Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน

ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม: งานวิจัยวิทยาศาสตร์ในชุมชน

Published by Thalanglibrary, 2021-05-19 04:57:40

Description: หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ \"ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม\" ปราชญ์ชาวบ้านและผู้นำเกษตรวิถีพึ่งตนเอง ถ่ายทอดเรื่องราวงานวิจัยส่วนหนึ่งในพื้นที่รอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออกในมุมมองด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ผู้ใหญ่วิบูลย์ ได้ดำเนินการเองและทำงานร่วมกับหน่วยงานเครือข่ายพันธมิตร- การแก้ปัญาช้างป่าบุกรุกพื้นที่เกษตรกรรมรอบเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างฤาไน- กลุ่มวิจัยทักษะการจัดการทรัพยากรฐานชุมชน มจธ. กับเครือข่ายป่ารอยต่อ 5 จังหวัดภาคตะวันออก จ.ฉะเชิงเทรา- เกษตรกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เชื่อมโยงกับชีวิต- พืชสมุนไพรในป่าตะวันออก

Search

Read the Text Version

จำ� นวนพมิ พ์ ๑,๐๐๐ เลม่ ปที ่ีพมิ พ์ ๒๕๖๐ บรรณาธกิ ารหลัก ดร.กฤษณพงศ์ กรี ติกร บรรณาธิการรว่ ม อดศิ ัย เรอื งจริ ะชูพร บทความ การแกป้ ญั หาชา้ งป่าบกุ รุกพน้ื ที่เกษตรกรรม รอบเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอา่ งฤาไน ผเู้ ขียน ธวชั เกียรตเิ สร,ี รกั ษา สุนินทบรู ณ์, ฉววี รรณ พิมพฒั น์ บทความ กลมุ่ วิจยั ทกั ษะการจดั การทรพั ยากรฐานชมุ ชน มจธ. กบั เครือข่ายปา่ รอยต่อ ๕ จังหวดั ภาคตะวนั ออก จ.ฉะเชิงเทรา ผศ.ดร.สุดารัตน์ ตรีเพชรกุล, อ.แสงชัย เอกปทุมชัย, ธีรวุฒิ ลาภตระกูล, ทรงพล คูณศรีสุข, ผู้เขยี น ศศธิ ร ก้สู วุ รรณวิจิตร, กนกวรรณ พนั ธด์ุ ี บทความ เกษตรกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีเชอ่ื มโยงกับชวี ิต ผู้เขียน ศรินยา คำ� พลิ า บทความ พืชสมุนไพรในป่าตะวนั ออก ผเู้ ขียน ดร.พงษ์ศกั ด์ิ พลเสนา จดั พมิ พโ์ ดย สำ� นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งชาติ รว่ มกบั กรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพนั ธพ์ุ ืช มูลนธิ วิ นเกษตร ผู้ใหญว่ ิบลู ย์ เขม็ เฉลิม และ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ค�ำน�ำ ส�ำนักงานพัฒนาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งชาติ (สวทช.) สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การน�ำ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ประโยชน์ ไม่เพียงแต่เฉพาะเพ่ือการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของ ประเทศเท่าน้ัน แต่ยังรวมถึงการพัฒนาชุมชนชนบทให้เติบโตอย่างย่ังยืนเพื่อรากฐานท่ีม่ังคงของ ประเทศ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นหน่ึงในเคร่ืองมือท่ีช่วยให้ชุมชนรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง ของโลก มีกระบวนการคิดท่ีเป็นเหตุและผล และเพื่อการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรท้องถ่ินอย่าง ยง่ั ยนื หน่ึงในบทบาทหนา้ ท่ขี อง สวทช. คอื การสง่ เสรมิ พฒั นาเครอื ขา่ ยและสนบั สนนุ ให้เทคโนโลยี มีความเหมาะสมและเข้าถึงชุมชนชนบท โดยหนึ่งในชุมชนเครือข่ายที่ท�ำงานร่วมกันมามากกว่า ๒๐ ปี คือ ปราชญ์ชาวบา้ น ผูใ้ หญ่วบิ ูลย์ เขม็ เฉลมิ เรื่องราวที่น�ำเสนอในหนังสือเล่มน้ี เป็นการสังเคราะห์งานวิจัยเพียงส่วนหน่ึง ในพ้ืนท่ีป่า รอยต่อ ๕ จังหวัดภาคตะวันออก ในมุมมองด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เน้นในส่วนงานวิจัย ต่างๆ ที่ผู้ใหญ่วิบูลย์ด�ำเนินการเอง และการท�ำงานร่วมกับหน่วยงานเครือข่ายพันธมิตร ซึ่งต้องขอ ขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ อาทิ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช มูลนิธิวนเกษตร ผู้ใหญ่ วบิ ลู ย์ เขม็ เฉลมิ และมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบรุ ี เปน็ ตน้ ดร.ณรงค์ ศิรเิ ลศิ วรกลุ ผู้อำ� นวยการ สำ� นกั งานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ

ผ้ใู หญ่วบิ ลู ย์เป็นนกั วทิ ยาศาสตร์ ทม่ี ีความเขา้ ใจในธรรมชาติอยา่ งลึกซงึ้ ความเข้มแข็งของชุมชนชนบทเป็นกลไกส�ำคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ การเพ่ิมศักยภาพความเข้มแข็งของชุมชนต้องให้ความส�ำคัญต่อกระบวนการพัฒนา ท่ีเน้น “การเรียนรู้” สร้างกระบวนการท�ำงานแบบมีส่วนร่วม สร้างสภาพแวดล้อมให้ชุมชนร่วมกัน คิด ร่วมกันปฏิบัติ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน ท�ำกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเน่ือง รวมท้ังประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีหลากหลายสาขา เพ่ือการใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรท้องถ่ินอย่างย่ังยืน เชื่อมโยงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้เกิดความรู้ความเข้าใจท่ีน�ำไปสู่ “การพึ่งตนเอง” ซ่ึงเป็นสิ่งที่ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม และเครือข่าย วนเกษตรและชมุ ชนรอบป่าตะวนั ออกร่วมกนั ทำ� มากว่า ๓๐ ปี ความรู้ ความเข้าใจ เสริมสร้างประสบการณ์การท�ำงานพัฒนาชุมชนชนบท มิใช่สิ่งท่ีเกิดข้ึน ได้ภายในรั้วมหาวิทยาลัยอย่างเดียว บ่อยคร้ังพวกเรา อาจารย์ นักวิจัย และนักศึกษาไปน่ังล้อม รอบพ่อผู้ใหญ่ท่ีน่ังอยู่บนเก้าอี้โยก ฟังพ่อผู้ใหญ่เล่าประสบการณ์ แนวคิด รวมถึงปัญหาต่างๆ ท่ี ชุมชนประสบ ทำ� ใหพ้ วกเราตระหนกั วา่ พอ่ ผู้ใหญม่ คี วามหว่ งใยต่อคณุ ภาพชวี ติ ของชุมชนชนบทและ สง่ิ แวดลอ้ มเพยี งใด ผใู้ หญว่ ิบูลยย์ งั พาพวกเราเดนิ ดูป่าทอ่ี ยรู่ อบๆ ตัวบา้ น และมใิ ช่บอกแคว่ ่าตน้ น้ัน ชื่ออะไร มีประโยชน์อะไร แต่ยังอธิบายสังคมของพืชท่ีเก้ือกูลกัน ท�ำให้ทราบว่าเราควรปลูกพืชอะไร เป็นพชื ชน้ั ล่าง เพอื่ ใหเ้ กิดการใชพ้ ืน้ ท่ีอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ผู้ใหญเ่ ป็นนกั วิทยาศาสตร์ที่มคี วามเข้าใจ ในธรรมชาตอิ ยา่ งลกึ ซง้ึ ผใู้ หญจ่ งึ ตงั้ โจทยก์ ารวจิ ยั ไดอ้ ยา่ งชดั เจน นำ� ไปสกู่ ารแกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ งแทจ้ รงิ ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม น�ำโจทย์ของพ้ืนท่ีมาเป็นปัญหาวิจัย ด�ำเนินโครงการร่วมกับ หน่วยงานเครือข่าย และเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนในการท�ำวิจัย ท�ำให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ ผลการด�ำเนินงานนอกจากจะช่วยในการก�ำหนดแนวทางการพัฒนาและจัดการความหลากหลาย ทางชีวภาพแล้ว ยังช่วยเครือข่ายชุมชนในการพ่ึงตนเองโดยอาศัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ท�ำให้ชุมชนมีภูมิคุ้มกันท่ีดี รู้เท่าทันปัญหา สร้างความเข้มแข็งและอยู่ร่วมกับ ทรัพยากรในพื้นทไ่ี ดอ้ ย่างยง่ั ยืน ศ.เกยี รตคิ ุณ ดร.มรกต ตันตเิ จริญ

ผ้ใู หญว่ ิบลู ย์ ปราชญ์ชาวบา้ น ผเู้ รียนรู้และผใู้ หต้ ลอดชวี ติ ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม ปราชญ์ชาวบ้าน เป็นแบบอย่างของผู้ที่เรียนรู้และให้ความรู้มาตลอด ชีวิตของท่านอย่างแท้จริง ท่านเป็นผู้ที่ทบทวนวิเคราะห์ หาแนวทางแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ เป็น ตวั อยา่ งของเกษตรกรทพ่ี ลกิ ชีวิตผูกตดิ กับเกษตรเชงิ เดยี่ ว มาสกู่ ารท�ำเกษตรทีเ่ ชือ่ มโยงกับฐานชวี ิต ฐาน มนษุ ย์ และฐานสิ่งแวดล้อม ​จากหน้าที่การงานท�ำให้พวกเรา นักวิชาการจาก สวทช. ไบโอเทค ทีมงานโรงงานหลวง อาหารส�ำเร็จรูป และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ได้มีโอกาสเข้าไปรับความรู้ และกระตุ้นต่อมความคิดจากผู้ใหญ่ ผู้เป็นที่เคารพรักของพวกเรา ท�ำให้ได้มีโอกาสเรียนรู้ แลกเปล่ียน ความคิดร่วมกับผู้ใหญ่ในหลายมิติ รวมท้ังกับกลุ่มชาวบ้านที่ผู้ใหญ่จะชวนมาพูดคุยกันกับพวกเราซึ่งจะ แวะไปเยี่ยมเยียนและหาโอกาสเสวนากับผู้ใหญ่ทุกคร้ังที่มีโอกาส เร่ิมจากในช่วงปลายทศวรรษ ๒๕๒๐ ตามเส้นทางหลวง ๓๐๔ ไปยังโรงงานหลวงอาหารส�ำเร็จรูปที่ ๔ ต.โนนดินแดง จ.บุรีรัมย์ ระหว่างทาง เราจะแวะเยยี่ มเยียนผู้ใหญ่ ในชว่ งแรกๆ ท่แี ลกเปล่ยี นความคิดกับผใู้ หญ่ พวกเรามกั จะมแี ต่ความสบั สน เม่อื พยายามท�ำความเข้าใจผลึกความคดิ ของการทวนกระแสหลกั การพฒั นาไปสูก่ ารพึ่งพาตนเอง ความ เปน็ องคร์ วมของสรรพสงิ่ ของผคู้ น ของสงั คม ของระบบนิเวศน์ วงเสวนาเล็กๆ แต่เปี่ยมไปด้วยมิตรภาพและความนับถือท่ีมีต่อกัน เป็นความงดงามที่ก่อให้ เกิดปัญญาและศรัทธาท่ีมีต่อเพื่อนมนุษย์และธรรมชาติ ผู้ใหญ่เป็นนักอ่านตัวยง ห้องสมุดในลานบ้าน ของผู้ใหญ่ มีตั้งแต่นิทานพื้นบ้าน เอกสารแผ่นพับของทางราชการ ไปจนถึงวรรณกรรมปรัชญารัสเซีย พ้ืนที่เกษตรรอบๆ บ้านที่ท�ำเป็นวนเกษตรก็เสมือนห้องเรียนเปิดแห่งการเรียนรู้ ในบางคร้ังผู้ใหญ่จะ ชวนพวกเราเดินคยุ กันในสวน ชชี้ วนแนะนำ� ใหพ้ วกเราร้จู ักพชื พรรณตน้ ไม้ตา่ งๆ ทสี่ ามารถน�ำมาเปน็ ยา เป็นอาหาร หรือผลิตเป็นสิ่งใช้สอย และในบางคร้ังผู้ใหญ่จะสอดแทรกความคิดเชิงปรัชญาให้ได้ครุ่นคิด กนั ตลอด พวกเราได้เคยเข้ามาปรึกษาผู้ใหญ่เรื่อง “ยาไทย–สมุนไพรไทย” ผู้ใหญ่ได้พาเดินป่าเขตรอยต่อ ๕ จังหวัด บริเวณเขาขาด ท่านให้ความรู้กับพวกเราสรุปความได้ว่า ชาวบ้านเดินเท้าเปล่า สมุนไพรคือ สมนุ ของปา่ และหมอยากค็ อื Ethnobotanist ตอ่ มาผใู้ หญ่กไ็ ด้ทำ� ใหเ้ กิดการเช่ือมโยงระหวา่ งนกั วชิ าการ จาก สวทช. และไบโอเทค ท�ำวิจัยในพื้นท่ีแนวกันชนระหว่างป่ากับชุมชน เป็นโครงการวิจัยที่เสริมงาน ต่อจากองค์การอาหารโลก (FAO) สกว. และ สวทช. ได้มีส่วนสนับสนุนการวิจัยผ่านโครงการความ หลากหลายทางชีวภาพ (BRT) มีการชวนกันท�ำห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือโดยนักวิจัยไบโอเทค ด้วยความสนับสนนุ จาก ปตท. ผู้ใหญ่เป็นคนที่เช่ือในพลังแห่งการเรียนรู้ การเรียนรู้ท่ีอยู่นอกห้องเรียน ที่ต้องบ่มเพาะและ ส่งเสริมเด็กตั้งแต่ปฐมวัย ผ่านการลงมือท�ำ ให้เกิดความเข้าใจ เห็นความสัมพันธ์ของธรรมชาติ การ โอบอุ้มเกื้อกูลระหว่างดิน น�้ำ ป่า สรรพชีวิต อย่างสมดุล ผู้ใหญ่เป็นคนแรกๆ ท่ีชี้ให้พวกเราได้เห็น ความสำ� คญั ของคำ� วา่ “ผเู้ รยี นเปน็ ศนู ยก์ ลางของการเรยี นร”ู้ ทม่ี คี วามหมายทแ่ี ทจ้ รงิ อยทู่ ่ี “กระบวนการ เรียนรู้อย่างเสมอภาค” การแวะเยี่ยมเยียนเรียนรู้กับผู้ใหญ่หลายครั้ง ท�ำให้ มจธ. ริเร่ิมหลักสูตรระดับ

บัณฑิตศึกษา Community Resource Management (CRM) ซ่ึงได้พัฒนาหลักสูตรจากหลักการเรียนรู้ คูก่ ารปฏบิ ตั แิ ละลงมือท�ำจริง (Work Integrated Learning / Practice School) หลกั สูตรนต้ี ง้ั ใจใหเ้ กดิ การ เรียนรู้ในชุมชน และได้ท�ำให้เกิดการพัฒนาคนรุ่นใหม่ท่ีสนใจการประสานเทคโนโลยีให้เข้าได้ดีและ เหมาะสมกับพัฒนาการและบริบทของชุมชนมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ผู้ใหญ่เป็นชาวบ้านที่เห็นความส�ำคัญของการวิจัยและเทคโนโลยี เป็นนักวิจัยชาวบ้าน ใช้การ สงั เกต วิเคราะห์หาทางออก ตัง้ สมมุตฐิ าน แลว้ จงึ ลงมือทำ� ลองผดิ ลองถกู ผู้ใหญ่ไมไ่ ดท้ �ำวิจยั คนเดียว แต่มักจะชวนกลุ่มชาวบ้านที่สนใจ มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอยู่เสมอๆ และให้ชาวบ้านลงมือทดลอง ท�ำด้วยตนเอง แล้วก็น�ำกลับมาพูดคุยแลกเปล่ียนกันอีก เพื่อสะท้อนปัญหา หาทางออก และกลับไป ลงมือทำ� อีก ไม่เพยี งแคน่ น้ั ผู้ใหญย่ งั ไดช้ วนใหน้ กั วชิ าการมาทำ� โครงการวจิ ัยทตี่ อ้ งตอบโจทยป์ ัญหาของ ชาวบ้านดว้ ย โครงการวจิ ัยที่ สวทช. ใหก้ ารสนบั สนนุ ในพ้ืนทเ่ี ขตปา่ รอยตอ่ ๕ จังหวัดนั้น ผใู้ หญจ่ ะรว่ ม ในการท�ำวิจัยด้วยตนเอง พร้อมกับชักชวนให้ชาวบ้านร่วมท�ำวิจัยด้วยการเก็บข้อมูล คู่ขนานไปกับการ ท�ำวิจัยของนักวิชาการ และเมื่อมีการค้นพบความรู้หรือข้อมูลใหม่ๆ ผู้ใหญ่ก็จะจัดให้เกิดเวทีพูดคุยกัน ระหว่างนักวิชาการกับชาวบ้าน เพื่อคืนข้อมูลให้ชาวบ้านเป็นระยะ ในการท�ำวิจัยเพ่ือสังคมน้ัน ท่านได้ สอนให้พวกเรานักวิชาการตระหนักถึงความอ่อนน้อมถ่อมตน ที่ต้องเรียนรู้ร่วมกับชาวบ้าน หลอมรวม ภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ กับความรู้วชิ าการสมยั ใหม่ พวกเราเสียใจและรับรู้ความสูญเสียเป็นอย่างยิ่งกับเร่ืองที่หลีกเล่ียงไม่ได้ตามวัฏสงสาร คือการ จากไปของท่าน แต่พวกเรารู้สึกถึงความโชคดีท่ีในช่วงชีวิตหนึ่งได้มาสัมผัสกับผู้ใหญ่ ได้มีส่วนร่วม ส่วน เสริม แม้จะน้อยนิดในงานตามแนวคิดท่ีผู้ใหญ่ได้ริเร่ิม ได้รับการชี้แนะ แนะน�ำ ท�ำให้แนวความคิดเชิง พฒั นาไดร้ ับการขดั เกลา จากงานโครงการโรงงานหลวงอาหารส�ำเร็จรูป ท่ีเริ่มดว้ ยการมุ่งสร้างสมรรถนะ ความสามารถของชมุ ชน ผ่านเกษตรอุตสาหกรรมเพ่ืออตุ สาหกรรมเกษตรระดับชุมชน ให้การทำ� งานของ พวกเราได้คิดถึงการมีส่วนร่วมของชาวบ้านอย่างจริงจัง การเน้นให้ชาวบ้านและชุมชนเป็นศูนย์กลาง การค�ำนึงถึง “อุตสาหกรรมชุมชน” และวิถีพุทธ เราเชื่อว่าผู้ใหญ่ท�ำให้พวกเราได้เข้าใจความงดงามของ การเรียนรู้ตลอดชีวติ การเปน็ ผใู้ หโ้ ดยไมห่ วังสง่ิ ตอบแทน การเปน็ คนดขี องสังคมและชมุ ชน และท่ีสุดคอื สามารถเขา้ ถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั รชั กาลท่ี ๙ ได้อยา่ งถ่องแท้ จากจุดเลก็ ๆ ของปราชญช์ าวบา้ นคนหนึง่ ณ ชุมชนทห่ี า่ งไกลความเจรญิ ของเมืองใหญ่ ผูใ้ หญ่ ได้จุดประกายส่องสว่างอย่างยิ่ง ชักน�ำให้เกิดการเรียนรู้และส่งต่อเพื่อชุมชนน้อยใหญ่ ตั้งแต่ในระดับ หมู่บ้านจนถึงการต่อยอดสู่ภาคธุรกิจอุตสาหกรรม การศึกษา และการวิจัย หากต้ังมั่นบนฐานที่มั่นคง แห่งความดีงาม การประสานความเจริญทางวัตถุกับทางจิตใจ ความเป็นอยู่ ตลอดจนส่ิงแวดล้อม อาจ กล่าวได้ว่า เมืองไทยโชคดีท่ีได้มีปราชญ์ชุมชนเช่นท่านผู้ใหญ่วิบูลย์ท่านน้ี ขอคุณความดีตลอดชีวิตของ ท่าน อีกบุญบารมีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในพระบรมโกศ น�ำดวงวิญญาณของท่านสู่สุขคติ ในสัมปรายภพ พวกเราจะจดจ�ำค�ำช้ีแนะและคุณความดีของท่านผู้ใหญ่เพื่อประพฤติปฏิบัติดี เป็นคนดี ของสงั คมและชมุ ชนตลอดไป ศักรนิ ทร์ ภูมริ ัตน และเพื่อนนกั วิชาการ

ผูใ้ หญ่วิบลู ย์ เข็มเฉลมิ ชาวบา้ นผยู้ ิ่งใหญ่ และมรดกทางความคิด ชื่อผใู้ หญว่ ิบลู ย์ เขม็ เฉลมิ ปรากฏในสาธารณะเมื่อผูใ้ หญไ่ ด้รบั รางวลั คนดีศรสี งั คมในปี พ.ศ. ๒๕๓๒ จากงานด้านวนเกษตร ผู้ใหญ่เป็นชาวบ้านในชนบทไทยหลายแสนหลายล้านคน ล้มละลาย จากการปลูกพืชเชิงเดี่ยวมาต้ังแต่ทศวรรษ ๒๕๐๐ พร้อมกับการพัฒนาประเทศและการเกษตรสมัย ใหม่ภายในเวลาสามสิบปี (จนถึงทศวรรษ ๒๕๓๐ เม่ือผู้ใหญ่ได้รางวัล และจนถึงทุกวันน้ี) มาพร้อม กับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม สังคมไทยเห็นและจ�ำนนต่อความล้มละลายและความล้มเหลว ของเกษตรกรไทยท่ไี ร้อำ� นาจการตอ่ รองจากการปลูกพชื เชิงเดี่ยวภายใต้กลไกตลาด คนไทยจ�ำนวนมากโหยหาการเกษตรแนวทางใหม่ท่ีไม่ใช่การเกษตรกระแสหลัก ไม่ใช่ การเกษตรนโยบายรฐั ลากดว้ ยกลไกตลาด ท�ำเพ่อื ขาย ทำ� เกษตรดว้ ยปจั จัยการผลติ ท่ีเกษตรกรไม่มี ท้ิงหลักการเดิม คือ เริ่มท่ีปลูกเพ่ือกินเพ่ือใช้ก่อน เราพบว่ากลไกรัฐและกลไกตลาดไม่มีค�ำตอบที่เรา โหยหาและแสวงหากันน้ี ต้ังแต่ปลายทศวรรษ ๒๕๒๐ ปราชญ์ชาวบา้ นเร่มิ ปรากฏและได้รบั การยอมรบั ในหลายพื้นท่ี ของประเทศ ปราชญ์ชาวบ้านเหล่านี้ให้ความสว่างทางปัญญา ชี้ทางเลือกใหม่ในการท�ำเกษตร การ ด�ำรงชีวิต จากการปฏิบัติจริง แนวการเกษตรใหม่โดยสารัตถะเป็นแนวการท�ำมาหากินเดิม คือ อยู่ กับธรรมชาติและหากินกับธรรมชาติท่ีหลากหลาย อนุรักษ์ธรรมชาติ ไม่ใช่เอาชนะธรรมชาติ จนน�ำ มาสแู่ นวพระราชด�ำริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั รัชกาลท่ี ๙ อาทเิ ช่น เกษตรทฤษฎใี หม่ เศรษฐกจิ พอเพียง และแนวโลกาภวิ ัตน์เร่ืองการพฒั นาทย่ี ัง่ ยืน ผู้ใหญ่วิบูลย์เป็นหนึ่งในปราชญ์เหล่าน้ัน ได้เรียนรู้จากความล้มเหลวของชีวิต สร้างตนเอง ขึ้นมาใหม่ ด้วยหลักวนเกษตรและเผยแพร่ความรู้ในวงกว้าง ผู้ใหญ่บอกเราว่าวนเกษตรเร่ิมจากการ รู้จกั ตนเอง กอ่ นเริม่ ทำ� การเกษตร การเกษตร (และอาชพี ทัง้ หลาย) เป็นเร่ืองของจติ และกาย เมื่อผมพบผู้ใหญ่ครั้งแรกเม่ือกลางหรือครึ่งหลังทศวรรษ ๒๕๓๐ ผู้ใหญ่พาผมและเพื่อน นักวิชาการไปเดินชายป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด ที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างไนเป็นเวลาสองสาม ช่ัวโมง ผู้ใหญ่ชี้นกชมไม้ว่ามีอะไรในป่าที่มนุษย์ได้ประโยชน์บ้าง จากการอธิบายของผู้ใหญ่ ผมจับ ความวา่ ผู้ใหญบ่ อกผมวา่ “อาจารย์ ปา่ เปน็ ซูเปอรม์ าเกตของชาวบ้าน ชาวบ้านได้ทง้ั อาหาร ยารักษา โรค ไม้ และสิ่งก่อสร้างจากปา่ ปา่ เป็นโรงท�ำน�ำ้ ประปาบรสิ ทุ ธิ์ ปา่ เปน็ ตัวเกบ็ น�้ำเพ่อื ชวี ิตของชาวบา้ น และการเกษตร ป่าเป็นเคร่ืองฟอกอากาศให้บริสุทธิ์ ฯลฯ” แม้ผมจะจ�ำทุกค�ำพูดไม่ได้ แต่ก็จับค�ำพูด หลกั ไดแ้ บบน้ี เปน็ ข้อสรุปทีล่ ึกล�้ำมาก ซ่งึ ผมได้น�ำไปขยายต่อไป

ผมเข้าออกบริเวณป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด ที่เขาอ่างไนตั้งแต่ปลายทศวรรษ ๒๕๓๐ เพ่ือ น�ำนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีไปท�ำงานวิจัยด้านพลังงานทดแทน และจะแวะหาผู้ใหญ่เป็นประจ�ำ ผู้ใหญ่วิบูลย์เป็นผู้ใหญ่ (ในความหมายของผู้สูงอายุ) และชาวบ้าน ท่ีสนใจเรียนรู้และอยากลองของใหม่ ไม่กลัวเทคโนโลยี ผู้ใหญ่รู้ว่าผมท�ำงานวิชาการเร่ืองสายลม แสงแดด กจ็ ะชวนผมและลกู ศษิ ยค์ ยุ เพอ่ื หาความรเู้ รอื่ งโซลารเ์ ซลล์ กงั หนั ลม อบแหง้ ดว้ ยแสงอาทติ ยฯ์ ผู้ใหญ่อยากได้โซลาร์เซลล์ไปติดที่บ้านเพ่ือลดค่าไฟฟ้า เมื่อย่ีสิบปีก่อนโซลาร์เซลล์ราคาแพงกว่า ปัจจุบันกว่าสิบเท่า ผมก็บอกผู้ใหญ่ว่าติดโซลาร์เซลล์ไม่คุ้มทุน เอามาทดลองให้ชาวบ้านและเด็กดูดี กว่า เราก็เลยหาอุปกรณ์พลังงานหมุนเวียนไปไว้ท่ีบ้านผู้ใหญ่เพื่อการเรียนรู้ ทุกคร้ังท่ีไปบ้านผู้ใหญ่ แม้ผมจะอายุน้อยกว่า ผู้ใหญ่ก็จะให้เกียรติ แต่งตัวเรียบร้อย ชวนมานั่งท่ีระเบียงโล่งๆ กินกาแฟ และคยุ กนั จากนั้นมาผู้ใหญ่ก็มีนักศึกษาและนักวิชาการด้านอ่ืนๆ จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลา้ ธนบรุ แี ละจากไบโอเทคไปมาหาสกู่ นั ซมึ ซบั เรอื่ งวนเกษตรความงดงามของปา่ ชอบดนู ก ชอบอยู่กบั ปา่ มีวญิ ญานอนรุ กั ษ์ เกดิ ทายาททางความคิดต่อๆ กนั มา ความที่ผูใ้ หญว่ บิ ลู ยเ์ ปน็ ผใู้ หญ่ (ในความหมายของผู้สูงอายุ) ที่เปิดรับคนโดยเฉพาะผู้ท่ีอ่อนวัยกว่า เปิดรับของใหม่ มีความเมตตา กรณุ าสูง บา้ นของผ้ใู หญ่จงึ เป็นแหล่งเรยี นรู้และเป็นบา้ นของคนจากทุกสารทิศ ผมจงึ คดิ ว่าแมผ้ ใู้ หญ่ มีทายาททางสายเลือดสามคน แต่ผู้ใหญ่ก็มีทายาททางความคิด ทางจิตวิญญาน นับร้อยๆ นับพัน คนจากทกุ ทศิ ทุกทาง เชน่ ปราชญ์ชาวบา้ นทั้งหลาย หลังจากแนวคิดผลิตของท่ีกิน กินของท่ีผลิต ผลิตของที่ใช้ ใช้ของที่ผลิต เหลือแล้วจึงขาย ผูใ้ หญค่ ิดเร่ืองการแปรรปู ชวนผมออกไปพื้นที่เมือ่ มีโอกาส ไปหมู่บา้ นหลายหมู่บา้ นแถวบ้านนายาว บ้านนาอิสาน ผู้ใหญ่ปรกึ ษาเรอื่ งช้างทีเ่ ขา้ มาหากนิ ในที่เกษตรกร เร่ืองมันสำ� ปะหลงั ราคาตกตำ่� ฯลฯ ผมก็ชวนนักวิชาการให้ออกมาช่วยกันร่วมคิดท�ำงานกับผู้ใหญ่ อาจารย์ศักรินทร์ ภูมิรัตน อาจารย์ มรกต ตันติเจริญ ได้สนับสนุนให้ผู้ใหญ่ได้ท�ำงานวิจัยร่วมกับนักวิชาการรุ่นใหม่ เป็นตัวอย่างของ ภมู ปิ ญั ญาไทยทผ่ี สานกบั ภูมปิ ัญญาสากลไดอ้ ยา่ งลงตวั ท่ีผมยงั ไม่เห็นในพน้ื ที่อ่ืนของประเทศ แม้ผู้ใหญ่วิบูลย์จากเราไป แต่ผู้ใหญ่สร้างทายาททางความคิดและจิตวิญญานไว้มากมาย เพื่อสืบทอดเจตนารมณ์ของผู้ใหญ่วิบูลย์ที่จากเราไป ผมขอยกความจากค�ำพูดของเซนต์จอห์นใน คริสต์ศาสนา กล่าวถึงการปฏิบัติตามพระผู้เป็นเจ้าดังความว่า “ขอบอกสัจธรรมว่า ผู้ใดท่ีเช่ือในเรา จะทำ� งานดงั ทเี่ ราท�ำตอ่ ไป หรือทำ� ให้ยง่ิ ใหญ่กว่า… (I tell you the truth, anyone who believes in me will do the same work that I have done, even greater works…)” ถ้าเราท�ำงานแนวผูใ้ หญ่วิบลู ย์ ต่อไป ชาวบ้านผู้ยิง่ ใหญ่น้จี ะอยกู่ ับเราตอ่ ไป กฤษณพงศ์ กีรตกิ ร

สารบญั ๑ ๑๙ การแกป้ ัญหาช้างป่าบุกรกุ พืน้ ทเ่ี กษตรกรรม รอบเขตรกั ษาพนั ธุส์ ัตว์ป่าเขาอ่างฤาไน ๓๑ ๓๘ กลมุ่ วิจัยทกั ษะการจัดการทรพั ยากรฐานชมุ ชน มจธ. กับเครือข่ายปา่ รอยต่อ ๕ จงั หวดั ภาคตะวนั ออก จ.ฉะเชิงเทรา เกษตรกรรม วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ท่เี ชือ่ มโยงกับชีวติ พชื สมุนไพรในปา่ ตะวันออก

การแก้ปญั หาชา้ งป่าบกุ รกุ พื้นท่เี กษตรกรรม รอบเขตรกั ษาพนั ธ์สุ ัตว์ป่าเขาอ่างฤาไน ในปี พ.ศ. ๒๕๔๔–๒๕๔๕ ผใู้ หญว่ บิ ลู ย์ เขม็ เฉลมิ มคี วามสนใจเรอื่ งการมสี ว่ นรว่ ม ของประชาชนต่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและการเชื่อมโยงปัญหาในมิติต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง จนสามารถวางแผนและก�ำหนดวิถีทางการด�ำเนินชีวิตของตัวเองให้สอดคล้องกับ วิถีสังคมในสภาวะปัจจุบันและผลกระทบที่เกิดข้ึนรอบตัว ในขณะนั้น (พ.ศ. ๒๕๔๔) ชุมชน รอบป่าเรม่ิ ประสบปญั หาชา้ งป่าบกุ รุกพืน้ ทเ่ี กษตรกรรม ผู้ใหญ่วิบูลย์ปรึกษาหลายฝ่าย อาทิเช่น คุณอุดม ค�ำจันทึก นักวิชาการป่าไม้ ๕ ส�ำนักงานป่าไม้เขตปราจีนบุรี จึงมีแนวคิดร่วมกันในการท�ำการวิจัยเก่ียวกับช้างป่าบุกรุก พื้นท่ีเกษตรกรรมของชาวบ้าน น�ำปัญหาช้างป่าเป็นส่ือกลางในการศึกษา แลกเปลี่ยนกับ ประชาชนในพื้นท่ี น�ำสู่การเข้าถึงปัญหาของชุมชนท่ีหลากหลายมิติ ทั้งในด้านสังคม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดล้อม การศึกษาน้ีเพ่ือหาแนวทางป้องกันปัญหาช้างป่าบุกรุกพ้ืนท่ี เกษตรกร ลดความขัดแย้งระหว่างคนกับช้างป่า โดยงานวิจัยดังกล่าวได้รับงบประมาณ สนับสนุนจากส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ศูนย์พันธุ- วิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) เป็นโครงการวิจัยต่อเนื่องประกอบ ไปด้วย ๒ โครงการ ได้แก่ โครงการศึกษาผลกระทบต่อพ้ืนที่เกษตรกรรมของชุมชนจาก ชา้ งป่ารอบเขตรกั ษาพนั ธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างไน (พ.ศ. ๒๕๔๔–๒๕๔๕) และโครงการแกป้ ัญหา ช้างป่าบุกรุกพื้นท่ีเกษตรกรรม จากกระบวนการมีส่วนร่วมของเกษตรกรรอบเขตรักษาพันธุ์ สตั วป์ ่าเขาอ่างไน (พ.ศ. ๒๕๔๘–๒๕๕๑) 1

