Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือสามัญช่อสะอาด

คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือสามัญช่อสะอาด

Published by ปริญญา, 2021-11-17 10:20:01

Description: คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือสามัญช่อสะอาด

Keywords: ลูกเสือ, ลูกเสือช่อสะอาด,ลูกเสือสามัญ

Search

Read the Text Version

ทําไมประชาชนตองเขามามีสว นรวม ๑. ประชาชนมีความรูความสามารถ ๒. เพื่อแกป ญหาสงั คม “ปญ หาของเรา” ๓. เพ่ือสรา งความสัมพันธที่ดีในชุมชน ๔. เพื่อสรา งผูนาํ ในอนาคต ๕. สรา งแนวทางในการแกปญหารว มกนั การมสี ว นรวมของประชาชนในฐานะท่เี ปนพลเมืองในเร่ือง ตอไปนี้ ๑. การมสี ว นรวมในการปฏิบัติตามกฎหมาย เพื่อสรางความยุตธิ รรมใหเ กิดขนึ้ ในสังคม ๒. การมสี วนรว มในการตัดสนิ ใจอยางมีเหตุผล ในเรอื่ งเก่ยี วกับสาธารณชนและชุมชน ๓. การมีสว นรว มในการดาํ เนินกิจกรรมของกลุม และของชุมชน ในฐานะสมาชกิ หรือผูนํา ๔. การมีสว นรว มในการแกไขปญ หา หรือความขดั แยง โดยสันติวิธแี ละมคี วามรับผดิ ชอบ ๕. การปฏิบัติตนตอผูอ่ืนในสถานที่ทํางานดวยความยุติธรรม ท้ังในฐานะนายจาง ลูกจาง และเพ่ือน รว มงาน การที่จะทําใหเกิดผลสําเร็จน้ันขึ้นอยูกับปจจัยสําคัญ คือ การมีวิถีชีวิตแบบประชาธิปไตยของบุคคล ซงึ่ ประกอบดวยพฤตกิ รรมท่ีแสดงในลกั ษณะ ดังนี้ • เคารพในสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย • เคารพซ่ึงกนั และกนั ทางกาย วาจา • เคารพในสิทธขิ องผูอ่ืน • เคารพในความคดิ เหน็ ของผอู ื่น • เคารพในกฎระเบียบของสังคม • มีเสรภี าพและใชเสรีภาพในขอบเขต • รจู กั ประสานประโยชน โดยถอื ประโยชนของสวนรวมหรอื ของชาติเปน ทีต่ ั้ง • รวมมอื กนั ในการทาํ งาน • เหน็ แกประโยชนส วนรวม • รบั ผดิ ชอบตอ หนาที่ • มีน้ําหน่ึงใจเดียว รักหมูคณะ ชว ยเหลอื เก้ือกลู กัน • การไมถอื ตนเปน ใหญ • เนน การใชป ญ ญา ใชเหตุผล และความถูกตองในการตัดสินปญ หา • เมื่อมีปญหาโตแยง ตองพยายามใชเหตุผลใหเห็นคลอยตาม วิธีสุดทายคือการออกเสียง หรอื ใชเ สยี งขา งมาก • เมือ่ ไดร ับขา วสารขอมลู แลววิเคราะหป ระมวลเหตกุ ารณต าง ๆ ดวยสตปิ ญ ญา ประโยชนของการมีสว นรวม ๑. เพ่ิมคณุ ภาพในการตัดสินใจ (ตรงตามความตอ งการ) ๒. สรางฉนั ทามติ (ลดความขัดแยง) ๓. เพิม่ ความงา ยตอการนําไปปฏิบัติ (ความเปนเจา ของรวม) ๔. ดํารงไวซงึ่ ความนาเชื่อถือ/ชอบธรรม ๘๙ 90

ใบความรทู ่ี ๒ เร่ือง การปฏิบัตติ นเปน แบบอยางทีด่ ีและการมีสวนรวม การปฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดี หมายถึง การแสดงออก การประพฤติและปฏิบัติ ในดานบุคลิกภาพ ทั่วไป การแตงกาย กิริยา วาจา คุณธรรมจริยธรรมท่ีเหมาะสมอยางสมํ่าเสมอ ท่ีทําใหผูพบเห็นเล่ือมใสศรัทธา และถือเปน แบบอยาง การมสี วนรว ม หมายถึง การกระจายโอกาสใหมีสวนรวม ในการตัดสินใจในเรื่องตาง ๆ การมีสวนรวม ในการปองกันการทุจริต การคอรรัปชัน และรวมตรวจสอบการใชอํานาจหนาที่ของรัฐ รวมท้ังการจัดสรร ทรพั ยากรของชมุ ชนและของชาติ ที่จะสง ผลกระทบกบั วิถชี วี ติ ความเปนอยู สภาพปจจบุ นั มีปญหามากมาย เชน ธุรกจิ นอกกฎหมาย การคอรรัปชัน การพนัน โสเภณี ฯลฯ เหตุเกิด เพราะการปฏิบัติตนขาดคุณธรรม ไมซื่อสัตยสุจริต ซึ่งการประพฤติปฏิบัติตนท่ีถูกตอง ภูมิใจในการทําความดี รังเกียจคนโกง มีประโยชนทั้งตอตนเอง ตอผูอ่ืน ตอสังคม และตอประเทศชาติ จะชวยแกไขปญหาที่เกิดข้ึน สําหรับนักเรียนเร่ิมจากการเคารพกฎกติกาพ้ืนฐานงาย ๆ เชน ตอคิว ไมพูดปด ไมขีดเขียนฝาผนัง การปฏิบัติ ตนเปนแบบอยา งท่ดี ีและการมีสว นรวม เสนอแนะแนวทาง คือ ๑. ประพฤติปฏิบัติตนอยางเรียบงาย ดวยความอุตสาหะ ขยัน อดทน มุงมั่น รับผิดชอบงานที่รับ มอบหมายอยางตั้งใจ ใหเสร็จทันเวลา ประหยัดและคุมคา ชวยลดคาใชจายในโรงเรียนดวยการปดนํ้า ปดไฟ ทุกคร้ังที่ไมไดใชงาน รวมถึงการรณรงคและปลูกจิตสํานึกในการชวยกันประหยัดนํ้า ประหยัดไฟฟาทุกคร้ัง กอ นออกจากหอ งเรียน หรือทํากจิ กรรมใด ๆ ทใ่ี ชน ้าํ หรอื ไฟ ๒. ประพฤติปฏิบัติตนตามหลักศาสนา ยึดมั่นในคุณธรรมจริยธรรม มีความศรัทธาและหลีกเลี่ยง อบายมุขทุกชนิด ปฏิบัติตนเปนแบบอยางท่ีดีตอเพื่อนนักเรียน เขารวมกิจกรรมวันสําคัญทางพุทธศาสนา การทําบุญตักบาตร ปฏิบัติอยางตอเนื่องเปนนิสัย แนะนํา ตักเตือนเพื่อนและนักเรียนใหหลีกเลี่ยงอบายมุข ทุกชนดิ ๓. ประพฤติปฏิบัติตนโดยยึดมน่ั ในหลกั นิติธรรม ยืนหยัดกระทาํ ในสิ่งท่ีถูกตองเปนธรรม และชอบดวย กฎหมาย ไมกระทําในสิ่งที่ผิดกฎหมาย ไมผิดศีลธรรมประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงามของทองถ่ิน ชวยรักษา และทาํ นุบํารงุ ศาสนา ประเพณี และวฒั นธรรมตามสมควร ไมยงุ เกีย่ วกบั ส่งิ เสพตดิ การกระทําผดิ กฎหมาย ๔. ประพฤตปิ ฏิบตั ติ นในการใชส ทิ ธแิ ละหนา ท่ีตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข มสี ว นรว มในการสง เสริมสนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวของในระดับโรงเรียน ใหความรวมมือในการเลือกต้ัง สภานกั เรยี น หรอื แมแตการเลือกหัวหนา หอ งเรียน ๕. ประพฤติปฏิบัติตนในการมีสวนรวมอนุรักษวัฒนธรรมไทยและสิ่งแวดลอม มีสวนรวมในกิจกรรม ของโรงเรียนและชุมชน โดยการเขารวมกิจกรรมแหเทียนพรรษาประจําปของชุมชน กิจกรรมวันลอยกระทง กิจกรรมวันพอ วันแมแหงชาติ และกิจกรรมอนุรักษพลังงาน เพื่อเปนการสงเสริมและชวยกันรักษาประเพณี วฒั นธรรมอนั ดี กจิ กรรม กิจกรรม วนั ลอยกระทง แหเ ทยี นพรรษา ๙๐ 91

ใบงานกิจกรรมที่ ๑ ปลกู ตน ไมแ หง ความดี คาํ ชแี้ จง วทิ ยากรอธบิ ายกฎ กตกิ า และการดาํ เนินกิจกรรม กติกา วทิ ยากรตัง้ คําถามทีละคําถาม ใหผูเ ขารับการฝก อบรมนําใบไมท ่เี ขียนคาํ ตอบจากคําถาม แลวไปติดกับ กิง่ ของตน ไมน้ี คําถาม เราจะมสี วนรว มในการปอ งกนั การทจุ รติ อยางไร ๑. สมาชิกของหมูทกุ คนตอ งเขยี นและนําไปติดในเวลาท่ีกาํ หนด ๒. ใหส มาชกิ แตละหมู ผลัดกันอานขอความบนใบไมใ หเพ่ือน ๆ หมูอ่ืนฟง ๓. ผเู ขารบั การฝกอบรมชว ยกันสรุปวา เรยี นรอู ะไรจากกิจกรรม วิทยากรสรปุ อปุ กรณ ๑. ภาพวาดตนไมหมูละ ๑ ตน แตต นไมนี้ไมม ีใบ ๒. ใบไมสี จํานวน ๒๐ ใบ ๓. แผนกระดาน/แผน ชารต ติดภาพตนไม ๔. กระดาษ สเี มจิก กรรไกร กาว กระดาษกาว สรุป เชือ่ มโยงใหเ หน็ วา ตวั เรา ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ ก็เปรียบเหมือนตนไม ถา ชว ยกัน บาํ รุงดูแลอยางดี กจ็ ะเจริญงอกงามใหด อกใหผลเปนประโยชนต อ คนทุกคน เหมือนการรวมพลังเสนทางสคู วามดี ปลกู ตนไมแหง ความดี ๙๑ 92

ใบงานกิจกรรมที่ ๒ คดิ อยางมเี หตุผล คาํ ชแี้ จง วทิ ยากรอธิบายกติกา และการดาํ เนินกิจกรรม กตกิ า ๑. วิทยากรแจกดินสอใหแตล ะหมู โดยมดี ินสอมากกวาสมาชิกในหมู จาํ นวน ๔ แทง ๒. สมาชิกแตละหมูแบงดินสอ และอธิบายวิธีแบงดินสอ พรอมท้ังใหเหตุผลในการแบงของท่ีสมาชิก แตล ะคนไดไมเทากนั และเปนทย่ี อมรับของสมาชิกในกลุม ๓. ผูเขา รบั การฝก อบรมชวยกันสรุปวา ไดเรียนรูอะไรจากกิจกรรม วิทยากรสรุป อุปกรณ ดนิ สอ สรุป การมีสวนรวมในการปองกันการทุจริต จําเปนตองมีการปรึกษาหารือกับบุคคลหลายฝายท่ีเก่ียวของ รูจักใชเหตุผล การแสดงความคิดเห็นสงผลดีตอการทํางานรวมกันในการปองกันการทุจริต การใชเหตุผลเปน พน้ื ฐานในการตัดสนิ ใจจะชว ยในการแกไขและตัดสนิ ปญหาใหยตุ ิ ๙๒ 93

ใบงานกจิ กรรมท่ี ๓ กฎหมายกับชีวิต คาํ ชี้แจง วิทยากรใหผูเขารับการฝกอบรมอานกรณีศึกษาแลว อภิปรายรวมกัน รวมกันสรุปตามหัวขอ ทก่ี ําหนดให กรณีศึกษา อองเปนนักเรียนตางดาวโรงเรียนประถมแหงหนึ่ง กําลังเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี ๔ อายุ ๑๓ ป พอแมของเขาเปนชาวพมาที่มาทํางานอยูท่ีเมืองไทย มีฐานะยากจน เชาหองแถวพักอาศัย แมเปนเบาหวาน และโรคความดันสูง พอทํางานคนเดียว รายไดไมมากนัก อองจึงจําเปนตองชวยพอแมทํางานหารายไดพิเศษ เพ่อื มาจุนเจอื ครอบครวั หลงั เลิกเรียนตอนเย็น มีงานหลายอยางท่ีอองนา จะเลอื กทาํ ได ไดแ ก ๑. ทํางานขายซดี ีเถือ่ นท่ตี ลาดนัดใกลบาน ชวงเวลา ๑๗.๐๐ - ๒๑.๐๐ น. รายไดว นั ละ ๑๒๐ บาท ๒. ทํางานเปนเด็กเสริฟรานอาหารตามสั่งติดบริเวณหองพัก ชวงเวลา ๑๗.๐๐ - ๒๑.๓๐ น. รายได วนั ละ ๘๐ บาท มีอาหารใหก นิ ๒ ม้อื คือ มื้อเย็นและกอนกลับบาน มีคาทิปเพ่ิมจากลูกคาวันละ ๑๐ - ๓๐ บาท ทกุ วัน ๓. รับสงยาบาจากผูมีอิทธิพลใหกับคนเสพท้ังคนไทยและคนพมาในพื้นที่ใกลเคียงและที่พักอาศัย รายได วนั ละ ๓๐๐ บาท คาํ ถาม ผูเขา รบั การฝกอบรมเปน เพ่ือนออ งในชั้นเรียน จะมสี วนรวมชว ยตัดสนิ ใจอยา งไร จงอธิบายเหตผุ ล แนวคําตอบ เลือกทาํ งานเด็กเสริฟท่ีรานอาหารตามส่ัง เพราะอยูใกลบานพัก เปนงานท่ีสุจริตไมผิดกฎหมาย รายได อาจไมมากนักแตมีอาหารใหกิน ๒ ม้ือ มีทิปพิเศษเพ่ิม สวนงานขายซีดีเถ่ือนและสงขายยาบาเปนงานที่ ผิดกฎหมาย เปนอาชีพที่ทุจริต ยอมมีความผิดและถูกลงโทษ เปนอาชีพที่ไมเหมาะกับนักเรียน เมื่อทําตอไป อาจทาํ ใหเ กดิ แรงจูงใจกระทาํ ในสง่ิ ทไี่ มดีงามเพมิ่ ขึน้ หมายเหตุ อาจตอบเปน อยางอื่นใหอยูในดุลยพินิจของวทิ ยากร ทาํ งานเดก็ เสรฟิ ๙๓ 94

