Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โลจิสติก

โลจิสติก

Published by Thalanglibrary, 2020-11-18 10:49:58

Description: โลจิสติก

Search

Read the Text Version

หลกั สูตรการจัดการโลจสิ ติกสแ ละซพั พลายเชนระดับปฏบิ ัติการ    การบรหิ ารจัดการเตมิ สินคา คงคลงั (Inventory Replenishment Management) การเติมสินคาคงคลังอยางมีประสิทธิภาพเปนความรับผิดชอบของทีมควบคุมการจัดการการ ปฏิบัติการและวัสดุ มีหนาท่ีในการเลือกเทคนิคการเติมสินคาใหเหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากที่สุด ผูวางแผนตองทําการคํานวณหาวาจะบริษัทจําเปนตองมีสินคาคงคลังสํารองเทาไรเพื่อปองกันการเกิดสินคา ขาดสตอ กจากความผันแปรของความตองการและอปุ สงค ความตองการอสิ ระ และความตองการแบบพ่งึ พา (Independent VS Dependent Demand) นยิ ามความตองการอิสระ: “ความตองการของรายการท่ีไมใชตอเน่ืองในกระบวนการผลิต สวนมากจําหนายใหลูกคาโดยตรง ถาไมมี อาจจะเสียโอกาส และถูกปรบั ” ความตองการแบบพ่ึงพา: “ความตองการของรายการที่ใชตอเนื่องในกระบวนการผลิต อาจสงผลเสียหายอยางรุนแรงหากขาดวัตถุดิบ ประเภทน”้ี แบบฝก หัด ใหระบปุ ระเภทของรายการทเ่ี ปน ความตอ งการอสิ ระ: ใหระบปุ ระเภทของรายการทีเ่ ปน ความตอ งการแบบพ่งึ พา: โครงการสนบั สนนุ โดยสาํ นักโลจสิ ติกส กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 93  

หลกั สูตรการจดั การโลจสิ ตกิ สและซพั พลายเชนระดบั ปฏบิ ัติการ     Copyright © SCM EEI    Copyright © SCM EEI   โครงการสนับสนนุ โดยสาํ นักโลจสิ ติกส กรมอตุ สาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 94  

หลักสูตรการจดั การโลจิสติกสแ ละซพั พลายเชนระดบั ปฏิบตั กิ าร    นยิ ามทฤษฎีของการบรหิ ารจัดการเติมสนิ คา คงคลัง (Defining Inventory Replenishment) ในบทเรียนน้ีจะเปนการเรียนรูเก่ียวกับการบริหารสินคาคงคลังความตองการอิสระของกิจการที่ ไมใชลักษณะธุรกิจการผลิต เชน ผูกระจายสินคา และผูคาปลีก โดยสวนใหญ อุตสาหกรรมเหลาน้ีจะใช เทคนคิ การเติมสินคา คงคลงั รูปแบบเดยี วหรอื หลายๆ รูปแบบ เทคนิคการบริหารจัดการเติมสินคาคงคลังน้ันวัตถุประสงคของผูวางแผนคือ คํานวณปริมาณการ เก็บและปริมาณการส่งั ใหเ พยี งพอตอการตอบสนองความตองการของลูกคา โดยไมสรางสินคาคงคลังท่ีเกิน ความตองการ ณ ปจจบุ นั กลไกการบริหารจัดการเติมเตม็ สินคาคงคลัง (Inventory Replenishment Management Mechanics) • สินคาคงคลังหมุนเวียน (Cycle Stock) คือ สินคาที่ตอบสนองความตองการของลูกคาในชวงเวลาท่ี รอสินคาทส่ี ่ังมาเตมิ • สินคาคงคลังสํารองหรือสินคาคงคลังกันชน (Safety or Buffer Stock) คือ สินคาท่ีเพ่ิมข้ึนมาจาก สินคาคงคลังหมุนเวียนสํารองไวเพ่ือปองกันสินคาขาดสต็อกเมื่อความตองการมากเกินปริมาณท่ี พยากรณไ ว • ตัวเตือนเติมสินคา (Replenishment Trigger) คือ สัญลักษณที่สามารถมองเห็นไดทันทีเม่ือระดับ สินคาลดลงในระดับท่ตี องทาํ การสงั่ • ปริมาณการส่งั (Order Quantity) มีเปาหมาย คอื สมดุลตน ทนุ การส่ังกบั ตนทนุ การเก็บสนิ คา คงคลัง โครงการสนับสนนุ โดยสํานักโลจสิ ตกิ ส กรมอตุ สาหกรรมพื้นฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 95

หลักสูตรการจัดการโลจิสตกิ สและซัพพลายเชนระดบั ปฏิบัติการ     Copyright © SCM EEI    Copyright © SCM EEI   โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจสิ ตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 96

หลักสูตรการจดั การโลจิสตกิ สและซพั พลายเชนระดับปฏิบัติการ    ชวงเวลาตรวจสอบการเตมิ สินคา คงคลงั (Inventory Replenishment Review Interval) ชว งเวลาตรวจสอบการเติมสินคาคงคลังประกอบดวย 2 รปู แบบหลัก คอื 1. การตรวจสอบการเติมสินคาคงคลังแบบตอเน่ือง (Continuous Review) เปนการติดตามสถานะสินคา คงคลังอยางตอเน่ือง และทําการส่ังเมื่อระดับสินคาคงคลังลดลงถึงจุดส่ังซื้อ (Reorder Point) โดยสั่งซ้ือ ในปริมาณที่เทากันทุกครั้ง เม่ือปริมาณทําใหตนทุนสินคาคงคลังต่ํา ภายใตระดับการใหบริการลูกคา เทาเดิม ตัวอยางเชน ปริมาณการส่ังซื้อเทากับ Q เม่ือระดับสินคาคงคลังลดลงถึงจุดส่ัง เม่ือ Q=300 หนวย เม่ือปริมาณสินคาคงคลังลดลงเหลือ 50 หนวย ปริมาณการส่ังเติมสินคาคงคลังคือ 300 หนวย ซ่ึง ระยะเวลาการส่ังซื้อแตละครงั้ อาจไมเ ทา กันขน้ึ อยกู บั ความผนั แปรของความตองการสินคา 2. การตรวจสอบการเติมสินคาคงคลังแบบรอบเวลา (Periodic Review) เปนการตรวจสอบการเติมสินคา คงคลังตามรอบเวลาที่กําหนด เชน ทุก 1 สัปดาห หรือทุก 30 วัน เปนตน เพ่ือเติมระดับสินคาคงคลัง ตัวอยางเชน เม่ือกําหนดรอบการตรวจสอบสินคาคงคลังทุก 15 วัน และจะส่ังซื้อเมื่อสินคาคงคลังเหลือ หรอื ตํา่ กวา 50 หนวย ดงั นัน้ ปรมิ าณการส่งั ซือ้ ในแตล ะครั้งจะไมเทากัน ขึ้นอยูกับปริมาณสินคาคงคลัง ที่เหลอื อยใู นคลังสินคา แตรอบเวลาทีส่ ่งั ซอ้ื แตละครง้ั จะคงท่ี เปรยี บเทียบการตรวจสอบสนิ คา คงคลังแบบตอเนอื่ งและแบบรอบเวลา (Continuous VS Periodic Review) หวั ขอ แบบตอเนอ่ื ง แบบชวงระยะเวลา คา บํารุงรกั ษา สั่งซ้อื ตามกลมุ รายการ (Item Family) ลงทนุ ในสินคา คงคลงั ตาํ่ กวา สามารถพยากรณก ารเติมสินคา ได ควบคมุ โดยรวม รายการมคี วามเคล่อื นไหวเร็ว (Fast-Moving Items) ตนทนุ ตํา่ , ปรมิ าณมาก (Low Cost, Bulk Items) ระดับการใหบ ริการลูกคา สูงกวา ตองใชค อมพวิ เตอรชว ย ตนทุนการสงั่ ซื้อตํา่ โครงการสนบั สนนุ โดยสํานักโลจสิ ติกส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 97  

หลักสูตรการจดั การโลจิสตกิ สและซพั พลายเชนระดับปฏิบตั กิ าร     Copyright © SCM EEI   โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจสิ ติกส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร (กพร.) 98  

หลกั สูตรการจดั การโลจสิ ตกิ สแ ละซัพพลายเชนระดับปฏิบตั กิ าร    หลกั การเติมสนิ คา คงคลงั (Inventory Replenishment Principles) เทคนิคการเตมิ สนิ คา คงคลงั มีหลักการดังตอ ไปน้ี • องคประกอบพื้นฐานของรูปแบบการเติมสินคาคงคลังนั้นตายตัว (เชน เตือนโดยใชระดับปริมาณ แบบจุดส่ัง เติมตามปริมาณ แบบนําสง และแบบสินคาคงคลังสํารอง) และความผันแปรระยะสั้น ไมเปนผลกระทบแตเมื่อเวลาผานไปบริษัทตองทําการคํานวณคาใหมเพ่ือใหควบคูกับการ เปลย่ี นแปลงของความตอ งการและอปุ ทาน • เม่ือสินคาคงคลังลดลงแตบริษัทไมทราบหรือไมชัดเจนในจุดส่ัง จนกระท่ังสินคาคงคลังหมด จึง ตองทาํ การส่ังเตมิ ยกเวน การใชเ ทคนิคการตรวจนบั แบบรอบเวลา • ขนาดปรมิ าณการส่ัง คอื ปรมิ าณทส่ี มดลุ ตนทนุ การส่ังและตน ทนุ การจดั เก็บสินคา • สินคาคงคลังสํารองตองมีพรอมอยูตลอดเวลาเพ่ือปองกันสินคาขาดสต็อก เพ่ือสนองตอความ ตอ งการและอปุ สงคท ีผ่ นั แปร • ในทางสถิตแิ ลว สนิ คาคงคลัง = 1½ ของปริมาณการสัง่ + สินคา คงคลงั สาํ รอง โครงการสนับสนุนโดยสาํ นักโลจสิ ติกส กรมอตุ สาหกรรมพ้นื ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 99