ท�ำความรจู้ กั เขตรักษาพันธ์สุ ตั ว์ปา่ เขาอ่างฤาไน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างไนประกาศเป็นเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าโดยออกเป็นพระราช- กฤษฎีกาเมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ มีพ้นื ท่ีทั้งหมด ๖๗,๕๖๒ ไร่ และรฐั บาลไดป้ ระกาศผนวกป่าต่างๆ ทอี่ ยู่ บริเวณโดยรอบเข้าเป็นเขตรักษาพันธุ์เพิ่มเติม ปจั จบุ ัน (พ.ศ. ๒๕๔๔) มขี นาดพน้ื ท่ีรวม ๖๗๔,๓๕๒ ไร่ ครอบคลุมพ้ืนที่ ๕ จังหวัดภาคตะวันออก อันประกอบไปด้วย จ.ชลบุรี จ.ฉะเชิงเทรา จ.ระยอง จ.สระแก้ว และ จ.จันทบรุ ี ท�ำให้ได้ช่อื วา่ “ปา่ รอยต่อ ๕ จงั หวดั ภาคตะวันออก” อีกช่อื หนึ่ง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างไนเป็นป่าลุ่มต�่ำ (Lowland forest) พ้ืนที่กว่าร้อยละ ๖๑.๑๒ มีความสูงในระดับ ๑๐๐–๒๐๐ เมตรจากระดับทะเล น่ันก็หมายถึง พื้นที่โดยส่วนใหญ่เป็นท่ีราบ (จุดที่มีความสูงที่สุด คือ เขาตะกรุบ มีความสูง ๗๖๓ เมตร) จากลักษณะดังกล่าวท�ำให้เกิดสังคม พืชป่าดิบแล้งลุ่มต่�ำ (Low–dry evergreen forest) ท่ีมีความอุดมสมบูรณ์และกว้างใหญ่ที่สุดใน ประเทศไทย ส่วนหน่ึงเกิดจากพ้ืนท่ีดังกล่าวเป็นเขตเงาฝน (Rain shadow) จากเทือกเขาทางทิศ ตะวันตกเฉียงใต้ พ้ืนท่ี จ.ชลบุรี และ จ.ระยอง ได้แก่ เขาใหญ่ เขาอ่างไน เขาชะมุน และเขา ชะอม ทำ� ให้รอ้ ยละ ๙๐ ของเขตรกั ษาพนั ธ์สุ ตั ว์ป่าเขาอ่างไนเป็นปา่ ดิบแลง้ (Dry evergreen forest) และยังมสี งั คมปา่ เบญจพรรณช้นื (Moist mixed deciduous forest) ปา่ เตง็ รงั (Dry dipterocarp forest) และไรร่ ้าง (Secondary forest) รวมกันอีกร้อยละ ๑๐ ของพืน้ ท่ี จากการส�ำรวจพรรณไม้พบว่า อย่างน้อยมี ๑,๔๐๐ ชนิด (ยังมีพรรณไม้อีกมากที่ไม่ทราบ ชนิด) สัตว์ป่าในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างไนท่ีพบ จ�ำแนกเป็นสัตว์เล้ียงลูกด้วยนม ๖๔ ชนิด ๕๐ สกลุ ๒๓ วงศ์ นก ๒๔๖ ชนดิ สตั วส์ ะเทนิ นำ้� สะเทนิ บก ๑๘ ชนดิ ๙ สกลุ ๕ วงศ์ สตั วเ์ ลอ้ื ยคลาน ๕๓ ชนิด ๔๐ สกุล ๑๖ วงศ์ และแมลง ๑๐๖ ชนิด ๗๕ สกุล ๑๒ วงศ์ ทีมวิจัยด้านต่างๆ เข้าไป ส�ำรวจในพ้ืนท่ีเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างไนได้ค้นพบพรรณพืชและสัตว์ป่าชนิดใหม่ตลอดมา ตัวเลขทีแ่ สดงนจ้ี งึ เปลยี่ นแปลงและเพิ่มขึน้ ก่อนปี พ.ศ. ๒๕๐๐ ปา่ รอยตอ่ ๕ จังหวัด มพี ้ืนทก่ี วา่ ๕ ลา้ นไร่ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เหลอื ประมาณ ๑ ลา้ นไร่ (รวมพนื้ ทปี่ ่าสงวนแห่งชาติ) พ้นื ท่ปี ่าไม้ที่ลดลงนัน้ เกิดจากนโยบายภาครัฐทีไ่ ดใ้ ห้ สมั ปทานปา่ ไม้รอบท่ี ๒ แก่บรษิ ทั ทำ� ไม้ จำ� นวน ๘ บรษิ ทั ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๑๓ จนถึงวันเพกิ ถอน สัมปทานปา่ ไมท้ ่ัวประเทศในปี พ.ศ. ๒๕๓๒ ซ่งึ เป็นชว่ งที่ประชาชนท่วั ประเทศหลงั่ ไหลอพยพเข้ามา จับจองพื้นที่เพื่อท�ำการเกษตร นอกจากนี้ภายในป่ายังมีชุมชนและพ้ืนที่เกษตรกรรมเป็นหย่อมกว้าง กระจายท่ัวเขตรกั ษาพนั ธุ์สัตว์ป่าเขาอา่ งไน เม่ือรัฐบาลประกาศปิดป่า จึงได้อพยพคนออกจากป่าในปี พ.ศ. ๒๕๓๓ โดยสร้างเป็น หมู่บ้านป่าไม้ จำ� นวน ๕ หมบู่ ้าน ในฝ่ัง จ.สระแกว้ ๓ หมู่บา้ น และ จ.ฉะเชงิ เทรา ๒ หมบู่ ้าน เพือ่ รองรับราษฎรโดยได้สร้างสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน ได้แก่ โรงเรียน สถานีอนามัย นอกจากนี้ยังจัดสรร พื้นท่ีให้ครอบครัวละ ๑๕ ไร่ ประกอบด้วยพ้ืนที่อยู่อาศัย ๑ ไร่ และพื้นที่ท�ำกิน ๑๔ ไร่ เพื่อเป็น ท่ีอยู่อาศัยและแหล่งท�ำกิน จึงท�ำให้พื้นท่ีชุมชนเดิมภายในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างไน กลายเป็นทุง่ หญา้ ไร่ร้าง 2

พื้นที่รอยต่อระหว่างเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างฤาไนและพื้นท่ีท�ำกินบริเวณบ้านนาอิสาน ต.ท่ากระดาน อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชิงเทรา ในปัจจุบันเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างไนเป็นแหล่งท่ีมีความพร้อมและสมบูรณ์ต่อการ เพาะพันธุ์และขยายพันธุ์สัตว์ป่าตามธรรมชาติ เนื่องจากความกดดันท่ีเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ ลดนอ้ ยลง สตั วป์ า่ มพี ฤตกิ รรมทอี่ สิ ระมากขน้ึ นกั วชิ าการและนกั วจิ ยั มคี วามเหน็ ตรงกนั วา่ มแี นวโนม้ วา่ จ�ำนวนประชากรสัตวป์ า่ จะเพิ่มมากขึน้ ทุกๆ ปี โดยเฉพาะ “ชา้ งปา่ ” จากข้อมูลสถานีวิจัยสัตว์ป่าฉะเชิงเทรา พบว่าในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ มีจ�ำนวน ประชากรช้างป่าประมาณ ๙๓–๑๕๗ ตัว และในเดอื นสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ชา้ งป่าในเขตรักษาพนั ธุ์ สัตว์ป่าเขาอา่ งไนมีจำ� นวน ๒๑๗ ตวั อตั ราการเพ่มิ ประชากรชา้ งป่ารอ้ ยละ ๙.๘๓ อัตราการตาย (ด้วยกรณตี า่ งๆ รวมถงึ ถกู ท�ำร้ายโดยมนุษย)์ รอ้ ยละ ๑.๗๓ ขณะท่พี ้นื ท่ีเขาอา่ งไนสามารถรองรับ ช้างปา่ ได้ ๑๖๓ ตัว จงึ ทำ� ให้เกดิ ปญั หาช้างป่าบกุ รุกพน้ื ท่ีเกษตรกรรม โครงการศกึ ษาผลกระทบตอ่ พน้ื ทเ่ี กษตรกรรมของชมุ ชนจากชา้ งปา่ รอบเขตรกั ษาพันธ์ุสตั ว์ปา่ เขาอา่ งฤาไน (พ.ศ. ๒๕๔๔–๒๕๔๕) โครงการนี้ใช้หลักการวิจัยแบบมีส่วนร่วมจากประชาชน (Participatory Action Research : PAR) โดยมีวิธีการวิจัย ๓ หลกั การ คอื ๑) วิธีการศกึ ษาวิเคราะหป์ ระเมนิ ชุมชนแบบมสี ว่ นร่วม ๒) วธิ ี การวิจยั สัตว์ป่า และ ๓) วธิ ีการศึกษาแบบสัมภาษณ์ 3

พ้นื ทที่ ำ� งานอยูท่ ่ีไหน พื้นท่ีชุมชนรอบป่ารอยต่อ ๕ จังหวัดภาคตะวันออก ที่ได้รับผลกระทบจากช้างป่าบุกรุก พ้ืนท่ีเกษตรกรรม โดยเริ่มต้นท่ีการจัดเวทีย่อยในชุมชนต่างๆ และจัดประชุมสัมมนา ปรึกษาหารือ หาแนวทางในการแก้ไขปัญหาร่วมจาก ๔ ภาคส่วน ได้แก่ ภาคประชาชน ภาครัฐ องค์กรพัฒนา เอกชน และนกั วิชาการ วธิ ีการวิจยั สัตวป์ า่ ทำ� อยา่ งไร เรมิ่ ตน้ จากการสอบถามเจา้ หนา้ ทป่ี า่ ไมใ้ นพนื้ ทที่ ม่ี ปี ญั หาและเขา้ พบผเู้ ดอื ดรอ้ นโดยตรง เพอ่ื รวบรวมข้อมูล ความเสียหายต่อพืชผลทางการเกษตรจากช้างป่า ความถี่ของการบุกรุก และจ�ำนวน ช้างป่า ซ่ึงพบว่าช้างป่าออกมารบกวนในเวลากลางคืนมากท่ีสุด และออกมาในพื้นท่ีเกษตรกรรม และบริเวณท่ีอยูอ่ าศัยของราษฎร เพอื่ หาอาหาร ได้แก่ มะพรา้ ว กลว้ ย อ้อย มันสำ� ปะหลัง ข้าวโพด และขา้ ว นอกจากน้ีได้ร่วมกับสถานีวิจัยสัตว์ป่าฉะเชิงเทรา เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างไน และกรมทหารพรานท่ี ๑๓ สำ� รวจประชากรชา้ งปา่ และสำ� รวจปรมิ าณแหลง่ นำ้� ในเขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ เขาอ่างไน การส�ำรวจประชากรช้างป่าใช้วิธีนับหมด โดยเฝ้านับตามแหล่งน�้ำท่วมขังบริเวณเขต รักษาพนั ธุส์ ตั วป์ า่ เขาอา่ งไนจำ� นวน ๒๘ จุด พร้อมท้งั การวดั ปรมิ าตรน�ำ้ ในบริเวณแหลง่ นำ�้ ต่างๆ จากการศกึ ษาสรปุ ไดว้ ่า มีหมู่บ้านท่ีได้รับผลกระทบโดยตรง ๓๕ หมู่บ้าน จ�ำนวน ๒๘๗ ครอบครัว กระจายใน ๕ จังหวดั คดิ เป็น ๑๖ ชมุ ชน มเี นอ้ื ทคี่ วามเสยี หายประมาณ ๑,๑๑๒ ไร่ (มแี นวโน้มสงู ขึน้ ทุกปี) มูลคา่ ความเสยี หายต่อผลติ ผลทางการเกษตรประมาณ ๒,๑๑๒,๘๐๐–๕,๕๖๐,๐๐๐ บาท หมู่บา้ นท่ีได้รับผลกระทบนัน้ ร้อยละ ๙๘.๘๙ อพยพโยกยา้ ยถิ่นฐาน มีรายละเอียดดงั นี้ แสดงสถิตกิ ารย้ายถนิ่ ฐานของราษฎร ภาคกลาง ๑๒% ภาคต๒ะ๘ว%ันออก ภาคเหนือ ๑% อื่นๆ ๘% ไม่มกี าร๑ย%า้ ยถิน่ ฐาน ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ภาคอ่นื ๆ ๗% ๕๑% สถิตกิ ารย้ายถ่ินฐานของราษฎรท่ีไดร้ บั ผลกระทบจากชา้ งปา่ รอบเขตรักษาพนั ธุส์ ตั วป์ า่ เขาอา่ งฤาไน 4

ส่วนใหญ่ของท่ีดินที่ใช้ท�ำมาหากินไม่มีเอกสารสิทธิ์การถือครอง มีแต่ใบภาษีบ�ำรุงท้องท่ี (ภบท. ๕) เนื่องจากอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ยกเว้นพ้ืนที่บ้านเขาไผ่ บ้านคลองชล และบ้าน คลองอุดม ต.วงั ทอง อ.วงั สมบรู ณ์ จ.สระแก้ว ท่มี เี อกสารสิทธ์ิ สปก. ๔−๐๑ เศรษฐกจิ ของชุมชน จากการส�ำรวจพบว่า ราษฎรท่ีไม่มีหน้ีสินจ�ำนวนร้อยละ ๑๐ เป็นราษฏรในพ้ืนที่ จ.ระยอง และ จ.จนั ทบรุ ี ทม่ี ีอาชีพปลูกยางพารา มะมว่ งหมิ พานต์ และสวนผลไม้ ราษฎรที่มีหน้ีสินจ�ำนวนร้อยละ ๙๐ เป็นราษฎรในพื้นที่ จ.ระยอง จ.ฉะเชิงเทรา จ.ชลบุรี และ จ.สระแก้ว ท่ีมีอาชีพผลิตพืชไร่เชิงเดี่ยว ได้แก่ อ้อย มันส�ำปะหลัง และข้าวโพด ส่วนข้าวมี เล็กนอ้ ย หน้ีสินนั้นมีการกู้ยืมทั้งในระบบและนอกระบบ ได้แก่ ธ.ก.ส. (ร้อยละ ๙ ต่อปี) กองทุน หมู่บ้าน (ร้อยละ ๑–๓ ต่อเดือน) สหกรณ์หมู่บ้าน (ร้อยละ ๗ ต่อปี) โครงการ กข.คจ. กลุ่มสัจจะ ออมทรัพย์ในชุมชน และนายทุน จากการวิเคราะห์ร่วมกันพบว่า รายได้นั้นไม่เพียงพอต่อรายจ่าย ในแต่ละปี พน้ื ท่เี กษตรกรรมของราษฎรน้ันอยูต่ ดิ เขตรักษาพันธ์สุ ตั ว์ปา่ เขาอ่างไนทง้ั หมด เม่อื ช้างปา่ ออกมาหากินในพื้นที่เกษตรกรรม พ้ืนท่ีที่ท�ำการผลิตพืชไร่จึงได้รับความเสียหายมากท่ีสุด นอกจาก ช้างป่าแล้ว ยังมีสัตว์ป่าอื่นๆ ที่บุกรุกพ้ืนท่ีเกษตรกรรมด้วย เช่น นกแขกเต้าหลายพันตัวลงจิกกิน ข้าวโพด (บ้านซับเกษม จ.สระแก้ว) กระทิงและวัวแดง (บ้านร่มโพธิ์ทองและบ้านเขากล้วยไม้ อ.ท่าตะเกียบ จ.ฉะเชิงเทรา) นอกจากน้ีพื้นที่เส้นทางที่ช้างป่าเดินหากิน จะมีสัตว์ป่าชนิดอื่นๆ ตามมาด้วย คือ กระทงิ หมี หมูปา่ และเม่น ผใู้ หญ่วบิ ลู ย์ เขม็ เฉลิม และทีมวิจัย ลงพืน้ ทสี่ ำ� รวจแปลงของเกษตรกรทไ่ี ดร้ ับความเดอื ดร้อน 5

แหล่งน้�ำท่ีมีในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างไน ปริมาณน้�ำท่ีวัดได้ ๔๑,๔๗๔.๕๙– ๗๗,๖๖๒.๒๘ ลบ.ม. เม่ือเปรียบเทียบจากจ�ำนวนช้างป่าท่ีนับได้ ๙๓–๑๕๗ ตัวน้ัน ปริมาณน�้ำ เพยี งพอต่อประชากรชา้ งปา่ แตย่ ังไม่มีการศึกษาคุณภาพของน้ำ� พชื อาหารชา้ งในปา่ จากการส�ำรวจพบว่า ชา้ งกินพชื อาหารไดห้ ลายชนิด เช่น ไผ่ชนดิ ต่างๆ พืชสกุลมะหาด (Artocarpus spp.) พืชสกุลไทร (Ficus spp.) หญ้าชนิดต่างๆ รวมท้ังพืชอ่ืนๆ เช่น มะกอกเกลอ้ื น ยา่ นาง ข่อย ชะเอมป่า หวายขม กระบก ขว้าว ตว้ิ ขาว โมกเถา หญา้ คา มะเด่ือดนิ มะไฟป่า กระถนิ สมพง เป็นต้น การวิเคราะหม์ ลู ชา้ ง เพ่อื ศกึ ษาพชื อาหารท่ชี า้ งกนิ 6

ภาพความเสียหายจากช้างป่า ไร่มันส�ำปะหลัง บา้ นหลมุ ตาสังข์ ช้างปา่ บกุ รุกสรา้ งความเสียหายต่อพืชผลทางการเกษตร สาเหตขุ องปญั หาและแนวทางการแกไ้ ขปญั หา สาเหตสุ นั นษิ ฐานได้ว่า ๑. พฤติกรรมของช้างปา่ ประชากรช้างป่ามีมากข้ึน เกินศักยภาพของป่าจะรองรับได้ ไร่ร้างของเกษตรกรเป็น แหล่งอาหารท่สี มบูรณ์ ๒. พฤติกรรมของเกษตรกร เกษตรกรปลูกพืชเชิงเดี่ยว หรือสวนผลไม้ที่ช้างป่าชอบกิน เช่น ข้าว อ้อย ข้าวโพด มันสำ� ปะหลัง กลว้ ย มะพร้าว เป็นต้น แนวทางการแกไ้ ขปญั หา - ต้องจัดการพื้นที่ภายในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างไนให้มีแหล่งน้�ำ/อาหาร เพยี งพอต่อประชากรชา้ งป่า - ปลูกพชื อาหารชา้ ง/สร้าง/ซ่อมแซมแหล่งน�้ำ 7

- จัดทำ� แนวเขตใหช้ ัดเจน - มีหน่วยงานเขา้ มาดูแลเรอื่ งชา้ งปา่ บุกรุกพน้ื ทีเ่ กษตรกรรมโดยตรง - อพยพชา้ งป่า ในกรณีมีประชากรมากกว่าพนื้ ทจ่ี ะรองรบั ได้ ความร่วมมอื ระหว่างกัน - ขดุ คกู ันช้าง - ทำ� ร้วั - สร้างแนวถนนตรวจการณ์ - ปลูกต้นสเี สียดแก่นเป็นรวั้ ปอ้ งกันตลอดแนว - นำ� ชา้ งบ้านเขา้ มาผลกั ดนั และป้องปรามช้างป่า เทคนคิ วธิ ใี นการป้องกนั ของชมุ ชน ๑. เทคนคิ วธิ ีในการป้องกันพ้นื ที่เกษตรกรรม ไดแ้ ก่ การทำ� รัว้ ไฟฟา้ จากแบตเตอรี่ ๑๒ โวลต์ และจา้ งคนเฝา้ /ไลช่ ้าง ๒. จดั การพื้นท่ี - ให้เอื้อเฟื้อแบ่งปันต่อช้างป่า ได้แก่ ท�ำฝายน�้ำล้นบริเวณชายป่า เพ่ือให้ช้างป่าได้ ดม่ื กิน - ดำ� เนินการใหเ้ ป็นแหล่งท่องเทยี่ วเชิงนเิ วศ ๓. ปรับ/เปลีย่ นวิถีการผลติ - เปลี่ยนพชื ปลูก (จากพชื ไร่เชงิ เด่ยี วมาทำ� เกษตรผสมผสาน วนเกษตร สวนยางพารา) - เปล่ยี นอาชพี มาเลี้ยงโคนม/โคเนื้อ - ตั้งกองทุนเพื่อพัฒนาอาชีพ/ช่วยเหลือผปู้ ระสบภยั จากช้างป่า จากการศึกษาผลกระทบต่อพ้ืนท่ีเกษตรกรรมของชุมชนจากช้างป่ารอบเขตรักษาพันธุ์ สัตว์ป่าเขาอ่างไนน้ัน ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม ชี้ให้เห็นว่า ปัญหาช้างป่าบุกรุกพื้นท่ีเกษตรกรรม นั้นเป็นองค์ประกอบหน่ึงที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชีวิตของเกษตรกร เหตุที่แท้จริงท่ีท�ำให้เกษตรกร รู้สึกว่าปัญหาเรื่องช้างป่าเป็นเร่ืองใหญ่ เน่ืองมาจากเกษตรกรมีภาระหน้ีสินที่ต้องหาเงินมาช�ำระคืน เม่ือช้างป่ารุกพื้นที่เกษตรกรรม ผลผลิตเสียหาย ไม่สามารถขายและน�ำเงินไปใช้หนี้สินได้ จึงเกิด เป็นปัญหาข้ึน จึงได้เสนอโครงการวิจัยต่อเน่ือง เพื่อหาแนวทางท่ีเหมาะสมต่อเกษตรกร ภายใต้ช่ือ “โครงการแก้ปัญหาช้างป่าบุกรุกพ้ืนที่เกษตรกรรม จากกระบวนการมีส่วนร่วมของเกษตรกรรอบเขต รกั ษาพันธ์ุสัตวป์ า่ เขาอ่างไน” (พ.ศ. ๒๕๔๘–๒๕๕๑) 8

