบ (Analog) ความหมาย ระบบคิด “ฐานสิบ (Analog)” เปนระบบการคิดวิเคราะหขอมูล ท่ีมีตัวเลขหลายตัว และอาจหมายถึงโอกาสที่จะเลือกไดหลายทาง เกิดความคิดที่หลากหลาย ซับซอน หากนํามาเปรียบเทียบกับการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ของรัฐ จะทําใหเจาหนาท่ี ของรฐั ตอ งคดิ เยอะ ตอ งใชด ลุ ยพนิ จิ เยอะ อาจจะนาํ ประโยชนส ว นบคุ คลและประโยชนส ว นรวม มาปะปนกนั ได แยกประโยชนสวนบุคคลและประโยชนสว นรวมออกจากกันไมไ ด “การปฏิบัติงานแบบใชระบบคิดฐานสิบ (Analog)” คือ การที่เจาหนาท่ีของรัฐ ยังมีระบบการคิดที่ยังแยกเรื่องตําแหนงหนาที่กับเรื่องสวนตนออกจากกันไมได นําประโยชน สวนบุคคลและประโยชนสวนรวมมาปะปนกันไปหมด แยกแยะไมอ อกวาสิ่งไหนคือประโยชน สวนบุคคลสิ่งไหนคือประโยชนสวนรวม นําบุคลากรหรือทรัพยสินของราชการมาใชเพ่ือ ประโยชนสวนบุคคล เบียดบังราชการ เห็นแกประโยชนสวนบุคคล เครือญาติ หรือพวกพอง เหนอื กวา ประโยชนข องสว นรวมหรอื ของหนว ยงาน จะคอยแสวงหาประโยชนจ ากตาํ แหนง หนา ท่ี ราชการ กรณเี กดิ การขดั กนั ระหวา งประโยชนส ว นบคุ คลและประโยชนส ว นรวม จะยดึ ประโยชน สวนบคุ คลเปนหลัก 32 สจุ ริต คดิ ฐานสอง

2. ระบบคิดฐานสอง (Digital) ความหมาย ระบบคิด “ฐานสอง(Digital)” เปนระบบการคิดวิเคราะหขอมูล ท่ีสามารถเลือกไดเพียง 2 ทางเทาน้ัน คือ 0 (ศูนย) กับ 1 (หนึ่ง) และอาจหมายถึงโอกาส ทจี่ ะเลอื กไดเพียง 2 ทาง เชน ใช กบั ไมใ ช, จรงิ กบั เท็จ, ทําได กับ ทาํ ไมไ ด, ประโยชน สว นบคุ คล กบั ประโยชนส ว นรวม เปน ตน จงึ เหมาะกบั การนาํ มาเปรยี บเทยี บกบั การปฏบิ ตั งิ าน ของเจา หนา ทข่ี องรฐั ทต่ี อ งสามารถแยกเรอ่ื งตาํ แหนง หนา ทกี่ บั เรอ่ื งสว นตวั ออกจากกนั ไดอ ยา ง เดด็ ขาด และไมก ระทาํ การทเี่ ปน การขดั กนั ระหวา งประโยชนส ว นบคุ คลและประโยชนส ว นรวม “การปฏิบัติงานแบบใชระบบคิดฐานสอง (Digital)” คือ การท่ีเจาหนาท่ีของรัฐ มรี ะบบการคดิ ทส่ี ามารถแยกเรอื่ งตาํ แหนง หนา ทกี่ บั เรอื่ งสว นบคุ คลออกจากกนั ไดอ ยา งชดั เจน วาสิ่งไหนถูกส่ิงไหนผิด สิ่งไหนทําไดส่ิงไหนทําไมได สิ่งไหนคือประโยชนสวนบุคคลสิ่งไหน คือประโยชนสวนรวม ไมนํามาปะปนกัน ไมนําบุคลากรหรือทรัพยสินของราชการมาใชเพ่ือ ประโยชนส ว นบคุ คล ไมเ บยี ดบงั ราชการ เหน็ แกป ระโยชนส ว นรวมหรอื ของหนว ยงานเหนอื กวา ประโยชนของสวนบุคคล เครือญาติ และพวกพอง ไมแสวงหาประโยชนจากตําแหนงหนาที่ ราชการ ไมร ับทรัพยสินหรือประโยชนอ ื่นใดจากการปฏิบัติหนา ที่ กรณีเกิดการขัดกันระหวา ง ประโยชนสวนบุคคลและประโยชนส ว นรวม กจ็ ะยดึ ประโยชนส วนรวมเปน หลกั สจุ ริต คิดฐานสอง 33

เครดิต: ศนู ยป ฏิบัตกิ ารตอ ตานการทจุ รติ กระทรวงสาธารณสขุ 34 สุจริต คดิ ฐานสอง

สจุ รติ คิดฐานสอง 35

3. ความแตกตา่ งของ “จรยิ ธรรม (Ethics)” และ “การทุจริต (Corruption)” จรยิ ธรรมเปน บรรทดั ฐานทถี่ กู สรา งขน้ึ แลว นาํ ไปใชก บั บคุ คลเปน แนวทางทค่ี นในสงั คม เหน็ พอ งตอ งกนั วา เปน ความดคี วามงาม เปน สงิ่ ทก่ี ระทาํ แลว คนอน่ื เกดิ ประโยชนม คี วามสขุ สงบ เกิดขน้ึ แกคนท่ีอยรู วมกนั เปน หมคู ณะ มีผใู หความหมายของจริยธรรม ไวดังนี้ พิภพ วชังเงิน (2545, หนา 7) กลาววา จริยธรรม หมายถึงการปฏิบัติสิ่งท่ีดีงาม เปนทยี่ อมรบั ของสังคม พระราชชัยกวี (อางใน ภิกขุพุทธทาส อินทปญโญ 2548, หนา 14) กลาววา จริยธรรมเปนสิ่งพึงประพฤติจะตองประพฤติสวนศีลธรรมน้ันคือ ส่ิงท่ีกําลังประพฤติอยูหรือ ประพฤตดิ แี ลว ราชบัณฑติ ยสถาน (2546) ไดใหค วามหมายคําวา จรยิ ธรรม วาหมายถงึ ธรรมทเ่ี ปน ขอ ประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม กฎศีลธรรม สรปุ ไดว า “จรยิ ธรรม” เปน สง่ิ ทดี่ งี ามทบี่ คุ คลพงึ ปฏบิ ตั ิ เพอื่ ใหเ ปน ทย่ี อมรบั ของสงั คม การทจุ ริตในวงราชการถือเปน ภัยรายแรงทีค่ ุกคามความมน่ั คงของประเทศ ซึง่ หลาย คนอาจจะมองวา ไมส าํ คญั เพราะอาจคดิ วา ไมใ ชป ญ หาของตวั เองและเปน เรอ่ื งทไ่ี กลตวั แตห าก พิจารณาแลว จะพบวาปญหาการทุจริตเปนสิ่งท่ีเกี่ยวพันกับชีวิตของประชาชนอยางมาก มผี ูใหความหมายของการทุจริต ไวด ังน้ี ราชบัณฑิตยสถาน (2546) ไดใหค วามหมายของคําวา ทจุ รติ หมายถึง ประพฤติช่วั คดโกง ไมซ ื่อตรง ประมวลกฎหมายอาญาใหคํานิยามไวในมาตรา 1(1) ไดกลาวไววา โดยทุจริต หมายความวา “เพอ่ื แสวงหาประโยชนท มี่ คิ วรไดโ ดยชอบดว ยกฎหมายสาํ หรบั ตนเองหรอื ผอู นื่ ” พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 มาตรา 4 ไดกลา วไวว า “ทจุ ริตตอ หนา ท”ี่ หมายความวา การปฏบิ ัติหรอื ละเวนการ ปฏบิ ตั อิ ยา งใดในพฤตกิ ารณท อ่ี าจทาํ ใหผ อู น่ื เชอื่ วา มตี าํ แหนง หนา ทท่ี งั้ ทต่ี นมไิ ดม ตี าํ แหนง เหนอื หนาที่นั้น หรือใชอํานาจในตําแหนงหรือหนาท่ี ทั้งน้ีเพ่ือแสวงหาประโยชนท ่ีมิควรไดโ ดยชอบ สาํ หรับตนเองหรอื ผูอน่ื 36 สจุ ริต คดิ ฐานสอง

อุดม รัฐอมฤต (2546) อธิบายวา การทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ เปน เรอื่ งของการใชอ าํ นาจหรอื อทิ ธพิ ลในตาํ แหนง หนา ทรี่ าชการเพอื่ ประโยชนส ว นตวั เนอ่ื งจาก เจา หนาทขี่ องรัฐเปนผูไ ดรบั มอบหมายใหมอี ํานาจกระทาํ การตา งๆ แทนรฐั โดยมวี ตั ถุประสงค เพื่อใหเปนผูรักษาประโยชนรวมกันของมหาชน อํานาจเหลาน้ีไมไดผูกติดกับตัวบุคคล แตมา จากสถานภาพ การเปนเจาหนาทข่ี องรัฐซง่ึ เปนกลไกของรฐั บาลในการดําเนนิ งานเพอ่ื สวนรวม ดังนั้นการท่ีเจาหนาที่ของรัฐมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไปเพื่อประโยชนสวนตัว ญาติพี่นอง พรรคพวกหรือเห็นแกความม่ังค่ังและสถานภาพที่จะไดรับหรือทําใหเกิดความเสียหาย แกผ หู นง่ึ ผใู ด หรอื ราชการ ตอ งถือวา เปนการทจุ รติ ประพฤติมชิ อบในวงราชการ สรปุ ไดว า “การทจุ ริต” เปนการประพฤติทีไ่ มซ ่ือตรงโดยใชต าํ แหนงหนาทรี่ าชการ แสวงหาประโยชนสวนบุคคล ญาติพ่ีนอง หรือพรรคพวก ซ่ึงทําใหเกิดความเสียหาย แกผ ูห นงึ่ ผูใด หรอื สวนรวม จากความหมายของจริยธรรมและการทุจริต จะเห็นไดวามีความแตกตางกัน อยางเห็นไดชัด ท้ังนี้เพราะจริยธรรมเปนส่ิงท่ีดีงามท่ีบุคคลพึงปฏิบัติเพ่ือใหเปนที่ยอมรับ ของสังคม ซ่ึงเจาหนาที่ของรัฐควรยึดถือปฏิบัติอยางเครงครัดเพื่อเปนกรอบในการควบคุม พฤตกิ รรมการทาํ งาน สว นการทจุ รติ เปน สงิ่ ทเ่ี จา หนา ทข่ี องรฐั ไมพ งึ ปฏบิ ตั เิ พราะเปน พฤตกิ รรม ที่ขัดตอจริยธรรมและกฎหมาย ถือเปนความผิดข้ันรายแรงและสังคมสวนใหญไมยอมรับ เนอื่ งจากทําใหเ กดิ ความเสียหายแกร าชการและประเทศชาติ สจุ ริต คดิ ฐานสอง 37

การขดั กนั ระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชนส์ ่วนรวม มคี วามสมั พนั ธก์ ับ “จริยธรรม” และ “การทจุ ริต” อย่างไร ? “จรยิ ธรรม” เปน กรอบใหญท างสงั คมทเ่ี ปน พ้ืนฐานของแนวคิดเกี่ยวกับการขัดกันระหวาง ประโยชนสวนบุคคลและประโยชนสวนรวมและ การทุจริต การกระทําใดที่ผิดตอกฎหมายวาดวย การขัดกันระหวางประโยชนสวนบุคคลและ ประโยชนส ว นรวมและการทจุ รติ ยอ มเปน ความผดิ จริยธรรมดวย แตตรงกันขาม การกระทําใดที่ฝาฝน จริยธรรม อาจไมเปนความผิดเกี่ยวกับการขัดกัน ระหวางประโยชนสวนบุคคลและประโยชน สวนรวมและการทุจริต เชน มีพฤติกรรมสวนตัว ไมเหมาะสม มีพฤติกรรมชูสาว 38 สจุ ริต คิดฐานสอง

“การทุจริต” เปนพฤติกรรมที่ฝาฝนกฎหมาย โดยตรง ถอื เปน ความผดิ อยา งชดั เจน สงั คมสว นใหญ จะมกี ารบญั ญตั กิ ฎหมายออกมารองรบั มบี ทลงโทษ ชัดเจน ถือเปนความผิดขั้นรุนแรงที่สุดที่เจาหนาที่ ของรัฐตองไมปฏิบัติ “การขัดกันระหวางประโยชนสวนบุคคลและ ประโยชนสวนรวม” เปนพฤติกรรมที่อยูระหวาง จริยธรรมกับการทุจริต ท่ีจะกอใหเกิดผลประโยชน สวนบุคคลกระทบตอผลประโยชนสวนรวม ซ่ึง พฤตกิ รรมบางประเภทมกี ารบญั ญตั เิ ปน ความผดิ ทาง กฎหมายมีบทลงโทษชัดเจน แตพฤติกรรมบาง ประเภทยงั ไมม ีการบัญญัติขอหามไวในกฎหมาย “จริยธรรม” เปนหลักสําคัญในการควบคุม พฤติกรรมของเจาหนาท่ีของรัฐ เปรียบเสมือน โครงสรา งพนื้ ฐานทเ่ี จา หนา ทขี่ องรฐั ตอ งยดึ ถอื ปฏบิ ตั ิ “เจา หนา ท่ีของรฐั ที่ขาดจริยธรรมในการปฏบิ ัตหิ นา ท่ี โดยเขาไปกระทําการใดๆ ที่เปนการขัดกันระหวาง ประโยชนส ว นบคุ คลและประโยชนส ว นรวม ถอื วา เจา หนาท่ีของรัฐผูน้ันขาดความชอบธรรมในการปฏิบัติ หนาท่ี และจะเปนตน เหตุของการทจุ รติ ตอไป” สุจรติ คิดฐานสอง 39

4. ประโยชนส์ ่วนบุคคล และประโยชน์ส่วนรวม ประโยชน์ส่วนบุคคล หมายถึง การที่บุคคลทั่วไปในสถานะเอกชนหรือเจาหนาที่ ของรฐั ไดท าํ กจิ กรรมหรอื ไดก ระทาํ การตา งๆ เพอ่ื ประโยชนส ว นตน ครอบครวั ญาติ เพอื่ น หรอื ของกลุมในสังคมที่มีความสัมพันธกันในรูปแบบตางๆ เชน การประกอบอาชีพ การทําธุรกิจ การคา การลงทนุ เพือ่ หาประโยชนใ นทางการเงนิ หรือในทางทรพั ยส ินตา งๆ เปนตน ประโยชน์ส่วนรวม หมายถึง การท่ีบุคคลใดๆ ในสถานะที่เปนเจาหนาที่ของรัฐ (ผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ขาราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือเจาหนาที่ของรัฐ ในหนวยงานของรัฐ) ไดกระทําการใดๆ ตามหนาที่หรือไดปฏิบัติหนาที่อื่นเปนการดําเนินการ ในอกี สว นหนงึ่ ทแี่ ยกออกมาจากการดาํ เนนิ การตามหนา ทใ่ี นสถานะของเอกชน การกระทาํ การ ใดๆ ตามหนาท่ีหรือการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่ของรัฐจึงมีวัตถุประสงคหรือมีเปาหมาย เพอ่ื ประโยชนข องสว นรวม หรอื การรกั ษาประโยชนส ว นรวมทเ่ี ปน ประโยชนข องรฐั การทาํ หนา ท่ี ของเจาหนาที่ของรัฐจึงมีความเก่ียวเนื่องเชื่อมโยงกับอํานาจหนาท่ีตามกฎหมายและจะมี รูปแบบของความสัมพันธหรือมีการกระทําในลักษณะตางๆ กันที่เหมือนหรือคลายกับ การกระทําของบคุ คลในสถานะเอกชน เพยี งแตก ารกระทาํ ในสถานะท่เี ปนเจา หนาท่ขี องรัฐกบั การกระทําในสถานะเอกชน จะมีความแตกตา งกันทว่ี ตั ถปุ ระสงค 40 สจุ รติ คิดฐานสอง

เครดติ : สาํ นักงานนวัตกรรมแหง ชาติ สุจรติ คดิ ฐานสอง 41


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook