Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัย-เรื่องการพัฒนาศักยภาพด้านภาษาอังกฤษสู่ตลาดแรงงาน

วิจัย-เรื่องการพัฒนาศักยภาพด้านภาษาอังกฤษสู่ตลาดแรงงาน

Published by Kru.Sukanya Kongmuang, 2019-10-03 22:54:39

Description: วิจัย-เรื่องการพัฒนาศักยภาพด้านภาษาอังกฤษสู่ตลาดแรงงาน

Keywords: วิจัย, ภาษาอังกฤษ

Search

Read the Text Version

2561 การวิจยั เรอ่ื ง การพฒั นาทักษะภาษาองั กฤษสาหรบั วชิ าชพี สถาปตั ยกรรมด้วยกิจกรรมนันทนาการ เปน็ การ วจิ ยั เชิงทดลอง (experimental research) แบบแผนการวจิ ยั แบบ one group pretest-posttest design เอกสารงานวจิ ัยโดยมีนักเรียนระดบั ช้นั ปวช.3/1 แผนกวิชาช่างเทคนิคสถาปตั ยกรรม วิทยาลยั เทคนิคสุราษฎร์ธานี ซง่ึ ลงทะเบยี นเรยี นในรายวิชา การออกแบบเขยี นแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2 เป็นกลมุ่ ตวั อยา่ ง จานวนทง้ั สิ้น 26 คน โดยมวี ัตถุประสงค์เพก่ือ า1)รเพพ่อื ฒั เพ่มินศาักทยภกั าพษในะกภาราจษดจาาคอาังศัพกทฤภ์ ษาษสาอางั หกฤรษบัทีเ่ วก่ยี ิชวขาอ้ ชงกีพบั วชิ าชีพของ นักศึกษาให้เพม่ิ มากข้นึ 2ส) ถเพาื่อเปพิ่มตั ศยักยกภราพรดมา้ ดนก้วารยสกนทจิ นกาภรารษมาอนงั กนั ฤษทในนชาวี ติกปาระรจาวันที่เก่ียวข้องกับ วชิ าชีพใหเ้ พ่ิมมากขนึ้ 3) เพ่ือใหน้ ักเรียนสามารถนาความรู้ที่ได้ไปต่อยอดและใช้ในการเรียนระดบั ทสี่ ูงข้ึนไป หรอื ในชีวติ ประจาวนั และการประกกาอรบวิจอัยาชเรีพ่ือไงด้การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพสถาปัตยกรรมด้วย กจิ กรรมนนั ทนาการ เปน็ การวจิ ัยเชิงทดลอง (experimental research) แบบแผนการ วิจัยแบบ one group pretest-posttest design โดยมีนักเรียนระดับชั้น ปวช.3/1 แผนกวิชาชา่ งเทคนิคสถาปัตยกรรม วิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี ซ่ึงลงทะเบียนเรียน ในรายวิชา การออกแบบเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2 เป็นกลุ่มตัวอย่าง จานวน ทั้งสิ้น 26 คน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) เพ่ือเพิ่มศักยภาพในการจดจาคาศัพท์ ภาษาอังกฤษท่ีเก่ียวข้องกับวิชาชีพของนักศึกษาให้เพิ่มมากข้ึน 2) เพ่ือเพิ่มศักยภาพ ด้านการสนทนาภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวันท่ีเก่ียวข้องกับวิชาชีพให้เพิ่มมากขึ้น 3) เพอ่ื ให้นักเรยี นสามารถนาความรู้ท่ีได้ไปต่อยอดและใช้ในการเรียนระดับท่ีสูงขึ้นไปหรือ ในชีวติ ประจาวนั และการประกอบอาชพี ได้ ผ้วู ิจยั สกุ ัญญา คงเมือง

รายงานการวิจยั เรือ่ ง การพัฒนาทักษะภาษาองั กฤษสาหรับวิชาชพี สถาปัตยกรรม ดว้ ยกจิ กรรมนันทนาการ โดย นางสกุ ัญญา คงเมอื ง ครูพิเศษสอน แผนกวชิ าชา่ งเทคนิคสถาปตั ยกรรม วทิ ยาลัยเทคนิคสรุ าษฎรธ์ านี สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2561

รายงานการวจิ ัย เรือ่ ง การพัฒนาทกั ษะภาษาองั กฤษสาหรบั วิชาชีพสถาปัตยกรรม ดว้ ยกิจกรรมนนั ทนาการ โดย นางสุกัญญา คงเมือง ครพู ิเศษสอน แผนกวิชาช่างเทคนคิ สถาปัตยกรรม วิทยาลัยเทคนคิ สุราษฎรธ์ านี สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2561

คานา รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพสถาปัตยกรรมด้วย กิจกรรมนันทนาการ โดยมีนักเรียนระดับช้ัน ปวช.3/1 แผนกวิชาช่างเทคนิคสถาปัตยกรรม วิทยาลัยเทคนิค สุราษฎร์ธานี ซึ่งลงทะเบียนเรียนในรายวิชา การออกแบบเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 น้ี ผู้วิจัยได้วางแผนการจัดการเรียนการสอนโดนใช้กิจกรรมนันทนาการมาเป็นตัวส่งเสริม การเรียนรู้ด้านทักษะภาษาอังกฤษของนักเรียนให้มีพัฒนาการที่ดียิ่งข้ึน เพ่ือสามารถนาไปใช้ในการประกอบ อาชีพได้อย่างแท้จริง ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า การทาวิจัยในช้ันเรียนฉบับนี้เป็นประโยชน์ ในการพัฒนานักเรียนให้มี คณุ ภาพตามศกั ยภาพของผู้เรยี น และเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจศึกษาและนาไปต่อยอดพัฒนาในรายวิชาอ่ืน ๆ ตอ่ ไป นางสุกญั ญา คงเมอื ง ผู้วิจัย

ช่อื ผวู้ ิจัย : นางสุกญั ญา คงเมอื ง ชือ่ เร่อื ง : การพัฒนาทักษะภาษาองั กฤษสาหรับวิชาชพี สถาปตั ยกรรมด้วยกิจกรรม นันทนาการ ปกี ารศกึ ษา : 2561 บทคดั ยอ่ การวจิ ยั เรื่อง การพฒั นาทักษะภาษาองั กฤษสาหรบั วชิ าชีพสถาปตั ยกรรมดว้ ยกจิ กรรมนันทนาการ เปน็ การวจิ ัยเชิงทดลอง (experimental research) แบบแผนการวิจัยแบบ one group pretest-posttest design โดยมีนกั เรียนระดบั ช้ัน ปวช.3/1 แผนกวชิ าช่างเทคนิคสถาปัตยกรรม วทิ ยาลยั เทคนิคสุราษฎร์ธานี ซึ่งลงทะเบียนเรยี นในรายวชิ า การออกแบบเขียนแบบสถาปตั ยกรรมภายใน 2 เปน็ กลุ่มตัวอย่าง จานวนท้ังสิ้น 26 คน โดยมีวัตถุประสงคเ์ พื่อ 1) เพ่อื เพ่มิ ศักยภาพในการจดจาคาศัพทภ์ าษาองั กฤษทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั วชิ าชีพของ นักศกึ ษาให้เพ่ิมมากขนึ้ 2) เพ่ือเพ่ิมศกั ยภาพดา้ นการสนทนาภาษาองั กฤษในชีวติ ประจาวันที่เก่ยี วข้องกบั วิชาชพี ให้เพ่มิ มากขน้ึ 3) เพ่ือใหน้ ักเรียนสามารถนาความรู้ท่ไี ด้ไปตอ่ ยอดและใช้ในการเรียนระดบั ทีส่ ูงข้ึนไป หรอื ในชีวิตประจาวันและการประกอบอาชีพได้ เน้ือหาท่ีใช้ในการวิจัย เป็นเน้ือหาสาระการเรียนรู้เก่ียวกับวิชาการออกแบบเขียนแบบสถาปัตยกรรม ภายใน 2 ซึ่งประกอบด้วย 6 หน่วย คือ 1) vocabulary for drawing ซ่ึงมีเน้ือหาเก่ียวกับคาศัพท์ท่ีจะต้องใช้ สาหรับเขียนแบบ เช่น plan/elevation/scale/furniture เป็นต้น 2) living room ซึ่งมีเน้ือหาเก่ียวกับ คาศัพท์สาหรับห้องน่ังเล่น เช่น sofa/coffee table/table เป็นต้น 3) dining room ซ่ึงมีเน้ือหาเกี่ยวกับ คาศพั ทส์ าหรับห้องรับประทานอาหาร เช่น dining table/dining chair/cupboard เป็นต้น 4) kitchen ซึ่งมี เนื้อหาเก่ียวกับคาศัพท์สาหรับห้องครัว เช่น stove/sink/hood เป็นต้น 5) bedroom ซึ่งมีเนื้อหาเก่ียวกับ คาศัพท์สาหรับห้องนอน เช่น bed/night table/wardrobe เป็นต้น 6) bathroom ซ่ึงมีเนื้อหาเกี่ยวกับ คาศัพทส์ าหรับห้องนา้ เช่น shower/basin/bathtub เปน็ ตน้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ การวิจัยเร่ืองการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพสถาปัตยกรรมด้วยกิจกรรมนันทนาการ วิชาการออกแบบเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2 ระดับชั้น ปวช.3/1 ผลปรากฏว่า การพัฒนาทักษะ ภาษาอังกฤษสาหรบั วชิ าชีพสถาปัตยกรรมดว้ ยกจิ กรรมนันทนาการ วิชาการออกแบบเขียนแบบสถาปัตยกรรม ภายใน 2 ระดบั ชน้ั ปวช.3/1 สง่ ผลใหน้ กั เรียนมผี ลการเรยี นรู้หลังเรยี นสูงกว่าก่อนเรยี นท้ัง 4 ทักษะ คือ ทักษะ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน พบว่าการสอนโดยใช้กิจกรรมนันทนาการทาให้ผู้เรียนมีผลการเรียน สูงข้ึน และทักษะที่นักเรียนคะแนนมากที่สุดคือ ทักษะการอ่าน การท่ีทักษะการอ่านสูงข้ึนน้ัน เป็นเพราะ กจิ กรรมนันทนาการมกี ารเสนอรูปแบบแปลกใหม่ น่าสนใจ ครูปฏบิ ตั ิพฤติกรรมต่าง ๆ ให้ดูเป็นตัวอย่าง ในการ ฝึกปฏิบัติจะมีครูคอยแนะนา มีการกาหนดเปูาหมาย ทบทวน กาหนดรูปแบบการจัดกิจกรรมในการสอน การ สื่อสาร ช่วยเหลือในการค้นคว้าข้อมูล ถ่ายโอนข้อมูล แลกเปล่ียนเรียนรู้ซ่ึงกันและกัน ท้ังน้ีเนื่องจากการที่ นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์ในการสื่อสารทางภาษา มีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนทาให้การเรียนรู้มีประสิทธิภาพมากข้ึน สอดคล้องกับรายงานการวิจัยของ ศุภชัย ไพศาลวัน (2548: บทคัดย่อ) ซ่ึงศึกษาการพัฒนากิจกรรมพัฒนา ผู้เรียนเพ่ือส่งเสริมทักษะการใช้ภาษาอังกฤษสาหรับนักเรียนช่วงช้ันท่ี 3 1) ผลการศึกษาข้อมูลพ้ืนฐานและ ความตอ้ งการ พบว่านักเรียนและบุคคลที่เก่ียวข้องต้องการพัฒนากิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อส่งเสริมทักษะการ ใช้ภาษาอังกฤษสาหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 โดยให้มีการจัดกิจกรรมที่ใช้เพลง เทป และจัดสถานการณ์สมมติ

เป็นกิจกรรมท่ีสนุกสนาน เน้นให้นักเรียนได้ใช้ทักษะภาษาอังกฤษ จัดเน้ือหาของกิจกรรมให้ตอบสนองความ ต้องการ ความถนัดและความสนใจของผู้เรียน ใช้วิธีวัดผลและประเมินผลโดยการสัมภาษณ์ และการพูดและ แบบสอบถาม ซึ่งความคิดเห็นต่อกิจกรรมนันทนาการของนักเรียนระดับ ปวช.3/1 พบว่าด้านที่ 1 บรรยากาศ ในการเรียนการสอน ผู้เรียนมีความคิดเห็นว่า ผู้เรียนมีความต้องการให้จัดกิจกรรมนันทนาการทุกรายวิชามาก ท่ีสุด มีระดับความคิดเห็นเฉล่ียรวมทุกด้านเท่ากับ ( x = 2.74) ซ่ึงถือว่านักเรียนมีความคิดเห็นต่อรูปแบบการ จดั กจิ กรรมนันทนาการอยู่ในระดบั เหน็ ด้วยมาก ซึ่งเปน็ ไปตามสมมตุ ฐิ านทีต่ ้งั ไว้

สารบญั หนา้ คานา......................................................................................................... ............. ก บทคัดยอ่ ............................................................................................................... ข บทที่ 1 บทนา 1 ความเปน็ มาและความสาคญั ของปญั หา.................................................... 1 วัตถุประสงค์ของการวิจยั ........................................................................... 1 ขอบเขตของการวิจัย.................................................................................. 2 สมมตฐิ านการวจิ ยั ......... .......................................................................... 2 นิยามศัพท์เฉพาะ....................................................................................... 3 ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั ....................................................................... 4 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ ก่ียวข้อง 5 6 หลักสตู รของวทิ ยาลัยเทคนคิ สรุ าษฎรธ์ านี................................................ 7 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี พุทธศักราช 2556................................ 17 หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี พทุ ธศักราช 2556 สาขาสถาปตั ยกรรม 21 ทกั ษะภาษาองั กฤษ.................................................................................... 27 กจิ กรรมการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ.................................................... แนวคิดทฤษฎที างดา้ นนันทนาการ............................................................ 31 งานวิจัยทีเ่ กยี่ วข้อง.................................................................................... 31 31 บทท่ี 3 วิธดี าเนินการวจิ ัย 32 32 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง....................................................................... 32 ตัวแปรทีศ่ ึกษา.......................................................................................... 32 เนอื้ หา....................................................................................................... 35 ระยะเวลาที่ใชใ้ นงานวจิ ัย.......................................................................... 37 แบบแผนการวิจัย...................................................................................... เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการวิจัย........................................................................... 39 ขนั้ ตอนในการสร้างและหาคุณภาพของเครื่องมือ..................................... การดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมขอ้ มูล........................................... การวเิ คราะห์ขอ้ มูล................................................................................... บทท่ี 4 ผลการวจิ ยั .............................................................................................

สารบัญ (ตอ่ ) หน้า บทท่ี 5 สรปุ และขอ้ เสนอแนะ 44 44 วตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั ........................................................................... 44 ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง.............................................................................. 44 สรปุ ผลการวิจยั .......................................................................................... 45 อภปิ รายผล................................................................................................ ขอ้ เสนอแนะ.............................................................................................. 47 บรรณานุกรม........................................................................................................... 50 ภาคผนวก.................................................................................. ............................... บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา จากการศึกษาแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 พบว่าทักษะด้านภาษาของแรงงานที่ ตอบสนองต่อความตอ้ งการของผ้ปู ระกอบการ ของประเทศไทยและด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มีแนวโน้มลดลง

จากข้อมลู ของ IMD พบว่า คะแนนการประเมินทักษะภาษาลดลงจาก 4.24 คะแนน (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) ในปี 2552 เหลือ 3.86 คะแนน ในปี 2559 ส่วนทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพิ่มข้ึนจาก 6.36 คะแนน (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) เป็น 6.42 คะแนน ในปี 2559 โดยแรงงานไทยมีทักษะด้านภาษาและ ทักษะด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศอยู่ในอันดับท่ี 52 และ 51 ในขณะท่ีสิงคโปร์อยู่ในอันดับท่ี 10 และ 9 มาเลเซียอันดับท่ี 26 และ 27 ตามลาดับ ซ่ึงมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาสถาปัตยกรรมได้ระบุสมรรถนะ หลักและสมรรถนะทั่วไปไว้ว่า จะต้องส่ือสารโดยใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในชีวิตประจาวันและใน งานอาชพี จากท่ีกล่าวมาเบื้องต้นพบว่าจะต้องร่วมกันสร้างนักเรียนที่มีทักษะด้านภาษาให้เ พ่ิมมากข้ึนเพื่อ ตอบสนองตลาดแรงงานท่ีต้องการคนท่มี คี วามรูค้ วามสามารถด้านภาษาให้เพิ่มมากข้นึ ด้วย รวมทั้งให้สอดคล้อง กับพันธกิจท่ี 2 ของวิทยาลัยท่ีต้องการสร้างเครือข่ายความร่วมมือการบริการวิชาการและวิชาชีพท้ังในและ ตา่ งประเทศ ดงั นน้ั ในการจดั การเรียนการสอนในรายวิชาการออกแบบเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน ซึ่งเป็น ส่วนหน่ึงของวิชาชีพท่ีนักเรียนนักศึกษาจะต้องจบออกไปและทางาน จักได้เพิ่มเน้ือหาและวิธีการสอนท่ี สอดแทรกภาษาอังกฤษให้มากขึ้นด้วย แต่ปัญหาที่พบคือ นักเรียนมักจะใช้คาศัพท์เฉพาะทางที่จะต้องระบุลงไปในแบบผิด ทั้งในการเขียน การออกเสียง และความเข้าใจ ดังนั้นผู้วิจัยจึงมีความต้องการที่จะช่วยพัฒนาทักษะด้านภาษาเกี่ยวกับวิชาชีพ ของนักเรยี นให้เพ่มิ มากขนึ้ เพ่ือใหส้ อดคล้องกับแผนการศกึ ษาแหง่ ชาตแิ ละมาตรฐานการศึกษาวชิ าชีพดว้ ย วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อเพิ่มศักยภาพในการจดจาคาศัพท์ภาษาองั กฤษท่ีเกี่ยวข้องกบั วิชาชพี ของนักศึกษาให้เพ่ิมมากข้นึ 2. เพอื่ เพ่ิมศักยภาพด้านการสนทนาภาษาอังกฤษในชวี ติ ประจาวนั ท่เี กยี่ วข้องกับวชิ าชพี ให้เพิม่ มากขนึ้ 3. เพื่อใหน้ ักเรยี นสามารถนาความรทู้ ี่ได้ไปต่อยอดและใช้ในการเรยี นระดบั ท่ีสูงขนึ้ ไปหรือในชีวติ ประจาวัน และการประกอบอาชพี ได้ ขอบเขตของการวิจัย 1. ขอบเขตด้านเน้ือหา ทาการวิจัยในเนื้อหาเร่ืองการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพ สถาปัตยกรรมด้วยกิจกรรมนันทนาการ วิชา การออกแบบเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2 ตามหลักสูตร ประกาศนยี บตั รวิชาชพี พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวชิ าสถาปตั ยกรรม 2. ประชากรของการวิจยั ครั้งนค้ี อื นักศกึ ษาระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ช้ันปีท่ี 3 แผนกวิชาช่าง เทคนิคสถาปัตยกรรม ของวิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี ท่ีลงทะเบียนเรียนวิชาการออกแบบเขียนแบบ สถาปัตยกรรม 2 ในภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 จานวน 47 คน 3. กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3/1 แผนกวิชาช่างเทคนิค สถาปตั ยกรรม ของวิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาการออกแบบเขียนแบบสถาปัตยกรรม 2 ในภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561 จานวน 26 คน 4. การวจิ ัยครง้ั นด้ี าเนนิ การในภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561

กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั การทาวิจัยช้ันเรียนเรื่อง การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพสถาปัตยกรรมด้วยกิจกรรม นันทนาการ วิชาการออกแบบเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2 ระดับช้ัน ปวช.3/1 ปีการศึกษา 2561 โดย แสดงเป็นแผนภูมกิ ารศกึ ษาวจิ ัยดงั นี้ ตัวแปรตน้ ตวั แปรตาม ทักษะภาษาองั กฤษ กจิ กรรมนันทนาการ - การฟงั - การพูด - การอา่ น - การเขยี น ความคิดเห็นของนกั เรียนท่ีมตี ่อ กิจกรรมนันทนาการ สมมติฐาน 1. การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพสถาปัตยกรรมด้วยกิจกรรมนันทนาการ จะช่วย พัฒนาทักษะด้านการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน ของนักเรียนที่เรียนวิชาการออกแบบเขียนแบบ สถาปัตยกรรมภายใน 2 สงู ขน้ึ กว่ากอ่ นใชก้ ิจกรรมนนั ทนาการ นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ 1. ทักษะด้านภาษาอังกฤษ หมายถึง ความชานาญในการพูดหรือเขียนภาษาอังกฤษเพ่ือสื่อ ความหมาย ทักษะภาษาอังกฤษมี 4 ทักษะ คือ ทักษะการฟัง ทักษะการพูด ทักษะการอ่านและทักษะการ เขยี น 1.1 ทักษะการฟัง (Listening Skill) หมายถึง การที่ผู้รับสารเข้าใจความหมายว่าผู้พูดพูด อะไรมีความหมายอย่างไร โดยใช้ประสบการณ์เดิมมีความสามารถในการแยกแยะ มีความเข้าใจการออกเสียง ไวยากรณ์ คาศพั ทข์ องผพู้ ูดพรอ้ มจบั ใจความ 1.2 ทกั ษะการพดู (Speaking Skill) หมายถงึ ความสามารถส่ือสารให้ผู้อ่ืนเข้าใจ ผู้พูดต้องมี ความรู้เร่ืองการออกเสยี งไวยากรณ์ การใชค้ าเหมาะสมกบั สังคมและวัฒนธรรม 1.3 ทักษะการอ่าน (Reading Skill) หมายถึง ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่าน เมื่ออ่าน แล้วมกี ารรบั ร้แู ละความเข้าใจเปน็ ความสามารถตามผู้เขียน ถ้าเปล่งเสียงออกเรียกว่า การอ่านออกเสียง ถ้าไม่ เปลง่ เสยี งเรียกวา่ การอา่ นในใจ 1.4 ทกั ษะการเขยี น(Writing Skill) หมายถึง ความสามารถในการถ่ายทอดความคิดเห็นของ ผู้เขยี น เปน็ คา เปน็ ประโยคทถ่ี กู ต้องตามหลกั ไวยากรณ์ 2. กิจกรรมนันทนาการ หมายถึง กิจกรรมท่ีโรงเรียนจัดให้บุคคลเข้าร่วมในช่ัวโมงกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน โดยไม่บังคับขึ้นอยู่กับความสนใจและประสบการณ์แต่ละบุคคล และเข้าร่วมด้วยความสมัครใจ มีผล

ก่อให้เกิดความสุขสนุกสนาน ได้รับความพึงพอใจจากการปฏิบัติกิจกรรมนั้น ๆ โดยกิจกรรมน้ันเป็นท่ียอมรับ จากสังคม ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะได้รับ 1. นกั เรียนสามารถจดจาคาศัพท์ภาษาองั กฤษทเี่ กยี่ วข้องกับวิชาชีพของนักศึกษาใหเ้ พ่ิมมากขน้ึ 2. นกั เรยี นสามารถสนทนาภาษาองั กฤษในชีวิตประจาวนั ทีเ่ กย่ี วข้องกบั วิชาชพี ใหเ้ พิ่มมากขน้ึ 3. นักเรียนสามารถนาความรู้ท่ีไดไ้ ปตอ่ ยอดและใชใ้ นการเรยี นระดบั ทส่ี งู ขน้ึ ไปหรือในชีวติ ประจาวนั และการประกอบอาชีพได้ บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ท่เี ก่ียวขอ้ ง การศกึ ษาเอกสาร และงานวจิ ัยทเี่ กี่ยวข้องกับการวจิ ยั ครงั้ น้ี ผ้วู จิ ยั ได้ศกึ ษารายละเอยี ดตา่ งๆ ดังน้ี 1. หลักสตู รของวทิ ยาลยั เทคนคิ สรุ าษฎรธ์ านี 2. หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พทุ ธศักราช 2556 3. หลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชพี ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม สาขาวชิ าสถาปัตยกรรม 3. ทักษะทางภาษาอังกฤษ 3.1 ทกั ษะการฟงั 3.2 ทักษะการพูด 3.3 ทักษะการอ่าน 3.4 ทกั ษะการเขียน 4. กิจกรรมการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ 4.1 การสอนภาษาอังกฤษสอดแทรกในรายวิชา 4.2 การสอนโดยการใชเ้ กมต่าง ๆ 4.3 การสอนโดยกจิ กรรมกลุ่ม 5. แนวคิดทฤษฎที างด้านนนั ทนาการ 5.1 ความหมายของนนั ทนาการ 5.2 ความสาคญั ของกิจกรรมนันทนาการ 5.3 ประเภทของกิจกรรมนันทนาการ 5.4 ประโยชนแ์ ละคณุ ค่าของนนั ทนาการ

6. งานวิจัยทเี่ ก่ียวขอ้ ง 6.1 งานวจิ ยั ในประเทศ 6.2 งานวจิ ัยต่างประเทศ 1. หลกั สูตรของวิทยาลัยเทคนคิ สุราษฎร์ธานี 1.1 ปรัชญาวิทยาลัยเทคนิคสรุ าษฎรธ์ านี คอื คดิ พูด ทา อย่างมเี หตุผล คดิ : อยา่ งมีเหตเุ ผล ในการดารงชพี ของมนษุ ย์ จะก้าวไปในทางถูกต้องสูค่ วามเจรญิ รงุ่ เรอื ง หรอื สู่ความตกตา่ หายนะ เริม่ จากความคิด ถ้าคิดถกู ย่อมเดินทางไปสคู่ วามกา้ วหน้า ถา้ คิดผิดย่อมตรงขา้ มอาจเดินถอยหลังหรือเดนิ หน้าสู่ ทางตนั และอนั ตราย พดู : อยา่ งมเี หตุเผล สบื เนือ่ งจากการคดิ นาไปส่กู ารแสดงออก คือ มีวาจาเป็นสุภาษิต กล่าวคือ สุภาพ จรงิ ใจ ไพเราะ พร้อมมเี มตตาและถูกต้องตามกาลเทศะ นาไปสู่ความมีสัมพนั ธ์อันดกี ับเพื่อนมนุษย์ ทา : อย่างมเี หตเุ ผล สบื เนือ่ งมาจากการคิด อนั เปรียบได้ดังหางเสือนาเรือไปสู่ทางที่ต้องการโดยไม่มีภัยอันตราย การคิด การพดู การทา จงึ มีความต่อเนื่องเปน็ เหตุเปน็ ผลแก่กนั บุคคลท่ีมีเหตุผลในการคดิ การพูด การกระทา ยอ่ มบรรลุจุดประสงค์สเู่ ปาู หมายทด่ี ีในชวี ิติอย่างแนน่ อน 1.2 นโยบาย ผลติ และพัฒนากาลังคนด้านวิชาชพี ตามความต้องการของทอ้ งถิน่ ประเทศ และเตรยี มกาลงั คนสู่ ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน 1.3 วสิ ัยทศั น์ วิทยาลัยเทคนคิ สรุ าษฎรธ์ านี มุง่ ผลิตและพฒั นากาลังคนดา้ นวชิ าชีพ ให้มคี ุณภาพไดม้ าตรฐานสากล โดยยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1.4 พันธกิจ พนั ธกิจท่ี 1 บรหิ ารจดั การสถานศกึ ษาเพื่อผลิตและพัฒนากาลงั คนดา้ นวิชาชพี ให้มีคุณภาพ พนั ธกิจท่ี 2 สร้างเครือข่ายความรว่ มมอื การบรกิ ารวิชาการและวชิ าชีพทงั้ ในและตา่ งประเทศ พันธกจิ ท่ี 3 ส่งเสรมิ และพฒั นางานวจิ ัย สิ่งประดษิ ฐ์ นวัตกรรม และเทคโนโลยีให้มคี ณุ ภาพระดบั สากล พนั ธกจิ ท่ี 4 พฒั นาผู้เรียนให้มีคุณภาพชวี ติ ตามหลักปรชั ญาและเศรษฐกิจพอเพียง 1.5 เปาู ประสงค์ 1.5.1 บริหารจดั การสถานศึกษาโดยยดึ หลักธรรมาภิบาล

1.5.2 ครแู ละบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะในการปฏบิ ัติหน้าท่อี ย่างมปี ระสิทธภิ าพ 1.5.3 ผู้สาเรจ็ การศกึ ษาวชิ าชีพมสี มรรถนะตามเจตนารมณ์ของหลักสูตร 1.5.4 มีความรว่ มมือด้านวชิ าการและวิชาชีพกับหน่วยงานองค์กรทงั้ ในและตา่ งประเทศ 1.5.5 มีผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม และเทคโนโลยีท่มี คี ณุ ภาพ 1.5.6 ผ้เู รยี นมีคณุ ภาพชีวิตที่ดีตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พทุ ธศกั ราช 2556 หลักการของหลักสตู ร 1) เป็นหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหลังมัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่าด้านวิชาชีพที่ สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ และประชาคมอาเซียนเพ่ือผลิต และพัฒนากาลังคนระดับฝีมือให้มีสมรรถนะ มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพสามารถประกอบ อาชีพไดต้ รงตามความตอ้ งการของสถานประกอบการและการประกอบอาชพี อสิ ระ 2) เป็นหลกั สูตรที่เปดิ โอกาสให้เลอื กเรยี นไดอ้ ย่างกวา้ งขวาง เน้นสมรรถนะเฉพาะด้านด้วยการปฏิบัติ จริง สามารถเลือกวิธีการเรียนตามศักยภาพและโอกาสของผู้เรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเทียบโอนผล การเรียน สะสมผลการเรียน เทียบความรู้และประสบการณ์จากแหล่งวิทยาการ สถานประกอบการและสถาน ประกอบอาชพี อสิ ระ 3) เป็นหลักสูตรที่สนับสนุนการประสานความร่วมมือในการจัดการศึกษาร่วมกันระหว่างหน่วยงาน และองค์กรทเี่ กี่ยวขอ้ งทัง้ ภาครฐั และเอกชน 4) เป็นหลักสูตรท่ีเปิดโอกาสให้สถานศึกษา สถานประกอบการ ชุมชนและท้องถ่ิน มีส่วนร่วมในการ พัฒนาหลักสูตรให้ตรงตามความต้องการและสอดคล้องกับสภาพยุทธศาสตร์ของภูมิภาค เพ่ือเพิ่มขีด ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ จดุ หมายของหลกั สตู ร 1) เพื่อให้มีความรู้ ทักษะและประสบการณ์ในงานอาชีพสอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพ สามารถนา ความรู้ ทักษะและประสบการณ์ในงานอาชีพไปปฏิบัติงานอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ เลือกวิธีการดารงชีวิต การประกอบอาชพี ได้อยา่ งเหมาะสมกับตน สร้างสรรค์ความเจรญิ ต่อชมุ ชน ทอ้ งถนิ่ และประเทศชาติ 2) เพ่ือให้เป็นผู้มีปัญญา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝุเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตและการ ประกอบอาชพี สามารถสร้างอาชีพ มที กั ษะในการจัดการและพัฒนาอาชีพให้ก้าวหนา้ อยเู่ สมอ 3) เพ่ือให้มีเจตนาท่ีดีต่ออาชีพ มีความม่ันใจและภาคภูมิใจในวิชาชีพที่เรียน รักงาน รักหน่วยงาน สามารถทางานเป็นหม่คู ณะได้ดี โดยมคี วามเคารพในสทิ ธิและหน้าที่ของตนเองและผ้อู ่นื 4) เพ่อื ใหเ้ ปน็ ผู้มพี ฤตกิ รรมทางสังคมที่ดงี าม ทง้ั ในการทางาน การอยรู่ ่วมกัน การตอ่ ต้านความรุนแรง และสารเสพติด มีวามรับผิดชอบต่อครอบครัว หน่วยงาน ท้องถิ่นและประเทศชาติ อุทิศตนเพื่อสังคม เข้าใจ และเห็นคุณคา่ ของศลิ ปวัฒนธรรม ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ มีจิตสานึกด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รู้จักใช้และ อนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสร้างสง่ิ แวดลอ้ มท่ีดี 5) เพื่อให้มีบุคลกิ ภาพทีด่ ี มีมนุษยสัมพันธ์ มีคุณธรรม จริยธรรม และวินัยในตนเอง มีสุขภาพอนามัย ทส่ี มบรู ณท์ ง้ั รา่ งกายและจิตใจ เหมาะสมกบั งานอาชีพ 6) เพือ่ ให้ตระหนกั และมสี ว่ นร่วมในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกจิ สังคม การเมืองของประเทศและโลก มี ความรักชาติ สานึกในความเป็นไทย เสียสละเพื่อส่วนรวม ดารงรักษาไว้ซึ่งความม่ันคงของชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เปน็ ประมขุ

3. หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี พทุ ธศักราช 2556 ประเภทวชิ าอุตสาหกรรม สาขาวิชา สถาปตั ยกรรม จดุ ประสงคส์ าขาวชิ า 1) เพอ่ื ใหม้ คี วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั ภาษา สังคมศึกษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา บรหิ ารและจัดการวชิ าชพี และเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการพฒั นาตนเองและวิชาชีพ 2) เพือ่ ใหม้ ีความเข้าใจหลักการในงานอาชพี สมั พนั ธ์ท่เี กย่ี วข้องกับการพัฒนาวิชาชีพสถาปัตยกรรมให้ ทนั ตอ่ เศรษฐกจิ สังคม และเทคโนโลยี 3) เพื่อให้มีความเขา้ ใจในหลักการและกระบวนการทางานในกลมุ่ งานพื้นฐานดา้ นสถาปัตยกรรม 4) เพอื่ ให้สามารถประกอบอาชีพชา่ งออกแบบ เขยี นแบบสถาปตั ยกรรมได้ 5) เพอ่ื ให้สามารถปฏบิ ัตงิ านสถาปตั ยกรรมในระดับผูป้ ฏิบัติการ ภายใตก้ ารควบคุมของสถาปนกิ 6) เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานด้านสถาปัตยกรรมในสถานประกอบการ และประกอบอาชีพอิสระ รวมทง้ั การใชค้ วามรู้ และทกั ษะเปน็ พนื้ ฐานในการศกึ ษาตอ่ ในระดับสงู ขน้ึ ได้ 7) เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ซ่ือสัตย์สุจริต มีระเบียบวินัย เป็นผู้มี ความรบั ผิดชอบตอ่ สังคมสิง่ แวดล้อม ต่อต้านความรุนแรงและสารเสพตดิ มาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ คณุ ภาพของผู้สาเรจ็ การศึกษาระดับคุณวุฒกิ ารศึกษาประกาศนียบตั รวิชาชีพ ประเภทวชิ า อุตสาหกรรม สาขาวิชาสถาปัตยกรรม ประกอบด้วย 1. ด้านคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ 1.1 คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ได้แก่ ความเสียสละ ความซื่อสัตย์สุจริต ความกตัญญูกตเวที ความอดกล้ัน การละเว้นส่ิงเสพติดและการพนัน การมีจิตสานึกและเจตคติท่ีดีต่อวิชาชีพ และสังคม เป็นตน้ 1.2 พฤติกรรมลักษณะนิสัย ได้แก่ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ การมีมนุษยสัมพันธ์ ความ เชือ่ มัน่ ในตนเอง ความรักสามคั คี ความขยนั ประหยดั อดทน การพึ่งตนเอง เป็นต้น 1.3 ทักษะทางปัญญา ได้แก่ ความรู้ในหลักทฤษฎี ความสนใจใฝุรู้ ความคิดสร้างสรรค์ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ เปน็ ต้น 2. ดา้ นสมรรถนะหลกั และสมรรถนะท่ัวไป 2.1 สื่อสารโดยใชภ้ าษาไทยและภาษาตา่ งประเทศในชวี ิตประจาวันและในงานอาชีพ 2.2 แก้ไขปัญหาในงานอาชีพโดยใช้หลักการและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ คณติ ศาสตร์ 2.3 ปฏิบัติตนตามหลักศาสนา วัฒนธรรม ค่านิยมคุณธรรม จริยธรรมทางสังคม และสิทธิ หนา้ ท่พี ลเมือง 2.4 พัฒนาบุคลิกภาพและสุขอนามัยโดยใช้หลักการและกระบวนการด้านสุขศึกษาและพล ศกึ ษา 3. ดา้ นสมรรถนะวชิ าชพี 3.1 วางแผน ดาเนินงาน จัดการงานอาชีพตามหลักการและกระบวนการ โดยคานึงถึงการ บริหารงานคุณภาพ การอนรุ ักษท์ รัพยากรและสงิ่ แวดล้อม หลกั อาชีวอนามยั และความปลอดภัย 3.2 ใชค้ อมพิวเตอร์และสารสนเทศเพือ่ งานอาชีพ

3.3 ปฏบิ ตั ิงานพน้ื ฐานอาชพี ตามหลกั และกระบวนการ 3.4 ออกแบบอาคารพกั อาศยั 3.5 อ่านแบบ เขียนแบบกอ่ สร้างอาคารพกั อาศยั 3.6 เขียนแบบกอ่ สรา้ งด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3.7 เขยี นทัศนียภาพและตกแตง่ แบบสถาปตั ยกรรม 3.8 ทาหุน่ จาลองอาคาร 3.9 ประมาณราคาอาคารพักอาศัย 4. ทักษะทางภาษาองั กฤษ 4.1 ทักษะการฟงั ทักษะการฟังเป็นทักษะท่ีใช้กันมากและเป็นทักษะแรกท่ีต้องทาการสอน เพราะผู้พูดจะต้อง เขา้ ใจเสียก่อนจึงจะสามารถโต้ตอบได้ ทักษะการฟังจึงเป็นทักษะพื้นฐานในการเรียนรู้ทักษะอื่น ดังนั้น ในการ เรยี นจงึ ควรไดร้ ับการฝึกฝนทกั ษะการฟังอย่างเพยี งพอ และจริงจัง (สมุ ิตรา องั วัฒนกลุ , 2537 : 159) ซึ่งในการ สอนทักษะการฟังน้ันครูผู้สอนจาเป็นจะต้องต้ังจุดสงค์การสอนว่าต้องการให้ผู้ฟังได้อะไรจากการฟัง ให้ผู้เรียน เห็นความสาคัญของการฟังและชี้แนะการฟังที่ดี นักการศึกษาหลายท่านได้ให้ความหมายของ การฟังไว้ หลากหลาย เช่น วิดโดว์สัน (Widdowson, 1983 : 59-60) ได้กล่าวถึงความแตกต่างระหว่างคาว่าการฟังกับ การได้ยินไว้ดังน้ี คือ การฟัง (listening) หมายถึง ความสามารถที่จะเข้าใจว่าประโยคหนึ่งสัมพันธ์กับประโยค อื่น ๆ ที่พูดไปแล้วอย่างไร และเข้าใจว่าประโยคดังกล่าวมีหน้าที่อย่างไรในการส่ือสาร อีกนัยหนึ่ง คือ การฟัง หมายถงึ ความสามารถทผ่ี เู้ รียนเข้าใจวา่ ประโยคทีไ่ ด้ฟังเกี่ยวขอ้ งกบั ส่ิงทไี่ ด้พดู ไปแลว้ อย่างมีหน้าท่ีในการส่ือสาร อย่างไร ซึง่ ผู้ฟังจะเลอื กฟงั สงิ่ ที่เกยี่ วขอ้ งกบั สิ่งท่ีไดพ้ ูดไปแลว้ อย่างมหี น้าท่ีในการส่ือสารอย่างไร ซ่ึงผู้ฟังจะเลือก ฟังที่จะได้ยนิ หน่วยย่อยของภาษาในรูปของเสียงและอาศัยความรู้ด้านระบบเสียง ไวยากรณ์ของภาษา ผู้ฟังจะ นาหนว่ ยย่อยของภาษามาผกู เข้าดว้ ยกันเปน็ ประโยค แลว้ ทาความเขา้ ใจความหมายของประโยคนัน้ รเิ วอร์ (Rivers, 1980 : 16) ใหค้ วามหมายของการฟงั ไว้วา่ การฟังเป็นทักษะเชิงสร้างสรรค์ (creative skill) การทาความเข้าใจคาพูด ผู้ฟังจะรับเอาคาพูดท่ีผู้พูดเปล่งออกมาอย่างมีความหมายแล้วนามาแปลเป็น ความหมาย ซึ่งบางคร้ังความหมายที่แปลอาจจะไม่ตรงกับความหมายท่ีผู้พูดพูดออกมาก็ได้ ทั้งน้ีเนื่องจากผู้พูด ไม่ชินตอ่ ภาษาและวัฒนธรรมของผ้พู ดู บสั บี และเมเจอร์ (Busby and Majors, 1987 : 25) กล่าววา่ การฟังหมายถึงกระบวนการรับรู้การให้ ความสนใจและการแปลความหมายของสิ่งที่มากระทบโสตสัมผัส เป็นการรับรู้ส่ิงเร้าโดยตั้งใจแล้วนามา วิเคราะห์ เนื้อหาสาระและแหล่งที่มาของสิ่งเร้าโดยใช้ประสบการณ์ท่ีมีอยู่ทาความเข้าใจส่ิงเร้านั้น ๆ การฟังมี ความแตกต่างกับการได้ยิน กล่าวคือ การฟังเป็นการรับสิ่งเร้าที่มากระทบโสตสัมผัสโดยตั้งใจ แต่การได้ยินน้ัน เปน็ กระบวนการท่ีเกดิ ข้นึ โดยไม่ไดต้ ง้ั ใจ แครชเชน (Krashen, 1983 : 79-89) ได้ให้ความหมายของการฟังไว้ว่า การฟังน้ันหมายถึงการให้ ปัจจัยปูอนเขา้ ทม่ี คี วามหมายแกผ่ ู้ฟัง อยา่ บังคับให้นักเรียนพูดภาษาท่ีสองหรือภาษาเปูาหมาย จนกว่านักเรียน หรือผู้ฟงั จะไดม้ โี อกาสรับรู้ภาษาพอสมควร วิธกี ารหลายอย่างที่จะช่วยให้นักเรียนหรือผู้ฟังได้รับปัจจัยปูอนเข้า ที่มีความหมาย เช่น วิธีการที่เรียนกว่า Total Physical Response Method (T.P.R.M.) ของแอชเชอร์น่ันคือ ครูใช้คาสั่งกับนักเรียนให้นักเรียนแสดงหรือปฏิบัติตามในส่ิงที่ครูพูด โดยนักเรียนจะไม่ถูกบังคับให้พูดภาษาท่ี สองหรือภาษาเปาู หมาย จนกวา่ นักเรียนจะเข้าใจในสิ่งที่ครูพูด นักการศึกษาหลายท่านได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับ การฟังไว้ดงั นี้

พอลตัน และบรูเดอร์ (Paulton and Bruder, 1976 : 129-130) ได้พูดถึงหลักการสอนฟังเพื่อให้ นักเรียนเขา้ ใจสิง่ ที่ฟังได้ดขี ้นึ ดงั นี้ 1) การฟังจะต้องมีจุดประสงค์หรือเปูาหมายอย่างแน่นอนและจุดประสงค์นั้นจะต้องสอดคล้องกับ หลักสูตร ซึ่งท้งั ครูและนกั เรยี นจะตอ้ งทราบส่งิ ทีจ่ ะฟงั นัน้ คืออะไร 2) การสอนฟงั เพ่อื ความเขา้ ใจนนั้ ควรจะเกดิ ขน้ึ ทลี ะขั้นตอนอยา่ งรอบคอย นั่นคือครูจะต้องมีการวาง แผนการสอนเป็นอยา่ งดี การสอนจะตอ้ งเร่ิมจากงา่ ยไปหายาก 3) การสอนเพื่อความเข้าใจนั้น ตัวหนักเรียนจะต้องมีความตื่นตัวในการร่วมกิจกรรมการฟัง ถ้านักร เรียนตั้งใจฟังก็จะสามารถโอนส่ิงท่ีได้จากการฟังไปสู่ทักษะอ่ืน ๆ ได้ และครูจะต้องให้ข้อมูลย้อนกลับทุกคร้ังท่ี นกั เรียนส่งงาน หรอื ผลิตภาษาอื่นอนั เน่อื งมาจากการฟงั เพราะจะชว่ ยให้นักเรียนมีความสนใจในทักษะการฟัง ตลอดไป 4) การฟังเพื่อความเข้าใจครูควนจะให้ความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับเร่ืองที่จะฟังเสียก่อน เช่น อาจจะให้ นักเรียนเขียนเร่ืองนั้นมาก่อน หรือไปค้นหาเก่ียวกับหัวข้อน้ัน ๆ มาล่วงหน้าก่อนการฟังซึ่งสิ่งเหล่าน้ีจะช่วยให้ นกั เรยี นมีความคุน้ เคย และสามารถจาเรอ่ื งทฟ่ี งั ได้ดีขึ้น 5) ทักษะการฟังเป็นทักษะรับสาร การท่ีนักเรียนจะมีความสามารถในทักษะการฟังที่ดีนั้น นักเรียน จะต้องได้รบั การฝึกให้สามารถจาเรื่องราว และสามารถพูดโต้ตอบได้ทันที ดังน้ันในการฟังจะต้องมีการฟัง การ คดิ และการจดจาควบคู่กันไปด้วยเสมอ 6) ครจู ะตอ้ งจาเสมอว่าบทเรียนที่ใชฝ้ กึ ทักษะการฟังนั้นเปน็ สว่ นหน่ึงของการฟังไม่ใช่การทดสอย เม่ือ นักเรียนได้ทาแบบฝึกหัดเสร็จควรจะได้มีการตรวจแก้ไข เพื่อให้ทราบว่านักเรียนสามารถฟังได้ดี และมีการ พฒั นาก้าวหนา้ เป็นลาดบั อย่างไร ไม่ควรตัดสนิ ได้หรือตก การพัฒนาทักษะการฟังลักษณะนี้ อาจจะให้นักเรียน ฟังบทเรียนการฟังในห้องปฏิบัติการทางภาษาด้วยตนเองหรือจัดมุมให้นักเรียนฟังบทเรียนที่ครูเตรียมอุปกรณ์ การฟงั ไว้ เมอ่ื ทาเสรจ็ กส็ ามารถตรวจคาตอบได้ทนั ที หลักและข้ันตอนการสอนการฟัง ลักษณะการฟังภาษาอังกฤษในแนวสื่อสารน้ันมักข้ึนอยู่กับ จุดประสงค์การสอนทกั ษะการฟัง เน้ือหาท่ใี ช้ในการสอนและกิจกรรมที่จัดข้ึนนั้นควรเป็นเนื้อหาและกิจกรรมที่ เร้าความสนใจของผู้เรียน นอกจากน้ีควรเป็นกิจกรรมที่ตรงกับความต้องการและความสนใจของผู้เรียนเพ่ือ สามารถนาไปใช้ได้จรงิ ทั้งในและนอกชนั้ เรยี น ริชาร์ด (Richard, 1987 : 204-205) ให้ความเห็นว่าในการสอนทักษะการฟังโดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ ผู้เรียนมีโอกาสเรียนรู้ทักษะย่อยในการฟัง และการสอนทักษะการฟังสามารถผสมผสานทั้งข้อมูลทางภาษา (input) และภาระงาน (task) ซ่ึงข้อมูลทางภาษาอาจเป็นบทสนทนาหรือการบรรยายโดยเจา้ ของภาษาหรือไม่ก็ ได้ ส่วนภาระงานนั้นข้ึนอยู่กับความต้องการหรือวัตถุประสงค์ว่าต้องการให้ผู้เรียนได้อะไรจากการฟัง เช่น ฟัง เพื่อให้เข้าใจส่ิงท่ีฟังท้ังหมด หรือเข้าใจเร่ืองท่ีฟังเพียงบางส่วนตามที่ผู้เรียนต้องการ ริชาร์ด ยังกล่าวอีกว่า เกณฑ์การเลือกและประเมินผลภาระงานไม่ใช่ความน่าสนใจหรือความแปลกใหม่ของภาระงาน แต่เป็น ความสัมพนั ธ์ระหว่างภาระงานกับการสอน รชิ ารด์ ได้เสนอลักษณะกจิ กรรมการฟังไว้ดังนี้ 1) การจับคู่ หรือจาแนกความแตกต่าง (matching or distinguishing) เช่น การเลือกคาตอบ หรือ รปู ภาพใหส้ ัมพันธก์ บั ส่ิงท่ไี ด้ยิน 2) การโอนถ่าย (transferring) เป็นการฟังแล้วถ่ายโอนข้อมูลออกมาเป็นอีกลักษณะหน่ึง เช่น ฟัง โทรศพั ท์แลว้ บันทกึ ข้อมลู 3) การจดบนั ทึก (transcribing) เช่น ฟงั แลว้ เขียนตามคาบอก 4) การหาข้อมลู เฉพาะอย่าง (scanning)

5) การขยายความ (extending) เชน่ ฟังเร่อื งราวแลว้ เติมตอนจบของเร่ือง 6) การสรุปยอ่ (condensing) เช่น การฟงั คาบรรยายแล้วสรุปประเดน็ สาคัญ 7) การตอบคาถาม (answering) เชน่ ฟงั แลว้ ตอบคาถามในรายละเอยี ดของส่ิงท่ฟี ัง 8) การคาดการณ์หรือการทานาย (predicting or guessing) เช่น ฟังแล้วคาดการณ์หรือทานาย ผลลพั ธ์ หาสาเหตุหรือความสัมพนั ธ์ อันเดอร์วูด (Underwood, 1989 : 113) กล่าวว่า ผู้สอนควรม่ันใจว่าบทเรียนลักษณะการฟังนั้น ดาเนินไปตามลาดบั ขน้ั และไดเ้ สนอลกั ษณะกจิ กรรมการฟังในแตล่ ะข้ันของการสอนฟงั ไว้ดังน้ี 1) กิจกรรมในขั้นกอ่ นการฟัง เชน่ ดภู าพแลว้ พูดเก่ยี วกับภาพน้นั เขยี นรายการ/ขอ้ แนะนา อ่านเน้อื หาที่ฟงั อา่ นคาถามท่ีเก่ียวกบั เน้อื เรื่องทจ่ี ะฟัง ทบทวนบทเรยี นทผ่ี า่ นมา สอนคาศพั ท์และโครงสรา้ งสาคัญ การอภิปรายเก่ียวกับเร่อื งท่จี ะไดฟ้ งั ฟังบทนาเรื่อง 2) กจิ กรรมในขนั้ ขณะฟงั เช่น ตรวจสอบส่ิงที่ฟังกบั รูปภาพ จบั คูร่ ูปภาพกับสงิ่ ทฟ่ี ัง จดั ลาดับรปู ภาพตามเรอื่ งทฟ่ี ัง แสดงท่าทางตามสงิ่ ทฟ่ี ัง ปฏบิ ตั ิตามขน้ั ตอน หรอื จัดรายการตามสงิ่ ทฟ่ี งั เติมคาลงในช่องวา่ ง หาสิ่งทีผ่ ิด หรือแตกต่างจากการฟงั ตอบคาถาม เตมิ ขอ้ ความสน้ั ๆ กรอกขอ้ มูลลงในแบบฟอรม์ 3) กจิ กรรมในขั้นหลงั การฟัง เชน่ เตมิ รปู ภาพ / ตารางให้สมบรู ณ์ อธบิ ายรายการเพมิ่ เติม จัดกลมุ่ / ระดบั หรือประเภทของสงิ่ ของ จับคสู่ ิ่งทฟี่ งั กับเนอ้ื หา สรปุ เรื่องทีฟ่ งั แก้ปญั หาโดยใชข้ อ้ มลู ทไี่ ด้จากการฟงั เรียบเรยี งเนอื้ หาใหต้ ่อเนื่อง แยกแยะความสมั พันธ์ของผู้พูด แสดงบทบาทสมมติ / สถานการณจ์ าลอง จากแนวคิดต่าง ๆ จะเห็นว่าการสอนทักษะการฟังภาษาอังกฤษและจัดกิจกรรมการฟังน้ันสามารถ สรปุ ได้ 3 ขั้นตอน คือ กจิ กรรมในข้นั กอ่ นการฟัง กจิ กรรมในข้นั ขณะฟัง และกจิ กรรมในขนั้ หลงั การฟัง