หลักสูตรการจดั การโลจสิ ตกิ สและซพั พลายเชนระดับปฏบิ ัตกิ าร     Copyright © SCM EEI   โครงการสนับสนนุ โดยสํานักโลจิสติกส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร (กพร.) 100

หลกั สูตรการจัดการโลจสิ ตกิ สแ ละซัพพลายเชนระดบั ปฏบิ ตั กิ าร    ระบบการเตมิ สินคา คงคลงั (Inventory Replenishment System) ในสภาพแวดลอมที่ความตองการคงท่ี เวลานําสงสินคาตรงตามกําหนด บริษัทไมจําเปนตองมีการ เก็บสินคาคงคลังหรือเก็บในปริมาณไมมาก ขณะที่บริษัทลดตนทุนคาถือครองสินคาคงคลังอยางตอเนื่อง ผูวางแผนสินคาคงคลังสามารถเลือกใชระบบการเติมสินคาคงคลังไดอยางเหมาะสม บางระบบใชหลักการ งา ยๆ แตบางระบบตอ งใชการคาํ นวณทซ่ี บั ซอ นและใชร ะบบคอมพิวเตอรเ ขา มาชว ย ระบบการตรวจสอบการเติมสนิ คา คงคลังมดี ังตอไปน้ี • ระบบใชสายตาพจิ ารณา (Visual Review System) เปนเทคนิคที่งาย โดยสามารถตรวจสอบปริมาณ สินคาคงคลังคงเหลือจากการมองเห็นระดับสินคาคงคลัง เม่ือเห็นวาปริมาณสินคาคงคลังลดลงถึง จดุ ทีค่ วรสง่ั จงึ ทาํ การสัง่ สนิ คามาเตมิ ใหเพียงพอตอ ระดบั ของสินคา คงคลงั ทีก่ ําหนด • ระบบสองกระบะ (Two-Bin System) ระบบนี้เปนระบบการสั่งเติมที่ตายตัว สินคาจะถูกเก็บอยูใน ภาชนะ 2 ชุด เชน ใชกลอง 2 กลอง กลองหน่ึงอยูในท่ีพื้นที่ทํางาน และกลองที่สองอยูในพื้นท่ี สาํ รองเมื่อกลอ งท่หี นึ่งถูกใชจนหมด จึงนํากลองท่ีสองมาใช ขณะเดียวกันกลองที่หนึ่งถูกนําไปเติม วธิ ีนเี้ หมาะสําหรบั สินคาที่มีมลู คา ตํา่ และไมตอ งบันทกึ ปริมาณการใช จดุ เดน ของวธิ ีนค้ี ือลดปริมาณ งานทไ่ี มส าํ คญั • ระบบตรวจสอบเปนระยะ (Periodic Review) ระบบนี้สินคาคงคลังแตละรายการจะมีรอบการ ตรวจสอบท่ตี ายตวั และจะเติมสินคา คงคลังใหเตม็ ทกุ คร้งั ทีม่ ีการตรวจสอบ • ระบบจุดสั่งซ้ือ (Order Point) ระบบน้ีใชปริมาณสินคาคงคลังที่ถูกจัดเก็บเปนตัวเตือน ตองคํานวณ เปา ระดบั จดั เก็บเชงิ สถิติ เม่ือปรมิ าณสนิ คาคงคลงั ลดลงถงึ ต่ํากวา จดุ เตอื น จงึ ทาํ การส่งั สนิ คามาเตมิ • ระบบจุดส่ังตามชวงเวลา (Time Phased Order Point :TPOP) TPOP ระบบน้ีใชคอมพิวเตอรในการ ระบุปรมิ าณความตองการสินคาคงคลัง ชว งเวลาทตี่ รงกบั ความตองการของลกู คา และเม่ือถึงจุดการ สงั่ ซื้อไดพ ยากรณความตองการไว จึงทําการส่งั สนิ คา มาเตมิ เทคนคิ นเี้ ปน หวั ใจเร่ือง MRP • ระบบทนั เวลาพอดี (Just-In-Time:JIT) หลกั การน้ีใชบ ตั รเตือน kanban เม่อื ถึงจุดท่ตี อ งสั่งของมาเติม • หาจุดเหมาะสมในโซอุปทาน (Supply Chain Optimization) การวางแผนของระบบน้ีชวยเพิ่ม ประสิทธิภาพของสินคาคงคลังในโซอุปทานทั้งระบบ ในบริษัทที่ใชระบบวางแผนความตองการ วสั ดุ (MRP) และ แผนการกระจายสินคา หรือวัสดุ (DRPX) โครงการสนบั สนนุ โดยสาํ นักโลจิสตกิ ส กรมอตุ สาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 101  

หลกั สูตรการจัดการโลจสิ ติกสและซพั พลายเชนระดบั ปฏิบตั กิ าร     Copyright © SCM EEI    Copyright © SCM EEI   โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจสิ ตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร (กพร.) 102

หลกั สูตรการจัดการโลจสิ ตกิ สและซพั พลายเชนระดบั ปฏบิ ตั ิการ    ระบบการเตมิ สนิ คา คงคลงั : ระบบใชส ายตาพจิ ารณา (Visual Review System) เปนเทคนิคการเติมสินคาคงคลังโดยการตรวจสอบปริมาณของสินคาคงคลังคงเหลือดวยการใช สายตากะระดับสินคาคงคลัง หากระดับสินคาคงคลังลดตํ่าลงจึงทําการส่ังเติมสินคาคงคลังตามปริมาณท่ี กําหนด ระดับการเติมคํานวณโดยใชกฎการตัดสินใจงายๆ เชน สั่งเติมสินคาคงคลังเม่ือระดับสินคาคงคลัง ในภาชนะลดลงเหลอื ครึง่ หนง่ึ เปน ตน คาํ ถาม • สินคาประเภทใดเหมาะสาํ หรับระบบใชสายตาพิจารณา • อะไรคือขอ ไดเ ปรยี บของระบบใชสายตาพจิ ารณา • อะไรคือขอเสียเปรียบของระบบใชสายตาพจิ ารณา • เราจะสามารถนาํ เอาเทคนคิ ของระบบใชส ายตามาใชใ นสภาพแวดลอ มการผลติ ไดอยางไร ระบบการเติมสนิ คา คงคลงั : ระบบสองกระบะ (2 Bin System) เทคนิคนเี้ ปนการเติมของระบบการสั่งซื้อคงท่ี (Fixed Order System) สินคาถูกบรรจุอยูในภาชนะ 2 หนว ย เชน กระบะ กระบะท่หี น่ึง อยทู ่ีจดุ หยบิ ใชห รอื พ้ืนทีป่ ฏบิ ตั กิ าร และอีกกระบะเปนกระบะสํารองที่เก็บ ไวในหองสตอก เม่ือกระบะท่ีอยูในพื้นที่หยิบใชหมด (ซ่ึงเปรียบเสมือนตัวเตือนใหทําการเติม และทําการ ส่งั ซอื้ ) จึงนาํ กระบะสํารองเติมเพอ่ื การใชงานตอ ไป การนาํ เทคนิคระบบสองกระบะมาใช ควรพิจารณาประเด็นตอ ไปน้ี • ดีทีส่ ดุ สาํ หรบั รายการท่มี รี าคาต่าํ จาํ นวนมาก ปริมาตรตา่ํ และเวลาทใ่ี ชในการนํามาเตมิ สัน้ • ไมถูกกระทบตอการเปลีย่ นแปลงของความตอ งการ และมีปริมาณการสั่งซอ้ื คงท่ี • ขอ สาํ คญั ในการเลือกหลักการนี้คือจับคูระดับการควบคุมคาใชจายท่ีตองการ กับมูลคาของสินคาคง คลงั แตล ะรายการ • กฎพื้นฐานของการใชระบบสองกระบะคอื ของจะไมข าดมือ โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจสิ ติกส กรมอตุ สาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 103  

หลกั สูตรการจัดการโลจสิ ติกสและซพั พลายเชนระดบั ปฏิบตั กิ าร     Copyright © SCM EEI    Copyright © SCM EEI   โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจสิ ตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร (กพร.) 104