โครงการแก้ปัญหาช้างป่าบุกรุกพ้ืนทเ่ี กษตรกรรม จาก กระบวนการมีสว่ นร่วมของเกษตรกรรอบเขตรักษาพนั ธ์สุ ตั วป์ า่ เขาอา่ งฤาไน (พ.ศ. ๒๕๔๘–๒๕๕๑) โครงการระยะท่ี ๒ น้ีมุ่งเน้นการน�ำเสนอรูปธรรมพื้นที่/การจัดการ/แนวทางในการแก้ไข ปัญหาชา้ งป่า โดยมี ๓ โครงการยอ่ ย ๑. เวทชี าวบ้าน ๒. โครงการวนเกษตร และ ๓. โครงการปลกู พืชอาหารชา้ งป่า โครงการยอ่ ยท่ี ๑ เวทีชาวบ้าน จัดต้ังคณะที่ปรึกษา ประกอบไปด้วยคณะบุคคลส่วนต่างๆ ท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง ได้แก่ อบต. ขา้ ราชการทม่ี อี ำ� นาจหนา้ ทใ่ี นการจดั การดแู ล รวมทง้ั องคก์ รเอกชนอนื่ ๆ การจดั เวทนี น้ั ใชเ้ วทยี อ่ ย หรือท่ีเรียกว่า Focus Group ตามหมู่บ้านเป้าหมาย เพื่อให้เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ปัญหาเรื่อง พฤติกรรมของช้างป่า เส้นทางการหากิน การเรียนรู้ของช้างป่า รูปพรรณสัณฐาน ฯลฯ ซ่ึงการ แลกเปล่ียนองค์ความรู้เหล่านี้จะน�ำมาซ่ึงแนวทางการแก้ไขปัญหาในชีวิตของเกษตรกร ไม่ใช่เพียง การแกป้ ัญหาเร่อื งชา้ งปา่ บุกรุกพนื้ ที่เกษตรกรรมเท่าน้ัน ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม ลงพื้นท่ี โดยระดม ความคิดเห็นกลุ่มย่อยในพ้ืนท่ีชุมชน ต.พวา อ.แกง่ หางแมว จ.จนั ทบรุ ี โครงการยอ่ ยท่ี ๒ โครงการวนเกษตร 9

โครงการวนเกษตรเป็นอีกหนึ่งแนวทางในการแก้ปัญหาช้างป่าบุกรุกพื้นที่เกษตรกรรม การ มีแปลงวนเกษตรจึงมีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งต่อการเรียนรู้ของเกษตรกร เนื่องจากความหลากหลาย ของชนิดพืชที่ปลูกและมุ่งสรรหากลุ่มของชนิดพืชท่ีเหมาะสมส�ำหรับเกษตรกร และเป็นค�ำตอบ สำ� หรบั การสรา้ งความมั่นคงดา้ นอาหารและความม่นั คงในบนั้ ปลายชวี ิตของเกษตรกร ชนิดพืชท่ีปลูกได้มาจากไหน การจดั เวทียอ่ ย - ระดมความคิด แลกเปล่ียนความคิดเรื่องภูมิปัญญาท้องถ่ิน การด�ำเนินชีวิตที่จะเป็น แนวทางในการแก้ไขปัญหาช้างปา่ บกุ รกุ พ้นื ท่เี กษตรกรรม - พาไปทัศนศึกษาดูงาน ณ สหกรณ์การเกษตรย่ังยืนแม่ทา จ�ำกัด จ.เชียงใหม่ ระหว่าง วนั ที่ ๑๓–๑๕ มถิ ุนายน ๒๕๔๙ - น�ำความรู้ แนวคดิ ท่ไี ดเ้ รยี นรู้ มาสงั เคราะห์เป็นชุดความรู้ท่ีจะน�ำมาใชใ้ นแปลงวนเกษตร ของเกษตรกร โดยค�ำนึงถึงศักยภาพ การจัดการภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และการใช้ ประโยชนข์ องเกษตรกร ซง่ึ ไดก้ ลมุ่ ชนดิ พนั ธไ์ุ มท้ เ่ี ขา้ หลกั เกณฑก์ ารเสาะหาพชื ทปี่ ลกู คอื ๑) พืชทชี่ ้างไม่กิน แตค่ นกนิ เช่น ชะอม ๒) พืชที่ช้างเข้าท�ำลายโดยการเหยียบย่�ำ แต่สามารถฟื้นตัวเองได้ และสามารถให้ ผลผลิตอยา่ งต่อเน่ือง เช่น เสม็ด ๓) พืชที่ชา้ งกินและสามารถฟื้นตวั เองได้ และสามารถใหผ้ ลผลติ อยา่ งตอ่ เนื่อง กลุม่ พืชที่เกษตรกรเลือกจำ� แนกตามการใช้ประโยชน์ คอื พนั ธุ์ไม้กนิ ได้ และพนั ธ์ไุ ม้สวัสดกิ าร พนั ธ์ไุ ม้กนิ ได้ ปลูกร้อยละ ๘๐ ของพื้นที่ จำ� นวน ๒๑ ชนดิ ชนดิ ละ ๑๖ ต้น รวมเป็นพันธ์ไุ ม้ ประมาณ ๓๓๖ ตน้ ต่อไร่ ไดแ้ ก่ ๑. หวายขม ๒. ผักหวานบ้าน ๓. ชะอม ๔. ติว้ ๕. เสม็ด ๖. เพกา ๗. สะเดา ๘. กมุ่ นำ�้ ๙. กระโดน ๑๐. แค ๑๑. มะรุม ๑๒. แคท่งุ ๑๓. มะตูม ๑๔. มะกรูด ๑๕. มะนาว ๑๖. มะขวิด ๑๗. มะดัน ๑๘. ชะมวง ๑๙. ไพล ๒๐. มะมว่ ง ๒๑. ฝางเสน แสดงโครงสร้างพันธุ์ไม้ท่ีปลูกในระบบวนเกษตร โดยการ ปลกู ผักหวานบา้ น ไพล ชะอม แทรกในสวนผลไม้ 10

แสดงโครงสรา้ งพันธุ์ไมท้ ี่ปลกู ในระบบวนเกษตร โดยการปลูกชะอมเปน็ แนว (ในกรณีแปลงใหม่) แสดงโครงสรา้ งพันธุ์ไม้ทป่ี ลกู ในระบบวนเกษตร โดยการปลกู ไพลร่วมกบั ผกั หวานบ้านในแปลงผลไม้ 11

แ ส ด ง โ ค ร ง ส ร ้ า ง พั น ธุ ์ ไ ม ้ ท่ี ป ลู ก ใ น ร ะ บ บ ว น เ ก ษ ต ร หลังจากปลูกแล้วประมาณ ๑ ปี พันธ์ไุ มส้ วสั ดกิ าร ปลูกร้อยละ ๒๐ ของพ้ืนที่ จ�ำนวน ๑๐ ชนิด ชนิดละ ๘ ต้น รวมพันธุ์ไม้ประมาณ ๘๐ ตน้ ต่อไร่ ได้แก่ ๑. ยางนา ๒. ตะเคยี น ๓. พะยอม ๔. ชนั ๕. สเี สียดเปลอื ก ๖. กระท้อน ๗. เกด ๘. ยางบง ๙. ยางรงทอง ๑๐. ยางเหียงหรอื ไมเ้ ต็ง ยางนา พนั ธไ์ุ ม้สวัสดกิ ารท่รี าษฎรปลกู 12

ยางนาแซมในแปลงวนเกษตร เกษตรกรเป็นนักวิจัยในแปลง โดยร่วมเพาะขยายพันธุ์กล้าไม้ท่ีใช้ปลูกในแปลงของตนเอง และสมาชิกรายอ่ืนๆ นอกจากน้ีเกษตรกรต้องเก็บข้อมูลความเสียหายของพืชท่ีปลูกท่ีเกิดข้ึนจาก ช้างป่า ได้แก่ จ�ำนวนช้างป่าที่เข้าพื้นท่ีเกษตรกรรม ความถี่ของช้างป่า เวลาและช่วงเวลาท่ีช้างป่า อยใู่ นแปลง ตลอดจนพฤตกิ รรมการทำ� ลายพชื แตล่ ะชนดิ ผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม ลงส�ำรวจ พ้ืนที่ เก็บข้อมูลความเสียหายของ พืชท่ีปลูก และศึกษาศักยภาพของ พืชที่ฟื้นตัวเร็วในแปลงวนเกษตร ( ห ลั ง จ า ก ช ้ า ง ป ่ า ผ ่ า น เ ข ้ า ม า ใ น แปลง) 13

ผักหวานและชะอม (พืชท่มี ีศกั ยภาพการฟน้ื ตวั ไดเ้ รว็ ) ฝางเสน โครงการย่อยท่ี ๓ โครงการปลูกพชื อาหารช้างป่า พ้ืนท่ีเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างไนมีเน้ือท่ี ๖๗๔,๓๕๒ ไร่ ครอบคลุม ๕ จังหวัด ภาคตะวนั ออก ประกอบดว้ ย จ.สระแกว้ จ.ฉะเชงิ เทรา จ.ชลบรุ ี จ.ระยอง และ จ.จนั ทบรุ ี สงั คมพชื โดยส่วนใหญ่เป็นป่าดิบแล้งลุ่มต่�ำ (Low–dry evergreen forest) อาหารของสัตว์กินพืชจะน้อย พ้ืนท่ีที่มีความเหมาะสมเป็นท่ีอยู่อาศัยของช้างป่ามีเพียงร้อยละ ๓๖.๖ และในจ�ำนวนน้ีช้างป่า ใช้ประโยชน์เพียงร้อยละ ๙๒.๗๓ โดยส่วนใหญ่เป็นทุ่งหญ้า ซึ่งในอดีตเคยเป็นที่อยู่อาศัยและ ที่ท�ำมาหากินของเกษตรกร ปัจจุบันพบว่าหลายพื้นที่มีหญ้าคาแก่ข้ึนทดแทนจนไม่สามารถเป็นพ้ืนที่ ท่ีมีความเหมาะสมให้ชา้ งปา่ ใชป้ ระโยชน์ในการกินพชื อาหาร ท้ังนี้จากกระบวนการมีส่วนร่วมของเกษตรกร เจ้าหน้าท่ีป่าไม้ นักวิชาการ เห็นควรมีการ จัดการพ้ืนท่ีทุ่งหญ้าเหล่าน้ันให้เป็นพื้นท่ีท่ีช้างสามารถใช้ประโยชน์ได้ โดยการปลูกพืชอาหารช้าง และหรือจัดการทุ่งหญ้าโดยการชิงเผา (ภายใต้การจัดการที่รัดกุม) ในเบื้องต้นมีพ้ืนท่ีที่มีความ เหมาะสมทจี่ ะดำ� เนนิ การจดั การพน้ื ทเ่ี พอ่ื เปน็ พชื อาหารชา้ ง ๑๔๗ ไร่ โดยแบง่ เปน็ การปลกู พชื อาหาร ช้างในพน้ื ท่ีรอบนอกจำ� นวน ๑๐๐ ไร่ รวมทงั้ หมดประมาณ ๙,๘๐๐ ต้น และชงิ เผาหญ้าเพอื่ ใหเ้ กิด หญา้ ระบัดจ�ำนวน ๔๗ ไร่ เทคนิคในการปลกู พืชอาหารช้างปา่ พ้ืนที่ท่ีเป็นทุ่งหญ้าจะด�ำเนินการปลูกพืชอาหารช้าง โดยปลูกบริเวณขอบป่าเป็นแนวกันชน เข้ามาในทุ่งหญ้า ระยะทางประมาณ ๕๐−๑๐๐ เมตร แล้วแต่ความเหมาะสม ส่วนพื้นท่ีที่เหลือ ตรงกลางจะท�ำการตัดหญ้าออก เพ่ือให้เกิดหญ้าระบัดตลอดท้ังปี ช้างป่าและสัตว์กินพืชโดยทั่วไป สามารถใชป้ ระโยชนไ์ ด้ และไม่เกิดผลกระทบต่อสตั ว์ป่าประเภทอื่นๆ เนือ่ งจากทุ่งหญ้าเปน็ ส่วนหน่งึ ของระบบนิเวศทมี่ คี วามส�ำคัญย่งิ ตอ่ สัตว์ปา่ หลายชนดิ ทัง้ ทเ่ี ปน็ สัตว์ผลู้ ่าและสตั วก์ ินพชื การปลกู ป่า เตม็ พืน้ ท่ที ุ่งหญ้าจะท�ำใหพ้ ชื ช้นั ล่างลดนอ้ ยลงในอนาคต มผี ลกระทบต่อสตั ว์ปา่ ทงั้ ระบบ จุดประสงค์การปลูกป่าในครั้งนี้เพื่อเพ่ิมชนิดไม้ยืนต้นที่เป็นอาหารช้างป่า แต่จะไม่ท�ำลาย พืชช้ันล่างท่ีมีประโยชน์ต่อสัตว์ชนิดอ่ืน เช่น หญ้าคา ต้นอ้อ ฯลฯ และเถาวัลย์ชนิดต่างๆ ที่เลื้อย อยู่ตามพ้ืนดิน เช่น ตดหมู ตดหมา ส้มลม บวบลม เป็นต้น และจะปลูกพืชบางชนิดเข้าไปเพ่ือดึง ความชุ่มช้ืนสู่พ้ืนดิน โดยจะปลูกรวมกันเป็นกลุ่มในมุมต่างๆ ของแปลงปลูกป่า ให้เจริญเติบโต ลามไปเรือ่ ยๆ โดยไม่ปลกู กระจายไปท้งั พืน้ ที่ พชื ชนดิ นี้กค็ อื กลว้ ยป่า นนั่ เอง 14

ชนิดพันธุ์ไม้ที่จะท�ำการปลูกป่าเป็นพืชอาหารช้างป่ามี ๒๕ ชนิด ซ่ึงล้วนแล้วแต่เป็นชนิด พันธุ์ท่ีช้างป่ากินได้และเป็นไม้ดั้งเดิมในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างไน ซึ่งจะปลูกคละเคล้า กันไป เช่น เต่าร้าง หวายขม มะหาด สมพง ส้มกบ ส�ำรอง กล้วยป่า มะกอกเกลื้อน ชะเอมป่า มะกอก กระท้อนปา่ ทองหลาง ไผ่ปา่ มะขามป้อม มา้ กระทบื โรง เป็นตน้ แสดงการปลูกพืชอาหารช้างปา่ ในเขตรกั ษาพนั ธ์สุ ตั วป์ า่ เขาอ่างฤาไน หลังจากปลูกได้ส�ำรวจอัตราการรอดตายของต้นไม้คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๘ ซึ่งเป็นไปตาม ความคาดหมาย ส่วนหน่ึงถูกเหยียบย�่ำท�ำลายจากการเดินทางตามปกติของสัตว์ป่าท่ีมีขนาดใหญ่ เช่น ช้างป่า ววั แดง กระทงิ เปน็ ต้น และอีกสาเหตุเกดิ จากการตายตามธรรมชาติของตน้ ไม้ การสำ� รวจอัตราการรอดตาย วัดขนาดความสงู 15

พน้ื ทจ่ี ำ� นวน ๔๗ ไร่ ดา้ นในปา่ ไมม่ กี ารปลกู ตน้ ไม้ แตจ่ ะทำ� การชงิ เผาเพอื่ ใหเ้ กดิ หญา้ ระบดั แทน แสดงการจัดการทุ่งหญ้า โดยการชิงเผา ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ปา่ เขาอา่ งฤาไน จากผลการศกึ ษาและสรปุ บทเรยี นจากการทำ� โครงการแกป้ ญั หาชา้ งปา่ บกุ รกุ พน้ื ทเี่ กษตรกรรม จากกระบวนการมีส่วนร่วมของเกษตรกรรอบเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างไนนั้น ช้างป่ามีอัตรา การขยายตัวอย่างรวดเร็ว พื้นที่เกษตรกรรมรอบๆ ท่ีเกษตรกรปลูกพืชไร่เชิงเดี่ยวและขุดสระน�้ำ ในพ้ืนทเี่ กษตรกรรม ยอ่ มเป็นแรงจูงใจใหช้ า้ งป่าออกมาหากนิ เพมิ่ มากขน้ึ การแก้ไขปัญหาช้างป่าบุกรุกพ้ืนที่เกษตรกรรมต้องใช้ความร่วมมือกันหลายหน่วยงาน เป็น การบรู ณาการร่วมกนั ๑. การยอมรบั ความเป็นจริง พ้ืนที่เกษตรกรรมที่ชาวบ้านถือครองนี้ในอดีตเป็นพื้นที่ป่าไม้ เมื่อราษฎรบุกรุกพื้นท่ีป่า อาหารสัตว์ป่าก็ย่อมลดลงตามไปด้วย พฤติกรรมช้างป่าที่เปล่ียนไป ต้องยอมรับว่า ช้างป่าไม่ได้ เดนิ หากินเป็นวงกลมตามนิสยั ดง้ั เดิมแล้ว และชา้ งปา่ เรียนรทู้ ี่จะกินอาหารที่แตกต่างจากท่ปี ่ามี ๒. การสรา้ งเครือข่ายและการปลูกจิตส�ำนึก การสรา้ งกระบวนเรยี นรทู้ รี่ าษฎรควรตระหนกั ถงึ เหตแุ หง่ ปญั หาเรอ่ื งการบกุ รกุ ของชา้ งปา่ ในพื้นท่ีเกษตรกรรม เป็นอีกกลไกหน่ึงท่ีเป็นปัญหาในชีวิตท่ีเร่งให้เกิดความกดดัน เน่ืองจากช้างป่า ท�ำลายพชื ผลทางการเกษตรทีเ่ กษตรกรตอ้ งการขายแลว้ น�ำเงนิ ไปซอ้ื ของกิน ของใช้ และใชห้ นส้ี นิ ๓. การจดั ท�ำขอ้ มลู ร่วมกนั ข้อมูลสถานการณ์ช้างป่า ความเสียหาย และระบบปลูกพืชแบบใดที่เกิดผลกระทบ 16

จากการท�ำลายของช้างป่ามากที่สุด และศึกษาว่าพืชชนิดใดท่ีสัตว์ป่ารบกวนน้อย รบกวนมาก เพ่ือ น�ำมาสูก่ ารแก้ไขปัญหาทย่ี ่ังยนื การจดั การพืน้ ทก่ี ลางใหเ้ ปน็ แหล่งอาหารช้าง ๔. การจดั การพนื้ ที่กลางใหเ้ ป็นแหล่งอาหารช้าง ก. การปลกู พชื ท้องถิ่นทเี่ ป็นอาหารชา้ ง เชน่ กอโขมง ข. สรา้ งแหล่งน�้ำในพน้ื ท่สี ตั ว์หากิน ค. ท�ำแนวป้องกันไฟป่า ง. ระบบการจดั การทุง่ หญา้ จ. ศกึ ษาเสน้ ทางเดนิ หากนิ ของสตั ว์ปา่ เปน็ ต้น ๕. การจดั การพืน้ ทีเ่ กษตรกรรม - ปรับวิถีการผลิตจากพืชเศรษฐกิจเชิงเดี่ยวที่ช้างป่าชอบ เช่น มันส�ำปะหลัง อ้อย ข้าวโพด มาสู่การท�ำการเกษตรท่ใี ช้ประโยชนใ์ นแงป่ ัจจัย ๔ - ส่งเสรมิ แนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียง - ใช้แนวทางของระบบวนเกษตรท่ีปลูกพืชหลากหลาย ทั้งพืชท่ีกินใบ กินผล ใช้ ประโยชน์อื่นๆ จนถึงพืชท่ีเป็นหลักประกัน เพื่อลดความเส่ียงจากการที่ช้างป่า เขา้ พืน้ ทีเ่ กษตรกรรม ๑๐ ปีผ่านไป หลังจากท่ีชมุ ชนไดเ้ รียนรู้จากโครงการช้างฯ เกิดอะไรขึน้ บ้าง นายธวชั เกียรติเสรี นักวจิ ัย ไดใ้ หท้ ัศนะในเรื่องดังกลา่ วว่า กลมุ่ เกษตรท่ีเข้ารว่ มโครงการนั้น มาจากสองกลุ่ม คอื กล่มุ ชาวบ้านทว่ั ไปที่ได้รบั ผลกระทบ และชมุ ชนท่ีเรยี นรู้ตอ่ เนอ่ื งกบั ผใู้ หญว่ บิ ูลย์ เข็มเฉลมิ “ชุมชนท่ีเรียนรู้ต่อเนื่องนั้น ผ่านการลงมือท�ำ ลองผิด ลองถูก และหาแนวทางท่ีเหมาะสม กับตนเองและชุมชน จนถึงวันน้ีสมาชิกของชุมชนเหล่าน้ัน เชื่อม่ันว่าแนวทางของวนเกษตรกับการ พ่ึงตนเองนั้น ท�ำให้เกิดความเสียหายเมื่อช้างป่าเข้ามาในพื้นท่ีเกษตรกรรมน้อยมาก ซึ่งเป็นความ เสียหายที่ยอมรับได้ ท�ำให้รู้จักพอเพียง สามารถแบ่งปันกับสัตว์ป่าเพื่อนร่วมโลก และท่ีส�ำคัญคือ ท�ำให้เกิดความสุข ไม่ก่อให้เกิดทุกข์ท้ังกับตนเองและครอบครัว เม่ือเปรียบเทียบกับชุมชนท่ีปลูก พืชเชงิ เดย่ี ว เชน่ ทำ� สวนยางพาราอยา่ งเดยี ว ปลูกผลไมอ้ ย่างเดยี ว หรอื ทำ� พชื ไรอ่ ย่างเดยี ว” “ปัญหาช้างป่าไม่ใช่ปัญหาหลัก ไม่ใช่เร่ืองใหญ่ ปัญหาหลักคือ เกษตรเชิงเด่ียว คนท่ีท�ำให้ ชาวบ้านเดือดร้อนจริงๆ คือ นายทุน เพราะช้างป่าไม่ได้ยึดที่ดินท�ำมาหากิน แต่หนี้สินของนายทุน เมื่อถึงเวลาไม่มีเงินใช้หนี้ นายทุนยึดที่ดินท�ำกิน ผู้ใหญ่วิบูลย์จึงใช้กรณีช้างป่าเป็นเคร่ืองมือให้คน 17

ได้เรียนรู้ นำ� ไปสู่วถิ เี ศรษฐกิจพอเพยี ง ถ้าชาวบ้านทำ� เรือ่ งความพอเพียง ชวี ติ ก็จะมคี วามมัน่ คง อนั น�ำไปสู่การแก้ปัญหาช้างป่าบุกรุกพ้ืนที่เกษตรกรรมอย่างย่ังยืนได้ แต่ในความเป็นจริงชาวบ้าน กลมุ่ ทวั่ ไปทไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากชา้ งปา่ ไมไ่ ดผ้ า่ นกระบวนเรยี นรรู้ ว่ มกบั ผใู้ หญว่ บิ ลู ย์ สง่ิ ทเ่ี ขาเรยี กรอ้ ง คอื การชดเชยจากทางรฐั มากกว่าความพยายามในการปรับวิถชี วี ติ ให้พง่ึ ตนเองได้” นายบุญเลิศ ดุชิตา สมาชกิ เครอื ข่ายวนเกษตร ต.พวา อ.แกง่ หางแมว จ.จันทบรุ ี ไดใ้ หท้ ัศนะ ถึงผลท่ีได้รับจากโครงการศึกษาผลกระทบต่อพื้นที่เกษตรกรรมของชุมชนจากช้างป่ารอบเขตรักษา พันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างไน และโครงการแก้ปัญหาช้างป่าบุกรุกพ้ืนท่ีเกษตรกรรม จากกระบวนการ มสี ่วนร่วมของเกษตรกรรอบเขตรักษาพันธสุ์ ัตวป์ ่าเขาอา่ งไนไวว้ า่ “การท�ำวนเกษตรเพ่ือแก้ปัญหาการบุกรุกของช้างป่า มีรูปแบบการปลูกพืชในโครงการที่ ไม่เน้นการปลูกพืชเชิงเดี่ยว ปลูกพืชแบบกระจายๆ กัน ท�ำให้ไม่เป็นพื้นที่เป้าหมายท่ีช้างจะเข้ามา ท�ำลาย และแมม้ ีพชื ท่ีชา้ งเขา้ มากนิ หักโคน่ ท�ำลายไปบา้ ง ก็ไม่ตาย ฟนื้ ตวั ได้ และรวมถึงต้นทุนที่ใช้ ในการปลกู พชื วนเกษตรก็ไมส่ งู ความเดือดรอ้ นเสยี หายกไ็ มส่ งู แตถ่ งึ ทส่ี ดุ ไมว่ า่ เราจะปลกู พชื รปู แบบไหนกต็ าม กไ็ มส่ ามารถหลกี เลยี่ งปญั หาได้ ๑๐๐ เปอรเ์ ซน็ ต์ แตส่ ง่ิ ทที่ ำ� ใหค้ นวนเกษตรอยรู่ ว่ มกบั ชา้ งได้ จงึ เปน็ การปรบั ความคดิ และปรบั เปา้ หมายชวี ติ สกู่ ารมกี นิ มีใช้ มีหลักประกัน โดยใช้แนวทางวนเกษตร เป็นกุศโลบายที่ท�ำให้เรามีทรัพยากรท่ีหลากหลาย ท่ีจ�ำเป็นต้องกินต้องใช้ในชีวิตประจ�ำวัน ทั้งในระยะส้ันและระยะยาว เมื่อชีวิตมั่นคง มีกิน มีใช้ ไมม่ หี นสี้ นิ จติ ใจกเ็ ปลยี่ นการบกุ รกุ ใหเ้ ปน็ การเยยี่ มเยอื น เปลยี่ นความเสยี หายใหเ้ ปน็ การแบง่ ปนั ได”้ นายบรรทม สมแสน สมาชิกเครือข่ายวนเกษตร ต.พวา อ.แก่งหางแมว จ.จันทบุรี ได้ปรับ วิถีการผลิตจากสวนยางพาราและสวนผลไม้มาสู่การท�ำสวนวนเกษตร ปลูกพืชแทรกเข้าไปในสวน ยางพาราและสวนผลไม้เดิม จนกระทั่งกลายเป็นสวนป่าวนเกษตร ได้กล่าวถึงปัญหาช้างป่าเข้ามา ในพื้นที่เกษตรกรรมว่า “เมื่อตอนท�ำโครงการ ช้างไม่ค่อยเข้ามาในสวน แต่ในช่วงส่ีห้าปีที่ผ่านมา เขา้ มาถม่ี ากขนึ้ เกอื บทกุ คนื เมอื่ ชา้ งเขา้ มากเ็ หมอื นเดนิ ผา่ น เดนิ มาหากนิ ของ ๒−๓ อยา่ ง อยา่ งละ ต้นสองต้น มันไม่เสียหายอะไรมาก เพราะเราปลูกหลากหลาย ท้ังของกินท่ีฟื้นตัวได้เร็ว เช่น ผกั หวานปา่ เมอื่ ชา้ งเหยยี บกไ็ มต่ าย ยงิ่ เหยยี บยงิ่ แตก กลว้ ยกเ็ ขา้ มากนิ บา้ ง แตไ่ มไ่ ดเ้ สยี หายมาก ขนุน มีบ้าง ท่ีเขาเก็บมาบ่มไว้ รอสุกแล้วกลับมาเอาไปกิน ต้นที่สูงๆ ก็โค่นลงมา ส่วนต้นเตี้ยๆ ก็ไม่ หักโค่นเสียหายอะไรมาก ก็เหลือไว้ให้เราได้กินด้วย ก็แบ่งๆ กัน ส่วนต้นมะพร้าว ช้างชอบเข้ามา ล้มกินยอดเสียหายหมด โตไม่ทันช้าง หรือสมุนไพร เช่น ต้นจันทน์ผา ท่ีปลูกไว้โดนเหยียบล้ม ก็ไม่ตาย ดีเสียอีกที่ท�ำให้เราได้แก่นจันทน์แดงเอาไว้ใช้ท�ำยา หรืออย่างตะเคียน ยางนา กระท้อน รอดหมดทกุ ตน้ ท่ปี ลกู ทุกวันน้ชี า้ งกล็ งมาทกุ คนื แวะมากนิ โนน่ นดิ นห่ี นอ่ ย แล้วก็เดินผ่านไป” 18

กล่มุ วจิ ัยทักษะการจดั การทรัพยากรฐานชุมชน มจธ. กบั เครอื ขา่ ยป่ารอยตอ่ ๕ จังหวดั ภาคตะวันออก จ.ฉะเชงิ เทรา การเรียนรู้ด้านการพ่ึงตนเองเพ่ือสร้างให้ชุมชนเข้มแข็ง โดยยึดตามหลักเศรษฐกิจ พอเพียงตามแนวทางพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นแนวทางหนึ่งท่ี ช่วยให้เกิดการพัฒนาชนบทและท�ำให้เศรษฐกิจของประเทศเข้มแข็ง ตลอดจนลดผลกระทบ จากการเปลย่ี นแปลงภาวะทางเศรษฐกิจได้ “เครือข่ายป่ารอยต่อ ๕ จังหวัดภาคตะวันออก” หรือเรียกส้ันๆ ว่า “เครือข่ายป่า ตะวันออก” ซ่ึงมีผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม เป็นผู้น�ำ นับได้ว่าเป็นกลุ่มตัวอย่างด้านการ พึ่งตนเอง ทด่ี �ำเนินการตามแนวทางพระราชดำ� ริอนั นำ� มาสคู่ วามเขม้ แขง็ ของชุมชน พวกเราได้เร่ิมรู้จักพ่อผู้ใหญ่วิบูลย์ในนามของปราชญ์ชาวบ้าน โดยผู้น�ำวิชาการ ท่ีมีทางความคิดการใช้ประโยชน์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้ถึงมือชาวบ้าน เช่น อาจารย์ กฤษณพงศ์ กรี ตกิ ร อาจารย์ศกั รินทร์ ภูมริ ัตน และอาจารยม์ รกต ตันติเจรญิ อาจารยช์ กั ชวน ให้เราไปเรียนรู้/ไปเยี่ยมที่บ้านพ่อผู้ใหญ่อยู่บ่อยครั้ง การร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ท�ำให้พวกเรา ได้เห็นแนวคิดการท�ำการเกษตรแบบป่า เรียกว่า วนเกษตร และกระบวนการเรียนรู้เพ่ือการ พึ่งตนเอง ประกอบดว้ ย ๓ รู้ (รตู้ ัวเอง รปู้ ัญหา และรทู้ รพั ยากร) ๕ เรือ่ ง (ข้าว อาหาร ของใช้ ยาสมุนไพร และดิน/ปุ๋ย) ๓ แผน (แผนชีวิตและครอบครัว แผนชุมชน และแผนการจัดการ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม) พ่อผู้ใหญ่ให้ความส�ำคัญเกี่ยวกับการสอนให้ชาวบ้านลดรายจ่าย และเพิ่มมูลค่าให้กับทรัพยากรท้องถ่ิน ด้วยการท�ำเกษตรอินทรีย์ การท�ำยาสมุนไพรจาก พืชท้องถิ่น การท�ำของใช้เอง เช่น สบู่ แชมพู น้�ำปลา การท�ำอิฐประสาน และการท�ำ ปุย๋ หมกั ใช้เอง เป็นตน้ 19

สมาชิกกลุ่มเครือข่ายส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ปลูกข้าวและมันส�ำปะหลัง เป็นหลัก ในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ เกิดปัญหาราคามันส�ำปะหลังตกต่�ำ เหลือกิโลกรัมละ ๐.๘๐−๑ บาท เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมีในการเพาะปลูก ท�ำให้เกิดปัญหาดินเส่ือมโทรม เมื่อ เพาะปลูกไม่ได้ผลผลิตก็เพ่ิมปริมาณปุ๋ยเคมี ส่งผลให้ดินย่ิงเส่ือมโทรมมากขึ้น รวมทั้งส่งผลกระทบ กับสิ่งแวดล้อมด้านน้�ำปนเปื้อนด้วยสารเคมี และนับวันราคาปุ๋ยเคมีก็มีราคาสูงขึ้น ท�ำให้เกษตรกร รับภาระค่าใช้จ่ายเพ่ิมข้ึน ผู้ใหญ่จึงมีแนวคิดในการน�ำมันส�ำปะหลังมาใช้เป็นธาตุอาหารให้กับดิน ทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมี ช่วยลดรายจ่ายและเพ่ิมมูลค่าให้กับมันส�ำปะหลัง ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ จึงเกิดการรวมกลุ่มของเกษตรกรบ้านนาอสิ าน บา้ นทุ่งเหยี ง และบ้านหลุมมะขาม ประมาณ ๑๐ คน มพี อ่ เลย่ี มและพอ่ วนิ ยั เปน็ ผนู้ ำ� รว่ มกนั ในการตงั้ กลมุ่ เรยี นรกู้ ารทำ� ปยุ๋ หมกั อนิ ทรยี โ์ ดยใชม้ นั สำ� ปะหลงั ท่ีมีอยู่จ�ำนวนมากในพ้ืนที่ มาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตปุ๋ยหมักร่วมกับดินปลวก ปุ๋ยคอก (มูลวัว) น้�ำหมักชีวภาพ และกากน้�ำตาล ในอัตราส่วนเท่ากับ ๔๐ : ๔๐ : ๒๐ : ๓๐ : ๙ (หน่วยกิโลกรัม) ผสมแลว้ อดั เม็ดโดยไม่ผ่านการบม่ เมื่อนำ� ไปใช้ปยุ๋ มีการละลายท่ีคอ่ นข้างต่�ำ ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ จงึ ปรบั อตั ราสว่ นใหมเ่ ปน็ ๔๐ : ๓๐ : ๓๐ : ๓๐ : ๙ (หนว่ ยกโิ ลกรมั ) และปรบั รปู แบบการหมกั ๒ แบบ คอื อดั เมด็ แลว้ บม่ ทงิ้ ไว้ ๓ วนั และแบบกองทงิ้ ไวป้ ระมาณ ๒ สปั ดาห์ โดยไม่อัดเม็ด การผลติ ปยุ๋ หมักจากมนั ส�ำปะหลงั ในช่วงนม้ี ปี ัญหาเก่ยี วกับกระบวนการผลิตและ ระยะเวลาท่ีเหมาะสมในการบ่มปุ๋ย คณะนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) จึงได้มีโอกาสเร่ิมเข้าไปท�ำงานกับเกษตรกรในพื้นที่ (พ.ศ. ๒๕๔๘) พวกเราได้เก็บตัวอย่าง ปยุ๋ หมกั ของชุมชนท่ีได้จากการผลติ ท้ังสองรปู แบบมาวเิ คราะหส์ มบตั ิทางกายภาพ เคมี และจุลนิ ทรีย์ พบว่าการท�ำปุ๋ยหมักแบบกองดีกว่าการท�ำปุ๋ยหมักแบบอัดเม็ด ทั้งในการเก็บรักษาความช้ืนของ กองปุ๋ย ปริมาณจุลนิ ทรยี ์ และการย่อยสลายโดยจลุ ินทรีย์สงู กวา่ การท�ำปุ๋ยหมกั แบบอดั เม็ด ปุ๋ยหมัก ที่ได้จากการหมักทั้ง ๒ แบบ ยังไม่คงตัว (stable) ควรมีการปล่อยให้มีการหมักต่อไป (ใช้ระยะเวลา การหมักมากกวา่ ๒ สปั ดาห์) 20

ลกั ษณะของเมด็ ปยุ๋ ท่ีผา่ นการอดั เมด็ การเตรียมสว่ นผสมของป๋ยุ หมักก่อนน�ำไปอดั เมด็ แล้วบ่ม ลกั ษณะการบ่มปุ๋ยหมกั อดั เมด็ บนกระจาด ลักษณะของกองปุ๋ยหมักแบบกอง 21

จากปัญหาในกระบวนการผลิตดังกล่าว กอปรกับการท�ำปุ๋ยหมักอัดเม็ดต้องมีการลงทุนซ้ือ อุปกรณ์ในการผสมปุ๋ยและอัดเม็ด ท�ำให้ในการผลิตแต่ละครั้งสมาชิกต้องมารวมกลุ่มการผลิตท่ีบ้าน พ่อผู้ใหญ่ สมาชิกที่ร่วมผลิตเร่ิมลดลง เพราะไม่สะดวกที่จะต้องเดินทางไกลมาผลิตปุ๋ยร่วมกัน แล้วแบง่ ไปใชใ้ นพ้ืนทต่ี นเอง ในช่วงต่อมาจึงได้มีการปรับรูปแบบการผลิตเป็นแบบใส่กระสอบและปรับสูตรปุ๋ยให้มีความ หลากหลายเพ่มิ ขน้ึ วตั ถุดบิ หลักที่ใช้ในการผลิตสว่ นใหญส่ ามารถหาได้ในท้องถิน่ เช่น มันส�ำปะหลงั แกลบ ดินลูกรัง น�้ำอ้อย และน้�ำหมักชีวภาพ โดยทุกสูตรจะมีการใช้มูลวัว แกลบ ดินลูกรัง และ น�้ำหมักชีวภาพเป็นส่วนผสมหลัก ในบางสูตรมีการใช้ร�ำแทนมันส�ำปะหลัง น�้ำตาลทรายขาวหรือ น�้ำอ้อยแทนกากน�้ำตาล การผลิตปุ๋ยหมักของกลุ่มในแต่ละครั้งเร่ิมจากการเตรียมสถานท่ีในการผลิต ปุ๋ยหมัก โดยกลุ่มเกษตรกรท้ัง ๓ กลุ่ม จะแบ่งการผลิตในแต่ละพื้นที่ และก่อนท�ำการผลิตทางกลมุ่ จะมีประชุมเพ่ือตกลงเรื่องวันท่ีและวัสดุในการผลิต วัสดุเริ่มต้นที่ใช้ในการหมักมีความแตกต่างกัน ในแต่ละพ้ืนที่ กระบวนการผลิตปุ๋ยหมักเริ่มจากน�ำวัสดุท้ังหมดมาผสมรวมกัน โดยการกองหรือ การผสมด้วยเครื่องผสม และจะปรับความช้ืนกองปุ๋ยให้ได้ประมาณ ๖๐ เปอร์เซ็นต์ โดยการใช้ น�้ำหมักชีวภาพและกากน�้ำตาลที่เจือจางด้วยน�้ำเป็นตัวปรับความช้ืน จากน้ันน�ำไปบรรจุใส่กระสอบ ปุ๋ยขนาด ๒๐−๓๐ กก. ปุ๋ยที่ผลิตได้เกษตรกรจะแบ่งกันแล้วน�ำไปบ่มที่บริเวณบ้าน ใต้ต้นไม้ หรือ ใต้ถุนบ้านของตัวเอง บ่มท้ิงไว้ระยะเวลาประมาณ ๑๕−๓๐ วัน แล้วน�ำไปใช้ประโยชน์ เน่ืองจาก วัสดุที่ใช้หมักส่วนใหญ่โดยเฉพาะแกลบเป็นวัสดุที่ย่อยยาก การย่อยสลายใช้เวลานาน ท่ีระยะเวลา การหมัก ๓๐ วัน จึงมีความเหมาะสมกว่า โดยวัสดุหมักรวมมีความเป็นปุ๋ย (ลักษณะร่วน ด�ำ) และ อณุ หภูมภิ ายในกระสอบลดลงเทา่ กบั อุณหภูมภิ ายนอก การทำ� ปยุ๋ หมักแบบกองใส่กระสอบ การตรวจสอบคุณภาพปยุ๋ โดยการสงั เกต 22

การทดสอบความเป็นพิษต่อพืชโดยการน�ำไปใช้ในการเพาะปลูกพืชหลายชนิด เช่น ข้าว หอม ยางพารา นักวิจัยและสมาชิกกลุ่มปุ๋ยได้ร่วมกันออกแบบตารางการบันทึกข้อมูลการติดตาม ผลของปุ๋ยอินทรีย์ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตพืช รวมท้ังข้อมูลปริมาณการใช้ปุ๋ย ค่าใช้จ่ายการ เพาะปลูก และรายได้ พบว่าการใช้ปุ๋ยหมักช่วยให้การเจริญเติบโตและผลผลิตพืชบางชนิดเพิ่มขึ้น แม้การใช้ปุ๋ยหมักในช่วงเริ่มต้นจะให้ผลผลิตพืชบางชนิด เช่น ข้าวมีผลผลิตต่อไร่ต่�ำกว่าการใช้ ปุ๋ยเคมีประมาณ ๒๐ เปอร์เซ็นต์ แต่ต้นทุนการผลิตข้าวจากการใช้ปุ๋ยหมักอินทรีย์แทนปุ๋ยเคมีลดลง ประมาณ ๒๓ เปอร์เซ็นต์ สร้างความพึงพอใจและม่ันใจกับชุมชนในการใช้ปุ๋ยหมักอินทรีย์แทน ปุ๋ยเคมี เพ่ือคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึนด้านสุขภาพอนามัยและส่ิงแวดล้อม และส่งผลให้เกิดการขยาย กลุ่มผู้ผลิตและผใู้ ชป้ ุ๋ยหมกั อินทรยี ์ในพนื้ ที่เพมิ่ มากขึน้ การทดสอบการใชป้ ยุ๋ หมักในการปลูกตน้ หอม พ่อผู้ใหญ่ให้ความส�ำคัญกับส่ิงที่เรียกว่า กระบวนการเรียนรู้ ซ่ึงเป็นรากฐานที่น�ำไปสู่ การพ่ึงตนเอง ในอดีตกลุ่มเครือข่ายป่าตะวันออกมีสมาชิกกลุ่มไม่มาก สมาชิกทุกคนได้มีโอกาส ร่วมกันในการเรียนรู้ การฝึกปฏิบัติ และการทดลองน�ำไปใช้ ตลอดจนการน�ำประสบการณ์ต่างๆ หลังจากการปฏิบัติมาแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกัน เมื่อมีกลุ่มสมาชิกเพิ่มมากข้ึน จึงได้มีการส่ง ตัวแทนแต่ละกลุ่มเพ่ือเข้าร่วมการเรียนรู้ท่ีเครือข่าย และมีการน�ำส่ิงท่ีได้จากการเรียนรู้ไปถ่ายทอด ใหก้ ลุ่มสมาชกิ ของตนเอง 23

อย่างไรก็ตามสมาชิกท่ีเข้ามาใหม่มีการออกจากกลุ่มบ่อยคร้ัง อาจเนื่องจากความไม่เช่ือม่ัน ในตัวแทนของกลุ่มสมาชิกใหม่ท่ีน�ำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับสมาชิกในกลุ่มของตน นอกจากนี้ สมาชิกใหม่เม่ือเข้ามาร่วมเรียนรู้กับกลุ่มเครือข่ายซึ่งผ่านการเรียนรู้ด้วยกันมานานหลายปีไม่สามารถ ตามความรู้ที่ได้รับการเรียนรู้และการเสวนาได้ทัน จึงท�ำให้เกิดการสับสนและออกจากกลุ่มในท่ีสุด พ่อผู้ใหญ่จึงได้เสนอแนวทางในการแก้ปัญหาเม่ือมีสมาชิกกลุ่มใหม่เข้ามา โดยมีการส่งตัวแทนของ เครือข่ายเข้าไปท�ำงานกับกลุ่มสมาชิกใหม่ในพ้ืนที่ เพ่ือเป็นการสร้างความเช่ือม่ันให้กับกลุ่มสมาชิก ใหม่ภายใต้บรรยากาศของการเรียนรู้ ตลอดจนยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเครือข่ายกับ กลุ่มสมาชิกอกี ด้วย น่ันคอื จดุ เรมิ่ ต้นท่ี มจธ. ไดเ้ ข้าไปท�ำงานกบั กล่มุ สมาชิกใหมข่ องเครือขา่ ย ป่าตะวนั ออก ชุมชนบ้านหินแร่ ต.ท่ากระดาน อ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชิงเทรา ส่วนใหญ่ปลูกข้าวและ มันส�ำปะหลังเป็นหลัก ในการเพาะปลูกมีการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีราคาแพงในการก�ำจัดศัตรูพืช ในปริมาณท่ีสูง ส่งผลต่อคุณภาพของดินและสุขภาพของเกษตรกร ท�ำให้เกษตรกรบางรายสู้ต้นทุน จากการท�ำการเกษตรไม่ไหว จึงหันไปขายแรงงานทางภาคการเกษตรแทน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ทาง กลุ่มเกษตรกรได้เข้าร่วมกลุ่มเครือข่ายป่าตะวันออก เพ่ือศึกษากระบวนการเรียนรู้ด้านการพึ่งตนเอง และน�ำมาประยุกต์ใช้ในพื้นที่ในการปรับเปล่ียนวิถีการเกษตรเคมีสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ และลด การพ่ึงพาจากปจั จยั ภายนอกใหม้ ากทสี่ ุด ในทัศนะของพ่อผู้ใหญ่ “ข้าวและดิน/จุลินทรีย์/ปุ๋ย เป็นสองในพื้นฐานชีวิตที่ทุกคนต้อง เรียนรู้เพื่อให้ชีวิตอยู่ได้อย่างดี ไม่อดอยากและพึ่งตนเองได้” การลดการพ่ึงพาทรัพยากรจาก ภายนอกและก้าวเข้าสู่เกษตรอินทรีย์ของกลุ่มบ้านหินแร่ จึงต้องเร่ิมจากการปลูกข้าวเพ่ือไว้บริโภค เองและเพ่ิมความอุดมสมบูรณ์ของดินก่อน กอปรกับปัญหาหน้ีสิน โรคข้าว และการจัดการน�้ำของ การปลูกข้าวนาหว่านท�ำให้ผลผลิตข้าวตกต่�ำ ทางเครือข่ายวนเกษตรเพ่ือสังคมร่วมกับ มจธ. จึงได้ เข้าไปท�ำงานในพื้นที่ โดยมีเป้าหมายหลักในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ให้สมาชิกกลุ่ม “เกษตร พึ่งตน ฅนอนิ ทรียบ์ ้านหนิ แร่” สามารถพึ่งตนเองได้ จากการที่วิถีชีวิตของกลุ่มสมาชิกปลูกข้าวเป็นหลัก รูปแบบการท�ำนามีท้ังนาหว่านและ นาด�ำแบบเคมี สภาพพื้นท่ีของหินแร่โครงสร้างช้ันดินมีหินเป็นองค์ประกอบหลักและดินมีความอุดม สมบรู ณต์ ่ำ� ทำ� ให้ผลผลิตขา้ วค่อนขา้ งต่ำ� สมาชกิ ทุกคนต้องการหลดุ พ้นจากปญั หาตา่ งๆ เหลา่ น้ี การ เรียนรู้ในช่วงแรก (ปี พ.ศ. ๒๕๕๓) จึงเน้นการสนับสนุนให้กลุ่มสามารถพ่ึงตนเองทางด้านเศรษฐกิจ โดยการลดต้นทุนการซ้ือปุ๋ยเคมีในการท�ำนา ในช่วงเวลาดังกล่าวมันส�ำปะหลังเริ่มมีราคาที่สูงขึ้น พวกเราจงึ แนะน�ำให้สมาชิกกลมุ่ หันมาใช้วัสดเุ หลือท้งิ จากการปลกู มนั ส�ำปะหลงั เช่น ลำ� ต้น ใบ และ เหง้า มาท�ำปุ๋ยหมักแทนการใช้หัวมันส�ำปะหลัง แต่ล�ำต้นโดยเฉพาะเหง้ามันส�ำปะหลังโดยธรรมชาติ ย่อยสลายยาก จึงจ�ำเป็นต้องศึกษาหาอัตราส่วนท่ีใช้ท่ีเหมาะสมเพื่อช่วยลดระยะเวลาในการหมัก ในระยะแรกจึงแนะน�ำให้ใช้ล�ำต้นและใบเป็นวัตถุดิบหลักในการท�ำปุ๋ยหมักก่อน และเติมกากน�้ำตาล ในปริมาณทเี่ หมาะสม เพ่อื ช่วยเรง่ การยอ่ ยสลายในชว่ งตน้ ของการหมกั 24

นอกจากนี้ก็ได้มีการทดลองท�ำปุ๋ยหมักแบบกลับกองจากวัสดุเหลือทิ้งจากการปลูกข้าว เช่น ฟางข้าวและแกลบ ซ่ึงเป็นวัตถุดิบที่หาง่ายในพื้นท่ี การถ่ายทอดความรู้ในการผลิตปุ๋ยหมักฟางข้าว และปุ๋ยหมักแกลบแบบกลับกอง ร่วมกับมูลวัว น�้ำหมักชีวภาพ และกากน�้ำตาล ให้กับสมาชิกกลุ่ม โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมเชิงปฏิบัติการและให้สมาชิกได้มีส่วนร่วมในทุกข้ันตอน ได้แก่ การ รวบรวมวัตถุดบิ การผลิต การติดตาม และการนำ� ไปใช้ พบว่าป๋ยุ หมักฟางข้าวมีปริมาณ N, P และ K ประมาณรอ้ ยละ ๑.๙, ๐.๙ และ ๑.๔ ตามล�ำดับ และป๋ยุ หมักแกลบมีปรมิ าณ N, P และ K ประมาณ รอ้ ยละ ๑.๒, ๐.๑ และ ๒.๒ ตามล�ำดบั เกษตรกรไดท้ ดลองในการน�ำปยุ๋ หมักไปใชใ้ นการแก้ไขปญั หา ข้าวลีบ (ข้าวไม่ติดเมล็ด) ในปริมาณ ๒๐๐ กก. ปุ๋ยหมัก/ไร่ พบว่าสามารถช่วยลดข้าวลีบได้มากถึง เกือบ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบกับชุดทดลองท่ีไม่มีการปรับปรุงคุณภาพดิน เกิดข้าวลีบประมาณ รอ้ ยละ ๔๐−๕๐ ปยุ๋ หมกั ทีเ่ หลอื สมาชกิ มีการแจกจ่ายและนำ� ไปใช้ในแปลงนาของตนเอง การเตรยี มวตั ถุดิบในการทำ� ปุ๋ยหมักจากต้นมันส�ำปะหลงั ป๋ยุ หมักลำ� ตน้ มนั สำ� ปะหลัง ปุ๋ยหมกั ฟางขา้ วและปุย๋ หมักแกลบแบบกลบั กอง 25

ลักษณะของรวงขา้ วเมลด็ ลีบ ชาวบ้านวัยแรงงานส่วนใหญ่ไปรับจ้างหรือท�ำงานในภาคอุตสาหกรรม ท�ำให้เกิดการ ขาดแคลนแรงงานในการปลูกข้าวแบบนาด�ำหรือนาหว่าน การด�ำเนินการในระยะต่อมา (ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔−๒๕๕๕) จึงน�ำสมาชิกไปศึกษาดูงานในการท�ำนาโยน ซ่ึงเป็นรูปแบบการท�ำนาในเขต ชลประทาน ตลอดจนนำ� ความรู้มาประยุกต์ใช้ในการท�ำนาโยนอินทรยี ์ในพ้นื ทนี่ านำ�้ ฝน สมาชิกศกึ ษาดูงานในการท�ำนาโยนในพื้นท่เี ขตชลประทาน ในกระบวนการเรียนรู้สมาชิกทุกคนต้องมีส่วนร่วมในการด�ำเนินงานทุกข้ันตอน ตั้งแต่การ ประชุมวางแผน การเลือกพื้นท่ีและวัตถุดิบที่เก่ียวข้องกับการปลูกข้าว การเตรียมวัตถุดิบ การลงมือ ปฏิบัติ การดูแลรักษา และการติดตามผลการปลูกข้าว ตลอดจนการน�ำข้อมูลมาแลกเปลี่ยนในเวที สัมมนาทุกเดือน การด�ำเนินการได้พิสูจน์ให้สมาชิกเห็นว่าการใส่ปุ๋ยหมักบ�ำรุงดินก่อนการปลูกข้าว ร่วมกับการปรับเปล่ียนรูปแบบการท�ำนาจากนาหว่านหรือนาด�ำเป็นนาโยน ช่วยลดปัญหาเรื่อง แรงงาน ชว่ ยลดต้นทนุ ในการผลิต (ประมาณ ๒.๘ และ ๙.๘ บาท/กก. ข้าวเปลือก เมอ่ื เทยี บกบั การ ท�ำนาหว่านอินทรีย์และเคมีตามล�ำดับ) และเพ่ิมผลผลิตข้าวหอมมะลิ ๑๐๕ (ประมาณ ๔๘๕−๕๔๕ กก. ข้าวเปลอื ก/ไร่ ซ่ึงสงู กว่านาหว่านอนิ ทรยี ์และเคมที ม่ี ผี ลผลติ เฉลยี่ ประมาณ ๓๐๐−๓๕๐ กก./ไร่) 26

ทั้งนี้การท�ำนาโยนมีการโยนต้นกล้า (ย้ายกล้า) ง่ายกว่า ต้นกล้าไม่บอบช้�ำ ข้าวมีการแตกกอสูงและ แข็งแรง แปลงข้าวมีความโปร่ง จึงช่วยลดปัญหาเร่ืองโรคและแมลง ส่งผลให้ผลผลิตข้าวสูงกว่าการ ท�ำนาหวา่ นและนาดำ� นอกจากน้ียังมีตน้ ทนุ การผลิตตำ่� กว่า ส�ำหรบั พฤติกรรมเชิงสงั คมสมาชกิ มีการ พึ่งตนเองได้มากข้ึน สมาชิกมีการแบ่งปันทรัพยากรเพื่อใช้ในการท�ำกิจกรรมและการผลิตผลิตภัณฑ์ การสร้างกฎกตกิ าในการทำ� งานร่วมกันและการดูแลทรัพยากรท้องถ่นิ แปลงสาธติ ในการเปรยี บเทียบการปลกู ข้าวด้วยวธิ ีการท�ำนาโยนและนาหวา่ นอนิ ทรยี ์ การเพาะกลา้ ขา้ ว การโยนกล้าขา้ ว และการหว่านขา้ วหอมมะลิ ๑๐๕ ลกั ษณะการเกดิ โรคใบไหมข้ องตน้ ขา้ วในแปลงนาโยนและนาหว่านทอี่ ายตุ น้ ขา้ วประมาณ ๒ เดือน 27

ลกั ษณะการแตกกอของต้นขา้ วในแปลงนาโยนและนาหวา่ นที่อายตุ น้ ข้าวประมาณ ๔ เดอื น ในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ มีเกษตรกรท่ีสนใจเขา้ กลุ่มเพ่ิมขึ้น มีการขยายพ้ืนท่ีการปลูกข้าวนาโยน อนิ ทรยี ์จาก ๑๐ ไร่ เป็น ๕๐ ไร่ มีการทดสอบการปลกู ข้าวระบบนาโยนอินทรยี ์ในข้าว ๒ สายพันธุ์ ได้แก่ ข้าวหอมมะลิ ๑๐๕ และข้าวหอมมะลิแดง ให้ผลผลิตข้าวเฉล่ียประมาณ ๔๘๐ และ ๕๗๐ กก. ข้าวเปลือก/ไร่ ผลผลิตสูงกว่าการปลูกข้าวแบบนาหว่านซ่ึงมีผลผลิตข้าวเฉลี่ยประมาณ ๒๖๐ และ ๔๐๐ กก. ข้าวเปลือก/ไร่ การฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดินโดยกระบวนการชีวภาพต้องอดทนรอให้ดินปรับตัวซ่ึงใช้ เวลาหลายปี ดังนั้นการด�ำเนินการในช่วงต่อมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๗−ปัจจุบัน ยังคงเน้นเรื่องการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการท�ำปุ๋ยหมักจากฟางข้าวเพื่อใช้ในการเพ่ิมความอุดมสมบูรณ์ของดิน การผลิต ปยุ๋ น้�ำสกดั เพื่อใชใ้ นการป้องกนั โรคและแมลงทดแทนการใชส้ ารเคมปี ้องกนั ศัตรพู ืช และการประยกุ ต์ ใชใ้ นการปลกู ขา้ ว การผลิตปยุ๋ หมกั จากฟางข้าวร่วมกบั ชมุ ชนบา้ นหนิ แร่ 28

การด�ำเนินการเน้นให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานทุกขั้นตอน ตั้งแต่การผลิตปุ๋ยหมัก และปุ๋ยน้�ำสกัด การปรับปรุงดิน การเพาะกล้า โยนกล้า การฉีดพ่นปุ๋ยน�้ำสกัดป้องกันศัตรูพืช การติดตามการเปลี่ยนแปลงการเจริญเติบโตของข้าวและสังเกตโรคและแมลง และการเก็บเกี่ยวข้าว พบว่าการปรับปรุงดินโดยใช้ปุ๋ยหมักฟางข้าวร่วมกับการใช้ปุ๋ยน�้ำสกัด ช่วยลดการเกิดโรคใบไหม้ และใบดา่ ง รวมท้ังการกัดกินของหนอนกอ หนอนกระทู้ และผลผลิตข้าวเพิม่ ขนึ้ ร้อยละ ๒๐−๓๐ ผลการทดสอบท�ำให้สมาชิกมีความเช่ือม่ันในคุณภาพของปุ๋ยหมักฟางข้าวที่ตนเองได้ท�ำ ในการเพิ่มผลผลิตข้าวสมาชิกมีความรู้ ความเข้าใจ และเห็นความส�ำคัญของการใช้ปุ๋ยหมักในการ ปรับปรุงบ�ำรุงดิน การใช้ปุ๋ยน�้ำสกัดทดแทนน้�ำหมักชีวภาพและสารเคมีในการก�ำจัดโรคและแมลง ศตั รพู ชื สมาชกิ มกี ารพฒั นากระบวนการคดิ เปน็ ลำ� ดบั รจู้ กั แกไ้ ขปญั หา มคี วามกลา้ แสดงออกมากขน้ึ โดยสังเกตจากการถามตอบหรือการอภิปรายกลุม่ การตดิ ตามการเจริญเติบโตของข้าว ได้แก่ ความสูง และจ�ำนวนต้น/กอ การรว่ มเรยี นรเู้ รือ่ งโรคและแมลงทพ่ี บในนาขา้ ว หนอนกอ หนอนมว้ นใบ และหนอนกระท้ขู า้ วที่พบในแปลงนาสาธิต 29

โรคไหมแ้ ละใบดา่ งที่พบในแปลงนาสาธิต การฉดี พน่ ป๋ยุ นำ้� สกดั และการตรวจวัดพืน้ ทกี่ ารเกดิ โรคในแปลงนาสาธติ การร่วมเก็บเกี่ยวผลผลติ ในแปลงนาสาธิต ส�ำหรับผลผลิตข้าวอินทรีย์ที่ได้น้ัน ในปัจจุบันเกษตรกรได้จัดการขายผ่านกลุ่ม “ผูกปิ่นโต ข้าว” ซึ่งท�ำหน้าท่ีติดต่อผู้ท่ีสนใจให้มีการซื้อขายข้าวกับเกษตรกรโดยตรง อย่างไรก็ตามผลผลิตข้าว อินทรีย์ปัจจุบันไม่เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้า สมาชิกจึงมีความสนใจในการที่จะน�ำส่ิงท่ี รว่ มเรยี นรู้ไปปรับใช้ในการท�ำนาของตนเองและนำ� ผลผลติ ท่ไี ด้มาขายใหก้ ับกลุ่ม 30

เกษตรกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทีเ่ ช่อื มโยงกบั ชวี ติ เกษตรกรรมเป็นเรื่องของชีวิต ส่ิงท่ีท�ำต้องเช่ือมโยงได้กับรากฐานของชีวิต จึงจะ ไปรอด... หากปล่อยให้ชาวบ้านท�ำเกษตรกรรมไปตามกระแสท่ีเขาส่งเสริมโดยขาดความ เช่ือมโยงกับชวี ิต คนไม่รอด ปา่ ไมเ่ หลอื เป็นแนวคิดโดยสรุปที่พวกเราใช้เริ่มต้นงานการศึกษาและพัฒนาระบบเกษตรกรรม ของเกษตรกรในพื้นที่ชุมชนรอบป่าตะวันออก ซ่ึงได้รับทุนจากส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยพ่อวิบูลย์ เข็มเฉลิม คือผู้น�ำพาทั้งความคิดและการ ปฏิบัติ เป็นงานท่ีเชื่อมต่อมาจากโครงการศึกษาพรรณพฤกษชาติและใช้ประโยชน์จาก พนั ธพ์ุ ชื ในปา่ ตะวนั ออกอยา่ งยง่ั ยนื เปน็ สว่ นหนง่ึ ทชี่ ว่ ยสนบั สนนุ การงานเพอื่ สรา้ งความเขา้ ใจ ตอ่ ชวี ิตให้แก่พวกเรา ทำ� ใหเ้ ดก็ หลงั ห้องอยา่ งพวกเรากลายเป็นเด็กหลังบา้ น กระบวนการภายใน : วงสนทนาแบบไม่เป็นทางการ การสนทนาเก่ียวกับความคิดและการงานท่ีจะท�ำร่วมกัน รวมถึงท่ีแต่ละคนไปท�ำมา มักจะเริ่มต้นข้ึนทุกๆ เช้าหลังจากที่พ่อและพวกเรากวาดลานบ้านกันไปได้ระยะหนึ่ง และ บางคนก็เตรียมอาหารส�ำหรับทุกคน เม่ือพ่อเร่ิมชงกาแฟ และอาจมีใครน่ังรออยู่ก่อนหน้า น้นั แล้ว เป็นสญั ญาณทท่ี �ำใหเ้ ร่ิมรวู้ า่ แมง้ านไม่เสร็จก็ควรวางไวก้ อ่ น ถ้าไม่เร่งรบี จริงๆ ยกเว้น 31

คนเตรยี มอาหาร ชว่ งเวลานใี้ ชใ้ นการบอกเลา่ เรอื่ งราวทแ่ี ตล่ ะคนไปทำ� ในชว่ งทผี่ า่ นมา รวมทงั้ ตวั พอ่ เองด้วย ไม่มีข้อตกลงว่าใครจะเริ่มก่อน บางคร้ังพ่อก็รอ บางครั้งพ่อก็เร่ิมก่อน แลกเปลี่ยนกัน จนหมดเวลาที่ต้องไปท�ำการงานอย่างอื่นที่แต่ละคนต้องรับผิดชอบ ท�ำให้เราทราบความเป็นมา เป็นไปในการงานของแต่ละคน ปัญหาและความขัดแย้งท่ีมี มีอะไรต้องช่วยกันบ้าง มีอะไรที่ต้องเร่ง จดั การบ้าง บ่อยครั้งที่เราลงลึกกันไปในเชิงแนวคิด ความเชื่อ และความศรัทธาต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน โดยเฉพาะที่เราต้องเจาะลึกถึงปัญหาของชาวบ้าน โดยท่ีเราส่วนใหญ่ดูจะไม่ค่อยเข้าใจชาวบ้าน กันเลย ท้ังที่เราก็เหมือนจะท�ำกิจกรรมร่วมกับชาวบ้านกันมาบ้าง อยากช่วยแต่ไม่เข้าใจเขา แล้วจะ ช่วยอย่างไร ยังคิดว่าเข้าใจแล้วก็มี คิดว่าจะน�ำพาและเปลี่ยนแปลงเขาก็มี ถึงท่ีสุดท�ำให้เราทราบ ภายหลังวา่ เราตอ้ งเรม่ิ ตน้ จากการเข้าใจตัวเองและเปลยี่ นแปลงตัวเองกนั เสยี กอ่ น การทดลองปฏบิ ตั ใิ ห้เปน็ ส่วนหนึง่ ของชวี ติ การท�ำน�้ำยาอเนกประสงค์ สบู่ แชมพู และการหาฟืน คือ กิจกรรมฐานเดิมท่ีพวกเราท�ำ เป็นปกติของพวกหลังบ้าน ส�ำหรับพวกเรานอกจากท�ำให้ซื้อน้อยลงแล้ว ยังช่วยท�ำให้เรารู้สึกอิ่มใจ ท่ีท�ำส่ิงเหล่าน้ีได้เองอย่างเป็นจริงเป็นจัง ชาวบ้านท่ีแวะเวียนผ่านมาหรือเข้ามาศึกษาดูงานก็จะเห็น บรรยากาศของการพึ่งตนเองบางส่วนของพวกเรา ไม่ใช่แค่พูด แต่ท�ำให้ดูและอยู่ให้เห็น โดยไม่ใช่ การแสดงสาธิตชั่วคราว แต่เป็นอย่างท่ีพ่อเป็น ไม่ว่าพ่อจะไปมีต�ำแหน่งส�ำคัญอย่างไร แต่กลับมา ท่ีบ้านท่านก็เป็นของท่านอย่างเดิม เป็นแบบที่ท่านเป็น อย่างไรก็ตามแม้พวกเราจะท�ำส่ิงพื้นฐาน ไว้ใช้เองโดยไมไ่ ด้ซื้อแลว้ พอ่ ก็ยังบน่ ว่ามนั ยังไมพ่ อ ส�ำหรับพวกเราจะต้อง “มือบอน” กนั มากกวา่ นี้ “มอื บอน” ในความหมายของพอ่ ไมใ่ ชก่ ารไปฉกฉวยของใครเขามา แตเ่ ปน็ การรจู้ กั นำ� พชื ผกั ผลไม้ที่เหลือท้ิงร่วงทิ้งมาแปรรูป หรือฝึกท�ำอะไรต่ออะไรให้เช่ียวชาญช�ำนาญกว่าน้ี แต่พ่อไม่ได้พูด แบบน้ันตรงๆ พ่อจะยกตัวอย่างของกระท้อนท่ีร่วงอยู่เต็มสวน เพราะสูงเกินกว่าจะสอยมันมากิน ต้องรอมันร่วงลงมา แต่เม่ือร่วงมันก็แตกบ้างช้�ำบ้าง เป็นส่ิงท่ีเราควรมองออกว่าจะท�ำอย่างไร การ แปรรูปท�ำให้ของท่ีเหมือนเป็นของทิ้งขว้างน้ันมีคุณค่าข้ึนมา ท�ำได้ท�ำบ่อยๆ กินอร่อย ใช้ได้ดี มัน ก็มีมูลค่าได้ไม่ยาก ตอนน้ันครัวหลังบ้านก็เหมือนห้องทดลองเล็กๆ จะเต็มไปด้วยโหลดองและ ของตากแห้งต่างๆ ที่พ่อมักท�ำให้เรารับรู้เสมอว่ามันต้องเป็นระเบียบกว่าน้ี พ่อไม่ได้บอก แต่เวลา พ่อเข้ามาช่วยดูพวกเราท�ำอะไร ท่าทีท่าทางของพ่อ ท�ำให้เรารับรู้ว่ามันจะเป็นระเบียบกว่านี้ได้อีก เพราะพ่อก็จะย้ายอะไรต่ออะไรท่ีเราวางไว้และคิดว่ามันเป็นระเบียบอยู่แล้วให้เป็นระเบียบย่ิงขึ้น พอ่ ไม่ได้พดู บอ่ ยนกั เรื่องระบบระเบียบ แต่ท่านทำ� ด้วยท่าที ทำ� ใหเ้ รารบั รู้ไดว้ ่ายังมคี วามเป็นระเบยี บ เรียบร้อยที่ยิ่งกว่าอยู่ และในเวลาต่อมา “ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของห้องปฏิบัติการครัวเรือน (หอ้ งครัว)” คือ สาระส�ำคญั ทีเ่ ราตอ้ งท�ำให้ชาวบ้านเข้าใจเป็นอนั ดับต่อไป ถงึ วนั นพ้ี อเขา้ ใจแลว้ วา่ เราตอ้ งใชค้ รวั เปน็ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารอยนู่ านพอดทู จ่ี ะทำ� ใหเ้ รารวู้ า่ เรารกั อะไร และต้องการจะใช้ชีวิตไปกับส่ิงใด จึงค่อยขยับขยายไปสู่โรงงานหรือโรงเรือนที่เหมาะสมต่อสิ่งนั้น เรมิ่ ตน้ คน้ ใหเ้ จอทรพั ยากรเปา้ หมายนนั้ ไมว่ า่ จะเพราะมอี ยู่ มเี หลอื เหลอื ทง้ิ ขายไมไ่ ด้ ตอ้ งการปลกู ต้องการกนิ ราคาถูก เรมิ่ ต้นได้ แตฐ่ านส�ำคญั เบ้อื งต้นคือ ทำ� แล้วเป็นประโยชนต์ ่อชวี ติ อยา่ งไร 32

ค้นให้เจอสิง่ ท่เี ช่อื มได้กับรากฐานภายในตน วิถีเกษตรกรรมเป็นองค์รวมของความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เช่ือมโยงกับ ชีวิต ระบบเกษตรท่ีรักษาความหลากหลายทางชีวภาพไว้ได้ อยู่กับป่าได้ หรือช่วยสร้างป่าเพิ่มได้ และยงั ต้องเชื่อมโยงกับชีวิตเข้าไปอกี มนั จะเริม่ อยา่ งไรกัน กอ่ นหนา้ นนั้ ในหมพู่ วกเราตอ้ งผลดั กนั สื่อสารเร่ืองราวของพ่อเม่ือพ่อไม่อยู่ หรือ ช่วงระหว่างที่รอพ่อเตรียมตัว เนื้อหานั้นก็ เป็นท่ีทราบทั่วไปว่าสาระส�ำคัญคือ ท�ำไร่ เชิงเดี่ยว ๒๐๐ ไร่ ไปไม่รอด แต่มาท�ำเรื่อง พืชพันธุ์อันเป็นประโยชน์ตรงต่อชีวิตเพียง ไม่ถึง ๑๐ ไร่ แล้วรอด เพราะมีการเช่ือมกับ รากฐานเดิมของชีวติ เดิมของพ่อ น่ันก็ยังเป็น เพียงสรุปความตามหนังสือ แต่รับรู้ได้เลย ว่ามันขาดพลังบางอย่างที่แตกต่างกันในการ รับสารของผู้ฟัง แต่ก็ให้อภัยได้หากเป็นเพียง การเกร่ินน�ำก่อนพบตัวจริง เม่ือตัวจริงมา บรรยากาศจะเปลี่ยนเป็นการแลกเปลี่ยน ซักถาม ผู้มาเรียนรู้อาจต้องเป็นฝ่ายครุ่นคิด และใคร่ครวญต่อค�ำถามและประเด็นท่ีตน ถามไปก่อนหน้าแทนผู้ถูกถามเสียด้วยซ�้ำ อย่างเช่น หากถามว่าในระบบวนเกษตร เราควรปลกู อะไรดี คำ� ตอบทีไ่ ด้รับอาจจะเปน็ อะไรคือ “ราก” “ฐาน” ของชีวิต เมล็ดพันธุ์ต่างชนิดการเจริญของรากก็ต่างกัน แต่ของคนเป็นเช่นไร พ่อบอกว่ายังมีพืชพันธุ์ท่ีเรา ไม่รู้จักอีกมาก แต่ก็ยังไม่เท่ากับการรู้จักตัวเองให้มากพอ แต่ใช่ว่าจะต้องเข้าใจอะไรๆ เสียก่อน จึงคอ่ ยท�ำ ตอ้ งลงมือทำ� จึงจะเขา้ ใจ พ่อเคยปรารภก่อนเริ่มโครงการน้ีว่า คน พวกเราน่ีมือไม่ค่อยบอนกันเลย มือบอนของ พ่อ หมายถึง ท�ำให้มาก ลองหยิบทรัพยากร ความเชอ่ื มัน่ ความสมั พันธ์ และข้าวของเหลือใช้มาหัดแปรรูปไว้กิน ไว้ใช้ เม่ือเราเริ่มลงมือท�ำกัน กระท้อนแห้ง ความรู้ ทรัพยากร กระทอ้ นแชอ่ มิ่ เปลอื กมะไฟแชอ่ มิ่ มะนาวดอง มะกรูดกวน ท�ำกันเล่นเอามากินและใช้กัน การจัดการ จริงๆ ก็กลายเป็นพลังใหญ่โต เรารับรู้ถึงพลัง บางอย่างท่ีเกิดขึ้นในตัวเราที่เปล่ียนแปลงไป และเราเชื่อว่าหากท�ำให้ชาวบ้านรู้สึกแบบนี้ได้ 33

คงจะเป็นจุดเร่ิมต้นท่ีดี เคยแลกเปล่ียนกับอาจารย์ฝร่ังสอนภาษาท่านหน่ึงว่า การท�ำของกินของใช้ เลก็ ๆ นอ้ ยๆ ไดเ้ องนมี่ นั ไมธ่ รรมดาคะ่ สำ� หรบั เราแลว้ มนั คอื กระบวนการสรา้ งอำ� นาจ (empower- ment) กันเลยทีเดียว ซึ่งหากมองกลับไปในแผนภาพที่พ่อมักจะน�ำมาใช้ และมีการติดไว้ท่ีสวน จนปจั จบุ ัน ทเ่ี กยี่ วกบั กระบวนการเรียนร้ขู องคน มีวงกลม ๓ วง คอื คน ความรู้ และทรัพยากร ซง่ึ คนมี “ความสัมพันธ์” กับทรัพยากร จึงท�ำให้เกิดความรู้มากมายในท้องถิ่น และมีการน�ำความรู้ น้ันไป “จัดการ” กับทรัพยากร มาแก้ปัญหาหรือตอบโจทย์ชีวิตตัวเอง เม่ือได้ผลก็มี “ความเชื่อม่ัน” ในความรนู้ น้ั เมอื่ ทำ� ซำ้� ๆ เม่ือไม่ไดผ้ ลจะมปี ระสทิ ธิภาพเป็นความชำ� นาญ “มอื ” คือ เครอื่ งมือท่ีส�ำคญั ทพ่ี อ่ ใหใ้ ชเ้ ร่มิ ต้น เปน็ ของขวัญจากธรรมชาตทิ ม่ี อบใหแ้ ก่เราแล้ว ผืนดินและครัว คือ ห้องปฏิบัติการที่ส�ำคัญ เมื่อท�ำจนใช่ ใช่ท้ังวิธีการ ผลที่ได้รับ และต้องการท่ีจะ ไปตอ่ กบั ส่ิงนนั้ พัฒนาสิง่ นนั้ จงึ คอ่ ยรอ้ งหาเครื่องมือทสี่ ูงยิง่ ขนึ้ ไป พอ่ เคยเล่าว่าคนทเ่ี ขาหมักน�ำ้ ปลา อรอ่ ย เขาไมเ่ คยชง่ั เกลอื ชั่งปลาเลย ในความเปน็ จริงใครหลายคนอาจคดิ ว่าพ่อนนั้ ปฏิเสธเทคโนโลยี เพราะเรียกร้องให้คนพึ่งตนเองให้มาก แต่จริงๆ แล้วมันคือวิธีการเร่ิมต้นที่ส�ำคัญในการสร้างความรู้ ในระดับท่ีเป็นความเชื่อมั่นซ่ึงสร้างพลังภายใน ค้นให้เจอส่ิงที่รักส่ิงที่เชื่อมโยงกับรากฐานของชีวิต จะท�ำให้เรารู้สึกต้องการปักหลักไม่อยากเคลื่อนไปไหน จดจ่อกับสิ่งน้ันท้ังวันด้วยความเบิกบานใจ สภาวะนเี้ กิดข้นึ กับคนหลายคน เช่น นายวินัย สวุ รรณไตร ประธานเครอื ขา่ ยวนเกษตรป่าตะวนั ออก 34

เคยบอกว่า “ตอนที่พอจะมองออก คิดได้ว่าต้องเปลี่ยนแปลงอะไร ต้องท�ำอะไร มันอธิบายไม่ได้ มนั ตอ้ งการแตจ่ ะลงมือท�ำ จะเขา้ สวนอยา่ งเดียว ใครมองก็วา่ เราบ้า เรากก็ ม้ หน้าท�ำอยา่ งเดียว ใคร ถามว่าท�ำอะไร มันยังพูดไม่ถูก ท�ำไปๆ ก็เข้าใจมากขึ้นๆ เริ่มสื่อสารได้ แรกๆ ก็ยังพูดไม่รู้เร่ือง ยังถือว่าสอบตก หากพูดแล้วคนรู้เร่ือง เข้าใจว่าเราท�ำอะไร นี่ถือว่าสอบผ่าน หรืออย่างแม่จูมศรี ชาวนาฮี ผลู้ ว่ งลบั ทีต่ ่ืนขนึ้ มาเชด็ ขวดเตา้ เจ้ยี วและแชมพูตอนตหี น่ึงตสี อง” เม่ือขยับการเรียนรู้มุ่งสู่ชุมชนรอบป่าตะวันออก สภาพเร่ิมต้นที่ทีมงานบางคนรู้สึกต่อ ชาวบ้านในตอนน้ันคือ ชาวบ้านส่วนใหญ่รอคอย ทั้งท่ีเขามีบางสิ่งอยู่ในมือและในตัว บางคน ท�ำไร่ในที่คนอ่ืน (ป่าท่ีมีการจับจอง) ท�ำฟรีไม่มีค่าเช่า แต่ย่ิงท�ำย่ิงล�ำบาก บางส่วนเป็นท่ีตัวเองปลูก พืชไร่พร้อมจะขายถ้ามีคนให้ราคา ปลูกมันส�ำปะหลัง ข้าวโพด และอ้อย ส่วนข้าวจะปลูกไว้กินเป็น หลกั มขี ายบา้ งแตก่ ไ็ มใ่ สใ่ จมากเนอื่ งจากรบี เอาเวลาไปทำ� ไร่ ทางฝง่ั จนั ทบรุ แี ละระยองเรม่ิ เหน็ แลว้ วา่ ขยับจากไร่มันไปสู่ยางพารา แต่เม่ือศึกษาข้อมูลรายจ่ายอันเป็นบันไดขั้นพื้นฐานของการรู้จักตัวเอง ก็ท�ำให้ทราบว่า โซนยางพารามีค่าใช้จ่ายประจ�ำ ได้แก่ อาหารเพื่อการบริโภค และน้�ำมันรถส�ำหรับ ขนส่ง สูงมากเป็นสองเท่าเม่ือเทียบกับเกษตรกรที่มีพื้นท่ีท�ำนาไว้กินและท�ำไร่มันส�ำปะหลังไว้ขาย ในช่วงเวลาน้ันเราเริ่มวิเคราะห์ว่า ควรเริ่มต้นจากฐานทรัพยากรท่ีเขามีเป็นดีท่ีสุด ขณะนั้นคือ อ้อย ตันละ ๗๐๐ บาท และเกดิ มอ็ บมนั สำ� ปะหลงั ขวางถนน รัฐบาลเสนอทางออกเปน็ โค ยาง ปาล์ม ซง่ึ เราประเมินว่ายิ่งหนักเข้าไปใหญ่ เพราะเป็นชนิดพืชที่ยิ่งไกลไปจากรากฐานชีวิตเดิมๆ ของชาวบ้าน ไม่รู้จักและจัดการอะไรไม่ได้ ต้องขายอย่างเดียว พ่อเร่งพวกเรามากในตอนน้ันท้ังการท�ำงานการ ประสานงานต่างๆ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้กับชาวบ้าน แทบจะวิ่งท�ำงานกันเลย กวาดบ้านตอนเช้าตรู่ ประชมุ ชาวบา้ นเกา้ โมงเชา้ กลบั มาคุยกนั ถึงผลที่เกดิ เอาอย่างไรกันต่อ พรุ่งน้ีทำ� อะไร ขา้ ว... ปลกู กว่าจะไดเ้ มลด็ หลายเดือน แต่ไมม่ ปี ัญญากะเทาะเปลือก พอ่ เรม่ิ ตน้ จากแนวคดิ ชาวนาปลกู ขา้ ว แตไ่ มม่ ปี ญั ญากะเทาะเปลอื กขา้ วใหต้ วั เองกนิ ได้ จงึ ยุ ให้ทางส�ำนักงานปฏิรูปท่ีดินเพื่อเกษตรกรรมมาจัดอบรมการท�ำเคร่ืองสีข้าวมือหมุนแบบโบราณ กระตุ้นให้ชาวบ้านจัดการข้าวท่ีเหลือกินแล้วไปขาย หมุนเวียนข้าวเพื่อเล้ียงชีพ จัดกิจกรรมฟื้นฟู ภมู ปิ ญั ญาเกย่ี วกบั ขา้ ว ปจั จบุ นั ชาวบา้ นทฝ่ี กึ ทำ� กลายเปน็ ชา่ ง ขายเครอ่ื งสมี อื หมนุ ตวั ละหลายพนั บาท มีการขยายผลน�ำเครื่องสขี า้ วไปใช้สจี รงิ ในการสขี ้าวท้งั กนิ และขายในละแวกใกล้เคยี งถงึ ปัจจุบนั อ้อย... ทำ� นำ�้ ตาลได้ คนปลูกอ้อยท�ำไมต้องซ้ือน้�ำตาลมากิน และท�ำไมต้องส่งเข้าแต่โรงงาน การท�ำน�้ำตาลแบบ ดั้งเดิมเร่ิมหายไป ท�ำอย่างไรให้คนท�ำเป็น กระบวนการเรียนรู้ท่ีจะท�ำน�้ำตาลจากอ้อย ที่บางคน ไปโฆษณาว่าเปน็ กระบวนการปนั้ นำ�้ เปน็ ตัวนัน้ ตัวผเู้ ขียนอยดู่ ้วยต้งั แต่คดิ พอ่ ชวนชาวบ้านซื้อ ระดม ผู้สนใจและผู้รู้เท่าที่มีมาตัดอ้อย หีบ และลงมือเคี่ยวน�้ำตาล ผ่านไป ๒ วัน ๒ คืน เราไม่ได้น้�ำตาล สกั ก้อน ทำ� ไม ท�ำไม ท�ำไม 35

เพราะความรู้น้ันเป็นเพียงการบอกเล่าและภาพจ�ำ เคยเห็นมา เคยฟังมา แต่ไม่มี ประสบการณ์จริง ประสบการณ์ท่ีสัมผัสได้จากบรรยากาศผ่านเนื้อผ่านตัว อันมีผลต่อความ รู้สึกในช่ัวขณะ จึงท�ำให้คิดกันไปต่างๆ นานาว่า เพราะอ้อยอายุไม่ได้ พันธุ์ไม่เหมาะ จึงท�ำไม่ได้ ไปตัดมาลองกนั ใหม่ ท�ำซ�ำ้ ๆ ไม่ได้ เพราะพวกเรายังไมม่ ใี ครที่ “รูจ้ รงิ ” ว่าทำ� น�้ำตาลอ้อยเป็นอยา่ งไร แตก่ ลับรู้จรงิ วา่ ทำ� อยา่ งไรจะไม่เปน็ น�้ำตาลออ้ ย ผ่านไป ๒ ปี มีกระบวนการอบรมจากผู้รู้จริง โดยการปฏิบัติให้ดูเป็นตัวอย่าง อธิบายช่วง จังหวะของกระบวนการที่น�้ำอ้อยเป็นน้�ำตาล ภายในเวลาครึ่งวันมีคนฝึกและท�ำน�้ำอ้อยให้เป็น น้�ำตาลได้มากกวา่ ๑๐ คน ผา่ นไป ๑๕ ปี ปจั จุบันมีเกษตรกรเหลือเพียงรายเดยี วในเครือขา่ ยทย่ี งั คง เคี่ยวน้�ำอ้อยให้เป็นน�้ำตาลเพ่ือการเล้ียงชีพ แต่มีการขยายผลความรู้ชุดนี้ไปยังพื้นที่อื่นๆ มากมาย ในแบบพ่ึงตนในครัวเรือนเหลือขายเล็กน้อย เกษตรกรรายเดียวท่ีท�ำอยู่ขยายแปลงปลูกโดยยังไม่ลืม แบ่งเวลาไว้ปลูกข้าวกิน จัดสรรอ้อยบางส่วนหีบเป็นน้�ำอ้อยบรรจุขวดตระเวนขายในชุมชน พยายาม ด้ินรนปรับปรุงสถานที่ด้วยตนเองไม่ต้องรองบประมาณ เรียกได้ว่าเกษตรกรรายนี้มีพลังอ�ำนาจ ในตัวเองทีจ่ ะตดั สินใจได้วา่ จะทำ� อะไรและเพ่อื อะไรให้กับตวั เองและครอบครัว เขาเริ่มปลดหนี้ไปแล้ว บางส่วนด้วยการจัดการอ้อยนี้ สืบสาวไปมาเราพบว่าเขามีประสบการณ์ตรงในอดีตที่เคยช่วยพ่อ ใชค้ รกตำ� ออ้ ยใหไ้ ด้น�ำ้ แลว้ น�ำมาเคี่ยวเปน็ น�ำ้ ตาล 36

มนั สำ� ปะหลงั ... ทำ� เป็นปุย๋ ได้ ในระหว่างที่น�้ำตาลยังปั้นไม่เป็นตัว พ่อก็ชวนพวกเราขยับเรื่องปุ๋ยจากมันส�ำปะหลัง มันกิน ปุ๋ยมาก และมันก็เป็นปุ๋ยได้ ราคาถูกก็ไม่ควรขาย ท�ำเป็นปุ๋ยก็ไม่ต้องซื้อปุ๋ย ปุ๋ยเคมีในช่วงนั้นราคา ยังไม่แพงเท่าทุกวันน้ี แต่พ่อใช้โอกาสเหล่านี้เป็นเคร่ืองมือในการส่ือสารวิธีคิดในการจัดการให้กับ ชาวบ้าน แม้วันนี้เท่าท่ีทราบจะไม่มีการผลิตปุ๋ยมันส�ำปะหลังแล้ว แต่การพัฒนาการจัดการเรื่อง ความอุดมสมบูรณ์ของดินในหมู่ชาวบ้านก็ก้าวหน้าพลิกแพลงไปมาก ดินหอม ลูกระเบิด ปุ๋ยหมัก แกลบ และปุ๋ยหมักฟาง เป็นต้น การได้เรียนรู้และพัฒนาตนเองจากข้างใน ในช่วงเวลาที่พวกเราหลายคนได้อยู่รับใช้และ เรียนรู้ใกล้ชิดกับพ่อ เราเองได้โอกาสในการแก้ไขปมภายในที่ไม่สามารถเช่ือมโยงได้จากฐานที่ บ่มเพาะเรามา พวกเราเกือบทั้งหมดเกือบหมดศรัทธาต่อการเรียนรู้และความรู้จากระบบท่ีเรา ได้รำ่� เรยี นมา ไมเ่ หน็ คณุ คา่ ตอ่ ความรทู้ ม่ี ใี นตวั เอง ใกลเ้ คยี งมากกบั การไมเ่ หน็ คา่ ในตวั เอง พอ่ เชอื่ มโยง ให้เราเห็นว่าหัวใจของชีวิตไม่ใช่วิชาความรู้ แต่เป็นวิชาความรู้ท่ีใช้ประโยชน์และแก้ปัญหาของ ชีวิตในขณะนั้นได้ ต้องลองท�ำลองใช้จึงรู้แน่นอน ผลของมันอาจไม่เป็นดังคาดก็ได้ เมื่อมันได้ผล ก็อาจแก้ปัญหาเป็นไปเพียงระยะหน่ึง ไม่มีสิ่งใดย่ังยืน สังคมจึงควรถึงพร้อมไว้ด้วยความไม่ประมาท ส่ิงยั่งยืนคือกระบวนการในการจัดการกบั ปัญหา ตอ้ งตดิ ตัวพวกเราและชาวบ้านใหไ้ ดอ้ ย่างไร นนั่ คือ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทจี่ ะสรา้ งสรรค์เทคโนโลยที ีเ่ หมาะแก่ชีวิตอยา่ งไมส่ น้ิ สุด 37

พืชสมุนไพรในปา่ ตะวนั ออก ในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ผใู้ หญว่ บิ ลู ย์ เขม็ เฉลมิ ไดร้ บั การสนบั สนนุ งบประมาณจากโครงการพฒั นา องค์ความรู้และศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทย (Biodiversity Research and Training Program – BRT) ใหด้ ำ� เนนิ โครงการวจิ ยั เรอ่ื ง การศกึ ษาพรรณพฤกษชาตแิ ละการใช้ ประโยชน์ทรัพยากรป่าไม้ในป่าตะวันออกอย่างย่ังยืน รหัสโครงการ BRT ๓๓๙๐๐๑ โครงการน้ี ประกอบด้วย ๓ โครงการยอ่ ย ไดแ้ ก่ โครงการย่อยที่ ๑ การศึกษาพรรณพฤกษชาติในป่าตะวันออก มีนายพงษ์ศักดิ์ พลเสนา เป็นหัวหน้าโครงการยอ่ ย โครงการย่อยท่ี ๒ การศึกษาการใช้ประโยชน์พืชสมุนไพรและผักป่าของชุมชน มี รศ.ดร.ชัยโย ชัยชาญทิพยทุ ธ เป็นหวั หน้าโครงการยอ่ ย โครงการยอ่ ยท่ี ๓ การศึกษากระบวนการเรียนรู้และการจัดองค์กรของชุมชนเพื่อการใช้ ประโยชน์ทรัพยากรป่าไม้อย่างย่ังยืน มีผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม เป็น หัวหน้าโครงการย่อย จากการศึกษาพบว่า ในพ้ืนที่ป่าตะวันออกมีพืชสมุนไพรที่หลากหลาย มีหมอยาพื้นบ้าน และผู้ที่น�ำพืชสมุนไพรมาใช้ประโยชน์ในทุกชุมชน พืชสมุนไพรที่คนในชุมชนโดยรอบป่าน�ำมาใช้ ประโยชน์สบื ต่อกันมาเปน็ เวลานาน ทัง้ ในแง่ของยารักษาโรค ผักพืน้ บา้ น และบางชนิดน�ำมาปลกู ใน ชมุ ชนและจำ� หนา่ ยเป็นพืชเศรษฐกิจ เชน่ กระวาน เร่ว เรว่ หอม จนั ทน์หอม สงั กรณี ส�ำรอง กลอย กฤษณา ชะมวง รง ทำ� มงั กำ� จดั ต้น ระย่อม เปล้านอ้ ย โคคลาน ล้นิ งูเห่า เขยตาย โดไ่ ม่รลู้ ม้ มา้ ทลาย โรง และก�ำแพงเจด็ ชนั้ เปน็ ต้น 38

ปา่ ตะวันออกเปน็ ปา่ ผืนใหญ่ ครอบคลุมรอยตอ่ ของพ้นื ท่ี ๕ จงั หวดั ไดแ้ ก่ ฉะเชงิ เทรา ชลบุรี ระยอง จันทบุรี และสระแก้ว ประกอบด้วยเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างฤๅไน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว อุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ อุทยานแห่งชาติเขาสิบห้าชั้น อุทยานแห่งชาติเขาชะเมา− เขาวง และปา่ สงวนแหง่ ชาติท่เี หลืออยู่รอบๆ ปา่ อนุรกั ษผ์ นื น้ี 39

40

ปา่ เขตรกั ษาพันธส์ุ ตั ว์ป่าเขาอ่างฤๅไน 41