ตามธรรมชาติการใช้ภาษานั้น ทักษะการฟังและทักษะการพูดเป็นทักษะที่ใช้คู่กันฉะนั้นการแยก แบบทดสอบการฟังออกจากทักษะการพูดจึงดูเป็นการฝืนธรรมชาติแต่อย่างไรก็ตามผู้ฟังมีโอกาสท่ีจะต้องใช้ ทักษะการฟงั เพียงอย่างเดียว เชน่ การฟังวิทยุ การฟังคาบรรยาย การฟังประกาศต่าง ๆ เป็นต้น และเนื่องจาก ทักษะการฟังเป็นทักษะรับสารเช่นเดียวกับทักษะการอ่าน การสร้างแบบทดสอบของท้ังสองทักษะน้ีจึงมีความ คลา้ ยคลงึ กัน (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2545 ซ 71-73) ประเภทของแบบทดสอบการฟัง 1) แบบเลือกตอบ (multiple choice, true/false) 2) การตอบคาถามแบบสนั้ (short answer) 3) การถ่ายโอนข้อมูลที่ได้จากการฟังในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การเติมคา หรือข้อมูลในแผนภูมิรูปภาพ การเตมิ คาลงในแบบฟอร์ม การลากเส้นแสดงทิศทางท่ไี ด้จากการฟงั เปน็ ตน้ 4) การจดบันทกึ ขอ้ ความ (note-taking) 5) การเขียนตามคาบอกเฉพาะบางส่วน หรือเฉพาะคาที่เว้นไว้ (partial or cloze dictation) 4.2 ทักษะการพดู การจัดกิจกรรมทักษะการพูดเพ่ือการสื่อสารน้ันได้มีนักการศึกษาและนักภาษาศาสตร์เสนอ แนวการจดั กิจกรรมการสอนไวห้ ลายทา่ น ดงั ตอ่ ไปนี้ แวลเล็ท (Valetta, 1977 : 120) ได้กล่าวว่า การพูดมิได้เป็นแค่เพียงการออกเสียงเป็นคาพูดและการ ออกเสียงสูง-ต่าในประโยคเท่าน้ัน ในระดับหน้าที่ (function level) การพูดเป็นการทาให้ผู้อื่นเข้าใจสิ่งที่เรา พูดออกไป ส่วนในระดับสูงข้ึนไป คือ ในระดับกล่ันกรอง (refine level) การพูดจะต้องมีการเลือกใช้สานวน ภาษาให้ถกู ตอ้ งเหมาะสมกับความนิยมและเปน็ ท่ียอมรบั ของเจ้าของภาษา แฮริส (Harris, 1974 : 81-82) ได้กล่าวว่า จุดมุ่งหมายโดยทั่วไป เรามุ่งหวังให้ผู้เรียน มีความสามารถ ในการส่ือสาร โดยการใช้ภาษาอย่างทางการ (formal) สามารถพูดเก่ียวกับชีวิตประจาวันถูกต้อง และ คล่องแคลว่ ซ่ึงจะไมท่ าให้ผฟู้ ังรู้สกึ อดึ อัดหรือเบื่อหน่าย พอลสตัน (Paukston, 1988 : 57) ได้กล่าวว่า ความสามารถในการพูดเพื่อส่ือสารมิได้เป็นเพียงการมี ปฏสิ ัมพนั ธท์ างภาษาเท่านนั้ แต่ถ้าหากจะสื่อสารอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ผ้พู ูดจะต้องมีการแลกเปลี่ยนความหมาย ของภาษาดา้ นสังคมด้วย นนั่ คือ จะต้องใช้ภาษาตามกฎเกณฑ์ทางสังคมแต่ละสังคม ย่ิงกว่านน้ันการพูดส่ือสาร ยังรวมไปถงึ พฤติกรรมทีไ่ มใ่ ช่คาพูดด้วย (nonverbal-begavior) ฟินอกเชียโร และบรัมฟิต (Finocchaiaro and Brumfit, 1983 : 141) ได้เสนอแนะกิจกรรมการสอน ทักษะการพูด ซึ่งผเู้ รยี นสามารถเลือกใชใ้ ห้เหมาะสมกับผูเ้ รยี นแตล่ ะระดบั ไวด้ ังนี้ 1) ให้ตอบคาถามซ่งึ ครหู รือเพื่อนในชนั้ เปน็ ผู้ถาม 2) บอกใหเ้ พ่อื นทาตามคาสงั่ 3) ให้นักเรียนถาม หรือตอบคาถามของเพื่อนนักเรียนในช้ันเก่ียวกับช้ันเรียน หรือ ประสบการณต์ า่ ง ๆ นอกชน้ั เรียน 4) ให้บอกลกั ษณะวัตถุ สิ่งของตา่ ง ๆ จากภาพ 5) ให้เล่าประสบการณ์ตา่ ง ๆ ของนักเรียน โดยครูอาจใหค้ าสาคัญตา่ ง ๆ 6) ใหร้ ายงานเร่อื งราวต่าง ๆ ตามทก่ี าหนดหัวขอ้ ให้ 7) จัดสถานการณ์ต่าง ๆ ในชั้นเรียนเพ่ือใช้ในบทสนทนา เช่น ร้านขายของ และร้านอาหาร ธนาคาร เป็นต้น

8) ให้เลน่ เกมต่าง ๆ ในภาษา 9) ใหโ้ ต้วาที อภิปราย แสดงความคดิ เห็นในหัวขอ้ ต่าง ๆ 10) ให้ฝึกการสนทนาทางโทรศัพท์ 11) ใหอ้ ่านหนงั สือพมิ พ์ไทย แล้วรายงานเปน็ ภาษาอังกฤษ 12) ให้แสดงบทบาทสมมติ เสาวลกั ษณ์ รตั นิชช์ (2531 : 77) ไดก้ ลา่ วถึงการพฒั นาทักษะการพูดวา่ หลังจากผู้เรียนมีประสบการณ์ ในการฟังมากพอ ผู้สอนควรหากิจกรรมต่าง ๆ ท่ีจะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนพูดจริง ๆ ในชั้น ซึ่งอาจจะเป็นการพูด ตามอย่างท่ีเคยได้ยินหรือพูดอย่างอิสระ ผู้เรียนควรได้รับการสนับสนุนให้มีโอกาสแสดงความคิดเห็นของตน ออกมาเป็นคาพูด และควรพูดเก่ียวกับเร่ืองท่ีผู้เรียนได้ฟังมาก่อนเพราะจะทาให้ผู้เรียนพูดได้อย่างม่ันใจและ เป็นธรรมชาติ ความคิดรวบยอดที่ผู้เรียนพัฒนามาจากการฟัง พร้องท้ังเสียงต่าง ๆ ท่ีได้ยิน เมื่อผู้เรียนพร้อมที่ จะพูดผู้เรียนยอ่ มพดู ได้อยา่ งเข้าใจความหมาย และส่ือความหมายไดถ้ กู ต้อง หน้าทีข่ องผสู้ อนในการชว่ ยผเู้ รียนพฒั นาทกั ษะการพูดมี 2 ประการคอื 1) ผสู้ อนจะเป็นผู้ตัดสนิ และแก้ไขขอ้ บกพรอ่ งในการใช้ภาษาของผเู้ รยี น 2) ผูส้ อนจะทาหนา้ ที่เปน็ ผชู้ ่วยสนบั สนนุ และทบทวนการพูดของผู้เรียน และมีส่วนร่วมในการพูดของ นกั เรยี นเสมอ องค์ประกอบของทกั ษะการพูด ไดแ้ ก่ 1) การออกเสียง (pronunciation) ซ่ึงหมายถึง การออกเสียงสระ (vowel sounds) เสียงพยัญชนะ (consonant) การเน้นเสียง (stress) การออกเสียงสูง-ต่าในประโยค (intonation) การเชื่อเสียงหรือการโยง เสียง (linking or blending) และรวมทั้งการหยุด (pause) ระหว่างกลุ่มของเสียงหรือของคาท่ีเรียกว่า juncture 2) โครงสรา้ งไวยากรณ์ (grammar) คือ กฎการเปลยี่ นรปู แบบของคาหรือการรวมคาให้เป็นประโยค 3) คาศพั ท์ (vocabulary) คือ คาภาษาอังกฤษชนิดตา่ ง ๆ ทผ่ี ูเ้ รียนควรเรยี นรูแ้ ละใชไ้ ด้ถกู ต้อง 4) ความคลอ่ งแคลว่ ในการพูด (fluency) คอื ความสามรถท่จี ะพูดภาษาไดด้ ีมาก 5) ความเข้าใจ (comprehension) ซึ่งหมายถึง ปริมาณและคุณภาพของความของใจของผู้ฟังตาม คาพูดซ่งึ พูดออกไป (Harris, 1974 : 81-82) การวัดผลและประเมนิ ผลการพดู การวัดผลการพูด เป็นการวัดความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนซึ่งฮีทตัน (Heaton, 1990 : 59-67) ไดก้ ล่าวถึงการวัดผลการพดู ไว้ดังตอ่ ไปนี้ 1) การออกเสยี ง (pronunciation) นกั เรียนสามารถออกเสียงคาคาเดียว หรือคาหลายคาในประโยค โดยการอา่ นดัง ๆ ได้ถกู ตอ้ ง 2) การตอบคาถามตา่ ง ๆ ตามหนา้ ท่ีของภาษา (functions) 3) ใช้มาตราสว่ นประมาณคา่ (rating scale) ในการใหค้ ะแนน กล่าวโดยสรุปได้ว่า ทักษะการพูดเป็นการใช้ภาษาเพื่อสื่อความหมายด้วยคาพูดในรูปของการส่งสาร เป็นพฤติกรรมการแสดงออกท่ีควรจะทดสอบวัดความสามารถภาคปฏิบัติด้วย แบบทดสอบวัดตวง (direct test) ที่วัดสภาพที่แท้จริงของการใช้ภาษาโดยตรง สามารถทดสอบได้หลายวิธี ส่วนการประเมินผลทักษะการ พูดมีนักการศกึ ษาหลายท่านแบง่ องคป์ ระกอบการพดู ไว้ดังนี้ ตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ (อ้างถึงใน English Is Fun เล่ม 4, 2526 : 183) ได้กาหนดเกณฑ์ การใหค้ ะแนนการพดู ไวด้ งั น้ี

1) ใช้ภาษาถกู ต้องตามสถานการณ์ทกี่ าหนด 2) พูดถูกตอ้ งชดั เจน 3) ใชล้ ลี าและระดับเสียงถกู ตอ้ ง 4) เข้าใจคาถาม และโต้ตอบได้ถกู ตอ้ ง จะเหน็ วา่ การกาหนดเกณฑ์การพูดจะให้ความสาคัญทั้งด้านความถูกต้อง (accuracy) และความคล่อง (fluency) ในการใช้ภาษา การวดั และประเมนิ ผลทกั ษะการพดู ภาษาอังกฤษ สามารถวัดได้โดยใช้รูปแบบการวัด แบบทดสอบวัด ตรงตัว (direct tests) แบบวัดอ้อม (indirect tests) และแบบวัดก่ึงกลาง (semi direct tests) หรือเกณฑ์ จากหนงั สอื modern language testing ของแวลเล็ท (Valeta, 1976 : 82-82 อ้างถึงใน สมร ปาโท, 2545 : 26) โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนด้านสาเนียง ด้านไวยากรณ์ ด้านคาศัพท์ ด้านความคล่องแคล่วในการใช้ภาษา ดา้ นความเขา้ ใจ ซึ่งแต่ละด้านแบ่งออกเป็น 6 ระดบั เช่น ระดบั ที่ 1 ออกเสยี งในลักษณะที่ไม่สามารถเขา้ ใจได้ ระดับท่ี 2 มรี อ่ งรอยสาเนยี งต่างชาติ ออกเสียงผดิ บางครั้งแต่ไม่ทาใหเ้ ข้าใจผดิ ระดบั ที่ 3 ใชไ้ วยากรณไ์ มถ่ กู ตอ้ ง ยกเว้นวลีทเ่ี ตรียมไว้ลว่ งหนา้ ระดับท่ี 4 มีคาศัพทไ์ มเ่ พยี งพอต่อบทสนทนางา่ ย ๆ ระดับท่ี 5 การพูดชา้ มาก และไม่สม่าเสมอ ยกเว้นประโยคทพ่ี ูดทุกวนั ระดบั ที่ 6 เข้าใจไดเ้ พียงเล็กนอ้ ย ในสถานการณ์ธรรมดาทีส่ ดุ กล่าวโดยสรุป ผูเ้ ชี่ยวชาญการสอนภาษาได้เสนอแนวคิดการสอนทักษะการพูดว่าควรเร่ิมจาก 1) การ นาเสนอความรู้ทางภาษา ในข้ันนี้จะเป็นการให้ผู้เรียนมีความรู้ในตัวภาษาซึ่งก่อให้เกิดความถูกต้องในการใช้ ภาษา และจะช่วยให้เกิดความคล่องตัวในการส่ือสาร 2) ขั้นการฝึกหัด ในข้ันน้ีครูเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกใช้ โครงสร้างทางภาษาที่เรียนมาโดยรูปแบบการฝึกน้ันเป็นการฝึกแบบควบคุม และยังคงจากัดอยู่กับโครงสร้าง ภาษาที่นาเสนอ และ 3) การนาภาษาไปใช้ ในข้ันน้ีเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกใช้ภาษาในสถานการณ์ที่ สมจริง ผเู้ รยี นมีโอกาสได้ใช้ภาษาในการปฏสิ ัมพันธ์ได้อยา่ งอสิ ระ และสนองความตอ้ งการของแต่ละบุคคล 4.3 ทักษะการอา่ น ความหมายของการอา่ น การอ่านเป็นกระบวนการใชค้ วามคิดเพือ่ ทาความเขา้ ใจความหมายของสิ่งท่ีอ่าน การท่ีจะอ่าน ข้อความ เน้ือเร่ืองต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น ต้องอาศัยองค์ประกอบหลายประการ เช่น ความรู้ ความสามารถทางภาษา และประสบการณ์เดิม เป็นต้น นักจิตวิทยาและนักการศึกษาได้ให้ความหมายของการ อา่ นไวด้ ังนี้ เสาวลักษณ์ รัตนวิชช์ (2531 : 84) ได้ให้ความหมายของการอ่านไว้ว่า การอ่าน หมายถึง การสร้าง ความหมายจากสัญลักษณ์โดยผ่านกระบวนการทางความคิด และยังเป็นการะบวนการของการปฏิสัมพันธ์ ระหว่างผู้อ่านและผู้เขียนในด้านความรู้ และความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อสื่อความหมาย ผู้เขียนย่อมจะ พยายามใช้สัญลักษณ์หรือตัวอักษรสื่อความหมายหรือให้ข้อมูลที่ตนต้องการส่ือสารแก่ผู้อ่าน และผู้อ่านเองก็ ย่อมจะต้องส่อื ความหมายจากสญั ลกั ษณ์หรือตวั อักษรทผ่ี ูเ้ ขยี นต้องการสื่อความหมาย บันลือ พฤษะวัน (2531 : 2) ได้ให้ความหมายของการอ่านไว้ว่า เป็นการใช้ความสามารถในการ ผสมผสานตัวอักษรออกเสียงเป็นคาหรือประโยคเพื่อส่ือความหมายของผู้เขียนถึงผู้อ่าน โดยใช้การสังเกต การ จารูปคา การใช้สติปัญญา และใช้ประสบการณ์เดิมในการแปลความหมาย หรือถอดความให้เกิดความเข้าใจใน

เร่ืองที่อ่านได้ดี แต่ต้องดาเนินการเป็นขั้นตอนต่อเน่ือง (กระบวนการ) เพ่ือนาผลของสิ่งท่ีได้จากการอ่านมา ประเมินแนวคดิ แนวปฏบิ ตั ิ บอนด์ และทินเกอร์ (Bond and Tinker, 1979 : 325-350) กล่าวว่า การที่ผู้อ่านจะเกิดความเข้าใจ ได้นัน้ ต้องอาศัยองค์ประกอบ ดงั นี้ 1) เข้าใจความหมายของคา (word meaning) การเข้าใจความหมายของคาศัพท์จะช่วยให้เข้าใจ ประโยคได้ดี 2) เข้าใจหน่วยความคิด (thought unit) การอ่านทีละคาจะเป็นอุปสรรคต่อความเข้าใจเพราะขาด ความต่อเนอื่ ง ดงั นนั้ ผ้เู รยี นจึงต้องไดร้ บั การฝึกให้อา่ นเปน็ หน่วยความคดิ 3) เข้าใจประโยค (sentence comprehension) เม่ือผู้อ่านสามารถเอาหน่วยความคิดย่อยมา สมั พนั ธก์ ันจนไดใ้ จความเปน็ ประโยคแลว้ ผู้อ่านจะต้องมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างคาและระหว่างกลุ่มคาใน ประโยคดว้ ย 4) เข้าใจอนุเฉท (paragraph) ผู้อ่านต้องสามารถบอกใจความสาคัญของแต่ละประโยคแล้วนา ใจความสาคัญน้ัน ๆ มาสัมพันธ์กัน ดังน้ัน ผู้อ่านจึงควรเรียนรู้ประเภทหรือโครงสร้างแบบต่าง ๆ ของอนุเฉท เพื่อให้สามารถระบุประโยคท่ีเป็นใจความหลักของอนุเฉทได้ ดังน้ันจึงมองหาความสัมพันธ์ของประโยคอื่น ๆ ซงึ่ เปน็ รายละเอยี ดในอนุเฉท 5) เข้าใจเนื้อหาท้ังหมด (comprehension of larger units) การเข้าใจเร่ืองราวท้ังหมดผู้อ่านต้อง ทราบความสัมพันธ์ระหว่างข้อความสาคัญ ๆ ในแต่ละตอน เพื่อลาดับความคิดของเรื่องและต้องทราบว่า ขอ้ เขยี นแต่ละประเภทมีโครงสร้างขอ้ ความแตกตา่ งกนั จากความหมายขององค์ประกอบในการอ่าน สรุปได้ว่า การอ่านท่ีดีจะต้องมีองค์ประกอบสาคัญในอัน ท่ีจะทาให้การอ่านนั้นสื่อความหมายได้อย่างสมบูรณ์และถูกต้อง องค์ประกอบเหล่านี้ได้แก่ ภูมิหลัง ประสบการณ์ การรู้เชิงภาษา โครงสร้างของเน้ือความ เข้าใจความหมายของคา เข้าใจหน่วย ความคิด เข้าใจ ประโยค เข้าใจเน้ือหาทั้งหมด ความรู้ในระบบการเขียน ความสามารถในการตีความ ความรู้รอบตัวท่ัวไป เหตผุ ลในการอ่านและรูปแบบการอา่ น วิสาข์ จตั วิ ัติร์ (2541 : 49-25) เสนอแนะขัน้ ตอนการอ่านไว้ดังนี้ 1) เป็นแนวการสอนท่ีเน้นทักษะในระดับสูงไปสู่ทักษะในระดับพ้ืนฐาน (top-down) ซึ่งผู้อ่านต้อง เขา้ ใจความหมายรวม ๆ ของบทอ่านก่อนท่ีจะทาความเข้าใจในรายละเอียด ผู้อ่านต้องใช้ความรู้เดิมในการเดา เน้ือหาจากบทอ่านโดยพยายามสรุปความหมาย หรือใจความสาคัญหน้าที่ทางภาษา จุดประสงค์ของบทอ่าน กอ่ นท่ีจะพยายามทาความเขา้ ใจกับรายละเอียด เชน่ เดาศพั ทย์ าก ๆ ในบทอ่าน 2) ทักษะการอ่านเป็นกระบวนการท่ีผู้อ่านต้องใช้ความสามารถทางภาษาตลอดเวลาในการทาความ เข้าใจเรื่องที่อ่าน การอ่านเป็นกิจกรรมท่ีผู้อ่านต้องคาดเดา ทานาย ตีความ และตอบคาถามตนเองตลอด ระยะเวลาท่ีอ่าน ซึ่งวิดโดสัน (Widdowson, 1978 : 86) ได้กล่าวถึงระดับความสามารถของผู้อ่านไว้ว่า สามารถแบง่ เป็น 2 ระดบั คอื 1) ความเข้าใจ 2) ความสามารถในการตีความ 3) บทอ่านเปรียบเทียบเสมอื นบทสนทนาระหวา่ งผู้เขียนและผู้อ่าน การอ่านไม่ใช่ปฏิกิริยาโต้ตอบของ ผ้อู ่านต่อเรื่องท่ีอ่านเพียงอย่างเดียว ซ่ึงวิโดสัน (Widdowson, 1979 : 174) ได้กล่าวถึงการอ่านไว้ว่า การอ่าน คอื ปฏิสมั พันธ์ระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่าน ซ่ึงใช้ความคิดพิจารณาอ่านเร่ืองคล้ายกับการมีส่วนร่วมในการสนทนา กับผ้เู ขยี น ถึงแม้ว่าการมีปฏสิ ัมพนั ธโ์ ต้ตอบกันจะไมเ่ กิดขนึ้ ทันทีทันใดเหมือนกับการพูด แต่ก็ถือว่าการอ่านเป็น บทสนทนาทีเ่ ขยี นไวเ้ พื่อการส่ือสารระหว่างผู้อ่านและผู้เขียน ในขณะเดียวกันเม่ือผู้เมื่อผู้เขียนเขียนเร่ืองมักจะ

พยายามสมมติให้ตนเองเป็นผู้อ่าน และนึกถึงข้อสงสัยต่าง ๆ ท่ีผู้อ่านมี ดังนั้น จึงเปรียบเสมือนกับผู้เขียนตอบ คาถามท่ีผ้อู ่านสงสยั ซึง่ ทาใหก้ ารอ่านมคี วามคล้ายคลงึ กบั การพูด 4) การออกแบบการสอนอ่านควรเน้นความต้องการของผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้อ่านย่อมมีเหตุผลต่าง ๆ กันในการอ่าน เช่น อ่านเพ่ือหาข้อมูล อ่านเพ่ือพัฒนาสติปัญญา หรืออ่านเพ่ือความสนุกสนานบันเทิง ดังน้ัน ผู้อ่านควรปรับทักษะการอ่านให้เหมาะสมกับจุดประสงค์ในการอ่านซ่ึงผู้สอนควรสอนเทคนิคการอ่าน เพื่อให้ ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการอ่านด้วยเทคนคิ ทส่ี าคญั ดงั ต่อไปนี้ 4.1) การอา่ นเพอื่ หาข้อมลู เฉพาะ (scanning) ผู้อ่านคิดไว้ก่อนว่าต้องการหาข้อมูลในเรื่องใด แลว้ จงึ อ่านโดยเร็ว ม่งุ สนใจเฉพาะสิ่งที่ต้องการ เช่น รายช่ือของนักฟุตบอลในข่าวกีฬา สิ่งอานวยความสะดวก ทท่ี างโรงแรมจดั หรือรายชอื่ บคุ คลในสมุดโทรศพั ท์ 4.2) การอ่านเพื่อทราบเรื่องราวคร่าว ๆ (skimming) ผู้อ่านกวาดสายตาอย่างรวดเร็วจนทั่ว บทอา่ นเพื่อหาขอ้ ความท่ีต้องการ หาข้อมลู บางอย่าง หรอื เพือ่ รวู้ า่ บทอ่านเก่ยี วกับเรือ่ งอะไร บทอ่านในลักษณะ น้ีผู้เขียนอาจจะต้ังคาถามเอาไว้ก่อนแล้วให้ผู้อ่านอ่านคาถามก่อนท่ีจะอ่านข้อความ ทั้งน้ีเพ่ือให้ผู้อ่านมี จุดประสงค์ในการอ่าน ลักษณะการอ่านเพ่ือหาข้อมูลคร่าว ๆ เช่น การอ่านสารบัญเพื่อดูหัวข้อ การเปิดอ่าน หัวขอ้ ครา่ ว ๆ ในหนงั สอื พมิ พ์ การเปิดอ่านเรือ่ งทก่ี าลงั สนใจอยา่ งรวดเรว็ เป็นต้น 4.3) การอ่านแบบเข้ม (intensive reading) ใช้เมื่อต้องการทราบรายละเอียดของข้อมูล เชน่ การอ่านตาราตอ้ งอา่ นให้ละเอยี ดเพื่อใหเ้ ข้าใจมากท่สี ุด 4.4) การอ่านโดยทานายข้อความต่าง ๆ ล่วงหน้า (predicting) โดยผู้อ่านใช้ความรู้ท่ีมีอยู่ เก่ียวกับเรื่องน้ัน ๆ ทานายข้อความท่ีจะอ่านจากหัวเรื่องหัวข้อย่อย เช่น การอ่านเร่ือง Mr.Smith’s house แล้วให้ผู้อ่านทานายว่าต้องมีเนื้อหาเก่ียวกับจานวนสมาชิกในครอบครัว ตาแหน่งท่ีตั้งของสิ่งของต่าง ๆ หรือ จานวนของห้อง เปน็ ต้น 4.5) การเดาความหมายของคาศัพท์จากบริบท (guessing the meaning from the context) ผู้อ่านอาจเดาความหมายคาศัพท์ได้โดยอาศัยความหมายจากรากศัพท์ คาท่ีมีความหมายตรงข้าม ขอ้ ความทีข่ ัดแยง้ กัน และจากประสบการณ์ของผอู้ า่ น 5) วิธีการสอนเน้นการสื่อสารอย่างมีความหมาย ผู้สอนควรจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนอ่านเพื่อการส่ือสาร อย่างมีความหมายไมใ่ ช่อา่ นเพ่อื ตอบคาถามท้ายบทแตเ่ พียงอยา่ งเดียว วธิ สี อนอ่านจึงเนน้ เทคนคิ ดังต่อไปน้ี 5.1) การเติมข้อมลู ทขี่ าดหายไป (information gap) 5.2) การอา่ นเพือ่ แกป้ ญั หา (problem solving) 5.3) การอ่านเพ่ือถ่ายโอนข้อมูล (information transfer) 6) การสอนทกั ษะการอา่ นไมค่ วรแยกสอนจากทักษะอน่ื ควรใช้ทักษะสัมพันธ์ในการสอนอ่าน ไม่สอน ให้ผู้อ่านบทอ่านเพียงอย่างเดียว เพราะในชีวิตจริงเมื่อได้อ่านสิ่งใดมักนาไปใช้ด้วย เช่น การนาไปบอกเล่า บรรยาย หรือเขยี นเพ่ือถ่ายทอดให้อีกคนหนึ่ง ดังนั้น การจัดกิจกรรมควรให้ฝึกฝนทักษะอย่างต่อเนื่อง เช่น ให้ อ่านบทอ่านเกี่ยวกับการรับสมัครงานแล้วเขียนจดหมายระบุว่าต้องการสมัครงานในตาแหน่งน้ัน ให้อ่าน เกี่ยวกบั บา้ นและส่ิงตกแต่งภายในแล้วเขียนหรือวาดสิ่งของต่าง ๆ ลงในแผนผัง ให้อ่านบทอ่านท่ีต่างกันในช่วง ทากิจกรรม แล้วใหส้ นทนาแลกเปลี่ยนขอ้ มลู กันเพื่อกรอกลงในแผนผงั 7) บทอ่านที่นามาใช้สอนต้องเป็นเอกสารจริง (authentic materials) เอกสารจริง คือ เอกสารท่ี ไมไ่ ดเ้ ขียนขนึ้ มาเพอื่ จดุ ประสงค์ในการสอนภาษาโดยตรง เพราะบทอ่านทเ่ี ขียนข้ึนเพ่ือเป็นเครื่องมือในการสอน ศัพท์และไวยากรณ์ท่ีต้องการสอนให้ปรากฏในเน้ือเรื่องมากเกินไป ตัวอย่างเช่น เม่ือผู้เขียนต้องการสอน present continuous tense ข้อความที่เขียนก็จะเป็น present continuous tense เกือบทั้งเร่ือง ซึ่งทาให้

ข้อความไม่สมจริง นักทฤษฎีท่ีเช่ือในแนวการสอนเพื่อการส่ือสาร จึงมีแนวคิดว่า บทอ่านควรมีลักษณะท่ีเป็น เอกสารจริงซึ่งใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น โฆษณา ข่าว ฉลากยา หรือปูายประกาศ เป็นต้น ทั้งน้ีเพื่อสนองความ ต้องการของผู้เรียนท่ีต้องอ่านข้อความต่าง ๆ เหล่าน้ีในชีวิตประจาวัน การนาเอกสารจริงมาใช้ไม่ควรแก้ไขให้ ภาษาง่ายขึ้น สรุปหรอื ยอ่ ทาให้ข้อความผิดไปจากเดิม ท้ังนี้เพราะเอกสารที่ผู้อ่านจะได้พบในชีวิตประจาวันน้ัน ไม่มีใครมาปรับระดบั ความยากง่ายให้ ต้องเตรียมพร้อมที่จะอ่านเอกสารท่ีอาจจะมีระดับความยากง่ายตรงตาม ความเปน็ จริง 8) แบบฝึกหัดอ่านไม่ควรมุ่งท่ีจะทดสอบความเข้าใจในการอ่าน แต่ควรช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจข้อความท่ี อ่านดีขึ้น แบบฝึกหัดการอ่านตามแนวการสอนแบบฟัง-พูด นิยมใช้แบบการให้ตัวเลือก (multiple choice) หรอื เปน็ คาถามแบบ Wh-questions และ yes-no questions สรุปได้ว่าในการสอนอ่านภาษาอังกฤษน้ัน สามารถแบ่งออกเป็น 3 ข้ันตอน ได้แก่ ข้ันก่อนอ่าน ข้ัน ระหวา่ งอ่าน และขน้ั หลงั การอา่ น ซึง่ ในแต่ละขั้นนั้นควรจัดกิจกรรมต่าง ๆ อย่างหลากหลายในสัดส่วนท่ีเท่า ๆ กัน 4.4 ทักษะการเขยี น การเขียนใช้เพ่ือส่ือความหมายให้ผู้อ่านเข้าใจได้ถูกต้องตรงตามความคิดเห็นของผู้เขียน ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ กัน ซ่งึ นักการศึกษาและผูเ้ ช่ยี วชาญด้านการสอนเขียนได้จาแนกองค์ประกอบ ของการเขยี นไว้ดงั นี้ ลาโด (Lado, 1968 : 98) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบการเขียนไว้ว่า ผู้เขียนจะต้องมีความรู้ด้าน โครงสร้าง ไวยากรณ์ คาศพั ท์ การสะกดคา และเครื่องหมายวรรคตอน ซ่ึงนอกเหนือจากส่ิงเหล่านี้แล้ว ผู้เขียน จะต้องมวี ตั ถปุ ระสงค์ในการเขียนและผู้เขียนจะต้องมีความสามารถในการเขียนเพื่อใช้สื่อความหมายกับผู้อ่าน ได้ตรงกบั วัตถปุ ระสงคข์ องตนด้วย แฮริส (Harris, 1969 : 89-92) กล่าวโดยสรุปว่า การเขียนเป็นความสามารถอันหน่ึงในการส่ือ ความหมายระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่านในรูปของตัวอักษร การเขียนจึงประกอบไปด้วยความสามารถหลาย ๆ อยา่ งทผ่ี ู้เขยี นต้องใชใ้ นขณะทเี่ ขยี น เช่น 1) เนือ้ หา (content) ได้แก่ สาระหรอื เนื้อหาท่ผี ู้เขยี นแสดงออกมา 2) รปู แบบ (form) ไดแ้ ก่ สาระหรอื เนอ้ื หาทผ่ี เู้ ขยี นแสดงออกมา 3) ไวยากรณ์ (grammar) ไดแ้ ก่ ความสามารถในการเขียนประโยคให้ถูกต้อง 4) ลีลาในการเขียน (style) ได้แก่ การเลือกใช้ถ้อยคา สานวน โวหารต่าง ๆ ในการเขียนเพ่ือให้เกิด ลักษณะเฉพาะของผู้เขียน ตลอดจนอารมณแ์ ละอรรถรสในขอ้ ความที่เขียน 5) กลไกในการเขียน (mechanics) ได้แก่ การใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ ของภาษาที่ใช้ในการเขียน เช่น การใช้เครอื่ งหมายวรรคตอน และการสะกดคาให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ของภาษาน้ัน ๆ ในการเขียนครูจะต้อง ใหน้ กั เรียนเขียนโดยใช้คาทีไ่ ดเ้ รียนมาแลว้ เพอ่ื ความคล่องแคล่วและใช้ได้อย่างแม่นยาในทานองเดียวกัน ฮีทตัน (Heaton, 1979 : 136) ได้ทาการวิเคราะห์และจดั องค์ประกอบทีส่ าคัญและจาเปน็ สาหรบั การเขยี นไว้ดงั น้ี 1) ทักษะทางไวยากรณ์ (grammatical skills) ได้แก่ ความสามารถในการใช้ไวยากรณ์ของภาษาได้ ถูกต้อง 2) ทักษะทางลีลาภาษา (stylistically skills) ได้แก่ ความสามารถในการเลือกใช้ประโยคหลาย ๆ แบบและใช้ภาษาอยา่ งเหมาะสม 3) ทกั ษะทางกลไก (mechanical skills) ได้แก่ ความสามารถในการใช้แบบแผนทางภาษาได้ถูกต้อง เช่น การใช้เคร่อื งหมายวรรคตอนและการสะกดคา

4) ทักษะทางการเลือกข้อความที่เหมาะสม (judgment skills) ได้แก่ ความสามารถในการเขียน ข้อความท่ีเหมาะสมตรงตามวัตถุประสงค์ โดยคานึงถึงผู้อ่านเป็นสาคัญ ตลอดจนความสามารถที่จะเลือกสรร รวบรวม และจดั ลาดบั เรือ่ งราวให้มีความสมั พันธต์ อ่ เนื่องกัน ผเู้ รยี นภาษาจานวนไมน่ อ้ ยมีความเช่ือว่าการเขียนเป็นการสร้างผลงานที่ไม่มีข้ันตอนหรือกระบวนการ ใด ๆ เม่อื คิดถึงส่งิ ใดสามารถเขียนแสดงออกสง่ิ นน้ั ได้ทันที งานเขียนที่ผลิตข้ึนโดยส่วยมากจึงมีความไม่สมบูรณ์ ด้อยคณุ ภาพ หรือไม่บรรลุวัตถุประสงค์ท่ีต้ังข้ึนไว้ ผู้เช่ียวชาญทางการสอนหลายท่านให้ทัศนะว่า การเขียนท่ีดี ควรเป็นการเขยี นอย่างมกี ระบวนการและได้กลา่ วถึงกระบวนการในการเขยี นอาทิ เชน่ สมุ นิ ตรา องั วัฒนกุล (2539 : 185) ไดเ้ สนอหลักการฝึกทักษะการเขยี นไวด้ ังนี้ 1) การสอนทักษะการเขียนควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกและเสริมรูปแบบภาษาที่ผู้เรียนคุ้นเคยแล้ว จากการพดู และการฟัง 2) การควบคุมการเขียนควรลดน้อยลงตามลาดับ ผู้เรียนควรฝึกตอบสนองต่อสิ่งที่ผู้สอนช้ีแนะด้วย ตนเองทีละนอ้ ย 3) กิจกรรมการเขียนเพ่ือการส่ือสารควรเน้นเป็นพิเศษหลังจากผู้เรียนได้ฝึกการเขียนตามท่ีผู้สอน แนะนาแล้ว ผู้เรยี นควรมอี ิสระเต็มที่ในการเขียน ฟลาวเวอร์ (Flower, 1989 : 284-285) กล่าวว่า การเขียน คือ กระบวนการในการใช้ความคิดที่ เกิดขึ้นสลับไปมา ซึ่งสามารถวิเคราะห์ได้เป็นลาดับข้ันตอนแต่ไม่สามารถกาหนดตายตัวว่าข้ันตอนแต่ละขั้นจะ เกดิ ขึ้นเมอ่ื ไร กระบวนการใชค้ วามคิดดงั กลา่ วสามารถแบ่งได้เปน็ 3 ข้ันตอน ดังนี้ 1) ขัน้ วางแผนการเขียน (planning stage) เป็นกระบวนการสร้างและเรียบเรียงความคิดรวมทั้งการ ต้ังจุดประสงค์ในการเขยี น 2) ข้ันการแปลความคิดเป็นตัวอักษะ (translating stage) เป็นข้ันใช้ความรู้ด้านกฎเกณฑ์ภาษาเพ่ือ สามารถถา่ ยทอดความคดิ ไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์ 3) ขั้นอ่านทบทวน (reviewing stage) เป็นข้ันการประเมินและตรวจทานแก้ไขเพ่ือดูความเหมาะสม และความชัดเจนของเรอื่ งทเี่ ขยี น สุภัทรา อักษรานุเคราะห์ (2532 : 112) ได้กล่าวถึง การจัดกิจกรรมในแต่ละขั้นตอน ผู้สอนควรเลือก เป็น 3 ระดบั คือ 1) กิจกรรมก่อนการเขียน (pre-writing activities) เป็นการสร้างความสนใจในเรื่องท่ีจะเขียนและปู พ้ืนความรู้ในเร่ืองที่จะเขียน โดยอาจทบทวนความรู้เกี่ยวกับกลไกทางการเขียนซ่ึงมีการสะกดตัว การใช้ เคร่อื งหมายวรรคตอน การใช้กาลใหถ้ ูกต้องกับเรอื่ งท่ีจะเขียน เช่น ถ้าจะรายงานเก่ียวกับอุบัติเหตุที่ผ่านมาแล้ว ก็ต้องรู้จักใช้ศัพท์ท่ีเก่ียวข้องกับการใช้อดีตกาลและรูปของการเขียนรายงานตลอดจนความรู้ทางวัฒนธรรมที่ ควรนามาใช้ในการเขียนลกั ษณะต่าง ๆ 2) กิจกรรมระหว่างการเขียน (while-writing activities) เป็นกิจกรรมท่ีผู้สอนนามาใช้ฝึกทักษะใน ขณะท่ีเขียนเรื่อง ซึ่งอาจจัดกิจกรรมตัวอย่างต่อไปนี้ คือ นาบัตรเชิญลักษณะต่าง ๆ มาเป็นแบบให้เขียนตาม แล้วเขียนเชิญโดยเปลี่ยนช่ือผู้เชิญโดยเปลี่ยนชื่อผู้เชิญและช่ือผู้ได้รับเชิญซ่ึงเก่ียวข้องกับตัวผู้เรียนเป็นการ ฝึกหดั แบบกาหนดขอบขา่ ยใหเ้ ขยี น เปน็ ต้น 3) กิจกรรมหลังการเขียน (post-writing activities) โดยผู้เรียนพยายามใช้ทักษะการเขียนสัมพันธ์ กับทักษะอ่ืน คือ นาเรื่องที่เขียนมาอ่านให้เพื่อนในชั้นฟัง นามาถามคาถาม นามาเขียนบทสนทนา แสดง บทบาทสมมติ หรอื นามาอภิปรายแสดงความคดิ เหน็ ตลอดจนวิจารณ์ข้อเขียนนั้น ๆ ในเชิงความถูกต้องในการ สื่อความ ตลอดจนการใช้ภาษาให้ถกู ตอ้ งเหมาะสมกบั สถานการณ์ เป็นต้น

สรุปได้ว่า การวัดและประเมินผลการเขียนน้ันควรใช้แบบทดสอบแบบอัตนัยในการประเมิน ความสามารถทางการเขียนของนักเรียน เพราะนกั เรยี นได้ลงมือเขียนจริง และจะทาให้เกิดกระบวนการคิดด้วย ตนเอง แล้วแสดงออกมาเป็นภาษาเขียนได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมในการใช้ภาษา หรืออาจวัดทางอ้อมได้ โดยการใชแ้ บบทดสอบความรดู้ า้ นต่าง ๆ วิธีการฝกึ มักอยูใ่ นรูปของการทากิจกรรมต่าง ๆ โดยผู้สอนเป็นผู้ริเริ่ม หรือจดั การขนั้ เร่มิ ตน้ ของกิจกรรมให้ เช่น อธิบายวิธีทากิจกรรม จัดกลุ่มผู้เรียน หลังจากนั้นผู้เรียนจะเป็นผู้ทา กิจกรรมเองทั้งหมด ผู้สอนจะคอยให้คาแนะนาช่วยเหลือเม่ือผู้เรียนมีปัญหาในการทากิจกรรม และเป็นผู้ให้ ขอ้ มูลปูอนกลบั หรือประเมนิ ผลการทากิจกรรมภายหลัง 4. กจิ กรรมการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ 4.1 การสอนภาษาอังกฤษ กิจกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษท่ีครูผู้สอนจัดขึ้น เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกใช้ ภาษาในการส่ือสารนั้นสาคัญมาก ฟรีแมน (Freeman, 2000 : 15) กล่าวว่าความสาเร็จในการทากิจกรรมจะ วัดจากการทีผ่ เู้ รยี นสามารถใชภ้ าษาเป็นเครอ่ื งมือในการสอ่ื สารให้บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ทก่ี าหนดไว้ โดยครูกาหนด สถานการณ์ให้ผู้เรียนเกิดความจาเป็นท่ีจะต้องใช้ภาษา เพื่อหาข้อมูลท่ีตนยังขาดอยู่ในการแก้ปัญหา นักวิชาการอืน่ ๆ ได้ให้ความเห็นเก่ยี วกบั กจิ กรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษดงั ต่อไปน้ี สงัด อุทรานันท์ (2532 : 65) ได้กล่าวว่า การเลือกวิธีสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนน้ันผู้สอนจะต้องเลือกให้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน โดยคานึงถึงวิธีสอนที่เห็นว่าจะสามารถทาให้ผู้เรียนมี ความรูค้ วามเขา้ ใจและมีเจตคติทีด่ ีไดม้ ากที่สดุ ซ่งึ สอดคลอ้ งกับคากล่าวของ ชยั ฤทธ์ิ ชัยฤทธ์ิ ศิลาเดช (2544 : 86) ได้กล่าวว่า ลักษณะของผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาเป็นวัยท่ี ชอบค้นควา้ อยากรู้อยากเหน็ ดังน้นั วธิ ีการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ในระดบั น้ีต้องใชว้ ิธีเรียนปนเล่น เพื่อให้เด็กไม่ เบ่ือหน่ายการเรยี น มองเห็นวา่ การใชภ้ าษาเป็นเรอ่ื งสนุกสนาน ทา้ ทาย และไดฝ้ กึ การใช้ทักษะภาษาโดยไม่รู้ตัว และเป็นการสร้างเจตคติท่ีดีให้ผู้เรียน กิจกรรมท่ีได้รับความนิยมในการสอนภาษาอังกฤษในระดับมัธยมศึกษา ได้แก่ การใชเ้ พลง เกมภาษา บทบาทสมมติ สถานการณจ์ าลอง การสมั ภาษณ์ และทาโครงงาน เปน็ ตน้ ซาวิยอง (Savignon, 1997 : 32) ได้กล่าวว่า การจัดกิจกรรมการสอนภาษามุ่งให้ผู้เรียนมี ความต้องการสื่อสารด้วยบรรยากาศท่ีสนุกสนาน ซึ่งผู้สอนต้องมีความรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการสอนท่ี หลากหลายและมีลักษณะเป็นกิจกรรมเพื่อการส่ือสาร ส่วน ฮาร์เมอร์ (Harmer, 2001 : 6) ได้สรุปลักษณะ กิจกรรมเพ่ือการส่ือสารว่า กิจกรรมท่ีจัดขึ้นต้องเป็นกิจกรรมท่ีน่าสนใจกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้ภาษาที่เรียนมา ได้ อย่างหลากหลาย อีกทั้งผ้สู อนตอ้ งเลือกกิจกรรมให้เหมาะสมกับเนอ้ื หาท่ีสอนและวยั ของผูเ้ รียน สุมิตรา อังวัฒนกุล (2537 : 19-20) ได้กล่าวว่า การเรียนการสอนภาษาเป็นกระบวนการท่ี ซับซ้อนต้องอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ตลอดจนกระบวนการเรียนการสอนซ่ึงมีพ้ืนฐานอยู่ บนทฤษฎีและวธิ ีการตา่ ง ๆ มากมาย ทฤษฎีและวิธีการเหล่านี้ ได้แก่ การศึกษาถึงความต่อเน่ืองตามลาดับของ เน้ือหา หนา้ ทีข่ องภาษา ความหลากหลายของภาษา วฒั นธรรมและการวิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ท่ีมีต่อกัน จึงทาให้ เกิดหลากหลายของแนวคิดข้ึนและก่อให้เกิดวิธีการสอนท่ีแตกต่างกันออกไป ดังน้ันในการกาหนดแนวทางใน

การจัดการเรียนการสอนภาษา ผู้สอนจึงควรจัดระเบียบความคิดเกี่ยวกับแนวคิดและวิธีสอนของตนให้เข้าใจ ถ่องแทเ้ สียกอ่ น ลิตเติลวูด (Littlewood, 1983 : 18-19) และฮาร์เมอร์ (Harmer, 1982 : 200-205) ได้กล่าวถึง ความสามารถในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนไว้พอสรปุ ได้ดังนี้ 1) ก่อนเร่ิมทากิจกรรมครูต้องมีความสามารถในการวางแผน และจัดดาเนินการเก่ียวกับการทา กิจกรรมชั้นเริ่มต้น คือ ครูต้องอธิบายให้นักเรียนเข้าใจถึงลักษณะของกิจกรรม วิธีทากิจกรรม และให้ข้อมูลที่ จาเปน็ สาหรบั การทากิจกรรมนนั้ ตลอดจนตอ้ งดแู ลการจดั กลุม่ ของนักเรียนดว้ ย 2) ระหว่างการทากิจกรรม ครูต้องมีความสามารถให้คาแนะนาช่วยเหลือ เมื่อนักเรียนมีปัญหา ไม่ว่า จะเปน็ ปัญหาด้านภาษาหรือปญั หาเก่ียวกบั วิธที ากจิ กรรม และนอกจากน้ีครคู วรแกไ้ ขเฉพาะท่ีจาเปน็ เท่านั้น 3) หลังทากิจกรรม ครูต้องมีความสามารถในการประเมินและให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักเรียนได้ โดย การบอกให้นักเรียนทราบว่านักเรียนทากิจกรรมน้ันได้ดีเพียงใด ใช้ภาษาในการทากิจกรรมได้ถูกต้องเหมาะสม หรอื ไม่ พติ รวัลย์ โกวิทวที (2539 : 17-18) ไดแ้ นะนาหลักการสอนภาษาอังกฤษไว้ดงั นี้ 1) ครูสอนจากเรื่องง่ายไปสู่เร่ืองยาก เช่น รวบรวมคาศัพท์ต่าง ๆ ให้เป็นหมวดหมู่แล้วจึงสอนเป็น หมวด ๆ ไป เช่น หมวดเสอ้ื ผ้า หมวดเครอ่ื งใช้ และหมวดผลไม้ เป็นต้น แทนการสอนคาศัพท์ที่กระจัดกระจาย ปะปนกนั อย่รู วมกนั หลาย ๆ หมวด 2) สอนใหส้ ัมพันธก์ ับความคดิ ก่อนจะสอนเรื่องใหม่ ครูควรจะได้ทบทวนบทเรียนเดิม เพื่อให้นักเรียน สามารถเชื่อมโยงความร้เู ดมิ มาสู้ความรู้ใหม่ จะช่วยให้นกั เรยี นจาเรือ่ งที่เรยี นไดอ้ ยา่ งแมน่ ยาขน้ึ 3) สอนให้สัมพันธ์กับวิชาอ่ืน ๆ เน่ืองจากการสอนในปัจจุบันเรามุ่งเน้นเพ่ือการสื่อความหมาย เพราะฉะนั้นในการสอนของครู ถ้าครูสามารถเชื่อมโยงความรู้เร่ืองคาศัพท์ และโครงสร้างทางไวยากรณ์สู่ เนื้อหาวิชานั้น ๆ ก็จะช่วยให้การเรียนการสอนในเร่ืองนั้น ๆ มีความหมายยิ่งข้ึน เช่น ให้นักเรียนวาด ภาพประกอบบทเรยี นภาษาอังกฤษ เป็นการเชื่อมโยงวชิ าศลิ ปศึกษากับวิชาภาษาองั กฤษเขา้ ด้วยกัน เป็นต้น 4) เปลี่ยนวิธีการสอนมิให้ซ้าซากน่าเบื่อ ผู้สอนควรสอนให้สนุกสนาน และน่าสนใจซ่ึงมีการใช้เพลง เกม การทายปัญหา การฉายวีดิทัศน์ สไลด์ ภาพประกอบ โดยสอดแทรกสิ่งเล็ก ๆ น้อย ๆ ผสมผสานเข้า ดว้ ยกัน 5) ใช้ความสนใจและความต้องการของนักรเยนเป็นจุดเร่ิมต้นการสอน เช่น การสอนคาศัพท์เก่ียวกับ สัตว์เลย้ี ง ขณะทก่ี าลังสอนอยู่น้ี นักเรียนกาลังสนใจสัตว์อะไรมากที่สุด เช่น สนใจสุนัขในการ์ตูน เราก็เริ่มสอน ดว้ ยสัตวช์ นดิ น้ี เพอื่ ไปสคู่ วามสนใจของการสอนสัตว์เล้ยี งตวั อืน่ ๆ 6) สอนโดยคานงึ ถงึ ประสบการณ์เดิม กิจกรรมใหม่ควรต่อเนื่องกับกิจกรรมเดิม เช่น เราจะสอนเร่ือง การไปเทีย่ วชายทะเล ครูก็สนทนากับนักเรียนเก่ียวกับสถานที่ท่องเที่ยวชายทะเลท่ีนักเรียนเคยไป เพ่ือนามาสู่ เรื่องท่คี รูกาลงั จะสอน 7) สอนให้นักเรียนสามารถสรุปความคิดรวบยอด และสามารถนาสิ่งท่ีได้รับไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ ต่อไป ซ่ึงมีความคล้ายคลงึ กบั สถานการณ์เกา่ ท่ีนกั เรยี นเคยเรยี นในชนั้ เรยี น 8) ผู้สอนควรจะมีอารมณ์ขัน เพ่ือให้ช่วยให้บรรยากาศในห้องเรียนน่าเรียนยิ่งขึ้นเพราะวิชา ภาษาอังกฤษเปน็ วิชาภาษาตา่ งประเทศไม่ใชภ่ าษาของเราเอง ครไู ม่ควรจะเครง่ เครียดเกินไป 9) ผสู้ อนควรหม่ันแสวงหาความรู้เพ่ิมเติม เพ่ือที่จะได้ในส่ิงแปลกและใหม่มาถ่ายทอดให้ผู้เรียนได้อยู่ เสมอ

10) ผู้สอนควรจะมีศรัทธาในอาชีพของตนจึงจะสอนได้ดี นอกจากหลักการสอนภาษาอังกฤษดังกล่าว แล้ว ยังมีแนวทางในการดาเนินการจัดการเรียนการสอนเพ่ือให้ประสบความสาเร็จตามจุดมุ่งหมายของ หลักสตู ร การสอนโดยการใชเ้ พลง นิวเฟลด์ และกรู าลนิค (Neufeldt and Guralnik, 1994 : 1978) ไดใ้ ห้ความหมายของเพลงไวด้ ังนี้ 1) การกระทาหรือศลิ ปะของการขบั ร้อง 2) ดนตรที บ่ี รรเลงหรือแต่งข้นึ เพ่อื บรรเลงเพลง 3) คาประพนั ธห์ รือร้อยกรองท่แี ตง่ ไว้สาหรบั ขับร้อง เชน่ คาโคลง หรอื โคลงท่แี สดงความรู้สกึ 4) เสียงดนตรีทบี่ รรเลงเพลง จากความหมายของเพลงดังกล่าวข้างต้น อาจสรุปได้ว่า เพลง หมายถึงบทร้อยกรองหรือเสียงของ ดนตรีท่ีสร้างขึ้นมา โดยใส่เนื้อร้อง ทานองไว้ เพ่ือขับร้องหรือบรรเลง หรือขับร้องประกอบดนตรีของมนุษย์ การนาเพลงไปใช้ประกอบการสอนเดก็ ใช้นาเขา้ สู่บทเรียน ใช้สอนหรือสรุปจะช่วยให้เด็กมีความสนุกสนานและ มคี วามสุขในการเรียน ประโยชนข์ องการใช้เพลงประกอบการเรียนการสอน เพลงสามารถใช้ประกอบการสอนไดห้ ลายสาขาวชิ า ดงั นี้ ศิลปศึกษา บทเพลงช่วยเร้าให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ทางศิลปะ และสร้างเสริมจินตนาการให้แก่เด็ก ในการวาดภาพ พลศึกษา บทเพลงทาให้เด็ก ๆ ได้มีโอกาสแสดงท่าทางและการเคลื่อนไหว ซ่ึงช่วยในการตอบสนอง ทางกาย ภาษาอังกฤษ บทเพลงส่วนมากจะมีเนือ้ เพลงช้า ๆ เพ่ือนักเรียนจะได้ฝึกฟังและออกเสียงภาษาอังกฤษ เช่น เพลง Row Row Row Youre Boat วิทยาศาสตร์ มีบทเพลงที่เก่ียวกับธรรมชาติทาให้เด็ก ๆ ได้เรียนรู้ปรากฏการณ์ต่าง ๆ เช่น เมฆ ฝน และทะเล ศิลปะทางภาษาสามารถนากลอนมาใส่ทานอง ทาให้เป็นบทเพลงได้ นอกจากนี้การอ่านเนื้อเพลงยัง เปน็ การสร้างประสบการณ์ทางดา้ นทักษะ และความเขา้ ใจเรือ่ งการออกเสยี งทางภาษาได้ การสอนโดยการใชเ้ กม ความหมายของเกม คาว่า “เกม” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2525 (2539 : 108) ได้ให้ความหมายของ เกมว่า หมายถึง การแข่งขัน การเล่นเพ่ือความสนุก นอกจากน้ีมีนักการศึกษา หลายท่านใหค้ วามหมายของเกมไว้ดังนี้ มณฑาฑิพย์ อัตปญั โญ (2541 : 20) ได้ให้ความหมายไว้อย่างสอดคล้องกันว่า เกม หมายถึง กิจกรรม การเล่น หรือการแข่งขันเป็นรายบุคคล เป็นกลุ่ม มีการกาหนดจุดมุ่งหมาย กฎ เกณฑ์ กติกา และมีการติดสิน แพช้ นะ ดนู จีระเดชากุล (2541 : 76) ได้สรุปว่า เกม เป็นกิจกรรมเพ่ือความสนุกสนานเพลิดเพลินท่ีทุกคน สามารถเขา้ รว่ มได้โดยไมจ่ ากัดเพศและวัย กจิ กรรมเกมไม่มกี ฎระเบียบหรือกติกามาก ไม่ซับซ้อน เข้าใจง่าย ให้ ความสุข ความพอใจ และสามารถท่ีจะนาไปประยุกต์ดัดแปลงให้เป็นกิจกรรมเสริมทักษะและพัฒนาการสู่ กจิ กรรมเปูาหมายอยา่ งอื่นได้

วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2542 : 32) ได้สรุปว่า เกมเป็นการสร้างสถานการณ์สมมุติขึ้นให้ผู้เล่น ภายใต้ ข้อตกลงหรือกตกิ าบางอย่างทก่ี าหนดไว้ ซึ่งผ้เู รียนจะตอ้ งตดั สนิ ใจทาอย่างใดอย่างหนึ่งจะมีผลในรูปของการแพ้ การชนะ ชว่ ยให้ผเู้ ล่นเกิดความสนกุ สนานในการเรียนการสอนด้วย จากการใหค้ วามหมายของนกั การศึกษาดงั กลา่ ว สรปุ ได้ว่า เกม หมายถึง กิจกรรมการเล่นแข่งขันท่ีทา ให้เกดิ ความสนกุ สนาน มกี ารกาหนดจดุ มงุ่ หมาย กฎ กติกา วธิ ีการเล่น และมีการตัดสินผลการเล่นเป็นแพ้หรือ ชนะ ซงึ่ การนาเกมมาเปน็ ส่วนประกอบในการเรียนการสอนนีจ้ ะมสี ่วยชว่ ยส่งเสรมิ บรรยากาศในห้องเรียนให้น่า เรียนย่ิงข้ึน ทาให้บทเรียนน่าสนใจ เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินสามารถใช้ปฏิภาณไหวพริบของตนเองได้ อย่างมีศักยภาพ สามารถจดจาบทเรียนได้อยา่ งรวดเรว็ ประเภทของเกมทางภาษา ในการนาเกมมาใช้ประกอบการเรียนการสอนน้ันมีจุดมุ่งหมายท่ีสาคัญ คือ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการ เรยี นรไู้ ดด้ ีข้ึน และเกดิ การพฒั นาทกั ษะดา้ นตา่ ง ๆ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เกมท่ีใช้ประกอบการเรียนการสอนน้ัน มีผสู้ รุปถึงชนดิ ของเกมไว้ดงั น้ี เรืองศักด์ิ อัมไพพันธ์ (2536 : 11-12) ได้จัดประเภทของเกมเพื่อความสะดวกในการค้นหาและ คัดเลือกเพ่อื นามาประกอบการสอน หรือจัดกจิ กรรมทางภาษาไว้ 7 กลมุ่ คือ 1) number games เป็นเกมเสริมความรู้ ฝึกความจา ปฏิภาณ และความเร็วในการคิดเกี่ยวกับ ตัวเลข 2) vocabulary games เป็นเกมท่ีมุ่งทดสอบความจา และความรู้เดิมท่ีผู้เล่นเคยมีประสบการณ์ ทางดา้ นภาษาเกย่ี วกบั การออกเสียง การสะกดคา ความหมายและหน้าทขี่ องคา (part of speech) 3) Structure games เป็นเกมเกย่ี วกบั โครงสร้างทางภาษา 4) Spelling games เปน็ เกมเสรมิ ความสามารถในการจาคาศพั ท์ และเขยี นไดถ้ กู ต้องย่ิงขึน้ 5) Conversation games เกมนี้มุ่งให้ผู้เรียนได้ฝึกทางด้านข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร (information and communication) โดยเน้นการสรุปเนื้อหาสาระที่เข้าใจชัดเจนระหว่างผู้พูดและผู้ฟัง คือ ความสามารถในการเกบ็ ใจความและสือ่ ความหมาย 6) writing games เกมในกลุ่มน้ีจะรวมเอากิจกรรมในเกมจุดอื่น ๆ มาช่วยเสริมทักษะทางการเขียน และการเรียนรู้ของผ้เู ลน่ เกมใหม้ ากขึน้ 7) miscellaneous games เป็นเกมที่สามารถประยุกต์เข้ากับเหตุการณ์ หรือใช้เป็นกิจกรรมพิเศษ นอกห้องเรียนได้ เช่น การเล่นละคร การแสดงบทบาทสมมุติ และการโต้วาที เป็นต้น กล่าวโดยสรุปได้ว่า เกมเป็นกิจกรรมที่ทุกคนชอบและเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาการเรียนรู้ของ นักเรียนได้ อาจเล่นเป็นรายบุคคล กลุ่มย่อย หรือกลุ่มรวมก็ได้ ซึ่งจะข้ึนอยู่กับจุดมุ่งหมายของผู้กาหนดเกม เช่น เกมเพ่ือนาเขา้ สูบ่ ทเรียน เกมเพ่ือควบคุมช้นั เรียน เกมเพ่ือฝึกทักษะทางภาษาและเกมเพ่ือการประเมินผล 5. แนวคิดทฤษฎีทางดา้ นนนั ทนาการ 5.1) ความหมายของนันทนาการ เป็นกิจกรรมที่มีองค์ประกอบในลักษณะเดียวกันกับการเล่นจะ แตกต่างกันในเร่ืองรูปแบบของนันทนาการ และมีบางส่ิงบางอย่างที่นอกเหนือจากการเล่น โดยเน้นในเร่ือง การศึกษาความซาบซึ้งในการเสริมสร้างประสบการณ์ใหม่ ๆ หรือมุ่งเน้นการพัฒนาการทางด้าน ร่างกาย อารมณ์ สงั คม และจิตใจ ใหก้ ระทาแตใ่ นส่ิงท่ีมีประโยชน์ต่อตนเองและสังคม ไม่ว่าบุคคลน้ันจะใช้สมองหรือใช้ กาลงั ประกอบสมั มาอาชีพกต็ าม

นันทนาการ “สันทนาการ” มาจากศัพท์คาว่า “สนทนา” กับ “อาการ” รวมกันเป็น “สนทนาการ” หมายถึง การพูด การสนทนา เป็นการใช้เวลาว่างให้เกิด จนกระทั่งถึง พ.ศ.2509 พระยาอนุมานราชธน หรือ เสถียรโกเศศ เห็นว่า คาว่า “สันทนาการ” ท่ีจริงแล้วความหมายที่ถูกต้องแต่ไม่ครอบคลุม เพราะกิจกรรม สันทนาการไม่เพยี งแต่ พูด คยุ และสนทนาเทา่ น้ัน จึงได้เสนอคาว่า “นันทนาการ” ขึ้น โดยนาคาว่า “นันทน” ซึ่งหมายความว่า “ร่างเริงสนุกสนาน” มาทาการสนธิกับ “อาการ” (นันทน+อาการ) ซึ่งแปลว่า อาการแห่ง ความสขุ สนุกสนานรา่ เรงิ หลงั เขา้ รว่ มกิจกรรม ตามพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 (2546 : 571) ให้ความหมายของคาว่า “นันทนาการ” ไว้ว่าหมายถึง กิจกรรมท่ีทาตามความสมัครใจในยามว่าง เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน และผ่อน คลายความตงึ เครยี ด การสราญใจ นนั ทนาการ ตรงกับคาภาษาองั กฤษว่า Recreation ซ่ึงมาจากคาศัพท์ Re และ Create แปลว่า สร้าง ขน้ึ มาใหม่ หมายถงึ การทาใหส้ ดช่ืน เสริมสร้างพลังงานข้นึ มาใหม่ (อเนก หงส์ทองคา, 2542 : 1) มีนักวิชาการ ไดใ้ ห้ความหมายของนนั ทนาการไว้หลากหลาย ซึ่งสามารถสรปุ ได้ดงั นี้ กรรณกิ าร์ ไวยสุรา (2549 : 7-8) ไดส้ รุปความหมายว่า นันทนาการ คือ กิจกรรมที่กระทาในเวลาว่าง โดยผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจและสมัครใจท่ีจะกระทา ก่อให้เกิดความสนุกสนานและผ่อนคลายจาก สภาวะความเครียด และก่อให้เกิดการพัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์ สติปัญญาและสังคม โดยที่ไม่ขัดต่อ กฎหมาย ประเพณีและวฒั นธรรม จิรนัน สีลม (2549 : 10) นันทนาการ หมายถึง กิจกรรมใด ๆ ที่บุคลากรกระทาด้วยความสมัครใจ และความพอใจเพ่ือพักผ่อนยาวว่าง มีวัตถุประสงค์เพื่อความเพลิดเพลิน สนุกสนาน บันเทิงใจ มิใช่เพ่ือเป็น อาชีพหรือเป็นงานท่ีทาอยู่เป็นปกติ เป็นกิจกรรมที่เป็นประโยชน์และช่วยให้เกิดความสร้างสรรค์ ซึ่งจาก ความหมายทก่ี ล่าวถึงข้างต้นสรุปได้ว่า นันทนาการ คือ เครื่องมือ สาหรับใช้ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มี ความสมบูรณ์ท้ังทางร่างกายและจิตใจ โดยใช้กิจกรรมเป็นตัวเช่ือมให้เกิดผลเพื่อให้มนุษย์มีพลังกายพลังใจ ขึ้นมาใหม่หลังจากที่ประสบกับความเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้าและภาวะความเครียดจากภารกิจต่าง ๆ ใน ชวี ติ ประจาวนั ทาใหส้ ามารถดาเนนิ ชวี ิตต่อไปไดอ้ ย่างมคี วามสขุ และมคี ุณภาพชวี ิตทดี่ ี จากความหมายของนันทนาการท่ีกล่าวมาน้ัน พอสรุปได้ว่า นันทนาการ (recreation) หมายถึง กิจกรรมการใช้เวลาว่างจากงานประจา กระทาด้วยความสมัครใจ มีรูปแบบกิจกรรมที่หลากหลาย ก่อให้เกิด ความสุข สนุกสนาน ร่าเริง เพลิดเพลิน ผ่อนคลายจากสภาวะความเครียดเกิดการพัฒนาความเจริญงอกงาม ทางกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญามีประโยชน์ต่อร่างกาย และจิตใจ โดยไม่ส่งผลกระทบด้านลบต่อบุคคล อ่ืน 5.2) ความสาคัญของกจิ กรรมนนั ทนาการ ความสาคัญของนันทนาการในสังคมยุคปัจจุบันประกอบไปด้วยกันหลายด้าน ซ่ึงทุก ๆ คนควรจะทา ความเข้าใจว่า นันทนาการจะสมบูรณ์ได้ต้องอาศัยองค์ประกอบด้านอ่ืน ๆ มาช่วยกัน ทั้งด้านของแหล่ง ทรัพยากรธรรมชาติ นโยบายของประเทศ การจัดโปรแกรม การร่วมกันแก้ปัญหา โดยจะต้องเข้าไปเก่ียวข้อง กบั การดารงชีวติ ประจาวนั ของแตล่ ะบคุ คลและของสังคมอีกด้วย ตัวอย่างความสาคัญของกิจกรรมนันทนาการ อาจจะมองได้ในรปู ของจานวนประชากรทเี่ ข้าไปร่วมกิจกรรมด้านกีฬา การออกกาลังกายและการละเล่นต่าง ๆ ในสวนสาธารณะ ดโู ทรทศั นห์ รอื จัดกิจกรรมในบ้าน เป็นต้น (สานักงานพัฒนาการกีฬาและนันทนาการ, 2547 : 35)

นันทนาการช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีประสิทธิภาพตั้งแต่เกิดจนกระท่ังตาย บทบาทสาคัญของ นันทนาการเป็นการช่วยเพ่ิมคุณค่าของชีวิตทางด้านกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาโดยใช้นันทนาการเป็น สอื่ กลาง สามารถแบง่ ความสาคัญไดด้ งั นี้ 1) ความสาคัญต่อบุคคล เพ่ือผ่อนคลายความเครียดทางกาย ทางอารมณ์ ทาให้เกิดความพึงพอใจ เสริมสรา้ งสมรรถนะสาหรบั ชวี ิตในโอกาสตอ่ ไป 2) ความสาคัญต่อครอบครัวช่วยในการเสริมสร้างสัมพันธภาพของสมาชิกในครอบครัวให้มีความ ใกลช้ ดิ มีความรกั และผกู พนั กนั มากยง่ิ ขน้ึ 3) ความสาคัญตอ่ ชุมชน ประการแรก นันทนาการช่วยสร้างสมาชิกของชุมชนให้มีเหตุผล มีคุณภาพดี รู้จักใช้เวลาว่าง ใหเ้ กดิ ประโยชน์แก่ตนเองและกลุ่ม รูจ้ กั เสยี สละประโยชนส์ ่วนตน ประการท่ีสอง นันทนาการช่วยให้องค์กรในชุมชนควรรู้บทบาทหน้าท่ี เพื่อการจัดการบริการ แก่สมาชิกได้ตามความต้องการหรือความถนัน ตามความสนใจในโอกาสต่าง ๆ ตามสภาพความคล่องตัวของ ชมุ ชน 4) ความสาคญั ต่อประเทศชาติ สร้างพื้นฐานให้ประชาชนมีสุขภาพดี มีจิตใจดี รู้จักการใช้เวลาว่างให้ เป็นประโยชน์ ปราศจากโรคภัย ทาให้มีการศึกษาดี รู้จักหน้าท่ี บทบาทต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน และ ประเทศชาติ ย่อมจะเป็นกาลังหลกั สรา้ งความม่ันคงใหป้ ระเทศชาติ 5) ความสาคัญต่อนานาชาติ ทาให้เกิดความเข้าใจในสัมพันธภาพของมนุษยชาติหลีกเล่ียงความ ขดั แย้ง การปะทะอย่างรุนแรง ช่วยในการเจรจา การประนีประนอมด้วยเหตุผลไม่ดูถูก กดข่ี การข่มเหงกันใน เรื่องเช้อื ชาติ สีผวิ และวฒั นธรรม นันทนาการ เป็นปัจจัยสาคัญและเป็นส่ิงจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับชีวิตมนุษย์ ซึ่งนอกจากช่วยพัฒนาการ ในด้านคุณภาพชีวิตส่วนบุคคลแล้วยังช่วยให้มีการพัฒนาต่อเน่ืองไปยังคุณภาพของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติอีกด้วย นันทนาการมีความสาคัญต่อ บุคคล ครอบครัว ชุมชน และประเทศ นันทนาการเป็น ความต้องการพ้ืนฐานทม่ี นุษยแ์ สดงออกเพื่อความคิด สรา้ งสรรค์ และสรา้ งความสัมพันธ์อนั ดตี ่อกัน 5.3) ประเภทของกจิ กรรมนนั ทนาการ มีผู้เชี่ยวชาญทางวิชาชีพนันทนาการ ได้จัดแบ่งประเภทของกิจกรรมนันทนาการไว้ต่าง ๆ หลาย รูปแบบ ข้ึนอยู่กับเปูาหมาย โอกาส ความเหมาะสมของปัจจัย องค์ประกอบท่ีเก่ียวข้องต่าง ๆ ที่สาคัญและ น่าสนใจ มีดังตอ่ ไปน้ี นนั ทนาการเปน็ ศาสตรท์ ว่ี า่ ด้วยการนากจิ กรรมไปปฏบิ ัติเพอ่ื ให้เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลินในยาม ว่าง และมีความพึงพอใจ สุขใจ สามารถแบ่งกิจกรรมออกได้ ดังนี้ (สานักงานพัฒนาการกีฬาและนันทนาการ, 2547 : 45-54) 1) กจิ กรรมนันทนาการศิลปหัตถกรรม (art and craft) หมายถึง การประดิษฐ์ส่ิงต่าง ๆ ด้วยมือหรือ งานศิลปะต่าง ๆ ท่ีทาข้ึนด้วยมือ ดังน้ัน จึงเป็นกิจกรรมเสริมทักษะความสามารถในการใช้มือสร้างงานฝีมือ ใหแ้ ก่ชุมชน เพอื่ พฒั นาอารมณส์ งั คมและสติปัญญา 2) กิจกรรมนันทนาการเกมและกีฬา (game and sport) เกมและกีฬาเป็นกิจกรรมท่ีต้องการ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งทักษะการเคลื่อนไหว สติปัญญา ความทนทานและพละกาลังของร่างกายในการประกอบ กิจกรรม ซึ่งบางกิจกรรมจะมีการใช้อุปกรณ์ประกอบ โดยมากมักจะจัดกิจกรรมประเภทนี้ในสถานที่ท่ีเป็น บริเวณกว้าง เชน่ สนามหญ้า โรงยมิ เนเซีย่ ม สระว่ายนา้ และลานกว้าง เป็นต้น ในการเล่นหรือการแข่งขันก็จะ มีกฎกติกาในการเล่น เพ่ือให้เกิดการแข่งขันท่ีเสมอภาค สนุกสนาน ตื่นเต้น และท้าทายความสามารถของ

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ท้ังยังมีหลากหลายกิจกรรมสามารถเลือกเข้าร่วมได้เหมาะสมทั้งวัยเด็ก ผู้ใหญ่ วัยสูงอายุ หญิง ชาย รวมท้ังคนพิการ ดังนั้น กิจกรรมประเภทน้ีจึงได้รับความนิยมสูง สาหรับกิจกรรมประเภทเกมมี รูปแบบท่ีหลากหลายทั้งท่ีนิยมเล่นในท้องถ่ินชนบท จนกระท่ังเกมสร้างสรรค์ เกมคอมพิวเตอร์ เกมเบ็ดเตล็ด เกมนาไปส่กู ฬี าใหญ่ และเกมประกวด ฯลฯ 3) กิจกรรมนันทนาการงานอดิเรก (hobby) จัดเป็นกิจกรรมนันทนาการท่ีส่งเสริมการพัฒนาคุณค่า ชีวิตมนุษย์ต้ังแต่วัยเด็ก เยาวชน วัยหนุ่มสาวและวัยผู้สูงอายุ เป็นการส่งเสริมการสร้างประสบการณ์ชีวิตเป็น การบาบัดทางกายและจิตใจ เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจและเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคล สังคม โดย แบ่งเป็น 4 ด้าน คือ งานอดิเรกประเภทสะสม ประเภท สร้างสรรค์ ประเภทงานปฏิบัติและประเภทศึกษาหา ความรู้ 4) กิจกรรมนันทนาการดนตรีและการร้องเพลง (music and singing) เป็นเคร่ืองช้ีถึงคุณค่า ความสาคัญขอชีวิตมนุษย์ ดนตรีจัดเป็นการส่ือสารและถ่ายทอดความรู้สึกต่าง ๆ ของผู้เล่นและผู้ฟัง แต่เดิม เปน็ การเลียนเสียงจากธรรมชาติ เชน่ เสยี งใบไม้ เสียงสัตว์ ต่อมาได้ดัดแปลงเสียงต่าง ๆ มาประกอบภาษาเป็น การถ่ายทอดความรสู้ ึกซาบซง้ึ ในลักษณะของความสมหวงั หรือผดิ หวังซง่ึ กลายเป็นเสยี งร้องและเมื่อมีการนาเอา วัสดุอุปกรณ์ท้ังจากธรรมชาติและจากการประดิษฐ์ขึ้นมาใช้ประกอบจึงทาให้เกิดเสียงตามจินตนาการ ทาให้ การดนตรีริเริ่มมีเสียงตามลาดับบันไดเสียง เกิดเป็นเพลงต่าง ๆ กิจกรรมนันทนาการดนตรีและการร้องเพลง ทาใหผ้ ูเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรมมคี วามผ่อนคลายและมีความสุข 5) กิจกรรมนนั ทนาการเตน้ รา การฟูอนราและกิจกรรมเข้าจังหวะ (dance and rhythmic activity) เป็นกิจกรรมการเคล่ือนไหวร่างกายให้เข้ากับจังหวะดนตรีท่ีมีมาแต่โบราณ จุดประสงค์เพ่ือความสนุกสนาน ส่งเสริมมนุษยสัมพันธ์ แสดงออกถึงเอกลักษณ์และวัฒนธรรมและส่งเสริมการฝึกทักษะการเคลื่อนไหวใน ชวี ติ ประจาวัน 6) กจิ กรรมนันทนาการการแสดงละครและภาพยนตร์ (drama) เป็นกิจกรรมการแสดงออก เป็นการ ระบายอารมณ์หรือกิจกรรมของชวี ติ ประจาวนั การสร้างความรู้สึกการแสดงออกแห่งตน นันทนาการการละคร เกิดได้หลายวิธี เช่น เกิดจากการแสดงพิธีการศาสนา การฝันหรือจินตนาการที่ส่งเสริมพัฒนาการทางด้าน อารมณส์ ุข และสนุกสนาน 7) กิจกรรมนันทนาการนอกสถานที่ (outdoor activity) เป็นกิจกรรมหลากหลายท่ีส่งเสริมให้บุคคล ได้มีโอกาสใกล้ชิดธรรมชาติ ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาการเจริญเติบโตทางด้าน ร่างกาย อารมณ์ สังคมและ สติปญั ญาของบุคคลและสงั คม แหล่งนันทนาการประเภทนี้ ได้แก่ สวนสาธารณะ สนามเด็กเล่น ฟาร์ม ค่ายพัก แรม สวนสัตว์ ทะเล หรอื ศนู ยช์ มุ ชนทีน่ อกเหนือจากสภาพแวดล้อมในบ้านหรือในห้องเรยี น 8) กิจกรรมนันทนาการการเขียนและการพูด (communication activity) จะช่วยส่งเสริมให้บุคคล พัฒนาทักษะความรู้ความสามารถและสามารถจัดให้ทุกระดับวัยและเพศ เป็นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดความ สนุกสนานเพลิดเพลนิ การแสดงออกแห่งตนอย่างสร้างสรรค์ กอ่ ใหเ้ กดิ การพัฒนาการ จินตนาการ สามารถเข้า ร่วมกิจกรรมแบบประหยัดได้และเป็นกิจกรรมทเ่ี กา่ แกข่ องมนษุ ยชาตกิ จิ กรรมนันทนาการประเภทน้ี ได้แก่ การ อ่าน การเขียน และการพดู 9) กิจกรรมนันทนาการทางสังคม (social activity) เป็นกิจกรรมที่เป็นกีฬาในสังคมของมนุษย์ใน วาระและโอกาสต่าง ๆ กันเป็นการส่งเสริมคุณค่าของสังคมประชาธิปไตย ช่วยพัฒนาคุณภาพของสังคม เช่น การจัดเลี้ยงในบางครงั้ บางคราวเพอ่ื ความสนุกสนาน มกี ารรอ้ งเพลง มกี ารเล่นเกมต่าง ๆ กิจกรรมในครอบครัว กจิ กรรมในสังคมใหญ่ เชน่ งานปาร์ต้ี งานเต้นรา การประชมุ พบปะสงั สรรคต์ ่าง ๆ เป็นตน้

10) กจิ กรรมนันทนาการพิเศษ (special activity) หมายถึง กิจกรรมท่ีจัดข้ึนในโอกาสเทศกาลพิเศษ อาจเป็นกิจกรรมการเล่นตามความสนใจของคนในหมู่บ้านหรือชุมชนน้ัน ๆ มีการจัดเตรียมอาคารสถานที่เพ่ือ เปิดโอกาสให้คนในชุมชนได้มาร่วมกิจกรรมกัน เปิดโอกาสให้บุคคลได้รู้จักสมาชิกใหม่ สร้างมนุษยสัมพันธ์ รว่ มกันทางานเป็นทมี การจัดงานวันสงกรานต์ และวันลอยกระทง ฯลฯ รวมทั้งกิจกรรมวันพิเศษของบุคคลใน ครอบครัว เชน่ วันเกิด วันครบรอบและแต่งงาน เป็นตน้ 11) กจิ กรรมนันทนาการอาสาสมัคร (volunteer activity) หมายถึง การอาสาสมัครเข้าไปช่วยเหลือ งานสังคมหรือองคก์ รหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ในยามวา่ ง โดยไม่หวังผลตอบแทน เป็นกิจกรรมอาสาสมัครที่ส่งเสริมใน เรื่องจิตใจของบุคคลและสังคม อาสาสมัครเป็นการให้บริการโดยปราศจากสินจ้างรางวัล เป็นการเสริมทักษะ และคุณภาพชีวิต การให้บริการอาสาสมัครเป็นการพัฒนาชุมชนและประเทศชาติโดยอาศัยแรงงาน ความ ร่วมมือของคน กลุ่ม หน่วยงานเอกชนชุมชนและองค์กรธรกิจการค้าท่ีจะต้องจัดบริการชุมชน กิจกรรม นันทนาการอาสาสมคั ร เชน่ การอาสาพัฒนาชุมชน วดั และโรงเรียนต่าง ๆ เป็นต้น การดาเนินงานขององค์กร สาธารณะประโยชนต์ า่ ง ๆ สมบัติ กาญจนกิจ (2544 : 37-55) กล่าวว่า การประกอบกิจกรรมนันทนาการอาจจะประกอบได้ทั้ง ในรม่ หรือกลางแจ้ง การแยกประเภทกิจกรรมนันทนาการสามารถแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ตามธรรมชาติ ของกจิ กรรมได้ 2 ประเภท คอื 1) นันทนาการประเภทใช้แรงหรือพลังงาน (active recreation) เป็นกิจกรรม ได้แก่ การกีฬา และ การเล่นเกมต่าง ๆ 2) นันทนาการประเภทท่ีไม่ต้องใช้แรงหรือใช้พลังงาน (passive recreation) กิจกรรมประเภทน้ี ได้แก่ การน่ังฟังดนตรี และการชมภาพยนตร์ ซึ่งได้จัดกิจกรรมนันทนาการไว้เป็นหมวดหมู่ได้ 15 ประเภท ดว้ ยกนั คอื 2.1 กิจกรรมประเภทเกมและกีฬา (games and sports) 2.2 กจิ กรรมศลิ ปหตั ถกรรม (arts and crafts) 2.3 กิจกรรมเต้นราและกิจกรรมเข้าจงั หวะ (dance) 2.4 กจิ กรรมการละคร (drama) 2.5 กจิ กรรมงานอดิเรก (hobbies) 2.6 กิจกรรมดนตรี หรือรอ้ งเพลง (music) 2.7 กจิ กรรมการกลางแจ้ง หรือกิจกรรมนอกเมอื ง (outdoor recreation) 2.8 กิจกรรมการสงั คม (social recreation) 2.9 กิจกรรมพิเศษ (special event) 2.10 กจิ กรรมการพดู การอ่าน และการเขยี น (reading writing and speaking) 2.11 กิจกรรมบริการอาสาสมคั ร (voluntary services) 2.12 กิจกรรมท่องเท่ียวทัศนะศกึ ษา (tourism and traveling) 2.13 กจิ กรรมกลมุ่ สมั พันธ์และมนุษยสัมพันธ์ (group process) 2.14 กจิ กรรมพัฒนาจิตใจและความสงบสขุ 2.15 กิจกรรมการพัฒนาสุขภาพและสมรรถภาพ จากการศกึ ษาสรปุ ได้ว่า กิจกรรมนนั ทนาการมหี ลายรปู แบบที่จะสามารถตอบสนองความต้องการและ ความพึงพอใจ และส่งเสริมการแสดงออกแห่งตนของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ซ่ึงได้แก่ งานอดิเรก เกมและกีฬา

ดนตรแี ละละคร กิจกรรมเข้าจังหวะ การลีลาศ และดนตรีพ้ืนเมือง กิจกรรมส่ือความหมาย กิจกรรมทางสังคม นันทนาการกลางแจง้ กิจกรรมกายและใจ 5.4) ประโยชนแ์ ละคุณคา่ ของนันทนาการ สมบัติ กาญจนกจิ (2535 : 41-43) ได้สรปุ ประโยชนข์ องนนั ทนาการไวด้ งั ตอ่ ไปนี้ คอื 1) ช่วยให้บุคคลและชุมชนได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลิน มีความสุขในชีวิตและใช้เวลา วา่ งให้เกดิ ประโยชน์ 2) ช่วยให้บุคคลและชุมชนพัฒนาสุขภาพจิต และสมรรถภาพกายท่ีดี เกิดความสมดุลของ ชวี ติ 3) ช่วยปอู งกันปัญหาอาชญากรรมและพฤติกรรมเบ่ียงเบนในทางไม่พึงประสงค์ของเยาวชน และเด็ก การพัฒนาพฤติกรรมของเด็กและเยาวชน นับว่าเป็นส่ิงสาคัญในการเสริมสร้างลักษณะนิสัยที่พึง ประสงค์และเป็นกาลังคนท่ีมีประสิทธิภาพในอนาคต กิจกรรมนันทนาการประเภทต่าง ๆ ช่วยให้เด็กและ เยาวชนเลือกได้ตามความสนใจ และไดใ้ ช้เวลาวา่ งในการพัฒนาลักษณะนสิ ัยที่ถึงประสงค์ได้ 4) ส่งเสริมความเป็นพลเมืองดี การท่ีชุมชนได้มีโอกาสใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยเข้า ร่วมกิจกรรมนันทนาการ จะได้เรียนรู้เร่ืองของหน้าท่ีความรับผิดชอบคุณค่าทางสังคมเสรีประชาธิปไตย ลด ความเห็นแกต่ ัว สรา้ งคุณค่า จรยิ ธรรม ความมนี า้ ใจ การให้บริการรจู้ กั อาสาสมัครช่วยเหลือสังคม ซ่ึงถือว่าเป็น กจิ กรรมของความเปน็ พลเมอื งดขี องประชาชาติ 5) ส่งเสริมพัฒนาอารมณ์สุข กิจกรรมนันทนาการช่วยพัฒนาอารมณ์สุข รวมท้ังความสุข สนุกสนาน และความสุข ลดความเครียด ความวิตกกังวล ทาให้อารมณ์แจ่มใส และช่วยส่งเสริมให้รู้จักการ พฒั นาเกีย่ วกับการควบคมุ อารมณแ์ ละบุคลิกภาพท่ีดีอย่างเหมาะสม 6) ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมนันทนาการ เช่น การละเล่นพ้ืนเมือง วิถีชีวิต ประเพณี พื้นบ้าน ตลอดจนแหล่งนันทนาการประเภทอุทยานประวัติศาสตร์โบราณสถานและโบราณวัตถุ ช่วยส่งเสริม ศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ ส่งเสริมการเรียนรู้ทัศนคติและเกิดความซาบซึ้ง อันก่อให้เกิดการอนุรักษ์ ศลิ ปวฒั นธรรม และเอกลักษณข์ องชาติตอ่ ไป 7) ส่งเสริมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ กิจกรรมนันทนาการกลางแจ้งและนอกเมือง ได้แก่ กิจกรรมการอยู่คา่ ยพักแรม เดินปุา ศึกษาธรรมชาติ ไต่เขา เป็นต้น ซ่ึงกิจกรรมดังกล่าวน้ีช่วยส่งผลให้ผู้สอน ผู้ ที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รู้จักคุณค่าของธรรมชาติ เกิดความซาบซึ้ง และสามารถดูแลอนุรักษ์ธรรมชาติอันจะเป็น ประโยชน์ต่อชุมชนและประชาตติ อ่ ไป 8) ส่งเสริมในเร่ืองของการบาบัดรักษา กิจกรรมนันทนาการเพ่ือบาบัดเป็นกรรมวิธีและ กิจกรรมท่ีจะช่วยรักษาคนปุวย ท้ังทางด้านร่างกายและจิตใจ เช่น งานอดิเรก และช่วยส่งเสริมความหวั ง ความคิด และการใชเ้ วลาวา่ งแกค่ นปุวยซ่ึงกาลงั ตอ่ สู้กับความทกุ ข์ทางกายและใจ กิจกรรมนันทนาการทางด้าน กีฬา นันทนาการช่วยส่งเสริมการพัฒนาร่างกาย กิจกรรมนันทนาการทางสังคมช่วยสร้างขวัญกาลังใจของคน ปุวย 9) ส่งเสริมมนุษยสัมพันธ์และการทางานเป็นทีม กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ช่วยให้บุคคลได้ แสดงออกและละลายพฤติกรรมของกลุ่ม สร้างเสริมคุณค่าทางสังคม ฝึกการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข กิจกรรมเกมกฬี า และกีฬาเพ่อื การแข่งขัน และการอยูค่ ่ายพักแรมช่วยฝึกการทางานเป็นหมู่คณะ ลดความเห็น แกต่ วั เสรมิ สร้างความสามคั คแี ละความเขา้ ใจอันดใี นหมู่คณะ

10) สง่ เสริมและบารุงขวญั ทหารและตารวจ ปฏิบัติหน้าท่ีตามชายแดน กิจกรรมนันทนาการ ทจี่ ัดข้นึ เพ่อื สง่ เสรมิ ขวัญและกาลังใจของทหาร ตารวจชายแดน เป็นสิ่งจาเป็นและสาคัญย่ิงในการตอบแทนให้ กาลังใจในกิจกรรมเวลาวา่ งแก่ กองทหารและตารวจชายแดน บัทเลอร์ (อเนก หงส์ทองคา 2542, อ้างถึงใน Butler, 1959 : 14-15) ได้กล่าวถึงคุณค่าทาง นันทนาการท่มี ตี ่อมนุษย์ไวพ้ อสรปุ ได้ดังน้ี 1) นนั ทนาการเป็นความต้องการพ้ืนฐานของมนุษย์ 2) นันทนาการ คือ ทางออกทีด่ ขี องการแสดงออกและการพัฒนาตนเอง 3) การเล่น หรอื นนั ทนาการ ชว่ ยใหเ้ ด็กมคี วามเจริญเติบโต และมีประสบการณ์ท่ีจะนาไปใช้ ประโยชน์ไดใ้ นชวี ติ เมอ่ื เจรญิ เตบิ โตขน้ึ 4) ช่วยให้เดก็ มีความกระตือรือร้นในชีวิต และกิจกรรมต่าง ๆ ช่วยให้ได้มาซ่ึงทักษะท่ีจาเป็น สาหรับชวี ติ ในภายหลงั 5) สาหรับผู้ใหญ่นันทนาการเป็นการแสดงออกในกิจกรรมต่าง ๆ และเป็นการคบหาสมาคม ซ่ึงกนั และกนั 6) นันทนาการ เปน็ วธิ หี าความสุข ซง่ึ จะช่วยให้เกิดความสมดุลในชีวติ ในการทางาน นอกจากน้ี พรี ะพงศ์ บญุ ศิริ (2542 : 37) ได้กลา่ วถงึ ประโยชนข์ องนนั ทนาการไว้ดงั นี้ 1) ให้ความสนกุ สนาน พบกับความสุขในชีวติ และรจู้ ักใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์ 2) ช่วยสร้างเสรมิ สุขภาพจิต 3) ชว่ ยปูองกนั และลดปัญหาอาชญากรรมและความประพฤติเกเรของเด็ก กาจัดความไม่สงบ สขุ ของสงั คม 4) สง่ เสริมความเป็นพลเมืองดี รู้จักบารุงสุขภาพ มีน้าใจ ไม่เห็นแก่ตัว รู้จักเอื้อเฟื้อ เสียสละ และชว่ ยเหลือกัน 5) ช่วยในการพกั ฟื้นคนปุวย สรา้ งเสรมิ สมรรถภาพทางกายและจติ 6) ช่วยสรา้ งความรักสามคั คีในกลมุ่ ในชมุ ชนและสังคม 7) ช่วยสงวนรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ความสวยงามของสถานที่ ซ่ึงจัดเพื่อนันทนาการจะ เป็นแหลง่ สงวนทางธรรมชาตทิ ี่ดี ชีชีพ เยวพัฒน์ (2543 : 26) ประโยชน์ของกิจกรรมนันทนาการพอสรุปเป็นหัวข้อใหญ่ ๆ 3 หัวข้อ ดังน้ี 1) ประโยชน์ต่อตนเอง ทาให้คนเรามีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ เนื่องจากใน ชีวิตประจาวันของแต่ละคนเต็มไปด้วยส่ิงอานวยความสะดวกมากมาย จึงทาให้คนเราละเลยต่อการออกกาลัง กาย รา่ งกายจึงไม่มีความแข็งแรงสมบูรณ์และทรุดโทรมได้ง่าย ดังน้ัน นันทนาการในด้านการออกกาลังกายจึง ชว่ ยส่งเสรมิ ใหร้ า่ งกายมีสมรรถภาพทางกายสูงข้ึน ส่วนทางด้านจิตใจก็ได้พักผ่อนทาให้คลายความตึงเครียดลง ลดความวติ กกงั วล สามารถปรับตวั ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมหรือทางานต่าง ๆ ได้ดีขึ้น ท้ังยังเป็นการส่งเสริมให้ เกิดความคดิ ริเร่ิมกระตนุ้ ใหม้ กี ารแสดงออก และชว่ ยเพมิ่ พนู ความรู้ ทักษะ ความชานาญ ในการปฏิบัติงานตาม ความถนัดและความสนใจของแต่ละบคุ คล 2) ประโยชน์ต่อครอบครัว กิจกรรมนันทนาการบางอย่าง นอกจากจะให้ความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ทาให้ชีวิตครอบครัวเป็นสุขและอบอุ่น เช่น การปลูกต้นไม้ จัดสวน ทาสวนครัว วาดภาพเขียน การ์ตูน สะสมแสตมป์ และยังอาจเพ่ิมรายได้ให้แก่ครอบครัวทางอ้อมอีกด้วย และในบางครั้งก็มีส่วนช่วยให้

สมาชิกในครอบครัวมีความใกล้ชิดกันมากข้ึน อันเป็นการเพ่ิมความรักความอบอุ่นแก่ครอบครัว จากการท่ีใช้ นนั ทนาการเป็นสอื่ กลาง 3) ประโยชน์ต่อสังคม ไดแ้ ก่ 3.1 ก่อให้เกิดความรักใคร่กลมเกลียวกันในการทากิจกรรมร่วมกันเพื่อ สาธารณประโยชน์ ช่วยใหม้ คี วามเห็นอกเห็นใจซ่งึ กันและกัน 3.2 สง่ เสริมความเป็นพลเมืองดี การท่ีชุมชนได้มีโอกาสใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ โดยเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ เป็นการเพ่ิมคุณธรรมแก่บุคคลท่ีเข้าร่วมกิจกรรมนั้น ๆ ทาให้เขาเหล่าน้ันมี ความรบั ผดิ ชอบ มีนา้ ใจ ลดความเหน็ แก่ตัวลงได้ 3.3 สง่ เสรมิ ให้เกิดมิตรภาพและสนั ติภาพ การทีบ่ คุ คลได้มโี อกาสร่วมกิจกรรมกันทา ให้สร้างความเข้าใจที่ดีต่อกัน และลดช่องว่างระหว่างสถานภาพท่ีแตกต่างกันได้ สร้างความเป็นมิตร เพื่อ นาไปสู่ข้อตกลงที่ก่อให้เกิดประโยชน์ร่วมกัน ความสุขความสงบของสังคมก็จะเกิดข้ึน เช่นการเล่นกีฬาเพื่อ เชอื่ มความสามัคคี การจดั นทิ รรศการและการจัดการแสดงของโรงเรียน เป็นต้น 3.4 ลดปัญหาการประพฤติศลี ธรรมหรือปญั หาอาชญากรรม เพราะเด็กและเยาวชน รจู้ ักใชเ้ วลาว่างในการพฒั นาลกั ษณะนิสยั ของตนใหเ้ ปน็ ท่ีพึงปรารถนาต่อสังคม จากประโยชน์ดังกล่าวสรุปได้ว่า นันทนาการเป็นสิ่งที่ช่วยสนองความต้องการพื้นฐานของมนุษย์ ช่วย เสริมสร้างความสขุ ทง้ั ทางกายและใจ และเสริมสร้างพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของบุคคล นันทนาการเป็นสิ่งท่ีดี มีคุณค่า มีประโยชน์ท้ังส่วนบุคคลและส่วนรวม เพราะว่านันทนาการเป็นกิจกรรมที่นอกจากจะช่วยพัฒนาทั้ง ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสติปัญญาแล้วยังช่วยในการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีของสังคมให้อยู่ ร่วมกันอยา่ งมคี วามสขุ ส่งผลตอ่ เน่อื งในการพัฒนาชุมชน สงั คมและประชาชาตติ อ่ ไป 6. งานวิจยั ท่ีเกย่ี วขอ้ ง 6.1) งานวจิ ยั ในประเทศ ประเทือง แมลงภู่ (2537 : บทคัดย่อ) ทาการวิจัยเรื่อง การนาเสนอโครงการจัดกิจกรรม ชมุ ชนภาษาองั กฤษของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น เขตการศึกษา 6 ซึ่งผลการวิจัยพบว่าปัญหาที่พบมากที่สุด ในการจัดกจิ กรรมชุมนุมภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในเขตการศึกษา 6 คือ การไม่มีการ วางแผนการจัดกิจกรรมชุมนุมภาษาอังกฤษล่วงหน้าตลอดภาคการศึกษา อีกทั้งนักเรียนและครูท่ีมีส่วน เก่ียวข้องกับการจัดกิจกรรมชุมนุมภาษาอังกฤษต้องการให้มีการจัดกิจกรรมในด้านการส่งเสริมการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และการส่งเสริมการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษมากขึ้น โดยนาผลที่ได้จากการวิเคราะห์ความ ต้องการในการจัดกิจกรรมชุมนุมภาษาอังกฤษอันดับท่ีหนึ่ง สอง และสามของกิจกรรมประเภทส่งเสริมการฟัง การพูด การอ่านและการเขยี น และกิจกรรมสง่ เสริมการเรยี นรู้วิชาภาษาอังกฤษอื่น ๆ มาสร้างเนื้อหาสาระของ โครงการกิจกรรมชุมนุมภาษาอังกฤษ จานวน 16 กิจกรรม และ 4) ประเมินโครงการ โดยผู้เชี่ยวชาญ จานวน 10 ท่าน เครื่องมือท่ีใช้ คือ แบบประเมินโครงการ ผลการประเมินโครงการ พบว่าร้อยละ 98.81 ของ ผู้เชยี่ วชาญมคี วามเห็นวา่ โครงการจดั กจิ กรรมชุมนมุ ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น เขต การศึกษา 6 มีความเหมาะสมสามารถนาไปใช้ในชั่วโมงกิจกรรมชมุ นมุ ภาษาองั กฤษได้ รัชนี งามวิชา (2542 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเรื่อง ปัญหาการจัดเก่ียวกับกิจกรรมชมรมตาม ความคดิ เหน็ ของอาจารยแ์ ละนักเรียนโรงเรียนรัตนพาณิชยการ ในปัญหา 3 ด้าน คือ ด้านการดาเนินการ ด้าน บุคคลที่เก่ียวข้อง และด้านส่ิงอานวยความสะดวก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ จานวน 339 คน เป็น อาจารยท์ ่ปี รึกษาชมรม เป็นอาจารยท์ ป่ี รึกษาชมรมจานวน 85 คน และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ

ช้ันสูง ที่เป็นสามาชิกชมรมบาเพ็ญประโยชน์ ชมรมอนุรักษ์ไทย ชมรมดนตรีไทย ชมรมถ่ายภาพ ชมรมลีลาศ และชมรมกีฬาของโรงเรียนรัตนพาณิชยการ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2542 จานวน 254 คน ผลการวิจัย พบว่า 1) ความคิดเห็นของอาจารย์ที่มีต่อปัญหาการจัดการเก่ียวกับกิจกรรมชมรมโดยรวมทุกด้าน และรายด้าน อยู่ในระดับปานกลาง เม่ือแยกพิจารณาตามชมรม พบว่า อาจารย์ชมรมถ่ายภาพมีความคิดเห็น ตอ่ ปญั หาการจัดการเกีย่ วกบั กิจกรรมชมรมท้ังโดยรวมทุกด้านและรายด้านอยู่ในระดับมาก และอาจารย์ชมรม ลีลาศมีความเหน็ ต่อปญั หาการจัดการเก่ียวกบั กิจกรรมชมรม ดา้ นบคุ คลทีเ่ กี่ยวข้องอย่ใู นระดบั มาก 2) ความคิดเห็นของนักเรียนทั้งโดยรวมและรายด้าน อยู่ระดับปานกลางเม่ือแยกพิจารณา ตามชมรม พบวา่ นักศึกษาชมรมอนรุ กั ษ์ไทยมคี วามคดิ เหน็ ต่อปญั หาการจัดการเก่ียวกับกิจกรรมชมรมโดยรวม อยู่ในระดับน้อย และด้านบุคคลท่ีเก่ียวกับกิจกรรมโดยรวมอยู่ในระดับน้อย และด้านบุคคลที่เกี่ยวข้องก็อยู่ใน ระดับน้อยเช่นกนั 3) ความคิดเห็นของอาจารย์และนักศึกษาที่มีต่อปัญหาการจัดการเก่ียวกับกิจกรรมชมรม โดยรวมทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการ ดาเนินการแตกแต่งกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และด้านบุคคลท่ีเก่ียวข้องแตกต่างกันอย่างมี นยั สาคญั ทางสถิติทีร่ ะดับ .01 สว่ นดา้ นส่ิงอานวยความสะดวกแตกตา่ งกนั อยา่ งไม่มนี ัยสาคัญทางสถิติ 4) อาจารยท์ ส่ี ังกดั ชมรมต่างกนั มคี วามคดิ เห็นตอ่ ปัญหาการจัดการเก่ียวกับกิจกรรมชมรมทั้ง 3 ด้านแตกต่างกัน 5) อาจารย์ท่ีสังกัดชมรมต่างกัน มีความคิดเห็นต่อปัญหาการจัดการเก่ียวกับกิจกรรมชมรม โดยรวมทุกด้านแตกต่างกัน สุนันท์ ศิริวรรณ์ (2544 : 11-13) ทาการวิจัยเรื่อง การพัฒนากิจกรรมชุมนุมภาษาอังกฤษ เพอื่ การสือ่ สาร สาหรับนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรยี นท่าทางวทิ ยา จังหวัดเพชรบุรี โดยมีขั้นตอนการ วิจัย ดังน้ี 1) ศึกษาข้อมูลพ้ืนฐานเพื่อสารวจความต้องการกิจกรรมในกิจกรรมชุมนุมภาษาอังกฤษ วิเคราะห์ ความต้องการและวิเคราะห์หลักสูตร 2) พัฒนากิจกรรมชุมนุมภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร โดยสร้างต าราง กาหนดกิจกรรม สร้างกิจกรรมชุมนุมภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร ทดลองใช้กิจกรรมชุมนุมภาษาอังกฤษเพื่อ การส่อื สารกบั นกั เรียน 3 คน และนกั เรยี นกลุ่มเล็กท่ีไมใ่ ช่กล่มุ ตัวอย่าง และหาประสิทธิภาพ E1/E2 3) ทดลอง ใช้กิจกรรมชุมนุมภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารกับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง และ 4) ประเมินกิจกรรมชุมนุม ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสารโดยหาประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 และสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนกลุ่ม ตัวอย่างที่มีต่อการเข้าร่วมกิจกรรมชุมนุมภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร ผลการวิจัยพบว่า กิจกรรมชุมนุม ภาษาอังกฤษมีความคิดเห็นว่า กิจกรรมชุมนุมภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารเป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้นักเรียน สามารถทางานเป็นกล่มุ เปน็ หมู่คณะไดด้ ี ได้รบั ความสนกุ สนานเพลิดเพลินและชอบภาษาองั กฤษ 6.2) งานวิจัยตา่ งประเทศ ฮัมฟรีย์ (Humphrey, 2001 : 125) ได้ศึกษาเรื่อง ความสัมพันธข์ องการเข้าร่วมกิจกรรมนอก สถานศกึ ษากับผลสัมฤทธ์ิในการเรียน โดยการแบ่งกิจกรรมนอกสถานศึกษาออกเป็น 12 ประเภท ผลการวิจัย คร้ังน้ีพบว่า ฐานะเศรษฐกิจของนักเรียนมีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการเข้าร่วมกิจกรรม ผู้ปกครองมี ความเห็นว่า นักเรียนมีความสนใจกิจกรรมนอกสถานศึกษามาก นักเรียนชายชอบเข้าร่วมกิจกรรมมากกว่า นักเรียนหญิง และกจิ กรรมทีน่ ักเรียนใช้เวลามาก คอื การดูโทรทศั น์ เบร์ด (Byrne, 1987 : 25) ได้ศึกษาเร่ือง ความเชื่อในการออกกาลังกาย ท่ีจะช่วยลด ความเครียดทางด้านจิตใจ วัตถุประสงค์เพื่อนามาแนะนาคนไข้ กลุ่มเปูาหมายท่ีทาครั้งนี้ นิสิตแพทย์โดยมีการ

วจิ ยั ทีเ่ มอื งซานฟรานซสิ โก ในปี ค.ศ. 1963 ผลท่ีได้จากการวิจัย คือ ร้อยละ 91 เห็นว่าการออกกาลังกายและ เลน่ กีฬาเบา ๆ จะชว่ ยลดความตึงเครยี ดของจิตใจ ไดเ้ ป็นอย่างดีและวิธีปฏิบัติได้แนะนาให้คนไข้ท่ีมารักษาเล่น กีฬาชนดิ ต่าง ๆ เช่น วา่ ยน้า เทนนิส ลลี าศ เต้นราพ้ืนเมือง ควบคูไ่ ปกับการเยยี วยารกั ษาดว้ ย กริฟฟิน (Griffin,1967 : 35) ได้ศึกษาเรื่อง การประเมินผลการเลือกโปรแกรมพลศึกษาของ นสิ ิตชายในระดับมหาวิทยาลัย วัตถปุ ระสงค์เพือ่ ต้องการทราบถงึ ความต้องการโปรแกรมพลศึกษาของนิสิตชาย ในระดบั มหาวทิ ยาลัย กลมุ่ เปูาหมายที่ทาการวิจยั ครัง้ นค้ี อื นิสิตชายในระดับมหาวิทยาลัย เม่ือปี ค.ศ.1967 พบ ท่ีได้จากการวจิ ยั พบวา่ 1) สถานทีใ่ ช้ในการจดั กิจกรรมกลางแจ้ง จะดีกว่าสถานท่ีในการจัดกิจกรรมในร่ม 2) อุปกรณ์การสอนท่ีเป็นวัสดุสิ้นเปลือง เช่น ลูกฟุตบอล ลูกบาสเกตบอล ลูกขนไก่ ยังมี จานวนนอ้ ยมาก 3) มหาวทิ ยาลยั ต่าง ๆ เหน็ วา่ กจิ กรรมพลศกึ ษามีความจาเป็นทตี่ อ้ งการใช้งบประมาณอย่าง มาก เทา่ ทีเ่ ปน็ อยงู่ บประมาณไมเ่ พยี งพอ ฮาโรลด์ (Harrold, 1967 : 2782-A) ได้ศึกษาเร่ือง การควบคุมการจัดกิจกรรมนักศึกษาใน ระดับมหาวิทยาลัย เพื่อค้นหาหลักเกณฑ์จะใช้ควบคุมกิจกรรมนักศึกษา ผลการวิจัยสรุปได้ว่า วัตถุประสงค์ที่ เหมาะสมสาหรบั การจัดการศกึ ษาระดับอุดมศึกษา คือการปลูกฝังสร้างเสริมพัฒนาการและส่งเสริมบุคลิกภาพ ทุกด้านของนักศึกษา นโยบายการควบคุมกิจกรรมนักศึกษาของมหาวิทยาลัยควรข้ึนอยู่กับเหตุผล และผล ทางด้านคุณธรรมวัฒนธรรม ควรกาหนดขอบเขตให้กว้าง ๆ และยืดหยุ่นพอสมควร การเข้าร่วมกิจกรรม นักศึกษาเป็นบทบาททีทางวิทยาลัยควรส่งเสริมและสนับสนุน มหาวิทยาลัยยอมรับการเปล่ียนแปลงทาง คา่ นิยมสงั คมทเี่ กดิ ขน้ึ ของนักศึกษา จากการศึกษาเอกสารงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องตลอดจนศึกษางานวิจัยในประเทศและต่าง ประเทศท่ี เก่ียวข้องกับงานวิจัย เร่ือง การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพสถาปัตยกรรมด้วยกิจกรรม นนั ทนาการ ในรายวชิ าการออกแบบเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2 ระดับช้ัน ปวช.3/1 ปีการศึกษา 2561 พบว่า ในสังคมปัจจุบันภาษาอังกฤษมีความสาคัญมาก เพ่ือประโยชน์ในการติดต่อสื่อสาร การศึกษา การ ประกอบอาชีพ และจัดเป็นภาษาต่างประเทศที่หน่ึงสาหรับผู้เรียนทุกคนที่เข้าสู่ระบบอุดมศึกษา ซึ่งมุ่งเน้นให้ นักเรียนนักศึกษาเรียนรู้และพัฒนาภาษาอังกฤษเพื่อก้าวสู่ความเป็นสากลโดยมุ่งเน้นการพัฒนาความสามารถ ด้านภาษาเพื่อก้าวสู่ความเป็นสากลโดยมุ่งเน้นการพัฒนาความสามารถด้านภาษาอังกฤษของนักเรียนสู่ความ เป็นสากล เนน้ การปฏิบัติให้สอดคล้องเหมาะสมกับสาระการเรียนรู้ของผู้เรียนทั้งด้านการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน จากการศึกษาเก่ียวกับวิธีการสอนภาษาอังกฤษ พัฒนาความรู้และความสามารถ ทักษะต่าง ๆ ของผู้เรียนโดยจัดกิจกรรมการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความสามารถทางภาษา สุขภาพทางร่างการของมนุษย์ หากไม่มีความเคลื่อนไหวออกกาลังกายอยู่เสมอก็จะทาให้ทรุดโทรมเจ็บปุวยได้ง่าย ลักษณะการดาเนินชีวิตใน ปัจจุบันเอื้ออานวยให้คนออกกาลังกายน้อยลง เพ่ือเสริมให้คนเรามีสุขภาพแข็งแรงขึ้น ซ่ึงนอกจากจะปูองกัน โรคภยั ไข้เจ็บแล้ว ยังทาให้ความสามารถในการดาเนินชีวิตให้สุขสบายได้ด้วย อีกทั้งยังส่งเสริมสุขภาพจิต การ เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการจะช่วยให้คนที่ทางานหนักได้มีโอกาสผ่อนคลายความตึงเครียดทางอารมณ์ เป็น ทางระบายออกของอารมณ์ท่ีดีอย่างหนึ่งซึ่งมีผลส่งเสริมสุขภาพจิตได้เป็นอย่างดี ในประโยชน์ทางด้านมนุษย สมั พันธ์นนั ทนาการให้แสดงออกซ่ึงความร่วมกันในยามว่างมากข้ึนในหมู่คนที่ร่วมการนันทนาการกัน กิจกรรม ต่าง ๆ จะทาให้ทัศนคติต่อมนุษยสัมพันธ์พัฒนาไปในทางท่ีดี มีการร่วมมือกันดีข้ึน ยอมรับและเข้าใจสิทธิผู้อ่ืน และความคดิ ทคี่ นอืน่ ในกลุ่มให้ประโยชนด์ ้านการพฒั นาตนเองกิจกรรมนนั ทนาการช่วยพัฒนาความสามรถของ บุคคล ส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และสุนทรียภาพ มีส่วนทาให้มนุษย์สร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ข้ึนมา

เนื่องจากใช้ความสามารถของตนเองทาให้เกิดการพัฒนาทางทักษะท่ีมีซ่อนอยู่ในตัว ส่งเสริมเพ่ือพัฒนา ทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา สร้างความสาเร็จในการปฏิบัติงาน ด้วยเหตุน้ีผู้วิจัยจึงเกิด แนวคิดทจี่ ะศกึ ษาการสอนที่เน้นกิจกรรมนนั ทนาการเพอ่ื ให้มีประสิทธิภาพสงู สดุ ต่อไป บทที่ 3 วิธีดาเนนิ การวจิ ยั การวิจัยเร่ือง การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพสถาปัตยกรรมด้วยกิจกรรมนันทนาการ เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (experimental research) แบบแผนการวิจัยแบบ one group pretest-posttest design โดยมนี กั เรยี นระดับช้นั ปวช.3/1 แผนกวิชาชา่ งเทคนิคสถาปตั ยกรรม วทิ ยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี ซึ่ง มีรายละเอียดและขน้ั ตอนในการดาเนินการวจิ ยั ประกอบดว้ ย 1. ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 2. ตวั แปรทศี่ ึกษา 3. เนือ้ หา 4. ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการวิจัย 5. แบบแผนการวิจยั 6. เครอื่ งมอื ท่ใี ช้ในการวิจัย 7. ขนั้ ตอนในการสร้างและหาคณุ ภาพของเคร่ืองมือ 8. การดาเนนิ การทดลองและเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 9. การวิเคราะหข์ อ้ มลู ผู้วจิ ัยได้ดาเนินการวิจยั ตามขนั้ ตอนดงั นี้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรของการวิจัยครั้งน้ีคือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ช้ันปีที่ 3 แผนกวิชาช่าง เทคนิคสถาปัตยกรรม ของวิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี ท่ีลงทะเบียนเรียนวิชาการออกแบบเขียนแบบ สถาปัตยกรรม 2 ในภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561 จานวน 47 คน

กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ช้ันปีที่ 3/1 แผนกวิชาช่างเทคนิค สถาปัตยกรรม ของวิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาการออกแบบเขียนแบบสถาปัตยกรรม 2 ในภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2561 จานวน 26 คน ตัวแปรที่ศกึ ษา การทาวิจัยชั้นเรียนเรื่อง การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพสถาปัตยกรรมด้วยกิจกรรมนันทนาการ วิชาการออกแบบเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2 ระดับชั้น ปวช.3/1 ปีการศึกษา 2561 โด ยแสดงเป็น แผนภมู กิ ารศึกษาวิจยั ดังน้ี ตัวแปรตน้ ไดแ้ ก่ กิจกรรมนนั ทนาการ ตวั แปรตามได้แก่ 1. ทักษะภาษาองั กฤษ การฟงั การพดู การอ่าน และการเขยี น 2. ความคดิ เหน็ ของนักเรยี นท่ีมตี อ่ กจิ กรรมนันทนาการ เนอื้ หาสาระ เน้ือหาที่ใช้ในการวิจัย เป็นเน้ือหาสาระการเรียนรู้เก่ียวกับวิชาการออกแบบเขียนแบบสถาปัตยกรรม ภายใน 2 ซ่ึงประกอบด้วย 6 หน่วย คือ 1) vocabulary for drawing ซ่ึงมีเนื้อหาเกี่ยวกับคาศัพท์ที่จะต้องใช้ สาหรับเขียนแบบ เช่น plan/elevation/scale/furniture เป็นต้น 2) living room ซ่ึงมีเนื้อหาเก่ียวกับ คาศัพท์สาหรับห้องนั่งเล่น เช่น sofa/coffee table/table เป็นต้น 3) dining room ซึ่งมีเนื้อหาเก่ียวกับ คาศพั ท์สาหรับห้องรับประทานอาหาร เช่น dining table/dining chair/cupboard เป็นต้น 4) kitchen ซ่ึงมี เน้ือหาเก่ียวกับคาศัพท์สาหรับห้องครัว เช่น stove/sink/hood เป็นต้น 5) bedroom ซ่ึงมีเน้ือหาเกี่ยวกับ คาศัพท์สาหรับห้องนอน เช่น bed/night table/wardrobe เป็นต้น 6) bathroom ซึ่งมีเน้ือหาเก่ียวกับ คาศพั ท์สาหรับห้องน้า เช่น shower/basin/bathtub เป็นตน้ ระยะเวลา ผู้วิจยั ไดก้ าหนดระยะเวลาท่ใี ช้ในการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 โดยสอนสอดแทรกใน รายวิชาการออกแบบเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2 แบบแผนการวิจัย การวิจัยคร้ังนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (experimental research) แบบแผนการวิจัย pre- experimental designs แบบ one group pretest-posttest design (มาเรียม นิลพันธุ,์ 2547 : 144) ก่อนเข้าร่วมกจิ กรรมนนั ทนาการ กจิ กรรมนนั ทนาการ หลงั เขา้ รว่ มกจิ กรรมนันทนาการ T1 X T2 กาหนดให้ T1 แทน การฟัง พูด อ่าน เขยี น ก่อนเขา้ รว่ มกจิ กรรมนนั ทนาการ X แทน การสอนโดยใช้กิจกรรมนันทนาการ T2 แทน การใช้แบบทดสอบวัดการฟัง พูด อ่าน และเขียน หลังเข้าร่วมกิจกรรม นนั ทนาการ เครอื่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย

เครอื่ งมือทีใ่ ชใ้ นการวิจยั ประกอบดว้ ย 1. แผนการจดั กิจกรรมนนั ทนาการ ซ่ึงมีทงั้ หมด 6 แผน ซ่งึ ใช้สอนสอดแทรกในทกุ คาบ 2. แบบทดสอบวัดทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนที่ร่วม กิจกรรมนันทนาการ ก่อนและหลังการทดลองเป็นแบบทดสอบชุดเดียวกัน ทักษะละ 10 ข้อ มีทั้งหมด 4 ทักษะ รวมทั้งหมด 40 ข้อ ใช้เวลาทดสอบ 50 นาที การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือโดยตรวจสอบความ เทย่ี งตรงเชิงเนื้อหาเพอื่ ปรับปรุงจากคา่ ดัชนีความสอดคล้อง (IOC) 3. แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมนันทนาการหลังเรียนจานวน 15 ข้อ ให้ นักเรยี นตอบแบบสอบถามพร้อมกนั ใช้เวลาประมาณ 20 นาที ขั้นตอนในการสร้างและหาคุณภาพของเครือ่ งมือ ขนั้ ตอนการสรา้ งและการหาคณุ ภาพของเครอื่ งมอื มดี งั น้ี 1. แผนการจดั กจิ กรรมนันทนาการ มขี น้ั ตอนและวิธีการดาเนนิ การสร้างเครอ่ื งมอื ดงั น้ี 1.1 ศกึ ษาหลกั สูตร เอกสารคู่มือการจัดการเรยี นรูภ้ าษาต่างประเทศ และหลักสตู ร ประกาศนียบตั รวิชาชีพ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม 1.2 ศึกษาหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม และสมรรถนะของ วิชาการออกแบบเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2 เพ่ือนามาใช้ในการสร้างแผนการจัดการเรียนรู้เก่ียวกับ กิจกรรมนันทนาการ ในการเขียนแผนกิจกรรมนันทนาการน้ันจะเน้นทั้ง 4 ทักษะ คือ ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน แผนการจัดกิจกรรมประกอบไปด้วย กิจกรรมการเรียน เกมการฝึกทักษะทางภาษา และใบงาน 1.3 วเิ คราะหส์ มรรถนะของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 3 เพ่ือนามาปรับปรุง แก้ไข ให้ตรงกับการพัฒนาการฟัง พูด อ่าน เขียน เพ่ือการพัฒนาทักษะโดยใช้กิจกรรมนันทนาการแล้วจัดทา แผนการสอนท่ใี ช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ตารางที่ 1 การวิเคราะห์กรอบเนื้อหาสาระวิชาการออกแบบเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2 หลักสูตร ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี พุทธศกั ราช 2560 แผนการสอนที่ จุดประสงค์ เนื้อหาสาระ 1. Listening and Speaking - ฟังคาศัพท์แล้วสามารถบอก หมวดคาศัพทท์ ่ีใชป้ ระกอบในการ ชอ่ื กจิ กรรม ความหมายได้ถกู ตอ้ ง เขียนแบบโดยท่วั ไป เช่น plan vocabulary for drawing - สามารถออกเสียงคาศัพท์ตามได้ elevation section concept อยา่ งถูกต้อง design เปน็ ต้น 2. Reading and Writing - อา่ นคาศัพท์แลว้ บอกความหมาย หมวดคาศัพท์ท่ีใชป้ ระกอบในการ ชื่อกจิ กรรม ได้ถูกตอ้ ง เขยี นแบบโดยทัว่ ไป เช่น plan vocabulary for drawing - ออกเสียงคาศัพท์ได้ถูกต้องตาม elevation section concept หลกั การออกเสียง design เปน็ ตน้ - เขยี นสะกดคาศัพท์ในหมวดหม่ทู ่ี กาหนดได้ถกู ต้อง

ตารางที่ 1 (ต่อ) การวเิ คราะห์กรอบเนื้อหาสาระวิชาการออกแบบเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2 หลักสูตร ประกาศนียบตั รวิชาชีพ พุทธศกั ราช 2560 แผนการสอนท่ี จุดประสงค์ เนอ้ื หาสาระ 3. Listening and Speaking - ฟงั คาศัพท์แลว้ สามารถบอก หมวดคาศัพท์ที่เก่ียวข้องกบั ชื่อกจิ กรรม ความหมายได้ถูกตอ้ ง หอ้ งรบั แขก (Living Room) เชน่ หอ้ งรบั แขก (Living Room) - สามารถออกเสยี งคาศัพทต์ ามได้ sofa armchair coffee table อย่างถูกต้อง เปน็ ต้น 4. Reading and Writing - อา่ นคาศัพทแ์ ล้วบอกความหมาย หมวดคาศัพทท์ ่ีเกีย่ วข้องกบั ชื่อกจิ กรรม ได้ถูกต้อง หอ้ งรับแขก (Living Room) เช่น หอ้ งรบั แขก (Living Room) - ออกเสยี งคาศัพท์ได้ถูกต้องตาม sofa armchair coffee table หลกั การออกเสียง เป็นต้น - เขียนสะกดคาศัพทใ์ นหมวดหม่ทู ่ี กาหนดได้ถูกต้อง 5. Listening and Speaking - ฟังคาศัพท์แลว้ สามารถบอก หมวดคาศัพท์ทเ่ี กี่ยวข้องกบั ห้อง ชอ่ื กจิ กรรม ความหมายไดถ้ กู ตอ้ ง รับประทานอาหาร (Dining ห้องรับประทานอาหาร - สามารถออกเสยี งคาศัพท์ตามได้ Room) เชน่ dining table/dining (Dining Room) อย่างถูกต้อง chair/cupboard 6. Reading and Writing - อ่านคาศัพท์แล้วบอกความหมาย หมวดคาศัพท์ที่เกย่ี วข้องกบั ชื่อกจิ กรรม ไดถ้ ูกต้อง รบั ประทานอาหาร (Dining ห้องรับประทานอาหาร - ออกเสียงคาศัพท์ไดถ้ ูกต้องตาม Room) เชน่ dining table/dining (Dining Room) หลกั การออกเสยี ง chair/cupboard - เขยี นสะกดคาศัพท์ในหมวดหมทู่ ี่ กาหนดได้ถกู ต้อง 7. Listening and Speaking - ฟงั คาศัพท์แล้วสามารถบอก หมวดคาศัพทท์ ี่เกย่ี วข้องกบั ห้อง ชื่อกจิ กรรม ความหมายได้ถูกตอ้ ง ห้องครัว (Kitchen) เชน่ หอ้ งครวั (Kitchen) - สามารถออกเสยี งคาศัพทต์ ามได้ stove/sink/hood อย่างถูกต้อง 8. Reading and Writing - อ่านคาศัพท์แล้วบอกความหมาย หมวดคาศัพท์ท่ีเกี่ยวข้องกบั ชื่อกิจกรรม ไดถ้ ูกตอ้ ง หอ้ งครัว (Kitchen) เชน่ หอ้ งครัว (Kitchen) - ออกเสยี งคาศัพท์ได้ถูกต้องตาม stove/sink/hood หลักการออกเสียง - เขยี นสะกดคาศัพท์ในหมวดหมูท่ ี่ กาหนดได้ถูกต้อง ตารางที่ 1 (ตอ่ ) การวเิ คราะห์กรอบเนื้อหาสาระวิชาการออกแบบเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2 หลักสูตร ประกาศนียบตั รวชิ าชพี พทุ ธศกั ราช 2560 แผนการสอนท่ี จุดประสงค์ เนอื้ หาสาระ 9. Listening and Speaking - ฟังคาศัพท์แล้วสามารถบอก หมวดคาศัพทท์ ีเ่ กย่ี วข้องกบั

แผนการสอนที่ จดุ ประสงค์ เนือ้ หาสาระ ชือ่ กิจกรรม หอ้ งนอน (Bedroom) เช่น ห้องนอน (Bedroom) ความหมายไดถ้ กู ตอ้ ง bed/night table/wardrobe - สามารถออกเสียงคาศัพท์ตามได้ เป็นต้น 10. Reading and Writing อยา่ งถูกต้อง หมวดคาศัพทท์ ี่เกยี่ วข้องกับ ชอ่ื กิจกรรม ห้องนอน (Bedroom) เชน่ ห้องนอน (Bedroom) - อา่ นคาศัพท์แลว้ บอกความหมาย bed/night table/wardrobe ได้ถูกต้อง เป็นตน้ 11. Listening and Speaking - ออกเสียงคาศัพท์ไดถ้ ูกต้องตาม ชื่อกจิ กรรม หลกั การออกเสียง หมวดคาศัพท์ท่ีเกีย่ วข้องกบั ห้องน้า (Bathroom) - เขยี นสะกดคาศัพท์ในหมวดหมทู่ ี่ ห้องนา้ (Bathroom) เชน่ กาหนดได้ถกู ต้อง shower/basin/bathtub เป็นต้น 12. Reading and Writing ชอื่ กิจกรรม - ฟังคาศัพท์แลว้ สามารถบอก หมวดคาศัพทท์ ่ีเกี่ยวข้องกับ ห้องนา้ (Bathroom) ความหมายได้ถกู ตอ้ ง หอ้ งนา้ (Bathroom) เชน่ - สามารถออกเสียงคาศัพท์ตามได้ shower/basin/bathtub เป็นต้น อย่างถูกต้อง - อา่ นคาศัพท์แล้วบอกความหมาย ไดถ้ ูกต้อง - ออกเสียงคาศัพท์ได้ถูกต้องตาม หลกั การออกเสยี ง - เขยี นสะกดคาศัพท์ในหมวดหมทู่ ่ี กาหนดได้ถูกต้อง การสร้างแผนการจดั การเรยี นรกู้ ิจกรรมนันทนาการเพ่ือใชใ้ นการวิจยั มีข้ันตอนการสร้างดังแผนภาพ ดังนี้ ขน้ั ที่ 1 ศกึ ษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พุทธศักราช 2560 ในสมรรถนะการเรียนรู้ภาษา ตา่ งประเทศและหลักสตู รสถานศกึ ษา ขั้นที่ 2 ศึกษาทฤษฎี หลกั การและแนวคิดในวชิ าภาษาองั กฤษเพ่ือการสอื่ สารเพ่ือทาแผนการจัด

กจิ กรรมภาษาองั กฤษโดยใช้กิจกรรมนนั ทนาการเก่ยี วกบั การฟงั การพูด การอา่ น และ การเขียน ข้นั ท่ี 3 วิเคราะหม์ าตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้วี ดั ของเน้ือหาภาษาอังกฤษสาหรับ ปวช. เพือ่ นามา ปรับปรงุ แก้ไข ให้ตรงกบั การพัฒนาการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน ขั้นที่ 4 เขียนแผนการจดั กจิ กรรม การฟงั การพดู การอา่ นและการเขียน โดยใช้กิจกรรมนนั ทนาการ ขัน้ ที่ 5 นาแผนการจดั การเรยี นรู้ เสนอผเู้ ชี่ยวชาญ 3 ท่าน ตรวจสอบความถกู ต้อง ความเหมาะสม และความถูกต้องเชิงเน้ือหา ขน้ั ท่ี 6 ปรบั ปรงุ แผนการจัดการเรยี นรู้ นาไปทดลองสอน ขน้ั ที่ 7 นาแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้เป็นเครือ่ งมอื ในการวิจยั 2. แบบทดสอบวัดความสามารถด้านการฟงั การพูด การอ่าน และการเขยี นภาษาอังกฤษของ ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรมนนั ทนาการ ก่อนและหลงั การทดลอง แบบทดสอบน้ีจัดทาขึ้นเพ่ือสร้างสถานการณ์ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการได้แสดง ความสามารถด้านการฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร และเปิดโอกาสให้ครูผู้สอนสามารถ ประเมินความสามารถของผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ตามแบบประเมินความสามารถท่ีได้จัดเตรียมไว้ ผู้เข้าร่วม กิจกรรมนันทนาการ จะทาแบบทดสอบนี้ทั้งก่อนและหลังการเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ ซึ่งครูผู้สอนเป็นผู้ ประเมินตามแบบประเมินความสามารถด้านการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษ ขั้นตอนการ สร้างแบบทดสอบวัดความสามารถในด้านการฟัง พูดอ่าน เขียนภาษาอังกฤษ ก่อนและหลังการทดลองนี้มี ดงั ต่อไปนี้ 2.1 ศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ผลท่ีคาดหวัง สมรรถนะ ของเนือ้ หาวชิ าระดับประกาศนียบตั รวชิ าชพี 2.2 วิเคราะห์เนื้อหาของวิชาการออกแบบเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2 เพื่อนามา ออกแบบบททดสอบดงั น้ี

ตารางที่ 2 การวิเคราะห์กรอบเนื้อหาสาระวิชาการออกแบบเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2 หลักสูตร ประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พทุ ธศักราช 2560 มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชีว้ ดั เนือ้ หาสาระ นกั เรียนสามารถเช่ือมโยงความรู้ - ฟังคาศัพท์แลว้ สามารถบอก หมวดคาศัพท์ที่ใช้ประกอบในการ กับกล่มุ สาระการเรียนรู้อน่ื และเป็น ความหมายไดถ้ ูกต้อง เขียนแบบโดยท่ัวไป เช่น plan พืน้ ฐานในการพัฒนาแสดงหา - สามารถออกเสยี งคาศัพทต์ ามได้ elevation section concept ความรู้ และเปิดโลกทัศนข์ องตน อย่างถูกต้อง design เปน็ ต้น ใช้ภาษาตา่ งประเทศในสถานการณ์ - อ่านคาศัพทแ์ ล้วบอกความหมาย บทสนทนาท่ัวไปทใ่ี ชใ้ น ตา่ ง ๆ ได้ ไดถ้ ูกต้อง ชวี ิตประจาวัน - ออกเสียงคาศัพท์ได้ถูกต้องตาม หลักการออกเสยี ง - เขยี นสะกดคาศัพทใ์ นหมวดหมู่ที่ กาหนดได้ถูกต้อง ใช้ภาษาต่างประเทศเปน็ เครอ่ื งมอื - อ่านคาศัพทแ์ ล้วบอกความหมาย หมวดคาศัพทท์ เี่ กย่ี วข้องกบั พื้นฐานในการศึกษาต่อ การ ได้ถูกต้อง วชิ าการออกแบบเขียนแบบ ประกอบอาชีพ และการ - ออกเสยี งคาศัพท์ไดถ้ ูกต้องตาม สถาปตั ยกรรมภายใน 2 แลกเปล่ียนเรยี นรกู้ บั สังคมโลก หลักการออกเสียง - เขียนสะกดคาศัพทใ์ นหมวดหม่ทู ี่ กาหนดได้ถูกต้อง แบบสอบถามความคดิ เหน็ ของผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมนันทนาการ วัตถุประสงค์ของการทาแบบสอบถามฉบับนี้ใช้เพ่ือวัดความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ ว่ามีความคิดเห็นในกิจกรรมนันทนาการ โดยรวมและแยกแต่ละกิจกรรมมากหรือน้อยเพียงใด โดยผู้เข้าร่วม กิจกรรมนันทนาการ จะทาแบบสอบถามเมื่อนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการครบ 18 คาบ ครูจึงนา แบบสอบถามความคดิ เหน็ ท่ีมตี ่อกิจกรรมนันทนาการสอบถามความคิดเห็นนักเรียน โดยแบ่งแบบสอบถามเป็น 2 สว่ นคือ 1. แบบสอบถามความคดิ เหน็ เก่ียวกบั รปู แบบ ลักษณะ เนอื้ หา การวัดผลประเมินผล การจัดกิจกรรม นันทนาการ เพอื่ สง่ เสรมิ ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ จานวน 15 ขอ้ ประกอบดว้ ย 1) ด้านบรรยากาศในการเรียน การสอนของการจัดกิจกรรมนันทนาการ เพื่อส่งเสริมทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ 2) ด้านกิจกรรม และ 3) ด้าน ประโยชน์ท่ีผู้เรียนได้รับ ซ่ึงเป็นแบบสอบถามแบบตรวจสอบรายการ (check list) แบบมาตรส่วนประเมินค่า (rating scale) 3 ระดับของลเิ คริ ต์ (Likert) ตารางที่ 3 เกณฑก์ ารกาหนดคา่ ระดับความคดิ เหน็ คะแนน ระดับความคดิ เห็น 3 2 เหน็ ด้วยมาก 1 เหน็ ด้วยปานกลาง เหน็ ด้วยน้อย

สาหรับการใหค้ วามหมายของคา่ ทว่ี ดั ได้ ผ้วู จิ ัยไดก้ าหนดเกณฑ์ท่ีใช้ในการให้ความหมายโดยพัฒนาจาก แนวคิดของเบสท์ (Best, 1981: 182, อ้างถึงใน อภญิ ญา สงิ หส์ มบัติ, 2545: 74) ดงั ตารางท่ี 4 ตารางท่ี 4 เกณฑ์การแปลความหมายของค่าความคิดเห็นของนักเรยี นเกย่ี วกบั การเข้ารว่ มกจิ กรรมนนั ทนาการ คา่ เฉลยี่ ระดบั ความคดิ เหน็ 2.50-3.00 เหน็ ดว้ ยมาก 1.50-2.49 เห็นดว้ ยปานกลาง 1.00-1.49 เห็นดว้ ยนอ้ ย 2. เป็นแบบสอบถามปลายเปิด เพ่ือให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการบรรยายถึงเหตุผลว่ามีความ คิดเห็นในกิจกรรมนันทนาการเกี่ยวกับข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม ซึ่งเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นในการเรียน ภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับ ปวช.3 โดยใช้กิจกรรมนันทนาการ โดยผู้วิจัยใช้แบบสอบถามความคิดเห็น ถามนกั เรียนเป็นรายบุคคล การวเิ คราะหข์ อ้ มูล ในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการศึกษาพัฒนาทักษะภาษอังกฤษของนักเรียนระดับช้ัน ปวช.3/1 แผนก วชิ าช่างเทคนคิ สถาปัตยกรรม โดยใช้กิจกรรมนันทนาการ ผู้วิจัยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับการวิเคราะห์ ข้อมลู ต่าง ๆ มขี น้ั ตอนดงั น้ี 1. นาคะแนนท่ีได้จากการวัดแบบประเมินการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาอังกฤษ ใน กิจกรรมนันทนาการมาวเิ คราะห์หาค่ารอ้ ยละ (%) คา่ เฉล่ยี ( x ) ค่าสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 2. นาคะแนนที่ได้จากการวัดแบบประเมินการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนในกิจกรรม นันทนาการ ซ่ึงเป็นผลของการใช้แผนการจัดกิจกรรมนันทนาการไปวิเคราะห์โดยดาเนินการเปรียบเทียบ คะแนน ท่ีได้จากการวัดแบบประเมินการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนก่อนเข้ากิจกรรมนันทนาการและ หลังเขา้ กจิ กรรมนนั ทนาการโดยใช้สถติ ิการทดสอบ t-test แบบ dependent 3. การวิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบ หาความเช่ือม่ันของแบบทดสอบท้ังฉบับใช้ KR-20 ความยากงา่ ยและอานาจจาแนกของแบบทดสอบทัง้ สองฉบับ 4. การวเิ คราะห์แบบสอบถาม ความคิดเห็นเป็นแบบมาตราส่วน ประมาณค่า (rating scale) โดยนา ค่าระดับท่ีได้มาหาค่า ( x ) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) แล้วนาไปแปลความหมายค่าระดับตามแนวคิด ของเบสท์ (Best, 1981: 182) ดงั นี้ 1.00-1.49 หมายถึง ผู้เรียนที่มีความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของ นักเรยี นระดบั ปวช.3/1 โดยใช้กจิ กรรมนนั ทนาการอยู่ในระดบั น้อย 1.50-2.49 หมายถึง ผู้เรียนท่ีมีความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของ นกั เรียนระดับ ปวช.3/1 โดยใช้กจิ กรรมนันทนาการอยู่ในระดับปานกลาง 2.50-3.00 หมายถึง ผู้เรียนท่ีมีความคิดเห็นเก่ียวกับผลการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของ นักเรียนระดบั ปวช.3/1 โดยใช้กิจกรรมนนั ทนาการอยู่ในระดับมาก

บทท่ี 4 การวิเคราะห์ผลการวจิ ยั การทาวิจัยช้ันเรียนเร่ือง การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพสถาปัตยกรรมด้วยกิจกรรม นันทนาการ วิชาการออกแบบเขียนแบบสถาปตั ยกรรมภายใน 2 ระดับช้นั ปวช.3/1 ปีการศึกษา 2561 ครั้งนี้มี วัตถุประสงค์เพ่ือ 1) เพ่ือเพ่ิมศักยภาพในการจดจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพของนักศึกษาให้ เพิ่มมากข้ึน 2) เพื่อเพิ่มศักยภาพด้านการสนทนาภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวันท่ีเกี่ยวข้องกับวิชาชีพให้เพ่ิม มากข้ึน 3) เพ่ือให้นักเรียนสามารถนาความรู้ท่ีได้ไปต่อยอดและใช้ในการเรียนระดับที่สูงข้ึนไปหรือใน ชีวติ ประจาวันและการประกอบอาชพี ได้ โดยเสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู เป็นลาดับดังนี้ ตอนท่ี 1 ผลการพัฒนาทักษะภาษาองั กฤษดา้ นการฟัง การพูด การอ่านและการภาษาอังกฤษก่อนและ หลงั การใช้กจิ กรรมนันทนาการ ตอนท่ี 2 ผลการวเิ คราะหร์ ะดับความคิดเห็นจากแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีผลต่อการ จดั กิจกรรมนนั ทนาการ ตอนท่ี 1 ผลการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับช้ัน ปวช.3/1 ก่อนและหลังการใช้กิจกรรม นนั ทนาการ การวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือตอบคาถามของการวิจัยข้อท่ี 1 ผลการเรียนรู้ทักษะภาษาอังกฤษของนักเรียน ระดับช้ัน ปวช.3/1 ก่อนและหลังใช้กิจกรรมนันทนาการแตกต่างกันหรือไม่ ผู้วิจัยนาคะแนนสอบด้านการฟัง การพูด การอ่านและการเขียน ของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างจานวน 26 คน ทั้งก่อนและหลังการใช้กิจกรรม นันทนาการ มาวิเคราะห์ค่าเฉล่ีย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และทดสอบค่าที (t-test) แบบ dependent ผลการเปรียบเทียบผลการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน จากการทดลองผลการพัฒนาทักษะ ภาษาองั กฤษ ของนกั เรยี น ระดับชนั้ ปวช.3/1 โดยใช้กจิ กรรมนนั ทนาการ รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 5 ตารางท่ี 5 ผลการเปรยี บเทยี บผลการทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี นโดยใชก้ จิ กรรมนันทนาการ (N=26) คะแนนก่อนเรยี น คะแนนหลงั เรยี น คา่ ความ อนั ดบั ที่ (10 คะแนน) (10 คะแนน) แตกตา่ ง 2 4 ทักษะในการเรียนภาษาอังกฤษ x S.D. x S.D. ทักษะการฟงั 7.60 0.75 9.15 0.81 1.55 ทกั ษะการพดู 7.85 1.09 9.20 0.77 1.35

ทักษะการอา่ น 7.70 0.73 9.50 0.61 1.80 1 ทกั ษะการเขยี น 7.90 0.91 9.40 0.75 1.50 3 รวม 7.76 0.88 9.30 0.75 1.54 - จากตารางท่ี 5 พบว่าผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน จาก การทดลองผลการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับ ปวช.3/1 โดยใช้กิจกรรมนันทนาการ โดย ภาพรวมมีความแตกต่างกันโดยผลการเรียนรู้หลังเรียน ซึ่งสูงกว่าผลการเรียนรู้ก่อนเรียน ( x = 9.30, S.D. = 0.75) เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ทักษะท่ีผู้เรียนพัฒนามากที่สุด ได้แก่ ทักษะการอ่าน ( x = 9.50, S.D. = 0.61) ซึ่งสูงกว่าผลก่อนเรียน ( x = 7.70, S.D. = 0.73) รองลงมาคือ ทักษะการฟัง ( x = 9.15, S.D. = 0.81) ซ่ึงสูงกว่าผลก่อนเรียน ( x = 7.60, S.D. = 0.75) อันดับต่อมาคือ ทักษะการเขียน ( x = 9.40, S.D. = 0.75) ซ่ึงสูงกวา่ ผลก่อนเรียน ( x = 7.90, S.D. = 0.91) สว่ นทกั ษะการพูดหลังเรียนผู้เรียนมีคะแนนเป็นอันดับ สุดท้าย ( x = 9.20, S.D. = 0.77) ซ่ึงสูงกว่าผลก่อนเรียน ( x = 7.85, S.D. = 1.09) และคะแนนหลังเรียนสูง กว่ากอ่ นเรยี นทุกทักษะ รายละเอยี ดดังตารางท่ี 6 ตารางที่ 6 เปรยี บเทียบผลการทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรยี นโดยใชก้ จิ กรรมนนั ทนาการ (N = 26) คา่ ทางสถิติ ผลการทดสอบ x S.D. t-value Sig. ผลการทดสอบก่อนเรยี น 0.875 -19.858 .000 ผลการทดสอบหลงั เรียน 31.05 0.753 37.52 จากตารางที่ 6 พบว่า ผลการทดสอบก่อนเรียนและผลการทดสอบหลังเรียนภาษาอังกฤษในรายวิชา การออกแบบเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2 โดยใช้กิจกรรมนันทนาการสูงข้ึนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 โดยผลการสอบหลังเรยี นโดยใชก้ จิ กรรมนนั ทนาการ ผูเ้ รียนมีคะแนนผลการเรียนสูงกว่าผลการสอบ ก่อนเรียนซ่ึงสอดคล้องกับสมมติฐานการวิจัยที่กาหนดไว้ การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับ ปวช.3/1 โดยใชก้ ิจกรรมนันทนาการสงู ขน้ึ กว่าก่อนใชก้ ิจกรรมนนั ทนาการ ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนในการพัฒนาทักษะ ภาษาอังกฤษของนกั เรยี นระดับ ปวช.3/1 โดยใช้กิจกรรมนันทนาการ แยกเป็นรายทักษะและค่าความแตกต่าง ของข้อสอบวดั ผลก่อนเรยี นและหลังเรยี น รายละเอียดดังตารางท่ี 7 ตารางท่ี 7 เปรียบเทียบผลการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของนักเรียน ระดบั ปวช.3/1 โดยใช้กิจกรรมนันทนาการ

(N = 26) คา่ ทางสถติ ิ ทักษะในการเรียน ก่อนเรียน หลงั เรยี น t-value 2 tail Sig. ภาษาอังกฤษ -13.581 x S.D. x S.D. .000 ทกั ษะการฟัง 7.60 0.754 9.15 0.813 .000 ทักษะการพดู .000 ทักษะการอ่าน 7.85 1.089 9.20 0.768 -7.429 .000 ทกั ษะการเขยี น .000 7.70 0.733 9.50 0.607 -13.077 รวม 7.90 0.912 9.40 0.754 -8.816 31.05 0.875 37.25 0.753 -19.858 จากตารางท่ี 7 พบว่า ผลการทดลองหลังเรียนโดยใช้กิจกรรมนันทนาการ ผู้เรียนมีผลการเรียน ภาษาอังกฤษในรายวิชาการออกแบบเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2 สูงกว่าผลการทดสอบก่อนเรียน ซ่ึง สอดคล้องกับสมมติฐานการวิจัยที่กาหนดไว้ เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ทักษะการฟัง ทักษะการพูด ทักษะ การอา่ น และทกั ษะการเขยี น มีความแตกตา่ งกนั อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดับ .05 ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีผลต่อการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษในรายวิชาการ ออกแบบเขยี นแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2 ของนักเรียนระดับ ปวช.3/1 โดยใช้กิจกรรมนันทนาการอยู่ใน ระดับใด การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบคาถามของการวิจัยข้อที่ 2 ความคิดเห็นในการเข้าร่วมกิจกรรมของ นกั เรียนระดบั ปวช.3/1 โดยใชก้ ิจกรรมนนั ทนาการ อยูใ่ นระดับใด จากการสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนระดับ ปวช.3/1 ท่ีมีต่อกิจกรรมนันทนาการแล้วนาผลการ ตอบแบบสอบถามมาวิเคราะห์ข้อมลู โดยใช้คา่ เฉลย่ี ( x ) และคา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ซึ่งมีรายการประเมิน แบง่ ออกเป็น 3 ดา้ นดงั ตอ่ ไปน้ี ดา้ นที่ 1 ดา้ นบรรยากาศในการเรียนการสอนประกอบด้วย 1. นักเรียนมคี วามสขุ ในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมนันทนาการ 2. นกั เรยี นมคี วามกระตือรอื ร้นในการทากจิ กรรม 3. นกั เรียนทกุ คนมีสว่ นรว่ มในการทากิจกรรม 4. นักเรยี นเกิดความสามคั คีและสร้างสมั พนั ธ์ที่ดใี นหมคู่ ณะ 5. ตอ้ งการให้จัดกจิ กรรมนนั ทนาการทุกรายวชิ า 6. ชอบกิจกรรมนนั ทนาการ ด้านที่ 2 ด้านกจิ กรรมการเรยี นการสอนประกอบด้วย 1. กิจกรรมเหมาะสมกบั ความรู้และความสามารถของนักเรียน 2. อุปกรณแ์ ละส่อื ทใ่ี ช้ในการจดั กจิ กรรมมคี วามหลากหลายน่าสนใจ 3. นักเรียนมคี วามสนใจที่จะเข้ารว่ มกิจกรรมภาษาองั กฤษนอกห้องเรียน 4. ระยะเวลาในการทากจิ กรรมเหมาะสม 5. นกั เรียนรูส้ ึกสนกุ สนานกับการเรยี นภาษาองั กฤษในรายวิชาการออกแบบเขียนแบบสถาปัตยกรรม ภายใน 2 ดา้ นที่ 3 ดา้ นประโยชน์ท่นี ักเรียนไดร้ บั ประกอบดว้ ย 1. กิจกรรมชว่ ยส่งเสรมิ และกระตุ้นใหน้ ักเรยี นเกิดความต้องการในการเรยี นภาษาอังกฤษมากย่งิ ขนึ้

2. กจิ กรรมช่วยพัฒนาความสามารถในการฟัง พูด อ่าน เขยี นของนักเรยี น 3. กิจกรรมช่วยใหน้ กั เรียนเกิดความมั่นใจในการใช้ภาษาองั กฤษ 4. สามารถนาความรู้ทีไ่ ดไ้ ปใช้ประโยชนจ์ รงิ ในการเรยี นภาษาอังกฤษ รายละเอียดดังตารางท่ี 8 ตารางท่ี 8 ความคดิ เหน็ ของนกั เรยี นระดบั ปวช.3/1 โดยใช้กิจกรรมนันทนาการ ประเด็นความคิดเห็น x S.D. ความหมาย ลาดบั ดา้ นบรรยากาศในการเรยี นการสอน ที่ เหน็ ดว้ ยมาก 4 1. นกั เรียนมคี วามสุขในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมนันทนาการ 2.80 0.41 เห็นด้วยมาก 5 เห็นดว้ ยมาก 2 2. นักเรยี นมีความกระตือรอื ร้นในการทากจิ กรรม 2.65 0.49 เห็นด้วยมาก 5 เห็นดว้ ยมาก 1 3. นกั เรยี นทกุ คนมีสว่ นรว่ มในการทากิจกรรม 2.90 0.31 เหน็ ดว้ ยมาก 3 เหน็ ดว้ ยมาก 1 4. นักเรียนเกิดความสามัคคีและสรา้ งสมั พนั ธท์ ี่ดีในหมู่คณะ 2.65 0.49 เห็นด้วยมาก 4 5. ตอ้ งการให้จดั กจิ กรรมนนั ทนาการทุกรายวิชา 2.95 0.22 เห็นด้วยมาก 1 6. ชอบกจิ กรรมนนั ทนาการ 2.85 0.37 เห็นดว้ ยมาก 5 รวม 2.80 0.13 เห็นด้วยมาก 3 เห็นด้วยมาก 2 ดา้ นกิจกรรมการเรยี นการสอน เห็นด้วยมาก 3 1. กจิ กรรมเหมาะสมกับความรแู้ ละความสามารถของนักเรียน 2.65 0.49 2. อุปกรณแ์ ละสอ่ื ท่ใี ช้ในการจดั กจิ กรรมมีความหลากหลาย 2.85 0.37 น่าสนใจ 3. นกั เรยี นมีความสนใจท่จี ะเข้าร่วมกจิ กรรมนันทนาการนอก 2.60 0.50 ห้องเรยี น 4. ระยะเวลาในการทากิจกรรมเหมาะสม 2.70 0.47 5. นกั เรยี นร้สู ึกสนุกสนานกับการเรยี นภาษาอังกฤษท่ีมีกจิ กรรม 2.75 0.44 มากมาย รวม 2.70 0.11 ตารางที่ 8 (ตอ่ ) ความคิดเห็นของนกั เรียนระดบั ปวช.3/1 โดยใช้กจิ กรรมนนั ทนาการ ประเด็นความคิดเห็น x S.D. ความหมาย ลาดบั ด้านประโยชนท์ ่นี ักเรียนได้รับ ท่ี 2 1. กจิ กรรมชว่ ยส่งเสรมิ และกระตุ้นใหน้ ักเรยี นเกิดความตอ้ งการ 2.85 0.37 เหน็ ดว้ ยมาก 1 ในการเรยี นภาษาองั กฤษมากขึ้น 4 2. กิจกรรมชว่ ยพฒั นาความสามารถในการฟัง พูด อา่ นเขยี น 2.95 0.22 เหน็ ดว้ ยมาก 3 ของนักเรยี น 2 - 3. กิจกรรมชว่ ยให้นักเรยี นเกิดความมั่นใจในการใช้ภาษาอังกฤษ 2.40 0.50 เห็นด้วยมาก 4. สามารถนาความรทู้ ่ีได้ไปใชป้ ระโยชน์จริงในการเรยี น 2.75 0.44 เห็นด้วยมาก ภาษาอังกฤษ รวม 2.73 0.24 เหน็ ด้วยมาก รวมทุกด้าน 2.74 0.07 เห็นดว้ ยมาก

จากตารางที่ 8 ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นของนักเรียนระดับ ปวช.3/1 โดยใช้กิจกรรมนันทนาการ พบว่า โดยภาพรวมท้ัง 3 ด้าน นักเรียนมีความคิดเห็นด้วยมาก ( x = 2.74, S.D. = 0.07) เม่ือพิจารณาราย ด้านพบว่า ด้านท่ี 1 ด้านบรรยากาศในการเรียนการสอนผู้เรียนมีความคิดเห็นด้วยมาก ( x = 2.80, S.D. = 0.13) รองลงมา คือ ด้านประโยชน์ที่นักเรียนได้รับ ( x = 2.73, S.D. = 0.24) และลาดับสุดท้าย คือ ด้าน กิจกรรมการจัดการเรยี นการสอนเห็นดว้ ยมาก ( x = 2.70, S.D. = 0.11) นอกจากนยี้ ังมีข้อเสนอแนะในแบบประเมินตอนที่ 2 แยกเป็นขอ้ ดงั น้ี 1. ขอให้จดั กจิ กรรมนนั ทนาการทุกปี 2. ขอใหจ้ ดั กิจกรรมนันทนาการเสริมทุกรายวชิ า 3. เพ่มิ กิจกรรมใหม้ ากกว่าน้ี เชน่ กจิ กรรมเกย่ี วกับการร้องเพลง เกมตา่ ง ๆ 4. ต้องการให้มีการจัดกจิ กรรมนอกโรงเรียน 5. ตอ้ งการให้มีครูต่างชาตมิ าช่วยจดั กิจกรรม บทที่ 5 สรปุ ผลและข้อเสนอแนะ การทาวิจัยช้ันเรียนเรื่อง การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสาหรับวิชาชีพสถาปัตยกรรมด้วยกิจกรรม นนั ทนาการ วชิ าการออกแบบเขยี นแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2 ระดับชั้น ปวช.3/1 ปีการศึกษา 2561 คร้ังน้ีมี วัตถุประสงค์เพ่ือ 1) เพื่อเพ่ิมศักยภาพในการจดจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษท่ีเกี่ยวข้องกับวิชาชีพของนักศึกษาให้ เพ่ิมมากขึ้น 2) เพื่อเพ่ิมศักยภาพด้านการสนทนาภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวันท่ีเก่ียวข้องกับวิชาชีพให้เพิ่ม มากข้ึน 3) เพื่อให้นักเรียนสามารถนาความรู้ที่ได้ไปต่อยอดและใช้ในการเรียนระดับท่ีสูงขึ้นไปหรือใน ชีวิตประจาวันและการประกอบอาชีพได้ ซ่ึงผู้วิจัยได้พัฒนากิจกรรมพัฒนาผู้เรียนประกอบด้วยทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน ซึ่งประกอบด้วยเน้ือหาท่ีใช้ในการวิจัย เป็นเน้ือหาสาระการเรียนรู้เก่ียวกับ วิชาการออกแบบเขียนแบบสถาปัตยกรรมภายใน 2 ซ่ึงประกอบด้วย 6 หน่วย คือ 1) vocabulary for drawing ซึ่งมีเน้ือหาเกี่ยวกับคาศัพท์ที่จะต้องใช้สาหรับเขียนแบบ เช่น plan/elevation/scale/furniture เป็นต้น 2) living room ซึ่งมีเน้ือหาเก่ียวกับคาศัพท์สาหรับห้องน่ังเล่น เช่น sofa/coffee table/table เป็น ต้น 3) dining room ซ่ึงมีเน้ือหาเก่ียวกับคาศัพท์สาหรับห้องรับประทานอาหาร เช่น dining table/dining chair/cupboard เป็นต้น 4) kitchen ซ่ึงมีเน้ือหาเก่ียวกับคาศัพท์สาหรับห้องครัว เช่น stove/sink/hood เปน็ ต้น 5) bedroom ซงึ่ มเี น้ือหาเกยี่ วกับคาศัพทส์ าหรับห้องนอน เช่น bed/night table/wardrobe เป็นต้น 6) bathroom ซ่ึงมีเน้ือหาเก่ียวกับคาศัพท์สาหรับห้องน้า เช่น shower/basin/bathtub เป็นต้น การ