หลักสูตรการจัดการโลจสิ ติกสและซัพพลายเชนระดบั ปฏิบตั ิการ    ระบบการเตมิ สินคาคงคลงั : ระบบตรวจสอบเปน ระยะ (Periodic Review System) พื้นฐานของระบบตรวจสอบเปนระยะ คือรอบตรวจสอบคงที่ ปริมาณการส่ังแปรผัน เม่ือต้ังวงจร ระบบตรวจสอบ ตองคํานวณวาตองตรวจสอบก่ีคร้ังในหน่ึงปหรือเดือน ต้ังเปาระดับสินคาคงคลังสูงสุด ระดบั น้ีจะทาํ หนาที่เปรียบเสมือนระดับการสั่งที่เหมาะสม (Order-Up-to Level) เม่ือมีการตรวจสอบรายการ สินคาคงคลังตามเวลาที่ไดกําหนดไว ยอดคงเหลือสุทธิลบปริมาณระดับสูงสุดท่ีต้ังเปา ผลลัพธท่ีไดคือยอด เบิกจา ยสนิ คาคงคลังเพ่ิมเตมิ จะไมมีการตรวจสอบสนิ คาคงคลงั อกี จนกวา จะถึงรอบถดั ไป การคํานวณเทคนิคระบบตรวจสอบเปนระยะนนั้ มี 2 สตู ร หนงึ่ คือ สตู รคาํ นวณรอบตรวจสอบการส่งั ซื้อ และ สอง คอื สตู รคํานวณระดบั สูงสดุ ของการสั่งท่เี หมาะสม รอบตรวจสอบการส่ังซ้ือคํานวณโดย หารจํานวนท่ีรายการน้ันถูกขายไปในหน่ึงป ดวย EOQ หากปริมาณ การใชในหน่ึงปคือ 2,000 หนวย EOQ คือ 100 และมีวันทํางาน 340 วันในหน่ึงป ดังนั้นรอบตรวจสอบคิด ไดเปน 17 วัน [340/2,000/100] ตัวอยาง บรษิ ทั คาซิ จาํ กดั ไดมีการคํานวณการจําหนายหัวเทียนรายการหนึ่งซ่ึงใชระบบตรวจสอบ เปนระยะ ในหนึ่งปมีการจําหนายหัวเทียนจํานวน 52,000 หัว หารดวยจํานวนการส่ังมาตรฐานท่ีสั่งทุกๆ สองสปั ดาห ผวู างแผนสนิ คา คงคลังไดใ หขอ มลู ทเ่ี กีย่ วขอ งเพิ่มเตมิ ดงั นี้ อัตราการใช (Usage Rate: D) = 1,000 หนวย/อาทิตย รอบการตรวจสอบ (Review Cycle: RC) = 4 อาทิตย เวลานํา (Lead Time: LT) = 2 อาทติ ย สนิ คาคงคลังสาํ รอง (Safety Stock) = 500 หนว ย สินคาคงคลงั ในมือ (On Hand: I) = 2,250 หนวย ข้ันทหี่ นง่ึ คํานวณ ปรมิ าณระดบั การสัง่ (Order –Up-to Level (TI) สตู รคอื TI = D x (RC + LT) + SS ดงั น้ัน TI = 1.000 (4+2) + 500 = 6,500 เม่ือไดคา ปริมาณระดับการสั่งแลว ผูวางแผนจะสามารถคํานวณข้ันตอไปคือ ปริมาณสินคาคงคลังที่ตองสั่ง เทาไร เพื่อใหสินคาคงคลงั มปี รมิ าณ 6,500 เทา เดมิ คํานวณไดโ ดย OQ = TI – I ดังน้ัน OQ = 6,500 – 2,250 [สนิ คาในมอื ปจ จุบัน] = 4,250 หนว ย แบบฝกหัด หากผูจ ัดจําหนางแจงผวู างแผนวา ขณะนี้เวลาทใี่ ชส ง สินคาเปน สามอาทิตย และมีการคํานวณยอดขายใหมได เทากับ 1,250 หนว ยตอ อาทติ ย ปรมิ าณการส่งั สนิ คา ตอ งเปน เทาใด คาํ ตอบ โครงการสนบั สนนุ โดยสํานักโลจสิ ติกส กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 105  

หลกั สูตรการจัดการโลจสิ ติกสและซพั พลายเชนระดบั ปฏิบัติการ     Copyright © SCM EEI    Copyright © SCM EEI   โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจสิ ติกส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 106

หลกั สูตรการจัดการโลจสิ ติกสและซัพพลายเชนระดับปฏิบตั ิการ    การใชร ะบบตรวจสอบเปนระยะ (Use of Periodic Review System) มีเหตุผลมากมายที่นักวางแผนสินคาคงคลังพิจารณาเลือกใชหลักการตรวจสอบเปนระยะ ซ่ึง ผลิตภณั ฑเ หลา น้ันตอ งมีลกั ษณะดังตอ ไปน้ี • สินคา เปน สินคาเนา เสียงา ย อายุส้ัน เชน ผลิตภัณฑอาหาร และสารเคมี • การสั่งซ้ือสินคาปริมาณมากจะไดราคาตอหนวยท่ีถูกกวา เพื่อใหไดการสั่งซ้ือในราคาที่ประหยัด จึง ส่ังซ้ือครง้ั ละมากๆ • การส่งั สนิ คาหลายรายการจากแหลงเดยี วกันหรอื ผูจ ดั หาเจาเดยี ว และมาสงพรอมกันจะทําใหป ระหยดั คา ใชจ าย • การติดตามและลงบัญชีธุรกรรมของการออกใบสั่งซ้ือรายการสินคาคงคลังท่ีมีมูลคานอยแตมาก รายการ กอ ใหเ กดิ คาใชจ า ยทีส่ ูงขน้ึ • คา ใชจ ายในการสง่ั ซ้อื ตา่ํ ; ฉะนั้นการสงั่ ซือ้ ในชว งส้ันจึงไมเ ปน ประเดน็ ปญหา ระบบการเตมิ เตม็ สนิ คา คงคลงั : ระบบจุดส่ัง (Order Point: OP) ระบบจุดส่ังถูกออกแบบในการจัดการรายการสินคาคงคลังท่ีมีราคาแพงและมีปริมาณมากอยางมี ประสิทธิภาพ ในการคํานวณเพ่ือใหเขาใจในสว นประกอบและกลไกของการบรหิ ารจดั การเติมสินคาคงคลัง โดยใชร ะบบจดุ ส่ัง จงใหค วามหมายคาํ ตอไปนี้ • ความตอ งการ/อปุ สงค (Demand: D) • เวลานาํ (Lead Time: LT) • สนิ คา กันชน (Safety Stock: SS) สูตรการหาจดุ สัง่ (OP) OP = Demand x Lead Time + Safety Stock โครงการสนับสนุนโดยสาํ นักโลจสิ ตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 107  

หลกั สูตรการจัดการโลจสิ ติกสและซพั พลายเชนระดับปฏิบตั กิ าร     Copyright © SCM EEI    Copyright © SCM EEI   โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจสิ ตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร (กพร.) 108

หลักสูตรการจัดการโลจิสตกิ สแ ละซพั พลายเชนระดับปฏบิ ตั ิการ    พ้ืนฐานระบบจดุ สัง่ (Order Point (OP) Basic): แบบจุดเตอื น (Trigger Point) จากสไลดจ ะเหน็ วา มีสวนประกอบสาํ คญั อยู 3 ประการคือ 1. ปริมาณ (จํานวนของรายการสินคา คงคลังทใี่ หมา) 2. เวลา (เวลาทใี่ ชใ นการไหลของสนิ คา คงคลงั ท่ีเขาและออกจากสตอ็ ก) 3. ความตองการ (ความตอ งการของรายการสนิ คา คงคลงั ท่ใี หมา) จุดส่ังซ้ือคือเปาของปริมาณสินคาคงคลังท่ีคํานวณสําหรับสินคาคงคลังแตละรายการ จํานวนของจุดส่ังซื้อ คํานวณไดจากความตองการ คูณกับเวลานํา เชนเม่ือมีความตองการของสินคาตออาทิตยเฉลี่ย 100 หนวย และเวลานําของผูจัดจําหนายคือสองสัปดาห จุดส่ังซื้อคือ 200 หนวย ถาความตองการไมผันแปร สินคาจะ ถกู จําหนา ยไปจนหมดพอดีเมื่อสินคา ที่สงั่ มาเติมสง มาถงึ OP = D x LT = 100 x 2 weeks OP = 200 แบบฝกหัด บริษัท คาซิ จํากัด จําหนายของรายการ AB4001-11 ยอดขายเฉล่ียตอเดือนเทากับ 1,400 ช้ิน สินคา กันชนคือ 125 หนวย บริษัทเปดทําการ 5 วันตอสัปดาหหากเวลาท่ีใชในการสงมอบของผูจัดจําหนายคือ 7 วนั ทาํ การ ปรมิ าณของจุดสัง่ ซ้อื จะตองเปนเทา ไร คําตอบ โครงการสนับสนนุ โดยสาํ นักโลจิสตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพนื้ ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 109  

หลกั สูตรการจัดการโลจสิ ติกสและซพั พลายเชนระดับปฏิบตั กิ าร     Copyright © SCM EEI    Copyright © SCM EEI   โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจสิ ตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร (กพร.) 110

หลักสูตรการจัดการโลจิสติกสแ ละซพั พลายเชนระดับปฏบิ ัตกิ าร    ระบบจดุ สั่งซอื้ – ความเปน ไปไดของความตอ งการแปรผัน (Potential Demand Variation) เม่ือการใชสินคาคงคลังลดลงจนถึงจุดเตือน (Trigger Point) ผูวางแผนสินคาคงคลังตองทําการ ปลอยคําส่ังของมาเติม ระหวางรอสินคาที่ส่ังมาเติมอาจเกิดเหตุไมคาดคิดหลายอยางเชน ความตองการของ สินคาน้ันมากจนสินคาคงคลังในชวงวงจรสั่งซ้ือหมดกอนสินคาท่ีส่ังเติมสงมาถึง ในกรณีน้ียอมทําใหเกิด สินคาขาดสต็อก ตามสถิตแิ ลวจะเกิดเหตุการณเชน นถ้ี ึง 50% ระบบจดุ ส่งั ซอ้ื – สนิ คาคงคลังสาํ รอง (Safety Stock) จากทีไ่ ดกลา วมาแลวขางตนวาสินคาคงคลังสํารองเปนสินคาที่มีไวเพ่ือปองกันสินคาขาดมือ ดังนั้น จึงตองเพ่ิมสนิ คา คงคลงั สาํ รองเขาไปในสนิ คาคงคลังชว งท่จี ะสัง่ ซอื้ เมอื่ คํานวณหาจุดสง่ั ซือ้ แบบฝกหดั สินคารายการหนึ่งมียอดขายเฉลี่ย 2,500 ช้ิน ตอสัปดาห ผูจัดจําหนายใชเวลานําสงสองสัปดาห ผูจัดการ สินคาคงคลงั สั่งของ 10,000 ชน้ิ เมอื่ สินคาคงคลงั ถูกขายไปจะเหลือ 6,000 ชิ้น 1. ปริมาณสินคา คงคลงั สาํ รองเทากบั เทา ไร คําตอบ โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจสิ ติกส กรมอตุ สาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 111  

หลกั สูตรการจัดการโลจสิ ติกสและซพั พลายเชนระดบั ปฏิบตั กิ าร     Copyright © SCM EEI    Copyright © SCM EEI   โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจสิ ตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร (กพร.) 112

หลกั สูตรการจัดการโลจสิ ติกสและซพั พลายเชนระดับปฏิบัติการ    ตอนท่ี 1 การคาํ นวณหาสนิ คาคงคลังสาํ รอง จากตารางเปนการพยากรณความตองการ 1,000 หนวย ในชวงระยะเวลา 10 สัปดาห และยอด จาํ หนายจรงิ ของแตล ะสัปดาห เมือ่ นาํ ยอดจําหนายจริงมาจับคกู บั คาทพี่ ยากรณ จะไดคาแปรผนั แบบกวางๆ ตัวอยาง ยอดจําหนายสูงสุดคือ 1,424 หนวย ในเดือนท่ี 6 ในขณะท่ียอดจําหนายตํ่าสุดคือ 550 หนวยใน สัปดาหที่ 1 ถาสินคาคงคลังถูกเก็บเทากับจํานวนท่ีพยากรณคือ 1,000 หนวย สินคาก็จะหมดสต็อกใน สัปดาหที่ 2, 3, 4, 6 และ 9 เพ่ือปองกันการเกิดสินคาขาดมือในอนาคต ผูวางแผนจึงตองมีแผนสําหรับสินคา คงคลงั สํารอง (Safety Stock) การหาคาสินคาคงคลังสํารอง ผวู างแผนตองหาคา Standard Deviation (s) จะหาไดจากคา Deviation ของยอดขายจรงิ เทยี บกับความตอ งการที่พยากรณโ ดยสามารถเลือกหลักคิดอยา งใดอยางหนึง่ ตอ ไปนี้ 1. ใชคา Absolute Deviation คอื 2,649 หนว ย 2. ใชค า Squared Deviation คอื 841,001 หนวย ตอนท่ี 2 การคํานวณหาคา Standard Deviation เม่ือไดคา Squared Deviation หรือ Absolute Deviation แลว การคํานวณ Standard Deviation ทําได 2 วิธี ดังน้ี 1. หลกั การคาํ นวณทแี่ มน ยําทีส่ ดุ คอื นํา Squared Deviation หารดวยจาํ นวนของชอ งระยะเวลา และ ถอด Squared Root จะไดคา Standard Deviation แบบไมมี Bias 2. วิธีท่ีงายกวาแตความแมนยํานอยกวาวิธีขางตน คือการหาคา Mean Absolute Deviation (MAD) คือหาร Absolute Deviation ดวยจํานวนของระยะเวลา จากนั้นคูณดวย Mean Absolute Deviation Safety Factor ของ 1s หรือ 1.25 (คานี้หาไดจ ากสไลดถ ดั ไป) สังเกตไดวา ระหวางการคํานวณหา Standard Deviation ท้ังสองวิธี การหาโดยใช Squared Deviation นั้นแมนยํากวาการหาคาโดยใช MAD ประโยชนของการใช MAD คือ ไมตองใชการคํานวณมากและ ใกลเคียงกบั การนํามาใชจรงิ โครงการสนับสนุนโดยสาํ นักโลจิสตกิ ส กรมอตุ สาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 113  

หลกั สูตรการจัดการโลจสิ ติกสและซพั พลายเชนระดบั ปฏิบัติการ     Copyright © SCM EEI    Copyright © SCM EEI   โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจสิ ติกส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 114

หลกั สูตรการจัดการโลจิสติกสแ ละซพั พลายเชนระดับปฏิบัตกิ าร    การคาํ นวณสินคา คงคลงั สาํ รอง (Calculating the Safety Stock) ผูวางแผนสินคาคงคลังบริษัท คาซิ จํากัด ตองการคํานวณสินคาคงคลังสํารองของสินคาตัวหน่ึง ฝายขาย ระบุวาหากมีสนิ คา คงคลังสาํ รองจะชวยสนับสนุนระดบั การบริการลูกคาไดถึง 99% หลังจากที่ไดตรวจสอบ ประวตั ขิ องสนิ คารายการน้ีแลว ผูวางแผนไดค ํานวณ Standard Deviation ไดเทา กบั 290 หนว ย เวลานําของผู จดั จําหนายคือ 2 สัปดาห 1. สินคา คงคลงั สํารอง (ss) เทากับเทา ไหร คําตอบ 2. จุดสัง่ ซ้ือ (OP) เทากบั เทา ไหร คาํ ตอบ หลังจากน้ัน 6 เดือน ฝายขายไดแจงวาความตองการในสินคาดังกลาวจําเปนตองมีเพิ่มขึ้นเพ่ือสนับสนุน ระดับการใหบรกิ ารลูกคา ที่ 99.86% นอกจากนัน้ ผูจ ดั จําหนา ยไดเปลี่ยนเวลานําเปน 3 สปั ดาห 1. สนิ คาคงคลังสาํ รองใหมเทา กับเทาไหร คําตอบ 2. จดุ สงั่ ซอ้ื เทา กับเทาไหร คําตอบ การคํานวณปริมาณการสัง่ (Determining the Order Quantity) ตนทนุ ทส่ี ําคญั 2 ประเภทของการเตมิ สนิ คา คงคลงั คอื 1. คา ใชจ ายในการออกคาํ ส่งั โปรดระบุคา ใชจ ายทเ่ี กยี่ วของกบั การออกคําส่งั ซือ้ มีอะไรบา ง… 2. คาใชจายในการถอื ครองสินคาคงคลงั ตน ทนุ เหลานเี้ ก่ียวขอ งกับ ขนาด มูลคา และเวลาท่ีสินคาคงคลัง อยใู นคลงั สนิ คา โปรดระบคุ า ใชจายท่เี กยี่ วขอ งกบั คาถอื ครองสนิ คา คงคลงั … ปริมาณการส่ังตองเหมาะสมกับคาการถือครองสินคาคงคลังและคาออกคําส่ัง สามารถหาคานี้ไดโดยหา ปรมิ าณส่งั ซ้อื ที่ประหยดั (Economic Order Quantity: EOQ) โครงการสนับสนุนโดยสาํ นักโลจิสตกิ ส กรมอตุ สาหกรรมพ้นื ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 115  

หลกั สูตรการจัดการโลจสิ ติกสและซพั พลายเชนระดบั ปฏบิ ัตกิ าร     Copyright © SCM EEI    Copyright © SCM EEI   โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจสิ ติกส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 116

หลกั สูตรการจัดการโลจสิ ตกิ สและซัพพลายเชนระดับปฏบิ ตั ิการ    ตน ทนุ ในการเตมิ สินคาคงคลงั เม่ือผูวางแผนลดจํานวนการสง่ั จะชว ยลดคาใชจ า ยในสว นของคา ออกคาํ ส่งั ซง่ึ ตอ งทาํ การสงั่ ของ คร้ังละปริมาณมากๆ เพ่ือใหเพียงพอตอการสนองความตองการของลูกคา แตเมื่อปริมาณสินคาคงคลังเพ่ิมก็ จะตองมีคาการถือครองสินคาคงคลังท่ีเพ่ิมข้ึนตามมาเชนเดียวกัน และหากลดคาการถือครองสินคา คงคลัง คาออกคําส่ังก็จะเพ่ิมขึ้น วัตถุประสงคของผูวางแผนคือการหาคาเพ่ือใหสัดสวนของตนทุนท้ังสอง สมดุลกันปรมิ าณการส่งั ซอ้ื ท่ปี ระหยัด (EOQ) เปน ระบบสนิ คา คงคลงั ทีใ่ ชกนั อยางแพรห ลายมานานระบบน้ี ใชกับสินคาคงคลังท่ีมีลักษณะของความตองการอิสระ ไมเก่ียวของกับความตองการของสินคาคงคลัง รายการอนื่ จึงตองมกี ารวางแผนความตอ งการดวยวธิ พี ยากรณค วามตอ งการของลูกคา โดยตรง ระบบปริมาณการสั่งซื้อท่ีประหยัดจะพิจารณาตนทุนรวมของสินคาคงคลังท่ีต่ําที่สุดเปนหลัก เพ่อื กาํ หนดปรมิ าณการสั่งซอ้ื ตอ ครง้ั เรียกวา “ปรมิ าณการสงั่ ซ้อื ทีป่ ระหยดั ” จากตารางเปนการหาปริมาณการส่งั ซือ้ ทป่ี ระหยัด ตนทุนคา ส่ังซอื้ หาไดโดยสูตรดังน้ี » ตนทนุ คาสั่งซือ้ x สนิ คา คงคลังในหน่งึ ป x ปรมิ าณการสง่ั ซ้ือ การคาํ นวณทสี่ องคือคดิ คา การถือครองสินคาคงคลัง » ปริมาณการสง่ั x คาการถอื ครองสนิ คา x ตนทนุ ตอ หนวย / 2 หลังจากทไ่ี ดคาํ นวณเสร็จแลว ตรวจสอบคาํ ตอบทค่ี าํ นวณไดโดยใชห ลกั Trail and Error Method กรณีตัวอยาง จะคํานวณไดโดยปริมาณการใชท้ังป 24,000 หนวย ตนทุนตอหนวย ฿0.25 คาออกคําสั่ง ฿20 คา ถือครอง 24% คาํ นวณแลว ไดค าออกคําส่งั ฿240 คาถอื ครองสินคา ฿60 คําถามคือปริมาณการส่ังที่เหมาะสมควรจะเปนเทาไรลองคํานวณดวยปริมาณการส่ังซื้อที่ตางกันเพ่ือหา ปริมาณปรมิ าณการสัง่ ทเ่ี หมาะสม ปริมาณการส่ังทีเ่ หมาะสมคอื เทา ไร คาํ ตอบ โครงการสนบั สนุนโดยสํานักโลจิสตกิ ส กรมอตุ สาหกรรมพ้นื ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 117  

หลกั สูตรการจดั การโลจสิ ตกิ สและซัพพลายเชนระดบั ปฏิบัติการ     Copyright © SCM EEI    Copyright © SCM EEI   โครงการสนับสนนุ โดยสํานักโลจสิ ตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 118

หลักสูตรการจัดการโลจสิ ตกิ สแ ละซพั พลายเชนระดับปฏิบตั ิการ    กราฟ EOQ จากกราฟ สว นประกอบสําคญั ของกราฟ EOQ ประกอบดว ย คา ออกคาํ ส่งั สทุ ธิ : คือแกนแนวตัง้ ปรมิ าณการสง่ั : คือแกนแนวนอน คา ถอื ครองสินคา คงคลงั : แสดงโดยเสนทึบ คาออกคําส่ัง : แสดงโดยเสน ปะ จากกราฟ ปริมาณการส่งั ทเ่ี หมาะสมคือ 40,000 หนว ย คอื จุดที่คา ถือครองและคา ออกคาํ สงั่ ตดั กนั พอดี การคํานวณ EOQ จากสไลด ใหหาคา EOQ โดยใชสูตร แบบฝกหดั นักวางแผนบริษทั คซิ ิ จํากดั ตองคาํ นวณ EOQ ของรายการหน่ึง โดยมขี อมูลดังตอ ไปน้ี a. ความตอ งการในหน่งึ ป = 20,000 b. คาออกคาํ ส่ัง = 125 บาท C. ตน ทนุ รายการตอหนวย = 34 บาท d. คา ถือครองสนิ คา คงคลัง = 21% EOQ เทากับเทาไร คําตอบ โครงการสนับสนนุ โดยสาํ นักโลจิสติกส กรมอตุ สาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 119  

หลักสูตรการจดั การโลจสิ ตกิ สและซพั พลายเชนระดับปฏบิ ตั กิ าร     Copyright © SCM EEI  โครงการสนับสนนุ โดยสํานักโลจิสติกส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร (กพร.) 120

หลักสูตรการจดั การโลจิสติกสและซพั พลายเชนระดับปฏบิ ตั กิ าร    กระบวนการวางแผนการเตมิ สินคาคงคลงั (Replenishment Planning Process) กระบวนการวางแผนมีขน้ั ตอนดงั น้ี 1. ความถูกตอ งแมนยําของสินคาคงคลังคงเหลือ ข้ันที่หนึ่งคือการหาคาท่ีถูกตองของสินคาคงคลังคงเหลือ ของบรษิ ทั 2. เวลานําสง สนิ คาคงคลงั /สินคาคงคลังสํารอง ในข้ันท่ีสอง เนนเร่ืองการไดขอมูลที่ถูกตองของเวลานําสง ของผูจดั จาํ หนา ยสินคา คงคลงั แตละรายการ 3. ความถูกตอ งของจดุ เตือน ในข้นั ตอนท่สี ามตอ งตรวจสอบความถูกตองของรูปแบบการออกคําสั่งท่ใี ช 4. ความถูกตองของปริมาณการส่ัง เปนข้ันตอนสุดทายในกระบวนการวางแผนคือ ตรวจสอบและต้ังคา ปริมาณการสงั่ ใหมใหถ ูกตอ ง โครงการสนับสนนุ โดยสาํ นักโลจิสตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 121  

หลกั สูตรการจดั การโลจิสติกสและซพั พลายเชนระดับปฏิบัติการ    โครงการสนบั สนุนโดยสํานักโลจสิ ติกส กรมอตุ สาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 122  

หลกั สูตรการจัดการโลจิสตกิ สและซัพพลายเชนระดับปฏิบตั ิการ    การบริหารจดั การสินคา คงคลังและคลังสินคา Fundamentals of Inventory and Store Management รายละเอียดหวั ขอการอบรม / Course Content บทเรยี นท่ี 1 / Session 1 การบรหิ ารจัดการสินคา คงคลงั Fundamentals of Inventory Management บทเรยี นที่ 2 / Session 2 เปา หมายและหนา ทข่ี องสินคา คงคลงั Purpose and Function of Inventory บทเรยี นท่ี 3/ Session 3 การบรหิ ารจัดการเติมสนิ คาคงคลงั Inventory Replenishment Management บทเรียนที่ 4 / Session 4 เทคนคิ การจดั การสนิ คา คงคลังและการวัดการดําเนนิ การของสินคา คงคลงั Inventory Management Techniques and Inventory Performance บทเรียนท่ี 4 / Session 4 เทคนิคการจดั การสินคาคงคลังและการวดั การดาํ เนินการของสินคาคงคลงั Inventory Management Techniques and Inventory Performance บทเรียนท่ีแลวเปนการเรียนรูเกี่ยวกับสูตรการคํานวณพ้ืนฐานของการบริหารการเติมสินคาคงคลังใน สภาพแวดลอมของความตองการอิสระ การคํานวณสินคากันชน การอธิบายความแตกตางระหวางการ ทบทวนสินคาคงคลังแบบชวงเวลาและการทบทวนสินคาคงคลังแบบตอเนื่อง ระบุหลักการเติมสินคาคงคลัง ท้ัง 7 ประเภท และการคํานวณหาปริมาณการสั่งซ้ือท่ีประหยัด (EOQ) และทบทวนประบวนการวางแผน สินคาคงคลัง ในบทเรียนนี้ ผูเขาอบรมจะไดเรียนรูเก่ียวกับประเด็นพ้ืนฐานของการบริการสินคาคงคลังอยางมี ประสิทธิภาพดงั น้ี : • เทคนิคการบรหิ ารจดั การสนิ คา คงคลัง • การจัดประสทิ ธิภาพของสนิ คาคงคลงั • งบการเงินและสินคา คงคลงั • การควบคุมสินคาคงคลงั โดยใช ABC Inventory Control • เครอ่ื งมือวดั ความถกู ตอ งของสนิ คา คงคลัง • การตรวจนับสนิ คา คงคลงั • การเทยี บการตรวจนบั ตามรอบเวลาเชงิ กายภาพ กับการตรวจนับตามรอบ โครงการสนับสนนุ โดยสาํ นักโลจิสติกส กรมอตุ สาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 123  

หลักสูตรการจัดการโลจิสติกสและซพั พลายเชนระดบั ปฏิบัติการ     Copyright © SCM EEI    Copyright © SCM EEI   โครงการสนับสนนุ โดยสาํ นักโลจิสตกิ ส กรมอตุ สาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมืองแร (กพร.) 124  