ใบงานกิจกรรมท่ี ๔ ทัศนคติและคา นิยม คําช้ีแจง วทิ ยากรอธิบายและสาธิตการเลนเกม กอนมาเปน มนษุ ยแ ละเทวดา กติกา กําหนดใหส มาชิกทุกคนจบั คกู นั เรมิ่ ตน เปนแมลงหว่ี ทาํ มอื บนิ ขางลําตัวและออกเสียงหวี แลวเปายิงชุบ ใครเปา ยิงชุบแพยังเปนแมลงหว่ี สวนผูชนะใหพฒั นาเปลี่ยนเปน ลาํ ดับท่ี ๒ เปนนกกา คนที่ชนะเปายิงชุบกับคน ที่ชนะ คือนกกา กางแขนทําทาบินและออกเสียงกา คนท่ีแพเปายิงชุบกับคนที่แพ คือแมลงหว่ี ลําดับท่ี ๓ เปนกระตาย นาํ ฝา มือทาํ เปน หูกระตายและออกเสียงกระตาย ลําดับท่ี ๔ เปน ลงิ ทําทา ลงิ และออกเสียง เจี๊ยก ๆ ลําดับท่ี ๕ เปนมนุษยทําทายืนหลอ ลําดับท่ี ๖ เปนเทวดายืนทาตรง ฝามือท้ังสองประกบเหนือศีรษะและ กลับมาน่ังท่ีตามเดิม ทําจับคูลักษณะเชนนี้จนถึงลําดับท่ี ๖ แลวหยุด จะมีคนท่ีแพเหลืออยางละ ๑ คน คือ แมลงหว่ี ๑ คน นกกา ๑ คน กระตา ย ๑ คน ลิง ๑ คน มนุษย ๑ คน สว นเทวดาเปน ผูชนะจะมหี ลายคน สรปุ คนเรายงั มที ศั นคตแิ ละคา นยิ มติดกบั การแขง ขัน เอาชนะไมย อมรบั ความพายแพและไมยอมกัน จึงทําให เกิดการคดโกง การปดบัง การทุจริต ไมซื่อสัตย ฯลฯ พวกเราทุกคนตองชวยกันเปลี่ยนทัศนคติและคานิยม เสยี ใหม ถา ยังเปลี่ยนแปลงไมได ตวั เรา สงั คม และประเทศชาติ ก็จะพบกับการคดโกงอยา งนี้ ใบงานกิจกรรมท่ี ๕ ปฏบิ ัติตนเปน แบบอยางทีด่ ีและการมีสวนรว ม คาํ ชแี้ จง ใหผเู ขา รบั การฝกอบรมแตล ะหมูเลือกขา วเก่ียวกับการทุจริต คดโกง คอรรัปชัน จํานวน ๒ ขาว จาก หนงั สอื พิมพ แลว วิเคราะหต ามประเดน็ ทกี่ ําหนด • ขาวที่ ๑ ๑. ช่ือขาว .............................. ๒. ประเด็นสาํ คญั ของขาวทเ่ี ก่ียวกับการทจุ รติ คดโกง คอรรัปชนั คืออะไร ๓. จากขาวนี้ เราจะปฏิบัตติ นกบั การมสี วนรว มในการปองกันการทุจริตอยางไร • ขา วที่ ๒ ๑. ชอ่ื ขาว .............................. ๒. ประเด็นสาํ คัญของขาวทเ่ี ก่ียวกับการทุจรติ คดโกง คอรรัปชนั คอื อะไร ๓. จากขาวน้ี เราจะปฏิบัตติ นกับการมีสวนรว มในการปองกันการทจุ ริตอยางไร ๙๔ 95

แบบประเมินพฤติกรรมการทาํ งาน ระดับความพึงพอใจ หมู ............................... ดี พอใช ปรับปรุง คาํ ชแี้ จง ทําเครือ่ งหมายในชอ งท่ีตรงกบั ความจรงิ (๓) (๒) (๑) ขอ รายการประเมิน ๑ มกี ารปรกึ ษาและวางแผนรวมกันกอนทาํ งาน ๒ มีการแบงหนาที่อยางเหมาะสมและตามหนาทท่ี ุกคน ๓ ปฏบิ ตั หิ นา ทีต่ ามขัน้ ตอน ๔ มีการใหความชว ยเหลอื กัน ๕ ทํางานเปน ไปตามวตั ถปุ ระสงคท่กี าํ หนด ๖ ทํางานเสรจ็ ตามกําหนดเวลา ๗ แสดงออกถึงความคิดริเริ่มสรางสรรค ๘ นําความรูท ีไ่ ดมาประยุกตใช ๙ สามารถใหคาํ แนะนํากลมุ อ่ืนได ๑๐ จัดวสั ดอุ ปุ กรณเ รียบรอยหลังเลิกปฏิบตั งิ าน รวม รวมท้ังส้ิน (ดี + พอใช + ปรับปรงุ ) ผลการประเมินคุณภาพอยูในระดับ............... ลงช่ือ..............................................ผปู ระเมนิ (.............................................) เกณฑการใหค ะแนน พฤติกรรมท่ปี ฏบิ ตั ชิ ดั เจนและสมํา่ เสมอ ถือวา ดี ให ๓ คะแนน พฤติกรรมทีป่ ฏบิ ัตบิ อยครง้ั ถือวา พอใช ให ๒ คะแนน พฤติกรรมที่ปฏบิ ัตบิ างครั้งนาน ๆ ครั้ง ถอื วา ปรบั ปรุง ให ๑ คะแนน เกณฑตดั สนิ คณุ ภาพ ชวงคะแนน ระดบั คุณภาพ ๒๔ - ๓๐ ดี ๑๘ - ๒๓ ๑๐ - ๑๗ พอใช ปรับปรงุ ๙๕ 96

ชอื่ วิชา ลูกเสือกบั การชุมนมุ รอบกองไฟ บทเรียนท่ี ๑๒ เวลา ๑๕๐ นาที ขอบขา ยรายวิชา ๑. ความเปนมา ๒. ความมุง หมายของการชมุ นุมรอบกองไฟ ๓. สถานที่ใชชุมนุมรอบกองไฟ ๔. การเตรียมการกอนเร่ิมการชมุ นุมรอบกองไฟ ๕. การจัดกองไฟ ๖. การจัดท่นี ง่ั รอบกองไฟ ใหจัดเปน รปู วงกลมหรอื เกอื กมา ๗. พธิ เี ปด การชมุ นุมรอบกองไฟ ๘. กาํ หนดการชุมนมุ รอบกองไฟ ๙. การเปลีย่ นอริ ิยาบถของผูเขาชุมนมุ ๑๐. พธิ ีปดการชุมนุมรอบกองไฟ จุดหมาย เพื่อใหลูกเสอื สามัญสามารถเขา รวม และปฏบิ ัติกิจกรรมตามข้นั ตอนการชมุ นมุ รอบกองไฟ วตั ถุประสงค เม่อื จบบทเรียนน้ีแลว ลูกเสอื สามญั สามารถ ๑. บอกข้นั ตอนการชมุ นมุ รอบกองไฟได ๒. ปฏิบัตติ ามขน้ั ตอนการชมุ นมุ รอบกองไฟได ๓. นาํ ความรูเ กย่ี วกับความซื่อสตั ยส ุจริต จัดแสดงในการชุมนมุ รอบกองไฟได วธิ สี อน/กจิ กรรม กิจกรรมยอยท่ี ๑ (๓๐ นาที) ๑. อธิบายประวตั ิความเปนมา ความมุง หมายของการชุมนุมรอบกองไฟ ๒. สาธิตข้ันตอนการชุมนมุ รอบกองไฟ การทําความเคารพ การกลา วชมเชย และการตอบรบั คําชมเชย ตามแบบลกู เสือ ๓. นดั หมายหมบู ริการรอบกองไฟ เพ่อื จดั เตรยี มสถานที่ พวงมาลยั พุมสลาก ๔. นดั หมายกําหนดเวลาในการเขารว มการชุมนุมรอบกองไฟ การสง รายชือ่ การแสดง กิจกรรมยอยที่ ๒ (๑๒๐ นาที) ๑. ผเู ขา รว มชุมนมุ น่ังประจําทบี่ ริเวณรอบกองไฟ ๒. พิธีกรนํากิจกรรมเพื่อเตรียมความพรอม ซักซอมแนวปฏิบัติในการชุมนุมรอบกองไฟ แนะนําผูเปน ประธานในพธิ ี ๓. พิธีกรเชิญประธานพิธีเปดการชุมนุมรอบกองไฟ และจับสลากการแสดงใหผูเขารวมชุมนุมแสดง รอบกองไฟตามลําดบั ๔. พธิ ีกรจดั กจิ กรรม เพือ่ เปลี่ยนอริ ิยาบถของผูเขารวมชมุ นุมตามความเหมาะสม ๕. เม่อื ทกุ หมูแสดงจบ พธิ กี รเชิญประธานใหขอคิด และกลาวปด การชมุ นุมรอบกองไฟ ๙๖ 97

สื่อการสอน ๑. เครือ่ งดนตรี เชน กลอง ฉิ่ง ฉาบ กรับ ฯลฯ ๒. เคร่ืองประกอบการแตง กายในการแสดง ๓. เคร่ืองเสียง/กองไฟ/กองไฟจําลอง ๔. ใบความรูท่ี ๑ เร่ือง การชุมนมุ รอบกองไฟ การประเมินผล ๑. วิธีการวัดผล : สังเกตพฤติกรรมในการเขารว มกจิ กรรมชุมนมุ รอบกองไฟ ๒. เครอื่ งมือวดั ผล : แบบประเมนิ การปฏิบตั ิกิจกรรม ๓. เกณฑการประเมินผล : ระดับคณุ ภาพดี หมายถงึ ผา น เน้ือหาวิชา การชุมนุมรอบกองไฟ ใบความรทู ่ี ๑ เร่อื ง การชมุ นุมรอบกองไฟ ๑. ความเปน มา จากประสบการณในชีวิตทหารของลอรด เบเดน - โพเอลล (บี-พี) ที่ไดพบเห็นการพักแรมคืนของพอคา ซ่ึงเดินทางรอนแรมไปตางเมือง และวิธีการของชาวพื้นเมือง ซ่ึงมีการชุมนุมกันในยามค่ําคืน เปนการพักผอน สนทนาแลกเปล่ียนความคิดเห็น ปรึกษาหารือกัน มีการรวมสนุกสนานดวยการรองเพลงและแสดงกิจกรรมตาง ๆ เปน การผอ นคลายอารมณแ ละบรรเทาความเหนอื่ ยลา มาจากกลางวนั จึงไดนําวิธีการน้ีมาทดลองใชในการนําเด็ก ซ่ึงอาจเรียกวาเปนลูกเสือรุนแรกของโลก ไปอยูคายพักแรมท่ีเกาะบราวนซี ประเทศอังกฤษ ใน ค.ศ. ๑๙๐๗ (พ.ศ. ๒๔๕๐) โดยใหลูกเสือมาชุมนุมพรอมกันรอบกองไฟในตอนกลางคืน และใชเวลาน้ันฝกอบรมประกอบ การเลานิทาน และมีการรวมแสดงใหเกิดความสนุกสนานไดผลเปนอยางดี จึงไดนํามาใชเปนวิธีการฝกอบรม ลูกเสือสืบตอมาจนปจจุบันน้ี การชุมนุมรอบกองไฟในภาษาอังกฤษเรียกวา “CAMP FIRE” เดิมเรียกกัน ในภาษาไทยวา การเลนหรอื การแสดงรอบกองไฟ เปน เพยี งสว นหน่งึ ของการชุมนุมรอบกองไฟเทานนั้ ๒. ความมุงหมายของการชุมนมุ รอบกองไฟ การชมุ นมุ รอบกองไฟ มีความมุงหมายสําคญั อยู ๕ ประการ เพ่อื ๒.๑ เปน การฝกอบรมตอนกลางคืน ดังท่ี ลอรด เบเดน - โพเอลล (บี-พี) ใชในการฝกอบรมเด็กท่ีไปอยู คายพักแรม ณ เกาะบราวนซี ๒.๒ ใหลูกเสือรองเพลงรวมกัน หรือแสดงกิริยาอาการอยางเดียวกัน เปนการปลุกใจหรือเปล่ียน อารมณใหเ กดิ ความสนุกสนานเบกิ บานใจ ผอ นคลายความเครงเครยี ดใหบ รรเทาเบาบางลง ๒.๓ ใหลูกเสือแตละคนมีโอกาสแสดงออกในท่ีชุมนุม โดยไมเกอเขินกระดากอาย เปนการสงเสริม ความสามัคคีของหมู ใหท ุกคนรจู กั ทาํ งานรว มกบั ผอู ่นื และทําใหรูค วามสามารถของแตล ะคนไดด ี ๒.๔ ใชเปนโอกาสสําหรับประกอบพิธีสําคัญบางกรณี เชน แนะนําบุคคลสําคัญในกิจการลูกเสือ เชน แนะนาํ ผมู ีเกยี รติสาํ คัญท่มี าเยีย่ ม การมอบเครื่องหมายวูดแบดจ เคร่ืองหมายตอบแทน เข็มสมนาคุณหรือ ประกาศนียบัตรตาง ๆ ๒.๕ เชิญบุคคลสําคัญในทองถ่ินตลอดจนประชาชนทั่วไป เปนการประชาสัมพันธและสงเสริมกิจการ ลกู เสอื อกี ทางหน่ึง ๙๗ 98

