ตอนที่ 3 : บทสรปุ ส่งทา้ ย
คมู่ อื การพฒั นาระบบและกลไกจดั บรกิ ารสขุ ภาพระดบั พน้ื ทเ่ี ลม่ น ี้ เกดิ จาก ประสบการณ์พัฒนารูปแบบ (Model) ระบบและกลไกจัดบริการสุขภาพผู้มี ปญั หาสถานะและสทิ ธพิ น้ื ท ่ี ศกึ ษาจากบทเรยี นประสบการณท์ า� งานองคก์ รหรอื หนว่ ยงานอน่ื และศกึ ษาคน้ ควา้ จากเอกสาร งานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วกบั ทฤษฎแี นวคดิ เชงิ ระบบ (System Approach) เป็นแนวทางในการเขยี นคู่มือ การพัฒนาระบบและกลไกจัดบริการสุขภาพระดับพื้นที่ให้มีคุณภาพ สามารถด�าเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของโครงการนั้น ผู้ที่ เกย่ี วขอ้ งโดยเฉพาะผจู้ ดั ทา� โครงการโดยตรง ควรมคี วามรหู้ รอื ประสบการณด์ า้ น เนื้อหา ประเด็นท่ีต้องการพัฒนาหรือช่วยแก้ปัญหาให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ดังน้ัน ผู้จัดท�าโครงการการพัฒนาระบบและกลไก จ�าเป็นท่ีจะต้องมีความรู้และ ประสบการณ์เร่ืองแนวคดิ เชงิ ระบบ (System Approach) ซง่ึ เปน็ วิธกี ารนา� เอา ความรู้เรอ่ื งระบบเข้ามาเป็นกรอบช่วยในการค้นหาปญั หา กา� หนดวิธกี ารแกไ้ ข ปญั หาและใช้แนวทางความคดิ เชงิ ระบบช่วยในการตัดสนิ ใจแกไ้ ขปญั หา คมู่ อื ฉบบั น ี้ เปน็ คมู่ อื ในการปฏบิ ตั งิ านสา� หรบั ผปู้ ฏบิ ตั หิ รอื ผจู้ ดั ทา� โครงการ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบและกลไกการจัดบริการสุขภาพระดับ พ้ืนที่ แบ่งการน�าเสนอเป็น 3 ตอน คือ ตอนท่ี 1 : หลักการพื้นฐานของคู่มือ ตอนที่ 2 : ขน้ั ตอนพัฒนาระบบและกลไก และ ตอนที่ 3 : บทสรปุ การด�าเนิน งาน ตอนที ่ 1 หลกั การพ้นื ฐานของคู่มือ หลกั การพนื้ ฐานของคมู่ อื ฉบบั นป้ี ระกอบดว้ ย 1.แนวคดิ และทฤษฎพี น้ื ฐาน เชน่ ระบบและกลไก กรอบความคดิ การดา� เนนิ งาน และแนวคดิ เชงิ ระบบในการ บริหารจัดการหรือแปลงกรอบแนวคิดสู่การปฏิบัติ 2.ผู้ใช้คือใครบ้าง 3.วัตถุประสงค์ของคู่มือ 4.การสร้างคู้มือ และ 5.การใช้คู่มือ หมายถึง ใครจะ เปน็ คนหลกั สา� คญั คณุ ภาพผปู้ ระสานงาน บทบาทหนา้ ทขี่ องผปู้ ระสานงานหรอื ผปู้ ฏิบตั งิ าน 102 คมู่ ือ “พฒั นาระบบและกลไกจัดบริการสุขภาพระดบั พืน้ ท่ี” เรียบเรียงโดย : วิวัฒน์ ตามี่ ปี พ.ศ 2563
ตอนท่ ี 2 : แนวทางการพัฒนาระบบและกลไก การพัฒนาระบบและกลไกจัดบริการสุขภาพในระดับพื้นท่ี ใช้แนวคิดวิธี การเชงิ ระบบ (System Approach) ในการด�าเนนิ งาน เป็นวิธีการน�าเอาความ รเู้ รอื่ งระบบเขา้ มาเปน็ กรอบในการคน้ หาปญั หา กา� หนดวธิ กี ารแกป้ ญั หาและใช้ แนวทางความคดิ เชงิ ระบบชว่ ยในการตดั สนิ ใจแกป้ ญั หา วธิ กี ารหรอื เทคนคิ เชงิ ระบบจึงเป็นการท�างานจากสภาพที่เป็นอยู่ไปสู่สภาพท่ีต้องการของงานนั้นท้ัง ระบบ ซง่ึ โครงการฯ ไดน้ �ามาประยกุ ตใ์ ช้กบั แนวทางการพัฒนาระบบและกลไก การจัดบริการสุขภาพในระดับพ้ืนท่ีที่เอ้ือต่อการเข้าถึงสิทธิและบริการสุขภาพ กลุม่ ผูม้ ปี ญั หาสถานะบุคคล โดยมขี นั้ ตอนทสี่ �าคญั 8 ขนั้ ตอน ไดแ้ ก่ ข้นั ตอนท่ี 1 การศึกษาวิเคราะห์สภาพปญั หาความตอ้ งการเพอ่ื สรา้ งความ ตระหนกั และร่วมกันแกไ้ ขปญั หา ขัน้ ตอนที่ 2 การเตรยี มคณะทา� งานพฒั นาระบบและกลไกจดั บรกิ ารสขุ ภาพ ระดบั พ้นื ท่ ี ข้ันตอนท ่ี 3 การเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพคณะท�างาน ขน้ั ตอนที ่ 4 การส่งเสริมการด�าเนนิ งานของคณะท�างาน (การทา� กจิ กรรม ของกลมุ่ ) ขั้นตอนท่ี 5 สง่ เสริมดา� เนนิ โครงการน�าร่อง (โครงการน�ารอ่ งแตล่ ะพนื้ ที)่ ขน้ั ตอนท่ ี 6 การขยายกจิ กรรมหรอื โครงการเพอื่ ตอบสนองแกไ้ ขปญั หาอน่ื ขัน้ ตอนท่ ี 7 การสรา้ งเครอื ขา่ ยแกไ้ ขปญั หาสทิ ธิสุขภาพ ข้นั ตอนที่ 8 การติดตามประเมนิ ผลภายใน (Internal Evaluation) ผู้ใช้คู่มือควรจะต้องท�าความเข้าใจเก่ียวกับสภาพและบริบทของกลุ่ม เปา้ หมายทีท่ า� งานดว้ ยวา่ เป็นอยา่ งไร เช่นมีนโยบายรฐั เรอ่ื งใดบ้างทก่ี า� ลงั ลงพ้ืน ทแี่ ละดา� เนนิ งานกนั อย ู่ ประเดน็ อะไรบา้ งทรี่ วมกลมุ่ กนั ทา� งานระหวา่ งหนว่ ยงาน สภาพการท�างานในลักษณะกลุ่ม เม่ือทราบสภาพของกลุ่มเป้าหมายแล้ว ผู้ใช้ 103คู่มอื “พฒั นาระบบและกลไกจดั บริการสุขภาพระดับพื้นท”ี่ เรยี บเรยี งโดย : ววิ ัฒน์ ตามี่ ปี พ.ศ 2563
สามารถเรม่ิ ตน้ ทข่ี น้ั ตอนใดกไ็ ด ้ ขน้ึ อยกู่ บั ความพรอ้ มของกลมุ่ ในแตล่ ะพน้ื ทแี่ ละ วิจารณญาณของผ้ใู ช้ คู่มือฉบับน้ี จึงควรจะต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไขเป็นระยะให้เหมาะกับ กาลเวลา สภาพบรบิ ทพ้ืนที่ และการจะปรับปรุงคู่มอื ควรประกอบด้วยขน้ั ตอน การด�าเนินงานคร่าวๆ คือ 1. การทดลองปฏบิ ัติจนกระทัง่ ได้บทเรียนและมีองค์ความรู้ 2. นักวิชาการจากสถาบนั วชิ าการมาชว่ ยถอดบทเรยี นการท�างาน 3. สงั เคราะหบ์ ทเรยี นและจัดทา� เปน็ คูม่ อื ในการทา� งาน 4. ทดลองใชค้ ่มู ือในการปฏิบัตงิ าน 5. สรุปบทเรียนการทดลองใช้คู่มือว่าใช้ได้หรือไม่ได้ มีเง่ือนไขข้อจ�ากัด อะไรและจะพฒั นาอย่างไรใหด้ ีขึ้นกวา่ เดิม 6. ผใู้ ชค้ มู่ อื ปรบั และพฒั นาคมู่ อื ใหมใ่ หเ้ หมาะสมยงิ่ ขนึ้ กบั บรบิ ทพนื้ ทแ่ี ละ กล่มุ เป้าหมายการทา� งาน 104 คู่มอื “พฒั นาระบบและกลไกจัดบริการสุขภาพระดบั พนื้ ท”ี่ เรียบเรียงโดย : วิวฒั น์ ตาม่ี ปี พ.ศ 2563
เอกสารอ้างองิ . กมล สดุ ประเสรฐิ .(2537). วจิ ัยปฏบิ ตั ิการแบบการมีส่วนร่วมของผู้ปฏบิ ัตงิ าน. โครงการพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ กระทรวงศกึ ษาธิการ โครงการพฒั นาระบบและกลไกการจดั บรกิ ารสขุ ภาพ จังหวัดเชยี งราย. เชียงราย : รา้ นเอส.พี.คอม ชูเกยี รต ิ ลสี ุวรรณ.์ (2545). การวางแผนและบรหิ ารโครงการ. ภาควชิ าสง่ เสริมการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ชูเกียรติ ลีสุวณั ์.(2536). ทฤษฎแี ละปฏบิ ัติเร่อื งการพฒั นาโครงการ และการประเมนิ โครงการการศึกษานอกระบบ เชียงใหม่ : ภาควชิ า ส่งเสริมการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร ์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ ประภาพรรณ อนุ่ อบและธีรเดช ฉายอรณุ .(2552). โครงการเชิงรกุ : ฐานคดิ ทางทฤษฎี และแนวทางการประยกุ ต์ใช้. คณะสังคมศาสตร์ และมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล ณภทั ร ประภาสุชาติ.(2559). การวิจัยระบบและกลไกการจัดบริการเพือ่ การ เขา้ ถึงสิทธทิ างดา้ นการบริการสุขภาพสา� หรับผูท้ ีม่ ปี ญั หาสถานะ บคุ คล กรณศี ึกษา โครงการนา� ร่องเชียงราย. มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลย ี ราชมงคลรตั นโกสินทร ์ พื้นที่ศาลายา เนาวรัตน ์ พลายน้อยและธีรเดช ฉายอรุณ.(2552). การพฒั นาการเรยี นรู้โดย ผ่านกระบวนการประเมินผลแบบเสรมิ พลัง (Empowerment Evaluation). คณะสงั คมศาสตรแ์ ละมนษุ ยศ์ าสตร ์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล
นนั ทยิ า หุตานุวฒั น.์ (2536). คมู่ อื การทา� งานเกษตรกรรายยอ่ ยโดยใช ้ กระบวนการกลมุ่ . กรมสง่ เสริมการเกษตร โครงการส่งเสรมิ การมสี ่วน รว่ มของเกษตรกรในการพฒั นาและภาควิชาสง่ เสริมการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาเชียงใหม ่ วิวัฒน ์ ตาม่.ี (2556). โครงการพัฒนาระบบและบรกิ ารสุขภาพส�าหรับผมู้ ปี ญั หา สถานะและสทิ ธิ.มปท.(เอกสารอัดส�าเนา) วิวฒั น์ ตามี่.(2559). โครงการพฒั นาระบบและบริการสขุ ภาพชนเผ่าพ้ืนเมอื ง และกลมุ่ ชาติพันธุ์.มปท.(เอกสารอัดสา� เนา) วิวฒั น์ ตาม่ี.(2562). โครงการสนับสนุนพฒั นาระบบและบริการสขุ ภาพกลุ่มผู้ม ี ปัญหาสถานะบคุ คล.มปท.(เอกสารอดั ส�าเนา) ศภุ วลั ย์ พลายน้อย.(2551).การประเมนิ ผลโครงการเชิงยทุ ธศาสตร์ขององคก์ ร ไมแ่ สวงหากา� ไร : แนวคิด หลักการ และกรณีตวั อย่าง สา� นักงาน กองทุนสนับสนุนการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ(สสส.) ศภุ วลั ย ์ พลายน้อย.(2553). นานาวิธีวทิ ยาการถอดบทเรียนและการสังเคราะห ์ ความร้.ู คณะสงั คมศาสตร์ และมนษุ ยศ์ าสตร ์ มหาวทิ ยาลัยมหิดล
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110