หลักสูตรการจดั การโลจิสติกสแ ละซัพพลายเชนระดับปฏิบัติการ    วตั ถุประสงคก ารเรยี นรู • การนําเทคนคิ การจดั การสนิ คา คงคลงั มาใชงาน • มคี วามเขาใจและสามารถวางแผนโดยใชระบบจุดสัง่ ตามระยะเวลา (Time-Phased Order Point: TPOP) • กําหนดปรมิ าณการสงั่ ซอ้ื ตามประเภทรายการ • การใชง บการเงินและสนิ คา คงคลัง • คํานวณอัตราทีเ่ กีย่ วขอ งกับการหมนุ เวยี นของสนิ คาคงคลงั • ระบเุ ครอ่ื งมือในการจัดการประสทิ ธิภาพสนิ คาคงคลัง • ทาํ ความเขาใจและใชก ารควบคุมสินคาคงคลงั แบบ ABC • สรางเครอื่ งมอื วัดความถูกตองของสนิ คา คงคลัง • ทาํ ความเขาใจและสรา งโปรแกรมวงจรการนับ โครงการสนับสนนุ โดยสํานักโลจิสติกส กรมอตุ สาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 125  

หลกั สูตรการจัดการโลจิสติกสแ ละซัพพลายเชนระดบั ปฏิบตั ิการ     Copyright © SCM EEI    Copyright © SCM EEI   เทคนิคการบรหิ ารจดั การสนิ คา คงคลงั (Inventory Management Techniques) โครงการสนับสนนุ โดยสํานักโลจิสติกส กรมอตุ สาหกรรมพน้ื ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 126

หลกั สูตรการจัดการโลจสิ ติกสแ ละซพั พลายเชนระดับปฏบิ ัติการ    เทคนคิ การบริหารจดั การสนิ คาคงคลังข้ันพ้นื ฐานมี 2 วธิ ีตอ ไปน้ี 1. ระบบจุดส่ังตามชว งเวลา (Time Phased Order Point: TPOP) 2. การเตมิ สนิ คาคงคลงั ตามรายการ (Replenishment by Item Class) 1. ระบบจดุ สัง่ ตามชวงเวลา Time Phased Order Point (TPOP) รูปแบบของ TPOP มรี ูปแบบตามท่แี สดงในสไลด ซง่ึ ประกอบดว ย • ความตองการรวม (Gross Requirement) ประกอบดวย การพยากรณ, คําส่ังซื้อของลูกคา, คําสั่ง ภายในสาขาเดียวกัน ทตี่ รงกบั ชวงเวลานนั้ ๆ • กําหนดการรับของตามตาราง (Schedule Receipts) ประกอบดวยคําสั่งซื้อท่ีปลอยออกไปและมี กําหนดการรบั ของ • สินคา ในมอื (On Hand) คือปริมาณของสนิ คา คงคลังท่เี หลอื อยเู มือ่ ชว งเวลาจบลง หาคาไดโ ดย [ปริมาณสนิ คา ทม่ี ใี นมือเมอื่ ปจ จุบัน + กาํ หนดรับของตามตาราง +สินคาทไ่ี ดร บั ตามแผน – ความตองการรวม] • ความตองการสุทธิ (Net Requirement) ประกอบดวยความแตกตางระหวางความตองการและอุปสงค หาคา ไดจ าก [สนิ คาที่มีในมอื ตอนเริ่มชวงเวลา + ของทีไ่ ดร บั ตามกําหนดเวลา – ความตองการรวม] • ไดรับสินคาตามแผน (Planned Order Receipt) ระบุสินคาท่ีส่ังไปตามแผนไดรับมอบในชวงเวลา ตามแผน • ปลอยคาํ ส่ังซื้อตามแผน (Planned Order Release) ชว งเวลาถึงจดุ สัง่ ซื้อ Time Phased Order Point (TPOP) • Lead Time = 2 เดอื น • ปรมิ าณการสง่ั ซื้อ = 1,500 หนว ย • ความตองการตอป = 12,000 หนวย • กําหนดรบั ของตามตาราง = 1,500 หนวย ใน 2 เดอื น • สนิ คา ในมอื สุทธเิ มื่อเริม่ ชวงระยะเวลา = 1,300 หนว ย • ขนาดชวงเวลา คือ เดอื น จงเตมิ คําตอบในตารางสาํ หรับชวงเวลาหกเดอื นเทา น้นั รายเดือน 1 2 3 4 56 ความตอ งการข้ันตน Gross Requirement กาํ หนดรบั ของ Schedule Receipts สนิ คา ในมือ On Hand ความตอ งการสทุ ธิ Net Requirement ไดร ับสนิ คาตามแผน Planned Order Receipt ปลอ ยคาํ สั่งซ้ือตามแผน Planned Order Release โครงการสนบั สนนุ โดยสาํ นักโลจสิ ติกส กรมอตุ สาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร (กพร.) 127  

หลักสูตรการจดั การโลจสิ ตกิ สและซพั พลายเชนระดบั ปฏิบัติการ     Copyright © SCM EEI   โครงการสนับสนนุ โดยสํานักโลจิสติกส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร (กพร.) 128

หลกั สูตรการจัดการโลจสิ ตกิ สและซพั พลายเชนระดบั ปฏิบัติการ    ขอ ไดเ ปรยี บของการใช TPOP ขอไดเปรียบของการใช TPOP แตกตางจากเทคนิคแบบจุดสั่งซื้อ ในความเปนจริงระยะเวลา และปริมาณการสั่งเติมสินคาคงคลังใชกระบวนการของ TPOP เชิงตรรกะ นอกจากระบบจุดส่ัง ระบบ สามารถสรางการส่ังการเติมสินคาลวงหนาเม่ือยอดคงเหลือลดลงตํ่ากวา 0 หรือ ลดลงถึงจุดสินคาคงคลัง สาํ รองหรอื จดุ สนิ คา กันชน (Safety Stock) ขอ ไดเ ปรยี บอน่ื ท่เี กีย่ วของมีดงั น้ี • การใชก ารเตมิ สนิ คาแบบ TPOP เปนการพิจารณาอนาคต ผวู างแผนจะคํานวณความตอ งการปริมาณ ในอนาคตได ในทางกลับกนั แบบจุดสัง่ ซ้อื ใชการพิจารณาอดีตเปนตวั นําในการตัดสินใจในการเติม สินคาคงคลัง • การเติมสินคาแบบ TPOP ชวยกําหนดวันส่ังสินคาไดอยางถูกตอง หมายถึง TPOP เปนการคํานวณ ลวงหนา ชวยใหผูวางแผนตรวจสอบการพยากรณ รายการส่ังซ้ือของลูกคา และวันครบกําหนดการ เตมิ สินคาไดอ ยางมเี หตมุ ีผล • การเติมสินคาแบบ TPOP ชวยรับมือกับปญหาของความตองการปริมาณมาก ขณะที่เทคนิคแบบจุด ส่ังซ้ือจําเปนตองใหทุกคนในองคกรคุนเคยกับเทคนิคท่ีซับซอนเชิงสถิติและผลท่ีออกมายังไม ชดั เจน • การเตมิ สินคาแบบ TPOP ชวยรบั มือกบั ปญหาเมือ่ มคี วามตองการปริมาณมาก เทคนิคแบบจุดส่ังซื้อ จะใชไ ดดที ี่สดุ เม่อื ความตองการคงที่และปริมาณนอย แตจะสะดุดเมื่อความตองการผันแปรในดาน ปริมาณและระยะเวลา • การเตมิ สินคาแบบ TPOP ชวยใหงายในการปรับการปลอยคําส่ังซ้ือ ปญหาใหญของเทคนิคแบบจุด ส่ังซื้อคือ ไมสามารถจัดการกับวันครบกําหนดและปริมาณของการปลอยคําสั่งของมาเติมเม่ือความ ตองการเปล่ยี น • การเติมสินคาแบบ TPOP ใชไดกับความตองการตามฤดูกาล แนวโนมและวงจรความตองการ เม่ือ TPOP ชวยใหผูวางแผน พิจารณาสิ่งที่จะเกิดข้ึนในอนาคต จึงสามารถท่ีจะส่ังของมาเติม ลวงหนาไดหากมลี ักษณะเหตกุ ารณด งั กลาวเกิดข้ึน • การเติมสินคาแบบ TPOP สามารถเตือนใหเติมของลวงหนาได TPOP ชวยใหผูวางแผนมองเห็น เหตุการณทีก่ ําลังจะเกดิ ขึ้นในอนาคต ดงั น้นั จึงสามารถชว ยใหจดั หาของ/สนิ คา มีประสิทธภิ าพมากข้ึน โครงการสนับสนุนโดยสาํ นักโลจสิ ตกิ ส กรมอตุ สาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 129  

หลักสูตรการจัดการโลจิสตกิ สและซพั พลายเชนระดับปฏบิ ัติการ     Copyright © SCM EEI   โครงการสนับสนุนโดยสาํ นักโลจสิ ติกส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 130  

หลกั สูตรการจดั การโลจิสติกสและซัพพลายเชนระดับปฏบิ ตั กิ าร    เทคนคิ การบรหิ ารจดั การสนิ คาคงคลงั (Inventory Management Technique) การเตมิ สินคาตามรายการ (Replenishment by Item Class) ข้ันตอนของการใชระบบแบบ ABC สาํ หรับการเตมิ สนิ คาคงคลงั มีดงั นี้ 1. แยกสินคาคงคลังออกเปน ระดบั ข้ึนอยกู บั ปริมาณการใช มูลคาเงิน หรอื เปา หมายอน่ื ๆ 2. เชอ่ื มรายการไปตามประเภท 3. ต้งั เปาคุณคา ทีจ่ ะไดรับสําหรบั แตละประเภท 4. คํานวณระดบั ใหต าํ่ กวาระดับสนิ คาลาสมยั กาํ จัดสินคา ประเภทน้อี อกจากกระบวนการ 5. หาคา ปริมาณการเตมิ สําหรบั แตล ะประเภทโดย หารปรมิ าณการใชท ั้งปดว ยคุณคาทไ่ี ดรับ 6. คํานวณสินคาคงคลังทุกรายการอยางนอยเดือนละครั้ง ข้ึนอยูกับการคาดการณการหมุนเวียนใน สนิ คา คงคลัง แบบฝก หัด รายการ #03954 ไดถูกจัดเปน ABC ประเภท “A” การเริ่มชวงเวลาในการปลอยคําส่ังซื้อ ของรายการ ประเภท “A” คือ 0.5 คูณทุกๆ เดือน ปริมาณความตองการตอปคือ 24,000 หนวย ปริมาณการสั่งซื้อตองเปน เทา ไร ความตองการตอ ป OQ = รอบท่คี าดการณ = 24,000 / 24 = 1,000 หนว ย โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจสิ ตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพนื้ ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 131  

หลักสูตรการจัดการโลจิสตกิ สแ ละซพั พลายเชนระดบั ปฏบิ ัตกิ าร     Copyright © SCM EEI   โครงการสนับสนุนโดยสาํ นักโลจิสตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร (กพร.) 132  

หลักสูตรการจดั การโลจิสติกสแ ละซพั พลายเชนระดับปฏบิ ตั ิการ    การจดั การประสทิ ธิภาพของสินคาคงคลงั เม่ือถึงจุดน้ี เราไดทบทวนหลักการเติมสินคาคงคลังมาแลว ฉะนั้น ในหัวขอน้ีจะเปนการอภิปราย เกี่ยวกับหลักการจัดการประสิทธิภาพของสินคาคงคลังและการตรวจสอบความถูกตองของสินคาคงคลัง แมวากิจการนั้นจะใชห ลกั การเติมสินคา คงคลังที่ดีท่ีสุดหรือเปนเหตุเปนผลท่ีสุด แตหากปราศจากการวัดผล อยา งมปี ระสิทธภิ าพ กไ็ รป ระโยชน ในความเปนจรงิ การรักษาความถูกตองของประสิทธภิ าพของสินคาคงคลัง อาจจะเปนงานที่สําคัญท่สี ดุ ของผวู างแผนสนิ คาคงคลัง ใหอ ธบิ ายเก่ยี วกับเครื่องมือวดั ประสทิ ธิภาพของสินคาคงคลัง ดังตอไปน้ี • งบการเงิน และสนิ คา คงคลงั (Financial Statement and Inventory) • อัตราหมุนเวยี นของสินคา คงคลงั (Inventory Turnover Ratios) • ประสิทธภิ าพสนิ คา คงคลงั (Inventory Performance) • การควบคุมสนิ คา คงคลงั โดยใชห ลกั ABC (ABC Inventory Control) • ความถูกตองของสนิ คาคงคลัง (Inventory Accuracy) • สนิ คาคงคลังชวงวงจรสงั่ ซอ้ื (Cycle Inventory) โครงการสนบั สนุนโดยสาํ นักโลจสิ ติกส กรมอตุ สาหกรรมพ้ืนฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 133  

หลักสูตรการจัดการโลจิสตกิ สแ ละซพั พลายเชนระดบั ปฏบิ ตั ิการ     Copyright © SCM EEI   โครงการสนับสนุนโดยสาํ นักโลจิสตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร (กพร.) 134  

หลกั สูตรการจัดการโลจิสตกิ สและซพั พลายเชนระดับปฏบิ ตั กิ าร    งบการเงนิ และสินคาคงคลัง การบริหารสินคาคงคลังอยางมีประสิทธิภาพ ชวยปรับผลกําไรของกิจการไดเปนอยางมาก ผลกระทบของสินคาคงคลังบนสถานภาพทางการเงินขององคกรหนึ่ง สามารถวัดไดหลายวิธี จากสไลด แสดงตัวอยางงบกําไรขาดทุน และงบดุล ที่กลาวไปแลวในบทแรก งบกําไรขาดทุนนั้นเปนการสรุปรายได รวมของกิจการลบกับตนทุนท่ีเกี่ยวของ รายจาย และภาษี เพ่ือนํามาคํานวณรายได หรือขาดทุนสุทธิใน ชวงเวลาที่ใหมา สวนงบดุลน้ันเปนรายการทรัพยสินของกิจการลบดวยหน้ีสิน ซ่ึงจะเทากับรายไดในสวน ของผูถอื หุน เอกสารเหลานใ้ี หขอ มลู แกผูบรหิ าร นักลงทุน และ เจาหนี้ วา ขณะน้ีกจิ การไดกาํ ไรหรือขาดทนุ ทบทวน ตวั วัดในหองเรียนกับผูสอน อธบิ ายตัววดั ประสทิ ธภิ าพทีส่ ําคญั ในตาราง ตารางงบดุล (Balance Sheet) : • สินทรพั ยส ินคา คงคลัง (Inventory Asset) • ทรัพยส นิ ทง้ั หมด (Total Assets) ตารางงบกําไรขาดทนุ (Income Statement) : • สินคาคงคลงั (Inventory) • ตนทนุ สินคาทข่ี ายได (Cost of Goods Sold) • รายไดส ุทธิ (Net Income) สดุ ทา ยใหท บทวนเปอรเซ็นตผลตอบแทนจากสินทรัพย จากตารางผลตอบแทนคือ 15 เปอรเซ็นตจากขอมูล ในตารางงบดลุ และตารางงบกําไรขาดทุน ซึ่งยังไมมีการเปล่ียนแปลง สินคาคงคลังลดลงจากงบดุล 3% และ ลดจากในงบกาํ ไรขาดทนุ 4% คํานวณหาผลกระทบดงั ตอ ไปนี้ • สินคา คงคลงั (Inventory) : • กําไรรวม (Gross Profit) : • เงินไดส ุทธิ (Net Income) : • ผลตอบแทนจากสินทรัพย (ROA): • ผลจากเปอรเซน็ ตเพ่มิ ใน ROA: โครงการสนบั สนนุ โดยสาํ นักโลจิสติกส กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 135  

หลกั สูตรการจัดการโลจสิ ติกสและซพั พลายเชนระดับปฏบิ ตั กิ าร     Copyright © SCM EEI    Copyright © SCM EEI   โครงการสนับสนุนโดยสํานักโลจสิ ติกส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 136

หลกั สูตรการจัดการโลจิสติกสและซัพพลายเชนระดับปฏบิ ัติการ    อัตราสว นสนิ คา คงคลงั หมุนเวียน • การวัดสินคาคงคลังหมุนเวียนอันดับแรกคือ ตนทุนสินคาท่ีขายไป หารดวยสินคาคงคลังเฉลี่ย (Cost of Goods Sold) สตู ร สนิ คา คงคลงั หมนุ เวยี น = ตน ทนุ ราคาสนิ คา ที่ขายไป / สนิ คาคงคลงั เฉล่ยี แบบฝก หดั ถาตนทนุ สินคาทข่ี ายไป = 120 ลานบาท และสินคา คงคลังเฉลย่ี = 30 ลา นบาท สนิ คา คงคลงั หมนุ เวียนเทากบั เทา ไร • สินคา คงคลงั ตอ สินทรพั ยปจ จุบัน สตู ร สนิ คาคงคลงั หมนุ เวียน = สนิ ทรพั ยป จ จบุ นั ท้ังหมด / สินคา คงคลังเฉล่ีย ตวั อยาง ถาสนิ ทรัพยร วม = 230 ลาน และสินคา คงคลังเฉลี่ย = 30 ลานบาท อัตราสนิ คา คงคลงั เทา กบั เทา ไร • สินคา คงคลงั ตอ สนิ ทรัพยทงั้ หมด สตู ร สนิ คาคงคลังหมุนเวยี น = สนิ ทรพั ยท ั้งหมด / สนิ คาคงคลงั เฉลยี่ ตัวอยา ง ถา สินทรพั ยทั้งหมด = 400 ลานบาท และสนิ คา คงคลังเฉล่ยี = 30 ลา นบาท อตั ราสว นสินคา คงคลงั เทากับเทา ไร • จาํ นวนเดือนที่สนอง หลกั การน้ีสว นใหญจะใชกบั วตั ถุดบิ และชนิ้ สวนสนิ คา คงคลัง ตัวอยา ง สนิ คา คงคลงั หมนุ เวียน 4 เดือนตอ ป คาเฉลยี่ ปรมิ าณในมือจะเทา กบั คาของ 3 เดือน • จํานวนวนั ทสี่ นอง ตวั อยาง สนิ คาคงคลังในมือ = 250 หนว ย ปริมาณการใชท้ังป = 3,500 หนวย จํานวนวันทํางาน ตามปฏิทนิ = 240 วนั จํานวนวนั ทีส่ นองเทากับเทาไร A. ปรมิ าณการใชเฉลี่ยตอ วนั = 3,500 / 240 วนั = 15(14.58) หนวยตอวนั B. จํานวนวันทมี่ ีของในมือพรอมท่ีจะสนอง = 250 หนว ย / 12 หนว ย = 17(16.66) วัน • สินทรัพยค งคลัง ตอ ตน ทุนหมุนเวียน สตู ร อตั ราสว นสนิ คา คงคลัง = สินคา คงคลัง / (สนิ ทรัพยปจจบุ นั – หน้ีสินปจจุบนั ) ตัวอยาง ถาคาเฉล่ียสินคาคงคลังเทากับ 30 ลานบาท สินทรัพยปจจุบัน = 230 บาท และหนี้สิน ปจ จบุ ัน = 5 ลา นบาท อตั ราสว นสินคา คงคลังเทา กับไร โครงการสนับสนุนโดยสาํ นักโลจิสติกส กรมอตุ สาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 137  

หลักสูตรการจดั การโลจสิ ตกิ สและซพั พลายเชนระดับปฏบิ ัติการ     Copyright © SCM EEI   โครงการสนับสนนุ โดยสํานักโลจิสติกส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร (กพร.) 138

หลกั สูตรการจดั การโลจสิ ติกสและซัพพลายเชนระดับปฏบิ ตั กิ าร    ประสทิ ธภิ าพของสินคาคงคลงั ประสิทธิภาพสินคาคงคลังสามารถวัดได 2 มุมมอง คือ มุมมองของการใหบริการลูกคา และ มุมมองของการลงทุนในสินคาคงคลัง ซึ่งท้ัง 2 มุมมองนี้ยังพ่ึงพากันอยู หากตองการระดับการใหบริการ ลูกคาสูงแตไมสนใจผลกระทบทางการเงินก็ไมได หรือลงทุนในสินคาคงคลังแตไมมีระดับการใหบริการ ลูกคามาวัดความสําเร็จของการลงทุนก็ไมมีความหมายเชนเดียวกัน จากกราฟจะเห็นไดวาเมื่อลงทุนใน สนิ คาคงคลังสูง ระดับการใหบ ริการก็สูง หรือลงทนุ ในสินคาคงคลงั ต่ํา ระดบั การใหบ ริการลกู คาต่ําเชน กัน วตั ถปุ ระสงคทว่ั ไปในการบรหิ ารสินคา คงคลงั มี 3 ประการ คือ 1. การตรวจสอบประสิทธิภาพ (Monitoring Performance) ตรวจสอบเหตุการณท่ีเกิดขึ้นในอดีต เชนระดับ การใหบ รกิ ารลูกคา การสงของตามตารางเวลา และตนทุนคาปฏบิ ตั งิ าน 2. การหาการปรบั ตวั วดั ซึ่งชวยใหผ บู รหิ ารสินคา คงคลงั ควบคุมประสทิ ธภิ าพสนิ คา คงคลังไดง า ยข้ึน 3. สรางเปาหมาย เพื่อกระตุนพนักงาน และปรับปรุงกระบวนการเพ่ือใหบรรลุระดับของความถูกตองที่ สูงข้ึน มปี ระสทิ ธิผล (Productivity) มากข้นึ และมีคณุ ภาพมากขนึ้ เมอ่ื เลอื กตวั วัดทเ่ี หมาะสมแลว ผูบรหิ ารสินคาคงคลังมตี วั เลอื กในการเลือกตัววัดประสิทธิภาพใหสอดคลอง กบั กจิ กรรมนน้ั ๆ แบบฝกหัด ใหระบุ ตัววัดประสทิ ธภิ าพท่เี กย่ี วของกบั สินคาคงคลัง และอภิปรายวาทา นจะใชอ ยา งไร · · · · · โครงการสนับสนนุ โดยสาํ นักโลจิสติกส กรมอุตสาหกรรมพนื้ ฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 139  

หลกั สูตรการจดั การโลจสิ ตกิ สแ ละซัพพลายเชนระดับปฏบิ ตั ิการ     Copyright © SCM EEI    Copyright © SCM EEI   โครงการสนับสนนุ โดยสํานักโลจสิ ตกิ ส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมอื งแร (กพร.) 140

หลักสูตรการจัดการโลจิสติกสแ ละซพั พลายเชนระดบั ปฏบิ ัติการ    การควบคุมสินคาคงคลงั โดยการใชร ะบบABC (ABC Inventory Control) ABC Analysis มาจากกฎของ Parelo (Parelo’s Law) จากการศึกษาการกระจายความมั่งคั่ง ในเมือง Milan สังเกตพบวามีสินคาไมกี่รายการของบริษัทที่จําหนายไดมากและสินคาจํานวนมากจําหนาย ไดนอย บริษัทสามารถนําหลักการดังกลาวมาใชบริหารสินคาคงคลัง โดยจําแนกสินคาตามปริมาณการขาย เปน ระดบั A B และ C เมื่อกลาวถึงการบริหารและการควบคุมสินคาคงคลังอยางมีประสิทธิภาพ ผูบริหารตองทํา ความเขาใจวาสินคาคงคลังแตละรายการไมสามารถใชวิธีบริหารจัดการแบบเดียวกันได เมื่อสินคาคงคลัง บางรายการท่ีถูกจําหนายออกไปไดเร็วสามารถนํารายไดเขาบริษัทไดมากกวารายการอ่ืนท่ีมียอดจําหนายต่ํา ฉะน้ันรายการสินคาคงคลังที่มียอดขายมากตองถูกดูแลอยางใกลชิด และชวยใหผูวางแผนสินคาคงคลัง พิจารณาลงทุนไดง ายขึ้นโดยสงั เกตจากรายการสินคาท่มี ยี อดจําหนา ยสงู หลักของ Perato ชว ยใหผวู างแผนสินคา คงคลังตอบโจทยสาํ คัญตอไปนี้ 1. สามารถพิจารณาไดวาสินคา คงคลังรายการใดสําคญั กวารายการอืน่ 2. สามารถพิจารณาไดวาสินคาคงคลังใดท่ีตองมีการควบคุมในระดับที่สูงกวารายการอื่นเพ่ือปองกันสินคา ขาดสต็อก คาํ ตอบของคําถามขางตน เปน การแบง ระดบั ของสนิ คา คงคลงั ท่ขี น้ึ อยูกบั ปจ จัยตา งๆ เชนมูลคา หรือยอดการใช จากสไลดแ สดงการแบงสนิ คาคงคลงั ออกเปน ระดบั ดังนี้ • ระดับ A ถกู จัดอยูในกลมุ สนิ คาที่มีราคาแพงหรือมีปริมาณการเคล่ือนไหวสูง ผูบริหารสินคาคงคลัง จึงตองใหความสนใจเปนพิเศษ เชน กําหนดระดับบริการลูกคาที่ 95% และมีสินคาคงคลังไวมาก เพ่ือปองกันสินคาหมดสต็อก และเก็บสินคาคงคลังและสินคาคงคลังสํารองไวในทุกคลังสินคา ไดแก คลังสินคากลาง คลังสินคาภูมิภาค และคลังสินคาทองถิ่น โดยใหมีการตรวจสอบสถานะ สินคา คงคลงั ทุกวัน เปนตน • ระดับ B เปน สนิ คา คงคลงั ทม่ี ีความสําคัญรองลงมาจากระดับ A จัดอยูในกลุมของสินคาที่มียอดขาย หรือใชในระดับปานกลางถึงตํ่า ตองมีการตรวจสอบเปนระยะๆ เชน ตรวจสอบทุกสัปดาห ระดับ บริการอยทู ่ี 90% เก็บสต็อกไวท คี่ ลังสนิ คา ภูมิภาคท่ัวไปมกี ารควบคุมอตั โนมัติโดยระบบคอมพิวเตอร • ระดับ C เปนสินคาท่ีมีปริมาณมากแตการเคล่ือนไหวชาหรือยอดจําหนายตํ่า บริษัทอาจจะกําหนด ระดับบรกิ ารไวท ่ี 85% และเกบ็ สต็อกไวท ่คี ลังสินคา กลางของบริษัทเทานน้ั เพื่อลดตนทนุ คลงั สนิ คา และควบคมุ โดยการใชหลักระบบ 2 กระบะ หรือใชร ะบบการตรวจสอบเปน ระยะ โครงการสนบั สนนุ โดยสํานักโลจิสติกส กรมอุตสาหกรรมพนื้ ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 141  

หลกั สูตรการจดั การโลจสิ ติกสและซพั พลายเชนระดับปฏิบตั กิ าร    ตัวอยา ง หมวดหมูของ ABC ลาํ ดับของเลขท่ีชิน้ สว น แบงตามการใชและมูลคา Ranking of Part Numbers by Usage and Value 280  Copyright © SCM EEI   โครงการสนบั สนุนโดยสาํ นักโลจสิ ติกส กรมอุตสาหกรรมพนื้ ฐานและการเหมืองแร (กพร.) 142  


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook