Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นิตยสารสาระวิทย์ โดย สวทช. ฉบับที่ 106 เดือนมกราคม 2565

นิตยสารสาระวิทย์ โดย สวทช. ฉบับที่ 106 เดือนมกราคม 2565

Published by Thalanglibrary, 2022-02-01 07:54:24

Description: "นิตยสารสาระวิทย์" โดย สวทช. ฉบับที่ 106 เดือนมกราคม 2565 ย่อยโลกข้อมูลข่าวสารวิทยาศาสตร์เพื่อคุณ

Search

Read the Text Version

A Team Bulletin สารบญั สภากาแฟ 31 ทีป่ รึกษา Cover Story 3 ห้องภาพสัตว์ป่าไทย 37 Sci Delight 9 สาระวทิ ย์ในศิลป์ 38 ณรงค์ ศริ เิ ลศิ วรกุล Sci Variety 14 จุฬารตั น์ ตนั ประเสริฐ เปดิ โลกนิทานดาว 42 จมุ พล เหมะคีรินทร์ ระเบยี งขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ ไทย 19 อ๋อ ! มนั เปน็ อย่างนน้ี ี่เอง 48 บรรณาธิการผ้พู ิมพ์ผ้โู ฆษณา หนา้ ตา่ งขา่ ววทิ ย-์ เทคโนฯ โลก 20 ปั�้้นน้ำำ��เป็็นปลา 50 กลุ ประภา นาวานุเคราะห์ Sci Infographic 22 Sci Quiz 55 บรรณาธิการอ�ำ นวยการ รอ้ ยพันวทิ ยา 25 Sci เขา้ หู โนต้ ความรูฉ้ บบั ย่อ 56 นำ�ชัย ชีวววิ รรธน์ ENdiototer’s ค�ำ คมนกั วิทย์ 57 บรรณาธิการบริหาร สาระวิิทย์์ขอสวัสั ดีปี ีเี สืือและต้้อนรัับวัันเด็็ก ปริทศั น์ เทยี นทอง ช่ว่ งเวลาแห่ง่ การฉลองปีใี หม่ท่ ี่่�ผ่า่ นมายังั คงต้อ้ งมีมี าตรการควบคุมุ อย่า่ งเข้ม้ งวด ด้ว้ ยสถานการณ์ก์ ารแพร่ร่ ะบาด บรรณาธิการจดั การ ของสายพัันธุ์�โอมิคิ รอนที่่�สูงู ขึ้น� ทั่�วโลกรวมถึงึ ประเทศไทยด้ว้ ย แม้ว้ ่า่ นักั วิิทยาศาสตร์์หลายท่า่ นออกมาให้้ข้้อมููลว่่า อาการอาจจะไม่่หนัักเท่่าสายพัันธุ์�เดลตา แต่่ว่่าสายพัันธุ์�โอมิิครอนอาจจะสามารถกระจายเชื้้�อจากการไอหรืือจาม รักฉตั ร เวทวี ุฒาจารย์ ได้้มากกว่า่ สายพันั ธุ์�กลายตััวอื่น� ๆ ซึ่ง่� ก็็ยัังคงเป็น็ อันั ตรายสำำ�หรับั ผู้้�ที่่�ยังั ไม่ไ่ ด้ร้ ับั วััคซีนี หรืือกลุ่�มเปราะบาง กองบรรณาธกิ าร ในเดืือนมกราคมของทุกุ ปีี นอกจากจะมีวี ัันปีใี หม่แ่ ล้ว้ ทุุกวัันเสาร์์ที่� 2 ของเดืือนเป็็น “วันั เด็็กแห่่งชาติ”ิ อีีกหนึ่�งวันั สำำ�คัญั ที่่�ต้อ้ งการมุ่�งเน้น้ ให้เ้ ห็น็ ถึงึ ความสำำ�คัญั ของเด็ก็ ซึ่ง�่ จะเติบิ โตมาเป็น็ กำ�ำ ลังั สำำ�คัญั ในการพัฒั นาประเทศ สำำ�หรับั วัชราภรณ์ สนทนา คำำ�ขวััญวัันเด็ก็ ปีี พ.ศ. 2565 พล.อ. ประยุทุ ธ์์ จันั ทร์โ์ อชา นายกรััฐมนตรีแี ละรััฐมนตรีีว่า่ การกระทรวงกลาโหม อาทิตย์ ลมูลปล่ัง ได้ม้ อบคำำ�ขวัญั เนื่่�องในวัันเด็ก็ แห่ง่ ชาติิ ซึ่่�งตรงกับั วันั ที่� 8 มกราคม พ.ศ. 2565 ให้้แก่เ่ ด็็กๆ เยาวชนไทย เพื่่�อเป็็น วณี า ยศวังใจ ข้อ้ คิดิ คติิเตืือนใจกัับอนาคตของชาติิ นั่�นก็ค็ ืือ \"รู้้�คิิด รอบคอบ รัับผิดิ ชอบต่อ่ สัังคม\" ภทั รา สปั ปินนั ทน์ นิติ ยสารสาระวิทิ ย์ฉ์ บับั นี้้ไ� ด้เ้ ตรียี มบทความและเนื้อ�้ หาสาระที่�เกี่�ยวข้อ้ งกับั เด็ก็ และเยาวชน รวมถึงึ เรื่อ� งราวของเสืือ นกั เขยี นประจำ� มาให้อ้ ่า่ นกัันอย่า่ งจุุใจ ไม่่ว่า่ จะเป็น็ เคล็็ดลับั ความสำำ�เร็จ็ ในการทำำ�โครงงานของเด็็กไทย ใน Cover Story, งานวิิจััย และนวัตั กรรมเพื่่อ� เด็ก็ ไทย ใน Sci Delight คอลััมน์์ใหม่่ที่่�นำ�ำ เสนองานวิจิ ััยและนวัตั กรรมไทยใช้ไ้ ด้จ้ ริิงจาก สวทช., ขวลิต วทิ ยานนท์ วิถิ ีชี ีวี ิติ ของเด็ก็ ๆ ที่�อยู่�ใกล้ช้ ิดิ ปลา ในคอลัมั น์ป์ ั้น�้ น้ำ��ำ เป็น็ ปลา, เรื่อ� งของเสืือโคร่ง่ ในห้อ้ งภาพสัตั ว์ป์ ่า่ ไทย, ภาพสวยๆ รวิศ ทศั คร ของแมลงปอตััวเต็็มวััยกำ�ำ ลัังออกจากคราบ ใน Sci Gallery ฯลฯ นอกจากนี้้�เรายัังมีี Sci Variety คอลััมน์์ใหม่่ พงศธร กิจเวช ที่่�นำำ�เสนอบทความวิิทยาศาสตร์์ทุุกสาขาจากนัักเขีียนทั่�วไป ผู้้�อ่่านท่่านใดที่่�รัักงานเขีียน อยากสื่่�อสาร อยาก ป๋วย​ อุน่ ​ใจ เผยแพร่่ความรู้้�ด้า้ นวิิทยาศาสตร์์ลงในสาระวิทิ ย์์ ส่่งผลงานมาให้พ้ ิจิ ารณาได้น้ ะครัับ เรามีขี องที่�ระลึกึ มอบให้้ด้้วย วรศิ า ใจดี ☺ขอให้้เด็็ก เยาวชนไทย รวมทั้้�งผู้�ใหญ่่ (ผมเชื่�อว่่าทุุกคนมีีความเป็็นเด็็กอยู่�ในหััวใจ) มีีความสุุขสนุุกสนานกัับ บรรณาธิการศลิ ปกรรม วันั เด็ก็ แห่ง่ ชาติิในยุคุ นิิวนอร์ม์ ัลั และสวััสดีปี ีีเสืือครับั จุฬารัตน์ นมิ่ นวล ปริทิ ััศน์์ เทียี นทอง ศลิ ปกรรม บรรณาธิกิ าร เกิดศิริ ขันติกติ ติกุล ผู้ผลติ ฝ่ายสร้างสรรค์สอ่ื และผลติ ภัณฑ์ ส�ำ นกั งานพฒั นาวิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม 111 อทุ ยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ต.คลองหน่งึ อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทรศพั ท์ 0 2564 7000 ต่อ 1177 โทรสาร 0 2564 7016 เวบ็ ไซต์ http://www.nstda.or.th/sci2pub/ facebook page: นติ ยสารสาระวทิ ย์ ติดตอ่ กองบรรณาธกิ าร โทรศพั ท์ 0 2564 7000 ต่อ 1177 อเี มล [email protected]

Cover Story กองบรรณาธกิ าร ไขเคล็ด็ ลับั ทำ�ำ โครงงานวิิทย์ฯ์ พิิ ชิิตใจกรรมการ กับั เยาวชน ‘ทีีมกรุงุ เทพคริสิ เตียี นฯ’ แชมป์์ประเทศไทย AHiS 2021 โครงงานปลูกู โหระพาบนโลก เทีียบผลกัับบนอวกาศ ไม่่บ่่อยครั้้�งที่�่เด็็กและเยาวชนไทยจะได้้ทำำ�การทดลองบนโลกคู่่�ขนานกัับการทดลองบนอวกาศ แต่่ ในที่ส�่ ุดุ โอกาสดีีๆ ก็ม็ าถึงึ เมื่่�อสำ�ำ นัักงานพััฒนาวิิทยาศาสตร์แ์ ละเทคโนโลยีีแห่ง่ ชาติิ (สวทช.) ร่ว่ มกัับ องค์์การสำ�ำ รวจอวกาศญี่�่ปุ่่�น (Japan Aerospace Agency: JAXA) และหน่่วยงานพัั นธมิิตร จััดโครงการ Asian Herb in Space หรืือ AHiS ขึ้้�นเมื่�อ่ ต้น้ ปีี พ.ศ. 2564 เพื่�่อเปิดิ โอกาสให้้เด็ก็ และเยาวชนไทยได้้เข้้าถึึงองค์์ความรู้้�และเทคโนโลยีีด้้านอวกาศและชีีววิิทยาผ่่านการทำำ�โครงงาน วิทิ ยาศาสตร์์ ศึกึ ษาปัจั จััยที่ม่� ีีผลต่อ่ การเจริญิ เติบิ โตของพืืชในสภาวะแรงโน้ม้ ถ่ว่ งต่ำ�ำ� (microgravity) ซึ่ง่� ความรู้้�ที่่ไ� ด้จ้ ะเป็็นประโยชน์์ต่อ่ การพััฒนากระบวนการผลิิตอาหารในอนาคต มกราคม 2565 3

Cover Story หลังจากประกาศรับสมัคร มีเด็ก ทำ�จะต้องต้ังตัวแปรควบคุมท่ีคาดว่ามีผล AHiS034 ใช้้ “ทรัพั ยากร และเยาวชนกว่า 300 ทีมจากท่ัว ต่ออัตราการเจริญเติบโตของต้นโหระพา ประเทศสมัครเข้าร่วมการทดลองปลูก เพม่ิ เตมิ แลว้ น�ำ ผลท่ีไดม้ าวเิ คราะหร์ ว่ มกบั ที่่�มี”ี เป็็นตััวแปรควบคุมุ โหระพาเพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบผล โครงงานในโจทยแ์ รก แลว้ สรปุ การทดลอง เยาวชนทมี AHiS034 ประกอบด้วย กับท่ีนักบินอวกาศปลูกบนสถานีอวกาศ ส่งมายังโครงการฯ เพอื่ ใหค้ ณะกรรมการ เดก็ ชายปณั ณทตั อรณุ พลั ลภ (เหวย่ ซนั ) นานาชาติ (ISS) โดยโจทย์แรกท่ีทุกทีม พิจารณาคัดเลือกผู้ชนะที่มีกระบวนการ เด็กชายปฐวี จารกุ จิ ขจร (ต้าเหว่ย) และ ต้องทำ�เหมือนกันคือการทดลองปลูกต้น การทดลองเป็นระบบ มีความถูกต้อง เดก็ ชายธชย จารุวศิ ิษฏ์ (คริ นิ ) พวกเขา โหระพาภายใต้ปัจจัยควบคุมท่ีเหมือน ตามหลักทางวิทยาศาสตร์ และมีการ เริ่มต้นลงชื่อเข้าโครงการ AHiS ต้ังแต่ กับบนสถานีอวกาศแทบทุกประการ ท้ัง รายงานผลการทดลองทีส่ มบูรณ์ทสี่ ดุ ต้นปี พ.ศ. 2564 ตอนท่ีเพ่ิงเรียนจบชั้น เมล็ด ภาชนะเพาะปลูก วัสดุเพาะปลูก โดยเมื่อเดือนพฤศจิกายนท่ีผ่านมา มัธยมศึกษาปีที่ 2 แบบหมาดๆ ก่อนจะ ปยุ๋ อณุ หภมู ิ และความชน้ื เปน็ ระยะเวลา ก็ได้ผู้ชนะคือ ทีม AHiS034 นักเรียน ใช้ความรู้และประสบการณ์ท้ังหมดที่มี 30 วัน แลว้ น�ำ ผลที่ไดม้ าวเิ คราะหว์ า่ การ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จากโรงเรียน วางแผนการทดลองอย่างรอบคอบ เพ่ือ ปลูกโหระพาบนโลกกับบนสถานีอวกาศ กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ซ่ึงเราจะไป พิสูจน์ข้อสนั นิษฐานทีต่ ั้งไว้ ที่มีแรงโน้มถ่วงไม่เท่ากันจะส่งผลต่อการ ทำ�ความรู้จักกับสมาชิกในทีม พร้อมไข ปัณณทัตเล่าถึงเหตุผลที่สมัครเข้า เจริญเตบิ โตอยา่ งไรบา้ ง เคล็ดลับเส้นทางสู่ความสำ�เร็จของน้องๆ ร่วมโครงการน้ีว่า ตนเองและเพ่ือนอีก ส่วนโจทย์ท่ีสองเป็นโครงงานอิสระ เยาวชนทีมน้ีกันว่า พวกเขาทำ�โครงงาน 2 คน ตา่ งมคี วามสนใจเรือ่ งวทิ ยาศาสตร์ ให้เลือกทำ�หรือจะไม่ทำ�ก็ได้ ทีมที่เลือก กนั อยา่ งไรถงึ ควา้ ใจคณะกรรมการไว้ได้ และเทคโนโลยีในมุมท่ีต่างกัน แต่ความ สนใจเหล่าน้ันบังเอิญมาตรงกับโจทย์ มกราคม 2565 4

Cover Story การทดลองของโครงการนี้พอดี ทั้งเร่ือง (อ้างอิงจากคู่มือประกอบการทดลอง ลุยไปต่อเลย แต่ท้ายท่ีสุดเม่ือช่วยกัน พฤกษศาสตร์ ชวี วทิ ยา และอวกาศ จงึ เปน็ ของทาง JAXA) ทีมจึงตัดสินใจใช้ CO2 หาทางแก้ปัญหาก็สามารถหาสถานท่ี เหตุผลให้ได้มารวมตัวกันสมัครเข้าการ เป็นตัวแปรควบคุมในการทำ�โครงงานที่ ทำ�การทดลองใหม่ได้ เป็นที่โรงเรียน แข่งขันน้ี และได้ขอให้ครูท่ีโรงเรียนช่วย สอง เพอ่ื ศึกษาว่าหากต้นโหระพาที่ปลูก กวดวชิ าของครอบครวั ปณั ณทตั ซง่ึ ตอนนน้ั เป็นท่ปี รึกษาประจำ�ทีมให้ บนโลกไดร้ บั CO2 ในปรมิ าณที่มากกวา่ ต้องปิดให้บริการเนื่องด้วยสถานการณ์ “ในการแข่งขันโครงการนี้ มีโจทย์ ปกติ จะสง่ ผลใหม้ อี ตั ราการเจรญิ เตบิ โต โรคระบาดเช่นกันพอดี สถานท่ีแห่งนั้น การทดลองเปน็ 2 โครงงาน คือ การปลูก ทีม่ ากขนึ้ หรอื ไม่” โหระพาในปจั จยั ควบคมุ ทค่ี ลา้ ยกบั บนสถานี อวกาศแทบทกุ ประการแตกตา่ งกนั ทร่ี ะดบั ไม่ร่ าบรื่่น� อย่่างที่่ค� ิิด แรงโนม้ ถว่ ง และอกี โครงงานเปน็ โครงงาน ตั้้�งสติิรัับมือื กัับปััญหา อสิ ระ ใหแ้ ตล่ ะทมี ออกแบบตวั แปรควบคมุ หลังจากวางแผนการทดลองท้ัง ในการปลกู ตน้ โหระพาเพมิ่ เตมิ ดว้ ยตนเอง 2 โครงงานเสรจ็ ทมี AHiS034 ไดต้ ดั สนิ ใจ เพือ่ ศึกษาความเปล่ยี นแปลงทีเ่ กดิ ขน้ึ ต่อ ใ ช้ ห้ อ ง ท ด ล อ ง ร ว ม ถึ ง อุ ป ก ร ณ์ ข อ ง อตั ราการเจรญิ เตบิ โต ซง่ึ จากการตดั สนิ ใจ โรงเรยี นในการท�ำ งาน แตด่ ว้ ยสถานการณ์ รว่ มกนั ในทมี ไดข้ อ้ สรปุ วา่ ‘จะท�ำ การทดลอง โรคโควดิ 19 ระบาดทว่ั ประเทศ โรงเรยี น ทัง้ 2 โครงงาน เพอ่ื ให้ไดศ้ กึ ษาเก่ียวกับ ต้องปิดเพ่ือควบคุมการระบาดของโรค เรอ่ื งนเ้ี พิ่มมากขน้ึ ’ ทีมจึงต้องวางแผนการทดลองกันใหม่ “จากการศึกษาคู่มือหลายคร้ังและ อีกคร้ังหน่งึ ศึกษาเกี่ยวกับต้นโหระพาอย่างละเอียด ปฐวีเล่าว่าตอนแรกที่เจอปัญหาก็ ตามคำ�แนะนำ�ของครูท่ีปรึกษา จึงทำ�ให้ หลงทางกันไปบา้ ง ไม่รจู้ ะรับมืออย่างไรดี เห็นถึงข้อมูลสำ�คัญว่า ‘ปัจจัยที่ส่งผล จะหยุดรอให้สถานการณ์คล่ีคลายหรือ ต่อการเจริญเติบโตของต้นโหระพา’ กับ ‘สภาพแวดล้อมบนสถานีอวกาศ’ มีจุดท่ีเชื่อมโยงกันคือ ‘ปริมาณก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)’ เพราะ โหระพาเป็นพืชในกลุ่ม C31 ท่ีต้องได้ รับปริมาณ CO2 มากพอจึงจะสามารถ สงั เคราะหอ์ าหารไดม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ขณะท่ี บนสถานีอวกาศมีปริมาณ CO2 มากกว่า สภาพแวดล้อมปกติบนโลกถึง 10 เท่า 1 “โหระพา” เปน็ พชื กลมุ่ C3 หรอื C3 carbon fixation ทตี่ อ้ งอาศยั การตรงึ CO2 เพอื่ ใช้ในกระบวนการสรา้ งอาหาร (Calvin Cycle) ท�ำ ใหเ้ มอื่ เกดิ สถานการณ์ ทพ่ี ชื ไม่สามารถตรงึ คารบ์ อนไดออกไซดม์ าใช้ไดม้ ากพอ จะสง่ ผลใหป้ ระสิทธภิ าพในการสร้างอาหารของพชื กลุม่ น้ลี ดลง มกราคม 2565 5

Cover Story มีความเหมาะสมในการควบคุมสภาพ ดสู รุปการทดลองของทีม AHiS034 ไดท้ ี่ : แวดล้อมท้ังดา้ นอณุ หภมู ิ ความชนื้ และ https://www.nstda.or.th/spaceeducation/ahis-best-report/ แสง ส่วนทางด้านอุปกรณ์การทดลอง ทีมได้ช่วยกันดัดแปลงอุปกรณ์ที่หาได้ ง่ายไม่ต้องลงทนุ สูง มาใช้ทดแทน “ภายหลังจากการเร่งติดต้ังอุปกรณ์ การทดลองในพนื้ ที่ เพอ่ื ใหส้ ามารถทดลอง ได้เสร็จก่อนฤดูร้อนจะมาถึง ซ่ึงจะส่งผล ให้การควบคุมตัวแปรในการทดลองทำ� ได้ยากลำ�บากยิ่งข้ึน ปัณณทัตในฐานะ เจ้าของสถานท่ีได้ทำ�หน้าท่ีเป็นผู้ดูแลพืช และส่งข้อมูลความเปล่ียนแปลงของการ ทดลองตลอด 30 วันให้ทีมทางออนไลน์ เพื่อช่วยกันวิเคราะห์ผล ก่อนจะนำ�ผล ท้ังหมดมาสรุปการทดลองร่วมกันอีกครั้ง หนง่ึ หลงั จบการทดลอง โดยมคี รทู ปี่ รกึ ษา เป็นผู้ช่วยต้ังคำ�ถามให้ทีมได้คิดทบทวน และศกึ ษาเพม่ิ เติม “เม่อื นำ�ผลการทดลอง 2 โครงงาน มาเปรยี บเทยี บกนั ขอ้ สรปุ ของการทดลอง เป็นไปตามข้อสันนิษฐานท่ีต้ังไว้ คือ ต้นโหระพาท่ีได้รับ CO2 มากกว่า จะมี อัตราการเจริญเติบโตท่ีสูงกว่า และนั่น ทำ�ให้สันนิษฐานต่อได้ว่าต้นโหระพา ทีป่ ลูกบนสถานอี วกาศซ่ึงมปี ริมาณ CO2 สูงกว่าบนโลกถึง 10 เท่าน่าจะมีอัตรา การเจรญิ เติบโตท่ีสูงกว่าเชน่ กัน อยา่ งไร ก็ตามบนสถานีอวกาศยังมีปัจจัยอื่นท่ีส่ง ผลต่อรูปแบบการเจริญเติบโตของพืช เชน่ สภาวะแรงโนม้ ถ่วงต่�ำ ท้ังนี้หลงั จาก ท่ีนักวิจัยทำ�การวิเคราะห์ผลการปลูกบน สถานีอวกาศเสร็จเรียบร้อยในเดือน ธนั วาคมปนี ี้ ก็จะทำ�ให้ได้ผลสรปุ ทีช่ ดั เจน มากยิง่ ขึน้ ” มกราคม 2565 6

Cover Story “อุุปสรรค” นำำ�มาซึ่ง�่ “อีกเร่ืองหนึ่งท่ีทุกคนในทีมได้เรียนรู้ เรยี นรผู้ า่ นการท�ำ โครงงาน เพราะท�ำ ให้ได้ มากจากการท�ำ กจิ กรรมครง้ั นคี้ อื การเขยี น เรียนรู้ในสิ่งทต่ี ัวเองสนใจ และเกดิ ความ การเรียี นรู้�และการเติิบโต รายงานสรุปการทดลองแบบละเอียดซ่ึง เข้าใจมากกว่าการอ่านหรือท่องจำ�เน้ือหา สถานการณก์ ารระบาดของโรคโควดิ 19 เปน็ เรอื่ งใหมท่ ย่ี งั ไมเ่ คยท�ำ มากอ่ น กอ่ นท่ี จากต�ำ ราเรยี น ขอขอบคณุ ผจู้ ดั งานทกุ ทา่ น ทำ�ให้แผนการทดลองต้องปรับเปล่ยี น จะเรยี บเรยี งออกมาเปน็ สรปุ งานได้ จะตอ้ ง อาจารยท์ ปี่ รกึ ษา และผปู้ กครอง ทที่ �ำ ใหม้ ี แต่ด้วยความมุ่งม่ันต้ังใจ ทำ�ให้พวกเขา ประมวลผลการทดลองทง้ั หมด คดั กรอง โอกาสไดร้ ับประสบการณน์ ี้ สามารถเอาชนะอุปสรรคต่างๆ ได้สำ�เร็จ วา่ ควรน�ำ เสนอขอ้ มลู อะไร และวเิ คราะห์ น�ำ มาสกู่ ารเตบิ โตขน้ึ ระหวา่ งการท�ำ กจิ กรรม ว่านำ�เสนออย่างไรจึงจะเหมาะสม ซึ่ง ครูทู ี่่ป� รึกึ ษากับั บทบาท “โคช” ธชยเล่าว่า ส่ิงที่ทีมได้เรียนรู้จาก ทีมได้ทำ�การปรับแก้สรุปงานกันมากกว่า ชี้้แ� นะ ดูแู ล แก้้ปััญหา การทำ�การทดลองคร้ังนี้และภูมิใจมาก สิบคร้ัง กว่าจะได้เป็นสรุปงานฉบับท่ีส่ง พััฒนาทักั ษะไปด้ว้ ยกััน ทสี่ ดุ ทท่ี �ำ ไดส้ �ำ เรจ็ คอื “การรบั มอื กบั ปญั หา” ใหค้ ณะกรรมการพิจารณา คดิ ว่าประสบ- ในทมี AHiS034 นอกเยาวชนทงั้ 3 คน เมอ่ื ตอ้ งหาสถานทแ่ี ละอปุ กรณก์ ารทดลอง การณเ์ หลา่ นจี้ ะเปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งมากใน ขา้ งตน้ แลว้ ยงั มคี รทู ป่ี รกึ ษาทท่ี �ำ หนา้ ทเ่ี ปน็ ใหม่ แทนที่จะยอมแพ้หรือเปลี่ยนโจทย์ การเรยี นในอนาคตเช่นกนั ” “โคช (coach)” อกี 3 คน คือ ครอู ดิเรก การทดลองไปเลย ทุกคนเลือกท่ีจะแก้ ปณั ณทตั ในฐานะหวั หนา้ ทมี ทง้ิ ทา้ ยวา่ พิทักษ์ (ครูเรก) เชี่ยวชาญด้านฟิสิกส์ ปัญหาโดยการช่วยกันคิดว่าจะสามารถ แมก้ ารท�ำ โครงงานนจี้ ะเหนอ่ื ยแตท่ กุ คน ครชู นนั ท์ เกยี รตสิ ริ สิ าสน์ (ครตู วั้ ) เชย่ี ว- ใชอ้ ะไรทดแทนไดบ้ า้ งโดยไมต่ อ้ งลงทนุ สงู ก็สนุกที่ได้เรียนรู้ไปด้วยกัน รู้สึกคุ้มค่า ชาญด้านชีววทิ ยา และครูวนิดา ภู่เอี่ยม อยู่ ในขอบเขตที่สามารถลงมือทำ�ได้ ใน ที่ไดล้ งมอื ท�ำ ยิ่งตอนร้วู ่าไดท้ ่ี 1 ดีใจมาก (ครูกุ้ง) เช่ียวชาญด้านการจัดการข้อมูล สถานการณ์ตอนน้นั บทเรียนในการแก้ หายเหน่ือยเป็นปลิดทิ้ง จากการคุยกัน และการน�ำ เสนอ ปญั หาครง้ั นจี้ ะเปน็ ประโยชนอ์ ยา่ งมากตอ่ หลังจบงานก็พบว่าทุกคนในทีมชอบการ การรบั มือปญั หาทอ่ี าจต้องเจอในอนาคต มกราคม 2565 7

Cover Story ครูอดิเรกเป็นตัวแทนเล่าถึงการรับ ความร่วมมือของ สวทช. องคก์ ารสำ�รวจ- วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำ�หรับเด็ก บทบาทโคชใหก้ บั นกั เรยี นในโครงงานนวี้ า่ อวกาศญี่ปุ่น (JAXA) และหน่วยงาน และเยาวชนอกี หลายโครงการ หลังจากได้รับคำ�ขอจากนักเรียนให้ช่วย พันธมิตร ดำ�เนินงานมาจนสำ�เร็จลุล่วง ตดิ ตามกิจกรรมต่างๆ ไดจ้ าก เป็นท่ีปรึกษาในการแข่งขัน จึงได้แบ่ง และบรรลุเป้าหมายท่ีสำ�คัญที่สุดคือ • กิจกรรมดา้ นอวกาศ : หน้าท่ีกับครูอีก 2 ท่านในการศึกษาราย การส่งเสริมการเรียนรู้และเสริมสร้าง NSTDA SPACE Education ละเอียดของโครงการและศึกษาความรู้ท่ี ทักษะด้านวิทยาศาสตร์ของเด็กและ • การประกวดโครงงานของ เกี่ยวข้องเพ่ือทำ�หน้าท่ีโคชนักเรียนตาม เยาวชนไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทักษะ นกั วิทยาศาสตรร์ ุ่นเยาว์ (YSC) : ความเช่ยี วชาญของตัวเอง ของครู/บุคลากรทางการศึกษาของไทย YSC Thailand Fanpage “ด้วยกิจกรรมนี้มีลักษณะเป็นการ ซงึ่ สวทช. ยงั มกี จิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ • บา้ นวิทยาศาสตร์สริ นิ ธร : ให้นักเรียนได้ศึกษาด้วยตนเองผ่านการ http://www.nstda.or.th/ssh ลงมือทำ�โครงงาน (Project-Based Learning: PBL2) ครจู งึ ตอ้ งรบั บทบาทเปน็ รายชื่่อ� ทีมี ที่่ไ� ด้ร้ ัับรางวััลโครงการ Asian Herb in Space (AHiS) ‘โคช’ ผู้ต้ังคำ�ถามเพ่ือให้พวกเขาได้คิด รางวัลั ชนะเลิิศ อย่างรอบคอบ คิดต่อยอด รวมถึงช่วย ช้ีแนะว่าอะไรที่ทำ�ได้ดีแล้ว และอะไรท่ี • ทมี AHiS034 โรงเรยี นกรุงเทพครสิ เตียนวทิ ยาลยั ควรเสริมหรือควรศึกษาเพิ่มเติม เพราะ เป้าหมายของการทำ� PBL คือการท่ี รางวััลรองชนะเลิศิ อัันดัับ 1 นักเรียนได้ลงมือเรียนรู้ด้วยตัวเองและ ได้ความรู้เพิ่มเติมตามเป้าหมายท่ีวางไว้ • ทีม AHiS219 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา ซึ่งประสบการณ์ที่ครูได้รับจากการโคช เด็กแต่ละคร้ัง จะช่วยให้ครูได้พัฒนา รางวัลั รองชนะเลิศิ อัันดับั 2 ทกั ษะของตัวเองดว้ ยเช่นกัน “แมง้ านท่ที ำ�จะเหนือ่ ย แต่พอไดเ้ หน็ • ทมี AHiS045 โรงเรียนวิทยาศาสตร์จฬุ าภรณราชวทิ ยาลัย ตรัง นกั เรียนตั้งใจเรยี นรู้ เกดิ การพัฒนา หรือ ประสบความสำ�เร็จ ก็ทำ�ให้ความเหน่ือย รางวัลั นำำ�เสนอดีีเด่น่ (2 รางวัลั ) หายไปหมด ภูมิใจในตัวนักเรียนมาก สิ่งเหล่าน้ีเป็นความสุขของคนเป็นครู • ทมี AHiS150 โรงเรยี นวิทยาศาสตรจ์ ฬุ าภรณราชวิทยาลยั ปทุมธานี ขอบคุณผู้จัดงานท่ีนำ�โอกาสในการเรียน • ทีม AHiS167 โรงเรียนสรุ าษฎร์ธานี รู้มาสู่เด็กๆ” โครงการ Asian Herb in Space รางวััลพิิเศษจาก บริิษัทั กรีีน อินิ โนเวทีฟี ไบโอเทคโนโลยีี จำำ�กัดั (6 รางวััล) หรือ AHiS ประจำ�ปี พ.ศ. 2564 โดย • ทมี AHiS004 โรงเรียนก�ำ เนิดวิทย์ / กรุงเทพคริสเตียนวิทยาลยั / มหดิ ลวทิ ยานุสรณ์ • ทีม AHiS006 โรงเรยี นพรหมานุสรณจ์ งั หวดั เพชรบรุ ี • ทีม AHiS013 โรงเรยี นราชนิ บี น • ทมี AHiS038 โรงเรยี นหารเทารังสีประชาสรรค์ • ทีม AHiS057 โรงเรียนมงฟอร์ตวทิ ยาลัย • ทีม AHiS100 โรงเรยี นอุตรดิตถ์ รางวััลพิิเศษจากสาขาวิชิ าชีีวนวัตั กรรมและผลิิตภััณฑ์ฐ์ านชีวี ภาพอััจฉริิยะ คณะ วิทิ ยาศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลัยั มหิดิ ล • ทมี AHiS261 โรงเรียนนครขอนแกน่ 2Project-Based Learning (PBL) คอื รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนโดยใหผ้ เู้ รยี นไดล้ งมอื ท�ำ หรอื เรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ทง้ั การออกแบบกระบวนการ เรยี นรู้ การคน้ คว้า การทดลอง การคิดวเิ คราะห์ และการสรุปผลการเรยี นรผู้ า่ นการทำ�โครงงาน ทั้งนี้โจทย์ในการทำ�โครงงานขน้ึ อยกู่ ับความ สนใจของผู้เรยี น หรอื การออกแบบเป้าหมายในการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทกั ษะของอาจารย์ทป่ี รกึ ษา มกราคม 2565 8

Sci Delight ฝ่ายสรา้ งสรรค์สื่อและผลิตภณั ฑ์ สวทช. Para Plearn ของเล่น่ แสนเพลินิ จากยางพาราไทย ของเล่นกับเด็กเป็นของคู่กัน แต่ของเล่นท่ีเหมาะสมกับเด็กน้ัน นอกจากตอ้ งเลน่ สนกุ เสรมิ สร้างการเรียนรู้ และมคี วามปลอดภยั แลว้ ยงั ตอ้ งมรี าคาทจ่ี บั ตอ้ งไดด้ ว้ ย นกั วจิ ยั จากศนู ยเ์ ทคโนโลยีโลหะและ วัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แหง่ ชาติ (สวทช.) ไดพ้ ฒั นา “Para Plearn” นวตั กรรมของเลน่ ปลอดภยั ท่ีใช้ยางพาราซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจสำ�คัญของประเทศมาเป็นวัสดุหลัก ในการผลิต เป็นแนวทางการเพ่ิมมูลค่ายางพาราแบบใหม่ที่ช่วยยก ระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรไทย และยังช่วยให้เด็กไทยมีของเล่น เสริมสรา้ งทกั ษะและกระบวนการเรยี นรู้ทปี่ ลอดภยั ไร้สารเคมี มกราคม 2565 9

Sci Delight ของเล่นแป้งป้ันหรือโด (dough) ผลิตขึ้นจากยางพาราชนิด ยางแทง่ และยางแผน่ ซง่ึ น�ำ มาผา่ นกระบวนการปรบั ลกั ษณะทาง กายภาพใหม้ สี มบตั คิ วามหนดื ทเี่ หมาะสม กอ่ นน�ำ มาผสานรวมเขา้ กับสารจากธรรมชาติอื่นๆ อาทิ แปง้ ประกอบอาหาร นำ�้ มันพืช สี “Para Dough มีคุณสมบัติเด่นในเรื่องความปลอดภัย เน่ืองจากผลิตจากวัตถุดิบจากธรรมชาติ 100 เปอร์เซ็นต์ ไม่มี สารทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ อาการแพอ้ ยา่ งกลเู ตนจากแปง้ สาลแี ละสารเคมที ี่ เปน็ อนั ตราย ไม่มีโลหะหนกั เปน็ ส่วนประกอบ ไมม่ สี ่วนผสมของ สารกันบูด อีกท้ังยังฉีดพ่นแอลกอฮอล์เพ่ือฆ่าเชื้อไวรัสและ แบคทเี รยี กอ่ นและหลงั เลน่ ได้โดยท่ีโดไมเ่ สยี สภาพ นอกจากนยี้ งั ไมม่ กี ลน่ิ ไมแ่ ห้งแขง็ และไมล่ ะลายเยม้ิ เมือ่ วางไวภ้ ายนอกบรรจุ ภณั ฑอ์ กี ดว้ ย เกบ็ ในบรรจภุ ณั ฑ์ไดอ้ ยา่ งนอ้ ย 2 ปี มอี ายกุ ารใชง้ าน หลงั แกะบรรจภุ ณั ฑอ์ ยา่ งนอ้ ย 1 ปี หากไมส่ มั ผสั น�ำ้ หรอื ความชน้ื และภายหลังหมดอายุการใช้งานสามารถท้ิงลงในถังขยะเปียก เพราะยอ่ ยสลายไดต้ ามธรรมชาติ ไมส่ รา้ งมลพษิ แกส่ งิ่ แวดลอ้ ม” ดร.สุุรพิชิ ญ ลอยกุุลนันั ท์์ คุณุ กรรณิกิ า หััตถะปะนิิตย์์ ดร.สุรพิชญ ลอยกลุ นนั ท์ นกั วจิ ยั อาวุโส กลมุ่ วจิ ัยนวัตกรรม การแปรรปู ยาง เอม็ เทค สวทช. เปดิ เผยวา่ “ความเชย่ี วชาญดา้ นหนง่ึ ของเอม็ เทคคอื การคดิ คน้ สตู รยางพารา คลา้ ยกบั การพฒั นาสตู ร อาหาร นำ�วัตถุดิบต่างๆ มาผสมกันเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เชน่ เดยี วกบั ยางพารา เรามกี ารทดลองปรบั สภาพยางใหแ้ ขง็ ทส่ี ดุ หรือออ่ นท่ีสุด เพื่อดูความเปน็ ไปได้ในการนำ�มาใช้งาน พร้อมท้ัง คดิ คน้ สตู รสว่ นผสมตา่ งๆ จนเกิดเป็นนวตั กรรมท่ีหลากหลาย” Para Plearn ประกอบด้วยของเล่นเดก็ จากยางพาราทงั้ หมด 3 ผลติ ภณั ฑ์ คือ Para Dough ดินปั้นจากยางพารา Para Note ยางพาราส�ำ หรบั ขดี เขยี นคล้ายชอล์ก และ Para Sand ยางพารา ผงคล้ายสไลมแ์ บบผง คณุ กรรณกิ า หตั ถะปะนติ ย์ นักวิจัยกลุ่มวจิ ัยนวตั กรรมการ แปรรปู ยาง (IRM) เอม็ เทค อธบิ ายวา่ Para Dough เปน็ ผลติ ภณั ฑ์ มกราคม 2565 10

Sci Delight ดร.ปณิิธิิ วิริ ุณุ ห์พ์ อจิติ ดร.ปณธิ ิ วริ ณุ หพ์ อจติ นกั วจิ ยั กลมุ่ วจิ ยั IRM เอม็ เทค เสรมิ วา่ ผลติ ภณั ฑ์ Para Dough เหมาะจะใชเ้ ปน็ ของเลน่ เสรมิ พฒั นาการ เดก็ ทมี่ อี ายตุ งั้ แต่ 3 ปขี น้ึ ไป ชว่ ยกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การฝกึ ใชก้ ลา้ มเนอ้ื มัดเล็ก พัฒนาทักษะการทำ�งานประสานกันระหว่างตากับมือ เสรมิ สรา้ งพฒั นาการสมองและทกั ษะความคดิ สรา้ งสรรค์ นอกจากน้ี ยังเหมาะจะใชเ้ ปน็ อปุ กรณ์ในการท�ำ กจิ กรรมศลิ ปะบ�ำ บดั เพอ่ื กระตนุ้ การท�ำ งานของระบบประสาทและสมอง รวมถงึ ชว่ ยบ�ำ บดั ใหเ้ กดิ ความผ่อนคลาย เรียกว่าเปน็ แป้งปั้นท่ีเหมาะกบั ทุกเพศทุกวัย มกราคม 2565 11

Sci Delight “Para Dough มโี อกาสเขา้ ถึงตลาดสง่ ออกหลักของไทย ท่ี “การพัฒนา Para Dough มีส่วนช่วยสร้างมูลค่าเพ่ิมให้ ตอ้ งการผลติ ภณั ฑข์ องเลน่ เสรมิ พฒั นาการ ทม่ี คี วามปลอดภยั สงู แก่ยางพาราไทยได้สูง 5-6 เท่า ถือเป็นอัตราท่ีสูงเมื่อเทียบกับ และได้มาตรฐานสากล ตามการรายงานของกรมส่งเสริมการค้า การผลิตผลิตภัณฑ์ประเภทอื่น และเป็นทางเลือกหน่ึงที่ช่วย ระหว่างประเทศ ไทยเป็นหนึ่งในประเทศท่ีมีอัตราการส่งออก เสริมการใช้ประโยชน์จากยางพาราไทย ส่งเสริมการยกระดับ ผลิตภัณฑข์ องเล่นสงู คาดว่าในปี พ.ศ. 2564 จะมีตวั เลขมลู คา่ สนิ คา้ การเกษตรไทยตามโมเดลเศรษฐกจิ บีซจี ี (BCG Economy การส่งออกของเล่นสูงถึง 220 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และยังมี Model) ซงึ่ เปน็ วาระแหง่ ชาติ ทม่ี งุ่ ใชว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี อัตราการขยายตัวเพ่ิมขึ้นร้อยละ 19 เน่ืองจากการขยายตัวของ ยกระดบั เศรษฐกจิ ฐานชวี ภาพ สรา้ งมลู ค่าเพ่ิม และเปน็ มติ รกับ ตลาดออนไลน1์ สงิ่ แวดล้อม” ปจั จุบัน สวทช. ไดน้ �ำ ร่องผลิต Para Dough ตน้ แบบและจดั จ�ำ หนา่ ยทศ่ี นู ยห์ นงั สอื สวทช. แลว้ ส�ำ หรบั ผปู้ ระกอบการทส่ี นใจ เทคโนโลยี ทีมวิจัยเอ็มเทคพร้อมถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต Para Dough ในระดับอุตสาหกรรม โดยเทคโนโลยีท่ีใช้ในการ ผลติ มรี าคาไมส่ งู เนอ่ื งจากใชเ้ ครอื่ งจกั รทวั่ ไปในอตุ สาหกรรมการ ผลติ อาหาร รวมถงึ ใชว้ ตั ถดุ บิ ทผี่ ลติ และจ�ำ หนา่ ยทว่ั ไปในประเทศ นอกจากนี้ทีมวิจัยยังพร้อมร่วมทำ�วิจัยเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ ตอบโจทย์ความต้องการท่ีหลากหลาย เช่น การปรับระดับความ แข็งและความคงรูปของผลิตภัณฑ์สำ�หรับการใช้ในงานประเภท อน่ื ๆ อาทิ การทำ�เป็นดินปัน้ สำ�หรับผลติ ภัณฑ์เครอื่ งประดับหรอื ของตกแตง่ บา้ น 1ตลาดทป่ี ระเทศไทยส่งออกสนิ ค้าประเภทของเล่นเปน็ หลัก คอื สหรฐั อเมริกา เกาหลใี ต้ และญ่ีปุน่ รวมกันคิดเปน็ สัดส่วนร้อยละ 57.30 สว่ น ตลาดท่ีมีอัตราการขยายตัวสงู คอื เกาหลีใตร้ อ้ ยละ 964.90 ฟิลิปปนิ ส์รอ้ ยละ 105.89 และรสั เซยี ร้อยละ 73.22 โดยสินคา้ ท่ีมกี ารขยายตวั เพมิ่ อยา่ งนา่ สนใจ คอื ของเล่นท่มี ลี ้อเพิ่มข้นึ ร้อยละ 52.58 และของเล่นประเภทอื่นๆ ร้อยละ 20.16 ซง่ึ จดุ แขง็ ท่ีท�ำ ให้ของเลน่ ไทยเปน็ ทย่ี อมรบั ใน ตลาดสากลคือเป็นผลิตภัณฑ์ของเล่นท่ีมีความปลอดภัยสูง เป็นของเล่นเสริมพัฒนาการ ได้มาตรฐานสากล และมีคุณภาพของสินค้าท่ีดีกว่า ประเทศเพื่อนบา้ น มกราคม 2565 12

Sci Delight ส�ำ หรับ Para Plearn อีก 2 ผลติ ภัณฑ์ คือ Para Note กบั ปั้นหรืออัดข้ึนรูปเป็นรูปทรงต่างๆ และเปลี่ยนรูปให้กลับมาเป็น Para Sand แมจ้ ะยงั ไมไ่ ดม้ กี ารน�ำ รอ่ งท�ำ ผลติ ภณั ฑต์ น้ แบบขน้ึ มา ผงเช่นเดิมได้ โดยนำ�กลับมาปั้นข้ึนรูปใหม่ได้มากกว่า 10 คร้ัง วางจ�ำ หนา่ ย แตต่ วั ผลติ ภณั ฑม์ จี ดุ เดน่ และทมี วจิ ยั พรอ้ มถา่ ยทอด รวมท้งั เติมสีและกลน่ิ ต่างๆ ไดเ้ ช่นเดียวกนั ” เทคโนโลยีให้แกผ่ ู้ประกอบการทส่ี นใจแลว้ เชน่ กนั ดร.สรุ พชิ ญทง้ิ ทา้ ยวา่ ทงั้ หมดนค้ี อื ของเลน่ ส�ำ หรบั เสรมิ สรา้ ง “Para Note คือการน�ำ ยางพารามาท�ำ ให้แขง็ แลว้ นำ�มาอัด ทักษะและพัฒนาการเรียนรู้ ให้กับเด็กที่ ไม่เป็นอันตรายเพราะ เป็นแท่ง สามารถใช้เขียนกระดานหรือพื้นผิวท่ีมีความขรุขระได้ ปราศจากสารเคมเี จอื ปน Para Plearn ถอื เปน็ การรเิ รมิ่ การแปรรปู คลา้ ยกบั ชอลก์ โดยทวั่ ไปชอลก์ ตามทอ้ งตลาดมกั ท�ำ จากแรย่ ปิ ซมั ยางสู่ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ท่ีจะช่วยให้เด็กไทยมีของเล่นเสริมการ หรอื เกลอื จดื ซงึ่ เปน็ แคลเซยี มซลั เฟต เวลาเขยี นจะเลอะมอื เกดิ เรียนรู้ได้อย่างปลอดภัย ยิ่งในช่วงสถานการณ์การระบาดของ ฝุ่นได้งา่ ยและเป็นอนั ตรายต่อระบบทางเดินหายใจ ขณะท่ี Para โควดิ 19 ของเล่นเสริมพฒั นาการท่บี า้ นจะมบี ทบาทท่ีสำ�คัญขน้ึ Note ที่ทีมวิจัยพัฒนาขึ้นนั้น เขียนได้ไม่เลอะมือ ไม่ก่อให้เกิด ขณะเดยี วกนั ยงั ชว่ ยเพมิ่ มลู คา่ ใหก้ บั ยางพารา อนั จะสง่ ผลทด่ี ตี อ่ ฝุ่นฟ้งุ กระจาย และไมเ่ ปน็ อนั ตราย อกี ทง้ั ยังแตกหักไดย้ ากกว่า เกษตรกรผู้ปลกู ยางพาราต่อไปในอนาคต ชอล์กที่วางจำ�หน่ายทั่วไป ท่ีสำ�คัญคือสามารถลบได้สะอาดด้วย ผปู้ ระกอบการทส่ี นใจรบั การถา่ ยทอดเทคโนโลยี Para Plearn ยางพาราทม่ี คี วามอ่อนตัวน้อยกว่า และขน้ึ รปู เป็นลักษณะตา่ งๆ ทั้ง 3 ผลิตภัณฑ์ ติดต่อสอบถามเพ่ิมเติมเกี่ยวกับเทคโนโลยีได้ ไดต้ ามรูปแบบแมพ่ ิมพ์ ท่งี านประสานธุรกิจและอตุ สาหกรรม เอ็มเทค สวทช. “Para Sand เป็นผลิตภัณฑ์ยางพาราท่ีมีลักษณะเป็นผง 0 2564 6500 ตอ่ 4782-4789 เหมือนทรายแตม่ ีความหนดื ไมแ่ ตกตวั ลักษณะคล้ายสไลม์แบบ [email protected] ผง มีรูปแบบการพัฒนาเช่นเดียวกับ Para Dough แต่มีการ ผสมวตั ถุดิในอตั ราสว่ นทแ่ี ตกต่างกัน สามารถน�ำ ผงยางพารามา วางจำำ�หน่่ายแล้้วที่�่ศููนย์ห์ นัังสือื สวทช. https://www.facebook.com/NSTDAbookstore สั่่�งซื้�อ้ ทางออนไลน์ไ์ ด้ท้ ี่�่ http://nstdabookstore.lnwshop.com/p/214 มกราคม 2565 13

Sci Variety รักษ์ศักด์ิ สทิ ธวิ ไิ ล เรื่อ�่ งมึึนงง ของสััตว์ม์ ึนึ เมา ข้า้ พเจ้้ามิิได้้ นิิยมชมชอบ ในรสชาติขิ องสุุรา แต่่ข้า้ พเจ้า้ ชอบ บรรยากาศ ของการร่ำำ�� สุุรา เป็นคำ�กล่าวของโกวเล้งนักเขียน นวนิยายกำ�ลังภายในอมตะชาวจีนที่ มีช่ือเสียงที่สุดคนหน่ึงของโลกเก่ียวกับ การรำ่�ดม่ื สุรา ไม่ว่าจะถูกเรียกในชอ่ื อะไร เบยี ร์ บรั่นดี เหลา้ รัม สาเก หรือวิสกี จะ เกิดด้วยความบังเอิญหรือตั้งใจ นำ้�เมา ชนิดนี้ก็อยู่คู่กับสังคมมนุษย์มาอย่าง ยาวนานจนบางครงั้ เรากค็ าดไม่ถึง แอลกอฮอล์เป็นส่ิงท่ีเกิดขึ้นได้เอง ตามธรรมชาติ สง่ิ มชี วี ติ เซลลเ์ ดยี วทเ่ี รยี กวา่ “ยสี ต”์ น้ี ความสามารถพเิ ศษของมนั กค็ อื มกราคม 2565 14

Sci Variety เปลี่ยนนำ้�ตาลให้กลายเป็นคาร์บอนได- เมากัันได้้เละเทะ ทุกปี หลงั ปรากฏการณ์น�้ำ ค้างแขง็ ทำ�ให้ ออกไซด์และเอทานอล โดยกระบวนการ มรี ายงานมากมายวา่ พบสตั วป์ า่ อยา่ ง ผลเบอร์รีค้างอยู่บนต้นแทนที่จะตกลง ท่ีเป็นที่รู้จักกันท่ัวไปว่า “การหมัก” กวางมสู (moose) ในสวเี ดนมอี าการเมา พื้นตามปกติ เมื่อน้ำ�แข็งเร่ิมละลายผล (alcoholic fermentation) ซ่ึงเอทานอล ปล้ินจากการกินแอปเปิลที่หล่นเน่าอยู่ เบอร์รีจึงเร่ิมกระบวนการหมัก และเม่ือ เปน็ แอลกอฮอลช์ นดิ เดยี วทด่ี มื่ ในปรมิ าณ ใตต้ น้ หรอื พบกระแตนอนเมาแอไ๋ มแ่ ยแส ฝงู นกกนิ เขา้ ไปกเ็ กบ็ ทรงไมอ่ ยู่ บนิ สะเปะ เหมาะสมไดอ้ ยา่ งปลอดภยั เพราะเปน็ ผล- ใครในป่ามาเลเซียหลังกินนำ้�หวานหมัก สะปะไปมา บางตัวบินไปชนรถยนต์และ ผลติ จากการคัดสรรทางธรรมชาตโิ ดยแท้ จากดอกสาคปู า่ หรอื ฝงู นกขเ้ี มาปว่ นเมอื ง กระจกหน้าต่างจนเกิดอุบัติเหตุมากมาย มนุษย์รู้จักการหมักแอลกอฮอล์จาก ทสี่ รา้ งความเดอื ดรอ้ นร�ำ คาญแกช่ าวเมอื ง ชาวเมืองได้แต่ต้องรอให้พวกมันสร่าง ธัญพืชไวด้ ื่มกินมานานหลายพันปี กอ่ นที่ Gilbert ในสหรัฐอเมริกาเป็นอย่างมาก เมาไปเอง จะเรม่ิ รจู้ กั การเพาะปลกู เสยี อกี โดยเลอื กเกบ็ เมล็ดธัญพืชป่าในท้องถ่ิน เช่น ข้าวสาลี ขา้ วบารเ์ ลย์มาเพาะใหง้ อกเปน็ มอลต์(malt) เพื่อนำ�ไปหมกั เบยี ร์ จึงเกิดขอ้ สันนิษฐาน ท่ีว่า เพราะความตอ้ งการดืม่ แอลกอฮอล์ น่ีเอง ทำ�ให้บรรพบุรุษของมนุษย์เลิกใช้ ชีวิตเร่ร่อนและตั้งถิ่นฐานทำ�เกษตรกรรม เพื่อผลิตวัตถุดิบและสร้างอารยธรรม ของตน ขนาดในยุคกลาง ยังมีคำ�กลา่ ว ยกย่องเรียกมันว่าเป็น “นำ้�แห่งชีวิต” เพราะนอกจากจะใชด้ ม่ื เพอ่ื ใหค้ วามอบอนุ่ และผ่อนคลายแล้ว นักบวชยังน�ำ สุรามา ใช้ในพธิ ีกรรมและการรกั ษาโรคอีกด้วย ไม่เพียงอารยะและศิลปะในการ ดื่มแอลกอฮอล์จะหย่ังรากลึกผูกพันกับ วิถีชีวิตของผู้คน สรรพสัตว์ในธรรมชาติ ต่างก็ชื่นชอบและหลงใหลในการผ่อน- คลายจากการเมาเชน่ เดยี วกนั ดว้ ยเสนห่ ์ ดงึ ดดู ของกลน่ิ การหมกั ทก่ี ระชากใจอยา่ ง รุนแรง สามารถส่งสัญญาณเรียกหาได้ ในระยะไกล มันยังเป็นแหล่งพลังงานท่ี ร่างกายสัตว์เอาไปใช้ได้อย่างรวดเร็ว ท้ัง เป็นผลดีต่อระบบขับถ่ายและการย่อย อาหาร และใช.่ ..น่นั ยังไมน่ ับรวมความสขุ จากการเมา มกราคม 2565 15

Sci Variety มาทาทา มารูลู า สััตว์์เริงิ ร่่า ไม้ป้ ่่าพาเมา บนพ้ืนท่ีป่าของแอฟริกาใต้และแอฟริกาตะวันตก มารูลา (marula: Sclerocarya birrea) ได้ชื่อว่าเป็น ราชาแห่งผลไม้ เป็นผลไม้ที่มีดี(กรี)ในตัว ต้นมารูลา เป็นไม้ยืนต้น ทนแล้ง ผลมีเมล็ดเดียว ขนาดเท่า ลกู พลมั เมอ่ื สกุ จะมสี เี หลอื ง มกี ลน่ิ หอมทล่ี ะเอยี ดออ่ น อดุ มไปดว้ ยกรดอะมโิ นมากมาย มวี ติ ามนิ ซสี งู สามารถ รบั ประทานได้ แตม่ สี ารออกฤทธก์ิ ดประสาท ชาวพน้ื เมอื ง จะคั้นนำ้�มารูลามาหมักทำ�เป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรือเหล้าพ้ืนเมือง ด้วยคุณสมบัติพร้อมเมาของมารู ลานี้ จงึ เปน็ ทต่ี อ้ งการของสตั วท์ งั้ หลายดว้ ยเชน่ เดยี วกนั สัตว์ทั้งป่าแทบจะมารวมกันเม่ือผลมารูลาสุก ในช่วงเดือนมีนาคมถึงเมษายนโดยมิได้นัดหมาย มารูลา จะทวีคูณเป็นที่ต้องการมากข้ึนหลังจากเร่ิมเน่าและผ่านการหมัก ภายใตแ้ สงแดดอนั รอ้ นระอจุ นไดท้ แ่ี ลว้ เรม่ิ ตน้ ดว้ ยพชี่ า้ ง ยรี าฟ และ น้องลิงเป็นหัวเรือใหญ่เขย่ากิ่งจนผลร่วงหล่นลงมา เปิดโอกาสให้สัตว์ ทอี่ ยู่ดา้ นล่าง ไม่ว่าจะเปน็ หมูป่า แรด ละมั่งปา่ นกกระจอกเทศ สัตวน์ อ้ ย สตั ว์ใหญ่ มะรมุ มะตมุ้ เขา้ มาแบง่ กนั กนิ ผลไมอ้ นั อดุ มโภชนาและรสชาตโิ อชะ นี้อย่างเอร็ดอร่อย เม่ือฉลองอย่างเริงร่ากันจนได้ท่ีก็จะเดินโซซัดโซเซ แยกย้ายกลบั ท่ีพกั ...พร่งุ นคี้ อ่ ยมาว่ากันใหม่ ยิ่่�งกิินยิ่่ง� ติิดใจ นกั ศกึ ษาจาก Dartmouth College สหรฐั อเมรกิ า ไดท้ �ำ การศกึ ษาพฤตกิ รรมของตวั อายอาย (aye-aye) และลงิ ลม (slow loris) พบวา่ สตั วท์ ั้งสองชนดิ นี้มีความพึงพอใจกับการเลือกกินเครื่องดื่ม ท่ีมีแอลกอฮอล์มากกว่าเครื่องดื่มทั่วไป เป็นอย่างมาก พิเรนทร์กว่านน้ั ในมาดากสั การ์ ลีเมอร์ (lemur) ไพรเมต (primate) ตาโตไล่จับกิ้งกือมาสนองความต้องการ เมาของมันด้วยการกัดเบาๆ ไม่ใช่เพ่ือ การกิน แต่เพื่อให้กิ้งกือตกใจหล่ังสารพิษฤทธิ์ เปน็ กรด ท่ีมสี ว่ นผสมของแอลคาลอยด์ (alkaloid) ออกมา มกราคม 2565 16

Sci Variety อายอาย ลิงิ ลม ลีเี มอร์์ (black lemur) ป้องกันตัว กิ้งกือใช้สารพิษน้ีขับไล่ศัตรูที่ มกราคม 2565 ตัวเท่าๆ กันได้ แต่ไม่ได้ผลแบบน้ันกับลี เมอรข์ องที่น่ี ลเี มอร์จะเลียกนิ สารพษิ รส 17 ขมตามลำ�ตัวของก้ิงกือเพื่อให้เกิดอาการ เมา เคลิบเคลิ้มเปน็ สุข (euphoria) แบบ เดียวกับการเสพฝิ่นและโคเคนอีกด้วย (ชมความเมาของลีเมอร์ได้จาก Spy in the Wild - BBC https://youtu.be/ yYXoCHLqr4o) เมา...ถูกู ปรัับถูกู จับั ฆ่่า ในสังคมของผ้ึงท่ีมีการแบ่งวรรณะ และแยกหน้าท่ีกันอย่างเข้มข้น การเมา ระหว่างการทำ�งานน้ันอาจหมายถึงชีวิต ผ้ึงงานที่มีหน้าท่ีออกไปหาน้ำ�หวานจาก ดอกไม้และน้ำ�เลี้ยงต้นไม้ เก็บมาใน กระเพาะเก็บนำ้�หวาน พอมาถึงรังก็จะ สำ�รอกออกมาส่งให้ผึ้งประจำ�บ้านนำ�ไป เกบ็ ไว้ในหลอดรวงตอ่ ไป แต่หากบงั เอญิ

Sci Variety ไปเจอน้�ำ หวานทีผ่ ่านการหมักมาแลว้ มนั ก็ไม่ต่างอะไรจากการดื่มสุราหมักตาม ธรรมชาติ และเช่นเดียวกับมนุษย์และ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอ่ืนๆ แอลกอฮอล์มี ฤทธก์ิ ดประสาทตอ่ ผง้ึ เดาไมย่ ากวา่ จะเกดิ อะไรขน้ึ ผง้ึ จะเมา บนิ เซไปมา ชนโนน่ ทนี ที่ ี จนเกดิ การบาดเจบ็ ตามรา่ งกาย พอกลบั มา ถงึ ที่รงั ก็ไมว่ ายถกู ผ้งึ ทหารขับไล่ ซวยซ�ำ้ ไปอกี เพราะผง้ึ ทเ่ี มาแบบน้ีไมเ่ ปน็ ทต่ี อ้ งการ ของฝงู มนั อาจถกู รมุ ท�ำ รา้ ยจนถงึ ตายไดเ้ ลย ปกตแิ ลว้ ผง้ึ งานทกุ ตวั ตอ้ งท�ำ งานเพอ่ื แลก กลนิ่ (ฟโี รโมน) จากผงึ้ นางพญาเปน็ รางวลั หากทำ�งานไม่ได้จะถูกลากไปท้ิงนอกรัง (ชมความเมาน�้ำ หวานของผง้ึ ไดท้ ี่ https:// www.youtube.com/watch?v=rSqknjdK J3c) เรีียนผูกู ก็็ต้้องเรีียนแก้้เอง เอทานอลได้เร็ว หรือแก้อาการเมาค้าง เหมือนๆ กัน ถึงแม้ทุกตัวคนจะรู้ว่า จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ฟ ร า น ซิ ส โ ก ได้ดีนั้นเอง ค ว า ม สุ ข ที่ ไ ด้ จ า ก เ ค รื่ อ ง ด่ื ม เ ห ล่ า นี้ จ ะ ซานเชซ (Francisco Sanchez) นักชีว- อย่างไรก็ตามดีกรีความแรงของ มิใช่ความสุขที่จีรังย่ังยืน แต่ในช่วงชีวิต วิทยาจาก Ben-Gurion University of the แอลกอฮอล์ในผลไม้สุกงอมจัดตาม ของพวกเรามีกี่สิ่งกันท่ีจะจีรังจริงๆ ...ใช่ Negev ประเทศอิสราเอล พบว่า ค้างคาว ธรรมชาตมิ ีเพียงแค่ 1-4 เปอร์เซน็ ต์ ซ่งึ ไหมละ่ ตะวันออกกลางชนิดหนี่งก็ชื่นชอบการ เทียบได้กับเบียร์ดีกรีอ่อนๆ เท่านั้นเอง ล้ิมรสน้ำ�หวานและเกสรดอกไม้ของลูก แต่มันก็ทำ�ให้ไม่ว่ามนุษย์หรือสัตว์ร่วม มะเดื่อและอินทผลัมท่ีมีแอลกอฮอล์ อภริ มย์ไปกบั อารมณผ์ อ่ นคลายจากมนั ได้ เจือปนเป็นพิเศษ หลังอาหารมื้ออร่อย มันจะบินตุปัดตุเป๋ชนสิ่งกีดขวางต่างๆ การหาตำ�แหน่งโดยเสียงสะท้อนของ คา้ งคาว (echolocation) ใช้ได้ไมด่ เี หมอื น เคย แต่เจ้านกมีหูหนูมีปีกน้ีก็ฉลาดพอ ท่ีรูจ้ กั แก้ไขเพอ่ื ฟนื้ ตัวเองให้เรว็ ที่สดุ โดย จะพยายามหาผลไม้ท่ีมีนำ้�ตาลฟรักโทส มากินให้มากข้ึน เพราะน้ำ�ตาลฟรักโทส เป็นนำ้�ตาลในผลไม้ที่ช่วยให้ร่างกายย่อย มกราคม 2565 18

‘กรวยจราจร’ สููตรผสมยางธรรมชาติิ ในอนาคตจะมกี ารผลกั ดนั ใหเ้ ทคโนโลยนี ้ีไดร้ บั การรบั รองผลดว้ ย ยืืดหยุ่่�นสููง ยึดึ เกาะถนนดีี ยืดื อายุุ กฎหมายสง่ิ แวดลอ้ มไทยตอ่ ไป เพอ่ื ใหม้ กี ารน�ำ ไปใชพ้ ฒั นาเปน็ นโยบาย การใช้ง้ าน ยกระดบั การท�ำ โรงงานสเี ขยี ว นอกจากนเ้ี ทคโนโลยนี ย้ี งั น�ำ ไปประยกุ ต์ ใช้กับอุตสาหกรรมอ่ืนๆ ท่ีต้องตรวจวัดกล่ิน เช่น อุตสาหกรรมเคมี เอ็มเทค สวทช. พัฒนา “กรรมวิธีการผลิตยางธรรมชาติ อตุ สาหกรรมอาหาร ฯลฯ เทอร์โมพลาสตกิ หรอื TPNR” ดว้ ยเครอื่ งอดั รดี สกรคู ู่ โดยมี ยางธรรมชาตเิ ปน็ สว่ นประกอบมากถงึ 30 เปอรเ์ ซน็ ต์ สง่ ผลให้ ท่มี าและรายละเอียดเพมิ่ เติม : กรวยจราจรทผ่ี ลติ จากยางธรรมชาตเิ ทอร์โมพลาสตกิ นี้ มคี วาม กรุงเทพธรุ กจิ (https://bit.ly/3zqmPDy) ยืดหย่นุ ต้านทานแรงกระแทก และยึดเกาะถนนได้ดี จงึ มีอายุ ‘เนื้้�อเยื่่�อเทียี ม’ โดยนักั วิจิ ัยั ไทย การใชง้ านที่ยนื ยาวกวา่ กรวยจราจรทว่ั ไป มุ่่�งลดความเหลื่่อ� มล้ำ�ำ� ในการเข้า้ ถึงึ การรักั ษา เทคโนโลยีการผลิตกรวยจราจรยางชนิดน้ีเป็นมิตรต่อผู้ ประกอบการ เพราะฉีดขึ้นรูปได้ด้วยสภาวะเดิม ไม่ต้องลงทุน รองศาสตราจารย์ นาวาโท นายแพทย์สรยุทธ ชำ�นาญเวช ปรับเปล่ียนสภาวะใหม่ นอกจากนี้ยังเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รองหัวหน้าภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล เพราะผลติ จากยางธรรมชาติ ชว่ ยลดของเสยี ในกระบวนการผลติ รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล คว้ารางวัลสภาวิจัยแห่งชาติด้วย ไดม้ ากถงึ 33 เปอรเ์ ซน็ ต์ และน�ำ ของเสยี กลบั มาใช้ใหมไ่ ดอ้ กี ดว้ ย ผลงาน “เนอ้ื เยอ่ื เทยี มจากวสั ดสุ งั เคราะห\"์ เพอ่ื ทดแทนการใชเ้ นอื้ เยอ่ื ปจั จุบนั มีการจัดจำ�หนา่ ยแลว้ โดยบริษัทธนัทธร จำ�กัด ของผู้ป่วยหรือวัสดุสังเคราะห์ที่นำ�เข้าจากต่างประเทศ ซึ่งมีมูลค่า ในการนำ�เข้าสูงถงึ 15 ลา้ นบาทต่อปี ท่มี าและรายละเอยี ดเพมิ่ เติม : 1) สวทช. (https://bit.ly/3eUOQJD) โดยผูว้ จิ ัยไดน้ ำ�วสั ดุทางการแพทยป์ ระเภทเซลลูโลส (cellulose) 2) ข่าวสด (https://bit.ly/3EOPH9n) ผสานเข้ากับวัสดุชีวภาพพอลิคาโพรแล็กโทน (polycaprolactone: ‘เซนเซอร์์วััดกลิ่่�น’ เพื่่�อการทำ�ำ โรงงาน PCL) ซง่ึ พฒั นาร่วมกบั สวทช. ทำ�ให้ไดว้ สั ดุเนอ้ื เยอ่ื เทยี มที่เหมาะแก่ สีีเขียี ว การใช้กบั แผลไฟไหมแ้ ละการผา่ ตดั ตา่ งๆ ทั้งการผา่ ตัดสมอง หน้าอก และช่องท้อง นวัตกรรมท่ีพัฒนาขึ้นนี้จะช่วยให้เกิดการลดความ ศาสตราจารยธ์ รี เกยี รต์ิ เกดิ เจรญิ ภาควชิ าฟสิ กิ ส์ คณะวทิ ยาศาสตร์ เหลื่อมล้ำ�ในการเขา้ ถึงการรกั ษาให้แก่คนไทยอยา่ งยั่งยืนตอ่ ไป มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ควา้ รางวลั การวจิ ยั แหง่ ชาตจิ ากผลงาน \"แพลตฟอรม์ เซนเซอรต์ รวจวดั กลน่ิ แบบ IoT ส�ำ หรบั โรงงานสเี ขยี ว และสง่ิ แวดลอ้ ม ท่ีมาและรายละเอียดเพ่ิมเตมิ : อัจฉริยะ\" เซนเซอร์ท่ีพัฒนาข้ึนน้ีสามารถวัดและแสดงผลระดับ กรงุ เทพธรุ กิจ (https://bit.ly/3JFrpCA) ความเสย่ี งเปน็ ตวั เลข รวมถงึ สามารถระบทุ ม่ี าของกลน่ิ ไดแ้ บบเรยี ลไทม์ มกราคม 2565 19

ผลัักดันั ‘ผ้า้ ผัักตบชวา’ สู่่�อุตุ สาหกรรม ปัจจุบันนักวิจัยได้พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีหลากหลายทั้งสบู่ แฟชั่่�น โทนเนอร์ ซีรัม และโลชัน เพ่ือสร้างมูลค่าเพ่ิมและเพ่ิมช่องทาง การขาย สง่ั ซอ้ื สนิ ค้าท่ีไดท้ ่ี Facebook: สหกรณก์ ารเกษตรสบปราบ นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดยการ จำ�กัด สนับสนุนของ วช. พัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าผักตบชวา โดยผสานเส้นใย ผกั ตบชวาเขา้ กบั เสน้ ใยฝา้ ย ท�ำ ใหเ้ มอื่ น�ำ มาถกั ทอจะไดผ้ า้ ทม่ี คี ณุ สมบตั ิ ท่ีมาและรายละเอียดเพ่ิมเตมิ : ระบายความร้อนดี มนี ้�ำ หนกั เบา แขง็ แรง และดแู ลรกั ษาง่าย สยามรฐั (https://bit.ly/3t1xhAd) ปัจจุบันได้ถ่ายทอดองค์ความรู้ในการผลิตให้แก่ชุมชนที่จังหวัด พระนครศรอี ยธุ ยาและพน้ื ท่ีใกลเ้ คยี งมหาวทิ ยาลยั เปน็ ทเ่ี รยี บรอ้ ยแลว้ กอ่ ใหเ้ กดิ การสรา้ งงาน สรา้ งรายได้ในพนื้ ท่ี โดยนกั วจิ ยั ยงั ไดส้ นบั สนนุ เรื่องการพัฒนาการออกแบบทางแฟช่ัน เพื่อรองรับการผลิตงาน ท่ีหลากหลาย เชน่ เครือ่ งแต่งกาย กระเปา๋ เฟอร์นเิ จอร์ อกี ดว้ ย ทมี่ าและรายละเอียดเพิ่มเติม : จีนี พบฟอสซิลิ ‘ตััวอ่่อนไดโนเสาร์’์ ผจู้ ดั การ (https://bit.ly/3EU1KT1) อายุุ 66 ล้า้ นปีี สภาพสมบููรณ์์ เครื่่อ� งสำ�ำ อางจากสารสกัดั มะนาวและสับั ปะรด จนี เผยถึงฟอสซิลไข่ไดโนเสาร์ที่มีการค้นพบตั้งแต่ปี สร้า้ งมูลู ค่า่ เพิ่่�มผลผลิติ ล้น้ ตลาด พ.ศ. 2543 ว่า ภายในไข่ซึ่งคาดว่ามีอายุมากกว่า 66 ล้านปีฟองน้ี มีตัวอ่อนไดโนเสาร์ซ่ึงเตรียมฟักออกจากไข่อยู่ ตัวอ่อนของไดโนเสาร์นี้มีสภาพสมบูรณ์ มีความยาวหัวจรดหาง 27 เซนติเมตร นักวิจัยคาดว่าไข่ฟองนี้เป็นของไดโนเสาร์พันธ์ุเทโรพอดไร้ฟัน หรือ \"โอวิแรปโทโรซอร์ (Oviraptorosaur)\" และได้ตั้งช่ือให้ตัวอ่อน ไดโนเสารต์ วั นว้ี า่ \"เบบห้ี ยงิ เหลยี ง\" โดยตวั ออ่ นทอี่ ยใู่ นทา่ ขดตวั เตรยี ม พรอ้ มออกจากไขท่ �ำ ใหน้ กั วจิ ยั เหน็ ถงึ ความเชอื่ มโยงกบั สตั วป์ กี ยคุ ใหม่ ที่มบี รรพบุรุษเป็นไดโนเสาร์ นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดยการ โอวิแรปโทโรซอร์ (Oviraptorosaur) สนับสนุนของ สวทช. พัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำ�อางจากสารสกัด ท่ีมาและรายละเอียดเพม่ิ เตมิ : มะนาวและสับปะรด ซึ่งเป็นสินค้าการเกษตรที่มีราคาตกตำ่�และ 1) BBC News ไทย (https://bbc.in/3t1hCRd) ลน้ ตลาด เพราะสารสกดั จากวตั ถดุ บิ ทง้ั สอง มจี ดุ เดน่ มากทงั้ การมฤี ทธิ์ 2) Scott Hartman, Lamanna MC, Sues H-D, Schachner ER, ต้านออกซิเดชัน การยับยั้งการสังเคราะห์เม็ดสี และการกระตุ้นการ สรา้ งเส้นใยคอลลาเจนในเซลลผ์ ิวหนัง Lyson TR, CC0, Anzu MRF 319, via Wikimedia Commons มกราคม 2565 20

นาซาใช้้ AI ช่ว่ ยยืนื ยันั การค้้นพบ ออสเตรเลียี แก้้ปััญหาขาดแคลน ดาวเคราะห์์ดวงใหม่่ แรงงานหนักั ด้ว้ ย ‘หุ่่�นยนต์์บริิกร’ ออสเตรเลียต้องเผชิญปัญหาการขาดแคลนแรงงานอย่างหนัก นักวิทยาศาสตร์นาซาเผยถึงการใช้ Machine Learning ช่ือ เน่ืองจากการปิดพรมแดนเพ่ือป้องกันการระบาดของโรคโควิด 19 “ExoMiner” เพื่อรวบรวมข้อมูลจากกล้องโทรทัศน์อวกาศและค้นหา จนกระทั่งหุ่นยนต์บริกร BellaBot ท่ีสร้างขึ้นโดย PuduTech ดาวเคราะห์นอกระบบดวงใหม่ โดย ExoMiner ได้ยืนยันการค้นพบ ประเทศจีนเขา้ มาชว่ ยบรรเทาปัญหา ดาวเคราะห์นอกระบบดวงใหม่แล้วจำ�นวนรวม 301 ดวง จากข้อมูล โดย BellaBot เป็นหุ่นยนต์บริกรท่ีถืออาหารได้มากถึง 8 จาน ที่ไดจ้ ากกล้อง Kepler ท่นี าซาปลอ่ ยขน้ึ สอู่ วกาศเพ่ือปฏิบตั ภิ ารกจิ ใน ในคราวเดียวกัน ก่อนจะเดินไปจัดส่งอาหารยังโต๊ะต่างๆ ได้อย่าง ปี พ.ศ. 2552-2561 แม่นยำ� และยังส่ือสารได้หลายภาษาอีกด้วย ถือว่าปฏิบัติหน้าท่ีเป็น บรกิ รหรอื ผชู้ ว่ ยบรกิ รไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ปจั จบุ นั รา้ นอาหารในประเทศไทย หลงั จากนน้ี าซายงั มแี ผนทจ่ี ะตอ่ ยอดความส�ำ เรจ็ ในการคน้ หาดาว หลายร้านก็เริ่มนำ� BellaBot มาให้บริการแล้ว ในอนาคตอันใกล้เรา เคราะหด์ วงใหม่ตอ่ ไปจากข้อมูลของกล้องโทรทศั น์อวกาศ Transiting คงได้เหน็ หนุ่ ยนต์ใหบ้ รกิ ารในบทบาทที่หลากหลายมากย่ิงขน้ึ Exoplanet Survey Satellite (TESS) ท่ีนาซาปล่อยข้นึ สู่อวกาศในปี พ.ศ. 2561 รวมถงึ ขอ้ มลู จากกล้องโทรทรรศนอ์ ืน่ ๆ ในอนาคต ทีม่ าและรายละเอียดเพม่ิ เตมิ : ทม่ี าและรายละเอียดเพมิ่ เติม : 1) VOA Thai (https://bit.ly/3FVSEGE) 1) VOA Thai (https://bit.ly/3pPvJXU) 2) JPL NASA (https://go.nasa.gov/3zreob5) 2) PUDU (https://bit.ly/3zt4tS7) ติดิ ตามสาระความรู้ว้� ิทิ ยาศาสตร์์ สดใหม่่ ทั้้ง� ข่า่ ว บทความ Podcast และ Facebook Live ได้้ทาง https://www.facebook.com/SarawitNSTDA https://www.facebook.com/SarawitNSTDA https://www.facebook.com/SarawitNSTDA https://www.facebook.com/SarawitNSTDA https://www.facebook.com/SarawitNSTDA นิติ ยสารสาระวิทิ ย์์ มกราคม 2565 21

Sci Infographic มกราคม 2565 22

Sci Infographic มกราคม 2565 23

Sci Infographic มกราคม 2565 24

รวอ้ ทิ ยยพานั รวิศ ทัศคร รวิศ ทัศคร เคยเป็นกรรมการบรหิ ารและสมาชกิ ทีมบรรณาธิการวารสารทางชา้ งเผือก สมาคมดาราศาสตร์ไทย เคยท�ำ งานเป็นนักเขยี น ประจำ�นิตยสาร UpDATE นิตยสารวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ของบริษัทซีเอด็ ยูเคชั่น (มหาชน) จ�ำ กดั ปัจจุบันรับราชการ เปน็ อาจารย์ประจำ�สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยกี ารอาหาร คณะอตุ สาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ชิดเอย ชดิ ชม .. ลูกชดิ ตน้ ต๋าว ต้นไม้มหัศจรรย์ ผลชิิดแช่่อิ่่ม� อบ หอมตรลบล้้ำเหลือื หวาน รสไหนไม่่เปรียี บปาน หวานเหลือื แล้้วแก้้วกลอยใจ ตาลเฉาะเหมาะใจจริงิ รสเย็น็ ยิ่่�งยิ่่�งเย็็นใจ คิิดความยามพิสิ มัยั หมายเหมือื นจริงิ ยิ่่ง� อยากเห็น็ ผลจากเจ้า้ ลอยแก้ว้ บอกความแล้ว้ จากจำเป็็น จากช้ำ้ น้ำ้ ตากระเด็็น เป็็นทุกุ ข์์ท่า่ หน้า้ นวลแตง ตอนหนึ่�่งจากกาพย์์เห่ช่ มเครื่่�องคาวหวาน บทพระราชนิพิ นธ์์ในพระบาทสมเด็จ็ พระพุทุ ธเลิศิ หล้า้ นภาลัยั รััชกาลที่่� 2 มกราคม 2565 25

รวอ้ ทิ ยยพานั คนไทยกบั ผลไมต้ ระกลู ปาลม์ ผกู พนั กนั มาเนน่ิ นานแลว้ โดยจะเหน็ ไดจ้ าก การท่ีคนไทยรู้จักนำ�เอาพืชตระกูลน้ีมา ใชส้ อยท�ำ ประโยชนม์ ากมาย เชน่ ตน้ จาก นอกจากรบั ประทานแลว้ ยงั น�ำ ใบมาเยบ็ เป็นตับเพื่อใช้มุงหลังคา รวมท้ังยังใช้ ห่อขนมจาก ของหวานท่ีใช้แปง้ น้ำ�ตาล และมะพรา้ วเป็นวัตถดุ บิ ในการทำ� น�ำ้ ตาลจากตน้ ตาลและตน้ จากมวี ธิ ที �ำ เหมอื นกนั นนั่ คอื การตดั ปลายชอ่ เพอ่ื เอา น้ำ�ตาลไปทำ�สุราหรือนำ้�เมา ลูกตาลก็ นำ�มารับประทานท้ังลอยแก้วและนำ�มา เชอ่ื ม ท�ำ อาหารหวานหลากหลายรปู แบบ แมจ้ ะในยคุ รว่ มสมัย เช่น พายลกู ตาล สำ�หรับลูกชิดเอง ในชีวิตประจำ�วัน เรามักจะเห็นนำ�ลูกชิดมาแช่อิ่มและใส่ใน ขนมหวานต่างๆ เช่น ใส่กับเฉาก๊วย ใส่ น้ำ�แข็งใส เป็นทอ็ ปปงิ ไอศกรมี กะทิ และ ใส่กับขนมไทยรวมมิตรราดกะทิ ใบของ ลกู ชดิ ยังสามารถน�ำ มาเหลาแลว้ รวบเป็น หอบเพื่อทำ�เปน็ ไมก้ วาดไดอ้ ีกด้วย แมว้ ่า ปจั จบุ นั ไมก้ วาดสว่ นใหญจ่ ะท�ำ จากกา้ นใบ ยอ่ ยของมะพร้าวเพราะหางา่ ยกวา่ ก็ตาม ลกู ชดิ เปน็ ชอื่ ที่คนภาคกลางเรยี กผล ตา่ ว ตง๋ ลา้ ง วู้ ตะ่ ดึ๊ เตา่ เกยี ด อนั ทจี่ รงิ ทมี่ า ของต้นชิด แต่ต้นของมันยังเรียกชื่อว่า ของชื่อว่าลูกชิดน้ีเป็นเพราะแต่ละผลจะ ตน้ ตาว หรอื ตน้ ตา๋ ว (ภาคเหนอื ) หรอื ตน้ ชก มเี มลด็ ใสๆ เรียงกันอยตู่ ิดชิดกัน 3 เมลด็ (ภาคใต)้ และชอ่ื อนื่ ๆ อกี มากมายแลว้ แต่ คนภาคกลางจึงเรียกลูกต๋าวว่า “ลูกชิด” ทอ้ งถน่ิ เชน่ รงั ไก่ รงั กบั ลงั คา่ ย เนา โยก นนั่ เอง สว่ นภาษาองั กฤษกม็ คี �ำ เรยี กสามญั มกราคม 2565 26

รวอ้ ทิ ยยพานั ไดอ้ ีกหลายชือ่ เช่น sugar palm, aren, เนอ่ื งจากการจะตดิ ผลนน้ั ตน้ ตา๋ วตอ้ งการ รับประทานได้ เรียกวา่ ตอ้ งรอกนั ถึง 10 ปี arenga palm, areng palm, black-fiber ระบบนิเวศท่ีมีพืชพรรณหลายชนิดข้ึน ทเี ดยี ว สว่ นลกู ชกจาก A. pinnata ซง่ึ เปน็ palm, gomuti palm, kaong, irok ปนกันอยู่ แตป่ จั จุบัน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 พันธุ์ที่เป็นญาติกันนั้นยิ่งแล้ว น่ันคือ ตน้ ตา๋ วจดั อยใู่ นวงศป์ าลม์ หรอื เรยี กวา่ เป็นต้นมา ได้มีการริเร่ิมการเพาะเมล็ด เม่อื ปลูกแลว้ ต้องรอนานกวา่ 25 ปี และ วงศ์ Arecaceae ในภูมิภาคเอเชีย- และทดลองให้ชาวบ้านตำ�บลนางพญา ออกผลคร้ังเดียว หลังจากน้ันต้นแม่จะ ตะวันออกเฉียงใต้น้ีพบข้ึนกระจายอยู่ อ�ำ เภอทา่ ปลา จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ น�ำ ไปปลกู ตายภายใน 4–5 ปี ดังนั้นการท่ีเรารับ ทั่วไป ท้ังในมาเลเซีย พม่า กัมพูชา โดยเพาะในโรงเพาะโครงการพัฒนาป่า ประทานลกู ชดิ ถา้ เราได้รบั ประทานแบบ ลาว และฟิลิปปินส์ นอกจากนี้ก็ยังพบ ลำ�น้ำ�น่านฝ่ังขวา ในการดำ�เนินงานตาม ที่เป็นพันธุ์ของลูกชก ที่หน้าตาเหมือน ในอินเดียด้วยเช่นกัน อันท่ีจริงแล้วพชื โครงการ “ปลูกต๋าวคืนถิ่นนางพญา”[2] กันแล้วละก็ ถือว่าได้ทานของดีเมืองใต้ ปาลม์ สกลุ ตา๋ ว (Arenga) ของประเทศไทย ซง่ึ เปน็ โครงการทป่ี ลกู ตน้ ตา๋ วกวา่ สามหมน่ื ทเี ดยี ว เพราะหายากระดบั ประเทศ พบยาก ยงั แบง่ แยกยอ่ ยออกไปไดอ้ กี เปน็ สองพนั ธ์ุ ต้นในพ้ืนที่กว่า 300 ไร่ สนองพระ แม้แตใ่ นจงั หวัดพงั งาหรอื กระบี่ก็ตาม ยอ่ ย คอื ตน้ ชก (Arenga pinnata (Wurmb) ราชเสาวนีย์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ Merr.) ซึ่งพันธ์ุนี้จะใช้ทำ�นำ้�ตาลชก พบ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี สแกน QR code เพ่ืออ่านเอกสารการ กระจายอยู่ในภาคใต้เท่าน้ัน ส่วนต้นต๋าว พันปีหลวง เม่ือปี พ.ศ. 2544 เพ่ือให้ ขยายพันธ์ุและใช้ประโยชน์จากต้นต๋าวท่ี หรือต้นชิด (Arenga westerhoutii) ซ่ึง อนุรักษ์ป่าและนำ�ผลผลิตมาสร้างรายได้ จัดทำ�โดยสำ�นักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ์ที่ 11 กระจายอยู่ท่วั ประเทศ ในเชยี งใหม่ น่าน ใหแ้ ก่ประชาชน (พิษณุโลก) อตุ รดติ ถ์กาญจนบรุ ีและทอี่ นื่ ๆเปน็ ตน้ ตา๋ ว ต้นต๋าวหายากในปัจจุบัน เพราะ ในการเก็บเกี่ยวลูกต๋าวเพื่อทำ�ลูกชิด ทใ่ี หผ้ ลผลติ คอื ลกู ชดิ ทบ่ี รโิ ภคกนั ทว่ั ประเทศ นอกจากจะข้ึนตามป่าแล้ว ตามข้อมูล นนั้ จะตอ้ งระมดั ระวงั เปน็ พเิ ศษ เนอ่ื งจาก นั่นเอง[1] จากเอกสารการขยายพนั ธแ์ุ ละใชป้ ระโยชน์ เปลือกผลของมันมีสารแคลเซียมออก- ต๋าวมีความแปลกอยู่อย่างหนึ่ง น่ัน จากต้นต๋าวที่จัดทำ�โดยสำ�นักบริหารพื้นที่ ซาเลตท่ีท�ำ ให้คนั ได้ ชาวบ้านอาศัยผลดบิ คือมันจะขึ้นในป่า การเพาะปลูกมักจะ อนรุ กั ษ์ที่ 11 (พษิ ณโุ ลก) น้นั การจะมีลูก ต�ำ ใหล้ ะเอยี ดเปน็ ยาเบอ่ื ปลา จงึ ตอ้ งระวงั ท�ำ ไดย้ าก ท�ำ ใหช้ าวบา้ นทหี่ าลกู ชดิ มาขาย ท่รี บั ประทานได้ ตน้ ตา๋ ว A. westerhoutii เปลือกผล และยางของมัน ต้องใส่ชุดท่ี ให้ โรงงานแปรรูปต้องออกไปช่วยกัน ตอ้ งมีอายุ 8 ปีขึน้ ไปจึงจะออกดอก และ รัดกุมในการเก็บเกี่ยว และต้องบีบเอา เก็บเก่ียวในป่าแล้วจึงขนออกมาขาย หลงั จากน้ันอีก 2 ปี จึงจะได้ผลท่เี หมาะ ตาสีเหลืองในเมล็ดต๋าวออกก่อนนำ�ไป รบั ประทานทุกคร้ัง แม้ว่าคนไทยเราจะรู้จักลูกชิดและ ต้นต๋าวมานาน แต่อันท่ีจริงแล้วมันยังมี มกราคม 2565 27

รวอ้ ทิ ยยพานั ประโยชน์อ่ืนๆ อีกด้วย ในต่างประเทศ ของอย่างอ่ืนเข้าไป[4] เช่น ผงวุ้น (agar) ขน้ึ ดว้ ย ทดสอบไดจ้ ากการน�ำ เอาตวั อยา่ ง อย่างมาเลเซียท่ีมีต้นต๋าวพันธุ์ต้นชกอยู่ ผสมตง้ั แตป่ รมิ าณรอ้ ยละ 0–40 โดยน�ำ้ หนกั ไปใส่ในพ้ืนท่ีปิดที่มีความช้ืนสัมพัทธ์ มากมายก็นำ�มาใช้งานเชิงอุตสาหกรรม แลว้ ท�ำ ใหห้ ลอมตวั ที่ 140 องศาเซลเซยี ส ร้อยละ 80 โดยหากยิ่งมีปริมาณผงวุ้น โดยมีการศึกษาเพื่อสกัดเอาแป้งของ กอ่ นผสมแบบหลอม (melt mixing) เพือ่ ใส่เข้าไปมากขึ้นเท่าใด ก็จะย่ิงมีความจุ ต้นชก (sugar palm starch: SPS) ใหว้ สั ดกุ ระจายตวั เข้ากนั ไดด้ ี ในการดูดซับความชื้นมากย่ิงข้ึนเท่านั้น ออกมาใช้งาน ซ่ึงอาจเอาไปใช้ต่อในทาง เนื่องจากผงวุ้นเป็นสารพวก sulfated อุตสาหกรรม หรือเอามาใช้เพ่ือผลิต สแกนQRcodeดตู วั อยา่ งเครอ่ื งBrabender polysaccharide มีสมบัตทิ ่ีชอบน้�ำ การมี เป็นเทอร์โมพลาสติก โดยมีงานวิจัย ระดับใช้ในห้องปฏิบัติการในการทำ� melt หมู่ที่มีประจุส่งผลให้มีสายโซ่ที่มีความ ของ Sahari และคณะ[3] ทีท่ ดลองศกึ ษา mixing ชอบนำ้�มากกว่าพอลิแซ็กคาไรด์ชนิดอ่ืน พอลเิ มอรช์ วี ภาพ โดยการผสม SPS และ ผู้ทดลองพบว่าพอลิเมอร์ที่ผสมข้ึน อย่างเชน่ แป้ง ซ่งึ การเพมิ่ ขนึ้ น้เี พิ่มเพยี ง กลีเซอรอลที่ใช้เป็นสารพลาสติไซเซอร์ มีโครงสร้างที่เรียบเนียนมากกว่าโดยไม่มี ร้อยละ 3 ถึงร้อยละ 8 ไม่มีนัยสำ�คัญ เข้าด้วยกัน โดยผสมเข้าไปในปริมาณ การจับเปน็ ก้อน ซึ่งแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความ มากนักต่อการน�ำ ไปใช้งาน อยา่ งไรก็ตาม รอ้ ยละ 10–40 กอ่ นจะน�ำ ไปผา่ นกระบวนการ เขา้ กนั ไดด้ รี ะหวา่ ง SPS และผงวนุ้ โดยสี เทอร์โมพลาสตกิ SPS ท่ีไดจ้ ากการศกึ ษา บบี อดั ดว้ ยความรอ้ นทอี่ ณุ หภมู ิ 130 องศา- ของพอลเิ มอรผ์ สมนจี้ ะเปน็ สนี �ำ้ ตาลออ่ น นมี้ คี า่ ความแขง็ แรงแรงดงึ (tensile strength) เซลเซยี ส เปน็ เวลา 30 นาที ซงึ่ เม่ือเพิม่ จนถึงนำ้�ตาลเข้มตามสัดส่วนของผงวุ้น ถึง 10 MPa ซึง่ สูงสุดในบรรดาเทอร์โม- กลีเซอรอลก็จะทำ�ให้พื้นผิวมีความเรียบ ท่ีใสเ่ ขา้ ไป พลาสติกสตาร์ชด้วยกัน ผู้วิจัย[4] สรุปว่า และมีโครงสร้างทีอ่ อ่ นน่มุ ขึ้น การผสมผงวุ้นลงไปนี้ทำ�ให้ตัวอย่าง เกดิ จากการท่ี SPS มปี รมิ าณอะไมโลสสงู แตส่ ตู รพลาสตกิ ทท่ี �ำ มาจากแปง้ ของ พลาสติกท่ีได้มีความไวต่อความชื้นเพ่ิม และการใชพ้ ลาสตไิ ซเซอรน์ อ้ ย(ใชก้ ลเี ซอรอล ต้นชกยังคงมีสมบัติเชิงกลไม่ดีนัก ยังมี ตอ่ แปง้ ในอตั ราสว่ น 30:100) เรยี กพลาสตกิ ขอ้ จ�ำ กดั การใชง้ านในอตุ สาหกรรมพลาสตกิ ท่ีไดว้ า่ thermoplastic SPS/agar (TPSA) จึงมีผู้ทดลองเพื่อดัดแปลงสูตรส่วนผสม คณะผู้ทดลองยังได้ทำ�การทดลอง เพื่อปรับปรุงสมบัติของวัสดุ โดยผสม ตอ่ ไปอกี โดยการใชก้ ากสาหรา่ ยEucheuma cottonii ทเ่ี ปน็ วตั ถดุ บิ ในอตุ สาหกรรมการ สาหร่า่ ย Eucheuma cottonii ผลิตคาราจแี นน โดยหลงั จากสกัดคารา- จีแนนออกไปแลว้ นำ�กากสาหร่ายที่ได้มา ผสมใน TPSA ที่ทำ�มาจากแป้งสตาร์ช: ผงวุ้น:กลีเซอรอล ในสัดส่วน 70:30:30 โดยใช้กากสาหร่ายในปริมาณร้อยละ 30 และร้อยละ 40 พบว่าที่ปริมาณสาหร่าย รอ้ ยละ 30 จะท�ำ ใหค้ า่ ความแขง็ แรงแรงดงึ และคา่ โมดูลสั แรงดงึ (tensile modulus) เพมิ่ ขนึ้ รอ้ ยละ 56.5 และ 78.6 ตามล�ำ ดบั ในขณะทท่ี ป่ี รมิ าณกากสาหรา่ ยรอ้ ยละ 40 จะมีคา่ ดังกลา่ วลดลง มกราคม 2565 28

รวอ้ ทิ ยยพานั แต่ท่ีพิเศษคือเม่ือเติมกากสาหร่าย พลาสติกชีวภาพอาจแบ่งประเภทได้ (cellulose nanocrystals: CNCs หรอื เรยี ก ลงไปแล้วจะทำ�ให้พลาสติกที่ได้มีความ ตามเส้นทางการผลิตของมันดังในภาพ nanocrystalline cellulose: NCC ก็ได้) ตา้ นทานแรงดดั หรอื เรยี กวา่ ความแขง็ แกรง่ (ด้านล่าง) เช่น อาจเป็นพวกที่ทำ�จาก อย่างท่ีสองคือ เส้นใยเซลลูโลสระดับ ตอ่ การโคง้ งอ (flexural strength) เพมิ่ ขน้ึ 1) ผลิตภัณฑป์ โิ ตรเลียม 2) พลาสตกิ จาก นาโน (cellulose nanofibril: CNFs) นาโน ถงึ รอ้ ยละ 50.6 เมอ่ื เตมิ กากสาหรา่ ยลงไป กรดแล็กตกิ (polylactic acid) หรือ PLA เซลลูโลสมีสมบัติต่างๆ ที่พิเศษหลาย รอ้ ยละ 30 ในขณะทเี่ มอ่ื เตมิ กากสาหรา่ ย 3) กลมุ่ polyhydroxyalkanoates (PHAs) ประการ เช่น นำ้�หนักเบากว่าวสั ดจุ �ำ พวก ลงไปรอ้ ยละ 40 คา่ นจ้ี ะลดลง เปน็ เพมิ่ ขนึ้ ท่ีได้จากการให้จุลินทรีย์หมักไขมันหรือ โลหะ โดยมนี ้�ำ หนกั เพยี งหน่ึงในหา้ หาก เพยี งร้อยละ 45.9 พลาสตกิ ที่ไดจ้ ากการ นำ้�ตาล 4) พลาสติกจากแป้งสตาร์ช แตม่ ีความแข็งแรงกวา่ ถงึ 5 เทา่ มีพื้นที่ เติมกากสาหร่ายลงไปนี้ยังย่อยสลายใน (starch plastics) 5) พวกท่ีไดจ้ ากเซลลโู ลส ผิวมาก มคี วามแข็งแรงเชงิ กลและความ ดินหลังจากฝังลงไปได้อีกด้วย ซ่ึงการ 6) กลุ่มพวกพลาสติกโปรตีนท่ีได้จาก โปร่งแสงสูง มคี วามเข้ากันได้กับเนือ้ เย่อื ชงั่ น�้ำ หนกั ใชเ้ ปน็ ตวั บง่ ชถ้ี งึ การยอ่ ยสลาย โคพอลิเมอร์ของกรดอะมิโนตา่ งๆ รวมถงึ รา่ งกายมนษุ ย์ และมคี วามเปน็ พษิ ต�่ำ รวม ได้ โดยพบว่านำ้�หนกั ของชิ้นงานลดลงไป 7) พลาสติกชีวภาพท่ีได้จากการผสม ถงึ สามารถยอ่ ยสลายได้ดว้ ยกระบวนการ ร้อยละ 89 ในเวลาเพยี งสสี่ ปั ดาหเ์ ทา่ น้นั แหล่งต่างๆ เข้าด้วยกัน ท้ังโมโนเมอร์ที่ ทางชวี ภาพอีกดว้ ย หลายคนใช้คำ�ว่า พลาสติกชีวภาพ มาจากผลติ ภณั ฑป์ โิ ตรเลยี มและโมโนเมอร์ ปัจจุบันในอุตสาหกรรมอาหารนำ�เอา (bioplastic) โดยเข้าใจปะปนไปกับคำ�ว่า ทีม่ าจากวสั ดุชีวภาพ นาโนเซลลูโลสจากผักมาใช้เป็นสารเติม พลาสตกิ ทยี่ อ่ ยสลายไดด้ ว้ ยกระบวนการ แต่งอาหาร เช่น สารเพ่ิมความคงตัวใน ทางชวี ภาพ (biodegradable plastic) ซึ่ง นาโนเซลลููโลสคืืออะไร ซอสและซปุ รวมถงึ อาหารทต่ี อ้ งผา่ นหมอ้ ไม่ถูกต้อง เน่ืองจากพลาสติกชีวภาพทำ� นึ่งไอน้�ำ เพือ่ ฆ่าเชอ้ื เช่น อาหารกระป๋อง มาจากวสั ดุหมนุ เวียน ในขณะทีพ่ ลาสติก นาโนเซลลโู ลสเปน็ สารทไ่ี ดจ้ ากการสกดั ใชผ้ สมฟิลม์ บรรจภุ ณั ฑ์ห่ออาหาร ใช้เป็น ที่ย่อยสลายได้อาจทำ�มาจากพอลิเมอร์ เซลลูโลสด้วยวิธีต่างๆ ท้ังทางเคมีและ สารทดแทนไขมันในสูตรส่วนผสมอาหาร จากเช้ือเพลิงฟอสซิล หรือจากการผสม ทางกายภาพ โดยมโี ครงสรา้ งเลก็ ในระดบั ตา่ งๆ และยงั ใชเ้ ปน็ อมิ ลั ซไิ ฟเออร์ใน เคก้ วัสดุท้ังสองชนิดนเ้ี ข้าด้วยกนั ก็ได้ นาโนเมตร แบ่งออกได้เป็นสองประเภท ซอส วิปครีม ได้ เนอื่ งจากโมเลกลุ นาโน อย่างแรกคือ นาโนเซลลูโลสในรูปผลึก เซลลูโลสจะดูดซับที่พ้ืนผิวระหว่างน้ำ�กับ นำ้�มัน (oil-water interface) ท�ำ ให้เกดิ ชน้ั การแบ่ง่ ประเภทพลาสติกิ ชีวี ภาพจากเส้น้ ทางการผลิติ [5] ก้ันเชิงกล (mechanical barrier) ก่อให้ เกดิ อมิ ลั ชนั ชนดิ pickering emulsion ขน้ึ แถมโมเลกุลของนาโนเซลลูโลสที่เหลือ จากการดูดซับที่ช้ันพื้นผิวระหว่างน้ำ�กับ น้ำ�มันยังกระจายในวัฏภาคต่อเน่ืองของ อมิ ลั ชนั ท�ำ ใหเ้ กดิ รา่ งแหสามมติ ซิ งึ่ ไปเพม่ิ ความหนืดให้วัฏภาคต่อเน่ืองได้อีก จึงไป ตรึงและลดการเคล่ือนที่ของหยดไขมัน ระบบอิมัลชันจึงมีความคงตัวต่อการแยก ชน้ั มากยง่ิ ข้นึ [6] มกราคม 2565 29

รวอ้ ทิ ยยพานั ต้นต๋าวหรือต้นชกเองก็เป็นแหล่ง พอลิเมอร์ชีวภาพจากแป้งต้นชก (SPS packaging เพอื่ ตอ่ ตา้ นการเจรญิ ของเชอ้ื ที่ยอดเยี่ยมในการสกัดเอาผลึกนาโน- biopolymers) ได้ ซ่ึงมีท้ังนำ�ไปทำ�ถุง จุลินทรยี อ์ ีกดว้ ย เซลลูโลสออกมาใช้งาน มีงานวิจัยของ พลาสติกหูหิ้วสำ�หรับซื้อของ ระบบนำ� ต้นต๋าวหรือต้นชกนอกจากจะเป็น ประเทศเพอ่ื นบา้ นของเราคอื มาเลเซยี โดย จ่ายยา ฟิล์มบรรจุภัณฑ์สำ�หรับผักผลไม้ แหล่งอาหารท่ีคนไทยคุ้นเคยกันดีใน ทมี วจิ ยั ของมหาวทิ ยาลยั ปตุ รามาเลเซยี [7] เปน็ ตน้ ส�ำ หรบั การน�ำ ผลกึ นาโนเซลลโู ลส การนำ�ไปผลิตเป็นลูกชิด ยังมีศักยภาพ ศกึ ษากระบวนการสกดั ผลกึ นาโนเซลลโู ลส จ า ก ต้ น ช ก ไ ป ผ ส ม กั บ ฟิ ล์ ม พ ล า ส ติ ก มหาศาลในการนำ�ไปใช้ผลิตวัสดุแห่ง ผา่ นกรรมวธิ สี กดั ลกิ นนิ ออก (delignification) ชีวภาพ ปรากฏว่าสามารถช่วยลดการ อนาคต ซง่ึ ตา่ งชาตเิ รม่ิ เลง็ เหน็ คณุ คา่ และ การชุบมัน (mercerization) และการย่อย ดูดซับน้ำ�ลงไปได้มาก นอกจากนี้ยังมี นำ�ไปพัฒนา คนไทยเราจึงควรอนุรักษ์ ด้วยกรด (acid hydrolysis) ซ่ึงจะทำ�ให้ การศึกษาการใช้เส้นใยเซลลูโลสระดับ และให้ความสำ�คญั แก่ตน้ ต๋าว ทรพั ยากร ไดผ้ ลกึ นาโนเซลลโู ลสจากตน้ ชก(sugarpalm นาโนร่วมกับซิลเวอร์นาโน หรือที่เรียก อั น มี ค่ า ท่ี เ ร า มี อ ยู่ ใ ห้ ม า ก ขึ้ น ก ว่ า ใ น NCCs: SPNCCs) ออกมาใชง้ าน สามารถ ว่าอนุภาคเงินระดับนาโน เพ่ือพัฒนา ปัจจบุ ัน นำ�ไปใช้ผสมเพื่อเสริมคุณสมบัติของ บรรจุภัณฑ์อาหารประเภท active food แหลง่ ข้อมูล 1. http://www.qsbg.or.th/journal/showarticle.aspx?type=article&id=18 2. https://www.bangkokbiznews.com/social/610830 3. Sahari, J., Sapuan, S.M., Zainudin, E.S., and Maleque, M.A. (2013). Thermo-mechanical behaviors of thermoplastic starch derived from sugar palm tree (Arenga pinnata). Carbohydrate Polymers, 92, 1711 – 1716. 4. Jamaidin, R., Sapuan, S.M., Jawaid, M., Ishak, M.R., and Sahari, J. (2016). Characteristics of thermoplastic sugar palm starch/agar blend: thermal, tensile, and physical properties. International Journal of Biological Macromolecules, 89, 575 – 581. 5. Reddy, M. M., Vivekanandhan, S., Misra, M., Bhatia, S. K., & Mohanty, A. K. (2013). Biobased plastics and bionanocomposites: Current status and future opportunities. Progress in Polymer Science, 38(10-11), 1653–1689. 6. https://li01.tci-thaijo.org/index.php/ThaiJToxicol/article/view/244135 7. Sapuan, S.M., Sahari, J., Ishak, M.R., & Sanyang, M.L. (Eds.). (2018). Sugar Palm Biofibers, Biopolymers, and Biocomposites (1st ed.). CRC Press. https://doi.org/10.1201/9780429443923 มกราคม 2565 30

สภากาแฟ ผศ. ดร.ปว๋ ย อ่นุ ใจ ผศ. ดร.ปว๋ ย​อนุ่ ใจ | http://www.ounjailab.com นกั วจิ ัยชีวฟสิ ิกส​แ์ ละอาจารย์ประจ�ำ ภาควิชาชวี วทิ ยา​ คณะวทิ ยาศาสตร์​ มหาวิทยาลย​ั มหดิ ล​ นกั สื่อสารวทิ ยาศาสตร์​ นักเขยี น​ ศิลปนิ ภาพสามมติ ิ​ และผ้ปู ระดิษฐฟ​์ อนต์ไทย​ มคี วามสนใจทงั้ ในด้านวทิ ยาศาสตรเ์​ ทคโนโลย​ี งานศลิ ปะและบทกวี แอดมนิ และผู้รว่ มกอ่ ตง้ั ​เพจ​ FB: ToxicAnt​ เพราะทกุ ส่ิงลว้ นเปน็ พษิ วิิวััฒนาการกัับอนาคต ของวิิกฤตโควิิด “อรุุณรุ่่�งแห่่งศัักราชใหม่่ถืือเป็็นโอกาสอัันดีีให้้เราได้้ เริ่�่มต้้นกัันใหม่่ร่่วมด้้วยช่่วยกัันต่่อต้้านภััยที่่�กำ�ำ ลััง คุุกคามพวกเราทุุกๆ คน” เทดรอส เกเบรเยซุุส (Tedros Ghebreyesus) ผู้้�อำ�ำ นวยการองค์์การ อนามััยโลก (World Health Organization: WHO) กล่า่ วในการแถลงครั้ง�้ แรกของเขาในปีี พ.ศ. 2565 มกราคม 2565 31

สภากาแฟ เทดรอสเรยี กร้องเหมือนๆ กับทกุ คร้งั ไวรสั กม็ โี อกาสทจ่ี ะกอ๊ บปล้ี กู หลานออกมา ไวรสั จากมหาวทิ ยาลยั ออกฟอรด์ (Univer- ให้นานาชาติช่วยกันลดความเหล่ือม ได้มาก โอกาสท่ีจะกลายพันธุ์ก็มากขึ้น sity of Oxford) ตอบ ลำ้�ในการเข้าถึงวัคซีนของประชาชนทุก เทา่ นั้น เพราะตราบใดท่ียังมีการระบาดของ คนในโลก และหากแจ็กพอต มีตัวกลายพันธุ์ เช้ืออยู่ การอุบัติขึ้นของสายพันธ์ุกลาย “ความไม่เท่าเทียมกันในการเข้าถึง แสบๆ อุบัติขึ้นมาแค่เพียงตัวเดียว ที่ แปลกๆ ก็จะเป็นปัญหาท่ีวนย้อนกลับมา วคั ซนี คอื ฆาตกรฆา่ คนและฆา่ งาน” เขากลา่ ว เอาชนะแรงกดดนั จากการควบคมุ ของยา ได้เรื่อยๆ ไม่มีส้ินสุด และน่ันคือสาเหตุ การมีภูมิคุ้มกันแบบจำ�กัดจำ�เขี่ยในสังคม วคั ซีน และมาตรการควบคมุ การระบาดที่ ท่ีองค์กรระดับโลกอย่างองค์การอนามัย คือสภาวะแวดล้อมท่ีเหมาะสมอย่างย่ิง ตามทฤษฎวี วิ ฒั นาการของดารว์ นิ เรยี กวา่ โลกและองค์กรพันธมิตรต่างๆ ได้ทุ่ม สำ�หรับการบ่มเพาะไวรัสสายพันธุ์กลาย แรงคัดเลือก (selective pressure) ได้ สรรพก�ำ ลงั ลงไปในโครงการโคแวกซแ์ ละ ตัวใหม่ๆ ท่ีอาจจะอุบัติขึ้นมาได้ทุกเมื่อ ปัญหาสายพันธ์ุกลายติดเชื้อทะลุภูมิก็จะ ออกมาเรียกร้องอยู่เสมอมาเร่ืองความ เพราะเม่ือภูมิคุ้มกันคุมการระบาดไม่ได้ ผุดข้นึ มา เทา่ เทียมกนั ในการเขา้ ถงึ วัคซีน เช้ือก่อโรคท่ีค่อยๆ กลายพันธ์ุไปจนดื้อ โอมิครอนจะเป็นสายพันธ์ุกลายท่ีน่า เทดรอสเปิดเผยว่าในเวลานี้ ราวๆ ต่อภูมิคุ้มกันที่มีอยู่ได้ก็จะอยู่รอดและ กงั วลหรอื ทเ่ี รยี กวา่ variants of concern ย่ีสิบเปอร์เซ็นต์ของวัคซีนทั้งหมดท่ีมีน้ัน สามารถขยายเผา่ พนั ธแ์ุ พรก่ ระจาย กลาย (VOC) ตัวสุดท้ายหรือเปลา่ ? เอาไปใช้เป็นเข็มบูสเตอร์ในประเทศท่ีมี เป็นการระบาดระลอกใหม่ที่อาจติดเช้ือ “คงไมใ่ ช่ นา่ จะมีสายพนั ธก์ุ ลายอ่นื ๆ กำ�ลังซ้ือ ในขณะที่ผู้คนอีกมากมายใน ทะลภุ ูมิไดอ้ ยา่ งแสบๆ ทม่ี คี วามสามารถในการหลบหลกี ภมู คิ มุ้ กนั ประเทศท่ีอาจจะมีกำ�ลังซื้อน้อยกว่านั้น แ ล ะ ทุ ก ค ร้ั ง ที่ ไ ว รั ส ก๊ อ บ ปี้ จำ � ล อ ง และกระจายไดอ้ ยา่ งอลงั การเชน่ เดยี วกบั ยังคงรอวคั ซีนเข็มแรกกันอยู่ ตัวเองสร้างลูกหลานก็จะมีโอกาสท่ีจะ โอมคิ รอนอบุ ตั ขิ น้ึ มาอกี และทส่ี �ำ คญั อาจจะ “โครงการบูสเตอร์แบบล้อมกรอบนี้ ก๊อบป้ีผิด ซ่ึงจะทำ�ให้เกิดการกลายพันธุ์ รา้ ยกวา่ โอมคิ รอน” เอรสิ คตั ซรู าคสิ (Aris นา่ จะยือ้ ให้วิกฤตมันยาวนานขึน้ มากกวา่ น่ันหมายความว่าย่ิงไวรัสระบาดได้มาก Katzourakis) นกั วจิ ยั ดา้ นววิ ฒั นาการของ จะทำ�ให้มนั ส้ินสุด” เทดรอสกล่าว มกราคม 2565 32

สภากาแฟ ถ้าอยากจะผ่านวิกฤตน้ีไปให้ได้ เรา กลายตวั ตอ่ ไปอาจจะระบาดเวยี นวนไปทวั่ ในเซลล์ แต่ไวรัสก่อโรคโควิดสายพันธุ์ ทกุ คน (ในโลกน)ี้ จะตอ้ งผา่ นมนั ไปดว้ ยกนั แล้วก็ได้ ในเวลานี้ WHO เองก็ติดตาม โอมิครอนนั้นตา่ งไป การตดิ เชอ้ื ของพวก เพราะการฉีดวัคซีนแบบไม่เท่าเทียม สายพันธ์ุใหม่ท่ีต้องจับตามอง (variants มนั จะไมใ่ ช้ TMPRSS2 และนนั่ คอื สาเหตุ คอื การสรา้ งแรงคดั เลอื กทางธรรมชาตมิ า of interest) อยสู่ องตวั ยงั มอี ีกสามท่ียงั ทท่ี �ำ ให้ไวรสั สายพนั ธุ์โอมคิ รอนนม้ี โี อกาส บ่มเพาะไวรัสสายพันธกุ์ ลายใหมๆ่ ! อยใู่ นเรดาร์ แถมดว้ ยวงวารวา่ นเครอื พวก ติดเชื้อลงปอดได้น้อยกว่าสายพันธ์ุกลาย แต่คงยากที่จะให้ทุกประเทศทำ�ตาม ลกู หลานตระกลู เดลตาอกี กวา่ 30 ตวั ทย่ี งั ตัวอืน่ แบบที่เทดรอสต้องการ เพราะในเวลาน้ี คงต้องเฝา้ ระวัง นน่ั หมายความวา่ โอมคิ รอนจะตดิ เชอ้ื ไวรสั มนั ตดิ ไมเ่ ลอื กหนา้ กต็ อ้ งมอื ใครยาว จากการศกึ ษาชวี วทิ ยาและการตดิ เชอ้ื ในทางเดนิ หายใจสว่ นลา่ งไดน้ อ้ ยกวา่ เชอื้ สาวไดส้ าวเอาละครบั แตล่ ะประเทศกต็ อ้ ง ของโอมิครอนทั้งในหนูแฮมสเตอร์และ ในปอดกจ็ ะนอ้ ยกวา่ และท�ำ ลายปอดนอ้ ย ดูแลตัวเองและประชาชนของตัวเองกัน ในออร์แกนอยด์ พบว่าเช้ือก่อโรคโควิด กว่าไวรัสสายพนั ธ์ุอน่ื ๆ อกี ดว้ ย งานวจิ ยั ไปกอ่ น จะใหป้ ลอ่ ยวคั ซนี ออกมาจนประเทศ สายพันธุ์น้ีใช้กลไกการติดเชื้อท่ีแตกต่าง ในหนแู ฮมสเตอร์ น�ำ โดยไมเคลิ ไดมอนด์ ตวั เองตกอยใู่ นความเสี่ยง ยอมตกอยูใ่ น ไปจากเชื้อก่อโรคโควิดสายพันธ์ุอื่นๆ ซึ่ง (Michael Diamond) นักวิจัยไวรัสวิทยา สภาพเตย้ี อมุ้ คอ่ มกค็ งไมไ่ หว ดงั นน้ั ตอนนี้ ถ้าดูการติดเช้ือในสายพันธุ์อื่นๆ รวมทั้ง จากมหาวิทยาลัยวอชิงตัน เซนหลุยส์ กต็ อ้ งบอกเลยวา่ แผนการตรวจเชอ้ื แผนการ ตัวออริจินัลจากอู่ฮั่นด้วย หลังจากที่ (Washington University in St. Louis) บสู เตอรข์ องใครวางไดด้ กี วา่ ทนี่ นั่ กอ็ าจจะ โปรตีนหนามไวรัสจับกับโปรตีน ACE-2 พบว่าเชื้อโอมคิ รอนจะเพม่ิ จ�ำ นวนในปอด เจ็บตวั น้อยหนอ่ ย ถา้ เทียบกับทีอ่ ่ืน ของคนแล้ว จะมีโปรตีนอีกชนิดนึงของ แฮมสเตอร์ไดน้ อ้ ยมาก จ�ำ นวนไวรสั ทพ่ี บ บิกบอสขององค์การอนามัยโลกยัง คนท่ีเรียกว่า TMPRSS2 เข้ามาช่วยตัด ในปอดอาจจะน้อยกว่าถึง 10 เท่าเม่ือ เตอื นอกี วา่ หา้ มประมาท เพราะวา่ สายพนั ธ์ุ โปรตนี หนามและกระตนุ้ ให้ไวรสั เขา้ ตดิ เชอ้ื เทียบกับสายพนั ธ์ุอื่นๆ มกราคม 2565 33

สภากาแฟ นอกจากนี้การทดลองจำ�ลองการติด ยงั รบั วคั ซนี กนั ไมค่ รบ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ รังโรคใหม่ๆ ในกลุ่มสัตว์ที่สามารถสร้าง เช้ือไวรัสโอมิครอนในออร์แกนอยด์ปอด ในเด็กเล็ก หลายองค์กรจึงเร่ิมที่จะออก โปรตีน ACE-2 ได้เหมือนกัน อย่างเช่น จากทมี วจิ ัยของเวนดี บาร์กเลย์ (Wendy มาเคล่อื นไหว เพือ่ เตอื นว่าโอมคิ รอนอาจ นก หนู ค้างคาว Barclay) นักไวรสั วทิ ยาจากมหาวิทยาลัย จะไม่ได้ “อ่อน (mild)” อยา่ งทคี่ ดิ แม้วา่ และหากมหกรรมการระบาดของ อมิ พเี รยี ล (Imperial College London) ก็ ในตอนนเ้ี คสเดก็ จะยงั ไมไ่ ดพ้ งุ่ ทะลฟุ า้ แต่ โควิดเข้าไปติดสัตว์รังโรคน้ันได้เกิดข้ึน ยืนยันอีกเช่นกันว่าโอมิครอนน้ันติดเช้ือ กันไว้กด็ กี วา่ จะรอแก้ เมอ่ื ไร ความฝนั ในการก�ำ จดั วกิ ฤตโควดิ ไป ในเซลล์ปอดได้น้อยกว่าจริงๆ ซึ่งอาจจะ “โปรตีนหนามโอมิครอนจับ ACE-2 อยา่ งสิน้ เชงิ ก็จะหายวบั ไปเมือ่ นัน้ เพราะ เปน็ สาเหตทุ ท่ี �ำ ใหค้ นทต่ี ดิ โอมคิ รอนแสดง ได้แน่นกว่าสายพันธุ์กลาย VOC อ่ืนๆ ต่อให้ออกมาตรการเข้มข้นมาคุมจนการ อาการออกมาน้อยกว่าคนท่ีติดสายพันธุ์ ทงั้ หมด” โทมสั พคี อ็ ก (Thomas Peacock) ระบาดในคนน้นั จบสิ้นไดส้ ำ�เรจ็ ท้ายทส่ี ุด กลายรา้ ยๆ ตัวอืน่ ๆ อยา่ งเชน่ เดลตาหรอื หนึ่งในนักวิจัยจากทีมอิมพีเรียลออกมา พวกไวรสั สายพนั ธก์ุ ลายท่ีไปซอ่ นหมกตวั แอลฟาอยู่พอสมควร เผยต่อ อยู่ในสัตว์รังโรคก็จะโดดข้ามสปีชีส์กลับ แตก่ ใ็ ชว่ า่ จะชะลา่ ใจได้ เพราะชดั เจน และน่ันทำ�ให้มันมีศักยภาพที่จะโดด มาติดคนอีกรอบได้อยู่ดี บอกได้เลยว่า แล้วว่าอัตราการระบาดของโอมิครอนนั้น ข้ามโฮสต์ด๋ึงดั๋งๆ เด้งไปเด้งมาหาแหล่ง งานนีน้ า่ จะต้องลุน้ กนั อกี ยาว หนักหน่วงย่ิงกว่าโควิดสายพันธุ์กลายตัว อ่ืนๆ ท่ีเคยมีมาอย่างมหาศาล ผู้ติดเช้ือ หน่ึงคนอาจจะติดเชื้อแพร่กระจายไปได้ ถงึ 8-15 คน น่ันหมายความว่าถ้าไมร่ ะวงั อาจจะเจอสง่ิ ทเ่ี ทดรอสเรยี กวา่ สนึ ามขิ อง การระบาด ท่ีจะถล่มวงการสาธารณสุข ท่วั โลกกันแบบตั้งตัวไม่ทัน แม้จะดูเหมือนอาการป่วยน้อยกว่า เดลตา แตก่ ใ็ ชว่ า่ จะไมจ่ �ำ เปน็ ตอ้ งหาเตยี ง คนทต่ี ดิ โอมคิ รอนแลว้ ปว่ ยถงึ ขน้ั ลม้ หมอน หนอนเสอ่ื กม็ อี ยไู่ มใ่ ชน่ อ้ ย แมส้ ว่ นใหญจ่ ะ ไมส่ าหสั ถงึ ขนาดตอ้ งใชเ้ ครอื่ งชว่ ยหายใจ ก็เถอะ แตถ่ า้ ติดเยอะ ติดไว ติดกระจาย แบบวนั นงึ จ�ำ นวนพงุ่ ไปถงึ เลขหกหลกั แม้ อาการจะไมไ่ ดห้ นกั แตถ่ า้ มาเยอะมากนกั หมอทั้งหลายกก็ ระอกั ได้เหมอื นกนั และถา้ ผปู้ ว่ ยลน้ ระบบ คงไมใ่ ชภ่ าพที่ เราอยากจะจินตนาการถึงเท่าไรนัก นี่ยัง ไม่นับผลกระทบเรอื้ รงั จาก long COVID อีก ปัญหาพวกน้ีจะเป็นประเด็นใหญ่ใน พวกกลุ่มเส่ียงกับพวกเด็กและเยาวชนท่ี มกราคม 2565 34

สภากาแฟ จากการสำ�รวจล่าสุดในแถบมิดเวสต์ รีบๆ ตดิ วิกฤตจะไดร้ บี ๆ จบ ทำ�ให้การติดเช้ือสายพันธุ์กลายใหม่ๆ ของสหรัฐอเมริกาไล่ไปจนถึงขอบเขต ผดิ นะครับ ไวรัสไม่ใชว่ คั ซีน ติดแลว้ น้ันอันตรายน้อยลง” บิล ฮาร์เนจ (Bill ประเทศแคนาดา กม็ รี ายงานมาแลว้ วา่ พบ เดาไมไ่ ดว้ า่ อาการจะเบาหรอื หนกั อาจจะ Harnage) นักระบาดวิทยาจากโรงเรียน ฝงู กวางปา่ ตดิ โควดิ กนั ระเนระนาด ไวรสั ท่ี แถมมาด้วยอาการเรื้อรังที่เรียกว่า long สาธารณสุข T.H. Chan มหาวิทยาลัย ตดิ มคี วามละมา้ ยคลา้ ยคลงึ กบั ทพี่ บในคน COVID ทงั้ ลม่ิ เลอื ด ทงั้ การรบั กลน่ิ แถมยงั ฮาร์วาร์ด (Harvard University) กล่าว มาก นกั วจิ ยั คาดเดาวา่ นา่ จะเปน็ คนเอาเชอ้ื มีรอยแผลเป็นในไตท่ีอาจจะต้องตาม “แต่ถา้ ให้วางเดมิ พนั ผมคงไม่เอาดว้ ย” ไปติดกวาง และต่อมาพวกมันก็แพร่เชื้อ รกั ษากนั อกี ยาวนาน แตก่ ย็ งั มกี รู อู กี หลายคนทอี่ อกมาบอก กนั ไดเ้ องในฝงู กวาง ซงึ่ เปน็ เรอ่ื งทนี่ า่ กงั วล แม้จะไม่คุ้มเสี่ยง แต่ก็ต้องยอมรับ แบบมองโลกในแง่ดีว่าเมื่อเวลาผ่านไป เปน็ อยา่ งยง่ิ ไมใ่ ชเ่ พราะกลวั วา่ กวางจะตาย ข้อนึงว่าทุกคร้ังท่ีติดเชื้อ ร่างกายของ ไวรสั หรอื เชอื้ ก่อโรคจะค่อยๆ ววิ ัฒน์และ แต่เพราะกวางอาจจะเป็นตัวบ่มเช้ือ ผู้ป่วยจะสร้างภูมิคุ้มกันข้ึนมาต้านเช้ือที่ ปรับตัวให้อาการเบาลงจนสามารถอยู่กับ ก่อโรคโควิดสายพันธุ์กลายใหม่ๆ แสบๆ ติดเข้าไป ซ่ึงหมายความว่าการระบาด โฮสต์หรือคนท่ีติดเชื้อได้ แบบก่ออาการ ขึ้นมาได้อีกไมร่ ้เู ท่าไร แบบกระจุยกระจายของโอมิครอนน่าจะ ให้ป่วยหนักจนถึงตาย และท้ายท่ีสุดจะ ล่าสุดในสื่อเร่ิมมีวาทกรรมออกมา มีส่วนชว่ ยเสริมภูมคิ มุ้ กันให้ผู้ปว่ ยอยู่บา้ ง กลายเปน็ การตดิ เชอ้ื ตามฤดกู าลไป ไอเดยี ให้ข้อมูลแบบผิดๆ ว่าเช้ือไวรัสจะวิวัฒน์ ถ้าไม่นับอาการป่วยและความเสี่ยงอื่นๆ น้ีน่าสนใจ แต่มันผิดหลักการของการ ใหเ้ บาลง ไวรัสท่ี (เหมอื นจะ) ไม่ลงปอด ที่ต้องแลกมา ววิ ัฒนาการไปแบบคนละขัว้ อย่างโอมิครอนน่าจะเปน็ นางฟ้าที่มาช่วย “การตดิ เชอื้ ของโอมคิ รอนทม่ี โี ปรตนี เพราะในความเป็นจริง วิวัฒนาการ มวลมนุษยชาติจบวิกฤต ลุกลามไปใหญ่ หนามแปลกไปน้ันอาจจะทำ�ให้ภูมิคุ้มกัน เปน็ กระบวนการแบบสมุ่ สายพนั ธ์ุไหนจะ จนถึงขนาดท่ีมีบุคลากรทางการแพทย์ ของคนท่ีติดเช้ือทะลุภูมิมีความสามารถ มาแรงนน้ั ขนึ้ กบั แรงคดั เลอื ก ใครดใี ครได้ ออกมาบอกวา่ โอมคิ รอนเปน็ วคั ซนี ออ่ นฤทธ์ิ ในการตา้ นไวรสั ไดก้ วา้ งมากขนึ้ ซง่ึ อาจจะ และในช่วงเวลาน้ี ท่ีการระบาดของไวรัส มกราคม 2565 35

สภากาแฟ นนั้ เกดิ ขน้ึ อยา่ งประสบความส�ำ เรจ็ ทว่ มทน้ จะเห็นได้ชัดว่าส่ิงสำ�คัญท่ีช่วยเพ่ิมความ และซับซ้อนเอามาตีแผ่ในส่ือกันอย่าง การติดเชื้อก็ยังกระจายติดกันอีนุงตุงนัง ไดเ้ ปรยี บในการอยรู่ อดและขยายเผา่ พนั ธ์ุ ไม่มีปิดก้ัน (ในหลายประเทศ) ข้อมูล ไปทว่ั จนกลายเปน็ แพนเดมกิ (pandemic) ของไวรัสน่าจะเป็นความสามารถในการ บางอยา่ งก็ยงั อย่ใู นระหวา่ งการศึกษา ซึง่ ระดับโลก แม้จะมีคนป่วยหนักกันระนาว ติดเชื้อทะลุภูมิและความไวในการระบาด อาจจะคลาดเคล่ือนไปและแก้ไขได้หาก เสียชีวิตกันราวใบไม้ร่วง ความหนักเบา แพรพ่ ันธุ์ ไม่ได้เกี่ยวกบั ความรนุ แรงของ มีการศึกษาเพ่ิมเติมที่ชัดเจนยิ่งกว่าและ ของอาการป่วยจึงน่าท่ีจะยังไม่ใช่แรง อาการแตอ่ ยา่ งใด มาหกั ลา้ งของเดิม คัดเลือกท่ีกำ�หนดสายพันธุ์กลายที่จะ และการท่ีจ�ำ นวนต�ำ แหน่งกลายพนั ธุ์ ในตอนน้ีสิ่งที่สำ�คัญที่สุดในการท่ีจะ ขนึ้ มาเป็นผนู้ �ำ ในระลอกตอ่ ไป ของโอมิครอนมีมากกว่าสายพันธุ์กลาย ตอ่ สกู้ บั ไวรสั รา้ ยนก้ี ค็ อื สตแิ ละสามญั ส�ำ นกึ ผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่มองว่าตัวแปร อ่ืนๆ อย่างแอลฟาและเดลตา ก็ไม่ได้ รับผิดชอบต่อสังคม ถ้าเราทุกคนตั้งใจ สำ�คัญในสภาพแวดล้อมท่ีส่งผลให้การ บง่ ชว้ี า่ มนั มวี วิ ฒั นาการมากไปกวา่ สายพนั ธ์ุ และระวังตัวเองให้ดี ช่วยกันคนละไม้ ระบาดเปลี่ยนไปในช่วงเวลาน้ีที่ผู้คนเริ่ม กลายอ่นื ๆ ละมอื ในการลดโอกาสในการตดิ เชอ้ื (และ ไดร้ บั วคั ซนี ตา้ นไวรสั กนั มาบา้ งแลว้ นา่ จะ “ถา้ ดพู งศาวลแี หง่ การววิ ฒั นาการของ แพรเ่ ชื้อ) โอกาสท่ีสังคมจะเริม่ เดนิ ต่อไป เป็นภูมิคุ้มกันต่อไวรัสที่มาจากการได้รับ ไวรัสก่อโรคโควิด โอมิครอนแตกแขนง ขา้ งหนา้ ก็จะเกดิ ข้นึ ได้ไวย่ิงขึ้น วัคซีน (หรือการติดเช้ือทางธรรมชาติ) แยกออกมาจากพนี่ อ้ ง ตั้งแต่กอ่ นเดลตา และเม่ือนั้น ด้วยสารพัดเทคโนโลยี มากกวา่ ซง่ึ กค็ อื แรงคดั เลอื กทส่ี รา้ งกตกิ า และแอลฟาจะมาเสยี อกี ” คตั ซรู าคสิ เปรย ท่ีพัฒนาไปแบบก้าวกระโดดในยุคโควิด ใหมใ่ นการแขง่ ขนั (เพอื่ ความอยรู่ อดและ “ แ ล ะ ถ้ า ถ า ม ต่ อ ว่ า มั น ก่ อ โ ร ค เ บ า ก ว่ า ฟ้าหลังฝนที่เราจะได้เจอก็น่าท่ีจะงดงาม ความส�ำ เรจ็ ในการกระจายเผา่ พนั ธ)ุ์ ส�ำ หรบั บรรพบุรุษสายตรงของมันไหม ผมไม่ กว่าทีเ่ คยเหน็ และเป็นมา… สายพันธุ์กลายตวั ใหม่ๆ คดิ ว่าจะมีใครตอบได้ในเวลาน”้ี หากทุกคนร่วมใจ ไม่มีอะไรเกิน และถ้าพิจารณากันดีๆ ว่าอะไรที่จะ วกิ ฤตแหง่ โควดิ คอื สงิ่ ใหมท่ ท่ี �ำ ใหเ้ กดิ ความสามารถครับ และเราจะรอดไป ทำ�ให้ไวรัสสายพันธ์ุกลายนั้นเอาชนะ การเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิตในสังคม ด้วยกนั ! คะคานกันได้ ในเกมการแข่งขันที่มีเดิม มนุษย์ไปอย่างแทบกู่ไม่กลับ ข้อมูล พนั เปน็ ความอยรู่ อดของเผา่ พนั ธ์ุในครง้ั นี้ วิทยาศาสตร์เฉพาะทางท่ีเดิมดูจะยาก มกราคม 2565 36

หอ้ งภาพสตั วป์ า่ ไทย ประทีป ดว้ งแค คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เสือื โคร่ง่ Panthera tigris เสือโคร่งเป็นสัตว์ผู้ล่าท่ีมีขนาดใหญ่ ทส่ี ดุ ของประเทศไทย ดว้ ยขนาดล�ำ ตวั กวางปา่ อยใู่ นธรรมชาตอิ ยา่ งนอ้ ย 500 ตวั เพิ่มข้ึนอีก 500 ตัว พ้ืนท่ีป่าได้รับการ เสือเพศผมู้ ีความยาวถึง 2 เมตร โดยทม่ี ี โดยพน้ื ทอ่ี าณาเขตหากนิ ของเสอื โครง่ เพศผู้ ดูแลเป็นอย่างดีเพ่ิมอีกเกือบสองแสนไร่ หางยาวอกี 1 เมตร และมนี �ำ้ หนกั ประมาณ หน่ึงตัวอยู่ 250-300 ตารางกิโลเมตร เช่นเดียวกันในพ้ืนที่ใดท่ีเคยมีเสือโคร่ง 250-300 กิโลกรัม ในทางนิเวศวิทยา (150,000-190,000 ไร่) ชุกชุมแล้วสูญหายหมดไปย่อมสะท้อน จัดให้อยู่ในระดับผู้บริโภคขั้นสูงสุด (top จากงานวิจัยของ Thailand Tiger ให้เห็นถึงความหย่อนยานในมาตรการ consumer) ในป่าของประเทศไทย จึงได้ Project พบวา่ เหยอ่ื ทเ่ี สอื โครง่ ลา่ ไดส้ ว่ นใหญ่ ด้านการอนุรักษ์ ในพื้นที่น้ันด้วย ใน มีการประเมินเพ่ือใช้ประกอบวางแผน เป็นตัวเต็มวัย (อนุมานเอาว่าเป็นตัวแก่ ประเทศไทยเองมสี าเหตหุ ลกั สองประการ อนุรักษ์อย่างคร่าวๆ ว่าเสือโคร่งในป่า อายมุ าก ออ่ นแอ เคลอ่ื นทชี่ า้ หรอื เจบ็ ปว่ ย) ทท่ี �ำ ใหเ้ สอื โครง่ หมดไปในพน้ื ที่ คอื การลา่ หน่ึงตัวจะต้องใช้เน้ือในการดำ�รงชีพ ดังน้ันเสือโคร่งจึงทำ�หน้าท่ีเป็นสิ่งมีชีวิต เสอื โครง่ โดยตรงและไมม่ เี หยอ่ื ใหเ้ สอื โครง่ 5-6 กโิ ลกรมั ตอ่ ตวั ตอ่ วนั โดยใชป้ ระโยชน์ คยี ส์ โตน (keystone species) ทที่ �ำ ใหร้ ะบบ ลา่ กิน จากร่างการของเหยื่อได้เพียงร้อยละ 70 นิเวศดำ�รงคงอยู่ได้อย่างสมดุล ควบคุม ประเทศไทยในอดีตมีเสือโคร่งชุกชุม ภายในรอบเวลา 1 ปี ตอ้ งการมวลน�้ำ หนกั ประชากรของเหยื่อไม่ให้มีปริมาณล้น อยตู่ ามพนื้ ทร่ี าบลมุ่ แทบจะทกุ พน้ื ท่ี ไมเ่ วน้ เหยื่อ 2,607-3,128 กโิ ลกรมั ต่อตวั หรือ พื้นท่ี และคอยกำ�จัดตัวท่ีอ่อนแอซึ่งเป็น แม้แต่พื้นท่ีกรุงเทพมหานครสมัยสร้าง ถ้าคิดขนาดเหย่ือเป็นกวางป่า (นำ้�หนัก แหล่งแพร่เชื้อโรคออกไปจากฝงู อกี ด้วย กรุงยังมีบันทึกรายงานพบเสือโคร่งเป็น 180-250 กิโลกรัม) จะต้องมีกวางป่าให้ นอกจากนี้เสือโคร่งยังเป็นดัชนีช้ีวัด จ�ำ นวนมาก ผา่ นไปกวา่ สองรอ้ ยปี เมอื่ คน เสือโคร่งกินอย่างน้อย 50 ตัวต่อปี การ (indicator species) ความสำ�เร็จหรือ เรมิ่ ลา่ เสอื โครง่ เพอื่ เปน็ สนิ คา้ พรอ้ มๆ กบั ท่ีจะมีประชากรกวางป่าเพ่ิมข้ึนได้เองใน ความล้มเหลวในด้านการอนุรักษ์สัตว์ป่า เปลี่ยนป่าเป็นพ้ืนที่อยู่อาศัยและทำ�การ ธรรมชาติ 50 ตัวต่อปี ต้องมีประชากร ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี เชน่ การทพ่ี บวา่ มเี สอื โครง่ เกษตรสมยั ใหม่ สง่ ผลใหเ้ สอื โครง่ ถกู ผลกั เพ่ิมหน่ึงตัวในพื้นท่ี อนุมานได้ว่ามีกวาง ดันเข้าไปอยู่ในป่าและพื้นที่ภูเขาสูง ซ่ึง มนุษย์ก็ยังตามขึ้นเขาไปลักลอบล่าเพ่ือ นำ�ซากไปขายจนหมดไปจากพ้ืนท่ีป่า ธรรมชาตขิ องประเทศไทย จากรายงานของกรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพชื ล่าสดุ ปี พ.ศ. 2564 สรปุ วา่ มเี สอื โครง่ เหลอื อยู่ในปา่ ธรรมชาติ ของประเทศไทยประมาณ 180-200 ตวั และมีเพียงผืนป่าสองกลุ่มเท่าน้ันท่ีมี ประชากรเหลือเพียงพอที่จะฟื้นฟูตัวเอง ได้ คอื ผนื ปา่ ตะวนั ตก มปี ระมาณ 150 ตวั และผืนป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ มี ประมาณ 30 ตัว มกราคม 2565 37

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ วริศา ใจดี สาระวิทย์ ในศลิ ป์26 วริศา ใจดี (ไอซี) เด็กสาย(พันธ์ุ)วทิ ยส์ านศลิ ป์ ชอบเรยี นคณิตศาสตรแ์ ละฟิสิกส์ สนใจเรือ่ งเกีย่ วกับอวกาศ และสัตว์เลี้ยงตัวจิ๋ว เวลาว่างชอบทำ�งานศลิ ปะ ก�ำ ลังค้นหาสูตรผสมทลี่ งตวั ระหวา่ งวทิ ย์กับศลิ ป์ Facebook : I-see Warisa Jaidee ภาพโดย : วริศา ใจดี ANDA AMEIHRWARIPYSPHYGYRNAOEVUWMAYSEAR จากเดืือนธัันวาคมสู่�่ มกราคม พวกเราได้้ก้้าวผ่่านคริิสต์ม์ าสสู่่�ปีใี หม่่พร้อ้ มกัันอีีกครั้้�ง สาระวิทิ ย์ใ์ น ศิิลป์์ฉบัับนี้้ฉ� ัันอยากจะแบ่ง่ ปัันเรื่่อ� งราวการฉลองวัันคริสิ ต์ม์ าสและปีีใหม่่ปีีแรกในอเมริกิ าของฉััน ที่�่แน่่นอนว่า่ แตกต่า่ งไปจากการประดัับประดาต้้นสนและการแขวนถุงุ เท้า้ รอรัับของขวััญจาก ซานตาคลอสอย่า่ งนิิทานที่่�ทุุกคนคุ้้�นหููกััน หากแต่่เป็็นการร่่วมฉลองตามแบบฉบัับเด็็กสายวิทิ ย์์ สานศิลิ ป์์ร่ว่ มกัับเพื่�่อนๆ และศาสตราจารย์ท์ ี่่� Wellesley College ในวััน GravMas! มกราคม 2565 38

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ วนั GravMas เปน็ การฉลองวนั ตัวแปรสำ�คญั ของกฎความโนม้ ถว่ งสากล ของระยะห่างระหวา่ งมวล สามารถเขยี น คลา้ ยวนั เกดิ ของเซอรไ์ อแซก ของนิวตนั (Newton's law of universal ออกมาเปน็ สูตรได้ดังภาพ นิวตัน (Sir Isaac Newton) นักฟิสิกส์ gravitation) หลักฟิสิกส์พื้นฐานที่ทฤษฎี โดย F คือ แรงที่วัตถุท้ังสองกระทำ� และคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษผู้ค้นพบกฎ ตา่ งๆ มักน�ำ มาใช้อ้างองิ อยูเ่ สมอๆ แหง่ แรงโนม้ ถว่ ง ทมี่ าตรงกบั วนั ครสิ ตม์ าส โดยในกฎน้ี นิวตันได้กล่าวไว้ว่า ทุก ต่อกนั วันที่ 25 ธันวาคม พอดิบพอดี และน่ัน วัตถุท่ีมีมวลในเอกภพนั้นจะออกแรง m คอื มวลของวัตถุท้ังสอง ก็คือที่มาของช่ือวันท่ีไม่เพียงแค่ล้อคำ�ว่า ดึงดูดอีกมวลหนึ่งท่ีกระทำ�ในทิศทางตาม r คอื ระยะหา่ งระหวา่ งศนู ยก์ ลาง Christmas แต่ยังเกดิ จากการรวมค�ำ ของ เสน้ ระหวา่ งจดุ ศนู ยก์ ลางของมวลทง้ั สอง gravitational constant (คา่ คงท่ีโน้มถ่วง โดยขนาดจะแปรผันตามกับผลคูณของ ของวตั ถทุ งั้ สอง สากล) และ mass (มวล) ซึ่งเป็นสอง มวลทัง้ สอง และแปรผกผนั กับกำ�ลังสอง และค่า G ก็คือ gravitational constant (ค่าคงท่ีโนม้ ถ่วงสากล) ท่ีเป็น ตวั เอกของวนั GravMas นน่ั เอง Wellesley College มหาวิิทยาลััยที่่�ฉัันได้้มา ภาพแสดงคำอธิิบายกฎความโน้้มถ่ว่ งสากลของนิิวตันั ศึกึ ษาต่อ่ ในระดัับปริญิ ญาตรีี (Newton's law of universal gravitation) มกราคม 2565 39

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ เมอ่ื เดอื นธนั วาคม ชมรมฟสิ กิ สแ์ ละดาราศาสตร์ ที่ Wellesley College ได้จัดกิจกรรมข้ึนเพื่อฉลอง วัน GravMas! บรรดานักศึกษาและอาจารย์ใน ภาควิชาฟิสิกส์ได้มารวมตัวกันหน้าหอดูดาวของ Wellesley College ทม่ี ชี อื่ วา่ “Whitin Observatory” ในช่วงที่พระอาทิตย์เร่ิมตกดิน เพื่อระลึกถึงการ ค้นพบคร้ังย่ิงใหญ่ของนิวตันอันมีท่ีมาจากการ น่ังหลับใต้ตน้ แอปเปลิ ?! พวกเราจงึ ได้รว่ มชนแกว้ ดมื่ นำ้�แอปเปลิ ไซเดอร์กัน แตเ่ กดิ เหตไุ ม่คาดฝันขึ้น เลก็ นอ้ ย เพราะเจา้ กระรอกดนั มาพงุ่ ชนโถแอปเปลิ ไซเดอร์ซะพินาศไปหมด สุดท้ายโกโก้ร้อนก็ถือว่า ทดแทนกันได้สำ�หรบั อากาศหนาวๆ แบบน้ี หลังการด่ืมเฉลิมฉลอง พวกเราได้ร่วมกัน ร้องเพลง Christmas Carol หลากหลายบทเพลง ที่ดัดแปลงเนื้อร้องให้เข้ากับบทเรียนฟิสิกส์ที่ท้ัง น่าขำ�ขันและมีสาระไปพร้อมกัน ฉันขอยกตัวอย่าง เพลง Newton’s Law ท่ีแต่งโดยศาสตราจารย์ Kim K McLeod อาจารย์ผู้สอนวิชาดาราศาสตร์ ภาพบรรยากาศรอบ “Whitin Observatory” ในช่ว่ งพลบค่่ำ เนื้อ�้ เพลง Newton’s Law มกราคม 2565 40

สาระวทิ ย์ ในศลิ ป์ ของฉัน ในเน้ือร้องได้แทรกความคิดเห็นเกี่ยวกับการค้นพบของ ฉันั กำลัังใช้้กล้้องโทรทรรศน์ภ์ ายในโดมในช่ว่ งเย็น็ ไอน์สไตน์ท่ีมาโต้แย้งว่าทฤษฎีของนิวตันไม่ได้สากลซะทีเดียว เพราะยังมีข้อยกเว้นมากมายซ่อนอยู่ แล้วแต่สถานการณ์ว่าเรา ควรจะมองโลกของฟสิ กิ ส์แบบนวิ ตัน (Newtonian physics) หรอื แบบไอน์สไตน์ (quantum physics) ดว้ ยทำ�นองเพลงตน้ ฉบับคือ Deck the Hall ที่เขา้ จงั หวะกนั ไดอ้ ยา่ งนา่ ท่งึ เพ่อื นๆ จะลองจ�ำ กันไปร้องในหอ้ งสอบก็ไดน้ ะ จากน้ันฉันก็ได้เข้าใช้หอดูดาวท่ีวันนี้เปิดให้ทุกคนทดลอง ฝึกส่องดูวัตถุบนท้องฟ้าผ่านกล้องโทรทรรศน์หักเหแสงขนาด 12 น้วิ ฉันได้เหน็ ดาวพฤหสั และดวงจันทรก์ าลิเลยี นท้งั สี่ดว้ ยละ ปดิ ทา้ ยด้วยการเขา้ ไปนัง่ ลอ้ มวงในหอดูดาว จิบชาอ่นุ ๆ พลาง เล่นบอร์ดเกม Terraforming Mars หรือปฏิบัติการต้ังถิ่นฐานบน ดาวองั คารกนั นับเป็นประสบการณ์ท่ีสนุกสนานและแปลกใหม่สำ�หรับฉัน ปตี ่อไปฉันจะไมล่ ืมเขา้ รว่ มงานวัน GravMas! อีกแน่นอน และขอ Merry GravMas และ Happy New Year เพ่ือนๆ ผู้อ่านไป พร้อมกนั เลย้ ยย… ขอใหท้ ุกๆ คนปลอดภัยห่างไกลจาก Omicron ด้วยความปรารถนาดีจาก แดนไกล บอร์์ดเกม Terraforming Mars มกราคม 2565 41

เปดิ โลก นทิ านดาว พงศธร กิจเวช พงศธร กิจเวช (อัฐ) ภาพดาวศุกุ ร์์ ถ่่ายโดยยาน Mariner 10 เมื่่อ� ปีี พ.ศ. 2517 Facebook: คนดูดาว stargazer ที่่�มาภาพ : NASA https://photojournal.jpl.nasa.gov/catalog/PIA23791 ดาวศกุ ร์ ท่ีมาของวนั ศุกร์ กาลครัง้ หน่ึงนานมาแลว้ ในดินแดนกรกี โบราณ มีงานอภเิ ษกสมรส (แต่งงาน) ของพระราชาพีเลียส (Peleus) แห่งเมืองเทีย (Phthia) กับทตี ิส (Thetis) เทพธิดาแหง่ ทะเล เหลา่ ทวยเทพได้รับเชญิ มางานโดย พร้อมหน้า ยกเวน้ เอริส (Eris) เทพแี หง่ ความแตกแยก ท่ีไมไ่ ด้รับเชิญมา มกราคม 2565 42

เปดิ โลก นทิ านดาว ดว้ ยความโกรธและตอ้ งการจะแกแ้ คน้ ภาพการตััดสินิ ของปารีสี (Judgement of Paris) วาดโดย Sandro Botticelli จิติ รกรชาวอิติ าลีี เอริสได้แอบโยนลูกแอปเปิลทองคำ�ที่ ประมาณปีี พ.ศ. 2028-2031 สลักขอ้ ความไว้วา่ “ส�ำ หรับผ้ทู ส่ี วยทสี่ ดุ ” ที่่ม� าภาพ : Wikipedia https://en.wikipedia.org/wiki/Judgement_of_Paris เข้าไปในงาน ทำ�ให้เกิดการถกเถียง ภาพกำเนิดิ วีนี ัสั (The Birth of Venus) วาดโดย Sandro Botticelli จิติ รกรชาวอิติ าลีี กันวุ่นวายว่าใครคือผู้ท่ีสวยท่ีสุดท่ีจะได้ ประมาณปีี พ.ศ. 2028-2029 แอปเปิลทองคำ�ลูกนั้น โดยเฉพาะ ที่่ม� าภาพ : Wikipedia https://en.wikipedia.org/wiki/Venus_(mythology) อย่างยิ่งเทพีผู้เป็นใหญ่ท้ังสามคือ เฮรา (Hera) มเหสีของซูส (Zeus) ราชาแห่ง เทพเจ้าท้ังหลาย อทีนา (Athena) และ แอโฟรไดที (Aphrodite) ราชธดิ าของซูส (ท้ังสองไม่ได้ประสตู จิ ากเฮรา) เฮรา, อทีนา และ แอโฟรไดที ได้ ขอให้ซูสทรงช่วยตัดสิน ซูสทรงเกรงว่า ถ้าตัดสินให้ใครคนใดคนหน่ึงชนะ อีก สองคนจะไม่พอใจ ดังน้ันจึงบอกว่าตน ไม่สามารถตัดสินได้ แล้วให้ท้ังสามไปหา เจ้าชายปารีส (Paris) แห่งเมืองทรอย (Troy) เพอื่ ตดั สิน มกราคม 2565 43

เปดิ โลก นทิ านดาว เจ้าชายปารีสเม่ือทรงพบเทพีท้ังสาม ภาพงานประติมิ ากรรมหิินอ่อ่ นแกะสลัักวีนี ััส ระหวา่ งดาวศกุ รก์ บั โลกทส่ี �ำ คญั คอื อณุ หภมู ิ แล้วก็ยังทรงไม่สามารถตัดสินพระทัยได้ แห่ง่ มีีโล (Venus de Milo) ประมาณ และการหมุน เนื่องจากเทพีแต่ละองค์ก็มีความงาม 150-125 ปีกี ่่อนคริิสตกาล ปัจั จุุบัันอยู่่�ที่� ระบบสรุ ยิ ะ(solarsystem)มดี วงอาทติ ย์ คนละแบบ เทพีทั้งสามจึงทรงพยายาม พิพิ ิิธภััณฑ์์ลููฟวร์์ (Louvre) ประเทศฝรั่�งเศส เปน็ ศนู ยก์ ลาง ถดั มาเปน็ ดาวพธุ ดาวศกุ ร์ ให้สินบน โดยถ้าเจ้าชายปารีสทรงตัดสิน ที่่�มาภาพ : Wikipedia โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหสั บดี ดาวเสาร์ ใหช้ นะ เฮราจะทรงมอบอ�ำ นาจใหเ้ จา้ ชาย ดาวยูเรนัส และดาวเนปจนู ปารีสได้ทรงครอบครองยุโรปและเอเชีย https://en.wikipedia.org/wiki/Venus_de_Milo ดาวศกุ รแ์ มจ้ ะอยหู่ า่ งจากดวงอาทติ ย์ อทีนาจะทรงมอบทักษะความสามารถให้ มากกวา่ ดาวพุธ แต่ดาวศกุ รก์ ลบั ร้อนกวา่ เจ้าชายปารสี ได้กลายเปน็ นกั รบท่ียง่ิ ใหญ่ ภาพสััญลัักษณ์์ของดาวศุุกร์์และสัญั ลักั ษณ์์ ดาวพุธ โดยเวลากลางวันบนดาวพุธด้าน สว่ นแอโฟรไดทจี ะทรงมอบผหู้ ญงิ ทส่ี วยทส่ี ดุ ของเพศหญิิง เป็็นรููปกระจกมีีด้้ามจับั มีอณุ หภูมิสูงมากถึง 430 องศาเซลเซยี ส ในโลก เมอ่ื ทรงไดฟ้ งั ขอ้ เสนอเชน่ น้ี เจา้ ชาย ที่่�มาภาพ : Wikipedia แต่เวลากลางคืนกลับมีอุณหภูมิตำ่�ถึง ปารีสทรงไม่ลังเลท่ีจะเลือกแอโฟรไดที -180 องศาเซลเซียส ที่ดาวพุธอุณหภูมิ เป็นผชู้ นะได้แอปเปิลทองคำ� https://en.wikipedia.org/wiki/Planet_symbols ต่างกันมากเช่นน้ีเนื่องจากดาวพุธมีชั้น ผู้หญิงท่ีสวยที่สุดในโลกคือ เฮเลน บรรยากาศบาง ทำ�ให้ไม่สามารถรักษา (Helen) ราชินีของพระราชาเมเนเลอัส อณุ หภมู ิใหค้ งท่ีไปทวั่ ดาวได้ (Menelaus) แหง่ เมืองสปาร์ตา (Sparta) ขณะที่ดาวศุกร์มีอุณหภูมิที่พ้ืนผิวสูง เจ้าชายปารีสได้ทรงแอบลักพาตัวเฮเลน มากถึง 475 องศาเซลเซียส (สามารถ ไปยงั เมืองทรอย ละลายตะกั่ว) ดาวศุกร์จึงเป็นดาวที่ร้อน เมเนเลอสั กรว้ิ มาก ทรงชวนพระราชา ท่ีสดุ ในระบบสุริยะ และเจา้ ชายเมอื งตา่ งๆ ไปทำ�สงครามกบั สาเหตุท่ีดาวศุกร์มีอุณหภูมิสูงมาก เมอื งทรอยเพอ่ื ชงิ เฮเลนกลบั คนื มา เกดิ เปน็ เน่ืองจากเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก สงครามครงั้ ใหญย่ าวนานถงึ 10 ปี นน่ั คอื (greenhouse effect) หรือปรากฏการณ์ สงครามกรงุ ทรอย (Trojan War) ดาวศกุ รร์ อ้ น (เหมอื นปรากฏการณ์โลกรอ้ น ชาวโรมันเรียกเทพีแอโฟรไดทีของ แตบ่ นดาวศกุ รร์ นุ แรงกวา่ ) ชน้ั บรรยากาศ ชาวกรกี วา่ วนี สั (Venus) ในภาษาองั กฤษ ของดาวศุกร์ประกอบด้วยก๊าซคาร์บอน- ค�ำ นีย้ งั แปลวา่ ดาวศกุ ร์ ที่มาของวันศกุ ร์ ไดออกไซด์ 96 เปอรเ์ ซน็ ต์ เปน็ กา๊ ซเรอื น- ค�ำ วา่ วนั ศกุ ร์ในภาษาองั กฤษคอื Friday กระจกทเ่ี กบ็ ความรอ้ นจากรงั สดี วงอาทติ ย์ มาจากภาษาอังกฤษเก่าว่า frīġedæġ ทำ�ให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกแบบ แปลว่า วันของฟริกก์ (Frigg) เทพีของ ก่ไู มก่ ลบั (runaway greenhouse effect) ชาวนอรส์ (Norse) หรอื ชาวไวกงิ (Viking) ซึง่ เปน็ อทุ าหรณ์สำ�หรับโลกของเรา ราชินีของเทพโอดิน (Odin) ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์บนดาวศุกร์ ดาวศกุ ร์ไดช้ อ่ื วา่ เปน็ นอ้ งสาวฝาแฝด เกดิ ขน้ึ ตามธรรมชาตจิ ากภเู ขาไฟ แตก่ า๊ ซ ของโลกเนื่องจากมีขนาดเล็กกว่าโลก คาร์บอนไดออกไซด์บนโลกจำ�นวนมาก เล็กน้อย อย่างไรก็ตามมีความแตกต่าง เกิดจากการกระทำ�ของมนุษย์ มกราคม 2565 44

เปดิ โลก นทิ านดาว ภาพดาวศุกุ ร์์ถ่่ายโดยใช้้เรดาร์ข์ องยาน Magellan ภาพกราฟอุณุ หภููมิโิ ลกตั้้�งแต่่ปีี พ.ศ. 2423-2564 น่่าเป็็นห่่วงว่่าอาจเกิิด เมื่ อ� ปีี ค.ศ. 1989 แล้ว้ ใช้้คอมพิิวเตอร์ร์ วมสร้า้ งภาพขึ้้�นมา ปรากฏการณ์์เรืือนกระจกแบบกู่ไ�่ ม่ก่ ลัับเช่น่ เดียี วกับั ดาวศุกุ ร์์ ภาพพื้�้นผิวิ ดาวศุกุ ร์์ ถ่า่ ยโดยยาน Venera 14 เมื่่�อปีี พ.ศ. 2525 ที่่ม� าภาพ : NASA ที่่�มาภาพ : NASA https://data.giss.nasa.gov/gistemp/graphs_v4/ https://apod.nasa.gov/apod/ap210317.html เมื่อมองจากภายนอกเราจะมองไม่เห็นพื้นผิวดาวศุกร์เลย เน่ืองจากมีเมฆพิษหนาปกคลุมท่ัวท้ังดาว เป็นเมฆกรดกำ�มะถัน (sulfuric acid) กล่นิ เหมือนไข่เน่า ความหนาของเมฆ 25 กิโลเมตร ดาวศุกร์ยังเป็นดาวท่ีหมุนรอบตัวเองในทิศทางตรงข้ามหรือ กลับด้านเม่ือเทียบกับโลกและดาวเคราะห์ส่วนใหญ่ในระบบสุริยะ บนดาวศุกร์เราจะเห็นดวงอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันตก และตกทาง ทศิ ตะวันออก นอกจากนด้ี าวศกุ ร์ยังหมนุ รอบตัวเองชา้ มาก 1 วนั บนดาวศุกร์ (ดาวศุกรห์ มนุ รอบตวั เอง 1 รอบ) เท่ากับ 243 วันบนโลก แต่ 1 ปี บนดาวศุกร์ (ดาวศุกร์หมุนรอบดวงอาทิตย์ครบ 1 รอบ) เท่ากับ 225 วันบนโลก ทำ�ให้บนดาวศุกร์ 1 วัน นานกว่า 1 ปี ความกดอากาศบนดาวศกุ ร์มากกวา่ โลกเราถงึ 90 เทา่ ดาวศกุ ร์ ไมม่ ดี วงจนั ทรบ์ รวิ าร และไม่มวี งแหวน ดาวศุกร์เป็นดาวเคราะหท์ อี่ ยู่ใกล้โลกท่สี ุด และเป็นดาวเคราะห์ ดวงแรกที่มนุษย์ส่งยานอวกาศไปสำ�รวจ โดยยาน Mariner 2 ของ สหรัฐอเมริกาเป็นลำ�แรกที่บินผ่านดาวศุกร์และส่งภาพกลับมาโลก เมื่อปี พ.ศ. 2505 ยาน Venera 3 ของสหภาพโซเวียต เป็นยาน ลำ�แรกท่ีตกลงถึงพื้นผิวดาวศุกร์เมื่อวันท่ี 1 มีนาคม ปี พ.ศ. 2509 และนับเป็นยานอวกาศของมนุษย์ลำ�แรกที่ไปถึงพื้นผิวดาวเคราะห์ ดวงอนื่ ยาน Venera 4 ของสหภาพโซเวยี ตเป็นยานล�ำ แรกที่เข้าไป สำ�รวจบรรยากาศของดาวศุกร์และส่งข้อมูลกลับมาโลกได้ ในปี พ.ศ. 2510 และยานท่ีสามารถลงจอดและถ่ายภาพพน้ื ผวิ ดาวศกุ ร์ได้ ลำ�แรกคอื ยาน Venera 9 ของสหภาพโซเวยี ต ในปี พ.ศ. 2518 มกราคม 2565 45

เปดิ โลก นทิ านดาว เม่อื มองจากบนโลก ดาวศุกรเ์ ปน็ oภfาพVeปnราuกs)ฏคกรัา้้�งรลณ่์่าท์สีุ่่�หดุ าเมืช่อ�มวยันั าทีก่่� 26 เมหิิถตุุุนุกาายรนณ์พ์ เ.กศิิด.พ2ร5้อ้5ม5กั(ันครั้้คง�ืือต่่อดไาปวคศืืุอุกวรั์ัน์ผที่่่า่�น1ห1น้ธา้ันัดววางคอมาทิพติ .ยศ์์.(T2r6a6n0s)it ดาวท่ีสว่างที่สุดอันดับ 3 บนท้องฟ้า เห็็นดาวศุกุ ร์เ์ ป็็นจุดุ ดำด้้านบนดวงอาทิติ ย์์ ขณะที่่แ� สงดวงอาทิติ ย์์หักั เหผ่่านชั้้น� บรรยากาศที่่ข� อบฟ้า้ รองจากดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ เห็็นดวงอาทิิตย์เ์ ป็น็ รููปร่่างเหมืือนแจกันั กรีีกโบราณที่่เ� รีียกว่่า แจกัันอิทิ รััสกััน (Etruscan vase) หรืือ สามารถเห็นในเวลากลางวันก่อนดวง ตััวอัักษรโอเมกา (omega) Ω ในภาษากรีกี ภาพนี้้ถ� ่า่ ยที่่�ทะเลดำ (Black Sea) โดย Emil Ivanov อาทติ ยต์ กไมน่ าน หรอื หลงั ดวงอาทติ ย์ ที่่ม� าภาพ : NASA https://apod.nasa.gov/apod/ap120608.html ข้ึนได้สกั พัก มีบางคนเข้าใจผิดว่า ดาวศุกร์ คอื ดาวเหนือ (Polaris) เนอื่ งจากดาว ศุกร์มีความสว่างมาก ความจริงคือ ดาวเหนือสว่างไม่มาก อันดับความ สว่าง (magnitude) +2 (เห็นได้ยาก ในกรุงเทพฯ) ขณะท่ีดาวศุกร์สว่าง มากที่สุดได้ถึงประมาณ -5 ต่างกัน ประมาณ 250 เท่า ดาวศุกร์ไม่เคยอยู่ทิศเหนือ ส่วน ดาวเหนือจะอยู่บนท้องฟ้าทิศเหนือ ตลอดเวลา ไม่มีข้ึนหรือตก เหมือน ปักหมดุ อยปู่ ระจ�ำ ทบ่ี นทอ้ งฟา้ ทศิ เหนอื โดยดาวเหนือจะอยู่สูงจากขอบฟ้า (มมุ เงย หรอื altitude) เทา่ กบั ต�ำ แหนง่ ละติจูด (latitude) ที่เราดูอยู่ เช่น กรงุ เทพฯ ละตจิ ดู 14 องศา ดาวเหนอื กอ็ ยู่สูง 14 องศา, เชยี งใหม่ ละตจิ ดู 19 องศา ดาวเหนอื กอ็ ยู่สงู 19 องศา ขณะทด่ี าวศกุ รม์ ขี น้ึ และตก และเปลย่ี น ตำ�แหน่งความสูง โดยสามารถข้ึนสูง ได้ถึง 47 องศา ปลายเดือนมกราคม พ.ศ. 2565 เราจะเห็นดาวศุกร์ตอนเช้ามืดทาง ทิศตะวันออก จนถึงประมาณปลาย เดอื นสงิ หาคมดาวศกุ รจ์ ะอยตู่ �ำ่ มากจน มองเห็นได้ยาก หลังจากน้ันต้นเดือน ธนั วาคมจะเหน็ ดาวศกุ รย์ า้ ยไปทางทศิ ตะวนั ตกเฉียงใต้ตอนหัวค�่ำ มกราคม 2565 46

เปดิ โลก นทิ านดาว ภาพการวัดั องศาบนท้้องฟ้า้ โดยเหยีียดแขนออกไปแล้ว้ ยกนิ้้ว� ตามรููป ตัวั อย่า่ งเช่่น ความกว้า้ งของนิ้้�วก้อ้ ยประมาณ 1 องศา, ความกว้้างของกำปั้้น� ประมาณ 10 องศา ฯลฯ ที่่ม� าภาพ : Time and Date https://www.timeanddate.com/astronomy/measuring-the-sky-by-hand.html ภาพเสี้ย� วดาวศุกุ ร์์เมื่�อมองผ่่านกล้้องดููดาวบนโลก ถ่่ายโดย Statis Kalyvas ที่่ม� าภาพ : Wikipedia https://en.wikipedia.org/wiki/Venus ดาวศกุ รท์ เ่ี หน็ ตอนเชา้ มดื มชี อ่ื เรยี กวา่ ดาวประกายพรึก หรอื ดาวรุ่ง (morning star) และดาวศกุ รท์ เ่ี หน็ ตอนหวั ค�่ำ เรยี กวา่ ดาวประจำ�เมือง (evening star) เมอ่ื มองดาวศกุ รผ์ า่ นกลอ้ งโทรทรรศน์ หรือกล้องดูดาวจะเห็นดาวศุกร์เป็นเส้ียว คลา้ ยดวงจนั ทร์ เนอ่ื งจากมมุ มองจากบนโลก (แนะน�ำ กลอ้ งทม่ี หี นา้ กลอ้ งกวา้ งมากกวา่ 60 มิลลิเมตร หรือ 2.4 นิว้ กำ�ลังขยาย มากกวา่ 50 เท่าข้ึนไป) มกราคม 2565 47

อยมา่ นังอนเอ๋ปน้ี น็ เ่ี อง by อาจารย์เจษฎ์ https://www.facebook.com/OhISeebyAjarnJess/ วัคั ซีนี ป้้องกันั โควิดิ 19 สำ�ำ หรัับเด็ก็ อายุตุ ่ำ��ำ กว่า่ 5 ปีี ส�ำ หรับท่านผู้ปกครองที่มีลูกเล็กอายุตั้งแต่ 5 ขวบ โดยอ้างอิงจากรายงานข่าวของสำ�นักข่าวอิศรา รายงาน ลงไป ซ่ึงกังวลว่ายังไม่ได้ฉีดวัคซีนป้องกัน สถานการณ์เกี่ยวกับการระบาดของไวรัสก่อโรคโควิด 19 ที่ โควิด 19 ตอนนี้เขาพัฒนาและทดสอบระดับคลินิกใกล้ สหรัฐอเมริกา นายแพทย์แอนโทนี ฟาวซี ผู้เช่ียวชาญด้าน เสรจ็ แลว้ นะครบั โดยจะเปน็ การใชว้ คั ซนี mRNA ของไฟเซอร์ โรคติดต่อของสหรัฐฯ ได้ออกมาคาดการณ์จากสถานการณ์ ระดับโดสที่ลดลงมาเหลือ 1 ใน 10 จากของเด็กโต และฉีด การระบาดในสหรัฐฯ ว่าจะต้องมีการอนุมัติวัคซีนให้แก่เด็ก 3 เข็ม (ถ้าเดก็ เลก็ จะเหลอื 1 ใน 3 และฉดี 2 เข็ม) ทมี่ ีอายุตำ�่ กว่า 5 ปี ในอกี ไมก่ ี่เดอื นข้างหน้านี้ ซง่ึ ข่าวล่าสดุ จากสหรัฐอเมรกิ าบอกว่า เด็กอเมรกิ นั นา่ จะ “มนั เปน็ สง่ิ ทต่ี อ้ งอนมุ ตั ภิ ายในไตรมาสแรกของปี พ.ศ. 2565 ได้เร่ิมฉดี กันไดภ้ ายในไตรมาสแรกของปี พ.ศ. 2565 นี้ และ ซง่ึ ผมหวงั วา่ เรว็ กวา่ น้ีในไตรมาสแรกๆ แทนทจี่ ะเปน็ ในไตรมาส ถ้าหากประมาณการของประเทศไทย น่าจะอนุมัติประมาณ หลงั ๆ” นายแพทย์ฟาวซกี ล่าว กลางปีนเี้ ปน็ อยา่ งเร็วครบั มกราคม 2565 48

อยมา่ นังอนเอ๋ปน้ี น็ เ่ี อง โดยขณะนม้ี รี ายงานวา่ องคก์ ารอาหารและยา ของสหรัฐฯ ได้ขยายขอบการใช้งานวัคซีน บูสเตอร์ของบริษัทไฟเซอร์ไปยังกลุ่มเด็กโตแล้ว หลังจากการพุ่งข้ึนของเชื้อก่อโรคโควิด 19 สายพนั ธ์ุโอไมครอน ซ่งึ ก่อนหนา้ นีน้ น้ั มีการแจก วคั ซนี ใหแ้ กเ่ ดก็ ทมี่ อี ายตุ ง้ั แต่ 5-11 ปแี ลว้ ในชว่ ง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2564 ที่ผ่านมา ขณะท่ีผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพก็ได้กล่าวว่า เดก็ ทม่ี สี ขุ ภาพดนี น้ั ควรไดร้ บั การปกปอ้ งหลงั จาก ไดร้ บั วัคซนี โดสทสี่ องไปแล้ว “แน่นอนว่าจะต้องมีการศึกษาเพ่ิมเติมใน เด็กท่มี อี ายตุ ้ังแต่ 6 เดือน ไปจนถงึ เดก็ ทม่ี ีอายุ 4-5 ป”ี นายแพทยฟ์ าวซกี ลา่ วในขณะทม่ี รี ายงาน ว่าบริษัทไฟเซอร์นั้นก็กำ�ลังศึกษาการใช้งาน วคั ซนี โดยเฉพาะวคั ซนี ในโดสทม่ี ปี ระมาณนอ้ ยกวา่ เพอ่ื จะใช้ในเด็กอายตุ �ำ่ กว่า 5 ปี อน่ึงการคาดการณ์ของนายแพทย์ฟาวซีนั้น เกิดข้ึนไม่ก่ีชั่วโมงก่อนที่องค์การอาหารและยา สหรัฐฯ จะได้อนุมัติวัคซีนไฟเซอร์เพื่อใช้ใน การฉดี บูสเตอร์ในกลมุ่ เด็กท่ีมอี ายุ 12 ปี ขณะทก่ี อ่ นหนา้ นมี้ แี คเ่ ดก็ ทม่ี อี ายุ 16 ปขี น้ึ ไป เท่าน้ันท่ีจะได้รับอนุญาตให้ได้รับวัคซีนโดส เพิ่มเติม โดยการฉีดวัคซีนบูสเตอร์ในกลุ่มเด็ก ทอี่ ายุ 16-17 ปี ได้รับการอนมุ ตั ใิ นช่วงตน้ เดอื น ธันวาคม พ.ศ. 2464 ที่ผ่านมา ขณะท่ีการฉีด วคั ซนี โดสแรกเรม่ิ ในกลมุ่ เดก็ ทมี่ อี ายุ 12-15 ปนี น้ั เกิดขน้ึ ในชว่ งเดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2564 อา้ งอิงข้อมลู ข่าวจากสำ�นักขา่ วอิสรา https://www.isranews.org/article/isranews-news/105526-Faucci.html มกราคม 2565 49

ปน้ั น�ำ้ เปน็ ปลา ดร.ชวลิต วิทยานนท์ และจารุปภา วะสี ปลาและน้ำำ�� กับั ชีวี ิิตจิิตใจของเด็็ก ถ้าเทยี บน�้ำ ทง้ั หมดทมี่ ีในโลกเทา่ กบั อา่ งอาบน�้ำ ใหญๆ่ 1 อา่ ง พน้ื ทขี่ อง พื้นทช่ี ุ่มน้�ำ หรอื Wetlands ซง่ึ หมายถงึ แหล่งนำ�้ จดื ทัง้ หมดในโลก และชายฝั่งทะเลทลี่ กึ ไม่เกิน 6 เมตร จะมพี ้ืนทร่ี วมกนั ไมเ่ กนิ 2 ชอ้ นโตะ๊ เท่านั้น พรานปลาตััวน้อ้ ยกับั ปลาบู่แ่� ม่่น้้ำโขง Papuligobius mekongensis ที่่�ไซยะบุุรีี ชาวประมงพื้น�้ บ้า้ นตัวั จิ๋๋ว� ๆ กำลังั จัับกุ้้�งฝอยที่่�บึึงโขงหลง จัังหวัดั บึึงกาฬ นัักประมงตัวั น้้อยดำน้้ำไปตกปลากระสููบ Hampala macrolepidota พื้้�นที่่ช�ุ่�มน้้ำกุดุ ทิงิ จังั หวัดั บึงึ กาฬ มกราคม 2565 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook