Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ_การพัฒนาระบบและกลไกการจัดบริการสุขภาพระดับพื้นที่กลุ่มผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ

คู่มือ_การพัฒนาระบบและกลไกการจัดบริการสุขภาพระดับพื้นที่กลุ่มผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ

Published by Thalanglibrary, 2020-07-12 04:26:30

Description: คู่มือ_การพัฒนาระบบและกลไกการจัดบริการสุขภาพระดับพื้นที่กลุ่มผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ

Search

Read the Text Version

คู่มอื การพัฒนาระบบและกลไกการจัดบริการสุขภาพ ระดับพื้นที่กลุ่มผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ มูลนิธิพัฒนาชนกลุ่มน้อยและชาติพันธุ์(พชช.) โครงการสนับสนุนพัฒนาระบบ และบริการสุขภาพกลุ่มผู้มีปัญหาสถานะบุคคล ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส)



คูม่ ือการพฒั นาระบบและกลไก การจัดบริการสขุ ภาพระดบั พน้ื ที่ กลมุ่ ผู้มปี ญั หาสถานะและสทิ ธิ



คู่มือการพัฒนาระบบและกลไกการจัดบริการสุขภาพ ระดบั พ้ืนท่ีกลมุ่ ผู้มปี ัญหาสถานะและสทิ ธิ ผูเ้ ขยี น นายววิ ัฒน์ ตามี่ ออกแบบบและรูปเล่ม ดอกไม้สตูดิโอ สนับสนุนโดย สา� นกั งานกองทนุ สนับสนนุ การสร้างเสรมิ สุขภาพ(สสส) พมิ พ์คร้งั ที่ 1 มกราคม 2561 จ�านวนพมิ พ ์ 200 เล่ม พิมพค์ รั้งท ่ี 2 พฤษภาคม 2563 จา� นวนพิมพ์ 200 เล่ม จดั พิมพ์โดย โครงการสนบั สนนุ พัฒนาระบบ และบริการสขุ ภาพกลุ่มผมู้ ปี ญั หา สถานะบคุ คล มลู นธิ ิพฒั นา ชนกลมุ่ น้อยและชาติพนั ธ(์ุ พชช.) พิมพท์ ่ี โรงพมิ พ์แสงศลิ ป์ ตดิ ตอ่ มูลนธิ ิพัฒนาชนกลุม่ นอ้ ย และชาติพนั ธ(ุ์ พชช.) 229/62 หมบู่ า้ นฐิตพิ ร หม่ทู ี่ 3 ซอย 3 ต.สนั ทราย อ.เมอื เชียงราย จ.เชียงราย รหัสไปรษณยี ์ 57000 E-Mail : [email protected] โทรศัพท์ : +66-53-152523 มือถอื : +66-88-2524790 ISBN 978-616-93582-0-6

คา� นา� (พมิ พ์ครัง้ ท ่ี 1 ) คู่มือน้ีสร้างขึ้นจากประสบการณ์และบทเรียนท่ีได้จากการท�างานในช่วง ระยะหน่ึง ในพื้นท่ีน�าร่องจังหวัดเชียงรายและการสังเคราะห์บทเรียนและ ประสบการณ์จากภาคีเครือข่ายหรือองค์กรรัฐท่ีมีปฏิบัติการที่ดีด้านการพัฒนา นโยบายสาธารณะเรื่องระบบและกลไกการจัดบริการในมิตติ ่างๆ รูปแบบและแนวการเขียนคู่มือ มาจากคู่มือการท�างานเกษตรกรรายย่อย โดยใช้กระบวนการกลุ่ม ของอาจารย์นันทิยา หุตานุวัตร ซึ่งจัดพิมพ์เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๓๖ และการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติงาน ของ ดร.กมล สุดประเสรฐิ จดั พมิ พ์เมือ่ ปี พ.ศ. 2537 คมู่ อื ฉบบั น ้ี เปน็ คมู่ อื ในการปฏบิ ตั งิ านสา� หรบั ผปู้ ฏบิ ตั หิ รอื ผจู้ ดั ทา� โครงการ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบและกลไกการจัดบริการสุขภาพระดับ พ้ืนท่ี แบ่งการน�าเสนอเป็น 3 ตอน คือ ตอนท่ี 1 : หลักการพ้ืนฐานของคู่มือ ตอนที่ 2 : ขน้ั ตอนพฒั นาระบบและกลไก และตอนท ่ี 3 : บทสรปุ ส่งทา้ ย เฉพาะตอนที่ 2 ซึ่งเป็นข้ันตอนและกระบวนการพัฒนาระบบและกลไก จัดบริการสุขภาพในระดบั พน้ื ท่ ี ประกอบด้วย 8 ข้ันตอน ไดแ้ ก่ ขัน้ ตอนที่ 1 การศกึ ษาวเิ คราะหส์ ภาพปญั หาสทิ ธแิ ละการเขา้ ถงึ บรกิ าร สขุ ภาพ ข้ันตอนท ่ี 2 การเตรยี มคณะทา� งานเพอ่ื การดา� เนนิ งานพฒั นาระบบและกลไก ขัน้ ตอนท่ ี 3 การเรยี นร้แู ละพัฒนาศักยภาพกลไก ข้ันตอนที่ 4 การสง่ เสรมิ การดา� เนนิ งานของคณะท�างาน (การท�ากิจกรรม ของกลุ่ม) ข้ันตอนที่ 5 สง่ เสรมิ การดา� เนนิ โครงการนา� รอ่ ง (โครงการนา� รอ่ งแตล่ ะพ้นื ท่)ี

ข้ันตอนท ่ี 6 การขยายกิจกรรม ขัน้ ตอนท่ ี 7 การสร้างเครอื ข่ายผู้ใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพ ข้ันตอนท่ ี 8 การถอดบทเรียนสรา้ งองค์ความร ู้ แต่ละขั้นตอนจะประกอบด้วยเนื้อหาที่จะเรียนรู้แนวคิดเนื้อหานั้นๆ ว่า ต้องการเรียนรู้อะไร วิธีการเพื่อให้เกิดการเรียนรู้และข้อเสนอแนะว่าอะไรควร ท�าและอะไรไม่ควรทา� ผู้ใช้คู่มือควรจะต้องท�าความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพและบริบทของกลุ่ม เปา้ หมายทท่ี า� งานดว้ ยวา่ เปน็ อยา่ งไร เชน่ มนี โยบายรฐั เรอ่ื งใดบา้ งทก่ี า� ลงั ลงพน้ื ทแี่ ละดา� เนนิ งานกนั อย ู่ ประเดน็ อะไรบา้ งทรี่ วมกลมุ่ กนั ทา� งานระหวา่ งหนว่ ยงาน สภาพการท�างานในลักษณะกลุ่ม เมื่อทราบสภาพของกลุ่มเป้าหมายแล้วผู้ใช้ สามารถเรมิ่ ตน้ ทข่ี นั้ ตอนใดกไ็ ด ้ ขน้ึ อยกู่ บั ความพรอ้ มของกลมุ่ ในแตล่ ะพน้ื ท ่ี และ วิจารณญาณของผใู้ ช ้ คู่มือฉบับน้ีควรจะต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไขเป็นระยะให้เหมาะกับ กาลเวลา สภาพบรบิ ทพ้ืนทน่ี ้นั ๆ ววิ ฒั น ์ ตามี่ ผู้เรยี บเรียง 1 ตลุ าคม 2560

ค�านา� (พมิ พค์ ร้งั ท่ ี 2) คมู่ อื การพฒั นาระบบและกลไกจดั บรกิ ารสขุ ภาพระดบั พน้ื ทฉ่ี บบั น ี้ เปน็ การ เรยี บเรยี งขน้ึ มาใหมจ่ ากคมู่ อื ฉบบั แรกทไี่ ดจ้ ดั พมิ พไ์ ปเมอื เดอื นกมุ ภาพนั ธ ์ 2561 และได้น�าไปทดลองใช้คู่มือเพ่ือด�าเนินงานพัฒนาระบบและกลไกในระดับพ้ืนท ่ี คอื พน้ื ทอี่ า� เภอฝางและอา� เภอแมอ่ ายจงั หวดั เชยี งใหม ่ และพน้ื ทอี่ า� เภอปางมะผา้ จังหวัดแมฮ่ ่องสอน โดยได้ดา� เนนิ การทดลองด�าเนินงานระหวา่ งปี พ.ศ. 2561- 2562 จากน้ันท�าการประเมินผลการใช้คู่มือในแต่ละพ้ืนท่ีแล้วปรับปรุง เรียบเรียงขึ้นมาใหม่ให้มีความสมบูรณ์ สามารถน�าไปใช้เป็นแนวทางสนับสนุน การพัฒนาระบบและกลไกระดับพื้นที่ท่ีสอดคล้องเหมาะสมกับบริบทพื้นที่และ กลุม่ เปา้ หมายไดง้ า่ ยขึน้ คู่มือฉบับน้ีเป็นคู่มือปฏิบัติงานส�าหรับผู้ปฏิบัติงาน ผู้จัดท�าโครงการหรือ คณะท�างาน เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการท�างานพัฒนาระบบและกลไกการ จดั บรกิ ารสขุ ภาพระดบั พนื้ ท ่ี เพอ่ื ใหง้ า่ ยตอ่ การนา� คมู่ อื ไปประยกุ ตใ์ ชด้ า� เนนิ งาน ผเู้ ขยี นเสนอเนอื้ หาแบง่ ออกเปน็ 3 ตอนดงั น ้ี ตอนท ่ี 1 หลกั การพนื้ ฐานของคมู่ อื ตอนที่ 2 ขั้นตอนการพัฒนาระบบและกลไกจัดบริการสุขภาพระดับพ้ืนท ี่ ตอนท ่ี 3 บทสรุปสง่ ทา้ ย การใช้คู่มือ ผู้ใช้คู่มือควรท�าความเข้าใจเก่ียวกับสภาพและบริบทของ กลุม่ เป้าหมาย พืน้ ทท่ี า� งานอยา่ งชัดเจน เมอื่ ทราบสภาพของกลุ่มเปา้ หมายแลว้ ผู้ใช้คู่มือสามารถเร่ิมต้นท่ีขั้นตอนใดก็ได้ข้ึนอยู่กับความพร้อมของกลุ่มในแต่ละ พน้ื ท ่ี และวิจารณญาณของผใู้ ช ้ เพื่อให้คู่มือฉบับนี้สามารถน�าไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จึงควรได้รับการปรับปรุงแก้ไขเป็นระยะให้เหมาะสมกับกาลเวลา สภาพบริบท

พน้ื ท่แี ละกลุ่มเป้าหมาย ขอขอบคุณหน่วยงานหรือองค์กรรัฐ ผู้แทนองค์กรพัฒนาเอกชน แกนน�า ล่ามชุมชน ทไี่ ด้สนบั สนนุ และมีสว่ นรว่ มในการจดั ท�าโครงการพัฒนาระบบและ กลไกจัดบริการสุขภาพกลุ่มผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ ขอบคุณคณาจารย์คณะ สงั คมศาสตรแ์ ละมนษุ ยศ์ าสตร ์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล อาท ิ รศ.ดร.เนาวรตั น ์ พลายนอ้ ย รศ.ดร.ศุภวัลย์ พลายน้อย ผศ.ดร.ธีรเดช ฉายอรุณ ท่ีประสิทธิ์ประสาทวิชาให้ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ร.ศ.ดร.ประภาพรรณ อนุ่ อบ ทไี่ ดใ้ หค้ า� ปรกึ ษาแนะนา� ในการ จดั ทา� คมู่ อื ตง้ั แตต่ น้ จนเรยี บเรยี งคมู่ อื สา� เรจ็ และขอขอบคณุ สา� นกั สนบั สนนุ สขุ - ภาวะประชากรกลุ่มเฉพาะ(ส�านัก 9) ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการ สร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) ท่ีให้การสนับสนุนการจัดท�าโครงการพัฒนาระบบ และกลไกและการจัดทา� ค่มู ือฉบับน้ี วิวฒั น ์ ตาม่ี ผู้เรยี บเรยี ง เมษายน 2563

คา� นยิ ม การท�างานพัฒนาระบบบริการสุขภาพส�าหรับกลุ่มผู้มีปัญหาสถานะและ สิทธิในระดับพื้นที่น้ันเป็นเรื่องท่ีละเอียดอ่อนค่อนข้างมาก เน่ืองด้วยความ ซับซ้อนท้ังด้านขนาดและความรุนแรงของปัญหา ในส่วนของเง่ือนไขปัจจัยที่ ท�าให้เกิดปัญหาเองก็ยังมีหลากมิติ (การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม) และหลายระดับ (ตั้งแต่กฎหมาย/นโยบายของประเทศ บทบาทและหน้าท่ี องคก์ ร/สถาบนั รวมทงั้ ทศั นะของผทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ ง) อกี ทงั้ ยงั ออ่ นไหวและงา่ ยตอ่ การ เปลย่ี นแปลง ดว้ ยเหตนุ จี้ งึ ตอ้ งการระบบและกลไกจดั บรกิ ารสขุ ภาพทม่ี ลี กั ษณะ เอ้ือให้คนท�างานพัฒนาเพ่ือเป็นแนวทางในการปรับประยุกต์ใช้พัฒนาระบบ บรกิ ารสขุ ภาพทสี่ อดคลอ้ งกบั สภาพบรบิ ทและสถานการณป์ ญั หาของพนื้ ทนี่ นั้ ๆ คมู่ อื การพฒั นาระบบและกลไกจดั บรกิ ารสขุ ภาพระดบั พนื้ ทฉี่ บบั น ี้ ถอื เปน็ ชุดความรู้จากปัญญาปฏิบัติ เพราะเกิดจากการสั่งสมความรู้และประสบการณ์ ตรงจากการทา� งานพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพสา� หรบั กลมุ่ ผมู้ ปี ญั หาสถานะและ สิทธิในระดับพ้ืนท่ีมาช่วงระยะเวลาหนึ่ง จนสามารถสังเคราะห์ความรู้เป็นตัว ระบบและกลไกหลกั ทจี่ า� เปน็ ของระบบบรกิ ารสขุ ภาพของกลมุ่ ผมู้ ปี ญั หาสถานะ และสทิ ธใิ นระดับพ้ืนที่ได้จรงิ ในคู่มือฉบับน้ีจึงมีเนื้อหาที่จ�าเป็นส�าหรับการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ส�าหรับกลุ่มผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิในระดับพ้ืนท่ี ซึ่งน�าเสนออย่างกระชับ ชดั เจนครอบคลมุ ทง้ั เปา้ หมาย วธิ กี ารดา� เนนิ งาน อกี ทง้ั ระบถุ งึ สภาพความสา� เรจ็ เป็นตัวบ่งช้ีให้สามารถติดตามประเมินผลงานตนเองได้โดยง่าย พร้อมท้ังม ี ขอ้ สงั เกตกา� กบั ไวเ้ พอื่ เตอื นถงึ สง่ิ ทคี่ นทา� งานควรคา� นงึ ถงึ และพงึ ระมดั ระวงั เมอ่ื ตอ้ งไปดา� เนนิ การในสถานการณจ์ ริง

ต้องขอบคุณและยกย่องในความตั้งใจ รวมทั้งความอุตสาหะของคณะ ท�างานพัฒนาคู่มือฉบับน้ี ท่ีร่วมกันกลั่นกรองประสบการณ์ตรงจากการท�างาน ออกมาเปน็ องคค์ วามรเู้ ชงิ วชิ าการแบบเรยี บงา่ ย ใหผ้ ทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งงานพฒั นาระบบ บรกิ ารสขุ ภาพสา� หรบั กลมุ่ ผมู้ ปี ญั หาสถานะและสทิ ธใิ นระดบั พน้ื ทส่ี ามารถหยบิ จับและนา� ไปใช้ทา� งานไดเ้ ปน็ อย่างดี ประภาพรรณ อนุ่ อบ 15 มกราคม 2563

สารบัญ คา� นา� 4 ค�านา� ผู้เขียน (ในการพิมพค์ รงั้ ที ่ 1) 6 ค�าน�าผเู้ ขยี น (ในการพิมพ์คร้งั ท ่ี 2) 8 13 คา� นยิ ม 15 16 บทน�า : ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั คมู่ ือ 21 21 ตอนที ่ 1 : หลกั การพ้ืนฐาน 21 1. แนวคดิ และทฤษฎพี น้ื ฐาน 22 2. ผูใ้ ชค้ ูม่ ือ 22 3. วัตถุประสงค์ 4. การพัฒนาคมู่ อื 27 5. การใช้คูม่ ือ 6. การสง่ เสริมการพัฒนาระบบและกลไกจัดบริการสุขภาพ 30 38 ตอนท ่ี 2 : ข้นั ตอนการพฒั นาระบบและกลไกจดั บรกิ ารสุขภาพ 50 ในระดบั พื้นท ่ี 8 ขน้ั ตอน ไดแ้ ก่ ขั้นตอนที่ 1 การศกึ ษาสภาพปัญหาความตอ้ งการเพื่อสรา้ งความ ตระหนกั และร่วมกันแกไ้ ขปญั หา ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมคณะทา� งานพัฒนาระบบและกลไก จดั บรกิ ารสขุ ภาพระดับพ้นื ท ี่ ขัน้ ตอนที ่ 3 การเรยี นรูแ้ ละพัฒนาศกั ยภาพคณะทา� งาน

ขั้นตอนท่ี 4 การสง่ เสริมการด�าเนินงานของคณะทา� งาน 59 (การท�ากิจกรรมของกลุ่ม) ขนั้ ตอนท ่ี 5 สง่ เสริมด�าเนนิ โครงการน�าร่อง 69 (โครงการน�ารอ่ งแต่ละพนื้ ท)่ี ข้นั ตอนท ี่ 6 การขยายกจิ กรรมหรือโครงการ 71 เพื่อตอบสนองแก้ไขปญั หาอื่น 80 ขั้นตอนที่ 7 การสร้างเครอื ข่ายแกไ้ ขปัญหาสทิ ธิสขุ ภาพ 89 ขน้ั ตอนท ี่ 8 การติดตามประเมนิ ผลภายใน(Internal Evaluation) 101 106 ตอนท ่ี 3 บทสรุปส่งทา้ ย เอกสารอา้ งองิ

คู่มือ การพฒั นาระบบและกลไก การจัดบรกิ ารสุขภาพระดับพ้นื ท่ี

บทนา� : ความเข้าใจเกี่ยวกบั คมู่ ือ คู่มือการพัฒนาระบบและกลไกจัดบริการสุขภาพระดับพื้นที่ฉบับน ี้ เรยี บเรียงจากบทเรียนโครงการพัฒนารปู แบบ (Model) ระบบกลไกจัดบรกิ าร สุขภาพกลุ่มผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิในระดับพื้นท่ีหลายแห่งในหลายรูปแบบ และระดบั การทา� งานทแ่ี ตกตา่ งกนั เชน่ ตวั อยา่ งโครงการพฒั นาระบบและกลไก จัดบริการสุขภาพระดับจังหวัด ด�าเนินงานร่วมกับสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย และหน่วยบริการระดับอ�าเภอและโครงการพัฒนาระบบและกลไกจัดบริการ สุขภาพระดับอ�าเภอ โดยมีโครงการท่ีท�างานร่วมกับร่วมกับสาธารณสุขอ�าเภอ ฝางและโรงพยาบาลอา� เภอแมอ่ าย เชยี งใหม ่ และโรงพยาบาลปางมะผา้ อา� เภอ ปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน และการศึกษาทบทวนเพิ่มเติมจากบทเรียน ประสบการณท์ า� งานขององคก์ รเครอื ขา่ ยทท่ี า� งานเกยี่ วขอ้ งกบั การพฒั นาระบบ และกลไกจดั บรกิ ารในรปู แบบและประเดน็ อน่ื และการศกึ ษาคน้ ควา้ จากเอกสาร งานวิจัยที่เก่ียวกับทฤษฎีแนวคิดเชิงระบบ (System Approach) มาประกอบ การศกึ ษาและเรยี บเรียงคมู่ อื ฉบบั นี ้ คมู่ อื ฉบบั นจ้ี งึ เปน็ คมู่ อื ปฏบิ ตั งิ านเหมาะสมสา� หรบั ผปู้ ฏบิ ตั งิ านหรอื ผจู้ ดั ทา� โครงการเพื่อใช้เป็นแนวทางในการท�างานพัฒนาระบบและกลไกการจัดบริการ สขุ ภาพระดบั พน้ื ท ่ี และเพอ่ื ใหง้ า่ ยตอ่ การนา� คมู่ อื ไปประยกุ ตใ์ ช ้ ผเู้ ขยี นแบง่ เสนอ เนื้อหาออกเป็น 3 ตอน ดงั ตอ่ ไปน ี้ ตอนท่ี 1 หลักการพื้นฐานของคู่มือ หัวข้อประกอบด้วย (1)แนวคิดและ ทฤษฎพี น้ื ฐานเรอ่ื งระบบและกลไก กรอบความคดิ การพฒั นาระบบกลไกการจดั บรกิ ารสขุ ภาพวธิ กี ารเชงิ ระบบ (Systematic Approach) หรอื เทคนคิ เชงิ ระบบ (2)ผใู้ ชค้ ูม่ อื (3)วตั ถปุ ระสงค ์ (4)การสร้างคมู่ ือ และ (5)การใชค้ ู่มือ 13คูม่ อื “พัฒนาระบบและกลไกจดั บรกิ ารสุขภาพระดับพ้ืนที”่ เรยี บเรียงโดย : ววิ ฒั น์ ตาม่ี ปี พ.ศ 2563

ตอนท่ี 2 ขนั้ ตอนการพฒั นาระบบและกลไกจัดบรกิ ารสุขภาพระดบั พ้ืนที่ แบ่งออกเปน็ 8 ขน้ั ตอน ได้แก ่ ขัน้ ตอนท่ ี 1 : การศึกษาวิเคราะหส์ ภาพปญั หา สทิ ธแิ ละการเขา้ ถงึ บรกิ ารสาธารณสขุ ขน้ั ตอนท ่ี 2 : เตรยี มคณะทา� งานเพอื่ การ ด�าเนินงานพัฒนาระบบและกลไก ขั้นตอนท ี่ 3 : การเรยี นรู้และพฒั นาศักยภาพ คณะท�างาน ขน้ั ตอนท่ ี 4 : การสง่ เสริมการดา� เนนิ งานของคณะทา� งาน (การ ทา� กจิ กรรมของกลมุ่ ) ขนั้ ตอนท ่ี 5: สง่ เสรมิ การดา� เนนิ โครงการนา� รอ่ ง (โครงการ น�ารอ่ งแตล่ ะพ้นื ที)่ ขน้ั ตอนท่ี 6 : การขยายกิจกรรมหรอื โครงการ ขนั้ ตอนท่ ี 7 : การสรา้ งเครอื ขา่ ยผใู้ หบ้ รกิ ารสขุ ภาพ และขนั้ ตอนท ี่ 8 : ถอดบทเรยี นสรา้ งองค์ ความรู้จากประสบการณท์ �างาน ตอนท ่ี 3 บทสรปุ สง่ ทา้ ย สรปุ เนอื้ หาสา� คญั ทงั้ หมดทเ่ี ขยี นไวใ้ นคมู่ อื ฉบบั นี้ เพอ่ื ทบทวนทา� ความเขา้ ใจแนวคดิ (Concept) ขนั้ ตอน กระบวนการดา� เนนิ งาน พัฒนาระบบและกลไกตง้ั แตข่ ้ันตอนท่ ี 1 ถึงข้นั ตอนสดุ ท้าย 14 คมู่ ือ “พัฒนาระบบและกลไกจดั บรกิ ารสุขภาพระดับพนื้ ท่ี” เรยี บเรียงโดย : วิวัฒน์ ตามี่ ปี พ.ศ 2563

ตอนท่ี 1 หลักการพืน้ ฐาน

1. แนวคิดและทฤษฎีพนื้ ฐาน (1) แนวคดิ เชิงระบบและกลไก (1.1) ระบบ (System) หมายถงึ ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั งิ านทกี่ า� หนดไวอ้ ยา่ ง ชดั เจน วา่ จะตอ้ งทา� อะไรบา้ งเพอื่ ใหเ้ กดิ ผลลพั ธต์ ามวตั ถปุ ระสงค ์ ขนั้ ตอนปฏบิ ตั ิ งานจะปรากฏอยู่ในรูปของเอกสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยวิธีการอ่ืนๆ อาจ ประกอบดว้ ย ปจั จยั นา� เขา้ เชน่ ทรพั ยากร คน และเวลา กระบวนการ/วธิ กี ารหรอื กลยทุ ธใ์ นการดา� เนนิ งาน ผลผลติ /ผลลพั ธท์ เี่ กดิ จาการดา� เนนิ งานและขอ้ มลู ปอ้ น กลับ (Feedback) คือการให้ข้อมูลเก่ียวกับผลการปฏิบัติงานในปัจจุบัน โดย เป็นการส่ือสารสองทาง (Two Way Communication) ระหว่างผู้ให้ข้อมูล (ผู้จัดท�าโครงการฯ) และผู้รับข้อมูล (คนท�างานและกลุ่มเป้าหมาย) นอกจากน้ี ระบบยงั รวมถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งองคป์ ระกอบตา่ งๆ ดงั กลา่ วจะเปน็ ลกั ษณะ องคร์ วม (holistic approach) (1.2) กลไก(mechanism) หมายถึง สงิ่ ที่ท�าให้ระบบสามารถขบั เคล่อื น หรอื ดา� เนนิ การได ้ โดยมกี ารจดั สรรทรพั ยากร มกี ารจดั องคก์ ร หนว่ ยงาน กลมุ่ บคุ คล คณะบุคคลเป็นผู้ด�าเนินงานและบริหารจัดการระบบที่มีอยู่ ในกลไกการ ด�าเนินงาน อาจจะแต่งตั้งผู้รับผิดชอบด�าเนินกิจกรรมให้เป็นไปตามแผนงาน มีระบบรายงานการประชุม รายงานผลการด�าเนินงาน ประเมินระบบและสรุป ผลการดา� เนินงานตามท่กี �าหนดรว่ มกนั ไว ้ (1.3) ระบบและกลไก เมือ่ นา� สองค�าน้มี ารวมกนั ในคมู่ อื ฉบบั น้ ี หมายถึง ระบบการจดั บรกิ ารสขุ ภาพในหนว่ ยบรกิ าร 5 ดา้ น คอื (1)ระบบการลงทะเบยี น ใชส้ ทิ ธ ิ (2)ระบบฐานขอ้ มลู (3)ระบบบรกิ ารสขุ ภาพ 4 ดา้ น คอื การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ การบริการรักษา การป้องกันโรค และการฟื้นฟูเยียวยา (4)ระบบการบริหาร จัดการงบประมาณ และ (5)ระบบการติดตามประเมินของหน่วยบริการหรือ โรงพยาบาลในการทา� งานใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพโดยมกี ลไกในรปู แบบกรรมการ คณะ ทา� งาน ลา่ มชมุ ชน ศนู ยป์ ระสานงานหลกั ประกนั สขุ ภาพประชาชน ชว่ ยขบั เคลอ่ื น 16 คู่มือ “พัฒนาระบบและกลไกจัดบรกิ ารสขุ ภาพระดับพ้นื ท่”ี เรยี บเรยี งโดย : ววิ ฒั น์ ตามี่ ปี พ.ศ 2563

หรอื ดา� เนนิ งานขบั บเคลอื่ นนโยบายสกู่ ารปฏบิ ตั เิ พอ่ื ใหก้ ลมุ่ ชาตพิ นั ธ/์ุ ผมู้ ปี ญั หา สถานะและสทิ ธเิ ข้าถึงสทิ ธิและบริการสุขภาพทงั้ ในเชิงปริมาณและคณุ ภาพ (2) กรอบความคิดการพัฒนาระบบและกลไกการจัดบริการสุขภาพ ระดบั พ้นื ที่ กรอบคิดการพัฒนาระบบและกลไกในการจัดบริการสุขภาพระดับพื้นท ี่ ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง (Theories of change) ที่น�ามาใช้ในการขับเคล่ือน พัฒนาระบบและกลไกจัดบริการสุขภาพระดับพื้นท่ี คือใช้แนวคิดเชิงระบบ (System Approach) เปน็ วิธีการน�าเอาความรเู้ รอื่ งระบบเขา้ มาเปน็ กรอบชว่ ย ในการค้นหาปัญหา ก�าหนดวิธีการแก้ปัญหาและใช้แนวทางความคิดเชิงระบบ ชว่ ยในการตดั สนิ ใจแกป้ ญั หา ซง่ึ เปน็ กระบวนการหนง่ึ สามารถนา� ไปประยกุ ตใ์ ช้ กับการบรหิ ารงานในลักษณะองคร์ วม โดยมเี ป้าหมาย กระบวนการ ระบบยอ่ ย และองคป์ ระกอบตา่ งๆ ปฏสิ มั พนั ธก์ นั มกี ารปฏบิ ตั งิ านและแลกเปลย่ี นขา่ วสาร ร่วมกัน การพฒั นาระบบและกลไกจดั บรกิ ารสขุ ภาพในระดบั พนื้ ท ่ี อาศยั การตดิ ตอ่ สัมพันธ์กับบุคคล องค์กร หน่วยงานต่างๆ ในลักษณะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณ์ทา� งาน แบง่ ปันหรอื ลงขนั ทรัพยากร รว่ มแรงรว่ มใจในการทา� งาน ดว้ ยกนั และผลประโยชน์ท่ีเกิดขน้ึ มคี วามสมดุล การพฒั นาระบบกลไกจดั บรกิ ารสขุ ภาพระดบั พนื้ ท ี่ อาจจะม ี 6 องคป์ ระกอบ หลกั คือ (1)ระบบทจี่ ะตอ้ งพัฒนาปรบั ปรุงใหด้ กี ว่าเดมิ เชน่ (1.1)ระบบการลง ทะเบยี นใชส้ ทิ ธ ิ (1.2)ระบบฐานขอ้ มลู (1.3)ระบบบรกิ ารสขุ ภาพ (การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ การบรกิ ารรักษา การป้องกนั โรค และการฟื้นฟูเยียวยา) (1.4)ระบบการบรหิ าร จัดการงบประมาณ และ (1.5)ระบบการติดตามประเมินของหน่วยบริการหรือ โรงพยาบาล (2)คณะทา� งานระดบั พน้ื ท ี่ ทา� หนา้ ทอี่ อกแบบและพฒั นาระบบและ กลไกท่ีเอื้อต่อการเข้าถึงสิทธิและบริการสุขภาพตามบริบทพื้นที่และกลุ่มเป้า หมาย (3)ภาคประชาสงั คมทจี่ ะเขา้ มามสี ว่ นรว่ มดา� เนนิ การ เชน่ ศนู ยป์ ระสานงาน 17คู่มอื “พฒั นาระบบและกลไกจดั บริการสุขภาพระดับพน้ื ท”ี่ เรยี บเรยี งโดย : ววิ ฒั น์ ตาม่ี ปี พ.ศ 2563

หลกั ประกนั สขุ ภาพ องคก์ รพฒั นาเอกชน(NGOs) (4) คณะกรรมการอา� นวยการ ระดับจังหวัด (Core Team) (มีหรือไม่มีก็ได้ขึ้นอยู่กับความจ�าเป็น) หรือ คณะกรรมการระดบั อา� เภอ ประกอบดว้ ยภาคสว่ นตา่ งๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง เชน่ ผแู้ ทน สาธารณสขุ จังหวดั (สสจ.) หรือสาธารณสขุ อ�าเภอ หน่วยบรกิ าร องค์กรพัฒนา เอกชน ศนู ยป์ ระสานงานหลกั ประกนั สขุ ภาพระดบั จงั หวดั สา� นกั งานหลกั ประกนั สุขภาพระดับเขต (สปสช.เขต 1) เครือข่ายประชาชน ฯลฯ (ข้ึนอยู่กับเงื่อนไข หรอื ความจา� เป็น) เพื่อสนับสนุนและเออื้ อ�านวยในการทา� งานพฒั นาระบบและ กลไกระดับพ้ืนที่ (5)งานด้านวิชาการและระบบการเงินการคลังสนบั สนนุ การ ดา� เนนิ งานพฒั นาระบบและกลไก และ (6)กลมุ่ เปา้ หมายดา� เนนิ งาน เพ่ือให้การด�าเนินงานเกิดผลส�าเร็จเป็นจริงมากข้ึน ควรมีนโยบายระดับ ชาต ิ นโยบายระดับท้องถิน่ สนับสนนุ อ�านวยการหรือกา� กบั การด�าเนนิ งาน 18 ค่มู อื “พัฒนาระบบและกลไกจัดบริการสขุ ภาพระดบั พ้นื ท่ี” เรยี บเรยี งโดย : ววิ ัฒน์ ตามี่ ปี พ.ศ 2563

รพ,รพสต. นโยบายระดบั ชาติ 2 ระบบ 6 อปท และระดบั จงั หวดั สนับสนุน ลงทะเบียน ศปสง. ระบบและกลไกจัดบริการ กลุม่ เป้าหมาย NGOs 4 สขุ ภาพระดับพืน้ ท่ี ระบบ แกนน�า ฐานขอ้ มูล สสอ คณะกรรมการอา� นวยการ 1 ระบบบริการ เครอื ข่าย ระดบั จงั หวดั สนบั สนนุ สุขภาพ 4 ด้าน ปรบั ปรงุ ระบบและกลไก บรหิ ารจดั การ ปชช.9ดา้ น ภาคประชาสงั คม จัดบรกิ ารระดับพื้นที่ งบประมาณ เช่น ศูนยป์ ระสานงาน เครือข่ายสถานะบุคคล 3 ลา่ มชุมชน ลา่ ม ลา่ ม อสม.เช่ยี วชาญ หนว่ ยบริการ กลไกจดั บรกิ ารระดบั อ�าเภอ 5 ระบบบริการสขุ ภาพ งานวชิ าการ-ข้อมูลจากสถาบนั การศกึ ษา เชน่ มหาวิทยาลัย สาธารณสขุ จงั หวัด

3) วิธีการเชิงระบบ(Systematic Approach) หรือเทคนิคเชิงระบบ หมายถงึ วธิ กี ารนา� เอาความรเู้ รอื่ งระบบเขา้ มาเปน็ กรอบชว่ ยในการคน้ หาปญั หา ก�าหนดวิธีการแก้ปัญหา และใช้แนวทางความคิดเชิงระบบช่วยในการตัดสินใจ แกป้ ญั หา ซงึ่ เปน็ กระบวนการหนง่ึ ทสี่ ามารถนา� ไปประยกุ ตใ์ ชก้ บั การบรหิ ารงาน โดยพิจารณาการบริหารในลักษณะรวมที่มีเป้าหมาย กระบวนการ ระบบย่อย และองค์ประกอบต่างๆ ทมี่ ปี ฏสิ มั พันธก์ นั มีการปฏบิ ตั ิงาน แลกเปลีย่ นขา่ วสาร เพือ่ บรรลเุ ปา้ หมายทางการบริหาร วธิ กี ารเชงิ ระบบ จะชว่ ยใหก้ ารท�างานตามกรอบคดิ พฒั นาระบบและกลไก จดั บรกิ ารสขุ ภาพ (หวั ขอ้ ท ่ี 2) บรรลเุ ปา้ หมายตามทก่ี า� หนดไว ้ ใชเ้ วลา งบประมาณ และบคุ ลากรอย่างมปี ระสิทธิภาพและคุ้มค่ามากสดุ โดยมขี น้ั ตอนพัฒนาระบบ และกลไกจัดบรกิ ารสขุ ภาพระดับพืน้ ท ่ี 8 ขนั้ ตอนส�าคัญ ดังน ี้ ขน้ั ตอนท ี่ 1 การศกึ ษาสภาพปญั หาความตอ้ งการเพอ่ื สรา้ งความตระหนกั และรว่ มกนั แกไ้ ขปญั หา ขนั้ ตอนท ่ี 2 การเตรยี มคณะทา� งานพฒั นาระบบและกลไกจดั บรกิ าร สขุ ภาพระดบั พนื้ ที่ ขนั้ ตอนท ี่ 3 การเรยี นรแู้ ละพฒั นาศกั ยภาพคณะทา� งาน ขนั้ ตอนท ่ี 4 การสง่ เสรมิ การดา� เนนิ งานของคณะทา� งาน (การทา� กจิ กรรม ของกลมุ่ ) ขนั้ ตอนท ่ี 5 สง่ เสรมิ ดา� เนนิ โครงการนา� รอ่ ง (โครงการนา� รอ่ งแตล่ ะพน้ื ท)่ี ขนั้ ตอนท ่ี 6 การขยายกจิ กรรมหรอื โครงการเพอ่ื ตอบสนองแกไ้ ขปญั หาอน่ื ขนั้ ตอนท ี่ 7 การสรา้ งเครอื ขา่ ยแกไ้ ขปญั หาสทิ ธสิ ขุ ภาพ ขน้ั ตอนท ่ี 8 การตดิ ตามประเมนิ ผลภายใน (Internal Evaluation) 20 คมู่ ือ “พฒั นาระบบและกลไกจัดบรกิ ารสขุ ภาพระดบั พื้นท่ี” เรียบเรียงโดย : วิวฒั น์ ตาม่ี ปี พ.ศ 2563

2. ผใู้ ช้ ผู้ใชค้ อื ผ้ปู ฏิบัติงานองคก์ รพฒั นาเอกชน กลุ่ม/คณะท�างาน เพ่ือใชใ้ นการ ทา� งานรว่ มกบั ภาคเี ครอื ขา่ ยในระดบั ทอ้ งถน่ิ เชน่ หนว่ ยบรกิ าร องคก์ รปกครอง ส่วนท้องถน่ิ องค์กรพฒั นาเอกชนและภาคประชาสงั คม 3.วัตถุประสงค์ เพอื่ เปน็ แนวทางการทา� งานกบั ภาคเี ครอื ขา่ ยในระดบั ทอ้ งถนิ่ /พนื้ ท ี่ พฒั นา ระบบและกลไกการจดั บรกิ ารสขุ ภาพทเ่ี ออื้ ตอ่ การเขา้ ถงึ สทิ ธแิ ละบรกิ ารสขุ ภาพ กลมุ่ กลุม่ ชาตพิ นั ธุ์และชนเผ่าพนื้ เมืองในระดับพนื้ ที ่ 4.การพัฒนาคมู่ อื คู่มือฉบับนี้พัฒนาข้ึนจากประสบการณ์/บทเรียนจากการท�างานพัฒนา ระบบและกลไกจัดบริการสุขภาพระดับจังหวัดและระดับอ�าเภอในพ้ืนที่ ภาคเหนอื ตอนบน ศกึ ษาสงั เคราะหบ์ ทเรยี นประสบการณจ์ ากภาคเี ครอื ขา่ ยทมี่ ี ปฏบิ ตั กิ ารทด่ี ี (Best practice) ดา้ นการพฒั นาระบบและกลไกการจดั บรกิ ารใน มิติต่างๆ โดยมหี นงั สอื คมู่ ือการทา� งานกลมุ่ เกษตรกรรายย่อย ของกรมวิชาการ เกษตร เรียบเรียงโดย อ.นันทิยา หุตานุวัตร (2536) เป็นแนวทางในการเขียน เรียบเรยี งคมู่ อื ฉบบั นี้ คู่มือฉบับนี้ ควรได้รับการปรับปรุงแก้ไขเป็นระยะให้เหมาะกับกาลเวลา สภาพบริบทพ้ืนท่ีนั้นๆ และกระบวนการพัฒนาคู่มือควรมีข้ันตอนและ กระบวนการ คอื 1) การทดลองปฏิบัติจนกระท่งั ไดบ้ ทเรียนและมีองคค์ วามรู้ 2) นักวชิ าการจากสถาบนั วชิ าการมาชว่ ยถอดบทเรยี นสรา้ งความองค์ ความรูใ้ นการทา� งาน 3) นา� บทเรียนองค์ความรมู้ าจัดทา� เปน็ คมู่ ือในการทา� งาน 21คมู่ อื “พัฒนาระบบและกลไกจัดบรกิ ารสขุ ภาพระดบั พน้ื ที่” เรยี บเรียงโดย : วิวฒั น์ ตามี่ ปี พ.ศ 2563

4) ทดลองใช้คมู่ อื ในการปฏิบตั ิงาน 5) สรปุ บทเรียนการทดลองใช้คู่มอื ว่า ใช้ไดห้ รือไมไ่ ด้ มีเงอ่ื นไขขอ้ จา� กดั อะไรและจะพัฒนาอยา่ งไรให้ดขี น้ึ กว่าเดมิ 6) ผู้ใชค้ ู่มอื ปรบั ปรุงและพัฒนาคมู่ ือใหม่ใหเ้ หมาะสมยงิ่ ข้ึนกับบริบทพื้นที่ และกลุ่มเป้าหมาย 5. การใชค้ มู่ ือ การน�าคู่มือไปใช้ท�างาน ผู้ใช้คู่มือควรท�าความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพและ บรบิ ทของกลมุ่ เปา้ หมาย พน้ื ทที่ า� งานอยา่ งชดั เจน รวมทง้ั คา� นงึ ถงึ ทนุ เดมิ ในการ ทา� งานทมี่ อี ยแู่ ลว้ ในพน้ื ทม่ี อี ะไรบา้ ง เชน่ มนี โยบายรฐั เรอื่ งใดบา้ งทหี่ นว่ ยงานรฐั ระดับพ้ืนท่ีด�าเนินงานอยู่ มีช่องว่างหรือเง่ือนไขข้อจ�ากัดที่หน่วยงานรัฐและ องค์กรพัฒนาเอกชนท�าไม่ได้เพียงล�าพังฝ่ายเดียวและอยากร่วมมือกันท�างาน สภาพการท�างานในลักษณะกลุ่ม ตลอดจนเง่ือนไขปัจจัยท่ีเป็นจุดแข็งและส่ิงที่ ยังท้าทายการท�างาน เม่ือทราบสภาพของกลุ่มเป้าหมายแล้วผู้ใช้คู่มือสามารถ เร่ิมต้นที่ขั้นตอนใดก็ได้ขึ้นอยู่กับความพร้อมของกลุ่มในแต่ละพ้ืนท่ีและ วิจารณญาณของผู้ใช้ 6. การส่งเสริมการพัฒนาระบบและกลไกจัดบรกิ ารสุขภาพ ในขนั้ ตอนสง่ เสรมิ พฒั นาระบบและกลไกน ี้ อธบิ ายรายละเอยี ดวา่ มใี ครบา้ ง ทจี่ ะเขา้ มาเกย่ี วขอ้ งในการพฒั นาระบบและกลไกระดบั พนื้ ท ี่ เชน่ (1) ใครจะเปน็ คนหลักที่ส�าคัญในการจัดท�าโครงการ (2) คุณภาพของผู้ประสานงานจัดท�า โครงการทดี่ ตี อ้ งเปน็ อยา่ งไร และ (3) บทบาทผปู้ ระสานงานโครงการหรอื ผทู้ จี่ ะ ส่งเสรมิ ให้เกิดการท�างานกลุ่มและพัฒนาโครงการ 1. ใครจะเป็นคนหลกั ท่ีส�าคัญในการจดั ทา� โครงการ คนหลกั ทส่ี า� คญั ในการดา� เนนิ โครงการพฒั นาระบบและกลไกในระดบั พน้ื ท ่ี ประกอบด้วย ผู้ประสานงานหรือภาคีโครงการย่อย (ถ้ามี) หน่วยบริการ/ 22 คู่มือ “พัฒนาระบบและกลไกจดั บริการสุขภาพระดับพน้ื ท่ี” เรยี บเรยี งโดย : ววิ ัฒน์ ตามี่ ปี พ.ศ 2563

โรงพยาบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรพัฒนาเอกชนและแกนน�า ชุมชน/เครือข่าย จะสนับสนุนให้การท�างานแก้ไขปัญหาของชุมชนและกลุ่มผู้มี ปญั หาสถานะและสิทธิรว่ มกันอยา่ งเป็นจริงเปน็ จัง 1.1 ผปู้ ระสานงานโครงการ บทบาทสา� คญั คอื การจดั โอกาสทางการศกึ ษา ทา� หนา้ ทใ่ี นการประสานงาน สรา้ งความเขา้ ใจสรา้ งความตระหนกั ใหแ้ กห่ นว่ ยบรกิ ารในพน้ื ทแี่ ละภาคเี ครอื ขา่ ย ต่างๆ เข้ามามสี ่วนรว่ มในการแกไ้ ขปญั หารว่ มกัน ประสานงานหน่วยงานตา่ งๆ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ในการสนบั สนนุ ดา้ นงบประมาณการทา� งาน และให้ สถาบันวิชาการสนับสนุนงานวชิ าการและสร้างองคค์ วามร้ตู ่างๆ เปน็ ตน้ 1.2 หนว่ ยบริการ/โรงพยาบาล หนว่ ยบรกิ ารหรอื โรงพยาบาลจะเปน็ ภาคหี นุ้ สว่ นหลกั รว่ มดา� เนนิ โครงการ พฒั นาระบบและกลไกจดั บรกิ ารสขุ ภาพตง้ั แตต่ น้ เชน่ วเิ คราะห ์ ประมวลขอ้ มลู สถานการณ์ วางแผนการด�าเนินงานร่วมกับกลุ่มเป้าหมายและภาคีอื่น เสริม ศักยภาพกล่มุ เปา้ หมายใหเ้ กิดกระบวนการเรยี นร ู้ ลงมือทา� และให้ค�าแนะนา� ให้ เกดิ การเปลย่ี นแปลง รว่ มเปน็ กลไกการพฒั นากระบวนการนโยบายกบั เครอื ขา่ ย การพฒั นานโยบาย สนบั สนนุ -ประสานทรพั ยากร เพอื่ ใหก้ ารดา� เนนิ งานตอ่ เนอ่ื ง และมีประสิทธิภาพ (Co-funding) ประสานและอ�านวยกระบวนการท�างาน ระหวา่ งภาคคี วามร่วมมือทเ่ี กย่ี วข้อง (ภาคียุทธศาสตรแ์ ละภาคีสนบั สนนุ ) เพ่ือ การสนับสนุนการทา� งานและสรา้ งเจตนคติท่ดี ขี องกลุ่มเป้าหมาย 1.3 ผู้เข้าร่วมโครงการ หมายถึงสมาชิกผู้เข้าร่วมโครงการ เช่น องค์กร พฒั นาเอกชน องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ แกนนา� เครอื ขา่ ย ฯลฯ เปน็ ผตู้ ดั สนิ ใจ ที่ส�าคัญในกระบวนการพัฒนาระบบและกลไกระดับพ้ืนท่ี จะมีส่วนร่วมในการ ทา� งานและชนื่ ชมในประโยชนท์ ไี่ ดจ้ ากการทา� โครงการของกลมุ่ เปา้ หมาย การมี สว่ นรว่ มของคนกลมุ่ นจี้ ะตอ้ งเปน็ การสรา้ งสรรค ์ มกี ารตรวจสอบและวางสมดลุ ของงานทงั้ หมดของกลมุ่ อยา่ งเสมอตน้ เสมอปลาย คนเหลา่ นตี้ อ้ งไดร้ บั การเปดิ ใจ 23คู่มอื “พัฒนาระบบและกลไกจดั บรกิ ารสุขภาพระดับพืน้ ที่” เรียบเรียงโดย : วิวฒั น์ ตามี่ ปี พ.ศ 2563

ตอ่ ผลสะทอ้ นทีเ่ กดิ ขนึ้ และเรยี นร้จู ากประสบการณ์ของตนเองเปน็ สา� คัญ 1.4 สมาชิกคนอืน่ ๆ ในระดับพน้ื ท่ ี หมายถงึ กลมุ่ ทเ่ี ปน็ ผู้สนบั สนนุ กลมุ่ ท่ี ไมเ่ หน็ ดว้ ยหรอื กลมุ่ ทเี่ ปน็ กลางตอ่ กจิ กรรมทผ่ี เู้ ขา้ รว่ มโครงการทกี่ า� ลงั ปฏบิ ตั อิ ยู่ เช่น หน่วยงานปกครอง ฝ่ายความม่ันคง ผู้ประกอบการ ซ่ึงผู้ประสานงาน หนว่ ยบรกิ าร ผนู้ า� ทอ้ งถน่ิ และผเู้ ขา้ รว่ มโครงการจะตอ้ งพยายามคอ่ ยๆ ดงึ บคุ คล เหล่านั้นให้เข้าร่วมโครงการให้ได้ กิจกรรมของเขาจะต้องเป็นกิจกรรมที่ได้รับ การควบคุมเพียงพอเพ่ือไม่ให้เป็นตัวบ่อนท�าลายความส�าเร็จของผู้เข้าร่วม โครงการพัฒนาระบบและกลไก 1.5 หนว่ ยงานสนบั สนนุ หมายถงึ หนว่ ยงานภายนอกทจ่ี ะใหก้ ารสนบั สนนุ การพฒั นาโครงการระบบและกลไก เพอื่ ชว่ ยเหลอื ในการกระบวนการปฏบิ ตั งิ าน เชน่ สถาบนั วชิ าการ ผเู้ ชย่ี วชาญจากภายนอก สาธารณสขุ จงั หวดั (สสจ.) องคก์ ร ปกครองส่วนท้องถ่ิน ฯลฯ ด้วยการเอ้ืออ�านวยในการท�างาน ฝึกอบรมพัฒนา ศกั ยภาพ (เทา่ ทจี่ า� เปน็ ) จดั หาวสั ดอุ ปุ กรณ ์ ทรพั ยากร และงบประมาณสนบั สนนุ การด�าเนนิ งาน 2. คุณภาพของผปู้ ระสานงานโครงการทด่ี ี ผู้ประสานงานจัดท�าโครงการท่ีดีน้ันจะต้องสามารถท�างานร่วมกับ หนว่ ยงานราชการทเ่ี กย่ี วขอ้ งได ้ เชน่ ทา� งานกบั สาธารณสขุ จงั หวดั หนว่ ยบรกิ าร/ โรงพยาบาล องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ สถาบนั วชิ าการ เปน็ ตน้ ผปู้ ระสานงาน หรือผู้รับผิดชอบพัฒนาระบบและกลไกการจัดบริการสุขภาพในระดับพื้นท่ีท่ีมี ประสิทธิภาพควรจะต้องมีคุณลักษณะในด้านต่างๆ ครบถ้วนและเป็นที่ยอมรับ ของหน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้องดังกลา่ ว ดังต่อไปนี้ (1) ความร ู้ ผทู้ ที่ า� หนา้ ทปี่ ระสานงานจดั ทา� โครงการพฒั นาระบบและกลไก จะต้องคุ้นเคยแนวคิดและหลักการ ความคิดรวบยอด ปรัชญาและวิธีการการ ท�างานของนโยบายสาธารณะ (Policy Advocacy ) และแนวคิดการท�างาน เชิงระบบ (Systematic Approach) เป็นอยา่ งดี ผู้ประสานงานจะตอ้ งเปน็ คน 24 คมู่ ือ “พฒั นาระบบและกลไกจดั บรกิ ารสุขภาพระดับพน้ื ท”ี่ เรยี บเรียงโดย : วิวฒั น์ ตาม่ี ปี พ.ศ 2563

ทรี่ อบรใู้ นเรอื่ งของผมู้ ปี ญั หาสถานะบคุ คลและสทิ ธ ิ นโยบายทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั บคุ คล เหล่านี้และหน่วยงานรัฐต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องเป็นอย่างดี รอบรู้ถึงแนวคิดทฤษฎี ส�าคัญในการส่ือสารและอืน่ ๆ ที่จา� เปน็ (2) บุคลิกภาพและค่านิยม ผู้ประสานงานจ�าเป็นต้องเป็นคนท่ีใช้ กระบวนการแบบประชาธปิ ไตยสรา้ งการมสี ว่ นรว่ มเปน็ มจี ติ ใจทเ่ี หน็ อะไรในแง่ ดแี ละเปน็ ประโยชน ์ ใจกวา้ งเปดิ เผย มขี อ้ ผกู พนั ตอ่ ประชาชน เปน็ ผทู้ คี่ วรจะตอ้ ง แสดงออกถึงความบากบ่ันอดทน ริเริ่มในงานการพัฒนาและมีบุคลิกลักษณะ ในดา้ นสงั คมทน่ี า่ ชน่ื ชอบและทกุ ฝา่ ยทเี่ กยี่ วขอ้ ง ทส่ี า� คญั ตอ้ งเปน็ คนถอ่ มตนและ ตัง้ ใจทจ่ี ะทา� ตนใหเ้ ปน็ คนธรรมดา (3) ทักษะหรือความคล่องแคล่ว ผู้ประสานงาน จะต้องเป็นที่สามารถ สอ่ื สารกบั หนว่ ยงานรฐั และหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถ จัดการใช้ยุทธศาสตร์ด้านการจัดองค์กรต่างๆ ในพื้นท่ีเช่นการบูรณาการให้เข้า กับหน่วยบริการ/โรงพยาบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จัดการด้านค้นคว้า ทางสงั คม การยกระดบั ศกั ยภาพแกนนา� เออ้ื อา� นวยความสะดวกดา้ นการประชมุ และการจัดการด้านการแก้ปัญหาข้อขัดแย้ง ผู้ประสานงานจะต้องมีทักษะการ วิจัยและบริการจัดการเป็นอย่างดี สามารถรวบรวมข้อมูลวิเคราะห์และ สังเคราะห์เอกสารตา่ งๆ รวมไปถึงการเขยี นรายงานได้ดี 3. บทบาทของผู้ประสานงานโครงการ ผปู้ ระสานงาน ควรมคี วามสามารถในการประสานงาน สง่ เสรมิ บรรยากาศ แบบประชาธิปไตยระหว่างหน่วยงานที่เก่ียวข้องอย่างเป็นกันเองและเปิดเผย ด้วยวิธีการเช่นน้ี ก็จะสามารถส่งเสริมให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องให้เข้ามามีส่วน รว่ มในการแสดงความคดิ และการทา� งานรว่ มกนั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ นนั่ กค็ อื การจัดโอกาสให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องตระหนักถึงความจ�าเป็นที่ต้องท�างาน รว่ มกัน ผ้ปู ระสานงาน ต้องใช้วธิ ีการแบบใหป้ ระชาชนมีสว่ นรว่ ม เชน่ การระดม พลงั สมองหรอื ระดมความคดิ อภปิ รายเปน็ กลมุ่ การสอื่ สารตามแบบปฏบิ ตั เิ ดมิ 25คมู่ ือ “พัฒนาระบบและกลไกจดั บริการสุขภาพระดับพน้ื ท่”ี เรยี บเรยี งโดย : วิวฒั น์ ตาม่ี ปี พ.ศ 2563

และวิธีการต่างๆ เพื่อหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องและแกนน�าเครือข่ายได้แสดง ความคิดเห็นเพื่อการพัฒนาระบบและกลไกระดับพ้ืนที่ท่ีเอื้อต่อการเข้าถึงสิทธิ และบริการสุขภาพกลุ่มผู้มีปัญหาสถานะบุคคลอย่างไร มีความรู้ความสามารถ ในการสรปุ ถงึ ความพยายามในการวจิ ยั พฒั นาเพอื่ วา่ จะไดเ้ นน้ ผลลพั ธท์ เี่ ปน็ หลกั ส�าคัญได้ถกู ตอ้ ง การทจ่ี ะสามารถประสานงานในการกระบวนการของการพฒั นาระบบและ กลไกหน่วยงานที่เก่ียวข้องเช่นน้ีได้น้ันต้องอาศัยความรู้ประสบการณ์ในเรื่อง สถานการณร์ ะหวา่ งหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งเปน็ อยา่ งด ี ผปู้ ระสานงานจะตอ้ งเขา้ ใจ ปัญหาหลัก ความขัดแย้งท่ีเก่ียวข้องกับกลุ่มต่างๆ ในพ้ืนที่ท�างานหรือปัญหา ระหว่างหน่วยที่เกี่ยวข้อง แต่พึงระลึกไว้เสมอว่าตนเป็นเพียงผู้ประสานงาน เท่านั้น หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในระดับพื้นท่ีเป็นผู้รู้ปัญหาเองท้ังหมดของตนเอง และจะต้องเป็นผู้ทร่ี ับผดิ ชอบแก้ไขปญั หาหลัก ความรับผิดชอบที่ส�าคัญอย่างหนึ่งของผู้ประสานงานพัฒนาระบบและ กลไกฯ คอื ประสานงานสรา้ งความรว่ มมอื สงิ่ นส้ี ามารถทา� ไดส้ า� เรจ็ จากการคอ่ ยๆ ฝึกอบรมผู้แทนองค์กรพัฒนาเอกชนในพื้นที่และแกนน�าเครือข่ายให้ท�าหน้าที่ มีบทบาทส�าคัญในการประสานงานแทนตนซง่ึ สามารถทา� ได้หลายทาง เช่นการ หมุนเวียนบทบาทในการรับผิดชอบ การท�าให้องค์กรท้องถิ่นหรือเครือข่ายมี ความเข้มแขง็ ในการปฏิบตั ิงาน และท่สี า� คญั สุดคอื สามารถอา� นวยความสะดวก และประสานงานกระบวนการพฒั นาของตนเองให้ได้ 26 ค่มู อื “พฒั นาระบบและกลไกจดั บรกิ ารสุขภาพระดบั พน้ื ที่” เรียบเรยี งโดย : วิวฒั น์ ตามี่ ปี พ.ศ 2563

ตอนท่ ี 2 ขัน้ ตอนการพฒั นาระบบและกลไก บริการสุขภาพในระดับพน้ื ที่

การด�าเนินงานพัฒนาระบบและกลไกจัดบริการสุขภาพระดับพื้นท่ี ใช้ แนวคดิ วธิ กี ารเชงิ ระบบ (System Approach) ในการดา� เนนิ งานพฒั นา เปน็ วธิ ี การนา� เอาความรเู้ รอ่ื งระบบเขา้ มาเปน็ กรอบในการคน้ หาปญั หา กา� หนดวธิ กี าร แกป้ ญั หาและชว่ ยตดั สนิ ใจแกป้ ญั หา วธิ กี ารเชงิ ระบบจงึ เปน็ กระบวนการหนง่ึ ท่ี สามารถน�าไปประยุกต์ใช้กับการบริหารงานในองค์กรประเภทต่างๆ ได้ โดย พิจารณาการบริหารในลักษณะองค์รวมที่มีเป้าหมาย กระบวนการ ระบบย่อย และองค์ประกอบตา่ งๆ ทม่ี ปี ฏิสมั พนั ธ์กนั มีการปฏบิ ัติงานแลกเปลีย่ นข่าวสาร เพื่อบรรลุเปา้ หมายทางการบริหารและประโยชนจ์ ากการใชว้ ธิ กี ารเชงิ ระบบ แนวคิดวิธีการเชิงระบบดังกล่าวจะเป็นการประกันว่าการด�าเนินงานจะ ด�าเนินต่อไปตามขั้นตอนที่วางไว้ โดยช่วยให้การท�างานตามระบบบรรลุตาม เปา้ หมาย โดยใชเ้ วลา งบประมาณและบุคลากรอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและคมุ้ คา่ มากทีส่ ุด วิธีการหรือเทคนิคเชิงระบบเป็นการท�างานจากสภาพท่ีเป็นอยู่ไปสู่สภาพ ที่ต้องการของงานน้ันท้ังระบบ โดยมีข้ันตอนด�าเนินการพัฒนาระบบและกลไก ทส่ี า� คญั 8 ขั้นตอน ไดแ้ ก่ ข้นั ตอนท่ ี 1 การศึกษาสภาพปัญหาความตอ้ งการเพอ่ื สร้างความตระหนกั และร่วมกนั แกไ้ ขปัญหา ขน้ั ตอนท ่ี 2 การเตรียมคณะท�างานพัฒนาระบบและกลไกจัดบริการ สุขภาพระดบั พน้ื ท่ี ขน้ั ตอนท่ี 3 การเรยี นรู้และพัฒนาศักยภาพคณะทา� งาน ขั้นตอนที่ 4 การสง่ เสรมิ การด�าเนินงานของคณะทา� งาน (การทา� กิจกรรม ของกลุม่ ) ขน้ั ตอนที่ 5 สง่ เสริมดา� เนนิ โครงการน�าร่อง (โครงการน�าร่องแตล่ ะพนื้ ท่ี) ขน้ั ตอนท ่ี 6 การขยายกจิ กรรมหรอื โครงการเพอื่ ตอบสนองแกไ้ ขปญั หาอน่ื ข้ันตอนท ่ี 7 การสร้างเครือขา่ ยแก้ไขปัญหาสิทธสิ ุขภาพ 28 คู่มอื “พัฒนาระบบและกลไกจัดบรกิ ารสขุ ภาพระดบั พืน้ ท่ี” เรียบเรยี งโดย : วิวฒั น์ ตาม่ี ปี พ.ศ 2563

ข้นั ตอนที ่ 8 การตดิ ตามประเมินผลภายใน (Internal Evaluation) 29คู่มือ “พัฒนาระบบและกลไกจดั บรกิ ารสุขภาพระดบั พนื้ ท”่ี เรยี บเรยี งโดย : วิวัฒน์ ตาม่ี ปี พ.ศ 2563

ขั้นตอนท ี่ 1 : การศกึ ษาสภาพปัญหาความตอ้ งการ เพอื่ สร้างความตระหนกั และร่วมกนั แกไ้ ขปญั หา ผู้จัดท�าโครงการควรจะต้องตระหนักเสมอว่าเราคือคนนอกเข้าไปทา� งาน ในพื้นที่กับหน่วยงานอื่นท่ีเป็นเจ้าของพ้ืนที่หรือเจ้าภาพหลักการท�างานด้าน สขุ ภาพ ควรจะทา� ความเขา้ ใจสภาพปญั หาของผมู้ ปี ญั หาสถานะบคุ คลและหนว่ ย บรกิ ารทเ่ี ราจะเขา้ ไปทา� งานกอ่ น เรม่ิ จากศกึ ษาปญั หาและความตอ้ งการ (Need assessments) ของกลุ่มเป้าหมายและชุมชนเพื่อจะได้ท�างานร่วมกับหน่วย บริการอย่างมีประสิทธิภาพได้ ดังนั้นการศึกษาและแสวงหาความรู้อย่างเป็น ระบบจงึ สา� คญั วตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ใหเ้ รามคี วามเขา้ ใจหนว่ ยบรกิ ารและผมู้ ปี ญั หา สถานะบุคคลถึงสภาพปัญหาเง่ือนไขข้อจ�ากัด ซึ่งเป็นการปูพื้นฐานของ กระบวนการวางแผนพัฒนาระบบและกลไกจัดบริการสุขภาพที่เอ้ือต่อการ เข้าถงึ สทิ ธผิ ู้มีปัญหาสถานะบุคคล การด�าเนินงานในขั้นตอนที่ 1 นี้ ประกอบด้วยข้ันตอนย่อยที่ควรด�าเนิน การอกี 4 ขน้ั ตอนย่อย คอื (1)การคดั เลอื กพน้ื ที่เป้าหมาย (2)การเขา้ หาหน่วย บริการและองค์กรที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมท่ีจะพัฒนา (3)การเชื่อม ประสานหนว่ ยบรกิ าร และ (4)การศึกษาสา� รวจสภาพปญั หาและความตอ้ งการ ผมู้ ปี ญั หาสถานะและหน่วยบรกิ ารและหน่วยงานทีเ่ ก่ียวขอ้ ง (Base line data) 1. การคดั เลอื กพื้นท่เี ปา้ หมาย หลักการและเหตุผล การเลอื กพน้ื ทเี่ ปา้ หมาย หลกั เกณฑส์ า� คญั เปน็ พน้ื ทมี่ จี า� นวนกลมุ่ ผมู้ ปี ญั หา สถานะและสิทธิอาศัยอยู่หนาแน่น มีปัญหาการเข้าถึงสิทธิและบริการสุขภาพ หน่วยบริการตระหนักในปัญหาและต้องการในการท�างานแก้ไขปัญหาร่วมกัน และมีองค์กรพัฒนาเอกชนเห็นคุณค่าและอยากสร้างความร่วมมือในการแก้ไข 30 คูม่ ือ “พัฒนาระบบและกลไกจัดบรกิ ารสขุ ภาพระดับพ้ืนที่” เรียบเรียงโดย : ววิ ฒั น์ ตามี่ ปี พ.ศ 2563

ปัญหารว่ มกนั เครื่องมือและหรือเทคนิคที่น�ามาใช้ในการคัดเลือกพ้ืนท่ีเป้าหมายการ พฒั นา คอื ใชว้ ธิ กี ารสา� รวจความตอ้ งการ/ความจา� เปน็ พนื้ ฐานผใู้ หบ้ รกิ าร (หนว่ ย บริการ) ผู้รับบริการในแต่ละพื้นที่ การท�าแผนท่ี (Mapping) หน่วยงานต่างๆ รายชื่อเจ้าหน้าท่ี แกนน�าท่ีจะให้ความร่วมมือจะท�าให้สะดวกต่อการตัดสินใจ เลอื กพ้ืนท่ีทา� งาน วตั ถปุ ระสงค์ ระบพุ น้ื ทเี่ ปา้ หมายเพอ่ื การพฒั นาระบบและกลไกจดั บรกิ ารสขุ ภาพในพนื้ ท ี่ ท�าอย่างไร 1) ก�าหนดหลกั เกณฑใ์ นการเลือกหนว่ ยบริการหรือพนื้ ท่ีท่พี ฒั นา 2) กา� หนดพน้ื ทที่ จี่ ะพฒั นาดว้ ยความชว่ ยเหลอื ของสาธารณสขุ จงั หวดั (สสจ.) 3) เก็บรวบรวมขอ้ มูลหนว่ ยบรกิ ารท่ีเกีย่ วขอ้ งกับเกณฑท์ ไ่ี ดก้ �าหนดไว้ 4) ใชเ้ กณฑท์ ก่ี า� หนดไวเ้ ลอื กจดุ หรอื หนว่ ยบรกิ าร ทจ่ี ะเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ มใน การพัฒนา 5) การสา� รวจสภาพปญั หาและความตอ้ งและหาโอกาสในการแกไ้ ขปญั หา รว่ มกัน โดยใชว้ ธิ ีการสนทนากลุม่ (FocusGroup) 6) เลอื กหน่วยบริการหรอื พ้ืนทท่ี จ่ี ะพฒั นาระบบและกลไก ตวั บง่ ช้ี มีเกณฑ์คัดเลือกพื้นท่ ี รายงานผลการจัดท�าแผนที่ (Mapping) หนว่ ยงาน ทเี่ กยี่ วขอ้ ง รายชอื่ คนทา� งานและไดพ้ น้ื ทห่ี รอื หนว่ ยบรกิ ารทจี่ ะเขา้ ไปมสี ว่ นรว่ ม ในการพฒั นาระบบและกลไกการจดั บริการสุขภาพ 31คมู่ อื “พฒั นาระบบและกลไกจัดบริการสุขภาพระดบั พ้นื ที”่ เรยี บเรยี งโดย : วิวฒั น์ ตามี่ ปี พ.ศ 2563

2. การเขา้ หาหนว่ ยบรกิ ารและองคก์ รทเ่ี กย่ี วขอ้ งเพอื่ สรา้ งการมสี ว่ นรว่ ม หลักการและเหตุผล แนวคิดและหลักการส�าคัญในการท�างาน ควรด�าเนินงานภายใต้แนวคิด ปรับทุกข์ ผูกมิตรและเกาะติด ดังนั้นการเข้าหาหน่วยบริการและหน่วยงานที่ เกย่ี วขอ้ งในพนื้ ทเ่ี ปา้ หมายควรจะตอ้ งรวู้ า่ รฐั และกระทรวงสาธารณสขุ มนี โยบาย ส�าคัญอะไรบ้างทีส่ ั่งการลงมายังพน้ื ท ี่ หนว่ ยบรกิ ารก�าลงั ท�า ประสบปัญหาและ อยากแสวงหาความรว่ มมอื กบั ภาคประชาสงั คม จากนนั้ ใหส้ าธารณสขุ จงั หวดั (สสจ.) ชว่ ยแนะนา� ฝากฝังว่าเราคอื ใคร มาจากไหน มีเป้าหมายและวัตถปุ ระสงคอ์ ะไร ในระดบั พน้ื ท ่ี อาจจะตอ้ งอาศยั หนว่ ยงาน (สาธารณสขุ อา� เภอ ผแู้ ทนองคก์ ร พัฒนาเอกชนในพื้นที่ท่ีมีความสัมพันธ์ท่ีดีกับหน่วยบริการอยู่แล้วช่วยเป็น สื่อกลางประสานงาน เพ่ือขอเย่ียมเยียนพูดคุยปัญหาและความต้องการในการ แกไ้ ขปญั หารว่ มกนั ในทา� นองเดยี วกนั หนว่ ยบรกิ ารและองคก์ รพฒั นาเอกชนใน พ้ืนท่ีจะต้องเล็งเห็นความส�าคัญและตระหนักในการสร้างความร่วมมือแก้ไข ปัญหาแบบบูราณาการ ซ่ึงผู้ประสานงานโครงการฯ จะต้องชี้แจงสร้างความ เข้าใจให้ได้ว่าเราไม่ใช่เป็นผู้แก้ไขปัญหาเองทั้งหมด แต่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะหน่วยบริการ องค์กรพัฒนาเอกชนในพื้นท่ีและชุมชนจะต้องเป็นผู ้ แกป้ ัญหาโดยตรงและจะต้องเป็นส่วนหนึง่ ของภารกิจหนว่ ยบริการในการแกไ้ ข เครอ่ื งมอื สา� คญั สา� หรบั ในขน้ั ตอนนคี้ อื ผปู้ ระสานงานหรอื ผปู้ ฏบิ ตั งิ านและ การใช้วิธกี าร Mapping เปน็ เครอ่ื งมอื ทสี่ �าหรับเกบ็ ขอ้ มูลหนว่ ยงานและบคุ คล สา� คญั ทจี่ ะเชญิ ชวนมารว่ มงาน การทา� ความคดิ กบั หนว่ ยงาน แกนนา� ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ทา� หนา้ ทส่ี รา้ งความสมั พันธ์ท่ีดีสกู่ ารสรา้ งความรว่ มมอื 32 คู่มอื “พัฒนาระบบและกลไกจัดบรกิ ารสขุ ภาพระดบั พื้นท”ี่ เรยี บเรียงโดย : ววิ ัฒน์ ตาม่ี ปี พ.ศ 2563

วัตถุประสงค์ เพ่อื ให้ผู้ประสานงานโครงการฯ หรือผดู้ �าเนนิ โครงการได้สร้างบรรยากาศ กับหน่วยบริการและองค์กรพัฒนาเอกชนที่เก่ียวข้องเพ่ือจะร่วมมือกันพัฒนา ระบบและกลไกจดั บรกิ ารสุขภาพในพนื้ ทอี่ ย่างราบรื่น ท�าอย่างไร 1) พบปะกลมุ่ คนและหนว่ ยงานตา่ งๆ ทท่ี า� งานอยใู่ นพน้ื ทเี่ พอื่ อภปิ รายถงึ จุดประสงค์และตัวโครงการท้ังภายในและภายนอกพ้นื ท่ี 2) พบปะผู้บริหารของหน่วยบริการ องค์กรพัฒนาเอกชน และองค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ เพอื่ อภปิ รายถงึ จดุ ประสงคแ์ ละโครงการทจ่ี ะตอ้ ง ทา� งานร่วมกัน 3) พบปะสมาชิกของกลุ่มต่างๆ ในพน้ื ท ่ี 4) จัดประชุมหรือจัดเวทีเป็นทางการกับหน่วยบริการและหน่วยงานที่ เก่ียวข้อง ว่าการแก้ไขปัญหาโดยใช้นโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนา ระบบและกลไกจัดบริการสุขภาพในพ้ืนอย่างไร เพื่อให้หน่วยงานที่ เกยี่ วข้องยอมรับผ้ปู ระสานงานหรือผ้ทู ี่ด�าเนินโครงการพฒั นา ตวั บ่งชี้ 1) หน่วยบริการและหน่วยงานที่เก่ียวข้องในพ้ืนท่ียอมรับผู้ประสานงาน และทีด่ �าเนนิ โครงการพัฒนา 2) หน่วยบริการและหน่วยงานที่เก่ียวข้องยอมรับวิธีการแก้ไขปัญหาโดย ใชแ้ นวคดิ เชงิ ระบบเพอ่ื การพฒั นาระบบและกลไกจดั บรกิ ารสขุ ภาพใน ระดับพ้นื ที่ 33คู่มอื “พฒั นาระบบและกลไกจดั บรกิ ารสุขภาพระดับพนื้ ที่” เรยี บเรียงโดย : วิวัฒน์ ตาม่ี ปี พ.ศ 2563

3. การเช่ือมประสานหนว่ ยบริการและหน่วยงานท่เี ก่ียวขอ้ งในพ้นื ท่ ี หลักการและเหตุผล การที่จะน�าแนวคิดเชงิ ระบบเพื่อการพฒั นาระบบและกลไกจดั การบริการ สุขภาพกลุ่มผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิน้ัน ผู้จัดท�าโครงการควรได้รับความไว้ วางใจยอมรับจากหน่วยบริการและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในพ้ืนท่ี ข้ันตอนน้ีจะ สามารถช่วยผู้ประสานงานโครงการฯ ในพ้ืนท่ี แต่เหนือสิ่งอื่นใดการเช่ือม ประสานเข้ากับหน่วยบริการและหน่วยงานที่เก่ียวข้องจะดีหรือไม่น้ันข้ึนอยู่กับ บคุ ลกิ ภาพของผปู้ ระสานงาน ขน้ั นผี้ ปู้ ระสานงานโครงการจะตอ้ งตดั สนิ ใจวา่ จะ ท�างานในพืน้ ท่ีไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ เครอ่ื งมอื และเทคนคิ ทสี่ า� คญั คอื การพยายามมองและคดิ แบบทศั นะคนใน การท�าตารางหรือปฏิทินการเย่ียมเยียน พบปะหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้าง ความสัมพันธ์ เข้าร่วมกิจกรรมท่ีหน่วยงานต่างๆ จัดขึ้นมาเพื่อหาช่องทางหรือ โอกาสดา� เนนิ งาน วัตถปุ ระสงค์ ผู้ประสานงานโครงการหรือเจ้าหน้าท่ีในระดับพื้นท่ีเชื่อมประสานเข้ากับ หนว่ ยบริการและหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง ทา� อยา่ งไร 1) พจิ ารณาจดั รายการพบปะเยย่ี มเยยี นผบู้ รหิ ารและเจา้ หนา้ ทที่ เี่ กย่ี วขอ้ ง ของหน่วยบริการและองค์กรพัฒนาเอกชน องค์การปกครองส่วน ท้องถิ่นจากบญั ชีรายช่ือทจ่ี ากแผนที ่ (Mapping) ไวแ้ ลว้ 2) เขา้ รว่ มกจิ กรรมตา่ งๆ ทห่ี นว่ ยบรกิ ารและหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งจดั อยา่ ง สม่�าเสมอ 3) ให้ความช่วยเหลือหรือร่วมมือกับหน่วยบริการและแสดงความผูกพัน เกีย่ วข้องดว้ ย 34 คู่มอื “พฒั นาระบบและกลไกจดั บริการสุขภาพระดับพน้ื ท”่ี เรียบเรยี งโดย : ววิ ฒั น์ ตามี่ ปี พ.ศ 2563

4) ท�าตัวให้มีบทบาทน้อยลง ให้บทบาทแก่หน่วยบริการ/หน่วยงานกรณี ทท่ี �ากจิ กรรมต่างๆ รว่ มกนั 5) หาแนวทางหรอื ชอ่ งทางเสรมิ หรอื พฒั นาศกั ยภาพใหห้ นว่ ยบรกิ ารหรอื คณะท�างานในเรื่องการพัฒนานโยบายสาธารณะในระดับพื้นที่เอ้ือต่อ การเข้าถึงสิทธแิ ละบริการสุขภาพกลุม่ ผ้มู ีปญั หาสถานะและสิทธิ ตวั บ่งชี้ 1) หน่วยบริการและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องยอมรับผู้ประสานงานหรือ เจ้าหน้าท่โี ครงการ 2) เจ้าหน้าที่หน่วยบริการและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องมาหาพบปะ ผู้ประสานงานโครงการ 3) ผปู้ ระสานงานสามารถปรับตัวเข้ากบั หน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง 4) ผู้ประสานงานโครงการหรือเจ้าหน้าที่ พัฒนารายช่ือผู้น�าและผู้ที่จะ ท�างานร่วมกันทีม่ ศี ักยภาพในพนื้ ที่ได้ 4. การศกึ ษาสา� รวจสภาพปญั หาและความตอ้ งการ (Base line data) หลกั การและเหตุผล ผปู้ ระสานงานโครงการ หรอื คนทา� งานโครงการ ควรจะตอ้ งเขา้ ไปทา� ความ รจู้ กั กบั เจา้ หนา้ ทข่ี องหนว่ ยบรกิ ารทเี่ กย่ี วขอ้ ง หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เชน่ อบต./ เทศบาลและแกนน�าชุมชน เพ่ือให้ทราบถึงปัญหาหลักด้านการเข้าถึงสิทธิและ บริการสุขภาพหรือการขาดหลักประกันสุขภาพ ปัญหาการให้บริการ เงื่อนไข ข้อจ�ากัดต่างๆ ของหน่วยบริการและการด�าเนินงานของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เชน่ อบต./เทศบาล ผปู้ ระสานงานโครงการฯ จะตอ้ งพฒั นาแฟม้ ขอ้ มลู ของพน้ื ที่ ในสว่ นของผมู้ ีปัญหาสถานะบุคคล ดา้ นจา� นวนคน เอกสารส�ารวจทางทะเบยี น จ�าแนกกลุ่มต่างๆ เช่นจ�าแนกประเภทหรือกลุ่มผู้มีปัญหาสถานะบุคคล มีสิทธิ ดา้ นสขุ ภาพหรอื หลกั ประกนั สขุ ภาพ ปญั หาการเขา้ ถงึ สทิ ธมิ อี ะไรบา้ ง สว่ นขอ้ มลู 35คมู่ ือ “พัฒนาระบบและกลไกจดั บริการสุขภาพระดบั พน้ื ท่ี” เรยี บเรยี งโดย : ววิ ัฒน์ ตามี่ ปี พ.ศ 2563

หนว่ ยบรกิ ารสงิ่ ทคี่ วรจะศกึ ษาคอื ปญั หาและขอ้ จา� กดั การใหบ้ รกิ ารหรอื ชอ่ งวา่ ง ระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการ มีโครงการหรือกิจกรรมอะไรบ้างที่หน่วย บริการอยากจะสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง มีชุดบทเรียน ประสบการณ์ท่ีดีอะไรบ้างในการท�างาน ส่วนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ควรศึกษานโยบายที่เก่ียวข้องกลุ่มผู้มีปัญหาสถานะบุคคลและสิทธิด้านสุขภาพ หรอื กองทนุ สง่ เสรมิ สขุ ภาพตา� บล การดา� เนนิ งานทผ่ี า่ นมา เงอ่ื นไขขอ้ จา� กดั ตา่ งๆ ผปู้ ระสานงานโครงการควรจะตอ้ งเรยี นรคู้ วามตอ้ งการทงั้ ในสว่ นของกลมุ่ ผู้มีปัญหาสถานะบุคคล หน่วยบริการและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินปกติจะ สามารถท�าควบคู่กับในข้ันตอนย่อยที่ 3 การเช่ือมประสานหน่วยบริการและ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในพ้ืนที่ได้ เม่ือได้ข้อมูลอะไรมาก็ตามจะต้องน�ามา พิจารณาและใช้ร่วมกับหน่วยบริการและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ข้อมูลพื้นฐาน เหลา่ นจ้ี ะนา� มาใชเ้ ปน็ พนื้ ฐานในการพฒั นาแผนชวั่ คราวในการดา� เนนิ การพฒั นา ระบบและกลไกจัดบริการสุขภาพ การพัฒนาแฟ้มข้อมูลนี้เป็นส่ิงส�าคัญมาก จ�าเป็นต้องเอาไปเปรียบเทียบดูความก้าวหน้าและรายงานให้หน่วยงานที่ เกย่ี วขอ้ งรบั ทราบว่าได้มีการเปล่ยี นแปลงหรือพัฒนาอะไรบา้ ง อย่างไร เครอื่ งมอื และเทคนคิ สา� คญั ทน่ี า� มาใช ้ เชน่ แบบสอบถาม/แบบสา� รวจขอ้ มลู แบบสัมภาษณแ์ บบปลายเปดิ ใชเ้ คร่ืองมอื สนทนากลุ่ม (Focus group) กล้อง ถ่ายรูป เคร่ืองบันทึกเสียง ตรวจสอบข้อมูลโดยใช้วิธีการแบบสามเส้าและการ เขยี นรายงาน วตั ถปุ ระสงค์ ผ้ปู ระสานงานโครงการ/โครงการ เกิดการเรียนรู้ปัญหาและความตอ้ งการ ของผู้มีปัญหาสถานะบุคคลและหน่วยบริการในเร่ืองสิทธิและการเข้าถึงบริการ สุขภาพ เงื่อนไขข้อจ�ากัด บทเรียน/ต้นทุนการท�างานที่ผ่านมา และโอกาส ช่องทางในการพัฒนาระบบและกลไกจัดบริการสุขภาพผู้มีปัญหาสถานะบุคคล ในระดบั พ้นื ที่ 36 ค่มู อื “พัฒนาระบบและกลไกจัดบรกิ ารสุขภาพระดบั พ้ืนที่” เรยี บเรียงโดย : ววิ ฒั น์ ตาม่ี ปี พ.ศ 2563

ท�าอยา่ งไร 1) ท�างานร่วมกับคณะทา� งานพื้นท่ี (ก�าหนดไว้แล้วตามข้ันตอนย่อยท่ี 3) ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 2) รูปแบบการเก็บข้อมูล โดยใช้แบบสอบถาม สัมภาษณ์แบบไม่เป็น ทางการและทางการกบั Key Man และสนทนากลุม่ (Focus group) 3) ใช้การสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางและการสนทนากลุ่มเพ่ือค้นหาปัญหา และความต้องการ และเลอื กปญั หาสา� คัญทีม่ คี วามจ�าเปน็ เร่งดว่ นเพอ่ื การพฒั นาแกไ้ ขปญั หา 4) เก็บข้อมูลเก่ียวกับปัญหาการเข้าถึงสิทธิจากแหล่งข้อมูลข้ันสอง เช่น ปัญหาและผลกระทบจากการไร้สัญชาติและเข้าไม่ถึงสิทธิและบริการ ด้านสุขภาพส่งผลต่อการเจ็บป่วย เสียชีวิต หนี้สินหรือล้มละลายจาก การรกั ษา ปญั หาการแพรร่ ะบาดของโรคจากการเขา้ ไมถ่ งึ การสง่ เสรมิ ปอ้ งกนั โรค เงอ่ื นไขขอ้ จา� กดั การเดนิ ทางขา้ มเขต การสง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ย ฯลฯ 5) ก�าหนด เลือกระดับปัญหา เพ่ือน�าไปจัดท�านโยบายสาธารณะพัฒนา ระบบและกลไกทเี่ ออ้ื ตอ่ การจดั บรกิ ารสขุ ภาพสา� หรบั ผมู้ ปี ญั หาสถานะ บุคคลในพื้นท่ ี 6) ท�างานร่วมกับคณะท�างานร่วมหรือหน่วยบริการ เตรียมการน�าเสนอ ปญั หาที่คน้ พบให้ผู้ท่ีเก่ยี วข้องรับทราบ ตวั บง่ ช้ี 1) มแี ฟม้ ข้อมลู ตงั้ ตน้ (Base line data) ในการทา� งาน 2) มีการก�าหนดปัญหาหลักการเข้าถึงสิทธิและบริการสุขภาพกลุ่มผู้มี ปญั หาสถานะบุคคล 3) ผู้ประสานงานโครงการหรือเจ้าหน้าท่ีเริ่มพัฒนาแผนงานชั่วคราวที่จะ นา� แนวคดิ นโยบายสาธารณะเพ่อื การพฒั นาระบบและกลไกจดั บรกิ าร สขุ ภาพในระดับทม่ี าใช้ 37คูม่ อื “พัฒนาระบบและกลไกจดั บรกิ ารสุขภาพระดับพ้ืนท”ี่ เรยี บเรยี งโดย : วิวฒั น์ ตาม่ี ปี พ.ศ 2563

ขน้ั ตอนที่ 2 การเตรียมคณะท�างานพฒั นาระบบและกลไก หลกั การและเหตผุ ล การศึกษาสภาพปัญหาความต้องการและการวิเคราะห์ทางเลือก (ในขั้น ตอนท1ี่ ) ทา� ใหเ้ ราทราบเบอ้ื งตน้ วา่ แนวทางการทา� งานรว่ มกนั ในลกั ษณะพหภุ าคี เริ่มจากการกา� หนดพน้ื ทก่ี ารทา� งานร่วมกัน (Area Based) ที่ชัดเจน การสรา้ ง ความเข้าใจกับพื้นท่ี หน่วยงานที่เป็นเจ้าภาพในระดับพื้นท่ี การวางแผนการ ศกึ ษาวเิ คราะหป์ ญั หาและความตอ้ งการรว่ มกนั วา่ มปี ระเดน็ ไหนทมี่ คี วามจา� เปน็ เร่งด่วน (Issue Based) ท่ีจะต้องริเร่ิมท�างานด้วยกัน ข้อมูลเช่นแฟ้มข้อมูล (Base line data) ก�าหนดปัญหาหลักการเข้าถึงสิทธิและบริการสุขภาพกลุ่ม ผู้มีปัญหาสถานะบุคคล ผู้ประสานงาน ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการหรอื เจ้าหน้าที่เรม่ิ พฒั นาแผนงานชว่ั คราวทจ่ี ะนา� แนวคดิ นโยบายสาธารณะพฒั นาระบบและกลไก จัดบริการสุขภาพในระดับพื้นที่มาใช้ด้วยการดึงภาคีเครือข่ายในระดับพ้ืนท่ีเข้า มามีส่วนร่วมเป็นคณะท�างานแก้ไขปัญหาร่วม เช่น ภาคประชาสังคม องค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน ผู้แทนเครือข่ายผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิและสถาบัน วิชาการเข้ามาสนับสนุนการทา� งานดา้ นวชิ าการ ข้ันตอนการเตรียมกลุ่มเป็นงานวางพื้นฐานของกลุ่มหรือคณะท�างานท่ีจะ มาทา� งานดว้ ยกนั ควรใหค้ วามสนใจเปน็ กรณพี เิ ศษเพราะหากรากฐานไมเ่ ขม้ แขง็ จะท�าให้กลุ่มหรือคณะท�างานซ่ึงเปรียบเสมือนบ้านท่ีมีฐานไม่แข็งแรงทนทาน โดยทั่วไป ข้ันตอนการเตรียมกลุ่มน้ันมักใช้เวลานานพอสมควรจึงยากที่จะระบุ ระยะเวลาที่แน่นอนเพราะแต่ละพ้ืนที่มีบริบทแวดล้อมที่แตกต่าง เช่นสภาพ ปญั หาเงอื่ นไขขอ้ จา� กดั การทา� งานทแี่ ตกตา่ งกนั แตเ่ รากส็ ามารถประเมนิ ไดจ้ าก ความเขา้ ใจปญั หา สาเหตขุ องปญั หาและความตอ้ งการของการแกไ้ ขปญั หานน้ั ๆ ของหน่วยบรกิ าร 38 คมู่ ือ “พฒั นาระบบและกลไกจดั บรกิ ารสุขภาพระดบั พ้นื ที่” เรียบเรยี งโดย : วิวฒั น์ ตาม่ี ปี พ.ศ 2563

วตั ถุประสงค์ 1) เพ่ือสรา้ งความค้นุ เคย ความไว้วางใจระหวา่ งหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง 2) กระตุ้นผู้แทนหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง (คณะท�างาน) วิเคราะห์ถึงปัญหา สาเหตปุ ัญหา เกดิ ความตอ้ งการแก้ไขและหาทางแก้ไขปัญหารว่ มกัน ตัวบง่ ชี้ 1) ผแู้ ทนหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งหรอื คณะทา� งานมคี วามคนุ้ เคยไวว้ างใจกนั 2) ผแู้ ทนหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งหรอื คณะทา� งานยอมรบั ไวว้ างใจและอยาก ทา� งานร่วมกับผูจ้ ัดทา� โครงการ 3) รายงานผลการวเิ คราะหป์ ญั หา สาเหตปุ ญั หาและเกดิ แนวทางการแกไ้ ข ปัญหารว่ มกัน ท�าอยา่ งไร (กระบวนการ/วธิ กี ารเตรยี มกลุม่ ) การดา� เนนิ การเตรียมกล่มุ หรอื คณะทา� งานมี 7 ขัน้ ตอนย่อย ดังนี้ 1) การพบปะผ้บู รหิ ารหน่วยงานท่เี ก่ยี วขอ้ ง ผู้จัดท�าโครงการควรขอนัดพบผู้บริหารหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเช่นหน่วย บรกิ ารแต่ละแหง่ อาจจะมหี นงั สือแนะนา� จาก สสจ. และนัดพบผู้บริหารองค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ เพอื่ ชแ้ี จงและทา� ความเขา้ ใจ เชน่ ผอู้ า� นวยการหนว่ ยบรกิ าร เจ้าหน้าท่ีท่ีเกี่ยวข้องแม้ว่าจะเคยพบปะชี้แจงมาแล้วในช่วงศึกษาปัญหาและ ความต้องการ (ขั้นตอนที่ 1) แต่ควรท�าซ�้าอีกเพ่ือเสริมความเข้าใจยิ่งข้ึนเพื่อ ขอความรว่ มมอื จากผบู้ รหิ ารกบั เจา้ หนา้ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งและทราบแนวคดิ การพฒั นา กลุม่ และทัศนคติเกยี่ วกับผู้มปี ัญหาสถานะบุคคลของผบู้ ริหารหนว่ ยบริการและ องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) การพบปะพดู คยุ กบั ผบู้ รหิ ารหนว่ ยบรกิ ารอาจจะเรม่ิ จากสภาพทว่ั ไปๆ ของ หนว่ ยบรกิ าร เชน่ ขอ้ มลู ประวตั คิ วามเปน็ มา การดา� เนนิ งานทผี่ า่ นมา สถานการณ์ การใหบ้ รกิ ารดา้ นสขุ ภาพประชาชนทวั่ ไป ผมู้ ปี ญั หาสถานะบคุ คล สภาพปญั หา 39คมู่ ือ “พฒั นาระบบและกลไกจดั บรกิ ารสุขภาพระดบั พ้นื ท”ี่ เรยี บเรียงโดย : ววิ ฒั น์ ตามี่ ปี พ.ศ 2563

สิทธิและการเข้าถึงสิทธิ รูปแบบวิธีการให้บริการ ตรงนี้สังเกตและบันทึกว่า ผู้บริหารคนใดบ้างในแต่ละหน่วยบริการมีความสามารถและมีในเร่ืองอะไร มีผู้ บริหารหนว่ ยบรกิ ารใดบ้างท่ีมจี ิตใจอยากช่วยเหลอื ผู้มีปัญหาสถานะบุคคลและ จะขอความรว่ มมือ ความช่วยเหลอื ในเรื่องใดจากใคร จากนนั้ ชแี้ จงใหผ้ บู้ รหิ ารหนว่ ยบรกิ ารทราบถงึ เหตผุ ลและความจา� เปน็ ทจ่ี ะ ต้องท�างานร่วมกับเจ้าหน้าที่ท่ีเก่ียวข้องในการแก้ไขปัญหาผู้มีปัญหาสถานะ บคุ คล พรอ้ มขอความรว่ มมอื และคา� แนะนา� ซงึ่ การพบปะผบู้ รหิ ารและเจา้ หนา้ ท่ี ทีเ่ กี่ยวข้องควรท�าแบบไมเ่ ป็นทางการ อาจขอพบเป็นระยะ ข้อควรระวัง : เราจะต้องตระหนักว่าการสนใจกลุ่มผู้มีปัญหาสถานะบุคคล เปน็ การเฉพาะในการแกไ้ ขปญั หาจะตอ้ งไมน่ า� ไปสคู่ วามแตกแยกกลมุ่ ประชากร อ่ืนท่ีมีสัญชาติ แม้ว่าจะไม่มีคนให้ความร่วมมือในการช่วยเหลือร่วมมือแก้ไข ปญั หาผมู้ ปี ญั หาสถานะบคุ คลกไ็ มค่ วรกลา่ วถงึ แตอ่ ยา่ งใด อกี เรอ่ื งทสี่ า� คญั ทเี่ รา ไม่ควรกลา่ วถึงคือปญั หาความขัดแย้งระหวา่ งหนว่ ยงาน 2) การสร้างความไวว้ างใจและความเช่อื ม่นั การเขา้ ไปพดู คยุ กบั เจา้ หนา้ ทหี่ รอื ฝา่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งของหนว่ ยบรกิ ารและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พยายามพูดคุยกับทุกคนท้ังเป็นการส่วนตัวและที่ท�างาน หรือคุยเป็นกลุ่มย่อยในละแวกหน่วยงาน เช่น ไปดูสภาพการท�างาน ไปร่วม กิจกรรมตา่ งๆ ที่หนว่ ยบริการจัดอาจจะรว่ มวงกินขา้ วดว้ ยกันบา้ ง เพ่อื ...สร้างความคุน้ เคย การยอมรับและความไวว้ างใจจากเจ้าหน้าท่ี การพูดคุยกับเจ้าหน้าที่ท่ีเก่ียวข้องของหน่วยบริการแต่ละครั้งจะเป็นการ พูดคุยโดยท่ัวๆ ไปเรื่องสารทุกข์สุขดิบเก่ียวกับสภาพการท�างาน เราอาจจะพูด เรอ่ื งราวการทา� งานและหน่วยงานของเราให้เขาฟังบา้ ง 40 คูม่ ือ “พัฒนาระบบและกลไกจดั บรกิ ารสขุ ภาพระดบั พื้นที่” เรียบเรยี งโดย : ววิ ฒั น์ ตาม่ี ปี พ.ศ 2563

ควร เทคนคิ - พบปะเจ้าหน้าท่ีฝ่ายต่างๆ ที่เก่ียวข้อง เราสามารถสรา้ งสรรค์วธิ ีการ เทคนคิ แต่ละคนเพ่ือทราบถึงภูมิหลังและความ วิธีต่างๆ ตามความถนัดของเรา ส่ิงส�าคัญ สมั พันธ์ในหนว่ ยบรกิ าร เราควรพูดคุยกับเจ้าหน้าท่ีแบบธรรมชาต ิ - จัดเวลาพบกับเจ้าหน้าที่แต่ละคนให้ เป็นกนั เอง เหมาะสมเชน่ ช่วงเวลาว่างของเขา เม่อื เราพบปะพดู คยุ กับเจา้ หนา้ ท่ีฝา่ ย ตา่ งๆ บอ่ ยๆ กระทง่ั พบวา่ เจา้ หนา้ ทเี่ รมิ่ เปน็ กันเองกับเรามากข้ึน กระตือรือร้นในการ ตอบค�าถามต่างๆ และเสนอความคิดเห็น มากขน้ึ แสดงวา่ เจา้ หนา้ ทข่ี องหนว่ ยบรกิ าร เริ่มไว้วางใจเราบ้างแล้ว สามารถเข้าสู่ข้ัน ตอนต่อไป 41คู่มอื “พัฒนาระบบและกลไกจดั บรกิ ารสุขภาพระดับพ้ืนที”่ เรียบเรยี งโดย : ววิ ฒั น์ ตาม่ี ปี พ.ศ 2563

3) การหาทางแก้ไขปญั หารว่ มกัน แม้ว่าเราเคยถามปัญหาในเชิงการศึกษาสภาพปัญหาการเข้าถึงสิทธิและ บริการสุขภาพกลุ่มผู้มีปัญหาสถานะบุคคลหรือการวิเคราะห์ปัญหาระบบและ กลไกจัดบริการสุขภาพแล้ว แต่เป็นปัญหาเบื้องต้นซึ่งเราควรจะน�าปัญหานั้นๆ มาถามเพ่ิมเติมให้ได้ข้อมูลเชิงลึกยิ่งขึ้น ขณะเดียวกันก็เป็นวิธีการที่ท�าให้เจ้า หน้าที่หน่วยบริการใคร่ครวญถึงปัญหาผู้มีปัญหาสถานะบุคคลและปัญหาการ ทา� งานของหน่วยบริการอีกครงั้ เพื่อ... ค้นหาและตรวจสอบสภาพปัญหาที่แท้จริง และเจ้าหน้าที่หน่วย บริการตระหนักถึงปัญหาของการให้บริการและการเข้าถึงสิทธิและบริการของ ผ้มู ีปัญหาสถานะบุคคล เรานา� เอาผลการวเิ คราะหจ์ ากการศกึ ษาสภาพปญั หามาใชเ้ ปน็ ฐานของการ หาสาเหตหุ รอื ตน้ ตอของปญั หา เราจงึ มขี อ้ มลู ผมู้ ปี ญั หาสถานะบคุ คลและหนว่ ย บรกิ ารอยแู่ ลว้ ภายหลงั ทเ่ี จา้ หนา้ ทห่ี นว่ ยบรกิ ารไวว้ างใจเราแลว้ และเขากพ็ รอ้ ม ที่จะเลา่ รายละเอียดใหเ้ ราฟงั อย่างรอบดา้ น เตรยี ม... ขอ้ มลู หรอื ผลการวเิ คราะหจ์ ากการศกึ ษาสภาพปญั หาและความ ต้องการท่ีผ่านมาให้พร้อม โดยเฉพาะประเด็นปัญหาส�าคัญเก่ียวกับการเข้าถึง สิทธิและบรกิ ารสุขภาพ เรากระตนุ้ ให้เจา้ หนา้ ท่ีหน่วยบริการเลา่ ปญั หาโดยเริม่ ตน้ คา� ถามจากเรอื่ ง ทวั่ ๆ ไปเกย่ี วกบั ภาพรวมปญั หากลมุ่ ผมู้ ปี ญั หาสถานะบคุ คลสทิ ธแิ ละการเขา้ รบั บริการด้านสาธารณสุข การให้บริการของหน่วยบริการ เงื่อนไขข้อจ�ากัดต่างๆ โดยเฉพาะระบบและกลไกการจัดบริการ เช่นปัญหาระบบคัดกรองคนไข้ หรือ สิทธิการเข้ารับการรักษากับหมอมีปัญหาการส่ือสารระหว่างผู้รับบริการและผ ู้ ให้บรกิ ารหรอื ไม ่ อยา่ งไร ปญั หาการส่ือสารในจดุ จ่ายยาและค�าแนะน�า ฯลฯ หลังจากได้มีการพูดคุยกับเจ้าหน้าท่ี 2-3 วัน เราควรจับประเด็นส�าคัญๆ สกั เรอ่ื งหนง่ึ ไดแ้ ลว้ เรากน็ า� เรอื่ งนนั้ มาพดู คยุ เปน็ หลกั และพดู คยุ ใหเ้ ขาเหน็ ความ 42 คู่มือ “พัฒนาระบบและกลไกจัดบรกิ ารสขุ ภาพระดบั พนื้ ท”่ี เรยี บเรยี งโดย : วิวัฒน์ ตาม่ี ปี พ.ศ 2563

เกี่ยวข้องของปัญหาแต่ละอย่าง ปัญหานั้นๆ เป็นปัญหาในระดับใดโดยการต้ัง ค�าถาม เช่น ปญั หาเร่อื งน้เี กย่ี วขอ้ งกับเรื่องใดบ้าง ปญั หาน้ันเปน็ ปญั หาเฉพาะ หนว่ ยบรกิ ารหรือปัญหาระบบและกลไกจดั บริการ มาถึงจุดน้ีเจ้าหน้าท่ีหน่วยบริการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะเห็นปัญหา ต่างๆ ท่ีมีความเกี่ยวข้องกันเป็นปัญหาที่กระทบเช่ือมโยงกันและสรุปปัญหาที่ เขามองเห็น ควร อย่า 1 พูดพูดคุยอย่างค่อยเป็นค่อยไปอาจ 1) อย่าท�าให้การโยงปัญหาเป็นเร่ืองที่ยุ่งเหยิง ใช้ระยะเวลาหลายวนั และเกิดความทอ้ ถอย 2. เรม่ิ ตน้ จากเรอ่ื งงา่ ยๆ ปญั หากวา้ งๆ 2) ไมค่ วรสรปุ ปัญหาทีเ่ รามองไม่เหน็ ที่ อ า จ เ กี่ ย ว ข ้ อ ง กั บ ก า ร ท� า ง า น ข อ ง เจ้าหน้าท่ีและบริการ ณ แต่ละจุด โดยตรง เทคนคิ 3. จับปัญหาหน่ึงก่อนแล้วโยงไปสู่ ใชก้ ารบนั ทกึ ดว้ ยตวั หนงั สอื หรอื การบนั ทกึ ภาพ ปญั หาอืน่ ๆ ในกระดาษแผน่ ใหญแ่ ละนา� ตดิ ตวั มาทกุ ครง้ั ทจี่ ะ 4. สรุปปัญหาจากที่เจ้าหน้าท่ีหน่วย มกี ารพดู คยุ จะทา� ใหเ้ จา้ หนา้ ทม่ี คี วามเขา้ ใจและ บริการประสบปัญหาและสู่ปัญหา เกดิ ความต่อเนื่องของการหาปัญหา ระบบและกลไก 5. ท�าการบันทึกปัญหาของผู้มีปัญหา สถานะบคุ คลแตล่ ะกลมุ่ /ปญั หาการให้ บรกิ าร ณ จุดตา่ งๆ ในหน่วยบริการ 43ค่มู ือ “พัฒนาระบบและกลไกจัดบริการสขุ ภาพระดับพืน้ ท่ี” เรียบเรียงโดย : ววิ ฒั น์ ตามี่ ปี พ.ศ 2563

4) การวิเคราะหค์ ้นหาสาเหตขุ องปัญหา เมือ่ เราแยกปญั หาต่างๆ ได้แล้วเราจะน�าเอาปัญหาทค่ี าดวา่ จะแก้ไขได้มา พดู คยุ กบั เจา้ หนา้ ทหี่ นว่ ยบรกิ ารและหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ซง่ึ อาจพดู คยุ เปน็ ราย บุคคลก่อน แลว้ จดั กลมุ่ ยอ่ ย 2-3 คนมาสนทนากลุ่มโดยการต้ังค�าถาม เพอื่ ... 1) เจา้ หนา้ ทห่ี นว่ ยงาน/หนว่ ยบรกิ าร เขา้ ใจสาเหตขุ องปญั หา 2) เจา้ หนา้ ท่ีหนว่ ยงาน/หน่วยบริการ สามารถแยกแยะสาเหต ุ ของปญั หา เช่น - ปัญหานั้นเขาคดิ วา่ แกไ้ ขได้หรือไม่ ยากหรือง่าย - ปญั หานั้นมีสาเหตจุ ากอะไรบ้าง - ปญั หานั้นเกดิ จากสาเหตมุ ากนอ้ ยเพยี งใด - สาเหตุใดเป็นสาเหตุใหญ่และสาเหตหุ ลัก - สาเหตุใดเปน็ สาเหตุรอง ควร เทคนิค - แยกปญั หาทพ่ี อแกไ้ ขไดอ้ อกจากปญั หาท่ี ยงั คงใชเ้ ทคนคิ การบนั ทกึ ดว้ ยตวั หนงั สอื แกไ้ ขยาก หรือภาพในระดาษ ซ่ึงต่อเนื่องจากการหา - แยกปัญหาท่ีแก้ไขได้ระดับหน่วยบริการ ปัญหา ออกจากปญั หาระดับประเทศ - หากกระตุ้นให้เขาคุยกันเองได้ เราควร ออกมาอยนู่ อกวงพูดคยุ 44 คูม่ ือ “พฒั นาระบบและกลไกจดั บริการสขุ ภาพระดับพืน้ ท่”ี เรียบเรยี งโดย : ววิ ัฒน์ ตาม่ี ปี พ.ศ 2563

5) การหาแนวทางแกไ้ ขปัญหา เรากระตุ้นให้เจ้าหน้าท่ีหน่วยบริการและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องอยากท่ีจะ แก้ไขปัญหา โดยการพูดคุยให้เขาเห็นว่าหากเขาแก้ไขปัญหาน้ันๆ ได้จะมีผล อะไรบา้ งเกดิ ข้ึนแก่หน่วยงานและผมู้ ีปญั หาสถานะบุคคลในพ้นื ท่บี รกิ าร เพอ่ื ... - เจา้ หนา้ ทหี่ นว่ ยบรกิ าร/หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งมคี วามตอ้ งการทจี่ ะแกไ้ ข ปัญหาร่วมกนั - เจา้ หนา้ ทห่ี นว่ ยบรกิ าร/หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งมคี วามมนั่ ใจในการแกไ้ ข ปัญหา - เจ้าหน้าที่หน่วยบริการ/หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเห็นแนวทางท่ีจะแก้ไข ปญั หารว่ มกัน แนวทาง : เรากระตนุ้ ใหค้ ณะทา� งานคดิ อยา่ งรอบคอบตอ่ การแกไ้ ขปญั หา น้ันๆ ซ่ึงจะท�าให้คณะท�างานมีความมั่นใจมากข้ึน โดยการตั้งค�าถาม เช่น (1)การแก้ไขปัญหานั้นๆ มคี วามเปน็ ไปไดห้ รอื ไม ่ (2)ตวั เรามคี วามสามารถเพียง พอหรือยัง (3)เรายังขาดอะไรอีกบ้างในการแก้ไขปัญหา และ (4)จะมีอุปสรรค หรอื ตดิ ขดั ในเรือ่ งใด 45คู่มือ “พฒั นาระบบและกลไกจดั บริการสขุ ภาพระดับพืน้ ท”ี่ เรยี บเรยี งโดย : ววิ ฒั น์ ตาม่ี ปี พ.ศ 2563

ควร ย้า� วา่ - ใหเ้ วลาหลายวนั แกค่ ณะทา� งานในการคดิ เรากระตุ้นต่อเนื่องให้คณะท�างานคิดหาวิธี ไตร่ตรอง การที่จะแก้ไขปญั หา โดยการตัง้ ค�าถาม - ทบทวนซ�้าไปซ�้ามาจนคณะท�างานเกิด - ถา้ จะแกไ้ ขปญั หานนั้ จะมวี ธิ กี ารอะไรบา้ ง ความมน่ั ใจ กี่วิธี - แตล่ ะวธิ ีการนน้ั จะท�าได้อย่างไร แตล่ ะวิธี การจะมีอุปสรรคอะไรบา้ งไหม เทคนิค - เล่าเร่ืองการแก้ไขปัญหาของผู้มีปัญหาสถานะบุคคลและหน่วยบริการในพ้ืนท่ีอื่นให้ คณะท�างานฟัง - ศึกษาดูงานพ้ืนที่ตวั อยา่ งพ้ืนที่ปฏบิ ตั ิการท่ดี ี (Best Practice) ตรงกบั ปญั หาของพื้นท่ี - เชญิ หน่วยบรกิ ารอ่ืนจากพนื้ ท่ีอื่นทใี่ ช้วิธกี ารแก้ไขปัญหาตา่ งๆ มาพดู คุยด้วย - แบง่ กลมุ่ คณะทา� งานตามพน้ื ท/่ี หนว่ ยบรกิ าร ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ หาอปุ สรรคในแตล่ ะแนวทาง แกไ้ ขหรืออาจใหอ้ ีกกล่มุ หนงึ่ หาอปุ สรรค อีกกลุ่มหนึง่ หาขอ้ ดขี องการแก้ไขปัญหาน้ัน 46 คู่มอื “พัฒนาระบบและกลไกจัดบรกิ ารสขุ ภาพระดับพื้นที่” เรียบเรียงโดย : วิวัฒน์ ตามี่ ปี พ.ศ 2563

6) แนวทางการแก้ไขปัญหาแบบพหภุ าคีและบูรณาการแกไ้ ขปญั หา เรากระตนุ้ ใหห้ นว่ ยบรกิ ารหรอื คณะทา� งานแกไ้ ขปญั หาแตล่ ะพน้ื ทม่ี องเหน็ ความส�าคัญและประโยชนข์ องการรวมกลมุ่ โดยการตั้งคา� ถาม เชน่ - วธิ กี ารแกไ้ ขปญั หาทเ่ี ราคดิ ไวน้ นั้ สามารถแกไ้ ขปญั หาโดยลา� พงั ไดห้ รอื ไม ่ - เราจะรว่ มกบั ใครในการแก้ไขปัญหาไดบ้ ้าง - จะหาใครสนับสนุนได้บา้ ง วตั ถุประสงค์ - เพื่อให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเห็นความส�าคัญการรวมกลุ่ม/คณะท�างาน แกไ้ ขปญั หา - บันทึกความร ู้ ความสามารถพเิ ศษ ลกั ษณะผนู้ า� ของเจา้ หนา้ ทห่ี นว่ ยงาน ท่ีเก่ียวข้อง - พยายามให้ก�าลังใจค�าปรึกษาและสนับสนุนอย่างใกล้ชิด เม่ือเจ้าหน้าท่ี หน่วยบรกิ าร/หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งมีความรสู้ ึกทอ้ ถอย ขนั้ ตอนย่อยท่ ี 6 จะกระทา� ติดต่อกนั ไปอาจใชเ้ ทคนคิ หลายๆ อย่างประกอบกนั ไม่ควรผลผี ลามสรปุ วิธีการแกไ้ ขปัญหาแต่ทอดระยะเวลาพอสมควร และพดู คยุ กันหลายๆ คร้ังจนกระทั่งเจ้าหน้าท่ีหน่วยบริการและผู้ที่เกี่ยวข้องมีความมั่นใจ และมีความตอ้ งการท่ีจะแก้ไขปญั หานัน้ และเหน็ แนวทางที่จะแก้ไขปัญหา 47คมู่ อื “พฒั นาระบบและกลไกจัดบริการสุขภาพระดับพ้ืนท่ี” เรยี บเรียงโดย : วิวฒั น์ ตามี่ ปี พ.ศ 2563

7) การจัดกลมุ่ ความต้องการแกไ้ ขปญั หาในแต่ละพ้นื ที่ สว่ นหนงึ่ และเปน็ สว่ นแรกของการพฒั นาระบบและกลไกจดั บรกิ ารสขุ ภาพ ระดบั พน้ื ทคี่ อื ผปู้ ฏบิ ตั งิ านทกุ คนหรอื คณะทา� งานจะตอ้ งชว่ ยกนั ระบปุ ญั หาทร่ี สู้ กึ วา่ มคี วามจา� เปน็ เรง่ ดว่ นทจ่ี ะตอ้ งไดร้ บั การแกไ้ ข ผปู้ ระสานงานโครงการจะตอ้ ง เปดิ โอกาสและกระตนุ้ สรปุ ปญั หาทตี่ อ้ งการจะทา� รว่ มกนั ซง่ึ สามารถทา� ไดไ้ มเ่ กนิ ก�าลังและวิสัยของคณะท�างานแต่ละพื้นท่ี ย่ิงกว่าน้ันเมื่อค้นพบปัญหาต่างๆ หลายเรอื่ งปรารถนาจะแกไ้ ขใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพจา� เปน็ จะตอ้ งมกี ารจดั ลา� ดบั ของ ปัญหาตามความจ�าเป็นก่อนหลัง คณะท�างานจะต้องก�าหนดว่าปัญหาอะไรท่ีมี ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันเพื่อว่าจะได้แก้ปัญหาที่เป็นปัญหาหลักหรือปัญหา “ตน้ ตอ” เสยี กอ่ น และมคี วามสา� คญั มากทจี่ ะมองปญั หาใหส้ มั พนั ธก์ บั ความเปน็ จริงให้ได้ วัตถปุ ระสงค์ เพื่อให้คณะท�างานแต่ละพื้นที่ระบุปัญหาเร่งด่วนหรือ “ต้นตอ” ปัญหาที่ จะต้องได้รบั การแก้ไข ทา� อยา่ งไร 1) ผปู้ ระสานงานโครงการฯ พรอ้ มดว้ ยคณะทา� งาน (ในขน้ั ตอนยอ่ ย 3 ของ ข้ันตอนที่ 1) น�าเสนอผลการส�ารวจทางสังคมเบื้องต้นต่อหน่วยงาน ทเ่ี กย่ี วข้อง 2) จัดโอกาสหรือเวทีให้ผู้แทนหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องและผู้แทนผู้มีปัญหา สถานะบุคคล ระบุปัญหาท่ีมีความจ�าเป็นเร่งด่วนที่จะต้องได้รับการ แกไ้ ขปญั หากอ่ น 3) สง่ เสรมิ ผแู้ ทนหนว่ ยงานทร่ี ว่ มโครงการใหเ้ กบ็ รวบรวมขอ้ มลู ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง กับสภาพที่เปน็ อยใู่ นปัจจุบันของผู้มีปัญหาสถานะบุคคล 4) ประเมินดูช่องว่างระหว่าง “ส่ิงที่เป็นอยู่” กับ “สิ่งที่ควรจะเป็น” 48 คู่มือ “พฒั นาระบบและกลไกจัดบริการสุขภาพระดบั พ้ืนท”่ี เรียบเรยี งโดย : ววิ ัฒน์ ตาม่ี ปี พ.ศ 2563