๓. สถานท่ใี ชช มุ นมุ รอบกองไฟ คา ยลูกเสอื ทุกแหง ควรมีบริเวณสาํ หรบั การชมุ นุมรอบกองไฟไวโดยเฉพาะ อยูท่ีมุมหนึ่งของคายลูกเสือ และควรอยูหางจากที่พักพอสมควร ไมไกลเกินไป เพื่อมิตองเสียเวลาและเกิดความยุงยากเม่ือลูกเสือตองเดิน จากทีพ่ ักไปยังบรเิ วณการชุมนมุ รอบกองไฟ และตอ งเดนิ กลับเมอ่ื การชุมนมุ เลิกแลว สวนบริเวณการชุมนุมรอบ กองไฟควรมตี น ไมเ ปน ฉากหลัง จะทําใหบรรยากาศดขี ้ึน และจะทําใหการรอ งเพลงไดผ ลดกี วาท่โี ลง แจง อนงึ่ ในการเลือกสถานที่สําหรับการชุมนุมรอบกองไฟน้ี ถาสามารถหาท่ีเปนแองใหลูกเสือนั่งอยูเหนือ กองไฟเล็กนอยจะดีมาก เชน ในบริเวณที่มีเนินอาจจัดทําบริเวณการแสดงและกองไฟอยูตอนลาง สวนลูกเสือ ใหน่ังอยูบนเนินหรือจัดทําบริเวณการแสดงและกองไฟใหอยูบนเกาะ มีคูนํ้าลอมรอบ ผูชมน่ังอยูริมคูนํ้า อีกดานหนึ่ง สะพานขามคูทําดวยไมแบบสะพานชั่วคราว ปรากฏวาสถานที่การชุมนุมรอบกองไฟเชนวานี้ ใชการไดดีอยางย่ิง การชุมนุมรอบกองไฟนี้ถาไมสะดวก เชน ฝนตกหรือมีเหตุอื่น จะจัดภายในอาคารและ ใชก องไฟท่ใี หแสงสวางอยางอื่นแทนได ๔. การเตรียมกอนเรม่ิ ชมุ นุมรอบกองไฟ ๔.๑ คณะผูใหการฝกอบรมจะตองปรึกษาหารือกัน เพื่อกําหนดวาในการชุมนุมรอบกองไฟน้ันจะมี กิจกรรมอะไรบาง จะใหหมูใดทําหนาที่บริการ ใหผูใดเปนพิธีกร และจะเชิญผูใดเปนประธาน ซึ่งควรเปนผูที่มี ความรูความเขาใจข้ันตอนการชุมนุมรอบกองไฟดีพอสมควร หรือพิธีกรจะตองซักซอมการที่ประธานจะตอง ปฏิบัติตามขั้นตอนตาง ๆ เสียกอน ถาเปนการอยูคายพักแรมของลูกเสือตามธรรมดา โดยปกติผูกํากับลูกเสือ ทีพ่ าลูกเสือไปอยูคายพักแรมนั่นเอง จะทําหนาท่ีประธาน และใหรองผูกํากับลูกเสือหรือลูกเสือคนใดคนหนึ่งท่ี มีความสามารถ ทาํ หนาท่ีพธิ ีกร ๔.๒ พธิ กี ร คือ ผนู ําในการชมุ นุมรอบกองไฟ มหี นาที่ ๔.๒.๑ นัดหมาย • ประธาน ขน้ั ตอนท่ีจะตองปฏิบตั ิ • ผรู วมแสดง ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิ การแตงเพลงประจําหมู การสงเรือ่ งที่จะแสดง เวลาท่ี ใชใ นการแสดง การแตง กายตามเน้ือเรื่อง การรายงานเม่ือเริ่มแสดง • การกลาวชมเชย การตอบรับคําชมเชย การกลาวเมื่อมีผูมาเยี่ยม ขอหามในเน้ือเร่ืองที่ จะแสดง • หมูบริการ ใหจัดสถานท่ีกองไฟ จัดทําพวงมาลัย ทําพุมสลากและคนถือขบวนแห การชวยเหลอื พธิ กี ร การทําความสะอาดสถานทีเ่ มื่อเลิกการแสดง ๔.๒.๒ ชี้แจงลําดบั การชมุ นมุ ซักซอมขอปฏบิ ตั ิ ขอหา ม ๔.๒.๓ ประกาศชือ่ ผทู ี่จะมาเปน ประธานและผตู ิดตาม ๔.๒.๔. เชญิ ประธานและผูต ดิ ตามเขา สทู ีป่ ระชุม ๔.๒.๕ ควบคมุ และดาํ เนินการใหถูกตอง โดยใหผูเ ขา รว มชุมนมุ ไดรับความสนุกสนาน ๔.๒.๖ เลือกเพลงท่จี ะนํามาใช ใหเหมาะสมกบั ผูเขารว มชมุ นมุ ๔.๒.๗ รักษาเวลาโดยเครง ครัด ๙๘ 99

๕. การจัดกองไฟ กองไฟอาจจะเปนกองไฟที่กอดวยไมจริง โดยกอเปนแบบผสม (แบบคอกหมู + แบบปรามิด) หรือจะ ใชไฟใหแสงสวางอยางอ่ืนแทนก็ได ถาเปนกองไฟจริงจะตองมีผูรับผิดชอบ ซ่ึงโดยปกติจะมอบใหหมูบริการ ในวนั นั้นทําหนาท่ีน้ี คือ มีหนาที่กอไฟใหเรียบรอยกอนทําพิธีเปด จุดแลวใหไฟติด และจะตองคอยดูแลกองไฟ ใหตดิ อยตู ลอดเวลา ในการนี้จะตองเตรียมฟนอะไหล และน้ําสาํ รองไว ถา ไฟมอดลงจะตองเติมฟนลงไป และถา ไฟลุกลามมากหรือกระเด็นออกจากกองไฟก็ตองพรมน้ําลงไปใน ปจจุบันนโยบายของรัฐบาลใหอนุรักษปาไม และสิ่งแวดลอม จึงควรละเวนการกอไฟดวยไมจริง เมื่อเลิกการชุมนุมรอบกองไฟผูมีหนาท่ีรับผิดชอบจะตอง ออกจากบริเวณไปอยางเงียบ ๆ พรอมกับผูเขารวมชุมนุมอื่น ภายหลังอีกสักครูจะตองหวนกลับมาท่ีบริเวณ การชุมนุมรอบกองไฟอีกคร้ังหนึ่ง เก็บไมใหมีเศษไมหรือเถาถานเหลืออยู เร่ืองการทําความสะอาดบริเวณ การชุมนุมรอบกองไฟนี้ อยา ถอื วาเปนเรอ่ื งเล็กนอย ตองถอื วา เปนบทเรียนอนั สาํ คัญในการฝกอบรมดวย กองไฟแบบกระโจม กองไฟแบบคอกหมู กองไฟแบบผสม ๖. การจัดทีน่ ัง่ รอบกองไฟใหจ ัดเปนรูปวงกลมหรอื เกือกมา การจัดท่ีน่ังรอบกองไฟใหจัดเปนรูปวงกลมหรือเกือกมา ใหกองไฟอยูตรงกลาง มีที่น่ังพิเศษสําหรับ ประธานและผูรับเชิญต้ังอยูในทิศทางเหนือลม ที่น่ังของประธานเปนท่ีนั่งเด่ียว ใหตั้งลํ้าหนากวาแถวของ ผูติดตามและผูรวมชมการแสดง ใหมีโตะวางพุมสลากตรงหนา สวนผูเขารวมชุมนุมโดยปกติใหน่ังตามหมู ณ สถานท่ีท่กี ําหนด การจดั ทน่ี ง่ั ของประธาน ๙๙ 100

๗. พิธเี ปดการชมุ นุมรอบกองไฟ มีข้นั ตอนการปฏิบัติ ดงั นี้ ๗.๑ เมื่อผูรวมแสดงแตงกายตามเนื้อเร่ืองที่จะแสดง เขานั่งที่เรียงตามลําดับหมูจากซายของประธาน ไปทางขวา ความพรอมควรเปนเวลากอ นเริม่ ตนแสดงทก่ี าํ หนด ประมาณ ๑๐ นาที ๗.๒ พิธีกรช้ีแจงซักซอมการปฏิบัติ แลวแจงชื่อและตําแหนงหนาท่ีการงาน หรือตําแหนงทางลูกเสือ ของผเู ปนประธานในพิธแี ละผูตดิ ตามใหท ราบทั่วกัน ๗.๓ ผูม หี นาทีข่ องหมบู ริการจดุ ไฟ ๗.๔ พธิ ีกรออกไปเชิญประธาน ซ่งึ มารอคอยอยูกอนแลวใกลทช่ี ุมนุมฯ ๗.๕ เมื่อประธานเดินเขามาในพืน้ ท่ีการแสดง พธิ ีกรสั่งตรง ทกุ คนลุกขนึ้ ยืนตรง ๗.๖ ประธานรับการเคารพแลวเดินตรงไปที่ต้ังกองไฟ ยืนอยูระยะหางพอสมควร ยกมือขวาแสดงรหัส ของลูกเสอื ชูสูงขึน้ ไปขา งหนา ทาํ มมุ กับไหลประมาณ ๔๕ องศา ๗.๗ ผูต ิดตามประธานและผมู ารว มชุมนมุ เดนิ ตามประธานเขา มา ใหเดนิ ไปยืนอยู ณ บรเิ วณท่ีจัดให ๗.๘ ประธานกลาวเปดดวยขอความท่ีเปนมงคล และจบลงดวยถอยคําวา “ขาพเจาขอเปดการชุมนุม รอบกองไฟ ณ บัดน้ี” โดยใชเ วลาประมาณ ๓ นาที ประธานยังคงยืนอยู ณ ท่ีเดิม ๗.๙ ทุกคนเขา รว มในท่ชี ุมนมุ กลาวพรอมกนั วา “ฟู” ๓ ครง้ั ๗.๑๐ พิธีกรนํารองเพลง ๑ หรือ ๒ เพลง เชน เพลงสยามานุสติ สดุดีมหาราชา เพลงสถาบันของ ผูเ ขารว มการฝกอบรม ทงั้ นี้ โดยไมม ดี นตรปี ระกอบและไมป รบมอื ๗.๑๑ จบเพลงแลว ประธานเดินกลบั ไปนงั่ ยังที่นัง่ ซึง่ จัดไว ผตู ดิ ตามนงั่ ลงตามทข่ี องตน ๗.๑๒ พิธกี รส่งั ใหผรู ว มชมุ นุม “น่งั ” ๗.๑๓ พิธีกรส่ังใหผ ถู ือพวงมาลัยและพมุ สลากมาตัง้ ขบวนอยดู า นขวามอื ของประธาน ๗.๑๔ พิธีกรนํารองเพลงเก่ียวกับแหมาลัย - พุมสลาก ขบวนเร่ิมออกเดินผานหนาประธานเวียนรอบ กองไฟ เมื่อครบ ๓ รอบ ผูถือพวงมาลัยและพุมสลากหยุดยืนตรงหนาประธาน บุคคลอ่ืน ๆ ในขบวนแห พวงมาลัยและพุมสลากใหกลับไปนั่งท่ีเดิม ผูถือพวงมาลัยสงมาลัยใหแกประธาน ผูถือพุมสลากสงใหประธาน ตามลําดบั แลว กลบั เขาทน่ี งั่ ของตน ขบวนแหพวงมาลัยปาและพมุ ฉลาก ๑๐๐ 101

ประธานรบั พมุ สลาก พธิ ีกรเชิญใหป ระธานจับสลาก ๘. การดาํ เนนิ การ ๘.๑ พธิ ีกรเปนผนู าํ การจดั กิจกรรมเพ่ือเปลี่ยนอิริยาบถ โดยการรองเพลงประกอบทาทาง หรือการเลน เกมตามความเหมาะสม ๘.๒ พธิ กี รเชญิ ใหประธานจบั สลาก รบั สลากจากประธาน อา นใหทราบวาหมใู ดจะตองแสดง ๘.๓ ใหนายหมสู ง่ั สมาชกิ ในกลมุ ใหเ คารพผูเปนประธาน “หมู……ตรง” นายหมูท ําความเคารพ ๘.๔ ทกุ คนภายในหมรู ว มกันรองเพลงประจาํ หมู ๒ จบ จงึ เริม่ การแสดง ๘.๕ เริ่มการแสดงบริเวณหนา หมูของตน โดยหันหนาไปทางประธาน ๘.๖ จบการแสดงทุกคนกลับไปยืน ณ ท่ีนั่งของตน นายหมูสั่ง “หมู….…ตรง” นายหมูทําความเคารพ แลวสัง่ สมาชิกภายในหมขู องตนนัง่ ลง ๘.๗ พิธีกรใหผูเขารวมชุมนุมซึ่งไมใชหมูท่ีแสดงคนหนึ่ง เปนผูนํากลาวชมเชยใหแกหมูที่แสดง ผูนํา กลา วชมเชยแลวเชิญชวนใหหมูอื่น ๆ ลุกข้ึนยืน แลวกลาวคําชมเชย ดังตัวอยาง เชน “พ่ีนอง.........โปรดยืนขึ้น แลวกลาวคําชมเชยใหแกหมู…….…พรอมกัน ๓ คร้ังวา “ยอดเย่ียม” ผูเขารวมชุมนุมกลาวคําชมเชยพรอมกัน และแสดงกิริยาประกอบ โดยกาวเทาซายออกไปขางหนาประมาณครึ่งกาว กํามือขวาไปไวบริเวณหัวใจ แลวผายมอื ขวาไปยงั หมทู แี่ สดงจบ พรอมกลา วคําชมเชยตามที่นดั หมายไว เสรจ็ แลวนัง่ ลง ๘.๘ หมูท่ีแสดงลุกขึ้นยืน ใชแขนขวาทับแขนซาย ต้ังฉากเสมอไหล พรอมกับคํากลาวส้ัน ๆ เชน “ขอบคณุ ครับ/คะ ” พรอ มกับนอ มตวั ลง ๑ ครง้ั ๘.๙ พิธีกรดําเนินการเชนเดียวกันน้ีไปจนครบทุกหมู เมื่อจบการแสดงของแตละหมู กอนจะเริ่ม การแสดงของหมตู อ ไป อาจมีการแนะนาํ บทเรยี น หรือประกอบพธิ ี หรือมกี จิ กรรมอื่น หรือรองเพลงเพ่ือเปลี่ยน อิรยิ าบถสลับเปนคร้งั คราวตามเวลาทเี่ หมาะสม แสดงรอบกองไฟ ๑๐๑ 102

๙. การเปลี่ยนอิริยาบถของผูเขา ชมุ นุม ในการชุมนมรอบกองไฟ การเปล่ียนอิริยาบถของผูเขาชุมนุมใหสนุกสนานราเริงเปนเร่ืองสําคัญ ผูเขา ชมุ นุมอาจจะรูสกึ เบ่อื และงวงนอน การเปล่ียนอิริยาบถของผูเขาชุมนุมน้ีอาจทําไดหลายวิธี และเปนหนาที่ของ พิธีกรที่จะตองเปนผูนํา หรือมอบหมายใหผูรูคนใดคนหนึ่งเปนผูนํา เชน นําใหรองเพลงรําวง นําใหแสดงกิริยา อาการตาง ๆ ท่ีขบขัน หรือปลุกใหเกิดความสนุกสนาน ต่ืนตาตื่นใจ ดวยวิธีการตาง ๆ ที่เห็นวาเหมาะสมกับ ผเู ขารวมชุมนมุ และเหมาะสมกบั เวลา ๑๐. พิธปี ด ๑๐.๑ เมื่อจบการแสดงของทุกหมูแลว พิธีกรจะใหมีการรองเพลงทํานองชา อาจเปนเพลงท่ีเปนคติ หรือสรางสรรคเหมาะสมกบั ผรู ว มชุมนุม ทัง้ นี้ ควรเปน เพลงท่ีสวนใหญหรือท้ังหมดไดร ว มรอ งดวย ๑๐.๒ พธิ กี รจะเชิญประธานกลา วปด ๑๐.๓ ประธานไปยืนในที่เหมาะสม กลาวเร่ืองส้ันอันเปนประโยชนในเร่ืองใด ๆ ท่ีเห็นวาเหมาะสม และจบลงดว ยถอยคําวา “ขา พเจาขอปด การชุมนุมรอบกองไฟ ณ บัดนี้” ใชเวลา ประมาณ ๑๐ นาที ๑๐.๔ พิธีกรใหทุกคนลอมวง โดยใหแขนขวาซอนบนแขนซายของตนเอง และใชมือขวาซายจับคน ขา งเคยี ง รว มกนั รองเพลงสามัคคชี มุ นุม พรอ มกบั โยกตัวไปทางขวาซายชา ๆ จนจบเพลง ๑๐.๕ ผแู ทนหมบู ริการนาํ สวดมนตอยางยาว จบแลวใหส่ังใหทุกคนหันหนาไปยังทิศที่พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวประทับอยูในขณะน้ัน ถาหากพระองคมิไดประทับอยูในประเทศไทย ใหหันหนาไปยัง พระบรมมหาราชวงั กรงุ เทพมหานคร ส่ังทาํ ความเคารพ แลว นํารองเพลงสรรเสรญิ พระบารมจี นจบ ๑๐.๖ พธิ กี รนดั หมาย ๑๐.๗ ทกุ คนแยกยา ยกนั กลับท่ีพักอยา งสงบ สวนหมูท ที่ ําหนาที่เปน หมบู ริการ กลับมาทําความสะอาด ใหเรียบรอ ย ลกู เสือรวมรอ งเพลงสามคั คชี มุ นมุ กอ นปดการชมุ นุมรอบกองไฟ ๑๑. หนาท่ีของพิธกี ร ๑๑.๑ นดั หมายสมาชกิ • เร่อื งการแสดง/เวลาสงเร่อื ง • เพลงประจําหมู • การแตง กาย • ขอ หา ม/ขอปฏิบตั ิ • ขัน้ ตอน • หนา ทห่ี มูบริการ ๑๐๒ 103

๑๑.๒ นดั หมายประธานในพิธี • เวลา/ขนั้ ตอน • การกลา วเปด • การเลา เร่อื งสัน้ ๑๑.๓ กอนการชมุ นุม • ตรวจสถานที่/อปุ กรณ/กองไฟ • รบั เร่อื งทีจ่ ะแสดง (ไมควรซ้ํากนั ) • จดั รายการใหเ หมาะสม ๑๒. ตวั อยา งคาํ กลาวเปดการชมุ นุมรอบกองไฟ ๑๒.๑ ดว ยจติ ใจอันดีของ..........ท่ีมาชุมนุม ณ กองไฟนี้ จากทิศเหนือ ทิศใต ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก ขาพเจาขอเชิญสิ่งศักด์ิสิทธิ์ทั้งหลาย จงมาเปนสักขีพยานในการชุมนุมรอบกองไฟน้ี จงนําโชคดีมาสูทาน และ ขอใหกิจการ.............จงเจริญรุงโรจน เหมือนแสงไฟอันรุงโรจน ส่ิงไมดีไมงามท้ังหลาย ขอจงมอดไหม เปน เถา ถานในกองไฟนี้ พีน่ อ ง.............ท้งั หลาย บัดนี้ ถึงเวลาแลว ขา พเจาขอเปดชมุ นมุ รอบกองไฟ ณ บดั นี้ ๑๒.๒ จากแสงไฟท่ีลุกโชติชวงอยู ณ บัดนี้ เปรียบประดุจกิจการของ.........ที่รุงโรจน สวนเถาถาน ที่มอดดับ เหมือนกับส่ิงท่ีเราทําผิดพลาดไว ขอใหสลายไป ถึงเวลาแลว ขาพเจาขอเปดการชุมนุมรอบกองไฟ ณ บดั นี้ ๑๒.๓ ขอเดชะส่ิงศักดิส์ ทิ ธิ์ในสากลโลก จงดลบันดาลใหกิจการ……….เจริญรุงเรืองยิ่ง ๆ ข้ึนไปทั้ง ๔ ทิศ ดุจเปลวเพลิงท่ีสองแสงสวางรุงโรจนอยูน้ี บัดนี้ ไดเวลาอันสมควรแลว ขาพเจาขอเปดการชุมนุมรอบกองไฟ ของ.............ณ บัดน้ี ๑๒.๔ ทามกลางกองไฟอันรุงโรจนที่อยูตรงหนาเราน้ี เปรียบเหมือนแสงสวางแหงวิญญาณและ ความรุงเรืองของกิจการ……….สวนความช่ัวรายอันจะพึงเกิดขึ้นกับกิจการ…………ขอใหสลายหมดส้ินไป เหมือนกับเถาถานของกองไฟท่ีกําลังจะมอดดับไป บัดนี้ ถึงเวลาแลว ขาพเจาขอเปดการชุมนุมรอบกองไฟ ณ บัดนี้ หมายเหตุ • เพลงประจําหมทู ่ใี ชรอ ง ใหม เี นื้อรอ งระบชุ ื่อหมู มีสาระปลุกใจเปน คติ • เร่ืองท่ีจะแสดง ควรเปนเรื่องเปนคติเตือนใจ ประวัติศาสตรปลุกใจใหรักชาติ สงเสริมขนบธรรมเนียม ประเพณี สนุกสนาน ความซ่อื สตั ยส จุ ริต ไมค ดโกง ไมค อรรปั ชัน • ไมควรแสดงเรือ่ งไรสาระ เสียดสบี คุ คลเรือ่ งการเมอื ง ผีสาง ลามกอนาจาร ลอเลียนผูเขารวมชุมนุม หรอื ศาสนา • หามใชอ าวุธจริงหรอื ของมคี มมาประกอบการแสดง • หามสูบบหุ ร่ใี นขณะนัง่ อยูในบริเวณชุมนุม • หา มดืม่ ของมนึ เมา รวมทงั้ นาํ มาใชป ระกอบการแสดง • ไมควรแตะตองหรอื นาํ ส่ิงของขา มกองไฟ หรือใชกองไฟประกอบการแสดงในทางไมเหมาะสม ๑๐๓ 104

แบบประเมินการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม ชือ่ วิชา การชุมนุมรอบกองไฟ หมู................................ การแสดงเรอื่ ง ............................... ขอ รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ ๓๒๑ ๑ เนอื้ หาของเร่ืองท่แี สดงเหมาะสม ๒ อปุ กรณประกอบการแสดงและเครื่องแตงกาย ๓ ตัวละครแสดงไดส มบทบาท ๔ การมีสว นรวมของสมาชกิ รวม ลงชอื่ ..............................................ผูป ระเมิน (...............................................) เกณฑการประเมนิ ผลงาน รายการที่ประเมิน ระดบั คุณภาพ/คะแนน ๑. เนือ้ หาของเรื่อง ดี (๓) พอใช (๒) ปรบั ปรงุ (๑) ท่แี สดงเหมาะสม ๑. ประพฤติตรง ไมคิดคดทรยศ ปฏบิ ตั ไิ ด ๓ ขอ ปฏบิ ตั ไิ ด ๑ - ๒ ขอ ไมทจุ รติ คดโกง ๒. อุปกรณ ๒. จรงิ ใจ มีสจั จะ พูดจรงิ ทาํ จริง ปฏบิ ัตไิ ด ๑ ขอ ประกอบการแสดง ๓. ไมลําเอยี ง ไมห ลอกหลวง ใน ๓ ขอ และเครื่องแตงกาย ๔. ความกตัญูกตเวที แสดงไมส มบทบาท ๓. ตัวละครแสดง ๑. ประยุกตการแตงกาย ปฏิบตั ิได ๒ ขอ ๓ คน ข้ึนไป สมบทบาท ๒. ประยกุ ตอปุ กรณ ใน ๓ ขอ สมาชกิ ๓ คน ขึ้นไป ๔. การมีสวนรว ม ๓. การแตงกายสอดคลองกบั เร่อื งท่ีแสดง ไมไ ดมีสวนรว ม ของสมาชิก ทุกคนแสดงไดสมบทบาท แสดงไมส มบทบาท ๑ - ๒ คน ทุกคนมีสว นรว ม สมาชิก ๑ - ๒ คน ไมไดมสี วนรว ม เกณฑต ัดสนิ คุณภาพ ชว งคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑๐ - ๑๒ ดี ๗-๙ ๔-๖ พอใช ปรบั ปรงุ ๑๐๔ 105

ชอ่ื วิชา ลูกเสือกบั การบาํ เพ็ญประโยชนเ พือ่ สาธารณะ บทเรยี นท่ี ๑๓ เวลา ๙๐ นาที ขอบขา ยรายวิชา ๑. ใหค วามรู ความเขาใจ ในการปฏิบตั ิกิจกรรม ๒. การปฏบิ ัตติ นเพอ่ื ตอบสนองกฎของลูกเสือสามญั ๓. สรา งจติ สาํ นกึ ใหเกดิ ความภาคภูมใิ จ ในความเสียสละและบาํ เพญ็ ประโยชนเพ่อื สาธารณะ จดุ หมาย เพื่อใหลูกเสือสามัญมีความเขาใจ และรูจักการบําเพ็ญตนใหเปนประโยชนเพื่อสาธารณะแกสวนรวม ดวยความสมัครใจ วตั ถปุ ระสงค เมื่อจบบทเรยี นน้ีแลว ลูกเสอื สามญั สามารถ ๑. ปลูกฝงใหมีความเอ้ืออาทรตอ ผอู ่นื ตลอดจนมนี ้ําใจ และชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกนั และกนั ได ๒. สงเสรมิ ใหใชเ วลาวางใหเกิดประโยชน ในการบาํ เพญ็ ประโยชนได ๓. สรา งเสรมิ ความสามัคคี ความรบั ผดิ ชอบ และความเสยี สละเพอื่ สาธารณะแกส ว นรวมได วธิ สี อน/กจิ กรรม ๑. นําเขาสบู ทเรียนดวยเพลงตาง ๆ ทเี่ ก่ียวกับการบําเพ็ญประโยชนเ พ่ือสาธารณะ ๒. ผูเขารับการฝกอบรมศึกษาใบงาน และระดมความคิดเห็นเพื่อกําหนดกิจกรรมในการปฏิบัติกับ พื้นทจี่ รงิ ๓. ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมบาํ เพ็ญประโยชนเ พ่อื สาธารณะ ๔. รวมกนั สรุปผลเรียนรจู ากการปฏบิ ัติกจิ กรรม ส่อื การสอน ๑. ใบความรู เร่อื ง บาํ เพ็ญประโยชนเพอ่ื สาธารณะ ๒. ใบงานการปฏบิ ัติกิจกรรมบําเพญ็ ประโยชนเพอ่ื สาธารณะ ๓. วัสดุ อปุ กรณใ นการปฏบิ ตั ิกิจกรรม ๔. เพลงประกอบกจิ กรรม การประเมนิ ผล ๑. วิธกี ารวดั ผล : ประเมนิ การปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ๒. เครอ่ื งมือวัดผล : แบบประเมินการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ๓. เกณฑก ารประเมนิ ผล : ระดบั คุณภาพดี หมายถงึ ผาน ๑๐๕ 106

ใบความรู เร่ือง บาํ เพญ็ ประโยชนเพอื่ สาธารณะ บําเพ็ญประโยชนเพ่ือสาธารณะ (จิตอาสา) คือ ผูที่มีจิตใจที่เปนผูให เชน ใหสิ่งของ ใหเงิน ให ความชวยเหลือดวยกําลังแรงกาย แรงสมอง ซึ่งเปนการเสียสละสิ่งที่ตนเองมี แมกระท่ังเวลาเพ่ือเผื่อแผใหกับ สวนรวม อีกทั้งยังชวยลด \"อัตตา\" หรือความเปนตัวเปนตนของตนเองลงไดบาง เชน การเปนอาสาสมัคร อาสาสมัครเกดิ จากบคุ คลที่มคี วามตอ งการชว ยเหลอื สงั คมสวนรวม เปนผูเอ้ือเฟอเสียสละเวลา แรงกาย แรงใจ เพื่อชวยเหลือผูอื่นหรือสังคมใหเกิดประโยชนและความสุขมากขึ้น การเปนอาสาสมัครทําใหเกิดประโยชนตอ สวนรวม เปนสิ่งท่ีควรทําท้ังสิ้น คนท่ีจะเปนอาสาสมัครได ไมจํากัดดวยวัย การศึกษา เพศ อาชีพ ฐานะ หรือ ขอ จํากดั ใด ๆ และมจี ิตใจเปน \"จติ อาสา\" ท่ีอยากจะชว ยเหลือผอู น่ื หรือสงั คม ตัวอยาง จากเหตุการณคล่ืนยักษสึนามิถาโถมทําคนลมตายเปนพันในประเทศไทย ในวันท่ี ๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๗ เปนเหตุใหคนทั่วโลกเศราโศกเสียใจกับเหตุการณในครั้งน้ัน สรางความประหลาดใจให คนทั่วโลก น่ันคือ ความงดงามของจิตใจผูคนทั้งหลายท่ีทนไมไดกับความทุกขยากของเพ่ือนมนุษย แตละคน พยายามหาทางชว ยเหลือกันไมว าจะทางไหนท่ีทําได ตั้งแตการบริจาคทรัพยสิ่งของ หรือแมแตเอาตัวลงไปเปน อาสาสมัครชวยเหลือกันเทาท่ีจะทําได โดยไมแยกเช้ือชาติเผาพันธุหรือชนชั้น การมีอาสาสมัครนับหม่ืนคน หมุนเวียนเปลี่ยนกันไปชวยเหลือผูประสพภัยสึนามิจนเกิดเปนคล่ืนมวลชน ทํางานตอเน่ืองกันมาถึงในปจจุบัน และขยายเครือขาย ขยายงานอาสาทําดีเพื่อสังคมมากขึ้น เพ่ือระลึกถึงความดีงามที่เกิดขึ้นมาจากมวลชน หลากหลายตั้งแตวันน้ัน จึงกําหนดวันท่ี ๒๗ ธันวาคมของทุกป เปน “วันจิตอาสา” เพ่ือเตือนใจและสงเสริม ใหพวกเราแตละคนทาํ ดกี ันตอ ไป ประโยชนของการบําเพ็ญประโยชนเพ่อื สาธารณะ ๑. ทาํ ใหเ กิดความสุขทีไ่ ดเ ปนผูให ๒. ทาํ ใหผ ูที่ไดรับความชว ยเหลือพนทุกข ๓. เปน การสรา งขวญั กาํ ลงั ใจใหแกผูเดือดรอน ๔. สรางความประทับใจใหแกผพู บเห็น ๕. ทําใหเ กิดความสมานฉนั ทสามัคคี ๖. ทาํ ใหเ กิดความภาคภมู ิใจที่ไดช วยเหลือผเู ดือดรอน ๗. ไดรับการยกยองเชดิ ชู ๘. เปนการใชเวลาวา งใหเ กดิ ประโยชน การบาํ เพ็ญประโยชน ๑๐๖ 107

ใบงาน คําช้ีแจง ใหผูเขารับการฝกอบรมบําเพ็ญประโยชนเพ่ือสาธารณะ หรือจัดทําปาย คําขวัญ ขอความ โดยมี สถานที่/พนื้ ที่ ดังตอ ไปนี้ ๑. หองประชมุ ๒. ลานหนาเสาธง ๓. รอบทพ่ี กั ๔. สํานักงาน ศาลา หองน้ํา หองสว ม ๕. จัดทาํ ปา ยตาง ๆ ๖. คําขวัญ กลอน สภุ าษิต ๗. ขอความและภาพรณรงคเ กย่ี วกบั ความซื่อสัตยสุจริต ๘. อืน่ ๆ ๑๐๗ 108

แบบประเมินการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม เรือ่ ง การบําเพ็ญประโยชนเพอ่ื สาธารณะ จัดทาํ ปา ย คําขวัญ ขอความ หมู ................................................. ขอ รายการประเมนิ ระดบั คุณภาพ ๑ การมีสว นรว มของสมาชิก ๓๒๑ ๒ ความคดิ ริเรม่ิ สรางสรรคก ารปฏิบัติ ๓ ผลการปฏบิ ตั ิ รวม ลงชอื่ ................................................. (..................................................) ผูก าํ กับลูกเสือ เกณฑการประเมนิ ผล รายการที่ประเมนิ ระดบั คุณภาพ/คะแนน ปรับปรุง (๑) ดี (๓) พอใช (๒) สมาชิก ๓ คน ข้ึนไป ไมไดม ีสวนรว ม ๑. การมสี ว นรวมของ ทกุ คนมสี วนรว ม สมาชกิ ๑ - ๒ คน สมาชกิ ไมไ ดมีสวนรว ม ปฏิบัตไิ ด ๑ ขอ ใน ๓ ขอ หรอื ปฏิบตั ิ ๒. ความคิดริเร่ิมสรา งสรรค ๑. ใหมไมซ า้ํ ใคร ปฏิบตั ไิ ด ๒ ขอ ไมไ ดเลย ๒. มีประโยชน ใน ๓ ขอ ๓. ประยุกตเปน รูปแบบใหม ปฏบิ ัติได ๑ ขอ ใน ๓ ขอ หรอื ปฏิบัติ ๓. ผลการปฏบิ ตั ิ ๑. วาจาสุภาพ ปฏิบัติได ๒ ขอ ไมไดเลย ๒. ความเรยี บรอ ย ใน ๓ ขอ ๓. ตามกาํ หนดเวลา ชวงคะแนน เกณฑก ารตัดสนิ คุณภาพ ๗-๙ ๕-๖ ระดบั คณุ ภาพ ๓-๔ ดี พอใช ปรับปรงุ ๑๐๘ 109

ชื่อวิชา ลูกเสือกับการเสนอจัดทาํ โครงการ/โครงงาน บทเรยี นที่ ๑๔ เวลา ๙๐ นาที ขอบขา ยรายวิชา ๑. ความหมายและองคป ระกอบของโครงการ/โครงงาน ๒. การวางแผนจัดทําโครงการ/โครงงาน ๓. ขน้ั ตอนการจัดทําโครงการ/โครงงาน จุดหมาย เพ่ือใหลกู เสอื สามัญมีความรู ความเขา ใจ และมีทกั ษะในการจัดทําโครงการ/โครงงาน วัตถปุ ระสงค เมื่อจบบทเรยี นนี้แลว ลูกเสอื สามัญสามารถ ๑. เขียนโครงการ/โครงงานเก่ียวกับกจิ กรรมสงเสริมการบําเพ็ญประโยชนเพ่ือสาธารณะได ๒. นาํ โครงการ/โครงงานท่ีจดั ทาํ ไปใชใ นสถานศึกษาของตนเองได วธิ ีสอน/กิจกรรม ๑. นําเขาสูบทเรียน โดยนําเสนอตัวอยางกิจกรรมสงเสริมการบําเพ็ญประโยชนเพ่ือสาธารณะดวยสื่อ เชน วดี ิทัศน เกม เพลง แผน พบั ฯลฯ ๒. ใหความรูเรอื่ งการวางแผนจดั ทําโครงการ/โครงงาน และกิจกรรมเพ่ือสงเสริมการบําเพ็ญประโยชน เพ่ือสาธารณะ โดยใช Power Point และใบความรูที่ ๑ เรื่อง การจัดทําโครงการ และใบความรูที่ ๒ เรื่อง การจัดทาํ โครงงาน ๓. มอบหมายใหวางแผนจัดทําโครงการ/โครงงานสงเสริมการบําเพ็ญประโยชนเพื่อสาธารณะ ๑ โครงการ/โครงงาน ๔. สงผแู ทนแตล ะหมูนําเสนอโครงการ/โครงงาน ๕. สรปุ และประเมนิ ผล สื่อการสอน ๑. วีดิทัศนตัวอยา งกจิ กรรมสงเสรมิ การบําเพ็ญประโยชนเ พอ่ื สาธารณะ ๒. Power Point เร่อื ง การวางแผนกิจกรรมโครงการ/โครงงาน ๓. ใบความรูท ี่ ๑ เร่ือง การจัดทาํ โครงการ/โครงงาน ๔. กระดาษ Flipchart ๕. ปากกาเคมี การประเมนิ ผล ๑. วิธีการวัดผล : ประเมินการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม ๒. เครือ่ งมือวดั ผล : แบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรม ๓. เกณฑก ารประเมนิ ผล : ระดบั คุณภาพดี หมายถึง ผาน เน้ือหาวิชา การจดั ทําโครงการ/โครงงาน ๑๐๙ 110

ใบความรูท่ี ๑ เร่ือง การจัดทาํ โครงการ การจดั ทําโครงการเพ่อื ดาํ เนินการตามแผนงานอยางใดอยางหน่ึงน้ัน สามารถทําใหผูปฏิบัติงานทํางาน ไดอยางมีขั้นตอน มองเห็นปญหาในการทํางานไดอยางชัดเจนยิ่งข้ึน รวมท้ังมองเห็นแนวทางในการแกปญหา อีกดว ย การเสนอแนะใหจ ัดทาํ โครงการน้นั จําเปนจะตองระดมความสามารถ งบประมาณและทรัพยากรอื่น ๆ อกี เปนจํานวนมาก ซึ่งโครงการบางโครงการอาจไมจ าํ เปน ตองดาํ เนนิ การของบประมาณสนับสนุน แตการเขียน โครงการจะตอ งทําใหถูกขัน้ ตอน โดยมีแนวทางในการเขยี นโครงการ ดังตอ ไปนี้ ๑. โครงการ คือ งานหรือกิจกรรมท่ีระบุรายละเอียดตาง ๆ เพ่ือที่จะนําไปปฏิบัติใหบรรลุตาม วัตถุประสงคที่กําหนดในแผน บางครั้งวัตถุประสงคหน่ึง ๆ อาจจําเปนตองมีหลายโครงการก็ได แตโครงการ หน่งึ ๆ น้ัน จะตองมสี ว นประกอบท่รี ะบุรายละเอยี ดอยา งชดั เจน และมีความแนนอน ดังน้ี ๑.๑ ช่อื โครงการ ๑.๒ หลักการและเหตผุ ล ๑.๓ วตั ถปุ ระสงค ๑.๔ เปา หมาย ๑.๕ วธิ ดี ําเนินงาน ๑.๖ ระยะเวลา ๑.๗ สถานท่ี ๑.๘ งบประมาณ ๑.๙ ผูรบั ผดิ ชอบ ๑.๑๐ หนว ยงานทีเ่ กย่ี วของ ๑.๑๑ การประเมินผล ๑.๑๒ ผลทีค่ าดวาจะไดร บั ๒. แนวทางในการเขียนโครงการ ๒.๑ ชื่อโครงการ เปน การกําหนดช่อื โครงการใหเฉพาะเจาะจงในเรอ่ื งทจี่ ะทาํ ๒.๒ หลักการและเหตุผล ควรระบุหลักการอยางกวาง ๆ วามีความจําเปนและมี ความเหมาะสมอยางไร จะใหป ระโยชนอ ยา งไร ๒.๓ วัตถุประสงค คอื สิ่งทผี่ ูทําโครงการตอ งการจะไดร บั และผลตอ เนอ่ื งของโครงการนนั้ ๒.๔ เปา หมาย คอื การระบุชนิดคณุ ภาพและขอบขา ยงานทจ่ี ะทาํ ๒.๕ วิธีดําเนินงาน เปนการบอกรายละเอียดของการดําเนินงาน หรือวิธีดําเนินงานใหบรรลุ ตามวตั ถุประสงค เริ่มตงั้ แตก ารเตรยี มงาน การศึกษา และสาํ รวจขอเท็จจริงตาง ๆ การเสนอขออนุมัติโครงการ การเรมิ่ งาน จนถึงการปฏบิ ตั ิงาน ๒.๖ ระยะเวลา เปนการกาํ หนดวนั เรม่ิ โครงการ วันสนิ้ สุดโครงการ หรือชวงเวลาที่ดําเนินการ ๒.๗ สถานที่ การระบสุ ถานที่หรอื บรเิ วณที่จะทาํ โครงการ ๒.๘ งบประมาณ แยกงบประมาณรายรับรายจา ยท้ังหมด ใหละเอยี ดท่สี ดุ เทา ที่จะทําได ๒.๙ ผูร บั ผดิ ชอบ ใหระบชุ ือ่ ผูทาํ ใหช ัดเจนวา ใครหรอื หนวยงานใดท่รี ับผดิ ชอบโครงการน้นั ๆ ๒.๑๐ หนวยงานท่ีเก่ียวของ คือ หนวยหลักที่ชวยสงเสริมสนับสนุนใหการดําเนินงานตาม โครงการลุลว ง ๒.๑๑ การประเมินผล การบอกแนวทางในการประเมินผลวาจะทาํ อยา งไร และทาํ ในชวงเวลาใด ๒.๑๒ ผลทีค่ าดวาจะไดร ับ การระบผุ ลของโครงการทค่ี าดวา เมือ่ เสรจ็ สนิ้ โครงการ ๑๑๐ 111

ตวั อยางโครงการ ๑. ช่ือโครงการ อนรุ ักษสง่ิ แวดลอ ม (กิจกรรมปลูกตน ไมในทสี่ าธารณะ) ๒. หลักการและเหตผุ ล ดวยสภาพในปจจุบันมีจํานวนประชากรเพิ่มมากขึ้น ทําใหทรัพยากรตาง ๆ ท่ีมีอยูถูกใชไปอยาง ส้ินเปลืองจนนาวิตก สภาพตนไมถูกทําลายลง บานเมืองขยายตัวออกไปอยางรวดเร็ว ทําใหประชาชนที่อาศัย อยูในชุมชนเมืองขาดรมเงาจากตนไมสําหรับพักผอนหยอนใจ ดังนั้น จึงควรสงเสริมใหมีการปลูกตนไมเพื่อให เกิดสภาพแวดลอ มทีร่ มรน่ื รมเย็น เพอ่ื ชวยรักษาสภาพแวดลอมทางธรรมชาติทางออม รวมท้ังยังเปนการฝกให ลูกเสอื เกิดความรักและหวงแหนในตนไม จึงเห็นสมควรใหมโี ครงการนขี้ นึ้ ๓. วตั ถปุ ระสงค ๓.๑ เพอ่ื ใหม ตี นไมเ ปน รมเงาสาํ หรบั พกั ผอ นหยอนใจ ๓.๒ เพอื่ ใหล ูกเสอื ตระหนักถึงความสาํ คัญของการปลูกตน ไมวามปี ระโยชนตอมนุษยและสตั ว ๓.๓ เพื่อใหล ูกเสือไดมโี อกาสบาํ เพญ็ ประโยชนต อชมุ ชนและสังคม ๓.๔ เพ่อื ฝกใหลกู เสือมีทักษะในการปลกู ตน ไมย ิง่ ขึ้น ๔. เปา หมาย ๔.๑ เชิงปริมาณ ลกู เสือปลูกตน ไมอยา งนอย คนละ ๑ ตน ๔.๒ เชงิ คณุ ภาพ ลกู เสือมีสว นรว มในการปลูกตน ไม ๕. วธิ ดี ําเนินงาน ๕.๑ ประชมุ วางแผนการปลูกตนไมรว มกับสมาชกิ กองลกู เสือสามญั ๕.๒ ติดตอขอพันธุก ลาไมจากศนู ยเ พาะชํากลาไม ๕.๓ จัดสภาพแวดลอมบริเวณท่ีจะปลูกตนไม ติดปายโฆษณาใหบุคคลท่ัวไปทราบ และขอความรวมมือ ในการบาํ รงุ รักษาตน ไม ๕.๔ ใหล ูกเสือจัดเตรยี มเคร่ืองมอื และอาหารไปใหพรอม ๕.๕ ลงมอื ปฏบิ ัติการ ๕.๖ สรปุ และประเมนิ ผล ๖. สถานท่ี สวนสาธารณะวดั หรือโรงเรยี น ๗. ระยะเวลา ระหวา ง เดอื นพฤษภาคมถึงเดอื นมิถนุ ายน ๘. งบประมาณ ใชเ งนิ บรจิ าค จาํ นวน ๓,๐๐๐ บาท ๙. ผูร บั ผดิ ชอบโครงการ ผูเสนอโครงการรวมกับสมาชกิ กองลูกเสือสามัญ ๑๐. หนว ยงานทีเ่ ก่ียวของ ศนู ยเพาะชาํ กลาไม ๑๑. การตดิ ตามประเมินผล สังเกตพฤติกรรมของลกู เสือ ๑๒. ผลทค่ี าดวาจะไดร บั จะมีตนไมเพ่ิมข้นึ จํานวนหนึง่ บรเิ วณดงั กลาว, จะมรี มเงาของตน ไมสาํ หรับพักผอนหยอนใจ ๑๑๑ 112

แบบฟอรมการเขยี นโครงการ ๑. ช่ือโครงการ .......................................................................................................................................................................... ๒. หลักการและเหตุผล .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ๓. วัตถุประสงค ๓.๑ ………………………………………………………….………………………………………………………………………. ๓.๒ …………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓.๓ ………………………………………………………………….……………………………………………………………….. ๔. เปา หมาย ๔.๑ เชิงปริมาณ………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๔.๒ เชงิ คณุ ภาพ…………………………………………………………………………..…………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….. ๕. วธิ ดี ําเนินงาน ๕.๑…………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕.๒…………………………………………………………………………………………………………………………………… ๕.๓…………………………………………………………………………………………………………………………………… ๖. สถานท่ี ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………. …………………………………………………..……………………………………….………………………………………………………… ๗. ระยะเวลา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๘. งบประมาณ …………………………………………………………………………………………..………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………..………………………………………………………… ๙. ผรู ับผดิ ชอบโครงการ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………..…………………………………….. ๑๐. หนว ยงานท่เี กี่ยวของ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๑๒ 113

๑๑. การประเมนิ ผล ๑๑.๑ …………………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๑.๒ …………………………………………………………………………………………................................................. ๑๒. ผลทคี่ าดวา จะไดร บั ๑๒.๑ ………………………………………………….………………………………………………………………………………. ๑๒.๒ ……………………………………………………………….…………………………................................................ ๑๒.๓ ……………………………………………………………………….…………………………………………………………. ลงชือ่ …………………………………ผูเสนอโครงการ (…………………………………) ลงชอ่ื …………………………………ทป่ี รึกษาโครงการ (…………………………………) ลงชื่อ…………………………………ผเู หน็ ชอบโครงการ (…………………………………) ลงชื่อ…………………………………ผอู นมุ ตั ิโครงการ (…………………………………) ๑๑๓ 114

ใบความรูท ี่ ๒ เรื่อง การจัดทาํ โครงงาน การจัดทําโครงงานเปน การศกึ ษาคน ควา เกี่ยวกับส่ิงใดสิ่งหน่ึงหรือหลาย ๆ ส่ิงท่ีอยากรูคําตอบใหลึกซึ้ง หรือเรยี นรใู นเรอื่ งนัน้ ๆ ใหมากขึน้ โดยใชกระบวนการ วธิ ีการทศ่ี ึกษาอยางมีระบบ เปนข้ันตอน มีการวางแผน ในการศึกษาอยา งละเอยี ด ปฏบิ ัตงิ านตามแผนท่วี างไว จนไดขอ สรุปหรอื ผลสรุปท่ีเปนคําตอบในเรอ่ื งน้นั ๆ ๑. โครงงาน คือ งานหรือกิจกรรมท่ีระบุรายละเอียดตาง ๆ เพื่อที่จะนําไปปฏิบัติใหบรรลุตาม วัตถุประสงคที่กําหนดในแผน โดยจะตองมีสวนประกอบที่ระบุรายละเอียดอยางชัดเจนและมีความแนนอน ดังน้ี ๑.๑ ชอ่ื โครงงาน ๑.๒ ทมี่ าและความสําคญั ของโครงงาน ๑.๓ วัตถุประสงค ๑.๔ ขอบเขตการศกึ ษาคน ควา ๑.๕ วสั ดอุ ุปกรณ ๑.๖ วธิ กี ารศกึ ษา ๑.๗ ผลการศึกษา ๑.๘ อภิปรายผลการศึกษา ๑.๙ สรปุ ประโยชน ขอ เสนอแนะ ๑.๑๐ เอกสารอา งอิง ๒. แนวทางในการเขยี นโครงงาน ๒.๑ ชื่อโครงงาน เปนการกําหนดช่ือโครงงานใหเฉพาะเจาะจงในเรื่องท่ีจะทํา สอดคลองกับ วัตถปุ ระสงคของการทาํ โครงงาน และยงั ตองเปนชื่อทเ่ี รียกความสนใจจากผอู า นเปนอยางดี ๒.๒ ที่มาและความสําคัญของโครงงาน คือ การอธิบายใหกระจางชัดวาทําไมตองทํา ทําแลวไดอะไร หากไมทาํ จะเกดิ ผลเสยี อยา งไร ซง่ึ มหี ลักการเขยี นคลา ยการเขียนเรียงความทั่ว ๆ ไป คือ มีคํานํา เนื้อเรื่องและ สรุป ๒.๓ วัตถุประสงค คือ การกําหนดจุดมุงหมายที่ตองการใหเกิดจากการทําโครงงาน ในการเขียน วัตถุประสงค ตองเขียนใหชัดเจน อานเขาใจงาย สอดคลองกับชื่อโครงงาน หากมีวัตถุประสงคหลายประเด็น ใหระบุเปนขอ ๆ ทั้งนี้ การเขียนวัตถุประสงคมีความสําคัญตอแนวทางการศึกษา ตลอดจนขอความรูที่คนพบ ตองสอดคลองกบั วตั ถุประสงคท กุ ๆ ขอ ๒.๔ ขอบเขตการศึกษาคนควา คือ การระบุชนิด คุณภาพ และขอบขายงานท่ีจะทํา เพื่อใหผล การศกึ ษาท่นี า เช่อื ถือ ไดแก การกําหนดเร่อื งทีต่ องการศกึ ษา ระยะเวลาในการศึกษา และวธิ ีทจ่ี ะใชใ นการศึกษา ๒.๕ วัสดุอุปกรณ เปนการระบุส่ิงท่ีจําเปนตองใชในการศึกษาตามโครงงาน อาทิ อุปกรณในการทํา โครงการ หนังสือท่ีตองใชประกอบการอางอิงขอมูล หรือแหลงคนควาอื่น ๆ เพ่ือใหโครงงานบรรลุผลตาม วัตถปุ ระสงคท ่ตี ้งั ไว ๒.๖ วิธีการศึกษา วิธีการที่ชวยใหงานบรรลุตามวัตถุประสงคของการทําโครงงาน ตั้งแตเริ่มเสนอ โครงงาน กระทงั่ ส้ินสุดโครงงาน ๒.๗ ผลการศึกษา นําเสนอขอมูลหรือผลการทดลองตาง ๆ ท่ีสังเกตรวบรวมได รวมท้ังเสนอผล การวิเคราะหข อมลู ท่วี ิเคราะหดวย ๑๑๔ 115

๒.๘ อภิปรายผลการศึกษา ขยายความผลจากการทําโครงงาน เพื่อยืนยันวาผลการศึกษาท่ีนาเชื่อถือ ถูกตอง เปนจริง โดยช้ีใหเห็นวาสอดคลองหรือไมสอดคลองกับสมมติฐานการศึกษา ตรงตามขอเท็จจริงท่ีพบ หรอื ไม ๒.๙ สรุป ประโยชน ขอเสนอแนะ ควรกลาวถึงการนําผลการทดลองไปใชประโยชน อุปสรรคของ การทําโครงงาน หรือขอสังเกตท่ีสําคัญ หรือขอผิดพลาดบางประการที่เกิดข้ึนจากการทําโครงงานน้ี รวมทั้ง ขอเสนอแนะเพอื่ การปรบั ปรงุ แกไข เพื่อประโยชนแ กผูศกึ ษาคน ควาในเรอ่ื งทที่ ํานองนี้ในอนาคต และใหระบุช่ือ ผูทาํ ใหช ดั เจนวา ใครหรือหนวยงานใดทีร่ ับผดิ ชอบโครงงานนั้น ๆ ๒.๑๐ เอกสารอา งองิ คือ แหลงทีม่ าของเอกสารความรูทศ่ี กึ ษาคน ควาประกอบการจัดทาํ โครงงาน ๑๑๕ 116

ตัวอยา งโครงงาน ๑. ช่อื โครงงาน บันทกึ คณุ ธรรม ความซื่อสตั ย กตัญู ๒. ที่มาและความสาํ คญั ของโครงงาน บนเสนทางชีวิต มนุษยเราอาจเลือกเกิดไมได แตเลือกที่จะทําความดีไดดวยตัวเอง ทามกลางกระแส สังคมวัตถุนิยมที่นับถือความมีชื่อเสียง เกียรติยศ ฐานะความมั่งมี และยกยองคนเกงเปนฮีโรมากกวาคนดี ที่มีคุณความดีในจิตใจ คนซ่ือถูกมองเปนอีกดานหนึ่งของคนฉลาด และคนกตัญูกําลังจะถูกลืมไปกับคานิยม ความทันสมัยในกระแสสากลแหงโลกเทคโนโลยียุคโลกาภิวัฒน ผูจัดทําโครงงานไดเล็งเห็นคุณคาและ ความสําคัญของการสงเสริมคุณธรรม ความซ่ือสัตยสุจริตและกตัญูกตเวทิตา ใหเกิดกับสถาบันครอบครัว สถานศึกษา และสังคมไทยอยางตอเนื่อง สงเสริมใหเยาวชนไทยเติบโตเปนทรัพยากรมนุษยท่ีมีคุณภาพ มคี ณุ ธรรม มีความรูและความสามารถ เปน กําลังสาํ คัญและอนาคตของประเทศชาติ ๓. วัตถุประสงค ๓.๑ เพ่ือใหล ูกเสอื ตระหนักถึงความสาํ คัญของบคุ คลท่มี ีคุณธรรม ความซอ่ื สตั ย กตัญู ๓.๒ เพือ่ ใหล กู เสือไดมโี อกาสเห็นตวั อยา งบคุ คลท่ีมีคุณธรรม ความซือ่ สตั ย กตญั ูจรงิ ๓.๓ เพอ่ื ฝกใหล กู เสือนําไปเปนแนวทางในการดาํ รงชีวติ ของตนและพฒั นาประเทศชาติได ๔. ขอบเขตการศกึ ษาคน ควา ๕. วัสดุอปุ กรณ บาน วัด โรงเรียน ๖. วธิ ีการศกึ ษา ๖.๑ ประชุมวางแผนคนหาคนที่มีคุณธรรม ความซื่อสัตย กตญั ูรวมกบั สมาชิกกองลูกเสือสามญั ๖.๒ ตดิ ตอ ขอขอมูลจากโรงเรียน วดั บาน ๖.๓ ลงมือปฏบิ ตั ิการสืบเสาะและหาขอเทจ็ จริงจากขอมลู ๖.๔ ลูกเสือจัดทําขอ มูล ประวัติ ทาํ เปน เอกสารและรูปเลม ๖.๕ เผยแพร ประกาศเกียรติคณุ ยกยองบุคคลทีม่ ีคณุ ธรรม ความซือ่ สัตย กตัญู ๖.๖ สรุปและประเมนิ ผล ๗. ผลการศึกษา ระหวางเดือนพฤษภาคม ปการศึกษาปจจบุ ัน ถงึ เดือนมีนาคม ปก ารศกึ ษาถดั ไป ๘. อภปิ รายผลการศกึ ษา ๙. สรุป ประโยชน ขอ เสนอแนะ ตนกลาท่ีเปยมดวยความซื่อสัตย กตัญู รอวันท่ีจะเติบโตเปนไมใหญที่แผก่ิงกานคุณธรรม ใหค วามรมเยน็ แกแ ผน ดิน ผทู ําความดียอ มไดร บั ผลดีตอบแทนเสมอ ทาํ ใหบ ุคคลเห็นคุณคา และความสาํ คญั ๑๑๖ 117

แบบประเมนิ การปฏบิ ัตกิ ิจกรรม เรอ่ื ง การจดั ทาํ โครงการ/โครงงาน หมู............................... ขอ รายการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ ๑ การมีสว นรวมของสมาชิก ๓๒๑ ๒ ความคดิ รเิ ริม่ สรางสรรค ๓ ความถกู ตองของการจัดทาํ โครงการ/โครงงาน ๔ วิธีการนําเสนอ ๕ ความเปนไปไดข องโครงการ รวม ลงช่อื ..............................................ผปู ระเมนิ (...............................................) เกณฑการประเมนิ ผล ระดบั คุณภาพ/คะแนน รายการทีป่ ระเมนิ ดี (๓) พอใช (๒) ปรบั ปรุง (๑) ๑. การมีสวนรวมของ ทุกคนมสี ว นรว ม สมาชิก ๑ - ๒ คน สมาชิก ๓ คน ขึ้นไป สมาชกิ ไมไดม ีสว นรว ม ไมไ ดม ีสวนรว ม ๒. ความคดิ ริเริ่ม ๑. ใหมไมซา้ํ ใคร ปฏิบัตไิ ด ๒ ขอ ปฏิบตั ไิ ด ๑ ขอ สรางสรรค ๒. มปี ระโยชน ใน ๓ ขอ ใน ๓ ขอ /ปฏิบัติ ๓. ความถูกตองของการ ๓. ประยกุ ตเปน รปู แบบใหม ไมไดเ ลย จัดทาํ โครงการ/โครงงาน ถูกตองทุกขัน้ ตอนตามแนวทาง ผิด ๑ - ๓ ขอ ผดิ ๔ ขอ ขึ้นไป ๔. วธิ ีการนําเสนอ การจดั ทําโครงการ/โครงงาน ปฏบิ ตั ิได ๑ ขอ ๑. นาํ เสนอนาสนใจ ปฏิบตั ไิ ด ๒ ขอ ๕. ความเปน ไปไดของ ๒. เสยี งดังฟงชดั เจน ปฏบิ ตั ไิ ด ๑ ขอ โครงการ/โครงงาน ๓. วาจาสุภาพ ๔. ตามกาํ หนดเวลา ๑. ปฏบิ ตั ิไดจรงิ ปฏิบัตไิ ด ๒ ขอ ๒. มีประโยชน ๓. มีความคมุ คา ๔. ยึดหลกั เศรษฐกิจพอเพียง ชว งคะแนน เกณฑตดั สินคณุ ภาพ ๑๒ - ๑๕ ระดบั คุณภาพ ๙ - ๑๑ ดี ๕-๘ พอใช ปรบั ปรงุ ๑๑๗ 118

ส่วนที่ ๓ กิจกรรมเสนอแนะ 119

การประดับเคร่ืองหมายลูกเสือสามญั ชอสะอาด ตราสญั ลกั ษณล กู เสือชอสะอาด ชื่อเครือ่ งหมาย “ลกู เสอื ชอสะอาด” ประดับที่อกเสื้อดา นขวาเหนอื กระเปา สัญลักษณ “ชอสะอาด” เปนสัญลักษณสงเสริมคุณงามความดี ซ่ึงรวบรวมทุกลานมือขาวใสสะอาด ของคนบนแผนดินไทย ท้ังในและนอกราชอาณาจักร โดยไมจํากัดเพศ วัย เชื้อชาติ และศาสนาใด ๆ ท้ังสิ้น รวมเขาไวเ ปนหน่ึงเดยี วกัน ผกู ดวยโบวสธี งชาติไทย แสดงถงึ การรวมพลงั ไทยทําดที ุกคนเขา ไวดวยกัน สัญลักษณ “วงเชือกผูกเง่ือนพิรอด” หมายถึง ความสามัคคีและความเปนพ่ีนองกันของขบวนการ ลูกเสอื โลก สัญลักษณ “ลูกเสือ” ประกอบดวย สัญลักษณลูกเสือโลก คือ รูปเฟอรเดอลีส (Fleur-de-lis) ประกอบกบั รปู หนา เสอื มอี กั ษรจารกึ ดา นลางวา “เสียชีพอยา เสียสตั ย” พื้นสขี าว แสดงถงึ ความบรสิ ุทธ์ิ ความซื่อสตั ยสจุ รติ เชือกสีมวง แสดงถึง ความเปนผูนําและการชวยเหลือผูอื่น และเปนสีของวันท่ีมีการประกาศใช รัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ ซงึ่ เปน วันเสาร คําขวัญ “เสียชีพอยาเสียสัตย” ส่ือถึง ความภูมิใจในลูกเสือไทย มีจิตสํานึกในการทําความดี และ ความมคี ุณธรรม จรยิ ธรรมของลกู เสือ ๑๑๙ 120

แนวทางการจดั ตั้งกองลกู เสือสามญั ในสถานศกึ ษา การจดั ตงั้ กองลกู เสอื - เนตรนารีในสถานศึกษา การจัดกิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารีในสถานศึกษาตามหลักสูตรท่ีสถานศึกษากําหนด ควรดําเนินการ ใหเปนไปตามขอ บงั คับคณะลูกเสือแหงชาติวาดวยการปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษ พ.ศ. ๒๕๐๙ ผูบริหาร โรงเรยี นและผูร ับผดิ ชอบกิจกรรมลกู เสอื ควรสํารวจขอ มลู ลกู เสอื - เนตรนารี และดาํ เนนิ การ ดงั น้ี ๑. รับสมัครนักเรียนและรวบรวมจํานวนลูกเสือ - เนตรนารี แตละประเภทแลวเขียนใบสมัครเขาเปน ลกู เสอื (ใชแบบ ลส.๓) ดังน้ี ๑.๑ กองลูกเสือสํารอง หมายถึง นักเรียนชายท่ีเรียนระดับชวงชั้นท่ี ๑ ตามหลักสูตร การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ คือ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๑ - ๓ ใหมีจํานวน ๒ - ๖ หมู หมูหน่ึงมีลูกเสือ ๔ - ๖ คน รวมท้ังนายหมูและรองนายหมูดวย (ขอบังคับฯ พ.ศ. ๒๕๐๙ ขอ ๗๒) กองลูกเสือสํารองมีลูกเสือ ตัง้ แต ๘ - ๓๖ คน (ขอบงั คบั ฯ พ.ศ. ๒๕๐๘ ขอ ๖) ๑.๒ กองเนตรนารีสํารอง หมายถึง นักเรียนหญิงท่ีเรียนระดับชวงช้ันที่ ๑ ตามหลักสูตร การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ คือ ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๑ - ๓ ใหมีจํานวน ๒ - ๖ หมู หมูหนึ่งมี เนตรนารี ๔ - ๖ คน รวมทั้งนายหมูและรองนายหมูดวย (ขอบังคับฯ พ.ศ. ๒๕๐๙ ขอ ๗๒) กองเนตรนารีสํารอง มเี นตรนารตี ง้ั แต ๘ - ๓๖ คน ๑.๓ กองลูกเสือสามัญ หมายถึง นักเรียนชายท่ีเรียนระดับชวงช้ันท่ี ๒ ตามหลักสูตร การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ คือ ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๔ - ๖ ใหมีจํานวน ๒ - ๖ หมู หมูหน่ึงมีลูกเสือ ๖ - ๘ คน รวมทั้งนายหมูและรองนายหมูดวย (ขอบังคับฯ ฉบับที่ ๑๓ พ.ศ. ๒๕๒๕ ขอ ๘๔) กองลูกเสือสามัญ มีลูกเสอื ต้งั แต ๑๒ - ๔๘ คน (ขอ บงั คบั ฯ พ.ศ. ๒๕๐๘ ขอ ๖) ๑.๔ กองเนตรนารีสามัญ หมายถึง นักเรียนหญิงที่เรียนระดับชวงชั้นท่ี ๒ ตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ คือ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๔ - ๖ ใหมีจํานวน ๒ - ๖ หมู หมูหนึ่งมี เนตรนารี ๖ - ๘ คน รวมทง้ั นายหมูและรองนายหมดู วย กองเนตรนารีสามญั มเี นตรนารีตง้ั แต ๑๒ - ๔๘ คน ๑.๕ กองลกู เสือสามัญรุนใหญ หมายถึง นักเรียนชายที่เรียนระดับชวงช้ันที่ ๓ ตามหลักสูตร การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ คือ ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี ๑ - ๓ ใหมีจํานวน ๒ - ๖ หมู หมูหนึ่งมีลูกเสือ ๖ - ๘ คน รวมท้ังนายหมแู ละรองนายหมูดวย กองลูกเสอื สามญั รุนใหญมีลูกเสือต้ังแต ๘ - ๔๘ คน (ขอบังคับฯ ฉบบั ท่ี ๑๔ พ.ศ. ๒๕๒๘) ๑.๖ กองเนตรนารสี ามญั รุน ใหญ หมายถงึ นกั เรียนหญิงที่เรียนระดับชวงช้ันท่ี ๓ ตามหลักสูตร การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ คือ ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี ๑ - ๓ ใหมีจํานวน ๒ - ๖ หมู หมูหนึ่งมี เนตรนารี ๔ - ๘ คน รวมทั้งนายหมูแ ละรองนายหมดู วย กองเนตรนารสี ามัญรุนใหญมีเนตรนารตี ง้ั แต ๘ - ๔๘ คน ๑.๗ กองลูกเสือวิสามัญ หมายถึง นักเรียนหรือนักศึกษาชายท่ีเรียนระดับมัธยมศึกษาปที่ ๔ - ๖ หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ - ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือระดับอุดมศึกษา ประกอบดวยลูกเสือ วิสามญั อยา งนอ ย ๑๐ คน ไมเกิน ๔๐ คน กองลกู เสือวิสามญั จะแบงเปน ชดุ หรือหมูตามความตองการก็ได และ ควรมีลูกเสอื วสิ ามญั ชดุ หรอื หมลู ะ ๔ - ๖ คน รวมท้ังนายหมแู ละรองนายหมูด วย ๑.๘ กองเนตรนารีวิสามัญ หมายถึง นักเรียนหรือนักศึกษาหญิงท่ีเรียนระดับมัธยมศึกษาปท่ี ๔ - ๖ หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ - ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชัน้ สูง หรือระดับอุดมศึกษา ประกอบดวยเนตรนารี วิสามัญอยางนอย ๑๐ คน ไมเกิน ๔๐ คน กองลูกเสือวิสามัญจะแบงเปนชุดหรือหมูตามความตองการ และ ควรมลี กู เสือวสิ ามัญชดุ หรือหมูละ ๔ - ๖ คน รวมท้ังนายหมแู ละรองนายหมูดวย ๑๒๐ 121

๒. เรม่ิ ทําการสอนวชิ าลกู เสอื - เนตรนารีตามหลักสตู รกําหนด ๓. มีผูบังคับบัญชาที่ผานการฝกอบรมวิชาผูกํากับลูกเสือประเภทน้ัน ๆ อยางนอยขั้นความรูเบ้ืองตน ๑ คน ทําหนาท่ีเปนผูกํากับกับ มีรองผูกํากับอีก ๑ คน ขึ้นไปเปนผูชวย (วิธีปฏิบัติของสํานักงานฯ กลุมลูกเสือ ๑ กลมุ มกี รรมการกลมุ ไมเ กิน ๔๐ คน และกองลูกเสอื ๑ กอง มรี องผกู ํากบั ไมเกิน ๑๐ คน) ๔. ดําเนนิ การขออนญุ าต โดยกรอกแบบคาํ ขอตอไปนี้ แบบละ ๓ ชุด ๔.๑ ล.ส.๑ ใบคํารอ งขอต้งั กลุมลูกเสือหรือกองลูกเสือ ๔.๒ ล.ส.๒ ใบสมัครขอเปนผูบ ังคับบญั ชาลูกเสือ ๔.๓ ทาํ หนังสอื นําของผูบังคับบัญชา/ผูขออนุญาต สงผานหนวยงานตนสังกัดเพ่ือขออนุญาต ตอ ผมู ีอํานาจแตงต้ังแลวแตกรณี ถึงเลขาธิการสํานักงานลูกเสือแหงชาติหรือผูอํานวยการลูกเสือจังหวัด สงใบ แตง ตง้ั ใหเปนเจาหนา ทีล่ กู เสอื (ลส.๑๓) ตําแหนงผกู าํ กบั หรอื รองผกู าํ กบั มาใหโ รงเรียน ๕. เม่ือไดรับอนุมัติใหตั้งกองแลว ใหทําพิธีเขาประจํากองและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามปกติ อยางตอเน่อื ง (โรงเรียนจะไดรับ ลส.๑๑ หรือ ลส.๑๒ ใหต้ังกลุมหรือกองลูกเสือจากสํานักงานลูกเสือแหงชาติ หรอื สํานกั งานคณะกรรมการลูกเสือจงั หวดั ) ๑๒๑ 122

เกณฑการจัดตั้งลูกเสอื สามัญชอสะอาดในสถานศึกษา ๑. สถานศกึ ษาตอ งจัดการฝกอบรมหลักสูตรลูกเสือสามัญชอสะอาด อยางนอย ๒ หมู ๆ ละ ๖ - ๘ คน โดย ๑.๑ ฝกอบรมหลกั สตู รลูกเสอื สามัญชอสะอาด ๓ วนั ๒ คืน (ไดรบั วุฒิบตั ร) ๑.๒ ทดสอบความรูดานความซ่ือสัตยสุจริต ความโปรงใส ความเปนพลเมืองดี และจิตอาสา จากคณะกรรมการ ๑.๓ เขารวมกิจกรรมรณรงค เผยแพร ประชาสัมพันธความซ่ือสัตยสุจริต ความโปรงใส ความเปนพลเมืองดีและจิตอาสา รวมกับสถานศึกษา ครอบครัว และชุมชน หรือมีสวนรวมกิจกรรม สาธารณประโยชน อยา งนอ ย ๓ กจิ กรรม (ภายในระยะเวลา ๓ เดือน) ๑.๔ ผูบงั คับบัญชาลกู เสอื สามญั ชอ สะอาดรบั รองผลการปฏิบตั ิงาน ๒. ควรมีผูบังคบั บญั ชาลกู เสอื สามัญชอสะอาดในโรงเรยี น อยางนอ ย ๑ คน ๓. การดําเนนิ การขอมีลูกเสือสามัญชอ สะอาดในสถานศึกษา ๓.๑ ผูบังคับบัญชาลูกเสือในสถานศึกษา ทําหนังสือแจงผลการอบรมหลักสูตรลูกเสือสามัญ ชอสะอาดผานสถานศึกษา ผานสํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัด จากน้ัน สํานักงาน ป.ป.ช. ประจําจังหวัด สง ไปยงั สาํ นักงาน ป.ป.ช. (สวนกลาง) รวบรวมและพิจารณานําเสนอตอไปยังสํานักงานลูกเสือแหงชาติ ในการนี้ ใหสถานศกึ ษาทาํ สําเนาแจง สํานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาท่ีดแู ล รบั ทราบอกี ทางหน่ึงดว ย ๓.๒ สํานักงานลูกเสือแหงชาติ เมื่อไดรับหนังสือและพิจารณาเห็นสมควรรับรองให สถานศึกษามีลูกเสอื สามัญชอสะอาดได กจ็ ะมหี นงั สอื ตอบกลับไปยงั สถานศกึ ษาที่มหี นังสือขออนุญาตมา ๓.๓ สถานศกึ ษาสามารถจดั อบรมขยายผลหลกั สูตรลูกเสอื สามญั ชอ สะอาดตอไป ๑๒๒ 123

บรรณานกุ รม กระทรวงศึกษาธิการ, รายงานการวิจัยและประเมนิ ผลคณุ ธรรม ๘ ประการของผูเรียน เจตคติ และพฤติกรรม รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ ดร.ประภสั สร วรรณสถิตย หัวหนา ภาควิชาการบรหิ ารองคการและทรพั ยากรมนษุ ย, เอกสารอัดสําเนา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. พัฒนาคณุ ธรรมและวนิ ัยของลูกเสือ บญุ อยู ขอพรประเสริฐ, คณะนเิ ทศศาสตร, มหาวทิ ยาลัยธุรกจิ บณั ฑติ ย} ความโปรงใสของหนวยงานภาครัฐ : ความสําเรจ็ อยูท่ี “จติ สาํ นึก” บทความอัดสาํ เนา พระเทพคณุ าภรณ (โสภณ โสภณจิตฺโต ป.ธ.๙) เจา อาวาสวัดเทวราชกุญชรวรวิหาร [email protected] (ที่มา.....หนังสือพิมพขาวสดรายวัน ฉบบั ที่ ๖๗๐๘) ไพศาล ภูไพบลู ย, องั คณา ตตริ ตั น และปนัดดา มีสมบัติงาม. หนงั สือหนา ท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และ การดาํ เนนิ ชวี ิตในสงั คม ม.๑ พมิ พครัง้ ที่ ๑ กรงุ เทพฯ: อักษรเจริญทศั น รัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ หมวดสิทธิ หนา ที่และเสรีภาพของประชาชนชาวไทย สาํ นกั งานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน. คมู ือแนวทางการสรา งมาตรฐานความโปรงใสของสวนราชการ. พมิ พคร้งั ท่ี ๑: มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓ สาํ นกั งานลกู เสือแหงชาติ, คณะอนุกรรมการลกู เสือฝา ยพัฒนาบคุ ลากร. คูมอื การฝกอบรมวิชาผกู ํากับลกู เสือ สามัญ ขัน้ ความรูเ บอื้ งตน สํานกั งานลกู เสือแหง ชาติ, คณะอนุกรรมการลูกเสือฝา ยพัฒนาบคุ ลากร. หนงั สือเพลง เกมลูกเสือ สํานักงานลูกเสือแหงชาติ, คณะอนกุ รรมการลูกเสือฝา ยพัฒนาบคุ ลากร. หนงั สือเกยี่ วกับลกู เสอื สํานกั งานลูกเสือแหงชาติ, คณะอนุกรรมการลูกเสอื ฝายพฒั นาบุคลากร. คูมอื การฝกอบรมผบู ังคบั บัญชา ลูกเสือขั้นผูชวยผูใหการฝก อบรมวิชาผูกํากบั ลูกเสือ สํานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, รายงานสรปุ ผลการดําเนนิ งานโครงการคณุ ธรรม นาํ ความรู เอกรินทร สม่ี หาศาล และคณะ. สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ป.๖. พิมพค รั้งท่ี ๓. กรงุ เทพฯ : อกั ษรเจริญทัศน แหลงขอ มูล www.scoutingthiland.co.th สบื คน วนั ท่ี ๑๘ มถิ ุนายน ๒๕๕๖ แหลง ขอมลู www.moe.co.th สืบคน วันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๕๖ แหลง ขอมูล www.trueplookpanya.com สบื คน วนั ที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๖ แหลงขอมูล www.nacc.go.th สืบคน วนั ท่ี ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๖ แหลงขอมูล http://www.Punarworn.com สบื คนวนั ที่ ๗ ธนั วาคม ๒๕๕๖ ๑๒๓ 124

ภาคผนวก

คําสงั่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ท่ี 73/2556 เรื่อง แตงตัง้ คณะอนุกรรมการบรหิ ารโครงการลกู เสือชอสะอาด คณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการประชุมครั้งที่ 152 - 17/2556 เม่ือวันที่ 28 กุมภาพันธ 2556 มีมติเห็นชอบใหแ ตง ตั้งคณะอนุกรรมการบริหารโครงการลกู เสอื ชอ สะอาด ฉะน้ัน อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 19 (16) แหงพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 ซึ่งแกไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2554 จึงใหแตง ต้งั คณะอนกุ รรมการบริหารโครงการลูกเสือชอ สะอาด ประกอบดว ย 1. ศาสตราจารย (พเิ ศษ) วิชา มหาคณุ ทีป่ รึกษา 2. นายศุภกร วงศป ราชญ ประธานอนุกรรมการ 3. รองเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. หรอื ผูชว ยเลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. (กลุม ภารกิจดานสง เสรมิ จริยธรรม คณุ ธรรม และ ปอ งกนั การทจุ ริต) อนุกรรมการ 4. นายนิคม อินทรโสภา อนุกรรมการ 5. นายคงวุฒิ ไพบลู ยศลิ ป อนกุ รรมการ 6. นายเดช วรเจรญิ ศรี อนุกรรมการ 7. นางวรรณภา พรหมถาวร อนุกรรมการ 8. นายสมมาต สงั ขพันธ อนกุ รรมการ 9. นายโอฬาร เกง รักษส ัตว อนกุ รรมการ 10. ผอู าํ นวยการสํานกั ปองกันการทจุ ริตภาครัฐ อนกุ รรมการ 11. ผูอาํ นวยการสํานักปอ งกันการทจุ รติ ภาคประชาสังคม และการพัฒนาเครือขาย อนุกรรมการ 12. ผูอํานวยการสํานกั ปอ งกนั การทจุ ริตภาคการเมือง อนุกรรมการและเลขานุการ 13. นางสุวฒั นา ธรรมประภาส อนกุ รรมการและผชู วยเลขานุการ 14. นางสาวสพุ ชิ ญา อาภาวศิน อนุกรรมการและผชู ว ยเลขานุการ 15. นางขวญั ใจ กลิน่ ขจาย อนุกรรมการและผชู ว ยเลขานุการ 16. นายศุภสทิ ธิ์ รกั ไทยดี อนกุ รรมการและผูชวยเลขานกุ าร /โดยมอี ํานาจหนา ท่ี... ๑๒๕ 126

โดยมอี ํานาจหนา ท่ี ดังนี้ (1) ประสานความรวมมือในการดําเนินโครงการลูกเสือชอสะอาดระหวางสํานักงานลูกเสือ แหงชาติ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สํานกั งาน ป.ป.ช. และหนว ยงานอื่นท่ีเกยี่ วขอ ง (2) พิจารณาจัดทําคูมือแนวทางปฏิบัติในการดําเนินโครงการลูกเสือชอสะอาด จัดทํา หลกั สูตร “ลูกเสอื ชอสะอาด” ที่เหมาะสมกับกจิ กรรมลูกเสือในแตละชวงชน้ั เรยี น (3) ดําเนินงานตามกรอบแนวทางปฏิบัติหรือขั้นตอนการดําเนินโครงการลูกเสือชอสะอาด ตามทก่ี าํ หนด (4) ดําเนนิ การอน่ื ตามทค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย ทง้ั น้ี ตงั้ แตว นั ท่ี 28 กมุ ภาพันธ พ.ศ. 2556 เปนตนไป ส่ัง ณ วนั ที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2556 (นายปานเทพ กลาณรงคราญ) ประธานกรรมการ ป.ป.ช. ๑๒๖ 127

คําสัง่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ท่ี 220/2556 เร่ือง แตงตง้ั คณะอนุกรรมการบริหารโครงการลูกเสอื ชอสะอาด (เพมิ่ เติม) ตามคําสั่งคณะกรรมการ ป.ป.ช. ที่ 73/2556 ลงวันท่ี 11 มีนาคม 2556 แตงต้ัง คณะอนุกรรมการบรหิ ารโครงการลูกเสือชอสะอาด น้นั บัดนี้ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการประชุม ครั้งท่ี 481 - 46/2556 เม่ือวันที่ 20 มิถุนายน 2556 มีมติเห็นชอบใหแตงต้ังคณะอนุกรรมการบริหารโครงการลูกเสือชอสะอาด (เพิ่มเติม) จาํ นวน 5 ราย ฉะนั้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 19 (16) แหงพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 ซึ่งแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 จงึ ใหแตงตั้งคณะอนกุ รรมการบรหิ ารโครงการลูกเสอื ชอสะอาด (เพมิ่ เตมิ ) จํานวน 5 ราย ดงั น้ี 1. พลโทสมหมาย วงษม าก อนกุ รรมการ 2. นายวายุ พยัคฆนั ตร อนุกรรมการ 3. นายศจั ธร วฒั นะมงคล อนกุ รรมการ 4. นายกฤษณ โกไศยกานนท อนุกรรมการ 5. นางสุธินี ขาวออ น อนกุ รรมการ ทงั้ น้ี ตั้งแตว นั ที่ 20 มิถนุ ายน พ.ศ. 2556 เปนตน ไป สง่ั ณ วนั ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2556 (นายปานเทพ กลา ณรงคราญ) ประธานกรรมการ ป.ป.ช. ๑๒๗ 128

คําสั่งคณะอนกุ รรมการขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตรวา ดว ยการปองกนั และปราบปรามการทจุ รติ โดยใชกลไกทางการศกึ ษา ที่ 3/2556 เร่ือง แตงต้ังคณะทํางานจดั ทําหลกั สตู รและคูมอื การฝก อบรมลูกเสือชอ สะอาด ตามท่ี คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตรวาดวยการปองกันและปราบปรามทุจริต โดยใชกลไกทางการศึกษา เห็นชอบใหดําเนินโครงการลูกเสือชอสะอาด และคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไดมีคําสั่ง แตงตั้งคณะอนุกรรมการบริหารโครงการลูกเสือชอสะอาด เพ่ือพิจารณาการดําเนินงานตามกรอบแนวทาง การดําเนินโครงการลูกเสือชอสะอาด ซึ่งการจัดทําหลักสูตรและคูมือการฝกอบรมลูกเสือชอสะอาด เปนขัน้ ตอนหน่งึ ของการดาํ เนนิ โครงการลกู เสอื ชอสะอาด นนั้ ดังนัน้ เพ่ือใหการจดั ทาํ หลักสตู รและคมู อื การฝกอบรมลูกเสือชอ สะอาด สําหรับลูกเสือสํารอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุนใหญ และลูกเสือวิสามัญ เปนไปดวยความเรียบรอย จึงใหแตงตั้งคณะทํางาน จดั ทาํ หลักสูตรและคูม ือการฝกอบรมลกู เสอื ชอ สะอาด ประกอบดวย นายศภุ กร วงศป ราชญ ทปี่ รกึ ษา นายพะนอม แกวกาํ เนิด ท่ปี รึกษา พลเรอื เอกสุชาติ กลศาสตรเสนี ทีป่ รึกษา นายนิคม อินทรโสภา ทป่ี รกึ ษา นายคงวฒุ ิ ไพบูลยศิลป ท่ปี รึกษา 1. นายวายุ พยคั ฆนั ตร ประธานคณะทาํ งาน 2. นายกฤษณ โกไศยกานนท คณะทํางาน 3. นางสาวจตุพร พูลแกว คณะทํางาน 4. นางสาวจริ าภรณ วงศถิรวฒั น คณะทํางาน 5. นางสาวจริ าภรณ ภูอุดม คณะทํางาน 6. นายชุมพล ชมุ จติ ร คณะทํางาน 7. นายเดช วรเจริญศรี คณะทํางาน 8. นายทวีศกั ดิ์ ทวรี ัตนธรรม คณะทํางาน 9. นายทองชบุ ศรแกว คณะทํางาน 10. นายพรชั ฌ ผดุ ผอง คณะทํางาน 11. นายไพฑรู ย พันธุชาตรี คณะทํางาน 12. นางวรรณภา พรหมถาวร คณะทํางาน 13. นายวลลฺ ภ ยุติธรรมดํารง คณะทาํ งาน ๑๒๘ 129

14. นายวริ ัช บุญชัยศรี คณะทํางาน 15. นายศัจธร วฒั นะมงคล คณะทาํ งาน 16. นางศริ ณิ ี บญุ ปถมั ภ คณะทํางาน 17. นางสุวฒั นา ธรรมประภาส คณะทํางาน 18. นายสมเกยี รติ ฮะวังจู คณะทาํ งาน 19. นายสมเจตน พงษว สิ วุ รรณ คณะทํางาน 20. นายสุภโชค เกษมจติ คณะทาํ งาน 21. นายเสนห ภสู วา ง คณะทํางาน 22. นายโอฬาร เกงรกั ษสัตว คณะทาํ งาน 23. นายบุญแสง ชรี ะภากร คณะทํางานและเลขานุการ 24. นางขวัญใจ กลิน่ ขจาย คณะทํางานและผชู ว ยเลขานกุ าร 25. นายสทุ ศั น สมนอ ย คณะทํางานและผูชวยเลขานกุ าร โดยมีอํานาจหนาที่ ดงั น้ี (1) จัดทําหลักสูตรลูกเสือชอสะอาด สําหรับลูกสํารอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุนใหญ และลูกเสือวิสามญั (2) จัดทาํ คมู ือสาํ หรบั ครูผปู ฏบิ ัตกิ ารสอนหลกั สูตรลกู เสือชอสะอาด (3) พิจารณากําหนดแนวทางการนําหลักสูตรลูกเสือชอสะอาด เขาเปนวิชาบังคับเลือก ในการเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือในสถานศึกษา เชน การทดลองใชหลักสูตรลูกเสือ ชอสะอาดทั้ง 4 ประเภท การฝกอบรมครูผูปฏิบัติการสอนหลักสูตรลูกเสือชอสะอาด การจดั ตง้ั หนวยลกู เสือชอ สะอาดในสถานศกึ ษา ฯลฯ (4) ดาํ เนนิ การอน่ื ตามทค่ี ณะอนกุ รรมการบริหารโครงการลกู เสือชอสะอาด มอบหมาย ท้งั น้ี ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป ส่งั ณ วนั ท่ี 21 สงิ หาคม พ.ศ. 2556 (ศาสตราจารย (พเิ ศษ) วิชา มหาคุณ) ประธานอนกุ รรมการขับเคล่ือนยทุ ธศาสตรช าติ วาดว ยการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริต โดยใชก ลไกทางการศึกษา ๑๒๙ 130

เพลง คา นยิ ม ทาํ นอง หลงเสียงนาง คํารอง นางศริ ิณี บญุ ปถัมภ (หลา ลา.....) คานิยม คุณธรรม ลูกเสือไทย/เทิดทูนไวในชาติ ศาสน กษัตริย/เสียสละ อดทน คนประหยดั / ตองซื่อสัตย รูส ติ รคู ดิ ทํา (หลา ลา.....) ดํารงตน เศรษฐกิจ ใหพอเพียง/อยาหลีกเล่ียง จงรักษา ระเบียบวินัย/อุดมการณ เพอื่ สว นรวมทีด่ ไี ว/จงสนใจใฝรูห มนั่ ศกึ ษา (หลา ลา.....) รักษาวัฒนธรรมประเพณี/เปนคนดีมีความกตัญู/บิดา มารดา ผูปกครองและ คณุ ครู/อีกเรยี นรูเขาใจ ประชาธปิ ไตย (หลา ลา.....) ใหเขม แข็งทงั้ จติ ใจและรางกาย/จงละอายไมใฝต ่ํามีกเิ ลส/มีศีลธรรม เปนคนดีของ ประเทศ/ใหสมเจตนล กู เสอื ชอ สะอาด เพลง ชอสะอาด ทํานอง เดือนเพ็ญ คาํ รอง นางศริ ิณี บุญปถัมภ สญั ลกั ษณคุณธรรมความดี/ชอดอกไมน้ี ชอแหงความดี “ลูกเสือชอสะอาด” มอบผูทํา ความดี/ของขวัญชอ นี้ เพ่อื คนดมี ีคณุ ธรรม เรามารวมการอยูคาย/ดวยใจท่ีหมาย จะทําใหตน เปนคนสะอาด/กลาทําสิ่งที่ถูกตอง/ ซือ่ สุจรติ ดงั ปอง ทําความดใี หมนี า้ํ ใจ ตองเคารพกติกา/ทุจริต คดโกงนั้นหนา จงเล่ียงหลีกมาใหไกลใหหาง/ทําสิ่งใดตอง ต้ังจิต/ยอมรับฟง ความคดิ คาํ เพือ่ นเตือนจติ ตองยอมรบั ฟง อันคําปฏิญาณและกฎ/เราจะจําจด นําไปปฏิบัติใหได/มีคุณธรรม นําวินัย/จิตอาสา ทําไป/รวมมือรว มใจสามัคคี เพลง ทาํ ความดี ทํานองหลงเสยี งนาง คํารอ ง นางศริ ณิ ี บญุ ปถัมภ (หลา ลา....) พวกเราลูกเสือชอสะอาด มุงมาตรกระทําแตความดี ทุจริตคดโกง เลี่ยงหลีกหนี สามัคคี มีวนิ ยั ใจสะอาด (หลา ลา....) มีนํ้าใจทําในสิ่งถูกตอง ตามครรลอง ซื่อสัตยสุจริต กลาคิดทําในสิ่งที่ไมผิด สุจริต เทีย่ งธรรมในหนา ที่ (หลา ลา....) ป.ป.ช. นั่นหนอขอชืน่ ชม ใหกับสมที่นําล้ําสมัย กอต้ังลูกเสือชอสะอาดอยางฉับไว สรางเด็กไทยใหเปน พลเมืองดี ๑๓๐ 131



สนับสนนุ การจดั พิมพโดย สำนักงานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ เลขที่ ๓๖๑ ถนนนนทบรุ ี ตำบลทา ทราย อำเภอเมอื งนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐ โทร ๐ ๒๕๒๘ ๔๘๐๐-๔๙ , ๐ ๒๒๘๒ ๓๑๖๑-๕ สายดว น ๑๒๐๕ www.nacc.go.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook