Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตร กลุ่มสาระสังคมศึกษา

หลักสูตร กลุ่มสาระสังคมศึกษา

Published by Anda man, 2021-11-09 08:35:10

Description: หลักสูตร กลุ่มสาระสังคมศึกษา

Search

Read the Text Version

ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นรูแ้ กนกลางต้องรแู้ ละควรรู้ กลุ่มสาระการเรียนร้สู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กล่มุ พฒั นาหลักสตู รและมาตรฐานการเรียนรู้ สานักวิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร 15 สิงหาคม 2559

สรปุ ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางต้องรู้และควรรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ชนั้ ตวั ชี้วดั ทงั้ หมด ตอ้ งรู้ ควรรู้ หมายเหตุ ป.๑ 32 9 23 ป.๒ 34 9 25 ป.๓ 39 8 31 ป.๔ 38 13 25 ป.๕ 37 18 19 ป.๖ 39 24 15 ม.๑ 45 23 22 ม.๒ 44 30 14 ม.๓ 49 30 19 ม.๔ - ๖ 63 35 28 รวม 420 199 221 ข้อมลู ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนร้แู กนกลางต้องรู้และควรรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 ชัน้ ที่ รหสั ตัวช้ีวัด ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ ป.1 1 ส ๑.๑ ป.๑/๑ บอกพุทธประวัติ หรือประวัติ  พุทธประวัติโดยย่อ  ของศาสดาท่ตี นนบั ถือโดยสังเขป  ประสตู ิ  ตรสั รู้  ปรนิ พิ พาน 2 ส ๑.๑ ป.๑/๒ ชื่นชมและบอกแบบอยา่ ง  พุทธสาวก พุทธสาวิกา  การดาเนนิ ชวี ติ และข้อคิด  สามเณรบัณฑติ จากประวตั สิ าวก ชาดก/เรื่องเลา่  ศาสนิกชนตัวอย่าง และศาสนิกชนตัวอย่าง  พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว ตามทกี่ าหนด ภมู พิ ลอดุลยเดช 3 ส ๑.๑ ป.๑/๓ บอกความหมาย ความสาคญั  พระรัตนตรัย  และเคารพพระรตั นตรยั  ศรทั ธาพระพทุ ธ พระธรรม ปฏิบตั ิตามหลกั ธรรมโอวาท ๓ พระสงฆ์ ในพระพุทธศาสนาหรือหลกั ธรรม  โอวาท ๓ ของศาสนาท่ตี นนับถือ  ไม่ทาชวั่ ตามท่ีกาหนด  ทาความดี  ทาจติ ให้บริสุทธิ์ (บรหิ ารจิตและเจริญปัญญา) 4 ส ๑.๑ ป.๑/๔ เห็นคุณค่าและสวดมนต์  ฝึกสวดมนต์และแผ่เมตตา  แผ่เมตตา มีสติทเ่ี ป็นพ้ืนฐาน  ความหมายและประโยชน์ของสติ ของสมาธิในพระพุทธศาสนา  ฟงั เพลงและร้องเพลงอย่างมีสติ หรือการพัฒนาจิต  เลน่ และทางานอยา่ งมสี ติ ตามแนวทางของศาสนา  ฝึกให้มีสตใิ นการฟงั การอ่าน ที่ตนนับถือตามทีก่ าหนด การคิด การถามและการเขยี น 5 ส ๑.๒ ป.๑/๑ บาเพญ็ ประโยชนต์ ่อวดั  การบาเพ็ญประโยชน์ต่อวัด  หรอื ศาสนสถานของศาสนา หรือศาสนสถาน ที่ตนนับถือ  การพัฒนาทาความสะอาด  การบริจาค  การรว่ มกจิ กรรมทางศาสนา 6 ส ๑.๒ ป.๑/๒ แสดงตนเป็นพุทธมามกะ  การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ  หรือแสดงตนเป็นศาสนิกชน ของศาสนาทต่ี นนบั ถือ 7 ส ๑.๒ ป.๑/๓ ปฏบิ ัตติ นในศาสนพิธี พิธีกรรม  การปฏบิ ตั ิตนในวนั สาคัญ  และวนั สาคัญทางศาสนา ทางศาสนา ตามที่กาหนดไดถ้ ูกต้อง  เขา้ ร่วมกิจกรรมในวันสาคัญ  วันวิสาขบชู า  การบูชาพระรัตนตรัย ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

ชั้น ที่ รหสั ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ต้องรู้ ๒ ควรรู้ ป.1 8 ส ๒.๑ ป.๑/๑ บอกประโยชน์และปฏิบตั ติ น  การเป็นสมาชกิ ท่ีดีของ  เปน็ สมาชิกท่ดี ีของครอบครวั ครอบครัวและโรงเรียน เช่น  และโรงเรียน o กตญั ญูกตเวทีและเคารพ รบั ฟังคาสง่ั สอนของพอ่ แม่ ญาตผิ ใู้ หญ่ ครู และผ้มู ีพระคณุ o รจู้ กั กล่าวคาขอบคุณ ขอโทษ การไหวผ้ ู้ใหญ่ o ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง กติกา กฎ ระเบียบ ของครอบครวั และโรงเรยี น o มีสว่ นรว่ มในกิจกรรม ของครอบครัวและโรงเรียน o มีเหตุผลและยอมรับฟัง ความคิดเห็นของผู้อน่ื o มรี ะเบียบวนิ ัย มนี ้าใจ  ประโยชน์ของการปฏิบัติตน เปน็ สมาชิกท่ีดีของครอบครัว และโรงเรยี น 9 ส ๒.๑ ป.๑/๒ ยกตัวอยา่ งความสามารถ  ลักษณะความสามารถ  และความดีของตนเอง ผูอ้ ่นื และบอกผลจากการกระทาน้ัน และลกั ษณะความดขี องตนเอง 10 ส ๒.๒ ป.๑/๑ บอกโครงสรา้ ง บทบาท และผอู้ นื่ เชน่ และหน้าท่ีของสมาชิก ในครอบครัวและโรงเรยี น o ความกตัญญกู ตเวที o ความมีระเบยี บวินยั o ความรับผดิ ชอบ o ความขยนั อดทนอดกลั้น o การเอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่ และช่วยเหลือผู้อนื่ o ความซื่อสตั ยส์ ุจริต o ความเมตตากรุณา  ผลของการกระทาความดี เชน่ ภาคภูมใิ จ มีความสุข ได้รบั การชน่ื ชม ยกย่อง  โครงสร้างของครอบครวั และความสัมพันธ์ของบทบาท หน้าที่ของสมาชิกในครอบครัว  โครงสร้างของโรงเรยี น ความสมั พันธ์ของบทบาท หนา้ ที่ของสมาชกิ ในโรงเรียน ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๓ ช้ัน ที่ รหัสตัวช้ีวัด ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.1 11 ส ๒.๒ ป.๑/๒ ระบุบทบาท สิทธิ หน้าที่  ความหมายและความแตกต่าง  ของอานาจตามบทบาท สทิ ธิ ของตนเองในครอบครวั หน้าที่ในครอบครวั และโรงเรียน และโรงเรียน  การใชอ้ านาจในครอบครัว ตามบทบาท สิทธิ หน้าท่ี 12 ส ๒.๒ ป.๑/๓ มีส่วนรว่ มในการตัดสนิ ใจ  กิจกรรมตามกระบวนการ  และทากจิ กรรมในครอบครวั และโรงเรียนตามกระบวนการ ประชาธปิ ไตยในครอบครัว เช่น ประชาธิปไตย การแบ่งหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบ ในครอบครัว การรบั ฟังและ แสดงความคดิ เหน็  กิจกรรมตามกระบวนการ ประชาธิปไตยในโรงเรยี น เชน่ เลอื กหวั หน้าหอ้ ง ประธาน ชุมนุม ประธานนกั เรยี น 13 ส ๓.๑ ป.๑/๑ ระบุสนิ คา้ และบริการท่ีใช้  สินค้าและบริการท่ีใช้อยู่ในชีวิต  ประโยชนใ์ นชีวติ ประจาวัน ประจาวัน เช่น ดนิ สอ ปากกา กระดาษ ยาสีฟนั  สินคา้ และบรกิ ารที่ได้มาจาก การใชเ้ งินซื้อ เชน่ ซื้ออาหาร จ่ายค่าบริการโทรศัพท์  วธิ กี ารใช้ประโยชนจ์ ากสินค้า และบริการ ให้ค้มุ ค่า 14 ส ๓.๑ ป.๑/๒ ยกตัวอย่างการใชจ้ า่ ยเงิน  การใช้จา่ ยเงินในชีวติ ประจาวัน  ในชีวติ ประจาวนั ที่ไม่เกินตัว เพ่ือซื้อสนิ คา้ และบริการ และเห็นประโยชน์ของการออม  ประโยชน์ของการใชจ้ า่ ยเงิน ท่ไี ม่เกินตวั 15 ส ๓.๑ ป.๑/๓ ยกตวั อย่างการใช้ทรัพยากร  โทษของการใชจ้ า่ ยเงนิ เกนิ ตัว ในชวี ติ ประจาวันอย่างประหยัด  ประโยชน์ของการออม  ทรพั ยากรทีใ่ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั  เชน่ ดนิ สอ กระดาษ เส้ือผา้ อาหาร ไฟฟาู น้า  ทรพั ยากรทเี่ ปน็ สมบตั สิ ว่ นรวม เช่น โต๊ะ เก้าอ้นี ักเรยี น สาธารณูปโภคต่าง ๆ  วิธกี ารใช้ทรัพยากร ท้งั ของสว่ นตวั และสว่ นรวม อย่างถูกต้องและประหยัด และคุ้มค่า ข้อมูล ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๔ ช้ัน ที่ รหัสตัวช้ีวดั ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.1 16 ส ๓.๒ ป.๑/๑ อธบิ ายเหตผุ ลความจาเป็น  ความหมาย ประเภท และ  ที่คนตอ้ งทางานอย่างสจุ ริต ความสาคญั ของการทางาน  ผลของการทางานประเภทตา่ ง ๆ ท่มี ตี ่อครอบครวั และสังคม  การทางานอยา่ งสจุ ริตทาให้ 17 ส ๔.๑ ป.๑/๑ บอกวนั เดือน ปี และ สังคมสงบสุข  ชื่อ วัน เดอื น ปี ตามระบบ  การนับชว่ งเวลาตามปฏทิ ิน สรุ ยิ คติทปี่ รากฏในปฏิทิน ที่ใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน  ช่วงเวลาทีใ่ ช้ในชวี ติ ประจาวนั 18 ส ๔.๑ ป.๑/๒ เรียงลาดับเหตุการณ์ เช่น วันน้ี ตอนเชา้ ตอนเย็น  ใชค้ าบอกช่วงเวลาแสดงลาดบั  ในชีวติ ประจาวนั ตามวันเวลา เหตุการณท์ ่เี กดิ ข้ึนไดใ้ นชีวติ ทเ่ี กิดขน้ึ ประจาวัน 19 ส ๔.๑ ป.๑/3 บอกประวัตคิ วามเปน็ มา  วธิ กี ารสบื คน้ ประวัติความเป็นมา  ของตนเองและครอบครวั ของตนเองและครอบครวั โดยสอบถามผเู้ กยี่ วข้อง อย่างง่าย ๆ  การบอกเล่าประวัตคิ วามเปน็ มา 20 ส ๔.๒ ป.๑/๑ บอกความเปล่ยี นแปลง ของตนเองและครอบครัว  ความเปลยี่ นแปลงของสภาพ  ของสภาพแวดลอ้ ม สง่ิ ของ แวดลอ้ ม สง่ิ ของ เคร่ืองใช้ เครือ่ งใช้ หรอื การดาเนินชวี ติ หรอื การดาเนินชวี ิตของอดีต ของตนเองกับสมัยของพ่อแม่ กบั ปัจจุบันทีเ่ ป็นรปู ธรรม ปูยุ า่ ตายาย และใกลต้ วั เด็ก เชน่ เทคโนโลยที างการเกษตร ววิ ัฒนาการ การคมนาคม การสอื่ สาร ฯลฯ  สาเหตแุ ละผลของการ เปลี่ยนแปลงของส่ิงตา่ ง ๆ ตามกาลเวลา 21 ส ๔.๒ ป.๑/๒ บอกเหตุการณท์ ่ีเกิดข้นึ ในอดีต  เหตุการณส์ าคัญที่เกิดข้ึน  ทมี่ ีผลกระทบต่อตนเองในปจั จุบัน ในครอบครวั เช่น การย้ายบ้าน การยา้ ยโรงเรียน การสูญเสีย บคุ คลในครอบครวั ขอ้ มลู ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๕ ชน้ั ที่ รหัสตัวช้ีวดั ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ ป.1 22 ส ๔.๓ ป.๑/๑ อธบิ ายความหมายและความสาคญั  ความหมายและความสาคัญ  ของสัญลกั ษณ์สาคญั ของชาติไทย ของสญั ลกั ษณ์ ท่สี าคัญ และปฏิบัตติ นได้ถูกต้อง ของชาติไทย ได้แก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ (ธงชาติ เพลงชาติ พระพทุ ธรูป พระบรมฉายาลักษณ์ ภาษาไทย อักษรไทย)  การเคารพธงชาติ การร้อง เพลงชาตแิ ละเพลงสรรเสรญิ พระบารมี การเคารพ พระบรมฉายาลักษณ์ การเคารพศาสนวัตถุ ศาสนสถาน  เอกลักษณอ์ ื่น ๆ เช่น ศาสนา การแตง่ กาย วฒั นธรรม ประเพณีไทย เงนิ ตรา แผนท่ี ประเทศไทย อาหารไทย (อาหารไทยทต่ี ่างชาตยิ กย่อง เชน่ ต้มยากงุ้ ผดั ไทย) 23 ส ๔.๓ ป.๑/๒ บอกสถานทสี่ าคญั ซง่ึ เปน็  ตัวอย่างของแหล่งวฒั นธรรม  แหลง่ วฒั นธรรมในชุมชน ในชมุ ชนท่ีใกล้ตวั นกั เรยี น เช่น วัด ตลาด พพิ ิธภัณฑ์ มัสยดิ โบสถค์ รสิ ต์ โบราณสถาน โบราณวตั ถุ  คุณค่าและความสาคญั ของแหล่งวฒั นธรรมในชมุ ชน ในดา้ นตา่ ง ๆ เช่น เป็นแหล่ง ทอ่ งเที่ยว เปน็ แหล่งเรียนรู้ 24 ส ๔.๓ ป.๑/๓ ระบุสิ่งท่ีตนรกั และภาคภูมิใจ  ตัวอยา่ งสิง่ ทเี่ ป็นความภาคภูมใิ จ  ในท้องถ่นิ ในท้องถน่ิ เช่น สิง่ ของ สถานท่ี ภาษาถ่ิน วฒั นธรรมประเพณี ทเ่ี ปน็ ส่ิงที่ใกล้ตวั นักเรียน และเปน็ รูปธรรมชัดเจน 25 ส ๕.๑ ป.๑/๑ แยกแยะสิง่ ต่าง ๆ รอบตวั  ส่ิงตา่ ง ๆ รอบตัวที่เกิดขึน้ เอง  ท่ีเกิดข้นึ เองตามธรรมชาติ ตามธรรมชาติ และท่มี นุษย์ สร้างขึ้น และที่มนษุ ย์สรา้ งขึ้น ขอ้ มลู ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๖ ชั้น ที่ รหัสตัวชี้วดั ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.1 26 ส ๕.๑ ป.๑/๒ ระบุความสัมพันธข์ องตาแหน่ง  ความสมั พันธข์ องตาแหนง่  ระยะ ทิศของสิ่งต่าง ๆ รอบตวั ระยะ ทิศของสงิ่ ต่าง ๆ รอบตัว เชน่ ที่อยู่อาศยั บ้าน เพ่ือนบา้ น ต้นไม้ ถนน ทุ่งนา ไร่ สวน ท่ีราบ ภูเขา แหลง่ น้า 27 ส ๕.๑ ป.๑/๓ ระบุทศิ หลกั และทต่ี ั้งของส่งิ ตา่ ง ๆ  ทิศหลกั (เหนือ ตะวันออก ใต้  ตะวนั ตก) และท่ีต้ังของสิ่งต่าง ๆ รอบตวั 28 ส ๕.๑ ป.๑/๔ ใชแ้ ผนผังง่าย ๆ ในการแสดง  แผนผังแสดงตาแหนง่ สงิ่ ต่าง ๆ  ตาแหนง่ ของสงิ่ ต่าง ๆ ในหอ้ งเรยี น ในห้องเรียน 29 ส ๕.๑ ป.๑/๕ สังเกตและบอกการเปลี่ยนแปลง  การเปลย่ี นแปลงของสภาพ  ของสภาพอากาศในรอบวนั อากาศในรอบวนั เชน่ กลางวัน กลางคืน ความร้อนของอากาศ ฝน - เมฆ – ลม 30 ส ๕.๒ ป.๑/๑ บอกส่งิ ตา่ ง ๆ ทเี่ กิดตามธรรมชาติ  ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ ภูมิอากาศ  ท่ีสง่ ผลต่อความเป็นอยขู่ องมนุษย์ มีผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ เช่น ท่ีอยู่อาศัย เครื่องแต่งกาย และอาหาร 31 ส ๕.๒ ป.๑/๒ สังเกตและเปรยี บเทยี บ  การเปลีย่ นแปลงของ  การเปลยี่ นแปลงของ สภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัว สภาพ แวดลอ้ มท่ีอยู่รอบตวั 32 ส ๕.๒ ป.๑/๓ มีส่วนรว่ มในการจดั ระเบียบ  มสี ่วนร่วมในการจัดระเบียบ  สง่ิ แวดล้อมทบี่ า้ น สง่ิ แวดล้อมท่บี ้านและชน้ั เรียน และชัน้ เรียน รวม 32 ตวั ชี้วัด 9 23 ขอ้ มูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๗ ชน้ั ท่ี รหัสตัวชี้วัด ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ ป.๒ 1 ส ๑.๑ ป.๒/๑ บอกความสาคัญของพระพุทธศาสนา  พระพุทธศาสนาเป็นอกลักษณ์  หรือศาสนาทีต่ นนับถือ ของชาติไทย 2 ส ๑.๑ ป.๒/๒ สรุปพุทธประวตั ิ ตั้งแต่ประสูติ  สรุปพทุ ธประวตั ิ  จนถึงการออกผนวช หรือประวัติ  ประสตู ิ ตรัสรู้ ปรนิ ิพพาน ศาสดาที่ตนนับถือตามท่ีกาหนด 3 ส ๑.๑ ป.๒/๓ ชืน่ ชมและบอกแบบอย่าง  พทุ ธสาวก พุทธสาวกิ า  การดาเนนิ ชวี ิตและข้อคิด  สามเณรราหุล จากประวัตสิ าวก ชาดก เร่ืองเลา่  ชาดก และศาสนิกชนตัวอย่าง  วานรินทชาดก ตามที่กาหนด  ศาสนิกชนตัวอยา่ ง  สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน) 4 ส ๑.๑ ป.๒/๔ บอกความหมาย ความสาคัญ  โอวาท ๓  และเคารพพระรัตนตรยั  ไม่ทาช่ัว ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓ o เบญจศีล ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรม  ทาความดี ของศาสนาทตี่ นนับถือตามทก่ี าหนด o เบญจธรรม o กตัญญูกตเวทีต่อครู อาจารย์ และโรงเรียน  ทาจิตใหบ้ ริสุทธ์ิ (บริหารจิต และเจริญปญั ญา) 5 ส ๑.๑ ป.๒/๕ ชืน่ ชมการทาความดีของตนเอง  ตัวอย่างการกระทาความดี  บุคคลในครอบครัวและในโรงเรียน ของตนเองและบุคคล ตามหลกั ศาสนา ในครอบครัว และในโรงเรยี น (ตามสาระในข้อ ๔) 6 ส ๑.๑ ป.๒/๖ เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผเ่ มตตา  ฝึกสวดมนต์ไหว้พระและแผ่  มสี ตทิ ีเ่ ป็นพื้นฐานของสมาธิ เมตตา ในพระพุทธศาสนาหรือการพัฒนาจติ  ความหมายและประโยชน์ ตามแนวทางของศาสนาทตี่ นนบั ถือ ของสติและสมาธิ ตามทก่ี าหนด  ฝึกสมาธิเบ้ืองต้น  ฝึกสตเิ บ้ืองต้นด้วยกิจกรรม การเคลือ่ นไหวอย่างมสี ติ  ฝกึ ให้มีสมาธใิ นการฟงั การอ่าน การคิด การถาม และการเขยี น ข้อมูล ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๘ ชั้น ที่ รหสั ตัวชี้วดั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ ป.2 7 ส ๑.๑ ป.๒/๗ บอกชื่อศาสนา ศาสดา  ชือ่ ศาสนา ศาสดา และคัมภีร์  และความสาคัญของคัมภรี ์ ของศาสนาต่าง ๆ ของศาสนาที่ตนนับถือ  พระพุทธศาสนา และศาสนาอ่ืน ๆ o ศาสดา : พระพุทธเจ้า o คมั ภีร์ : พระไตรปฎิ ก  ศาสนาอสิ ลาม o ศาสดา : มฮุ ัมมัด o คมั ภรี ์ : อัลกุรอาน  ครสิ ต์ศาสนา o ศาสดา : พระเยซู o คมั ภีร์ : ไบเบิล 8 ส ๑.๒ ป.๒/1 ปฏิบตั ิตนอยา่ งเหมาะสม  การฝึกปฏิบัตมิ รรยาทชาวพุทธ  ต่อสาวกของศาสนาท่ีตนนบั ถือ ตามทกี่ าหนดได้ถูกต้อง  การพนมมือ 9 ส ๑.๒ ป.๒/๒ ปฏบิ ตั ติ นในศาสนพธิ ี พธิ กี รรม  การไหว้ และวนั สาคัญทางศาสนา ตามทีก่ าหนดได้ถูกต้อง  การกราบ 10 ส ๒.๑ ป.๒/๑ ปฏิบตั ิตนตามข้อตกลง กติกา  การน่งั กฎ ระเบยี บและหน้าที่ ท่ตี อ้ งปฏบิ ตั ิในชีวิตประจาวัน  การยืน การเดิน 11 ส ๒.๑ ป.๒/๒ ปฏิบัติตนตามมารยาทไทย  การเข้ารว่ มกิจกรรม  และพิธีกรรม ทเ่ี ก่ยี วเน่ืองกับ วนั สาคัญทางพุทธศาสนา o การทาบุญตักบาตร o ประวัติวนั อาสาฬหบูชา  ขอ้ ตกลง กติกา กฎระเบียบ  หนา้ ท่ที ่ีตอ้ งปฏบิ ัตใิ นครอบครวั โรงเรยี น สถานท่สี าธารณะ เช่น โรงภาพยนตร์ โบราณสถาน ฯลฯ  กริ ยิ ามารยาทไทยเก่ยี วกบั  การแสดงความเคารพ การยนื การเดนิ การน่ัง การพดู การทักทาย การแตง่ กาย ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๙ ช้ัน ท่ี รหัสตัวช้ีวดั ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ ป.2 12 ส ๒.๑ ป.๒/๓ แสดงพฤตกิ รรมในการยอมรับ  การยอมรับความแตกตา่ ง  ความคิด ความเช่ือ และการปฏบิ ตั ิ ของคนในสังคม เรือ่ งความคดิ ของบุคคลอนื่ ท่ีแตกต่างกัน ความเช่ือ ความสามารถ และ โดยปราศจากอคติ การปฏิบตั ิตนของบุคคลอื่น ที่แตกตา่ งกนั เช่น o บุคคลยอ่ มมคี วามคดิ ที่มีเหตผุ ล o การปฏบิ ตั ิตนตามพธิ กี รรม ตามความเชื่อของบคุ คล o บคุ คลย่อมมีความสามารถ แตกตา่ งกัน o ไม่พูดหรอื แสดงอาการดถู ูก รังเกยี จผูอ้ ่ืน ในเรื่องของ รูปรา่ งหนา้ ตา สีผม สผี วิ ท่แี ตกตา่ งกัน 13 ส ๒.๑ ป.๒/๔ เคารพในสทิ ธิ เสรภี าพของตนเอง  สิทธแิ ละเสรภี าพของตนเอง  และผูอ้ ืน่ และผู้อื่น เชน่ o เสรภี าพในการแสดง ความคิดเหน็ o สทิ ธแิ ละเสรีภาพในชีวิต และรา่ งกาย o สิทธิในทรัพยส์ นิ 14 ส ๒.๒ ป.๒/๑ อธบิ ายความสมั พนั ธ์ของตนเอง  ความสัมพนั ธ์ของตนเอง  และสมาชิกในครอบครัวในฐานะ และสมาชิกในครอบครัว เปน็ สว่ นหน่ึงของชมุ ชน กบั ชุมชน เช่น การชว่ ยเหลอื กิจกรรมของชมุ ชน 15 ส ๒.๒ ป.๒/๒ ระบุผมู้ ีบทบาท อานาจ  ผู้มบี ทบาท อานาจ  ในการตดั สนิ ใจในโรงเรียน ในการตัดสนิ ใจในโรงเรยี น และชุมชน และชุมชน เชน่ ผบู้ รหิ าร สถานศึกษา ผู้นาท้องถน่ิ กานัน ผู้ใหญบ่ า้ น 16 ส ๓.๑ ป.๒/๑ ระบุทรัพยากรทนี่ ามาผลติ สินค้า  ทรัพยากรที่นามาใชใ้ นการผลิต  และบริการท่ีใช้ในชวี ติ ประจาวัน สินค้าและบริการที่ใช้ในครอบครัว และโรงเรียน เชน่ ดินสอ และ กระดาษทีผ่ ลิตจากไม้รวมทั้ง เคร่ืองจกั รและแรงงานการผลติ ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๑๐ ช้ัน ท่ี รหัสตัวชี้วัด ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.2 17 ส ๓.๑ ป.๒/๒ บอกท่มี าของรายได้และรายจา่ ย  การประกอบอาชพี ของครอบครัว  ของตนเองและครอบครัว  รายได้และรายจ่ายในภาพรวม ของตนเองและครอบครวั  18 ส ๓.๑ ป.๒/๓ บนั ทึกรายรับ-รายจ่าย ของตนเอง  วธิ กี ารทาบญั ชรี ายรบั -รายจา่ ย ของตนเองอยา่ งง่าย ๆ 19 ส ๓.๑ ป.๒/๔ สรปุ ผลดีของการใชจ้ ่าย  ผลดขี องการใช้จา่ ยท่ีเหมาะสม  ท่เี หมาะสมกับรายได้ กบั รายได้ และการออม  การออมและผลดีของการออม  20 ส ๓.๒ ป.๒/๑ อธิบายการแลกเปล่ยี นสินค้า  ความหมายและความสาคัญ และบริการโดยวธิ ีต่าง ๆ ของการแลกเปลีย่ นสินค้า และบรกิ าร  ลักษณะของการแลกเปลีย่ น สนิ คา้ และบรกิ าร โดยไม่ใชเ้ งนิ รวมท้งั การแบ่งปนั การชว่ ยเหลือ  21 ส ๓.๒ ป.๒/๒ บอกความสมั พันธ์ระหว่าง  ความหมายและบทบาท ผ้ซู ื้อและผู้ขาย ของผซู้ ื้อและผู้ขาย  ความสมั พันธร์ ะหว่างผู้ซ้ือ 22 ส ๔.๑ ป.๒/๑ ใช้คาระบุเวลาท่ีแสดงเหตุการณ์ และผู้ขายในการกาหนดราคา ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต สินค้าและบริการ   คาที่แสดงช่วงเวลาในอดีต ปจั จุบนั และอนาคต เชน่ วันนี้ เม่ือวานน้ี พรงุ่ นี้ เดือนนี้ เดอื นหน้า เดือนก่อน  วนั สาคญั ทป่ี รากฏในปฏิทนิ ที่ แสดงเหตกุ ารณ์สาคัญในอดีต และปัจจุบัน  23 ส ๔.๑ ป.๒/๒ ลาดับเหตกุ ารณท์ ่ีเกดิ ข้ึน  วิธกี ารสืบค้นเหตุการณ์ ในครอบครัว หรือในชวี ิต ท่ีผา่ นมาแล้ว ทเ่ี กิดขน้ึ กบั ของตนเองโดยใชห้ ลักฐาน ตนเองและครอบครัว ทีเ่ กี่ยวข้อง โดยใช้หลักฐานที่เกี่ยวข้อง เช่น ภาพถ่าย สตู บิ ัตร ทะเบียนบ้าน 24 ส ๔.๒ ป.๒/๑ สบื ค้นถึงการเปลี่ยนแปลง  ในวิถีชีวิตประจาวันของคน  วิธีการสืบค้นข้อมูลอยา่ งงา่ ย ๆ ในชมุ ชนของตนจากอดีต เชน่ การสอบถามพ่อแม่ ผู้รู้ ถึงปจั จบุ ัน ในชุมชน  วถิ ชี ีวติ ของคนในชุมชน เชน่ การประกอบอาชพี การแต่งกาย การสอ่ื สาร ประเพณีในชมุ ชน จากอดตี ถึงปจั จบุ ัน  สาเหตุของการเปลย่ี นแปลงวถิ ี ชวี ติ ของคนในชมุ ชน ขอ้ มูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๑๑ ชน้ั ท่ี รหสั ตัวช้ีวัด ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.2 25 ส ๔.๒ ป.๒/๒ อธิบายผลกระทบของการ  การเปล่ียนแปลงของวิถีชวี ติ  เปลีย่ นแปลงท่มี ีต่อวถิ ชี วี ิต ของคนในชุมชนทางดา้ นต่าง ๆ ของคนในชมุ ชน  ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง ทม่ี ีต่อวิถชี วี ติ ของคนในชุมชน 26 ส ๔.๓ ป.๒/๑ ระบุบุคคลที่ทาประโยชน์ต่อท้องถิ่น  บุคคลในท้องถิน่ ที่ทาคณุ ประโยชน์  หรือประเทศชาติ ต่อการสรา้ งสรรคว์ ัฒนธรรม และความมน่ั คงของท้องถิ่น และประเทศชาตใิ นอดตี ท่ีควรนาเป็นแบบอยา่ ง  ผลงานของบุคคลในท้องถิ่น ที่น่าภาคภมู ิใจ 27 ส ๔.๓ ป.๒/๒ ยกตวั อย่างวฒั นธรรม ประเพณี  ตวั อย่างของวฒั นธรรม  และภมู ิปญั ญาไทยทภ่ี าคภูมิใจ ประเพณีไทย เช่น และควรอนรุ ักษ์ไว้ การทาความเคารพ อาหารไทย ภาษาไทย ประเพณสี งกรานต์ ฯลฯ  คณุ ค่าของวฒั นธรรม และ ประเพณีไทย ทมี่ ตี ่อสังคมไทย  ภูมิปญั ญาของคนไทยในท้องถิ่น ของนักเรียน 28 ส ๕.๑ ป.๒/๑ ระบุส่งิ ตา่ ง ๆ ท่เี ป็นธรรมชาติ  สง่ิ ตา่ ง ๆ ท่เี ป็นธรรมชาติ  กบั ท่ีมนุษยส์ ร้างข้นึ ซึ่งปรากฏ กับที่มนุษยส์ รา้ งขึ้น ซงึ่ ปรากฏ ระหว่างโรงเรียนกับบา้ น ระหว่างโรงเรียนกับบ้าน 29 ส ๕.๑ ป.๒/๒ ระบตุ าแหนง่ อยา่ งง่าย  ตาแหน่งอย่างง่ายและลกั ษณะ  และลกั ษณะทางกายภาพ ทางกายภาพของสิง่ ต่าง ๆ ของสง่ิ ต่าง ๆ ท่ีปรากฏในลูกโลก ทีป่ รากฏในลูกโลก แผนท่ี แผนที่ แผนผัง และภาพถ่าย แผนผงั และภาพถ่าย เชน่ ภเู ขา ที่ราบ แม่น้า ต้นไม้ อากาศ ทะเล 30 ส ๕.๑ ป.๒/๓ อธบิ ายความสมั พันธ์  ความสมั พนั ธ์ของปรากฏการณ์  ของปรากฏการณ์ระหวา่ งโลก ระหว่างโลก ดวงอาทิตย์ และ ดวงอาทติ ย์และดวงจันทร์ ดวงจนั ทร์ เชน่ ฤดกู าลตา่ ง ๆ 31 ส ๕.๒ ป.๒/๑ อธบิ ายความสาคัญและคุณค่า  คณุ ค่าของสิ่งแวดลอ้ ม  ของส่งิ แวดล้อมทางธรรมชาติ ทางธรรมชาติ เชน่ และทางสังคม ในการประกอบอาชีพ  คณุ ค่าของส่ิงแวดล้อม ทางสังคม เชน่ สงิ่ ปลูกสร้าง เพ่ือการดารงชีพ ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๑๒ ช้นั ที่ รหัสตัวช้ีวัด ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.2 32 ส ๕.๒ ป.๒/๒ แยกแยะและใชท้ รัพยากรธรรมชาติ  ความหมายของทรพั ยากร  ทใ่ี ช้แลว้ ไมห่ มดไปและท่ีใช้แล้ว ธรรมชาติ หมดไปไดอ้ ย่างค้มุ คา่  ประเภททรัพยากรธรรมชาติ o ใช้แลว้ หมดไป เชน่ แร่ o ใช้แลว้ ไม่หมด เชน่ บรรยากาศ นา้ o ใช้แลว้ มีการเกิดข้ึนมาทดแทน หรอื รักษาไวไ้ ด้ เชน่ ดิน ปุาไม้ สัตว์ปาุ o วธิ ีใช้ทรพั ยากรอยา่ งคุ้มค่า 33 ส ๕.๒ ป.๒/๓ อธบิ ายความสมั พนั ธข์ องฤดูกาล  ความสัมพนั ธ์ของฤดูกาล  กบั การดาเนินชีวิตของมนุษย์ กับการดาเนินชวี ติ ของมนุษย์ 34 ส ๕.๒ ป.๒/๔ มสี ่วนรว่ มในการฟนื้ ฟปู รับปรุง  การเปลยี่ นแปลงของสิง่ แวดล้อม  สิ่งแวดลอ้ มในโรงเรียนและ  การรักษาและฟนื้ ฟูสง่ิ แวดล้อม ชมุ ชน รวม ๓4 ตัวช้ีวดั 9 25 ขอ้ มูล ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๑๓ ชั้น ที่ รหัสตัวช้ีวัด ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.๓ 1 ส ๑.๑ ป.๓/๑ อธิบายความสาคัญ  พระพุทธศาสนามีอิทธพิ ล  ของพระพทุ ธศาสนา ตอ่ การสรา้ งสรรค์ผลงาน หรือศาสนาทีต่ นนับถือ ทางวัฒนธรรมไทยอันเกิดจาก ในฐานะทเี่ ปน็ รากฐานสาคัญ ความศรัทธา เชน่ วัด ภาพวาด ของวัฒนธรรมไทย พระพุทธรปู วรรณคดี 2 ส ๑.๑ ป.๓/๒ สรุปพุทธประวตั ิตง้ั แต่ สถาปัตยกรรมไทย  สรปุ พุทธประวตั ิโดยยอ่  การบาเพ็ญเพียร จนถึง (ทบทวน) ปรินิพพาน หรือประวตั ิ ของศาสดาท่ตี นนับถอื ตามทกี่ าหนด 3 ส ๑.๑ ป.๓/๓ ชนื่ ชมและบอกแบบอยา่ ง  ศาสนิกชนตวั อยา่ ง  การดาเนินชีวติ และข้อคิด  สมเดจ็ พระพฒุ าจารย์ จากประวตั สิ าวก ชาดก เรื่องเลา่ (โต พรฺ หมฺ รสี) และศาสนกิ ชนตวั อย่าง ตามท่ีกาหนด 4 ส ๑.๑ ป.๓/๔ บอกความหมาย ความสาคัญ  ความสาคญั ของพระไตรปฎิ ก  ของพระไตรปิฎก หรือคมั ภีร์ เช่น เปน็ แหล่งอ้างองิ ของศาสนาทีต่ นนับถือ ของหลักธรรมคาสอน 5 ส ๑.๑ ป.๓/๕ แสดงความเคารพพระรตั นตรยั  หลักธรรมสาคัญ  และปฏิบัตติ ามหลักธรรมโอวาท ๓ o สติ-สัมปชญั ญะ ในพระพทุ ธศาสนาหรอื หลกั ธรรม o สังคหวตั ถุ ๔ ของศาสนาท่ีตนนบั ถือตามที่กาหนด  พุทธศาสนสภุ าษติ  อตตฺ า หิ อตฺตโน นาโถ ตนแลเป็นทีพ่ ึ่งของตน 6 ส ๑.๑ ป.๓/๖ เหน็ คุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา  ฝึกสวดมนต์ ไหว้พระ  สรรเสริญคุณพระรัตนตรยั มีสตทิ เี่ ป็นพ้ืนฐานของสมาธิ ในพระพุทธศาสนา หรือการพัฒนาจติ และแผ่เมตตา ตามแนวทางของศาสนาท่ีตนนบั ถอื  ความหมายและประโยชน์ ของสติและสมาธิ ตามทกี่ าหนด  ประโยชน์ของการฝกึ สติ  ฝกึ สมาธิเบื้องต้นดว้ ยการนับ ลมหายใจ  ฝึกการยนื การเดิน การนงั่ และการนอนอย่างมสี ติ  ฝึกใหม้ ีสมาธใิ นการฟัง การอ่าน การคดิ การถาม และการเขียน ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๑๔ ชนั้ ท่ี รหัสตัวช้ีวัด ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.3 7 ส ๑.๑ ป.๓/๗ บอกช่ือ ความสาคญั และปฏิบัตติ น  ช่ือและความสาคญั ของศาสนวตั ถุ  ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมตอ่ ศาสนวตั ถุ ศาสนสถาน และศาสนบุคคล ในพระพุทธศาสนา ศาสนา ศาสนสถาน และศาสนบคุ คล อิสลาม ครสิ ตศ์ าสนา ของศาสนาอ่ืน ๆ  การปฏิบตั ติ นท่ีเหมาะสม ต่อศาสนวตั ถุ ศาสนสถาน และศาสนบคุ คลในศาสนาอืน่ ๆ  8 ส ๑.๒ ป.๓/๑ ปฏิบตั ิตนอย่างเหมาะสมต่อสาวก  ฝึกปฏิบตั ิมรรยาทชาวพทุ ธ ศาสนสถาน ศาสนวัตถุของศาสนา o การลุกขึน้ ยืนรับ ทตี่ นนับถือตามท่ีกาหนดได้ถูกต้อง o การต้อนรบั o การรับ ส่งส่ิงของแก่พระภิกษุ o มรรยาทในการสนทนา o การสารวมกิริยามารยาท o การแตง่ กายท่เี หมาะสม เมอ่ื อยูใ่ นวดั และพุทธสถาน o การดแู ลรักษาศาสนวตั ถุ และศาสนสถาน 9 ส ๑.๒ ป.๓/๒ เห็นคุณค่าและปฏบิ ัติตน  ปฏบิ ตั ติ นในศาสนพธิ ี  ในศาสนพิธี พิธกี รรม และวนั สาคัญ o การอาราธนาศีล  การปฏิบัตติ นในวนั อาสาฬหบูชา ทางศาสนาตามท่กี าหนด ไดถ้ ูกต้อง 10 ส ๑.๒ ป.๓/๓ แสดงตนเปน็ พุทธมามกะ  ความเป็นมาของการแสดงตน  เป็นพุทธมามกะ หรอื แสดงตนเปน็ ศาสนิกชน ของศาสนาที่ตนนบั ถอื 11 ส ๒.๑ ป.๓/๑ สรุปประโยชนแ์ ละปฏิบตั ิตน  ประเพณแี ละวัฒนธรรม  ในครอบครวั การกระทา ตามประเพณีและวฒั นธรรม กิจกรรมร่วมกันในครอบครัว ในครอบครวั และท้องถิน่ ตามศาสนาที่ตนนับถือ  ประเพณีและวฒั นธรรม ในทอ้ งถ่นิ 12 ส ๒.๑ ป.๓/๒ บอกพฤติกรรมการดาเนนิ ชวี ติ  พฤตกิ รรมของตนเองและเพื่อน ๆ  ของตนเองและผอู้ ืน่ ที่อยูใ่ นกระแส ในชีวติ ประจาวนั เช่น การทักทาย การทาความเคารพ การปฏิบัติ วัฒนธรรมทห่ี ลากหลาย ตามศาสนพธิ ี การรบั ประทาน อาหาร การใชภ้ าษา (ภาษาถน่ิ กบั ภาษาราชการและภาษาอื่น ๆ ฯลฯ)  สาเหตทุ ่ที าให้พฤติกรรม การดาเนินชวี ติ ในปจั จบุ นั ของนักเรยี นและผ้อู ืน่ แตกตา่ งกัน ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๑๕ ช้นั ท่ี รหสั ตัวช้ีวัด ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ ป.3 13 ส ๒.๑ ป.๓/๓ อธบิ ายความสาคัญ  วันหยดุ ราชการท่ีสาคัญ เชน่  o วันหยุดเกยี่ วกับชาติ ของวนั หยุดราชการทีส่ าคัญ และพระมหากษัตริย์ เช่น วันจักรี วันรัฐธรรมนูญ วันฉัตรมงคล วันเฉลมิ พระชนมพรรษา o วันหยดุ ราชการเก่ียวกบั ศาสนา เช่น วันมาฆบชู า วนั วสิ าขบชู า วนั อาสาฬหบชู า วนั เข้าพรรษา o วนั หยดุ ราชการเก่ียวกบั ประเพณีและวฒั นธรรมไทย เช่น วนั สงกรานต์ วนั พืชมงคล 14 ส ๒.๑ ป.๓/๔ ยกตวั อย่างบุคคลซึง่ มีผลงาน  บคุ คลที่มีผลงานเป็นประโยชน์  แกช่ มุ ชนและท้องถนิ่ ของตน ท่ีเป็นประโยชนแ์ กช่ ุมชน  ลักษณะผลงานท่ีเป็นประโยชน์ และท้องถน่ิ ของตน แก่ชมุ ชนและท้องถน่ิ 15 ส ๒.๒ ป.๓/๑ ระบบุ ทบาทหน้าท่ขี องสมาชิก  บทบาทหน้าทข่ี องสมาชิก  ในชุมชน ของชุมชนในการมีสว่ นรว่ ม ในกิจกรรมต่าง ๆ ตามกระบวนการ  การมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ตามกระบวนการประชาธิปไตย ประชาธปิ ไตย 16 ส ๒.๒ ป.๓/๒ วิเคราะห์ความแตกต่าง  การออกเสียงโดยตรง  ของกระบวนการการตัดสินใจ และการเลอื กตวั แทนออกเสียง ในช้ันเรยี น โรงเรยี นและชุมชน  วธิ กี ารเลอื กตวั แทนอยา่ งถกู ต้อง โดยวธิ กี ารออกเสยี งโดยตรงและ และเหมาะสม การเลือกตัวแทนออกเสียง 17 ส ๒.๒ ป.๓/๓ ยกตวั อย่างการเปล่ยี นแปลง  การตัดสินใจของบุคคล และ  กลมุ่ ที่มีผลต่อการเปล่ียนแปลง ในชัน้ เรียน โรงเรียนและชุมชน ในช้นั เรียน โรงเรียน และชุมชน ท่ีเปน็ ผลจากการตัดสินใจ o การเปลยี่ นแปลงในชั้นเรียน ของบุคคลและกลุ่ม เช่น การเลือกหวั หน้าห้อง คณะกรรมการห้องเรียน o การเปลย่ี นแปลงในโรงเรียน เชน่ เลือกประธานนักเรียน คณะกรรมการนักเรยี น o การเปลีย่ นแปลงในชุมชน เช่น การเลือกผู้ใหญ่บา้ น กานนั สมาชกิ อบต. อบจ. ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

ชนั้ ที่ รหสั ตัวช้ีวัด ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ต้องรู้ ๑๖ ป.3 18 ส ๓.๑ ป.๓/๑ จาแนกความต้องการและ ควรรู้ ความจาเป็นในการใชส้ ินคา้ และ  สินคา้ ที่จาเปน็ ในการดารงชีวิต  19 ส ๓.๑ ป.๓/๒ บรกิ ารในการดารงชีวติ ท่ีเรียกว่า ปจั จยั ๔  20 ส ๓.๑ ป.๓/๓ วิเคราะห์การใชจ้ า่ ยของตนเอง  21 ส ๓.๒ ป.๓/๑  สนิ คา้ ทเ่ี ปน็ ความตอ้ งการ  22 ส ๓.๒ ป.๓/๒ อธิบายไดว้ ่าทรัพยากร ที่มอี ยู่จากัดมผี ลต่อการผลติ ของมนษุ ย์ อาจเปน็ สนิ คา้ และบริโภคสินคา้ และบริการ ที่จาเปน็ หรือไมจ่ าเป็น บอกสินค้าและบริการทร่ี ฐั จดั หา และให้บรกิ ารแกป่ ระชาชน ตอ่ การดารงชวี ติ บอกความสาคญั ของภาษี  หลักการเลอื กสินคา้ ท่จี าเปน็ และบทบาทของประชาชน ในการเสยี ภาษี  ใชบ้ ัญชีรบั จ่ายวิเคราะห์  การใช้จ่ายท่จี าเป็น และเหมาะสม  วางแผนการใชจ้ า่ ยเงิน ของตนเอง  วางแผนการนาเงินทีเ่ หลือจา่ ย มาใชอ้ ย่างเหมาะสม  ความหมายของการผลิต และการบริโภค  ปญั หาพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจ ท่ีเกดิ จากความหายาก ของทรัพยากรกับความตอ้ งการ ของมนษุ ย์ที่มไี ม่จากดั  สนิ คา้ และบริการท่ภี าครฐั ทกุ ระดับจัดหาและให้บรกิ าร แกป่ ระชาชน เช่น ถนน โรงเรียน สวนสาธารณะ การสาธารณสุข การบรรเทาสาธารณภยั  ความหมายและความสาคญั ของภาษีที่รัฐนามาสร้าง ความเจริญและใหบ้ ริการ แกป่ ระชาชน  บทบาทหน้าท่ีของประชาชน ในการเสียภาษี 23 ส ๓.๒ ป.๓/๓ อธิบายเหตผุ ลการแข่งขัน  ความสาคัญและผลกระทบ  ทางการค้า ที่มีผลทาให้ราคา ของการแข่งขันทางการคา้ สินค้าลดลง ทมี่ ีผล ทาให้ราคาสนิ ค้าลดลง เชน่ กจิ กรรมตลาดนัดนักเรยี น ขอ้ มูล ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๑๗ ชนั้ ท่ี รหัสตัวช้ีวัด ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.3 24 ส ๔.๑ ป.๓/๑ เทียบศักราชทส่ี าคัญตามปฏิทิน  วิธีการเทียบ พ.ศ. เปน็ ค.ศ.  หรอื ค.ศ. เปน็ พ.ศ. ทใี่ ช้ในชวี ิตประจาวนั  ตวั อยา่ งการเทียบศักราช ในเหตกุ ารณ์ทีเ่ กย่ี วข้องกบั นักเรยี น เช่น ปเี กิดของนักเรียน 25 ส ๔.๑ ป.๓/๒ แสดงลาดบั เหตกุ ารณส์ าคญั  วธิ ีการสืบคน้ เหตุการณ์สาคัญ  ของโรงเรยี นและชุมชน ของโรงเรยี น และชมุ ชน โดยระบุหลกั ฐานและ โดยใช้หลกั ฐานและแหลง่ แหล่งข้อมูลท่ีเกี่ยวข้อง ขอ้ มูลท่ีเก่ยี วข้อง  ใชเ้ ส้นเวลา (Time Line) ลาดบั เหตุการณ์ ทีเ่ กดิ ขนึ้ ในโรงเรียน และชมุ ชน 26 ส ๔.๒ ป.๓/๑ ระบปุ ัจจัยที่มอี ิทธิพล  ปจั จัยการตงั้ ถิ่นฐานของชุมชน  ต่อการตัง้ ถ่นิ ฐาน ซึ่งขน้ึ อย่กู ับปจั จัยทางภมู ิศาสตร์ และพัฒนาการของชุมชน และปัจจยั ทางสังคม เชน่ ความเจริญทางเทคโนโลยี การคมนาคม ความปลอดภัย  ปจั จยั ทมี่ ีอิทธพิ ลต่อพฒั นาการ ของชุมชน ทง้ั ปัจจัยทางภูมศิ าสตร์ และปจั จยั ทางสงั คม 27 ส ๔.๒ ป.๓/๒ สรปุ ลักษณะทส่ี าคัญ  ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี  ของขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม ชมุ ชนของตน และวัฒนธรรมของชุมชน ที่เกดิ จากปัจจยั ทางภมู ิศาสตร์ และปจั จยั ทางสงั คม 28 ส ๔.๒ ป.๓/๓ เปรียบเทียบความเหมือน  ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี  และความตา่ งทางวฒั นธรรม และวฒั นธรรมของชุมชน ของชุมชนตนเองกบั ชุมชน อื่น ๆ ใกลเ้ คยี งท่มี ีความเหมือน และความตา่ งกับชุมชน ของตนเอง 29 ส ๔.๓ ป.๓/๑ ระบพุ ระนามและพระราชกรณยี กจิ  พระราชประวัติพระราชกรณียกิจ  โดยสงั เขปของพระมหากษัตรยิ ไ์ ทย โดยสังเขปของพระบาทสมเด็จ ทเ่ี ปน็ ผสู้ ถาปนาอาณาจักรไทย พระพุทธยอดฟาู จุฬาโลก มหาราช ผูส้ ถาปนาอาณาจกั ร รตั นโกสินทร์ 30 ส ๔.๓ ป.๓/๒ อธิบายพระราชประวตั ิ  พระราชประวัติ และพระราช  และพระราชกรณยี กิจ กรณียกิจของพระบาทสมเด็จ ของพระมหากษตั รยิ ์ พระเจ้าอยูห่ ัวภูมิพลอดุลยเดช ในรชั กาลปจั จุบัน โดยสงั เขป และสมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินนี าถ โดยสงั เขป ข้อมลู ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๑๘ ชั้น ที่ รหสั ตัวชี้วดั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้  ป.3 31 ส ๔.๓ ป.๓/๓ เลา่ วีรกรรมของบรรพบรุ ุษไทย  วีรกรรมของบรรพบรุ ษุ ไทย ทม่ี ีส่วนปกปูองประเทศชาติ ทม่ี สี ว่ นปกปูองประเทศชาติ เชน่ ชาวบ้านบางระจัน สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช 32 ส ๕.๑ ป.๓/๑ ใชแ้ ผนที่ แผนผัง และภาพถ่าย  แผนที่ แผนผงั และภาพถ่าย  ในการหาข้อมลู ทางภมู ิศาสตร์  ความสัมพนั ธ์ของตาแหน่ง ในชุมชนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ระยะ ทิศทาง  33 ส ๕.๑ ป.๓/๒ เขยี นแผนผงั งา่ ย ๆ  ตาแหนง่ ทีต่ ้งั สัมพันธ์ เพื่อแสดงตาแหนง่ ท่ีตง้ั ของสถานทสี่ าคัญในบริเวณ ของสถานท่สี าคัญในบริเวณ โรงเรียนและชมุ ชน เช่น โรงเรยี นและชมุ ชน สถานที่ราชการ อาเภอ ตลาด โรงพยาบาล ไปรษณยี ์ ฯลฯ 34 ส ๕.๑ ป.๓/๓ บอกความสมั พนั ธ์ของลักษณะ  ภมู ปิ ระเทศ และภมู ิอากาศ  ทางกายภาพกับลกั ษณะทางสังคม ท่มี ผี ลต่อสภาพสังคมในชมุ ชน ของชุมชน 35 ส ๕.๒ ป.๓/๑ เปรียบเทยี บการเปลย่ี นแปลง  สภาพแวดลอ้ มในชมุ ชน  สภาพแวดล้อมในชุมชน ในอดีต และปจั จบุ นั จากอดีตถงึ ปจั จบุ นั 36 ส ๕.๒ ป.๓/๒ อธิบายการพึง่ พาสง่ิ แวดล้อม  การพ่ึงพาสิ่งแวดล้อม  และทรัพยากรธรรมชาติ ในการดารงชีวติ ของมนุษย์ ในการสนองความต้องการพน้ื ฐาน เช่น การคมนาคม บ้านเรือน ของมนุษย์และการประกอบอาชพี และการประกอบอาชีพในชมุ ชน  การประกอบอาชีพท่เี ป็นผลมาจาก สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ในชุมชน 37 ส ๕.๒ ป.๓/๓ อธบิ ายเกี่ยวกบั มลพษิ  มลพษิ ท่ีเกดิ จากการกระทา  และการกอ่ ใหเ้ กิดมลพษิ ของมนษุ ย์ โดยมนุษย์ 38 ส ๕.๒ ป.๓/4 อธบิ ายความแตกต่างของเมือง  ลกั ษณะของเมืองและชนบท  และชนบท 39 ส ๕.๒ ป.๓/5 ตระหนกั ถึงการเปลย่ี นแปลง  การเพม่ิ และสญู เสยี ส่ิงแวดล้อม  ของส่ิงแวดล้อมในชุมชน ทาให้ชุมชนเปลี่ยนแปลง รวม ๓9 ตัวชี้วัด 8 31 ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

ตวั ช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางต้องรู้และควรรู้ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ชน้ั ท่ี รหัสตัวช้ีวัด ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.4 1 ส ๑.๑ ป.๔/๑ อธบิ ายความสาคัญ  ความสาคญั ของพระพุทธศาสนา  ของพระพทุ ธศาสนา  พระพุทธศาสนา ในฐานะ หรอื ศาสนาท่ีตนนับถือ ท่ีเปน็ เคร่ืองยดึ เหนี่ยวจิตใจ ในฐานะเปน็ ศนู ยร์ วมจิตใจ  เปน็ ศูนยร์ วมการทาความดี ของศาสนิกชน และพัฒนาจิตใจ เช่น ฝกึ สมาธิ สวดมนต์ ศึกษาหลกั ธรรม  เป็นทปี่ ระกอบศาสนพิธี (การทอดกฐิน การทอดผ้าป่า การเวียนเทยี น การทาบญุ )  เปน็ แหลง่ ทากิจกรรม ทางสงั คม เชน่ การจัด ประเพณีท้องถนิ่ การเผยแพร่ ขอ้ มูลข่าวสารชมุ ชน และการ ส่งเสรมิ พฒั นาชุมชน 2 ส ๑.๑ ป.๔/๒ สรปุ พุทธประวัตติ ้งั แต่บรรลธุ รรม  สรปุ พุทธประวัติ (ทบทวน)  จนถงึ ประกาศธรรม หรือประวตั ิ  ตรัสรู้ ศาสดาท่ตี นนับถอื ตามท่ีกาหนด  ประกาศธรรม ได้แก่ o แสดงโอวาทปาฏโิ มกข์ 3 ส ๑.๑ ป.๔/๓ เหน็ คุณคา่ และปฏิบตั ติ น  พทุ ธสาวก พทุ ธสาวกิ า  ตามแบบอย่างการดาเนนิ ชวี ิต  พระอุรุเวลกสั สปะ และข้อคดิ จากประวตั สิ าวก ชาดก  ชาดก เร่อื งเล่าและศาสนิกชนตวั อย่าง  กุฏทิ ูสกชาดก ตามทกี่ าหนด  ศาสนิกชนตัวอยา่ ง  สมเด็จพระศรีนครนิ ทรา บรมราชชนนี ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๒ ชน้ั ท่ี รหสั ตัวชี้วดั ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.4 4 ส ๑.๑ ป.๔/๔ แสดงความเคารพพระรัตนตรัย  พระรัตนตรัย  ปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรม o ศรัทธา ๔ โอวาท ๓ ในพระพทุ ธศาสนาหรอื  พระพุทธ หลักธรรมของศาสนาทตี่ นนับถือ o พทุ ธคณุ ๓ ตามท่กี าหนด  พระธรรม o หลกั กรรม  พระสงฆ์  ไตรสิกขา  ศลี  โอวาท ๓  ไม่ทาชัว่ o ทจุ ริต ๓  ทาความดี o สุจริต ๓ o พรหมวหิ าร ๔ o กตญั ญูกตเวทีต่อ ประเทศชาติ o มงคล ๓๘ - เคารพ - ถ่อมตน - ทาความดีให้พร้อมไวก้ ่อน  ทาจิตใหบ้ รสิ ุทธ์ิ (บริหารจิต และเจริญปญั ญา)  พุทธศาสนสุภาษิต  สขุ า สงฺฆสสฺ สามคฺคี : ความพร้อมเพรยี งของหมู่ ใหเ้ กดิ สุข  โลโกปตฺถมภฺ ิกา เมตตฺ า : เมตตาธรรม ค้าจนุ โลก 5 ส ๑.๑ ป.๔/๕ ชนื่ ชมการทาความดีของตนเอง  ตวั อย่างการกระทาความดี  บคุ คลในครอบครวั โรงเรยี น ของตนเองและบคุ คล และชุมชนตามหลักศาสนา ในครอบครัว ในโรงเรียน พรอ้ มทงั้ บอกแนวปฏิบัติ และในชุมชน ในการดาเนินชวี ติ ขอ้ มูล ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๓ ช้ัน ที่ รหัสตัวช้ีวดั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.4 6 ส ๑.๑ ป.๔/๖ เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา  สวดมนตไ์ หวพ้ ระ สรรเสริญ  มสี ตทิ เ่ี ป็นพื้นฐานของสมาธิ คุณพระรัตนตรัยและแผ่เมตตา ในพระพทุ ธศาสนาหรือการพฒั นาจติ  ความหมายของสตสิ มั ปชัญญะ ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ สมาธิและปญั ญา ตามท่กี าหนด 7 ส ๑.๑ ป.๔/๗ ปฏบิ ัติตนตามหลักธรรม  หลักธรรมเพ่ือการอยูร่ ว่ มกัน  ของศาสนาที่ตนนบั ถอื อย่างสมานฉันท์ เพ่อื การอยู่ร่วมกันเปน็ ชาติ o พรหมวหิ าร ๔ ไดอ้ ยา่ งสมานฉันท์ 8 ส ๑.๑ ป.๔/๘ อธิบายประวตั ศิ าสดา  ประวตั ศิ าสดา  ของศาสนาอนื่ ๆ โดยสังเขป o พระพุทธเจ้า (เรยี นในชว่ งชนั้ ที่1) o มฮุ ัมมดั o พระเยซู 9 ส ๑.๒ ป.๔/๑ อภิปรายความสาคัญและมีส่วนร่วม  ความรูเ้ บื้องตน้ และความสาคัญ  ในการบารงุ รักษาศาสนสถาน ของศาสนสถาน ของศาสนาทีต่ นนับถอื  การแสดงความเคารพ ตอ่ ศาสนสถาน  การบารุงรกั ษาศาสนสถาน 10 ส ๑.๒ ป.๔/๒ มีมรรยาทของความเป็น  มรรยาทของศาสนิกชน  ศาสนิกชนทดี่ ตี ามทก่ี าหนด o การปฏบิ ัติตนท่เี หมาะสม ตอ่ พระภิกษุ o การยืน การเดิน และการน่ัง ท่ีเหมาะสมในโอกาสต่าง ๆ 11 ส ๑.๒ ป.๔/๓ ปฏิบตั ติ นในศาสนพิธี พธิ ีกรรม  ปฏบิ ตั ติ นในศาสนพธิ ี  และวันสาคัญทางศาสนา o การอาราธนาธรรม ตามท่ีกาหนดได้ถกู ต้อง o การอาราธนาพระปรติ ร o ระเบยี บพธิ ีและการปฏิบตั ิ ตนในวันธรรมสวนะ 12 ส ๒.๑ ป.๔/๑ ปฏบิ ตั ติ นเปน็ พลเมืองดี  การเขา้ รว่ มกจิ กรรมประชาธปิ ไตย  ตามวิถปี ระชาธิปไตย ของชุมชน เชน่ การรณรงค์ ในฐานะสมาชิกท่ีดีของชุมชน การเลือกตั้ง  แนวทางการปฏิบตั ิตน เป็นสมาชิกท่ดี ีของชุมชน เชน่ อนรุ ักษ์สงิ่ แวดล้อม สาธารณสมบตั ิ โบราณวัตถุ และโบราณสถาน การพัฒนา ชุมชน ข้อมูล ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๔ ชัน้ ท่ี รหสั ตัวชี้วัด ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.4 13 ส ๒.๑ ป.๔/๒ ปฏบิ ัติตนในการเปน็ ผูน้ า  การเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี  และผู้ตามท่ีดี o บทบาทและความรับผิดชอบ ของผนู้ า o บทบาทและความรับผิดชอบ ของผูต้ ามหรือสมาชิก o การทางานกลุ่มให้มี ประสทิ ธิภาพและประสิทธิผล และประโยชน์ของการทางาน เปน็ กลุม่ 14 ส ๒.๑ ป.๔/๓ วเิ คราะห์สิทธพิ น้ื ฐานท่เี ด็กทุกคน  สิทธิพ้ืนฐานของเด็ก เช่น  พงึ ได้รบั ตามกฎหมาย สิทธิที่จะมีชวี ติ สิทธทิ ีจ่ ะไดร้ ับ การปกป้อง สทิ ธิท่ีจะไดร้ บั การพฒั นา สทิ ธทิ ีจ่ ะมสี ่วนร่วม 15 ส ๒.๑ ป.๔/๔ อธบิ ายความแตกตา่ ง  วฒั นธรรมในภาคต่าง ๆ  ทางวฒั นธรรมของกลุ่มคน ของไทยท่ีแตกต่างกนั เช่น ในทอ้ งถิน่ การแต่งกาย ภาษา อาหาร 16 ส ๒.๑ ป.๔/๕ เสนอวธิ ีการที่จะอยรู่ ว่ มกนั  ปัญหาและสาเหตุของการเกิด  อย่างสนั ติสขุ ในชวี ิตประจาวนั ความขดั แย้งในชีวติ ประจาวนั  แนวทางการแกป้ ญั หา ความขดั แย้งด้วยสนั ตวิ ิธี 17 ส ๒.๒ ป.๔/๑ อธิบายอานาจอธปิ ไตย  อานาจอธปิ ไตย  และความสาคญั ของระบอบ  ความสาคญั ของการปกครอง ประชาธิปไตย ตามระบอบประชาธปิ ไตย 18 ส ๒.๒ ป.๔/๒ อธิบายบทบาทหน้าท่ขี องพลเมอื ง  บทบาทหน้าทขี่ องพลเมือง  ในกระบวนการเลือกต้งั ในกระบวนการเลือกตัง้ ท้งั ก่อน การเลือกต้งั ระหว่างการเลือกตัง้ และหลังการเลือกตั้ง 19 ส ๒.๒ ป.๔/๓ อธิบายความสาคัญของสถาบัน  ความสาคัญของสถาบนั  พระมหากษัตริย์ตามระบอบ พระมหากษัตริย์ในสงั คมไทย ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ ทรงเปน็ ประมขุ 20 ส ๓.๑ ป.๔/๑ ระบุปจั จัยทีม่ ีผลต่อการเลือกซอ้ื  สนิ ค้าและบริการ (ทบทวน)  สินคา้ และบรกิ าร  ปจั จยั ทีม่ ีผลตอ่ การเลอื กซอ้ื สนิ คา้ และบรกิ าร เชน่ ความพึงพอใจของผ้ซู ้ือ ราคาสนิ ค้า การโฆษณา คุณภาพของสนิ ค้า ขอ้ มลู ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๕ ชั้น ท่ี รหสั ตัวช้ีวดั ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ ป.4 21 ส ๓.๑ ป.๔/๒ บอกสทิ ธิพ้นื ฐานและรักษา  สทิ ธพิ ้ืนฐานของผู้บริโภค  ผลประโยชนข์ องตนเอง  สนิ คา้ และบริการทม่ี ี ในฐานะผู้บริโภค เครื่องหมายรับรองคุณภาพ  หลกั การและวิธีการเลือก บริโภค 22 ส ๓.๑ ป.๔/๓ อธิบายหลักการของ  หลกั การของเศรษฐกิจพอเพียง  เศรษฐกิจพอเพียงและนาไปใช้  การประยุกต์ใช้ปรัชญา ในชวี ิตประจาวันของตนเอง ของเศรษฐกิจพอเพียง ในการดารงชีวติ เช่น การแต่งกาย การกนิ อาหาร การใช้จ่าย 23 ส ๓.๒ ป.๔/๑ อธบิ ายความสัมพนั ธท์ างเศรษฐกิจ  การพ่ึงพาอาศยั กนั ภายในชมุ ชน  ของคนในชมุ ชน ทางดา้ นเศรษฐกิจ เชน่ ความสัมพันธร์ ะหว่างผซู้ ื้อ ผู้ขาย การกหู้ น้ี ยืมสนิ 24 ส ๓.๒ ป.๔/๒ อธบิ ายหน้าทเ่ี บื้องต้นของเงิน  ความหมายและประเภทของเงิน   หน้าทีเ่ บ้อื งตน้ ของเงินในระบบ เศรษฐกิจ  สกุลเงินสาคัญท่ีใชใ้ นการซ้ือขาย แลกเปลยี่ นระหวา่ งประเทศ 25 ส ๔.๑ ป.๔/๑ นับช่วงเวลาเปน็ ทศวรรษ  ความหมายและชว่ งเวลาของ  ศตวรรษ และสหัสวรรษ ทศวรรษ ศตวรรษ และสหสั วรรษ  การใช้ทศวรรษ ศตวรรษ และ สหสั วรรษ เพอ่ื ทาความเข้าใจ ช่วงเวลาทปี่ รากฏในเอกสาร ตา่ ง ๆ เชน่ หนงั สือพมิ พ์ 26 ส ๔.๑ ป.๔/๒ อธบิ ายยุคสมัยในการศึกษาประวัติ  เกณฑ์การแบง่ ยุคสมัย  ของมนุษยชาตโิ ดยสงั เขป ในการศึกษาประวตั ิศาสตร์ ทแี่ บ่งเปน็ ยคุ กอ่ น ประวตั ศิ าสตร์ และยุคประวตั ศิ าสตร์ 27 ส ๔.๑ ป.๔/๓ แยกแยะประเภทหลักฐาน  ประเภทของหลักฐาน  ทใ่ี ชใ้ นการศึกษาความเปน็ มา ทางประวตั ิศาสตร์ ของท้องถิ่น ท่แี บง่ เป็นหลกั ฐานชน้ั ต้น และหลกั ฐานชัน้ รอง  ตวั อยา่ งหลักฐานทใ่ี ชใ้ นการศึกษา ความเปน็ มาในทอ้ งถ่นิ ของตน  เกณฑ์การจาแนกหลกั ฐาน ทีพ่ บในทอ้ งถนิ่ เปน็ หลกั ฐาน ชนั้ ต้นและหลกั ฐานชน้ั รอง อย่างงา่ ย ๆ ขอ้ มูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๖ ชน้ั ที่ รหัสตัวช้ีวัด ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.4 28 ส ๔.๒ ป.๔/๑ อธิบายการต้งั หลักแหลง่  พัฒนาการของมนุษย์  และพัฒนาการของมนุษย์ ยุคก่อนประวัติศาสตร์และ ยคุ ก่อนประวัตศิ าสตร์และ ยุคประวัติศาสตร์ในดนิ แดนไทย ยคุ ประวตั ิศาสตร์ โดยสังเขป โดยสงั เขป  หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ 29 ส ๔.๒ ป.๔/๒ ยกตัวอย่างหลักฐาน ทพี่ บในทอ้ งถิ่นทีแ่ สดง  ทางประวตั ศิ าสตรท์ ี่พบในท้องถนิ่ พฒั นาการของมนุษยชาติ ท่ีแสดงพฒั นาการของมนษุ ยชาติ ในดินแดนไทย โดยสงั เขป 30 ส ๔.๓ ป.๔/๑ อธบิ ายพัฒนาการของอาณาจักร  การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย  สุโขทยั โดยสังเขป โดยสงั เขป  พัฒนาการของอาณาจกั ร สโุ ขทยั ทางด้านการเมือง การปกครองและเศรษฐกิจ โดยสงั เขป 31 ส ๔.๓ ป.๔/๒ บอกประวัติและผลงานของบุคคล  ประวัติ และผลงานของบุคคล  สาคญั สมัยสุโขทัย สาคญั สมัยสุโขทยั เช่น พ่อขุนศรี อินทราทิตย์ พ่อขุนรามคาแหง มหาราช พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พระยาลไิ ท) โดยสงั เขป 32 ส ๔.๓ ป.๔/๓ อธบิ ายภูมปิ ญั ญาไทยท่สี าคัญ  ภมู ิปัญญาไทยในสมัยสโุ ขทัย  สมัยสุโขทัยที่น่าภาคภูมิใจและ เช่น ภาษาไทย ศิลปกรรม ควรคา่ แก่การอนุรักษ์ สุโขทยั ที่ทาให้สุโขทัยไดร้ ับ การยกย่องเป็นมรดกโลก  คุณค่าของภมู ิปญั ญาไทยท่ีสืบต่อ ถงึ ปัจจบุ นั ทน่ี า่ ภาคภูมิใจ และควรค่าแกก่ ารอนรุ ักษ์ 33 ส ๕.๑ ป.๔/๑ ใช้แผนที่ ภาพถ่ายระบลุ กั ษณะ  แผนท่ี ภาพถ่าย ลักษณะ  สาคัญทางกายภาพของจังหวดั ทางกายภาพของจังหวัดตนเอง ตนเอง 34 ส ๕.๑ ป.๔/๒ ระบแุ หล่งทรัพยากรและสิ่งต่าง ๆ  ตาแหน่ง ระยะทาง และทิศ  ในจงั หวดั ของตนเองดว้ ยแผนท่ี ของทรพั ยากรและส่งิ ต่าง ๆ ในจังหวดั ของตนเอง 35 ส ๕.๑ ป.๔/๓ ใช้แผนที่อธบิ ายความสัมพันธ์  แผนที่แสดงความสัมพันธ์  ของสง่ิ ตา่ ง ๆ ท่ีมีอย่ใู นจงั หวดั ของส่งิ ตา่ ง ๆ ที่มีอยู่ในจังหวดั 36 ส ๕.๒ ป.๔/๑ อธิบายสภาพแวดล้อมทางกายภาพ  สภาพแวดล้อมทางกายภาพ  ของชุมชนที่สง่ ผลต่อการดาเนิน ของชุมชนที่ส่งผลต่อการดาเนิน ชวี ิตของคนในจงั หวัด ชวี ิตของคนในจังหวดั เช่น ลักษณะบ้าน อาหาร ขอ้ มูล ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๗ ช้นั ที่ รหสั ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ ป.4 37 ส ๕.๒ ป.๔/๒ อธบิ ายการเปล่ยี นแปลง  การเปล่ียนแปลงสภาพแวดล้อม  สภาพแวดล้อมในจังหวดั ในจงั หวัดและผลทีเ่ กดิ จาก และผลทเี่ กดิ จาก การเปลย่ี นแปลง เช่น การเปลย่ี นแปลงนนั้ การตัง้ ถิ่นฐาน การยา้ ยถิ่น 38 ส ๕.๒ ป.๔/๓ มสี ่วนรว่ มในการอนุรกั ษ์  การอนุรักษส์ ่งิ แวดล้อมและ  สง่ิ แวดล้อมในจงั หวัด ทรัพยากรธรรมชาติในจังหวดั รวม 38 ตัวช้ีวัด 13 25 ข้อมลู ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๘ ช้นั ที่ รหัสตัวช้ีวดั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.5 1 ส ๑.๑ ป.๕/๑ วเิ คราะหค์ วามสาคญั ของ  มรดกทางวัฒนธรรมท่ีได้รบั  พระพุทธศาสนาหรือศาสนา จากพระพุทธศาสนา ทตี่ นนับถือในฐานะทเี่ ปน็ มรดก o มรดกทางด้านรปู ธรรม เช่น ทางวัฒนธรรมและหลักในการพัฒนา ศาสนสถาน โบราณวัตถุ ชาติไทย สถาปัตยกรรม o มรดกทางดา้ นจติ ใจ เชน่ หลกั ธรรมคาสงั่ สอน ความเชื่อ และคุณธรรมต่าง ๆ  การนาพระพุทธศาสนาไปใช้ เปน็ แนวทางในการพฒั นาชาตไิ ทย o พัฒนาดา้ นกายภาพและ สง่ิ แวดลอ้ ม o พัฒนาจติ ใจ 2 ส ๑.๑ ป.๕/๒ สรปุ พุทธประวตั ิตั้งแตเ่ สดจ็  สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน)  กรงุ กบลิ พสั ดุ์จนถึงพุทธกิจสาคัญ  โปรดพระพุทธบดิ า หรือประวตั ิศาสดาที่ตนนับถือ (เสด็จกรงุ กบลิ พัสดุ์) ตามทก่ี าหนด  พุทธกิจสาคญั ได้แก่ โลกัตถจริยา ญาตัตถจรยิ า และพุทธัตถจริยา 3 ส ๑.๑ ป.๕/๓ เห็นคณุ ค่า และประพฤติตน  พุทธสาวก พุทธสาวกิ า  ตามแบบอยา่ งการดาเนินชีวิต o พระโสณโกฬวิ สิ ะ และข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก  ชาดก เรอ่ื งเลา่ และศาสนกิ ชนตัวอย่าง o จูฬเสฏฐชิ าดก ตามที่กาหนด  ศาสนิกชนตัวอยา่ ง o สมเด็จพระสังฆราช (สา) 4 ส ๑.๑ ป.๕/๔ อธบิ ายองค์ประกอบและความสาคัญ  องค์ประกอบของพระไตรปิฎก  ของพระไตรปิฎกหรือคัมภีร์ o พระสุตตนั ตปฎิ ก ของศาสนาที่ตนนบั ถือ o พระวินัยปิฎก o พระอภิธรรมปิฎก  ความสาคัญของพระไตรปฎิ ก ข้อมลู ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๙ ชั้น ที่ รหัสตัวช้ีวัด ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.5 5 ส ๑.๑ ป.๕/๕ แสดงความเคารพพระรัตนตรัย  ไตรสิกขา  และปฏบิ ตั ติ ามไตรสกิ ขา และ  สมาธิ หลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา  โอวาท ๓ หรอื หลักธรรมของศาสนาท่ตี นนับถอื  ไม่ทาชว่ั ตามทก่ี าหนด o อบายมุข ๔  ทาความดี o บญุ กริ ยิ าวตั ถุ ๓ o อิทธบิ าท ๔ o กตญั ญูกตเวทตี ่อ พระพุทธศาสนา o มงคล ๓๘ - ใฝร่ ู้ ใฝ่เรียน - การงานไม่อากลู - อดทน  ทาจติ ใหบ้ ริสุทธิ์ (บรหิ ารจิต และเจริญปัญญา)  พทุ ธศาสนสภุ าษติ  วริ ิเยน ทุกขฺ มจฺเจติ คนจะลว่ งทุกขไ์ ด้ เพราะความเพียร  ปญฺญา โลกสมฺ ิ ปชฺโชโต ปญั ญา คือ แสงสวา่ งในโลก  6 ส ๑.๑ ป.๕/๖ เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่เมตตา  วธิ ปี ฏบิ ตั ิและประโยชน์ของ มสี ตทิ ี่เป็นพนื้ ฐานของสมาธิ การบรหิ ารจิตและเจริญปัญญา ในพระพุทธศาสนาหรือการพฒั นาจิต  ฝึกการยืน การเดนิ การน่งั ตามแนวทางของศาสนาทตี่ นนับถือ และการนอนอย่างมสี ติ ตามทกี่ าหนด  ฝึกการกาหนดรู้ความรสู้ ึก เมอื่ ตาเหน็ รปู หูฟงั เสียง จมกู ดมกล่นิ ล้นิ ล้ิมรส กายสมั ผสั สงิ่ ทีม่ ากระทบใจรบั รู้ ธรรมารมณ์  ฝึกใหม้ ีสมาธใิ นการฟัง การอ่าน การคิด การถามและการเขยี น  7 ส ๑.๑ ป.๕/๗ ปฏบิ ัตติ นตามหลักธรรมของศาสนา  โอวาท ๓ (ตามสาระการเรยี นรู้ ทต่ี นนับถือ เพื่อการพัฒนาตนเอง ขอ้ ๕) และสง่ิ แวดล้อม  8 ส ๑.๒ ป.๕/๑ จดั พิธกี รรมตามศาสนาทต่ี นนับถือ  การจัดพิธีกรรมทเี่ รียบงา่ ย อย่างเรียบง่าย มีประโยชน์ และ ประหยดั มปี ระโยชน์ และ ปฏบิ ตั ิตนถกู ตอ้ ง ถูกต้องตามหลักทางศาสนา ท่ตี นนับถือ ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๑๐ ชนั้ ท่ี รหัสตัวช้ีวัด ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.5 9 ส ๑.๒ ป.๕/๒ ปฏิบตั ิตนในศาสนพิธี พิธกี รรม  การมสี ว่ นร่วมในการจัดเตรียม  และวนั สาคัญทางศาสนา สถานทปี่ ระกอบศาสนพธิ ี ตามท่กี าหนด และอภปิ ราย พธิ กี รรมทางศาสนา ประโยชน์ทไี่ ดร้ ับจากการเข้าร่วม  พิธถี วายสงั ฆทาน เครอื่ งสังฆทาน กจิ กรรม  ระเบยี บพิธใี นการทาบุญงานมงคล  ประโยชน์ของการเขา้ รว่ ม ศาสนพธิ ี พิธกี รรมทางศาสนา หรอื กิจกรรมในวนั สาคัญ ทางศาสนา 10 ส ๑.๒ ป.๕/๓ มมี รรยาทของความเป็นศาสนิกชน  มรรยาทของศาสนิกชน  ที่ดีตามท่ีกาหนด o การกราบพระรตั นตรัย o การไหวบ้ ดิ า มารดา ครู อาจารย์ ผทู้ ่ีเคารพนับถือ 11 ส ๒.๑ ป.๕/๑ ยกตวั อย่างและปฏบิ ตั ิตน o การกราบศพ  สถานภาพ บทบาท สิทธิเสรีภาพ  ตามสถานภาพ บทบาท หนา้ ทข่ี องพลเมืองดี เช่น สิทธเิ สรีภาพ และหน้าที่ เคารพ เทดิ ทูนสถาบนั ชาติ ในฐานะพลเมืองดี ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ อนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ อนุรักษ์ศลิ ปวฒั นธรรม ปฏิบัตติ นตามกฎหมาย  คณุ ลกั ษณะของพลเมืองดี เช่น มมุ านะทาประโยชน์เพ่ือสว่ นรวม มคี ่านิยมประชาธิปไตยมีคณุ ธรรม 12 ส ๒.๑ ป.๕/๒ เสนอวธิ ีการปกป้องค้มุ ครองตนเอง  เหตุการณท์ ี่ละเมิดสิทธเิ ด็ก  หรือผูอ้ ื่นจากการละเมิดสทิ ธิเด็ก ในสงั คมไทย  แนวทางการปกปอ้ งคุม้ ครอง ตนเองหรอื ผู้อ่นื จากการละเมิด สทิ ธิเดก็  การปกป้องคุม้ ครองสิทธิเดก็ 13 ส ๒.๑ ป.๕/๓ เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทย ในสังคมไทย  วัฒนธรรมไทยท่ีมผี ลตอ่ การ  ทีม่ ีผลต่อการดาเนนิ ชวี ิต ดาเนนิ ชีวิตของคนในสงั คมไทย ในสงั คมไทย  คุณค่าของวัฒนธรรมกับการ ดาเนินชีวติ ขอ้ มลู ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๑๑ ชน้ั ท่ี รหสั ตัวชี้วัด ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้  ป.5 14 ส ๒.๑ ป.๕/๔ มสี ว่ นรว่ มในการอนรุ ักษ์  ความสาคญั ของภมู ิปัญญา และเผยแพร่ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน ทอ้ งถิ่น ของชุมชน  ตัวอย่างภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ในชุมชนของตน  การอนรุ ักษแ์ ละเผยแพร่ ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ของชุมชน 15 ส ๒.๒ ป.๕/๑ อธบิ ายโครงสร้าง อานาจหน้าที่  โครงสร้างการปกครองในทอ้ งถนิ่  และความสาคัญของการปกครอง เช่น อบต. อบจ. เทศบาล ส่วนท้องถิ่น และการปกครองพิเศษ เชน่ เมืองพทั ยา กรุงเทพมหานคร  อานาจหน้าทแ่ี ละความสาคัญ ของการปกครองส่วนท้องถนิ่ 16 ส ๒.๒ ป.๕/๒ ระบุบทบาท หน้าท่ี และวธิ ีการ  บทบาท หนา้ ท่ี และวิธีการ  เข้าดารงตาแหน่งของผู้บรหิ าร เข้าดารงตาแหนง่ ของผู้บริหาร ท้องถิ่น ท้องถน่ิ เชน่ นายก อบต. นายกเทศมนตรี นายก อบจ. ผูว้ ่าราชการ กทม. นายกเมืองพัทยา 17 ส ๒.๒ ป.๕/๓ วเิ คราะหป์ ระโยชนท์ ี่ชุมชน  องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ  จะไดร้ บั จากองค์กรปกครอง กับบริการสาธารณประโยชน์ ส่วนท้องถ่นิ ในชมุ ชน 18 ส ๓.๑ ป.๕/๑ อธบิ ายปัจจัยการผลติ สนิ คา้  ความหมายและประเภท  และบริการ ของปัจจัยการผลติ ประกอบดว้ ย ท่ดี นิ แรงงาน ทนุ และ ผปู้ ระกอบการ  เทคโนโลยีในการผลติ สนิ ค้า และบริการ  ปัจจยั อ่นื ๆ เช่น ราคาน้ามนั วตั ถดุ ิบ 19 ส ๓.๑ ป.๕/๒ ประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคิดของปรัชญา  การประยุกต์ใชป้ รชั ญาของ  ของเศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียงในกิจกรรม ในการทากจิ กรรมตา่ ง ๆ ต่าง ๆ ในครอบครัว โรงเรียน ในครอบครัว โรงเรียน และชมุ ชน และชุมชน เชน่ การประหยดั พลงั งาน และค่าใช้จ่ายในบา้ น โรงเรียน การวางแผน การผลิตสนิ คา้ และบริการ เพ่อื ลดความสูญเสียทุกประเภท การใชภ้ มู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ  ตัวอยา่ งการผลิตสินคา้ และ บริการในชมุ ชน เชน่ หนึ่งตาบล หนึง่ ผลติ ภัณฑ์ หรือโอท็อป ข้อมลู ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๑๒ ชนั้ ที่ รหสั ตัวช้ีวัด ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้  ป.5 20 ส ๓.๑ ป.๕/๓ อธิบายหลกั การสาคัญและ  หลักการและประโยชน์ ประโยชน์ของสหกรณ์ ของสหกรณ์  ประเภทของสหกรณโ์ ดยสงั เขป  สหกรณใ์ นโรงเรยี น (เนน้ ฝกึ ปฏบิ ตั จิ ริง) 21 ส ๓.๒ ป.๕/๑ อธิบายบทบาทหน้าท่เี บื้องตน้  บทบาทหนา้ ท่ีของธนาคาร  ของธนาคาร โดยสังเขป  ดอกเบยี้ เงินฝากและดอกเบ้ียกยู้ ืม  การฝากเงิน / การถอนเงิน 22 ส ๓.๒ ป.๕/๒ จาแนกผลดีและผลเสยี ของการกู้ยมื  ผลดีและผลเสียของการกู้ยมื เงิน  ท้งั นอกระบบ และในระบบ  23 ส ๔.๑ ป.๕/๑ สืบคน้ ความเป็นมาของท้องถิ่น  วธิ ีการสบื คน้ ความเป็นมา โดยใช้หลักฐานทห่ี ลากหลาย ของท้องถน่ิ อย่างง่าย ๆ  แหล่งข้อมูลและหลกั ฐาน ทางประวัติศาสตร์ที่มอี ยู่ในท้องถ่ิน ที่เกิดขึ้นตามช่วงเวลาต่าง ๆ เช่น เคร่ืองมือเครื่องใช้ อาวุธ โบราณสถาน โบราณวตั ถุ ตานานท้องถ่ิน คาบอกเล่า 24 ส ๔.๑ ป.๕/๒ รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ  การตั้งคาถามทางประวตั ิศาสตร์  เพ่ือตอบคาถามทางประวตั ิศาสตร์ เกี่ยวกับความเป็นมาของท้องถ่ิน อยา่ งมีเหตผุ ล เชน่ มีเหตุการณใ์ ดเกดิ ขนึ้ ในชว่ งเวลาใด เพราะสาเหตใุ ด และมีผลกระทบอยา่ งไร 25 ส ๔.๑ ป.๕/๓ อธบิ ายความแตกต่างระหว่าง  ตวั อย่างเร่ืองราวทส่ี ามารถ  ความจริงกับข้อเท็จจริงเกยี่ วกับ แสดงนยั ของความคดิ เห็น เร่อื งราวในท้องถิน่ ทมี่ ีอยู่ในข้อมูลจากหลกั ฐาน ต่าง ๆ เช่น จากหนงั สอื พมิ พ์ จากบทความ จากเอกสารอน่ื ๆ  ตวั อย่างข้อมลู จากหลักฐาน ทางประวตั ศิ าสตร์ ในท้องถิน่ ที่แสดงความจรงิ กบั ข้อเทจ็ จริง 26 ส ๔.๒ ป.๕/๑ อธิบายอิทธิพลของอารยธรรม  การเข้ามาของอารยธรรมอินเดีย  อนิ เดียและจนี ท่ีมตี ่อไทย และจนี ในดินแดนไทยและ และเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ โดยสงั เขป โดยสังเขป  อิทธพิ ลของอารยธรรมอนิ เดียและ จนี ที่มตี ่อไทย และคนในภูมภิ าค เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ เชน่ ศาสนาและความเช่อื ภาษา การแต่งกาย อาหาร ข้อมูล ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๑๓ ชั้น ท่ี รหัสตัวช้ีวัด ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.5 27 ส ๔.๒ ป.๕/๒ อภิปรายอิทธิพลของวฒั นธรรม  การเข้ามาของวัฒนธรรมต่างชาติ  ต่างชาติท่มี ีตอ่ สังคมไทยปจั จบุ ัน ในสงั คมไทย เช่น อาหาร โดยสังเขป ภาษาการแตง่ กาย ดนตรี โดยระบุลักษณะ สาเหตแุ ละผล โดยสงั เขป  อิทธิพลท่หี ลากหลายของกระแส วัฒนธรรมตา่ งชาตติ อ่ สังคมไทย ในปจั จุบนั โดยสงั เขป 28 ส ๔.๓ ป.๕/๑ อธิบายพฒั นาการของอาณาจักร  การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา  อยธุ ยาและธนบรุ โี ดยสังเขป โดยสังเขป 29 ส ๔.๓ ป.๕/๓ บอกประวตั แิ ละผลงาน ของบุคคลสาคญั สมัยอยุธยา  พฒั นาการของอาณาจักรอยธุ ยา  และธนบรุ ที น่ี ่าภาคภมู ิใจ ดา้ นการเมือง การปกครอง 30 ส ๔.๓ ป.๕/๔ อธบิ ายภมู ิปัญญาไทย ทสี่ าคัญสมัยอยธุ ยาและธนบุรี และเศรษฐกจิ โดยสงั เขป ทน่ี ่าภาคภมู ิใจและควรคา่ แก่การอนรุ กั ษ์ไว้  ผลงานของบุคคลสาคัญ  ในสมัยอยุธยา เช่น สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๑ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ชาวบ้านบางระจนั  ภูมปิ ัญญาไทยสมยั อยธุ ยา โดยสังเขป เชน่ ศิลปกรรม การค้า วรรณกรรม  การกอบกู้เอกราชและการสถาปนา อาณาจักรธนบรุ ี โดยสังเขป  พระราชประวัติ และผลงาน ของพระเจา้ ตากสินมหาราช โดยสงั เขป  ภมู ปิ ัญญาไทยสมัยธนบุรี โดยสงั เขป เชน่ ศิลปกรรม 31 ส ๔.๓ ป.๕/๒ อธิบายปัจจัยท่ีสง่ เสรมิ การคา้ วรรณกรรม ความเจรญิ รงุ่ เรืองทางเศรษฐกิจ และการปกครองของอาณาจกั ร  ปจั จยั ท่ีสง่ เสรมิ ความเจรญิ รงุ่ เรอื ง  อยุธยา ทางเศรษฐกจิ และการปกครอง 32 ส ๕.๑ ป.๕/๑ รตู้ าแหน่ง (พกิ ดั ภูมิศาสตร์ ละติจูด ลองจจิ ูด) ระยะ ทิศทาง ของอาณาจักรอยุธยา ของภมู ิภาคของตนเอง  ตาแหน่ง (พิกัดภูมิศาสตร์  ละตจิ ูด ลองจจิ ูด) ระยะ ทิศทาง ของภมู ภิ าคของตนเอง ข้อมลู ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๑๔ ชั้น ที่ รหัสตัวช้ีวัด ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.5 33 ส ๕.๑ ป.๕/๒ ระบลุ ักษณะภูมิลักษณท์ ี่สาคัญ  ภูมิลกั ษณท์ ่ีสาคญั ในภมู ิภาค  ในภมู ิภาคของตนเองในแผนที่ ของตนเอง เชน่ แมน่ ้า ภูเขา ป่าไม้  34 ส ๕.๑ ป.๕/๓ อธิบายความสัมพนั ธ์ของลักษณะ  ความสัมพันธ์ของลักษณะ ทางกายภาพกับลักษณะทางสังคม ทางกายภาพ (ภมู ลิ ักษณ์ ในภมู ภิ าคของตนเอง และภูมอิ ากาศ) และลักษณะ ทางสังคม (ภมู สิ ังคม) ในภูมิภาค ของตนเอง 35 ส ๕.๒ ป.๕/๑ วิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมทางกายภาพ  สภาพแวดล้อมทางกายภาพ  ทมี่ อี ทิ ธิพลตอ่ ลกั ษณะการตง้ั ถิ่นฐาน ท่มี อี ิทธิพลต่อลักษณะการ และการย้ายถ่ินของประชากร ตั้งถน่ิ ฐานและการยา้ ยถน่ิ ในภูมิภาค ของประชากรในภูมิภาค  36 ส ๕.๒ ป.๕/๒ อธบิ ายอิทธิพลของส่ิงแวดล้อม  อิทธิพลของส่ิงแวดลอ้ ม ทางธรรมชาติที่ก่อให้เกิดวถิ ีชีวิต ทางธรรมชาติทกี่ ่อให้เกดิ วิถชี ีวิต และการสรา้ งสรรค์วฒั นธรรม และการสร้างสรรคว์ ฒั นธรรม ในภูมิภาค ในภมู ภิ าค 37 ส ๕.๒ ป.๕/๓ นาเสนอตวั อยา่ งที่สะท้อนให้เห็น  ผลจากการรักษาและการทาลาย  ผลจากการรักษา และการทาลาย สภาพแวดลอ้ ม สภาพแวดล้อม และเสนอแนวคดิ  แนวทางการอนรุ ักษ์และรักษา ในการรักษาสภาพแวดล้อม สภาพแวดลอ้ มในภมู ิภาค ในภมู ภิ าค รวม 37 ตวั ชี้วัด 18 19 ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๑๕ ช้นั ท่ี รหัสตัวชี้วดั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้  ป.6 1 ส ๑.๑ ป.๖/๑ วิเคราะหค์ วามสาคัญ  พระพทุ ธศาสนาในฐานะเปน็ ศาสนา ของพระพุทธศาสนา ประจาชาติ เชน่ เปน็ เอกลักษณ์ ในฐานะเปน็ ศาสนา ของชาติไทย เป็นรากฐานและ ประจาชาติ หรอื ความสาคัญ มรดกทางวฒั นธรรมไทย ของศาสนาท่ีตนนบั ถือ เปน็ ศูนยร์ วมจิตใจ และเปน็ หลัก ในการพฒั นาชาติไทย 2 ส ๑.๑ ป.๖/๒ สรุปพุทธประวัตติ ั้งแตป่ ลงอายุ  สรุปพุทธประวตั ิ (ทบทวน)  สังขารจนถงึ สังเวชนียสถาน o ปลงอายุสังขาร หรือประวตั ิศาสดาทต่ี นนับถือ o ปัจฉมิ สาวก ตามทก่ี าหนด o ปรนิ พิ พาน o การถวายพระเพลงิ o แจกพระบรมสารีรกิ ธาตุ o สงั เวชนยี สถาน ๔ 3 ส ๑.๑ ป.๖/๓ เห็นคณุ ค่าและประพฤติตน  พทุ ธสาวก พทุ ธสาวิกา  ตามแบบอยา่ งการดาเนนิ ชวี ติ  พระราธะ และข้อคิดจากประวตั ิสาวก  ชาดก ชาดก เรอ่ื งเล่า และศาสนกิ ชน  ทฆี ตี ิโกสลชาดก ตัวอย่างตามท่ีกาหนด  ศาสนิกชนตัวอยา่ ง  พ่อขุนรามคาแหงมหาราช 4 ส ๑.๑ ป.๖/๔ วิเคราะหค์ วามสาคัญและเคารพ  ไตรสกิ ขา  พระรตั นตรัย ปฏิบตั ติ ามไตรสกิ ขา  ศลี สมาธิ ปัญญา และหลักธรรมโอวาท ๓ (เรยี นในชั้นป.4 และป.5) ในพระพุทธศาสนา หรอื หลกั ธรรม  โอวาท ๓ ของศาสนาท่ตี นนบั ถือ  ไม่ทาชว่ั ตามท่กี าหนด o อกุศลมลู ๓  ทาความดี o กุศลมูล ๓ o คารวะ ๖ o กตญั ญูกตเวทตี ่อ พระมหากษัตริย์ o มงคล ๓๘ - มวี นิ ยั - การงานไม่มีโทษ - ไม่ประมาทในธรรม  ทาจติ ให้บริสุทธิ์ (บรหิ ารจิต และเจริญปญั ญา)  พทุ ธศาสนสุภาษติ  สจเฺ จน กติ ตฺ ึ ปปโฺ ปติ : คนจะได้เกียรติดว้ ยสัจจะ  ยถาวาที ตถาการี : พูดเช่นไร ทาเชน่ นัน้ ข้อมูล ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๑๖ ชัน้ ท่ี รหัสตัวชี้วดั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.6 5 ส ๑.๑ ป.๖/๕ ช่นื ชมการทาความดีของบุคคล  ตัวอย่างการกระทาความดี  ในประเทศตามหลักศาสนา ของบุคคลในประเทศ พรอ้ มทัง้ บอกแนวปฏิบัติ ในการดาเนนิ ชวี ิต  6 ส ๑.๑ ป.๖/๖ เห็นคณุ คา่ และสวดมนต์  ความหมายของสตสิ ัมปชญั ญะ แผ่เมตตา และบรหิ ารจติ สมาธิ และปัญญา (ทบทวน) เจริญปัญญา มสี ติทีเ่ ป็นพืน้ ฐาน  วธิ ปี ฏิบตั ิและประโยชน์ของ ของสมาธิในพระพุทธศาสนา การบริหารจิตและเจริญปัญญา หรือการพฒั นาจิตตามแนวทาง (ทบทวน) ของศาสนาทตี่ นนบั ถือ ตามทก่ี าหนด  7 ส ๑.๑ ป.๖/๗ ปฏิบตั ิตนตามหลักธรรม  อบายมุข ๖ อกุศลมลู ๓ กศุ ลมลู ๓ ของศาสนาท่ตี นนบั ถือ เพื่อแกป้ ัญหาอบายมขุ และส่งิ เสพติด  หลักธรรมสาคญั ของศาสนาต่าง ๆ  8 ส ๑.๑ ป.๖/๘ อธบิ ายหลกั ธรรมสาคัญ ของศาสนาอืน่ ๆ โดยสังเขป  ศาสนาอสิ ลาม : หลักศรัทธา หลักปฏบิ ัติ หลักจริยธรรม  คริสต์ศาสนา : บญั ญตั ิ ๑๐ ประการ  9 ส ๑.๑ ป.๖/๙ อธบิ ายลกั ษณะสาคญั ของ  ศาสนพิธีของศาสนาต่าง ๆ ศาสนพิธี พธิ กี รรมของศาสนาอื่น ๆ o ศาสนาอิสลาม เช่น และปฏิบตั ิตนได้อยา่ งเหมาะสม การละหมาด การถือศีลอด เมื่อต้องเข้าร่วมพธิ ี การบาเพ็ญฮัจญ์ ฯลฯ o คริสต์ศาสนา เช่น ศีลลา้ งบาป ศลี อภยั บาป ศีลกาลงั ศีลมหาสนทิ ฯลฯ o ศาสนาฮินดู เช่น พธิ ศี ราทธ์ พธิ ีบูชาเทวดา  10 ส ๑.๒ ป.๖/๑ อธบิ ายความรเู้ ก่ียวกบั สถานท่ี  ความรเู้ บ้ืองตน้ เกีย่ วกับสถานท่ี ตา่ ง ๆ ในศาสนสถาน และ ต่าง ๆ ภายในวัด เช่น ปฏิบัตติ นได้อย่างเหมาะสม เขตพุทธาวาส สังฆาวาส  การปฏบิ ตั ติ นท่ีเหมาะสม ภายในวดั  11 ส ๑.๒ ป.๖/๒ มีมรรยาทของความเปน็  มรรยาทของศาสนิกชน ศาสนิกชนทดี่ ีตามท่ีกาหนด  การถวายของแก่พระภิกษุ  การปฏบิ ัตติ นในขณะฟังธรรม  การปฏบิ ัตติ นตามแนวทางของ พุทธศาสนิกชน เพ่ือประโยชนต์ อ่ ศาสนา ข้อมลู ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

ช้ัน ท่ี รหสั ตัวชี้วัด ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๑๗ ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.6 12 ส ๑.๒ ป.๖/๓ อธิบายประโยชนข์ องการเข้าร่วม  พธิ ีทอดผา้ ปา่  ในศาสนพธิ ี พธิ ีกรรม และกิจกรรม  พิธีทอดกฐนิ   ในวนั สาคัญทางศาสนา  ระเบยี บพิธีในการทาบุญ  ตามท่ีกาหนด และปฏิบตั ิตน งานอวมงคล ได้ถูกต้อง  การปฏิบัตติ นทีถ่ ูกต้อง ในศาสนพธิ ี พิธกี รรม และ วนั สาคัญทางศาสนา เชน่ วันมาฆบชู า วันวิสาขบชู า วนั อัฐมีบชู า วันอาสาฬหบชู า วนั ธรรมสวนะ  ประโยชน์ของการเขา้ ร่วม ในศาสนพธิ ี พิธกี รรม และ วนั สาคญั ทางศาสนา 13 ส ๑.๒ ป.๖/๔ แสดงตนเปน็ พุทธมามกะ  การแสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ หรอื แสดงตนเป็นศาสนิกชน  ข้ันเตรียมการ ของศาสนาทตี่ นนบั ถือ  ข้นั พิธีการ 14 ส ๒.๑ ป.๖/๑ ปฏิบัติตามกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง  กฎหมายท่เี กี่ยวข้องกบั กบั ชวี ิตประจาวนั ของครอบครัว ชวี ิตประจาวนั ของครอบครัว และชุมชน และชุมชน เชน่ o กฎหมายจราจร กฎหมาย ยาเสพติดใหโ้ ทษ กฎหมาย ทะเบยี นราษฎร o เทศบญั ญตั ิ ขอ้ บัญญัติ อบต. อบจ.  ประโยชนข์ องการปฏบิ ัติตน หรือเคารพกฎหมายดังกล่าว 15 ส ๒.๑ ป.๖/๒ วเิ คราะห์การเปลีย่ นแปลง  ความหมายและประเภท วัฒนธรรมตามกาลเวลาและ ของวฒั นธรรม ธารงรักษาวัฒนธรรมอันดีงาม  การเปล่ียนแปลงวัฒนธรรม ตามกาลเวลา ที่มีผลต่อตนเอง และสังคมไทย  แนวทางการธารงรักษา วัฒนธรรมไทย ข้อมูล ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

ชัน้ ท่ี รหัสตัวช้ีวัด ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ต้องรู้ ๑๘ ควรรู้ ป.6 16 ส ๒.๑ ป.๖/๓ แสดงออกถงึ มารยาทไทย  ความหมายและสาคัญของกริ ิยา   ไดเ้ หมาะสมถูกกาลเทศะ มารยาทไทย   มารยาทไทยและมารยาทสงั คม เชน่ การแสดงความเคารพ การยนื การเดิน การนัง่ การนอน การรบั ของสง่ ของ การรับประทานอาหาร การแสดง กิริยาอาการ การทกั ทาย การสนทนา การใช้คาพูด 17 ส ๒.๑ ป.๖/๔ อธิบายคุณคา่ ทางวฒั นธรรม  ประโยชนแ์ ละคุณค่า ทแ่ี ตกตา่ งกันระหวา่ งกลุ่มคน ในสงั คมไทย ทางวฒั นธรรม 18 ส ๒.๑ ป.๖/๕ ตดิ ตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์  ความแตกตา่ งทางวัฒนธรรม ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวนั เลือกรบั และใชข้ ้อมูลข่าวสาร ระหว่างกลมุ่ คนภาคตา่ ง ๆ ในการเรยี นรไู้ ดเ้ หมาะสม ในสงั คมไทย 19 ส ๒.๒ ป.๖/๑ เปรียบเทียบบทบาท หนา้ ที่ ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น  แนวทางการรักษาวฒั นธรรม และรัฐบาล  แหล่งข้อมลู ข่าวสาร เหตุการณ์  ต่าง ๆ เชน่ จากวทิ ยุ โทรทัศน์ หนงั สือพิมพ์ แหล่งข่าวต่าง ๆ จากหอจดหมายเหตุ สถานการณ์จริง หรือจดหมายเหตุ  ประโยชน์จากการติดตามข้อมูล ขา่ วสาร เหตกุ ารณ์ต่าง ๆ  หลักการเลือกรับและใช้ข้อมูล ขา่ วสารจากสื่อต่าง ๆ รวมท้ัง สื่อท่ีไร้พรมแดน  กฎหมายทเ่ี กี่ยวข้องกบั  ชวี ิตประจาวนั ของครอบครวั และชมุ ชน เช่น o กฎหมายจราจร o กฎหมายยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ o กฎหมายทะเบียนราษฎร o เทศบญั ญตั ิ ข้อบัญญตั ิ อบต. อบจ.  ประโยชนข์ องการปฏิบตั ติ น หรือเคารพกฎหมายดังกลา่ ว 20 ส ๒.๒ ป.๖/๒ มสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมต่าง ๆ  กจิ กรรมต่าง ๆ เพื่อสง่ เสรมิ ที่สง่ เสริมประชาธิปไตย ในทอ้ งถนิ่ และประเทศ ประชาธปิ ไตย ในท้องถิน่ และประเทศ ขอ้ มลู ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

๑๙ ชน้ั ที่ รหัสตัวชี้วดั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้ ป.6 21 ส ๒.๒ ป.๖/๓ อภิปรายบทบาท ความสาคญั  การมสี ่วนในการออกกฎหมาย  ในการใช้สิทธอิ อกเสียงเลือกต้ัง ระเบยี บ กติกา การเลือกต้ัง ตามระบอบประชาธิปไตย  สอดสอ่ งดูแลผมู้ ีพฤตกิ รรม การกระทาผิดเกี่ยวกับกฎหมาย การเลือกตง้ั และแจ้งต่อเจ้าหนา้ ท่ี ผรู้ ับผดิ ชอบ  ตรวจสอบคุณสมบตั ผิ ู้ใช้สทิ ธิ เลือกต้ัง  การใชส้ ทิ ธิออกเสยี งเลือกตง้ั ตามระบอบประชาธปิ ไตย  บทบาทของผู้ผลติ ท่ีมีคุณภาพ  22 ส ๓.๑ ป.๖/๑ อธบิ ายบทบาทของผูผ้ ลติ เช่น คานึงถึงสิ่งแวดล้อม ทม่ี ีความรบั ผดิ ชอบ มจี รรยาบรรณ ความรับผิดชอบ ต่อสงั คม วางแผนก่อนเริม่ ลงมือทา 23 ส ๓.๑ ป.๖/๒ อธบิ ายบทบาทของผู้บรโิ ภค กิจกรรมตา่ ง ๆ เพื่อลดความ ที่รู้เทา่ ทนั ผดิ พลาด และการสญู เสีย ฯลฯ  24 ส ๓.๑ ป.๖/๓ บอกวิธแี ละประโยชน์ของการ  พฤตกิ รรมของผู้บรโิ ภค ใช้ทรัพยากรอย่างยงั่ ยืน  คุณค่าและประโยชน์ของผ้บู ริโภค 25 ส ๓.๒ ป.๖/๑ อธบิ ายความสัมพันธร์ ะหวา่ ง ผู้ผลิต ผู้บรโิ ภค ธนาคาร และ ทรี่ เู้ ท่าทันท่ีมตี ่อตนเอง ครอบครัว รฐั บาล และสังคม 26 ส ๓.๒ ป.๖/๒ ยกตัวอย่างการรวมกลุ่ม ทางเศรษฐกิจภายในท้องถ่ิน  ความหมาย และความจาเป็น  ของทรัพยากร  หลักการและวธิ ใี ช้ทรัพยากร ใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด (ลดการสูญเสียทุกประเภท)  วธิ กี ารสรา้ งจติ สานกึ ให้คนในชาติ รู้คณุ ค่าของทรัพยากรทีม่ ีอยู่จากดั  ความสมั พนั ธ์ระหว่างผ้ผู ลติ  ผบู้ ริโภค ธนาคาร และรัฐบาล ทม่ี ีต่อระบบเศรษฐกิจอย่างสังเขป เชน่ การแลกเปล่ียนสินค้าและ บริการ รายได้และรายจ่าย การออมกบั ธนาคาร การลงทุน  ภาษีและหนว่ ยงานทจ่ี ัดเก็บภาษี  สทิ ธิของผู้ใชแ้ รงงานในประเทศไทย  การรวมกลุ่มเชงิ เศรษฐกจิ  เพื่อประสานประโยชน์ในท้องถ่นิ เชน่ กลุ่มออมทรัพย์ กลุม่ แม่บ้าน กองทนุ หมูบ่ ้าน ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๒๐ ช้นั ที่ รหสั ตัวช้ีวดั ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตอ้ งรู้ ควรรู้  ป.6 27 ส ๔.๑ ป.๖/๑ อธิบายความสาคัญของวิธกี าร  ความหมายและความสาคัญ ทางประวัติศาสตร์ ในการศึกษา ของวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ เร่ืองราวทางประวัติศาสตร์ อย่างง่าย ๆ ท่ีเหมาะสม อย่างงา่ ย ๆ กับนักเรียน  การนาวธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ ไปใช้ศึกษาเรื่องราวในท้องถน่ิ 28 ส ๔.๑ ป.๖/๒ นาเสนอข้อมูลจากหลักฐาน  การนาเสนอข้อมูลท่ีไดจ้ าก  ที่หลากหลายในการทาความเข้าใจ หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ เรอ่ื งราวสาคัญในอดีต ดว้ ยวธิ กี ารต่าง ๆ เช่น การเลา่ เรอ่ื ง การจัดนิทรรศการ การเขียนรายงาน 29 ส ๔.๒ ป.๖/๑ อธิบายสภาพสังคม เศรษฐกจิ และ  พฒั นาการทางประวัติศาสตร์  การเมืองของประเทศเพื่อนบา้ น ของประเทศเพ่ือนบา้ น โดยสังเขป ในปจั จุบัน เพื่อให้เข้าใจสภาพปัจจุบนั ของประเทศเหล่านัน้  สภาพสงั คม เศรษฐกจิ และ การเมืองของประเทศเพ่ือนบ้าน ของไทยในปัจจุบัน โดยสงั เขป 30 ส ๔.๒ ป.๖/๒ บอกความสัมพนั ธข์ องกลุ่มอาเซียน  ความเป็นมาของกลุ่มอาเซียน  โดยสังเขป โดยสังเขป  ความสมั พนั ธ์ของกลุ่มอาเซียน ทางเศรษฐกิจ และสังคม ในปจั จบุ ันโดยสังเขป 31 ส ๔.๓ ป.๖/๑ อธบิ ายพัฒนาการของไทยสมัย  การสถาปนาอาณาจักร  รัตนโกสินทร์โดยสังเขป รัตนโกสินทร์โดยสงั เขป  พัฒนาการด้านต่าง ๆ ของไทย 32 ส ๔.๓ ป.๖/๓ ยกตวั อย่างผลงานของ สมยั รัตนโกสนิ ทร์ โดยสังเขป  ตามช่วงเวลาตา่ ง ๆ เช่น บุคคลสาคัญดา้ นต่าง ๆ สมัยรตั นโกสินทรต์ อนต้น สมัยรัตนโกสินทร์ สมยั ปฏริ ปู ประเทศ 33 ส ๔.๓ ป.๖/๔ อธบิ ายภูมิปัญญาไทย และสมยั ประชาธิปไตย  ทส่ี าคัญสมัยรัตนโกสินทร์  ผลงานของบุคคลสาคัญ ที่นา่ ภาคภมู ิใจ และควรค่า แก่การอนุรกั ษ์ไว้ ทางด้านต่าง ๆ ในสมัย รัตนโกสินทร์ เชน่ o พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช o สมเดจ็ พระบวรราชเจา้ มหาสรุ สงิ หนาท o พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้า เจา้ อยหู่ ัว  ภูมิปญั ญาไทยสมยั รัตนโกสินทร์ เชน่ ศลิ ปกรรม วรรณกรรม ข้อมลู ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๒๑ ชน้ั ที่ รหสั ตัวช้ีวัด ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ต้องรู้ ควรรู้ ป.6 34 ส ๔.๓ ป.๖/๒ อธบิ ายปจั จยั ทสี่ ง่ เสริม  ปจั จัยท่ีสง่ เสรมิ ความจรญิ รุ่งเรือง  ความเจริญรุ่งเรอื งทางเศรษฐกจิ ทางเศรษฐกิจและการปกครอง และการปกครองของไทย ของไทย ในสมยั รัตนโกสินทร์ สมยั รัตนโกสินทร์ 35 ส ๕.๑ ป.๖/๑ ใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์  เคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์  (แผนที่ ภาพถ่ายชนิดตา่ ง ๆ) (แผนที่ ภาพถ่ายชนิดต่างๆ) ระบุลักษณะสาคัญทางกายภาพ ท่แี สดงลักษณะทางกายภาพ และสังคมของประเทศ ของประเทศ  ลักษณะทางสงั คมของประเทศ 36 ส ๕.๑ ป.๖/๒ อธิบายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง  ความสมั พนั ธ์ระหว่างลักษณะ  ลกั ษณะทางกายภาพกบั ทางกายภาพกับปรากฏการณ์ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ทางธรรมชาติของประเทศ เชน่ ของประเทศ อทุ กภัย แผ่นดนิ ไหว วาตภยั 37 ส ๕.๒ ป.๖/๑ วิเคราะห์ความสัมพันธร์ ะหวา่ ง  ส่งิ แวดล้อมทางธรรมชาติ  สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกบั กับสิ่งแวดล้อมทางสังคม ส่ิงแวดลอ้ ม ทางสงั คมในประเทศ ในประเทศ  ความสมั พนั ธ์และผลกระทบ 38 ส ๕.๒ ป.๖/๒ อธิบายการแปลงสภาพธรรมชาติ  ผลทเ่ี กิดจากการปรับเปล่ียน  ในประเทศไทย จากอดีตถึง หรือดัดแปลงสภาพธรรมชาติ ปจั จุบัน และผลท่เี กดิ ขึ้นจาก ในประเทศจากอดีตถึงปัจจบุ นั การเปลี่ยนแปลงน้นั และผลท่ีเกิดข้ึน 39 ส ๕.๒ ป.๖/๓ จดั ทาแผนการใช้ทรัพยากร  แผนอนรุ ักษ์ทรัพยากรในชุมชน  ในชุมชน หรือแผนอนุรักษ์ รวม 39 ตวั ช้ีวดั 24 15 ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางต้องรู้และควรรู้ กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ชัน้ ที่ รหัสตัวชี้วัด ตัวชี้วัด รายละเอียดสาระการเรียนรู้ ตอ้ งรู้ ควรรู้ ม.๑ ๑ ส ๑.๑ ม.๑/๑ อธบิ ายการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา  การเผยแผ่พระพุทธศาสนา  หรือศาสนาทต่ี นนับถือ เข้าสูป่ ระเทศไทย สู่ประเทศไทย ๒ ส ๑.๑ ม.๑/๒ วิเคราะห์ความสาคัญของ  ความสาคัญของพระพุทธศาสนา  พระพุทธศาสนาหรือศาสนา ต่อสังคมไทยในฐานะเป็น ทตี่ นนับถือ ท่ีมตี ่อสภาพแวดล้อม o ศาสนาประจาชาติ ในสงั คมไทย รวมทั้งการพัฒนาตน o สถาบันหลักของสังคมไทย และครอบครวั o สภาพแวดลอ้ มท่ีกวา้ งขวาง และครอบคลุมสังคมไทย o การพัฒนาตนและครอบครัว ๓ ส ๑.๑ ม.๑/๓ วิเคราะห์พทุ ธประวตั ติ ั้งแตป่ ระสูติ  สรุปและวิเคราะห์พุทธประวตั ิ  จนถึงบาเพ็ญทุกรกริ ิยาหรือ o ประสตู ิ ประวัติศาสดาที่ตนนับถือ o เทวทูต ๔ ตามท่กี าหนด o การแสวงหาความรู้ o การบาเพ็ญทุกรกริ ยิ า ๔ ส ๑.๑ ม.๑/๔ วเิ คราะห์และประพฤตติ น  พุทธสาวก พุทธสาวกิ า  ตามแบบอย่างการดาเนินชีวติ  พระมหากัสสปะ และข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก  พระอุบาลี เร่อื งเลา่ และศาสนกิ ชนตัวอย่าง  อนาถบิณฑิกะ ตามท่ีกาหนด  นางวสิ าขา  ชาดก  อมั พชาดก  ติตตริ ชาดก  ศาสนิกชนตวั อย่าง  พระเจ้าอโศกมหาราช  พระโสณะและพระอุตตระ ข้อมลู ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๒ ช้ัน ท่ี รหัสตัวชี้วัด ตวั ช้ีวัด รายละเอียดสาระการเรียนรู้ ต้องรู้ ควรรู้ ม.๑ ๕ ส ๑.๑ ม.๑/๕ อธบิ ายพทุ ธคุณและข้อธรรมสาคญั  พระรัตนตรัย  ในกรอบอรยิ สัจ ๔ หรอื หลกั ธรรม  พุทธคณุ ๙ ของศาสนาที่ตนนับถือตามท่ีกาหนด  อริยสัจ ๔ เห็นคุณค่าและนาไปพฒั นา  ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) แกป้ ัญหาของตนเองและ o ขนั ธ์ ๕ ครอบครวั o ธาตุ ๔  สมุทยั (ธรรมท่ีควรละ) o หลกั กรรม o ความหมายและคณุ ค่า o อบายมุข ๖  นิโรธ (ธรรมทคี่ วรบรรล)ุ o สุข ๒ (กายิก, เจตสิก) o คิหิสุข  มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) o ไตรสกิ ขา o กรรมฐาน ๒ o ปธาน ๔ o โกศล ๓ o มงคล ๓๘ - ไม่คบคนพาล - คบบัณฑิต - บูชาผู้ควรบูชา  พทุ ธศาสนสุภาษิต  ย เว เสวติ ตาทิโส : คบคนเชน่ ใดเป็นคนเชน่ นนั้  อตฺตนา โจทยตตฺ าน : จงเตือนตน ดว้ ยตน  นสิ มฺม กรณ เสยฺโย : ใคร่ครวญก่อนทาจึงดี  ทุราวาสา ฆรา ทุกขฺ า : เรือนท่คี รองไม่ดนี าทกุ ขม์ าให้  ๖ ส ๑.๑ ม.๑/๖ เห็นคณุ คา่ ของการพฒั นาจิต  โยนโิ สมนสิการ เพ่ือการเรียนรู้และการดาเนินชวี ติ  วธิ คี ดิ แบบคุณค่าแท้ – ด้วยวิธคี ิดแบบโยนโิ สมนสกิ าร คุณคา่ เทยี ม คือวิธีคดิ แบบคุณค่าแท้ – คณุ ค่า  วิธคี ดิ แบบคุณ – โทษ เทียม และวิธีคดิ แบบคุณ – โทษ และทางออก และทางออกหรือการพัฒนาจิต ตามแนวทางของศาสนา ทตี่ นนบั ถือ ข้อมลู ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๓ ช้นั ที่ รหัสตัวชี้วดั ตวั ชี้วัด รายละเอียดสาระการเรยี นรู้ ตอ้ งรู้ ควรรู้  ม.๑ ๗ ส ๑.๑ ม.๑/๗ สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิต  สวดมนตแ์ ปล และแผ่เมตตา และเจริญปญั ญาดว้ ยอานาปานสติ  วธิ ีปฏิบัตแิ ละประโยชน์ หรอื ตามแนวทางของศาสนา ของการบริหารจิตและเจริญปัญญา ท่ตี นนบั ถือตามท่กี าหนด  การฝึกบรหิ ารจติ และ เจริญปัญญา ตามหลักสตปิ ฎั ฐาน เนน้ อานาปานสติ  นาวิธกี ารบรหิ ารจิตและ เจริญปัญญาไปใช้ ในชวี ติ ประจาวัน ๘ ส ๑.๑ ม.๑/๘ วเิ คราะห์และปฏบิ ตั ิตน  หลกั ธรรม  ตามหลกั ธรรมทางศาสนา (ตามสาระการเรียนรู้ ข้อ ๕) ทต่ี นนับถือในการดารงชีวติ แบบพอเพยี ง และดูแลรักษา สิ่งแวดล้อมเพ่ือการอย่รู ่วมกัน ได้อย่างสนั ติสุข ๙ ส ๑.๑ ม.๑/๙ วเิ คราะห์เหตผุ ล ความจาเป็น  ศาสนิกชนของศาสนาต่าง ๆ  ท่ที กุ คนต้องศึกษาเรยี นรู้ มีการประพฤติปฏิบตั ติ นและ ศาสนาอ่ืน ๆ วถิ ีการดาเนนิ ชวี ิตแตกตา่ งกัน ตามหลกั ความเชื่อและคาสอน ของศาสนาท่ตี นนับถือ ๑๐ ส ๑.๑ ม.๑/๑๐ ปฏิบตั ติ นต่อศาสนกิ ชนอื่น  การปฏิบัติอยา่ งเหมาะสมตอ่  ๑๑ ส ๑.๑ ม.๑/๑๑ ในสถานการณ์ต่าง ๆ ศาสนกิ ชนอน่ื ในสถานการณ์  ได้อยา่ งเหมาะสม ตา่ ง ๆ ๑๒ ส ๑.๒ ม.๑/๑ วเิ คราะห์การกระทาของบุคคล  ๑๓ ส ๑.๒ ม.๑/๒ ทเี่ ปน็ แบบอย่างด้านศาสนสมั พนั ธ์  ตัวอย่างบคุ คลในท้องถ่ิน  และนาเสนอแนวทางการปฏบิ ตั ิ หรอื ประเทศทีป่ ฏบิ ตั ติ น ของตนเอง เปน็ แบบอย่างดา้ นศาสนสมั พันธ์ บาเพ็ญประโยชน์ต่อศาสนสถาน หรือมีผลงานดา้ นศาสนสัมพนั ธ์ ของศาสนาทีต่ นนบั ถือ อธิบายจรยิ วตั ร ของสาวกเพื่อเป็น  การบาเพ็ญประโยชน์ แบบอย่างในการประพฤติปฏบิ ัติ และการบารงุ รักษาวดั และปฏบิ ัตติ นอย่างเหมาะสมต่อ สาวกของศาสนาที่ตนนบั ถือ  วถิ ชี วี ิตของพระภิกษุ  บทบาทของพระภกิ ษุ ในการเผยแผ่พระพทุ ธศาสนา เชน่ การแสดงธรรม ปาฐกถาธรรม การประพฤติตนให้เป็นแบบอย่าง  การปฏบิ ัตติ นท่เี หมาะสม - การเข้าพบพระภิกษุ  การแสดงความเคารพ การประนมมอื การไหว้ การกราบ การเคารพพระรัตนตรัย การฟังเจริญพระพทุ ธมนต์ การฟังสวดพระอภิธรรม การฟงั พระธรรมเทศนา ข้อมลู ณ วันท่ี 15 สิงหาคม 2559

ช้นั ที่ รหสั ตัวช้ีวัด ตวั ช้ีวดั รายละเอียดสาระการเรยี นรู้ ตอ้ งรู้ ๔ ม.1 ๑๔ ส ๑.๒ ม.๑/๓ ควรรู้ ปฏิบตั ิตนอยา่ งเหมาะสมต่อบุคคล  ปฏิบัติตนอยา่ งเหมาะสมต่อเพื่อน  ๑๕ ส ๑.๒ ม.๑/๔ ตา่ ง ๆ ตามหลักศาสนา ตามหลกั พระพุทธศาสนา  ๑๖ ส ๑.๒ ม.๑/๕ ทีต่ นนับถือตามทก่ี าหนด หรือศาสนาท่ตี นนับถือ  จดั พิธีกรรม และปฏิบตั ิตน  การจัดโต๊ะหมูบ่ ูชา แบบหมู่ ๔ ๑๗ ส ๒.๑ ม.๑/๑ ในศาสนพธิ ี พธิ ีกรรมได้ถูกต้อง หมู่ ๕ หมู่ ๗ หมู่ ๙   การจุดธปู เทียน การจัดเคร่ือง ๑๘ ส ๒.๑ ม.๑/๒ ประกอบโต๊ะหมู่บูชา  คาอาราธนาตา่ ง ๆ ๑๙ ส ๒.๑ ม.๑/๓ อธิบายประวัติ ความสาคัญ  ประวตั แิ ละความสาคัญ และปฏิบตั ิตนในวันสาคัญ ของวนั ธรรมสวนะ วนั เขา้ พรรษา ทางศาสนาที่ตนนับถือ วันออกพรรษา วนั เทโวโรหณะ ตามทกี่ าหนดได้ถกู ต้อง  ระเบียบพธิ ี พธิ ีเวยี นเทียน การปฏบิ ตั ติ นในวนั มาฆบูชา วนั วิสาขบูชา วันอัฏฐมีบูชา วันอาสาฬหบชู า วนั ธรรมสวนะ และเทศกาลสาคญั ปฏิบตั ิตามกฎหมายในการคุ้มครอง  กฎหมายในการคุ้มครองสทิ ธิ  สทิ ธขิ องบคุ คล ของบุคคล เชน่ o กฎหมายการคุ้มครองเด็ก o กฎหมายการศึกษา o กฎหมายการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค o กฎหมายลิขสิทธ์ิ  ประโยชน์ของการปฏิบัติตน ตามกฎหมาย การค้มุ ครองสิทธิ ของบุคคล  บทบาทและหนา้ ท่ีของเยาวชน  ระบุความสามารถของตนเอง ท่ีมีต่อสงั คม และประเทศชาติ ในการทาประโยชน์ต่อสังคม โดยเนน้ จิตสาธารณะ เช่น และประเทศชาติ เคารพกติกาสงั คม ปฏิบัติตน ตามกฎหมาย มีส่วนรว่ ม และ รับผดิ ชอบในกิจกรรมทางสังคม อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ รักษาสาธารณประโยชน์  ความคลา้ ยคลึงและความแตกต่าง อภปิ รายเกี่ยวกับคณุ คา่ ระหว่างวฒั นธรรมไทยกบั ทางวฒั นธรรมท่เี ป็นปัจจัย วัฒนธรรมของประเทศ ในการสรา้ งความสัมพนั ธ์ท่ดี ี ในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ หรอื อาจนาไปสูค่ วามเข้าใจผิด วัฒนธรรมทเี่ ป็นปจั จัย ตอ่ กัน ในการสร้างความสัมพนั ธท์ ี่ดี หรอื อาจนาไปสคู่ วามเข้าใจผิด ตอ่ กนั ข้อมูล ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

ชน้ั ที่ รหสั ตัวชี้วัด ตัวชี้วดั รายละเอียดสาระการเรียนรู้ ต้องรู้ ๕ ม.1 ๒๐ ส ๒.๑ ม.๑/๔ ควรรู้ แสดงออกถึงการเคารพ  วิธีปฏิบตั ิตนในการเคารพ  ๒๑ ส ๒.๒ ม.๑/๑ ๒๒ ส ๒.๒ ม.๑/๒ ในสทิ ธเิ สรีภาพของตนเอง ในสทิ ธเิ สรภี าพของตนเอง  ๒๓ ส ๒.๒ ม.๑/๓ และผูอ้ ืน่ และผอู้ ื่น  ๒๔ ส ๓.๑ ม.๑/๑   ผลท่ีได้จากการเคารพ ๒๕ ส ๓.๑ ม.๑/๒ ในสทิ ธเิ สรภี าพของตนเอง และผอู้ ื่น อธบิ ายหลกั การ เจตนารมณ์  หลกั การ เจตนารมณ์ โครงสรา้ ง  โครงสร้าง และสาระสาคญั ของ และสาระสาคัญของรฐั ธรรมนูญ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย แห่งราชอาณาจักรไทย ฉบบั ปัจจุบนั โดยสงั เขป ฉบบั ปัจจุบัน วิเคราะหบ์ ทบาทการถว่ งดุล  การแบ่งอานาจ และการถ่วงดุล ของอานาจอธิปไตยในรฐั ธรรมนญู อานาจอธปิ ไตย ท้ัง ๓ ฝาุ ย แห่งราชอาณาจักรไทย คือนิติบญั ญตั ิ บรหิ าร ตุลาการ ฉบับปัจจุบัน ตามท่ีระบุในรัฐธรรมนูญ แหง่ ราชอาณาจักรไทย ฉบบั ปจั จบุ ัน ปฏบิ ตั ิตนตามบทบญั ญตั ิของ  การปฏิบตั ิตนตามบทบญั ญัติของ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักร ไทย รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย ฉบับปจั จบุ ันท่เี กยี่ วขอ้ งกับตนเอง ฉบบั ปัจจุบัน เก่ียวกับสิทธิเสรีภาพ และหนา้ ที่ อธบิ ายความหมายและความสาคญั  ความหมายและความสาคัญ ของเศรษฐศาสตร์ ของเศรษฐศาสตร์เบื้องตน้  ความหมายของคาว่าทรัพยากร มจี ากดั กับความต้องการ มีไมจ่ ากดั ความขาดแคลน การเลือกและค่าเสยี โอกาส วเิ คราะห์ค่านิยมและพฤติกรรม  ความหมายและความสาคญั  การบริโภคของคนในสงั คม ของการบริโภคอย่างมี ซงึ่ ส่งผลต่อเศรษฐกจิ ของชมุ ชน ประสิทธภิ าพ และประเทศ  หลักการในการบริโภคทีด่ ี  ปัจจัยท่มี ีอิทธพิ ลต่อพฤติกรรม การบรโิ ภค  คา่ นยิ มและพฤติกรรมของการ บริโภคของคนในสังคมปจั จบุ ัน รวมทั้งผลดีและผลเสยี ของ พฤติกรรมดงั กล่าว ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

ช้นั ท่ี รหสั ตัวช้ีวัด ตัวช้ีวัด รายละเอียดสาระการเรียนรู้ ต้องรู้ ๖ ม.1 ๒๖ ส ๓.๑ ม.๑/๓ ควรรู้ อธิบายความเป็นมา หลักการ  ความหมายและความเปน็ มา  ๒๗ ส ๓.๒ ม.๑/๑  และความสาคัญของปรัชญาของ ของปรชั ญาของเศรษฐกิจ  ๒๘ ส ๓.๒ ม.๑/๒ ๒๙ ส ๓.๒ ม.๑/๓ เศรษฐกิจพอเพียงต่อสงั คมไทย พอเพยี ง  ความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักการทรงงานของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว รวมท้ังโครงการตามพระราชดาริ  หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง  การประยุกต์ใช้ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง ในการดารงชวี ติ  ความสาคัญ คุณคา่ และ ประโยชน์ของปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงต่อสังคมไทย วิเคราะหบ์ ทบาทหนา้ ทีแ่ ละ  ความหมาย ประเภท และ  ความแตกต่างของสถาบันการเงิน ความสาคัญของสถาบันการเงิน แต่ละประเภทและธนาคารกลาง ท่มี ีต่อระบบเศรษฐกิจ  บทบาทหนา้ ทแี่ ละความสาคญั ของธนาคารกลาง  การหารายได้ รายจ่าย การออม การลงทนุ ซ่งึ แสดงความสมั พันธ์ ระหว่างผผู้ ลติ ผู้บริโภค และสถาบันการเงนิ ยกตวั อย่างท่สี ะท้อนใหเ้ ห็น  ยกตัวอย่างที่สะท้อนให้เหน็ การพง่ึ พาอาศยั กนั และ การพงึ่ พาอาศยั กนั และกัน การแขง่ ขนั กนั ทางเศรษฐกจิ การแข่งขันกนั ทางเศรษฐกิจ ในประเทศ ในประเทศ  ปญั หาเศรษฐกจิ ในชุมชน ประเทศและเสนอแนวทางแกไ้ ข ระบปุ ัจจัยท่ีมีอิทธพิ ล  ความหมายและกฎอุปสงค์ ตอ่ การกาหนดอุปสงค์ อปุ ทาน และอุปทาน  ปัจจยั ที่มีอิทธิพลต่อการกาหนด อุปสงค์และอุปทาน ขอ้ มูล ณ วันท่ี 15 สงิ หาคม 2559

๗ ช้นั ท่ี รหสั ตัวชี้วัด ตวั ช้ีวดั รายละเอียดสาระการเรียนรู้ ต้องรู้ ควรรู้  ม.๑ ๓๐ ส ๓.๒ ม.๑/๔ อภปิ รายผลของการมีกฎหมาย  ความหมายและความสาคญั เกีย่ วกบั ทรัพย์สนิ ทางปญั ญา ของทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา  กฎหมายที่เกยี่ วกบั การคุ้มครอง ๓๑ ส ๔.๑ ม.๑/๑ วเิ คราะห์ความสาคัญของเวลา ทรัพยส์ นิ ทางปัญญาพอสงั เขป  ในการศึกษาประวัติศาสตร์  ตวั อยา่ งการละเมดิ แหง่ ทรัพย์สนิ ทางปญั ญาแตล่ ะประเภท  ความสาคัญของเวลาและ ชว่ งเวลา สาหรบั การศึกษา ประวตั ิศาสตร์  ความสมั พนั ธ์และความสาคัญ ๓๒ ส ๔.๑ ม.๑/๒ เทียบศักราชตามระบบต่าง ๆ ของอดีตท่ีมีต่อปจั จบุ นั  ท่ีใช้ศึกษาประวัตศิ าสตร์ และอนาคต  ตวั อย่างการใชเ้ วลา ช่วงเวลา และยคุ สมัย ท่ปี รากฏในเอกสาร ประวตั ิศาสตร์ไทย  ที่มาของศักราชท่ีปรากฏ ในเอกสารประวตั ิศาสตร์ไทย ได้แก่ จ.ศ. / ม.ศ. /ร.ศ./ พ.ศ. / ค.ศ. และ ฮ.ศ.  วิธกี ารเทยี บศักราชต่าง ๆ และตัวอยา่ งการเทียบ  ตวั อย่างการใช้ศักราชต่าง ๆ ทปี่ รากฏในเอกสาร ประวตั ิศาสตร์ไทย ๓๓ ส ๔.๑ ม.๑/๓ นาวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์  ความหมายและความสาคญั  มาใชศ้ ึกษาเหตุการณ์ ทางประวัติศาสตร์ ของประวัติศาสตร์ และวธิ ีการ ทางประวัติศาสตร์ท่มี ีความสัมพันธ์ เช่ือมโยงกนั  ตวั อย่างหลักฐานในการศึกษา ประวัติศาสตรไ์ ทยสมยั สุโขทยั ทงั้ หลักฐานชั้นต้น และหลักฐาน ชั้นรอง (เชอ่ื มโยงกับ มฐ. ส ๔.๓) เช่น ข้อความในศิลาจารึก สมัยสุโขทัย  นาวิธีการทางประวัติศาสตร์ ไปใช้ศกึ ษาเรื่องราวของ ประวัติศาสตรไ์ ทยทมี่ ีอยู่ ในท้องถิน่ ตนเองในสมัยใดก็ได้ (สมยั ก่อนประวตั ศิ าสตร์ สมยั กอ่ นสโุ ขทัย สมยั สโุ ขทยั สมัยอยธุ ยา สมัยธนบุรี สมัย รัตนโกสินทร์) และเหตุการณ์ สาคัญสมัยสุโขทยั ข้อมลู ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559

๘ ชัน้ ท่ี รหสั ตัวช้ีวดั ตัวช้ีวัด รายละเอียดสาระการเรยี นรู้ ต้องรู้ ควรรู้ ม.1 ๓๔ ส ๔.๒ ม.๑/๑  อธิบายพัฒนาการทางสงั คม  พฒั นาการทางประวตั ิศาสตร์ ๓๕ ส ๔.๒ ม.๑/๒ เศรษฐกจิ และการเมือง สงั คม เศรษฐกิจ และการเมือง ของประเทศต่าง ๆ ในภมู ิภาค ของประเทศตา่ ง ๆ ในภมู ภิ าค ๓๖ ส ๔.๓ ม.๑/๑ เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ 37 ส ๔.๓ ม.๑/๒  ความร่วมมือผ่านการรวมกลุ่ม 38 ส ๔.๓ ม.๑/๓ เป็นอาเซยี นของประเทศในภมู ภิ าค เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ทีถ่ ือว่า ๓9 ส ๕.๑ ม.๑/๑ เปน็ พัฒนาการของภมู ภิ าค ระบุความสาคัญของแหล่งอารยธรรม  ท่ีตั้งและความสาคัญของ  ในภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แหลง่ อารยธรรม ในภมู ิภาค เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ เช่น แหลง่ มรดกโลกในประเทศต่าง ๆ ของเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ (เชื่อมโยงกบั มฐ. ส ๔.๓)  อิทธพิ ลของอารยธรรมโบราณ ในดินแดนไทยท่ีมีต่อพฒั นาการ ของสงั คมไทยในปจั จุบัน อธบิ ายเรื่องราวทางประวัติศาสตร์  สมัยกอ่ นประวตั ิศาสตร์  สมยั กอ่ นสโุ ขทยั ในดนิ แดนไทย  โดยสังเขป ในดนิ แดนไทย โดยสังเขป  วเิ คราะห์พฒั นาการของอาณาจักร  รฐั โบราณในดนิ แดนไทย เช่น สุโขทัยในด้านต่าง ๆ  วิเคราะห์อิทธิพลของวัฒนธรรม ศรีวชิ ยั ตามพรลงิ ค์ ทวารวดี และภมู ิปัญญาไทยสมัยสโุ ขทัย  รฐั ไทยในดินแดนไทย เช่น ล้านนา และสังคมไทยในปัจจุบนั เลอื กใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ นครศรธี รรมราช สพุ รรณภมู ิ (ลกู โลก แผนที่ กราฟ แผนภมู ิ)  การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัย ในการสืบค้นข้อมูล เพื่อวิเคราะห์ ลักษณะทางกายภาพและสงั คม และปจั จัยท่เี กี่ยวขอ้ ง (ปัจจยั ของประเทศไทยและทวปี เอเชีย ภายในและปัจจยั ภายนอก ) ออสเตรเลียและโอเชียเนีย  พัฒนาการของอาณาจกั รสุโขทยั ในด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สงั คม และ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งประเทศ  วัฒนธรรมสมยั สุโขทัย เชน่ ภาษาไทย วรรณกรรม ประเพณีสาคัญ ศิลปกรรมไทย  ภูมปิ ัญญาไทยในสมัยสโุ ขทัย เช่น การชลประทาน เคร่ืองสังคมโลก  ความเสื่อมของอาณาจักรสโุ ขทัย  เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ (ลูกโลก แผนท่ี กราฟ แผนภมู ิ ฯลฯ) ทแ่ี สดงลกั ษณะทางกายภาพ และสังคม ของทวีปเอเชยี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 สงิ หาคม 2559

๙ ชั้น ที่ รหัสตัวช้ีวดั ตวั ชี้วดั รายละเอียดสาระการเรยี นรู้ ตอ้ งรู้ ควรรู้  ม.1 40 ส ๕.๑ ม.๑/๒ อธิบายเสน้ แบง่ เวลา และ  เสน้ แบ่งเวลาสากล, เปรยี บเทียบวัน เวลาของ เสน้ แบ่งเวลาของประเทศไทย ประเทศไทยกับทวีปตา่ ง ๆ กับทวปี ต่าง ๆ  ความแตกตา่ งของเวลา มาตรฐานกับเวลาท้องถนิ่ 41 ส ๕.๑ ม.๑/๓ วิเคราะห์เชือ่ มโยง สาเหตุและ  ภัยธรรมชาตแิ ละการระวังภยั  แนวทางปูองกนั ภัยธรรมชาติ ท่เี กิดขึ้นในประเทศไทย และการระวงั ภัยท่เี กดิ ขนึ้ และทวปี เอเชีย ออสเตรเลีย ในประเทศไทยและทวีปเอเชีย โอเชียเนยี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี ๔2 ส ๕.๒ ม.๑/๑ วิเคราะห์ผลกระทบจากการ  การเปลีย่ นแปลงประชากร  เปล่ยี นแปลงทางธรรมชาติ เศรษฐกิจ สงั คมและวัฒนธรรม ของทวปี เอเชีย ออสเตรเลยี ในทวปี เอเชยี ออสเตรเลยี และโอเชยี เนีย และโอเชียเนีย  ผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลง ทางธรรมชาติของทวีปเอเชยี ออสเตรเลียและโอเชียเนีย  การก่อเกดิ ส่ิงแวดลอ้ มใหม่ ทางสงั คม  แนวทางการใช้ทรัพยากร ของคนในชุมชนให้ใช้ไดน้ านข้ึน โดยมีจิตสานึกรู้คุณค่า ของทรัพยากร ๔3 ส ๕.๒ ม.๑/๒ วิเคราะห์ความร่วมมือของ  ความรว่ มมอื ระหว่างประเทศ  ประเทศตา่ ง ๆ ทม่ี ผี ลต่อ ในทวปี เอเชีย ออสเตรเลีย สง่ิ แวดล้อมทางธรรมชาติ โอเชยี เนีย ทีม่ ผี ลตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม ของทวีปเอเชยี ออสเตรเลีย ทางธรรมชาติ และโอเชียเนีย ๔4 ส ๕.๒ ม.๑/๓ สารวจ และอธบิ ายทาเลท่ตี ั้ง  ทาเลทตี่ ้ังกิจกรรมทางเศรษฐกจิ  กิจกรรมทางเศรษฐกจิ และสงั คม และสังคมในทวปี เอเชยี ในทวปี เอเชีย ออสเตรเลีย ออสเตรเลยี และโอเชยี เนยี และโอเชียเนยี โดยใชแ้ หล่งข้อมลู เช่น ศูนย์กลางการคมนาคม ทีห่ ลากหลาย ๔5 ส ๕.๒ ม.๑/๔ วเิ คราะหป์ จั จยั ทางกายภาพ  ปจั จยั ทางกายภาพและสังคม  และสังคมทีม่ ผี ลต่อการเลือ่ นไหล ที่มผี ลต่อการเล่ือนไหลของ ของความคิดเทคโนโลยี สนิ คา้ ความคิด เทคโนโลยี สนิ คา้ และประชากรในทวปี เอเชยี และประชากรในทวีปเอเชยี ออสเตรเลีย และโอเชยี เนีย ออสเตรเลยี และโอเชียเนีย รวม ๔๕ ตัวช้ีวดั ๒3 ๒2 ขอ้ มลู ณ วันที่ 15 สิงหาคม 2559


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook