Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ม.๖ ห้อง ๙ ขัตติยพันธกรณี

ม.๖ ห้อง ๙ ขัตติยพันธกรณี

Published by n s, 2021-08-14 02:53:15

Description: เสนอ ครูชมัยพร แก้วปานกัน

Search

Read the Text Version

ช่ือเรอ่ื ง ขัตติยพนั ธกรณี คณะผจู้ ดั ทำ ช้นั มธั ยมศกึ ษำปที ี่ ๖/๙ เสนอ ครชู มยั พร แกว้ ปำนกนั

คณะผจู้ ดั ทำ นำงสำวกรกมล ไกรฤกษไ์ พบลู ย์ เลขท่ี ๑ นำงสำวกลุ ณฐั โพธสิ์ ด เลขที่ ๔ นำงสำวเกศกนก พลู โคก เลขท่ี ๕ นำงสำวณฏั ฐติ ำ สขุ เกษม เลขท่ี ๑๑ นำงสำวนะเมติ กิริวรรณำ เลขท่ี ๑๗ นำงสำวนนั ทน์ ภสั ปลอ้ งนอ้ ยวงษ์ เลขท่ี ๑๘ นำงสำวพญิ ดำ ศรีบญุ ผล เลขท่ี ๒๕ นำงสำวพมิ พม์ ำดำ ทองประศรี เลขที่ ๒๗ นำงสำวแพรวำ รปู สม เลขท่ี ๒๘ นำงสำวรญั ชดิ ำ สวุ รรณประทปี เลขท่ี ๓๓ นำงสำวศริ ดำ มโนนติ ธิ รรม เลขท่ี ๓๖ นำงสำวศริ วิ รรณ สุขอรำ่ ม เลขท่ี ๓๗ นำงสำวสชุ ำดำ ศรแกว้ ดำรำ เลขท่ี ๓๙ นำงสำวอภญิ ญำ นนทแ์ กว้ เลขท่ี ๔๒ นำงสำวอสิ รำภรณ์ มำดี เลขที่ ๔๓ เสนอ ครชู มยั พร แกว้ ปำนกนั วำรสำรเลม่ นเี้ ปน็ สว่ นหนง่ึ ของวชิ ำภำษำไทย พ้ืนฐำน ๖ ท๓๓๑๐๑ ภำคเรยี นที่ ๑ ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖๔ โรงเรยี นสงวนหญงิ จงั หวดั สพุ รรณบรุ ี

วำรสำรเลม่ น้เี ปน็ สว่ นหน่ึงของวิชำภำษำไทยพื้นฐำน ๖ ท๓๓๑๐๑ ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษำปที ี่ ๖ โดยจัดทำขึ้นเพอื่ ใช้เปน็ ส่ือกำรสอนเรอื่ ง ขตั ตยิ พนั ธกรณี โดยมี วตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ให้ควำมรเู้ กยี่ วกบั ควำมเป็นมำ ประวตั ผิ ูแ้ ต่ง ลกั ษณะคำประพนั ธ์ เน้อื เร่ืองขัตตยิ พนั ธกรณี เพือ่ วเิ ครำะหค์ ุณค่ำทำงดำ้ นเนอ้ื หำ ดำ้ นวรรณศิลป์ และด้ำนสงั คม และ ได้ศึกษำอยำ่ งละเอยี ดเพื่อเปน็ ประโยชน์ในกำรเรยี นในระดับสงู ขึ้น คณะผู้จดั ทำหวังเป็นอยำ่ งวำ่ วำรสำรเลม่ นจ้ี ะมปี ระโยชน์ต่อผทู้ ่ีกำลังศกึ ษำหำ ขอ้ มลู เร่ือง ขตั ติยพนั ธกรณี หำกมขี อ้ แนะนำหรอื ขอ้ ผดิ พลำดประกำรใด ทำงคณะผจู้ ัดทำ ตอ้ งขออภยั ไว้ ณ ทนี่ ี้ด้วย คณะผจู้ ดั ทำ

คำนำ สำรบญั ควำมเปน็ มำ ประวตั ผิ แู้ ตง่ ลกั ษณะคำประพนั ธ์ เนอ้ื เรอ่ื งเตม็ (แบบยอ่ ) เนอ้ื เรอ่ื งเตม็ (เฉพำะตอนทเี่ รยี น) วิเครำะหค์ ณุ คำ่ บรรณำนกุ รม

ควำมเปน็ มำ ขตั ตยิ พนั ธกรณี ควำม (เหตอุ นั เปน็ ขอ้ ผกู พนั ของกษตั รยิ ์) เป็นพระรำชนพิ นธ์ในพระบำทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลำ้ ฯและพระนิพนธ์ของสมเด็จกรมพระยำดำรงรำชำนุ ภำพ เป็นกวีนิพนธท์ ีผ่ ู้ใดได้อ่ำนจะประทับใจเป็นอย่ำง ย่งิ เป็นบททม่ี ำจำกเหตุกำรณจ์ รงิ ในประวัติศำสตร์ที่ เกี่ยวกับควำมอยู่รอดของประเทศของเรำ โดย เหตุกำรณ์นีค้ อื เหตกุ ำรณ์ ร.ศ. ๑๑๒ ซึ่งตรงกับ พ.ศ. ๒๔๓๖ ไทยขัดแย้งกับฝร่ังเศสเร่ืองเขตแดนทำงด้ำน เขมร ฝรั่งเศสจึงได้ส่งเรือปืนแล่นผ่ำนป้อมพระ จุลจอมเกล้ำฯ เข้ำมำจอดทอดสมอหน้ำสถำนทูต ฝรั่งเศส และได้ถืออำนำจเชิญธงชำติฝร่ังเศสขึ้น เหนอื แผ่นดินไทย ตรงกับวันท่ี ๑๔ กรกฎำคม

ควำมเปน็ มำ ซึ่งข้อเรยี กรอ้ งของฝรงั่ เศส ได้แก่ ๑. ฝรงั่ เศสในฐำนะเป็นมหำอำนำจผู้ คุ้ ม ค ร อ ง เ วี ย ด น ำ ม แ ล ะ กั ม พู ช ำ ควำมเปน็ มำ จะต้องได้ดินแดนท้ังหมดทำงฝั่ง ตะวันออกของแม่น้ำโขง ๒. ไทยจะต้องลงโทษนำยทหำรทกุ คน ทกี่ อ่ กำรรกุ รำนท่ีชำยแดน ซง่ึ วนั ที่ ๑๔ กรกฎำคม เปน็ วนั ชำตฝิ รง่ั เศส ๓. ไทยจะตอ้ งเสียค่ำปรับแก่ฝรั่งเศส และได้ยนื่ คำขำดเรยี กรอ้ งดินแดนทั้งหมดใน เป็นจำนวน ๓ ล้ำนฟรังค์เหรียญ ฝงั่ ตะวนั ออกขอแมน่ ำ้ โขง ซ่ึงขณะน้นั อยใู่ ต้ ควำมเปน็ มำ ทอง (เท่ำกับ ๑,๕๖๐,๐๐๐ บำท อำนำจปกครองของไทยเน่อื งจำกไทยให้ คำตอบลำ่ ชำ้ ทตู ปำวขี องฝรั่งเศสจงึ ให้เรอื สมัยน้ัน) ปนื ปิดล้อมอ่ำวไทยเปน็ กำรประกำศ สงครำมกับไทย ควำมเปน็ มำ

ประชวร พระรำชนิพนธบ์ ทโคลงและฉนั ท์ พระรำชหฤทยั ดขี ึน้ เหตกุ ำรณน์ ้ที ำใหพ้ ระบำทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้ำฯ ควำมเปน็ มำ เสียพระรำชหฤทยั เป็นอยำ่ งย่ิงจนทรงพระประชวรหนัก ไมย่ อมเสวยพระโอสถใดๆ ในระหวำ่ งนน้ั ได้ทรงพระรำช นพิ นธบ์ ทโคลงและฉนั ท์ระบำยควำมทกุ ขโ์ ทมนสั ในพระรำช หฤทยั จนไมท่ รงปรำรถนำท่ีจะดำรงพระชนมช์ พี อีกตอ่ ไป และไดท้ รงสง่ บทพระรำชนิพนธไ์ ปอำลำเจำ้ นำยพน่ี ้องบำง พระองคร์ วมท้ังสมเดจ็ กรมพระยำดำรงฯ ซ่ึงเปน็ พระเจำ้ น้องยำเธอดว้ ย เมือ่ ทรงไดร้ บั สมเด็จกรมพระยำดำรงฯ ก็ทรงนพิ นธบ์ ทประพนั ธถ์ วำยตอบทนั ที ทำใหก้ ำลงั พระ รำชหฤทัยของพระบำทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้ำฯ กลับคนื มำอีกครง้ั หนึ่ง กลบั เสวยพระโอสถ และเสด็จออกวำ่ รำชกำรไดใ้ นไม่ช้ำ

วำมเปน็ มำ พระนพิ นธ์ของสมเด็จกรมพระยำดำรงรำชำนภุ ำพ ำมเ ็ปนมำ อินทรวเิ ชยี รฉนั ท์ ควำมวิตกควำมกังวลของประชำชนตอ่ พระอำกำรของร.๕ สว่ นพระนพิ นธข์ องสมเด็จกรมพระยำดำรงรำชำนุภำพนั้น เปน็ อินทรวิเชยี รฉนั ทท์ ัง้ หมด มเี น้ือควำมแสดงควำมวติ ก และควำมทกุ ขข์ อประชำชนชำวไทยในพระอำกำรประชวร ของพระบำทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้ำฯ สำหรบั พระองค์ นั้นถำ้ เลอื ดเนอ้ื ของพระองคเ์ จือยำถวำยให้หำยประชวรได้ กย็ นิ ดจี ะทูลเกลำ้ ฯ ถวำย ทรงเปรยี บประเทศชำตเิ ปน็ รฐั นำวำ มพี ระบำทสมเด็จพระจลุ จอมเกลำ้ ฯ เป็นผบู้ ญั ชำกำร เรอื เมอ่ื มำทรงพระประชวรและไมท่ รงบญั ชำกำร

วำมเปน็ มำ ผ้กู ระทำหนำ้ ท่ตี ่ำงๆ ในเรือก็ปฏบิ ตั หิ นำ้ ทข่ี องตนไม่ ำมเ ็ปนมำ ถกู เป็นธรรมดำ เมื่อเรือแล่นไปในทะเลในมหำสมทุ ร มี บำงครั้งอำจเจอพำยหุ นกั บ้ำงเบำบ้ำง ถำ้ กำลังเรอื ดีก็ แล่นรอดไปได้ ถำ้ หนกั เกนิ กำลงั เรอื จะรบั กอ็ ำจจะลม่ พวกชำวเรอื ก็ย่อมรกู้ นั ดังนน้ั ตรำบทีเ่ รอื ยังลอยอยู่ ก็ตอ้ งพยำยำมแก้ไขกันจนสดุ ควำมสำมำรถ

ควำมเปน็ มำ เหมือนรัฐนำวำเจอปัญหำวิกฤตกิ ต็ อ้ งหำทำงแกไ้ ข จนสุดกำลงั ควำมสำมำรถ ถำ้ แก้ไมไ่ ดก้ ็ต้องยอมรับ สภำพว่ำถงึ กรรมจะต้องให้เปน็ ไปแต่ถำ้ พระบำท สมเดจ็ พระจลุ จอมเกลำ้ ฯ ทรงทอดธุระเสยี ไม่ทรง หำทำงแกไ้ ขในทส่ี ดุ รัฐนำวำก็ไปไม่รอดต่ำงกนั ก็แต่ ว่ำถำ้ พระองคพ์ ยำยำมหำทำงแก้ไขจนเตม็ กำลัง พระปรชี ำสำมำรถแล้วแกไ้ ขไม่ได้ ก็ไมม่ ีใครมำว่ำได้ ว่ำพระองคข์ ลำดเขลำและไม่เอำพระทยั ใสใ่ นกำรแก้ ไขปญั หำของประเทศ ถงึ จะพลำดพลัง้ ก็ยงั ไดร้ ับ กำรยกย่องและควำมเห็นใจว่ำปญั หำหนักใหญ่เกิน กำลงั จะแกไ้ ขได้

ควำมเปน็ มำ สมเด็จกรมพระยำดำรงฯ ทรงเปรยี บตวั พระองค์ เองเหมือนมำ้ ท่เี ปน็ พระรำชพำหนะ เตรยี มพร้อมที่ จะรบั ใช้เทยี บหน้ำพลบั พลำ คอยพระบำทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้ำฯประทบั และทรงบญั ชำกำรให้มำ้ ไปทำงใดกย็ นิ ดจี ะทำตำมพระรำชบญั ชำ ไม่ว่ำจะ ลำบำกหรอื ใกลไ้ กลเพียงใดกท็ รงยนิ ดีจะรับใชจ้ น สนิ้ พระชนมช์ พี ถงึ จะวำยพระชนม์ก็จะตำยตำ หลับดว้ ย ได้ทรงบำเพ็ญพระกรณยี กจิ ทม่ี ตี อ่ ชำติ บ้ำนเมืองสมกับพนั ธกรณีแลว้ ทรงขอใหอ้ ำนำจ แห่งคำสัตยข์ องพระองคด์ ลบนั ดำลใหพ้ ระบำท สมเด็จพระจุลจอมเกล้ำฯ ทรงหำยจำกกำรประ ชวรท้ังพระวรกำยและพระรำชหฤทยั และขอให้ สำเรจ็ พระรำชประสงค์ท่ที รงปรำรถนำใหเ้ หตทุ ีท่ ำ ให้ทรงขุ่นขดั พระรำชหฤทยั เคล่อื นคลำยเหมือน เวลำหลำยปไี ด้ผำ่ นพน้ ไปและขอใหด้ ำรงพระชนม์ ชีพยืนนำนเพื่อเกอ้ื กูลและสร้ำงควำมเจริญแก่ ประเทศไทยตลอดไป

ประวตั ผิ แู้ ตง่ ๑. พระบำทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลำ้ เจำ้ อยหู่ วั พระบำทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลำ้ เจำ้ อยูห่ ัว ทรงเปน็ พระรำชโอรส พระองค์ใหญใ่ นพระบำทสมเดจ็ พระจอมเกลำ้ เจ้ำอยู่หวั รชั กำลที่ ๔ และ สมเดจ็ พระเทพสิรนิ ทรำบรมรำชินี ประสตู เิ มอ่ื วนั อังคำรที่ ๒๐ กนั ยำยน พ.ศ. ๒๓๙๖ ทรงพระนำมตำมจำรกึ ในพระสพุ รรณบฎั วำ่ สมเดจ็ พระเจ้ำลกู ยำเธอ เจ้ำฟำ้ จฬุ ำลงกรณ์ บดินทรเทพยมหำมกฎุ บรุ ษุ รัตนรำชรวิวงศ์ วรุตมพงศ์ บริพตั ร ศริ ิวัฒนรำชกมุ ำร ทรงไดร้ ับกำรสถำปนำเปน็ เจ้ำฟ้ำตำ่ งกรม มพี ระ นำมกรมวำ่ กรมหมน่ื พฆิ เณศวรสรุ สงั กำศ

พระบำทสมเดจ็ พระ จุลจอมเกลำ้ เจำ้ อยหู่ วั หลังจำกทรงผนวชเป็นสำมเณรทรงได้รบั กำรเฉลิม พระนำมำภไิ ธยขนึ้ เปน็ สมเดจ็ พระเจำ้ ลูกยำเธอ เจำ้ ฟ้ำ จุฬำลงกรณฯ์ กรมขนุ พินิตประชำนำถ ทรงเป็นพระ รำชปโิ ยรสทีส่ มเดจ็ พระบรมชนกนำถโปรดให้เสด็จอยู่ ใกลช้ ดิ ตดิ พระองค์เสมอเพอื่ ให้มีโอกำสแนะนำส่งั สอน วชิ ำกำรต่ำง ๆ โดยเฉพำะอยำ่ งยิ่งวิชำรัฏฐำภิบำล รำชประเพณีและโบรำณคดี นอกจำกน้ันยงั ทรงศึกษำ ภำษำมคธ ภำษำองั กฤษ กำรยงิ ปืนไฟ กระบีก่ ระบอง มวยปล้ำ รวมท้งั กำรบงั คบั ชำ้ งอกี ด้วย

ครองรำชย์ พระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกลำ้ เจำ้ อยหู่ วั ทรงได้รับกำรกรำบบงั คมทลู เชิญขน้ึ เป็นพระมหำกษัตรยิ ส์ บื ตอ่ จำก สมเด็จพระบรมรำชชนกเมอื่ วนั พฤหสั บดที ่ี ๑ ตุลำคม พ.ศ. ๒๔๑๑ ดว้ ยพระชนมำยเุ พยี ง ๑๕ พรรษำ ทรงประกอบพระ รำชพิธบี รมรำชำภเิ ษกครงั้ แรกเม่อื วนั ท่ี ๑๑ พฤศจิกำยน ๒๔๑๑ โดยมเี จ้ำพระยำศรีสรุ ิยวงศ์ (ช่วงบนุ นำค) เปน็ ผู้สำเร็จรำชกำรแทนพระองค์ จนหลังจำกพระรำชพธิ บี รมรำชำภิเษกครงั้ ที่ ๒ เม่ือพระชนมำยุ ๒๐ พรรษำ ในวนั ที่ ๑๖ พฤศจกิ ำยน พ.ศ. ๒๔๑๖ จงึ ทรงปกครองแผ่นดินด้วยพระองคเ์ องอย่ำงสมบรู ณ์ ทรงครองรำชย์อยเู่ ปน็ เวลำ ยำวนำนถึง ๔๒ ปี และได้ทรงพฒั นำประเทศให้เจรญิ กำ้ วหนำ้ ทัดเทียมอำรยประเทศทกุ วถิ ที ำง

สวรรคต ในบนั้ ปลำยพระชนมช์ พี พระบำทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลำ้ เจ้ำอยหู่ ัวทรงมพี ระพลำนำมัยไมส่ มบูรณน์ ัก หลงั จำกเสดจ็ ประพำส ยโุ รปครง้ั ที่ ๒ แล้ว พระอำกำรก็คอ่ ยทรดุ ลงเป็นลำดับ และเสด็จสวรรคตด้วยพระโรคพระวักกะพิกำรเมอ่ื เวลำ ๒ ยำม ๔๕ นำที ของวันเสำรท์ ี่ ๒๓ ตุลำคม พ.ศ. ๒๔๕๓ สิรพิ ระชนมำยุ ๕๘ พรรษำ ทรงครองสริ ิรำชสมบตั ิ ๔๒ ปี ทรงมีพระรำชโอรส พระรำชธดิ ำรวมทง้ั สน้ิ ๗๗ พระองค์ ดว้ ยทรงมีพระมหำกรณุ ำธิคณุ ต่อไพร่ฟ้ำประชำชนอยำ่ งหำที่สดุ มิได้มำตลอดรชั กำล อันยำวนำน ประชำชนจงึ พรอ้ มใจกนั ถวำยพระบรมรำชสมญั ญำนำมวำ่ สมเด็จพระปยิ มหำรำช อันมคี วำมหมำยวำ่ พระ มหำกษตั ริ ย์ผ้ทู รงเป็นทีร่ ักย่งิ ของปวงชน และถือวนั ที่ ๒๓ ตุลำคม เป็นวนั ปิยมหำรำชมำจนตรำบเท่ำทกุ วนั นี้

๒.สมเดจ็ พระเจำ้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยำดำรงรำชำนภุ ำพ สมเดจ็ พระเจำ้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยำดำรงรำชำนุ ภำพ ทรงเป็นพระรำชโอรสองค์ที่ ๕๗ ใน พระบำทสมเดจ็ พระจอมเกล้ำเจ้ำอยหู่ วั เจ้ำจอมมำรดำ ชุ่ม ธิดำพระอพั ภันตริกำมำตย์ (ดศิ ) ตน้ สกุล\"โรจนดิศ\" เป็นเจ้ำจอมมำรดำ ประสตู ิในพระบรมมหำรำชวงั เมื่อ วนั ท่ี ๒๑ มิถุนำยน พ.ศ.๒๔๐๕ พระบำทสมเด็จพระบรม ชนกนำถพระรำชทำนพระนำมและพระพร ประกอบดว้ ย คำถำเป็นภำษำบำลซี ง่ึ มีคำแปลดังตอ่ ไปนี้

\" สมเด็จพระปรเมนทรมหำมงกุฏ พระจอมเกลำ้ เจำ้ แผ่นดินสยำม ผบู้ ดิ ำต้งั นำมกุมำรบุตรทเี่ กดิ แต่ชมุ่ เล็ก เปน็ มำรดำน้ัน และซ่งึ คลอดในวนั ๗ ฯ๙ ๗ ปจี อจัตวำ ศกนั้น ว่ำดังนี้ พระเจ้ำลกู เธอพระองคเ์ จำ้ ดิศวรกมุ ำร นำคนำม ขอจงเจริญชนมำยุ วรรณ สขุ พล ปฏภิ ำณ สรรพสิรสิ วัสดิพิพฒั นมงคล ทุกประกำร ส้นิ กำลนำน ตอ่ ไป เทอญ ต้ังนำมมำวนั ๕ ฯ๕ ๙ ค่ำ ปจี อจตั วำศก เปน็ ปีท่ี ๑๒ เปน็ วนั ท่ี ๖๐๙๖ ในรัชกำลปจั จุบนั น้ี \"

พระองค์ทรงเร่มิ เรยี นหนงั สอื ไทย ได้ทรงสำเรจ็ กำรศกึ ษำจำก ได้รบั พระรำชทำน ชน้ั ตน้ จำกสำนักคุณแสงและคุ โรงเรยี นนำยรอ้ ยทหำรบก ยศเล่อื นเปน็ นำย รปำน รำชนกิ ุล ใน ไดร้ บั พระรำชทำนยศเปน็ พนั ตรี ผู้สนองพระ พระบรมมหำรำชวัง ทรงศกึ ษำ นำยรอ้ ยตรที หำรมหำดเลก็ บรมรำชโองกำร ภำษำองั กฤษในโรงเรียนหลวง ซ่งึ บงั คับกองแตรวง วำ่ กำรกรมทหำร มมี สิ เตอร์ ฟรำนซสิ ยอร์ช แพต พระชนมำยุได้ 15 ปี มหำดเล็ก เตอร์สนั เปน็ พระอำจำรย์ พ.ศ. ๒๔๒๓ พ.ศ. ๒๔๑๘ พ.ศ. ๒๔๒๐ พ.ศ. ๒๔๒๒ เม่ือมพี ระชนมไ์ ด้ 13 พรรษำ ไดท้ รง ได้รบั พระรำชทำนยศเปน็ นำยรอ้ ยโท ผู้ ผนวชเป็นสำมเณรท่ีวัดพระศรีรัตน บงั คบั กำรทหำรมำ้ ในกรมทหำรมหำดเลก็ ศำสดำรำม สมเด็จกรมพระยำปวเร และในปีเดียวกันนไี้ ด้รับพระรำชทำนยศเปน็ ศวรยิ ำลงกรณ์ ทรงเปน็ พระ นำยร้อยเอก รำชองคร์ ักษป์ ระจำพระองค์ อปุ ัชฌำย์ และประทบั จำพรรษำที่ พระบำทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลำ้ เจำ้ อยหู่ ัว วดั บวรนิเวศวหิ ำร พระชนมำยไุ ด้ 17 ปี

พ.ศ. ๒๔๒๕ ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ ณ โปรดเกลำ้ ฯ พระรำชทำน วัดพระศรีรตั นศำสดำรำม โดยสมเด็จ พระสพุ รรณบฎั และทรง พระมหำสมณเจำ้ กรมพระยำปวเรศวริ ประกำศแตง่ ต้ังให้ดำรง ยำลงกรณ์ ทรงเป็นพระ อปุ ชั ฌำย์ และ พระอสิ รยิ ยศ เป็น \"กรม ประทบั จำพรรษำทว่ี ดั นเิ วศธรรมประวตั ิ หมืน่ ดำรงรำชำนุภำพ\" จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ พ.ศ. ๒๔๒๔ พ.ศ. ๒๔๒๕ พ.ศ. ๒๔๒๘ พ.ศ. ๒๕๒๙ พ.ศ. ๒๔๓๐ โปรดเกลำ้ ฯ ใหย้ ำ้ ย โปรดเกลำ้ ฯ ใหย้ ำ้ ยไปเป็นผู้ โปรดเกลำ้ ไปสงั กัดกรมทหำร บงั คบั กำรทหำรมหำดเลก็ ฯ ใหเ้ ป็นผู้ ปนื ใหญ่ ซึ่งเรียกกนั และได้รบั พระรำชทำนยศเปน็ บญั ชำกำ ในสมัยนน้ั ว่ำ \"กรม นำยพันโท รทหำรบก กองแก้วจนิ ดำ\"

ไดร้ ับพระรำชทำนยศ โปรดเกลำ้ ฯ ใหเ้ ลื่อนขึ้นเปน็ โปรดเกล้ำฯ ใหเ้ ลือ่ นพระ เปน็ นำยพลตรี อธิบดีกรม ศึกษำธิกำร อสิ รยิ ยศเปน็ \"กรมหลวง ดำรงรำชำนุภำพ\" พ.ศ. ๒๔๓๑ พ.ศ. ๒๔๓๒ พ.ศ. ๒๔๓๓ พ.ศ. ๒๔๓๕ - ๕๘ พ.ศ. ๒๔๔๒ พ.ศ. ๒๔๕๔ โปรดเกล้ำฯ ใหย้ ้ำยจำกงำน โปรดเกลำ้ ฯ ให้ดำรง โปรดเกล้ำฯ ให้เลอ่ื น ฝำ่ ยทหำรไปปฏบิ ตั ิงำนทำงพล ตำแหน่งเสนำบดี พระอิสริยยศ เป็น เรือน ทรงเป็นผู้กำกับ กรม กระทรวงมหำดไทย \"กรมพระดำรงรำ ธรรมกำร ชำนุภำพ\"

ดำรงตำแหนง่ ดำรงตำแหนง่ โปรดเกลำ้ ฯ ให้เล่ือน พระ นำยกหอพระสมดุ อภิรฐั มนตรี อสิ ริยยศเปน็ \"สมเดจ็ พระ สำหรับ พระนคร เจ้ำ บรมวงศเ์ ธอ กรม พระยำดำรงรำชำนุภำพ\" พ.ศ. ๒๔๕๘ พ.ศ. ๒๔๖๖ พ.ศ. ๒๔๖๘ พ.ศ. ๒๔๖๙ พ.ศ. ๒๔๗๒ พ.ศ. ๒๔๘๖ ดำรงตำแหน่งเสนำบดี ดำรงตำแหนง่ นำยก สิ้นพระชนม์ กระทรวงมุรธำธร รำชบัณฑิตยสภำ และเปน็ นำยพลเอก

พระบำทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลำ้ เจ้ำอยหู่ ัวทรงไดร้ ับกำรกรำบบงั คมทลู เชิญขน้ึ เป็นพระมหำกษัตรยิ ส์ ืบตอ่ จำกสมเด็จพระบรมรำชชนกเมอื่ วนั พฤหัสบดที ี่ ๑ ตลุ ำคม พ.ศ. ๒๔๑๑ ดว้ ยพระชนมำยุเพยี ง ๑๕ พรรษำ ทรง ประกอบพระรำชพธิ ีบรมรำชำภิเษกคร้งั แรกเมอื่ วันที่ ๑๑ พฤศจกิ ำยน ๒๔๑๑ โดยมีเจ้ำพระยำศรีสรุ ยิ วงศ์ (ชว่ งบุนนำค) เปน็ ผ้สู ำเร็จรำชกำรแทนพระองค์ จนหลังจำกพระรำชพธิ บี รมรำชำภิเษกคร้งั ท่ี ๒ เมื่อพระชนมำยุ ๒๐ พรรษำ ใน วันท่ี ๑๖ พฤศจกิ ำยน พ.ศ. ๒๔๑๖ จงึ ทรงปกครองแผน่ ดนิ ดว้ ยพระองคเ์ อง อย่ำงสมบูรณ์ ทรงครองรำชย์อยูเ่ ปน็ เวลำยำวนำนถงึ ๔๒ ปี และได้ทรง พฒั นำประเทศให้เจรญิ ก้ำวหนำ้ ทัดเทียมอำรยประเทศทุกวิถที ำง

ลักษณะคำประพนั ธ์ โคลงสีส่ ภุ ำพ จำนวน ๗ บท ในบทพระรำชนิพนธ์และพระนิพนธส์ ว่ นทีแ่ ต่ง ตัวอย่ำงคำประพนั ธ์ จำกขัตตยิ พันธกรณี เปน็ ร้อยกรอง คำฉนั ท์ ประเภท โคลงสี่สุภำพ และอินทรวเิ ชียรฉนั ท์ แตไ่ ม่ไดเ้ คร่งครดั เรอื่ ง กำรใชค้ ำครุ-ลหุ ให้ตรงตำมตำแหนง่ ทีว่ ำงไว้ ตำมคณะฉันท์ แตท่ รงใช้ตำมกำรออกเสยี ง หนักเบำตำมธรรมชำติ “ เปน็ ฝีสำมยอดแลว้ ยงั รำย สำ่ นอ ปวดเจ็บใครจักหมำย เชอื่ ได้ ใช่เปน็ แตส่ ว่ นกำย เศยี รกลดั กลุ้มแฮ ใคร่ตอ่ เป็นจง่ึ ผู้ นน่ั นน้ั เหน็ จรงิ ”

คำประพนั ธ์ จำกขตั ติยพันธกรณี “ เจบ็ นำนนกึ หน่ำยนติ ย์ มะนะเรอ่ื งบำรุงกำย ส่วนจติ บ มีสบำย ศิระกล้มุ อุรำตรงึ ” โดยเน้นกำรใช้คำและภำพพจนเ์ พอื่ สรำ้ งจินตนำกำร และอำรมณ์สะเทือนใจเป็นสำคญั

นับตง้ั แต่ยคุ กำรลำ่ อำณำนิคมหรอื ลทั ธจิ ักรวรรดินยิ มไดเ้ ริ่มถอื กำเนิดขนึ้ ไมว่ ำ่ ประเทศ ไหนหรอื พ้นื ท่ีใดๆ บนโลกใบนีก้ ล็ ้วนตกอย่ใู นเงือ้ มมอื ของประเทศมหำอำนำจไมเ่ ว้นแมแ้ ต่ประเทศไทย ในชว่ งยุคสมัยของพระบำทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลำ้ เจำ้ อยูห่ ัวนั้นกำรคกุ คำมของฝร่งั เศสและอังกฤษ

ฝรง่ั เศสและอังกฤษไดแ้ ผ่ขยำยเข้ำมำยังประเทศไทย และแข่งขนั กนั แสวงหำผลประโยชนจ์ ำกประเทศไทย ต่ำงๆนำนำจนสุดทำ้ ยกเ็ กดิ เหตกุ ำรณท์ ีเ่ กอื บทำให้ ประเทศไทยต้องเกอื บเสยี เอกรำชไป เหตุกำรณค์ ร้งั นี้ เรียกว่ำ เหตกุ ำรณ์วิกฤตกำรณ์ ร.ศ. ๑๑๒

เนื้อเร่ืองเตม็ (แบบย่อ) เนื้อเรอ่ื งเตม็ (แบบยอ่ ) ซ่ึงจุดเรมิ่ ตน้ น้นั เกิดจำกควำมขัดแย้งระหว่ำงไทยกบั ฝร่ังเศสเรอื่ งเขตแดนทำงด้ำนหลวงพระบำงและมี กำรกระทบกระทง่ั ของกำลงั ทหำรทัง้ สองฝำ่ ยและต่อมำไดข้ ยำยวงกวำ้ งออกไปเรื่อยๆ ปญั หำท่ไี ม่รจู้ บ ครงั้ น้ีไดท้ วคี วำมรนุ แรงข้นึ เร่อื ย จนกระทง่ั ในวนั ที่ ๑๓ กรกฎำคม ร.ศ. ๑๑๒ กองเรอื รบของฝรงั่ เศส ได้รุกล้ำเขำ้ มำยังปำกแมน่ ้ำเจำ้ พระยำ

เกดิ กำรปะทะกันท่บี รเิ วณปอ้ มพระจลุ จอมเกลำ้ และปอ้ มผเี สื้อสมทุ ร จนสดุ ท้ำยแลว้ เรอื รบ ฝรงั่ เศส ๒ ลำไดล้ อ่ งมำทอดสมอ หน้ำสถำนฑูต ฝรัง่ เศสได้สำเร็จพร้อมกับยืน่ ข้อเรียกรอ้ ง หลำยประกำร เช่น กำรเรยี กรอ้ งสทิ ธเิ หนือ ดินแดนและกำรเรยี กคำ่ ปรับจำกรฐั บำล

เน้อื เรอ่ื งเตม็ (แบบยอ่ ) พอเมือ่ รัฐบำลตอบล่ำช้ำ เรอื รบฝรั่งเศสก็ไดท้ ำ กำรแลน่ มำปดิ อ่ำวไทยประกอบกบั กำรทป่ี ระเทศอังกฤษ ไม่ให้กำรสนับสนนุ จงึ ทำใหไ้ ทยตอ้ งลงนำมในสนธสิ ัญญำ กรงุ เทพในวันท่ี ๓ ตุลำคม ร.ศ. ๑๑๒ ซึ่งทำใหต้ อ้ งเสยี สิทธิ เหนอื ดินแดนฝัง่ ซำ้ ยแม่น้ำโขงและอำนำจกำรปกครองชำว อนิ โดจีนให้แกฝ่ รง่ั เศส รวมทง้ั จงั หวดั จันทบรุ ที ถี่ กู ฝรัง่ เศส ยดึ ไวเ้ ป็นตัวประกนั นอกจำกนั้นยงั มีกำรเตรียมแผนกำรที่ จะยึดครองดินแดนอื่นๆของไทยอีกด้วย เน้อื เรอ่ื งเตม็ (แบบยอ่ )

เน้อื เรอ่ื งเตม็ (แบบยอ่ ) จำกเหตกุ ำรณ์ครง้ั นท้ี ำใหพ้ ระบำทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้ำเจ้ำอยหู่ ัวทรงงำนอย่ำงหนกั เพอ่ื แสวงหำวิธีต่ำงๆมำกมำยมำหยุดย้งั อำนำจ ของฝรั่งเศสและรกั ษำเอกรำชของไทยไว้ สดุ ท้ำยแล้วนนั้ พระองค์กท็ รงสำมำรถนำพำ ประเทศชำตใิ ห้หลดุ พ้นจำกวกิ ฤตกำรณอ์ นั ยง่ิ ใหญ่มำไดแ้ มว้ ำ่ จะต้องแลกดว้ ยดนิ แดน บำงสว่ นก็ตำม

เหตุกำรณต์ ำ่ งๆท่เี กดิ ข้นึ ในชว่ ง ร.ศ. ๑๑๒ ถอื วำ่ เปน็ เหตุกำรณค์ รั้งใหญ่ หำก ถำ้ ไม่ไดพ้ ระปรีชำควำมสำมำรถของ พระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกลำ้ เจำ้ อยู่หัวประเทศไทยกอ็ ำจจะตกเป็น เมืองขนึ้ ของฝรง่ั เศสได้ แต่ทว่ำเหตุกำรณ์ครั้งนีก้ ส็ ง่ ผลให้อำกำรประชวรของ พระองคท์ รดุ หนกั ลงมำกกวำ่ เดมิ เนอ่ื งจำกเปน็ โรคพระ หทัยมำก่อน ประกอบกับทรงเกดิ ควำมทกุ ขโ์ ทมนัสและ ตรอมพระทัย

ทำใหพ้ ระองค์ทรงหมดกำลงั พระทยั ทจ่ี ะดำรงพระชนมช์ ีพ ต่อไป จงึ หยดุ เสวยพระโอสถ และทรงพระรำชนพิ นธบ์ ท โคลงและฉันทข์ นึ้ บทหนง่ึ เพ่ือทรงลำเจ้ำนำยพีน่ อ้ งของ พระองค์ เชน่ พระนำงเจำ้ สขุ ุมำลมำรศรี พระรำชเทวแี ละ พระเจำ้ น้องยำเธอ กรมหมื่นดำรงรำชำนุภำพ (พระยศใน ขณะนน้ั ) และท้งั สองน้ันก็ ทรงพระนพิ นธถ์ วำยบทตอบ เนอื้ เรอื่ งเตม็ (แบบยอ่ )

บทพระรำชนิพนธแ์ ละบทนพิ นธน์ เ้ี ป็นเรื่องรำวเก่ยี วกบั กำร เขียนตอบเร่ิมจำกบทพระรำชนพิ นธใ์ นพระบำทสมเด็จพระ จุลจอมเกลำ้ เจ้ำอยู่หัว ท่เี ป็นเร่อื งรำวของพระองค์ ณ เวลำน้ัน กำรเข้ำมำของฝรง่ั เศสไดส้ รำ้ งควำมกังวลพระ หฤทยั เป็นอย่ำงมำก ประกอบกับอำกำรพระชวรจึงทำให้ บทพระรำชนิพนธ์น้ีเปรยี บเสมอื นกำรบรรยำยควำมทุกข์ ควำมส้ินหวังและควำมกงั วลของพระองค์

เน้อื เรอ่ื งเตม็ (แบบยอ่ ) หลงั จำกจบบทพระรำชนิพนธ์กต็ อ่ ดว้ ยบทพระ นพิ นธใ์ นสมเด็จพระเจ้ำบรมวงศ์เธอ กรมพระ ยำดำรงรำชำนภุ ำพ ซึ่งมีรปู แบบลกั ษณะของ กำรถวำยกำลังพระทยั ซงึ่ อยใู่ นส่วนแรก ถัดมำ เปน็ กำรใหข้ อ้ คิดโดยกำรใช้อปุ มำต่อจำกกำรให้ ขอ้ คดิ สมเดจ็ พระเจ้ำบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยำ ดำรงรำชำนุภำพไทรงอำสำจะถวำยชวี ิตรับใช้ และตอ่ สู้กับปัญหำที่เผชิญ สุดท้ำยพระนพิ นธจ์ บ ลงดว้ ยกำรถวำยพระพรและคำยนื ยันถงึ ควำม จงรักพกั ดที ีป่ ระชำชนไทยมตี ่อพระบำทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้ำเจำ้ อยหู่ วั

เนื้อเรื่องเตม็ (แบบย่อ) ขัตตยิ พนั ธกรณปี ระกอบไปด้วย ๒ สว่ น คือสว่ นของพระรำชนิพนธ์และพระ เนอื้ เรอ่ื งเตม็ (แบบยอ่ ) นิพนธ์ในส่วนแรกของบทพระรำชนิพนธ์ พระบำทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลำ้ เจำ้ อยหู่ วั เน้ือเรอ่ื งเตม็ (แบบยอ่ ) ทรงใชโ้ คลงสสี่ ุภำพรวม ๗ บท แสดงควำม กงั วลพระทัยทีท่ รงพระ ประชวรเปน็ เวลำนำน ทำใหเ้ ปน็ ภำระอัน “หนกั อกผู้บรริ ักษ์” ท้งั ปวง ประกอบกบั ควำมเจบ็ ทง้ั วรกำยและพระทยั ของพระองค์

ยงิ่ เฉพำะในยำมวิกฤตแบบนแี้ ตว่ ำ่ เหตกุ ำรณ์ เน้อื เรอ่ื งเตม็ (แบบยอ่ ) บ้ำนเมอื งยำมน้ที ำให้พระองคท์ รงตระหนักดวี ำ่ พระองค์ยังไม่สำมำรถเสด็จไปยังภพเบ้อื งหนำ้ ได้ตำมพระทยั หมำย เพรำะหนำ้ ที่ของพระองค์ คือต้องทรงปกป้องรักษำบำ้ นเมืองไว้ ทำให้ ภำพพจนข์ องโคลงออกมำในรปู แบบของกำรอปุ ลกั ษณเ์ ปรียบเทียบในสว่ นท่ี ๒ ถกู แตง่ ด้วย อินทรวเิ ชยี รฉันท์ เปน็ กำรบรรยำยควำมรูส้ กึ ท่ี เบอ่ื หนำ่ ย หมดกำลังพระทยั ที่จะรกั ษำพระ อำกำรประชวรและอำจจะไมส่ ำมำรถกลบั มำ ทรงงำนได้อย่ำงเตม็ ท่เี ท่ำที่ควร

เนื้อเรอ่ื งเตม็ (แบบยอ่ ) ส่วนท่ี ๒ คือส่วนของพระนพิ นธใ์ นสมเด็จพระ เจ้ำบรมวงศ์เธอ กรมพระยำดำรงรำชำนภุ ำพทรง เร่ิมต้นด้วยกำรถวำยกำลงั พระทยั โดยใช้กำร บรรยำยใหเ้ ห็นวำ่ พระองค์ในฐำนะท่ที รงเป็นพระ บรมศำนุวงศแ์ ละเสนำบดที ่ีทรงปฏบิ ัตงิ ำนอย่ำง ใกลช้ ดิ ทรงตระหนกั วำ่ พระอำกำรประชวร นั้น หนกั เพยี งใดและทรงมคี วำมกังวล ห่วงใย และ พร้อมที่จะสละเลอื ดเนอ้ื และชวี ติ หำกจะช่วย บรรเทำพระอำกำรประชวรได้และมใิ ชเ่ พียงแต่ พระองค์ผทู้ รงใกลช้ ดิ เทำ่ น้ันแตร่ วมถงึ ประชำชน ท่ัวไปก็ร้สู กึ เชน่ เดยี วกับพระองค์ เนื้อเรอ่ื งเตม็ (แบบยอ่ )

หลงั จำกน้นั เป็นกำรถวำยขอ้ คิดโดยกำรเปรียบเทยี บคนไทยเปน็ เสมอื นลูกเรือที่กำลงั สบั สนต้องกำรคนชแ้ี นะ จำกน้นั พระองค์ทรงกรำบทลู สมเด็จพระจุลจอมเกลำ้ เจ้ำอยหู่ ัวให้ทรงตระหนกั ในสจั ธรรมทว่ี ำ่ ไม่ว่ำจะกระทำ กำรส่ิงใด ยอ่ มมอี ุปสรรคตำมมำเสมอ หำกแตว่ ำ่ ทกุ คนรว่ มมอื รว่ มใจพยำยำมหำคดิ หำวิธีแกไ้ ข ถึงแมเ้ รอื จะ จม ทกุ คนกย็ ังมคี วำมภมู ใิ จและย่อมได้รับคำสรรเสริญ ในทำงกลบั กัน กำรอยเู่ ฉยๆ ไมน่ กึ คดิ ท่จี ะทำอะไร เรือก็ จมลงพรอ้ มกับคำตำหนิ หลงั จำกกำรถวำยขอ้ คดิ แลว้ ด้วยทว่ี ่ำ

เนอ้ื เรอ่ื งเตม็ (แบบยอ่ ) สมเดจ็ พระเจ้ำบรมวงศเ์ ธอกรมพระ พระนพิ นธจ์ บลงด้วยกำรถวำยพระพร ยำดำรงรำชำนภุ ำพได้ทรงงำนวำย ใหพ้ ระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกลำ้ ชวี ติ รับใช้และปฏบิ ตั ิหนำ้ ท่ีบทพระ เจำ้ อยู่หวั ทรงหำยจำกอำกำรพระ นิพนธส์ ่วนนี้จึงใชภ้ ำพพจนเ์ ปน็ ประชวร มีพระรำชหฤทยั ทผ่ี อ่ งแผว้ เครอื่ งกระตุ้นใหพ้ ระบำทสมเด็จพระ และมพี ระชนมำยยุ นื ยำว พร้อมท้งั ถวำย จุลจอมเกลำ้ เจำ้ อย่หู วั เกิดพระขตั คำปลอบประโลม คำยนื ยันถึงควำม ตยิ มำนะท่ีจะส้ตู ่อไป จงรักภักดี และคำปลกุ ใจใหล้ กุ ขนึ้ สตู้ อ่ ไป เพอ่ื ประเทศชำตแิ ละชำวไทยทกุ คน

ในชว่ งหลงั ของครสิ ต์ศตวรรษท่ี ๑๙ ทวีปยโุ รปเกดิ กำรปฏิวตั ิอุตสำหกรรมและกำรเตบิ โตของลทั ธจิ ักรวรรดนิ ยิ ม นำไปสู่กำรแผ่อทิ ธพิ ลของชำวตะวันตกในภมู ภิ ำคตำ่ ง ๆ ของโลก เมอื่ พระบำทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้ำเจ้ำอยหู่ ัวเสด็จขน้ึ ครองรำชย์ ใน พ.ศ. ๒๔๑๑ ประเทศตำ่ ง ๆ ในเอเชียตอ้ งเผชิญกับกำรคุกคำม จำกชำตมิ หำอำนำจโดยเฉพำะอังกฤษและฝรง่ั เศส เนื่องทงั้ ชำตทิ ง้ั สองชำตจิ ะแข่งขนั กนั แสวงหำผลประโยชนท์ ำงกำรค้ำ กำรเมือง และวฒั นธรรมในประเทศไทย

เนื้อเรื่องเตม็ เ ้ืนอเ ่ืรองเ ็ตม (เฉพำะตอน ี่ทเ ีรยน) นำยชำร์ล เลอ มีร์ เดอ วิแลร์ (เฉพาะตอนทีเ่ รียน) ทตู พเิ ศษผู้มอี ำนำจจำกรัฐบำลฝร่ังเศส แล้วยงั มเี ปำ้ หมำยทจี่ ะยดึ ครองประเทศรำชของไทย เข้ำเฝำ้ พระบำทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลำ้ เจ้ำอยู่หวั อันได้แก่ กัมพูชำ ลำว และดินแดนในแหลมมลำยตู อนเหนือ ณ พระทีน่ ่งั จกั รมี หำปรำสำท ดว้ ย หลงั จำกฝร่ังเศสไดก้ ัมพชู ำและเวยี ดนำมเป็นอำณำนคิ ม ก็เรง่ สำรวจหวั เมืองลำวและพยำยำมจะขยำยอำณำเขตของ ตนออกไปจนถึงฝั่งแมน่ ำ้ โขง วิกฤตกำรณ์ ร.ศ. ๑๑๒ เกิดจำกควำมขดั แย้งระหว่ำงไทยกับฝรั่งเศส เร่อื งเขตแดนทำงด้ำนหลวงพระบำง ผแู้ ทน ทำงกำรทูตของทงั้ สองประเทศไดพ้ ยำยำมเจรจำ เพ่ือหำทำงออกในกำรแกป้ ญั หำแตไ่ ม่สำเร็จ

ในวนั ท่ี ๑๓ กรกฎำคม ร.ศ. ๑๑๒ กองเรอื รบของฝร่งั เศสจงึ ไดร้ ุกลำ้ เข้ำมำถึงปำกแมน่ ้ำ เจ้ำพระยำจนเกดิ กำรยิงตอ่ สู้กับทหำรไทยทปี่ ระจำป้อม พระจลุ จอมเกล้ำและป้อมผเี สื้อสมทุ รทปี่ ำกน้ำ ในท่สี ดุ เรือ ปืนของฝร่ังเศส ๒ ลำกแ็ ล่นผ่ำนเข้ำมำจอดทอดสมอหน้ำ สถำนทูตฝรง่ั เศส ทำใหฝ้ ร่ังเศสยน่ื คำขำดหลำยประกำร เชน่ กำรเรยี กรอ้ งสิทธิเหนือดินแดนและกำรเรียกรอ้ ง ค่ำปรับจำนวนมำก เนอ้ื เรอ่ื งเตม็ (เฉพำะตอนทเ่ี รยี น)

เนือ้ เรอ่ื งเตม็ (เฉพำะตอนทเี่ รยี น) เม่ือรฐั บำลไทยใหค้ ำตอบล่ำชำ้ เรอื รบฝร่งั เศสก็แล่น ออกไปปิดอำ่ วไทยกำรถกู ปดิ นำ่ นนำ้ ประกอบกบั ขำดกำรสนับสนนุ จำก ประเทศองั กฤษ ทำใหไ้ ทยตอ้ งยอมอ่อนข้อให้ฝรงั่ เศสอยำ่ งไมม่ ี เงอ่ื นไข วิกฤตกำรณ์ครัง้ น้ีจบลงดว้ ยกำรลงนำมในสนธิสญั ญำ กรุงเทพฯเมื่อวันท่ี ๓ ตลุ ำคม ร.ศ. ๑๑๒ ระหวำ่ งรฐั บำลไทยกับ ฝรัง่ เศส ทำใหไ้ ทยเสยี สทิ ธเิ หนือดนิ แดนฝั่งซำ้ ยแมน่ ำ้ โขงและเสยี อำนำจ กำรปกครองคนในบงั คับชำวอินโดจีนใหแ้ กฝ่ ร่งั เศส

เนอื้ เรอื่ งเตม็ (เฉพำะตอนทเ่ี รยี น) นอกจำกน้ฝี รงั่ เศสยังเขำ้ ยึดครองจังหวดั จันทบรุ ี ไวเ้ ปน็ ประกัน พระบำทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลำ้ เจำ้ อยหู่ วั ต้องทรงดำเนินวิเทโศบำยทำงกำรทตู ด้วยควำมอดทนและนม่ิ นวลทรงพยำยำมแสวงหำ พันธมติ รจำกมหำอำนำจอ่ืน ๆ ไว้คอยช่วยเหลอื เจรจำและทรงยอมผ่อนปรนให้กบั ขอ้ เรยี กรอ้ ง ต่ำงๆของฝรั่งเศส

ซงึ่ กินเวลำยำวนำนตอ่ มำถงึ ๑๔ ปีจงึ ไดย้ ุติลงไทยได้ จังหวัดจนั ทบุรีและตรำดกลับคืนมำ กลำ่ วได้ว่ำ พระบำทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้ำเจำ้ อยู่หัวทรงนำพำ ประเทศใหผ้ ำ่ นพ้นวกิ ฤตอันยง่ิ ใหญ่น้นั มำไดด้ ว้ ยพระ ปรชี ำสำมำรถแมจ้ ะตอ้ งสูญเสียดินแดนบำงส่วนไปบำ้ ง แตก่ ็ทรงรกั ษำแผน่ ดินผนื ใหญ่ของเรำไว้ได้ทำใหไ้ ทย สำมำรถดำรงเอกรำชและอธิปไตยสบื มำจนทกุ วนั นี้

กวีนิพนธเ์ รอ่ื งขตั ตยิ พนั ธกรณี ยุทธนำวีทปี่ ำกน้ำ และเหตกุ ำรณ์ต่ำง ๆ ทเ่ี กิดขน้ึ ต่อมำใน ร.ศ. ๑๑๒ ทงั้ กำรย่ืนคำขำดของ ฝรงั่ เศส กำรไมไ่ ด้รบั ควำมช่วยเหลอื จำก อังกฤษ กำรที่จนั ทบุรีถูกฝร่ังเศสยดึ เปน็ ประกัน ฯลฯ ได้ทำให้พระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกลำ้ เจ้ำอยหู่ ัวซง่ึ ทรงพระประชวรด้วยโรคพระหทยั มำ กอ่ นแล้วทรงเกดิ ควำมทกุ ขโ์ ทมนัสและตรอมพระทัย เปน็ อยำ่ งย่ิงจนพระอำกำรประชวรทรดุ หนกั ลง

เนือ้ เรอ่ื งเตม็ (เฉพำะตอนทเี่ รยี น) พระราชหตั ถเลขาของพระบาทสมเด็จพระ จลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทพี่ ระราชทานไปยงั สมเด็จพระ เจา้ ลูกยาเธอเจา้ ฟ้ ามหาวชริ าวธุ ทปี่ ระเทศองั กฤษ ระหวา่ งเดอื นพฤศจกิ ายนถงึ เดอื นมกราคม ร.ศ. ๑๑๒ ไดท้ รงเลา่ ถงึ พระอาการประชวรไวโ้ ดยตลอด ใน ระหวา่ งที่ทรงพระประชวรหนกั นี้ ความเจ็บปวดทกุ ขท์ รมานทง้ั พระวรกาย และพระทยั ทาใหท้ รงหมดกาลงั ที่จะดารงพระชนมช์ ีพตอ่ ไป

เนอ้ื เรอื่ งเตม็ (เฉพำะตอนทเี่ รยี น) สมเดจ็ พระนางเจา้ สุขมุ าล จึงหยุดเสวยพระโอถและได้ทรงพระรำชนิพนธ์ มารศรีพระอคั รราชเทวี บทโคลงและฉันทข์ นึ้ บทหนงึ่ เพอื่ ทรงลำเจำ้ นำยพี่ น้องบำงพระองค์ เชน่ พระนำงเจำ้ สขุ มุ ำล มำรศรีพระรำชเทวี ซง่ึ ทรงเฝำ้ พยำบำลพระ อำกำรอยู่โดยตลอด และพระเจำ้ นอ้ งยำเธอกรม หมนื่ ดำรงรำชำนภุ ำพ (พระยศในขณะน้ัน) ใน พระรำชนิพนธส์ ว่ นแรกซงึ่ ประกอบดว้ ยโคลงสี่ สภุ ำพ ๗ บท สมเด็จพระเจ้ำบรมวงศเ์ ธอ กรม พระยำดำรงรำชำนุภำพ

พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ทรงขนึ้ ตน้ ดว้ ยการแสดง ความกงั วลพระทยั ทที่ รงพระประชวรอยา่ งหนักเป็ นเวลานานทาให้ เป็ นภาระอนั “หนักอกผบู ้ รริ กั ษ”์ ทง้ั ปวง ความกงั วลพระทยั นีเ้ มอื่ ประกอบกบั ความ “เจ็บ” ทงั้ พระวรกายและพระทยั ของพระองค ์ รวมทง้ั มทิ รงสามารถปฏบิ ตั พิ ระราชกรณียกจิ ไดอ้ ยา่ งเต็มพระกาลงั โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในยามวกิ ฤตเิ ชน่ นั้น จงึ ทาใหพ้ ระทยั “บ มี สบาย” เพมิ่ อกี ประการหนึ่ง

จงึ มพี ระราชประสงคท์ จี่ ะ “ลาลาญหกั ” จากภพนีเ้ พอื่ ปลดเปลอื้ งความ ทกุ ขค์ วามเหน็ดเหนื่อยของผทู ้ เี่ ฝ้ ารกั ษาพยาบาลและของพระองคเ์ อง ถงึ กระนั้นก็ดี พระองคท์ รงตระหนักดวี า่ พระองคย์ งั ไม่สามารถเสด็จไป “สภู่ พ เบอื้ งหนา้ ” ตามพระทยั หมาย เพราะทรงมภี าระหนา้ ทอี่ นั หนกั ยงิ่ กวา่ ผใู ้ ด ในแผ่นดนิ คอื ตอ้ งปกป้ องรกั ษาบา้ นเมอื งเอาไวใ้ หแ้ กป่ ระชาชนไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook