Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือสามัญช่อสะอาด

คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือสามัญช่อสะอาด

Published by ปริญญา, 2021-11-17 10:20:01

Description: คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือสามัญช่อสะอาด

Keywords: ลูกเสือ, ลูกเสือช่อสะอาด,ลูกเสือสามัญ

Search

Read the Text Version

คูม‹ ือการฝƒกอบรมหลักสตู ร ลูกเสอื สามัญชอ‹ สะอาด จัดทำโดย สำนักงานลกู เสอื แหงชาติ สำนักการลูกเสอื ยุวกาชาดและกิจการนกั เรย� น สำนกั งานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ร�ตแหง ชาติ



ค‹มู ือการฝกƒ อบรมหลกั สูตร ลกู เสือสามญั ชอ‹ สะอาด

พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู ัวภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช พระประมุขคณะลูกเสือแหง ชาติ ก

\"...ความซือ่ สัตย สจุ รติ เปนพ้นื ฐานของความดีทุกอยาง เดก็ ๆ จงึ ตอ งฝกฝนอบรมใหเ กิดมขี น้ึ ในตนเอง เพอื่ จักไดเติบโตขึน้ เปน คนดี มีประโยชน และมีชวี ิตทส่ี ะอาด ทเ่ี จริญมั่นคง...\" พระบรมราโชวาท พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัว พระราชทานเน่ืองในวนั เดก็ แหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๑ ข

คาํ นาํ คูมือการฝกอบรมหลักสูตรลูกเสือชอสะอาด ไดจัดทําข้ึนสําหรับลูกเสือท้ัง 4 ประเภท คือ ลูกเสือ สํารอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุนใหญ และลูกเสือวิสามัญ เพ่ือใชเปนแนวทางประกอบการเรียนการสอน หลักสูตรลูกเสือชอสะอาดในสถานศึกษา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเสริมสรางจิตสํานึกการเปนพลเมืองดี มีความตระหนัก ความรู ความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับปญหาและภัยของการทุจริตที่มีตอประเทศ ปฏิบัติตน ดวยความซอ่ื สัตยส ุจริต มจี ติ สาธารณะ มีสวนรวมสรางสรรคสังคมใหโปรงใส นํากระบวนการลูกเสือไปรณรงค เสริมสรางสังคมสุจริต เปนธรรม ชวยใหสังคมมีสันติสุข มีสวนรวมในการตอตานการทุจริต ตลอดจนสงเสริม ใหเหน็ คณุ คา ของตนเองและผอู ื่น มพี ฤตกิ รรมในทางสรางสรรค รวมถึงดําเนนิ ชวี ิตในสงั คมไดอ ยางมคี วามสขุ การจัดทําหลักสูตรลูกเสือชอสะอาด ไดรับความอนุเคราะหจากสํานักงานคณะกรรมการปองกันและ ปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (สํานักงาน ป.ป.ช.) สํานักงานลูกเสือแหงชาติ สํานักการลูกเสือ ยุวกาชาดและ กิจการนักเรียน สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีการแตงต้ังคณะบุคคลรวมกันดําเนินการ คือ คณะอนุกรรมการบริหารโครงการลูกเสือชอสะอาด และคณะทํางานจัดทําหลักสูตรและคูมือการฝกอบรม ลูกเสือชอสะอาด ตลอดจนไดรับความรวมมือจากกรรมการผูทรงคุณวุฒิของสภาลูกเสือไทย และผูเชี่ยวชาญ ทางดานการลูกเสือหลายทาน จนทําใหหลักสูตรลูกเสือชอสะอาดสําเร็จลุลวงไปดวยดี จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ คณะทํางาน กนั ยายน ๒๕๕๗ ค ก

ความเปนมา คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (คณะกรรมการ ป.ป.ช.) มีอํานาจหนาท่ี ในการปองกันการทุจริตและเสริมสรางทัศนคติคานิยมเกี่ยวกับความซื่อสัตยสุจริต ไดใหความสําคัญกับ สถาบันการศึกษาในการอบรมบมนิสัยใหความรู ความเขาใจท่ีถูกตอง การสรางนิสัย การประพฤติปฏิบัติตาม หลักคุณธรรม ซ่ึงหัวใจสําคัญของการศึกษา คือ การทําใหคนเปนคนดี เปนคนท่ีเปนประโยชนตอผูอ่ืน ทั้งตอ สังคมท่ีตนอยูอาศัยและตอประเทศชาติ การสรางลักษณะนิสัยความซื่อสัตยสุจริตจึงเปนเรื่องสําคัญที่ตอง เอาใจใสดแู ลไมนอยกวา การทาํ ใหผ เู รียนมีความรู มกี จิ กรรมเสริมสรางพัฒนาการทั้งทางกาย สติปญญา ศีลธรรม และการเปนพลเมืองท่ีดี โดยเห็นวาหลักสูตรลูกเสือและเนตรนารี สามารถปลูกฝงคานิยมความซ่ือสัตยสุจริต และการทําประโยชนเพอ่ื สวนรวม ซ่ึงจะทําใหเยาวชนคนรุนใหมมีคานิยมความซื่อสัตยสุจริต เห็นแกประโยชน สวนรวม จึงไดประสานความรวมมือกับสํานักงานลูกเสือแหงชาติ กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อสงเสริมใหมี การเรียนการสอนเรื่องการปองกันและปราบปรามการทุจริตในหลักสูตรลูกเสือและเนตรนารีทุกระดับ เพือ่ ปลูกฝง คานิยมความซ่ือสัตยส ุจรติ อันจะสงผลใหป ระเทศชาติมกี ารพฒั นาทย่ี ่ังยนื สืบไป สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (สํานักงาน ป.ป.ช.) ดําเนินการ เพ่ือขบั เคลือ่ นยุทธศาสตรชาติวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริตโดยใชกลไกทางการศึกษา เมื่อวันที่ ๒๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ไดจัดทําบันทึกขอตกลงความรวมมือในการปองกันและปราบปรามการทุจริต ระหวางสํานักงาน ป.ป.ช. กับกระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยเห็นชอบรวมกันในการสงเสริม สนับสนุน เผยแพร และประสาน การเสริมสรางทัศนคติ คานิยมในความซ่ือสัตยสุจริต ใหหนวยงานและบุคลากรในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ตลอดจนบุคลากรที่เก่ียวของกับการจัดการศึกษาของประเทศทุกระดับ อันเปนการยกระดับใหกระทรวง ศึกษาธกิ ารไทยใสสะอาด ปราศจากการทุจริตทกุ รปู แบบ และมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามการทุจริต กับสํานักงาน ป.ป.ช. เพ่ือรว มขับเคลอ่ื นยุทธศาสตรช าติวาดวยการปองกนั และปราบปรามการทุจรติ สํานักงาน ป.ป.ช. ไดรับการอนุเคราะหเปนอยางดียิ่งจากสํานักงานลูกเสือแหงชาติ และสํานัก การลกู เสอื ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ในการดําเนินการจัดทําหลักสูตร ลูกเสือชอสะอาด ทั้ง ๔ ประเภท ไดแก ลูกเสือสํารอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุนใหญ และลูกเสือวิสามัญ และสํานักงาน ป.ป.ช. ไดมอบหมายใหสํานักปองกันการทุจริตภาคการเมืองรับผิดชอบ “โครงการลูกเสือ ชอสะอาด” ตง้ั แต พ.ศ. ๒๕๕๖ - พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยมีผลการดาํ เนินการ ดังนี้ ๑. สํานักงานลูกเสือแหงชาติ เปนเจาภาพในการจัดพิธีลงนามในบันทึกขอตกลงความรวมมือ เร่ือง ความรวมมือในกิจการลูกเสือเพ่ือการปองกันและปราบปรามการทุจริต ระหวางสํานักงาน ป.ป.ช. กับสํานักงาน ลูกเสือแหงชาติ ในพิธีมอบนโยบาย “การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมเยาวชนโดยกระบวนการลูกเสือ” เม่ือวันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ๒. จัดทําตราสญั ลกั ษณ “ลูกเสอื ชอ สะอาด” เพื่อใชใ นการดําเนนิ โครงการลกู เสอื ชอสะอาด ๓. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือจัดทําหลักสูตรและคูมือการฝกอบรมลูกเสือชอสะอาด ท้ัง ๔ ประเภท ระหวางวันที่ ๗ - ๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ง ข

๔. ฝกอบรมผูกํากับลูกเสือ ข้ันความรูทั่วไป เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรของสํานักงาน ป.ป.ช. เกี่ยวกับกจิ การลกู เสือ เม่อื วันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ๕. ฝกอบรมผูบังคับบัญชาลูกเสือระดับผูนํา ข้ันความรูชั้นสูง เพ่ือเพิ่มพูนคุณวุฒิทางการลูกเสือใหกับ บคุ ลากรของสาํ นกั งาน ป.ป.ช. ระหวางวันที่ ๑๒ - ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ๖. ประกอบพิธีมอบวุฒิบัตรและเครื่องหมายวูดแบดจ บุคลากรทางการลูกเสือระดับผูนํา ขั้นความรู ชั้นสงู รนุ ที่ ๖๖๙ ของสาํ นกั งาน ป.ป.ช. เม่ือวนั ท่ี ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ๗. จัดต้งั สโมสรลูกเสอื สาํ นกั งาน ป.ป.ช. เมื่อวนั ท่ี ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ๘. ทดลองใชหลักสูตรลกู เสอื ชอ สะอาด ทั้ง ๔ ประเภท ระหวา งเดือนพฤษภาคม - มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗ ๙. ประชมุ เชงิ ปฏิบตั กิ ารเพ่ือทบทวนหลักสตู รลูกเสือชอ สะอาด ในเดอื นสงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เมื่อเสร็จสิ้นการดําเนินงานใน พ.ศ. ๒๕๕๗ จะมีการนําหลักสูตรลูกเสือชอสะอาดไปใชในสถานศึกษา ทวั่ ประเทศ พรอ มท้ังผลกั ดนั ใหเ ปน วชิ าพเิ ศษตอไป พธิ ลี งนามในบนั ทึกขอตกลงความรวมมอื ระหวางสาํ นักงานคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทุจริตแหง ชาติ กับสํานักงานลูกเสือแหงชาติ จ ค

อารมั ภบทลูกเสอื สามญั ชอสะอาด การลูกเสือสามัญถือกําเนิดขึ้นที่ประเทศอังกฤษ โดยทานลอรด โรเบิรต สตีเฟนสัน สมิทธ เบเดน - โพเอลล (บี-พี) โดยไดรับอิทธิพลและแรงบันดาลใจจากสภาพสังคมของประเทศอังกฤษในขณะน้ัน ซ่ึงมีปญหา ในเร่ืองชนช้ัน การเอารัดเอาเปรียบ การไมรูเสียสละ จนเปนแรงผลักดันใหทาน บี-พี คิดหาวิธีการท่ึจะ แกปญหา โดยเร่ิมตนท่ีตัวเด็กกอน ทานนําแนวคิดและประสบการณตาง ๆ ในชวงวัยเด็กทั้งของทานและ คนใกลช ดิ กับทาน รวมถงึ เหตุการณท ่เี กิดขน้ึ มากมายในชวี ิตจริงของทาน ในชวงที่ทานรับราชการทหาร มีโอกาส ไปทําสงครามในแอฟริกากับชนเผาตาง ๆ อาทิ เผาซูลู เผา อาชานติ และอีกหลาย ๆ เผาที่เกิดเหตุการณไมสงบ ในดินแดนนั้น โดยเฉพาะเรียนรูถึงคุณคาและการพัฒนาเด็ก ๆ ที่สามารถนํามาพัฒนา และปรับใชใหเกิด ประโยชนต อประเทศชาติ ในการกจิ การรบพงุ และอ่นื ๆ ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๔๕๐ (ค.ศ. ๑๙๐๗) ทานบี-พี ไดนําเด็กชายจํานวน ๒๐ คน ซ่ึงคัดเลือก มาจากครอบครัวที่แตกตางกัน แตมีอายุที่ใกลเคียงกัน เดินทางไปอยูคายพักแรม (Camping) ที่เกาะบราวนซี (Brownsea Island) อยูทางตอนใตของประเทศอังกฤษ ทานบี-พี กําหนดกิจกรรมที่หลากหลายใหแกเด็ก ๆ เหลาน้ัน อาทิ กิจกรรมท่ีตองใชทักษะและความสามารถของตนเอง (กิจกรรมลูกเสือ) เชน มีการเลนเกม เลานิทาน รองเพลง ในชวงเวลาตอนกลางคืนมีกิจกรรมการผจญภัย เชน การบุกจูโจมและการเดินทาง สูเปาหมาย การเลนรอบกองไฟ ตลอดจนวิชาดาราศาสตรและอ่ืน ๆ และเมื่อเสร็จสิ้นการอยูคายพักแรม ที่เกาะบราวนซีในคร้ังน้ันแลว จึงถือเสมือนวากิจการลูกเสือของโลกกอกําเนิดข้ึนแลว และหลังจากนั้นก็มี การแพรก ระจายและขยายเครอื ขา ยไปในประเทศตาง ๆ และเปนทีช่ ื่นชอบอยา งกวางขวาง พ.ศ. ๒๔๕๔ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงพระราชทานกําเนิดลูกเสือไทยข้ึน เพ่ือมุงหวังอบรมจิตใจใหคนไทยมีความรักชาติ มีคุณธรรม มีความเสียสละ สามัคคี มีความกตัญู โดยใช คําปฏิญาณและกฎของลูกเสือเปนแนวทางและยึดถือเปนหลักในการปฏิบัติ เพื่อความเจริญของประเทศชาติ จนถึงปจจุบันความเปล่ียนแปลงและกลไกของบานเมืองเปลี่ยนไปมาก การดํารงชีวิตของประชากรในประเทศ สวนใหญตองดิ้นรนเพอ่ื ความอยรู อด ความฟุง เฟอ และความไมร ูจกั พอ ทําใหเกิดคานิยมท่ีผิด ๆ เห็นกงจักรเปน ดอกบัว ความซื่อสัตยสุจริตก็ลดนอยลงไปตามกระแสและคานิยมของสังคม ที่รับผลกระทบทางเศรษฐกิจ การทุจริต คดโกง จึงมีใหพบเห็นอยูโดยท่ัวไป การไมรูจักยับย้ังช่ังใจ ทําใหภาพรวมของประเทศไดรับ ผลกระทบอยา งรุนแรง ซง่ึ ขอ มลู ดังกลา วน้ี สาํ นักงาน ป.ป.ช. พิจารณาแลวเห็นวา เร่ืองนี้ตองแกปญหาที่ตนเหตุ โดยมุงเนนที่ ตัวเด็กและสถานศึกษา อันเปนสวนสําคัญในการใหความรูและความเขาใจที่ถูกตอง และพรอมท่ีจะปฏิบัติตน เปน ผทู มี่ ีเจตคติที่ดีตอ ความซอ่ื สตั ยสุจริต ประพฤติและปฏิบัติตนตามหลกั คณุ ธรรม จริยธรรม การเปนพลเมืองดี โดยอาศยั กจิ กรรมลูกเสอื เนตรนารี เปนเครื่องมือในการปลูกฝงใหเยาวชนเปนคนดี มีความซื่อสัตย สุจริต และ มคี วามรับผิดชอบทั้งตอตนเองและผูอื่น ดังน้ัน สํานักงาน ป.ป.ช. รวมกับสํานักงานลูกเสือแหงชาติ และสํานัก การลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรียน สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เห็นสมควรดําเนินการจัดทํา โครงการลูกเสือชอสะอาด เพื่อเสริมสรางเจตคติ คานิยม ความซ่ือสัตยสุจริตในหลักสูตรการเรียนการสอนใหกับ เยาวชนที่มีอายุเขาสูวัยรุน โดยการจัดทําหลักสูตรลูกเสือสามัญชอสะอาดมาปรับใชใหเกิดประโยชนอยาง จรงิ จังและตอ เนือ่ งตลอดไป ฉง ง

สารบญั หนา ก คาํ นาํ ข ความเปน มา ง อารมั ภบทลูกเสือสามญั ชอสะอาด จ สารบัญ ๒ สว นท่ี ๑ โครงสรางหลักสูตร ๔ ๕ โครงสรา งหลักสตู รลูกเสือสามัญชอสะอาด ๕ การดําเนินงานเพื่อขอรบั เคร่ืองหมายลูกเสือสามัญชอสะอาด ๕ วัตถปุ ระสงคของการฝกอบรม ๕ มาตรฐานของผูผ า นการฝก อบรม ๕ คณุ สมบตั ิผเู ขารับการฝก อบรม ๕ ระยะเวลาในการฝกอบรม ๖ คําอธบิ ายหลักสูตร ๖ กจิ กรรม/รายวชิ า ๖ วธิ ีการฝก อบรม ๖ การประเมินผล ๗ เกณฑการผานหลักสูตร ๘ ส่อื การฝกอบรม ๑๑ ตารางการฝกอบรม ๑๖ กาํ หนดการฝก อบรม ๒๓ สวนท่ี ๒ กิจกรรม/รายวชิ าและเนอ้ื หาสาระ ๒๖ คําแนะนําทวั่ ไป ๓๒ ปฐมนิเทศการฝก อบรม ๓๙ วัตถุประสงคของการฝก อบรม ๔๗ ลูกเสือกบั การเปดดวงตาใหมอยางมีความสุข ๕๓ ลกู เสอื กับการกระทําที่เปด เผยโปรง ใส ๖๑ ลูกเสอื กบั หนาที่พลเมอื งท่ีดี ๖๘ ลูกเสือกบั ความรับผิดชอบ ๘๐ ลูกเสือกบั การเคารพสิทธิ เสรภี าพของตนเองและผูอน่ื ลกู เสอื กับการยอมรับความคิดเห็นท่ีแตกตาง ลกู เสอื กับความซื่อสตั ยตอตนเอง ตอ ผูอ่ืนและตอประเทศชาติ ลกู เสอื กับการสรา งพลังคณุ ธรรมความดีและการมีสว นรวม ช จ

ลกู เสอื กบั เสนทางสูความดีและการมสี วนรวม หนา ลกู เสือกบั การชุมนมุ รอบกองไฟ ๘๗ ลกู เสอื กับการบาํ เพ็ญประโยชนเพ่อื สาธารณะ ๙๗ ลกู เสอื กบั การเสนอจดั ทําโครงการ/โครงงาน ๑๐๖ สว นท่ี ๓ กิจกรรมเสนอแนะ ๑๑๐ การประดบั เคร่อื งหมายลกู เสือสามญั ชอสะอาด ๑๒๐ แนวทางการจัดตั้งกองลูกเสือสามัญในสถานศกึ ษา ๑๒๑ เกณฑการจัดต้ังลูกเสือสามญั ชอสะอาดในสถานศกึ ษา ๑๒๓ บรรณานกุ รม ๑๒๔ ภาคผนวก ๑๒๖ คําส่ังแตงตัง้ คณะอนุกรรมการบรหิ ารโครงการลูกเสอื ชอสะอาด ๑๒๘ คาํ สั่งแตง ตงั้ คณะอนุกรรมการบริหารโครงการลูกเสือชอสะอาด (เพ่ิมเติม) ๑๒๙ คําส่ังแตง ตง้ั คณะทาํ งานจัดทาํ หลักสูตรและคมู ือการฝก อบรมลกู เสือชอสะอาด ๑๓๑ เพลงลูกเสือชอสะอาด ฉซ ฉ

ส่วนท่ี ๑ โครงสรา้ งหลกั สตู ร

โครงสรา งหลกั สตู รลกู เสือสามัญชอสะอาด ลาํ ดับ ชื่อวิชา/กิจกรรม รปู แบบการจดั กิจกรรม เวลา (นาที) ๑ ปฐมนิเทศการฝกอบรม รูปแบบที่ ๑ การบรรยาย ๓๐ ๓๐ ๒ วตั ถุประสงคของการฝกอบรม รปู แบบที่ ๑ การบรรยาย ๖๐ ๖๐ ๓ ลูกเสอื กับการเปดดวงตาใหมอยางมีความสุข รูปแบบที่ ๑ กลุมสมั พนั ธ รูปแบบที่ ๒ บทบาทสมมติ ๖๐ ๖๐ ๔ ลูกเสือกบั การกระทาํ ท่ีเปด เผยโปรงใส รูปแบบที่ ๑ การบรรยาย ๖๐ รูปแบบท่ี ๒ เกม ๖๐ รปู แบบที่ ๓ การอภิปราย ๑๘๐ ๕ ลกู เสือกับหนาท่ีพลเมืองท่ดี ี รูปแบบท่ี ๑ การบรรยาย ๖๐ รูปแบบที่ ๒ เกม ๙๐ รปู แบบที่ ๓ การถาม - ตอบ ๑๕๐ ๖ ลูกเสอื กบั ความรบั ผดิ ชอบ รูปแบบที่ ๑ การบรรยาย 2 รูปแบบที่ ๒ เกม ๗ ลูกเสือกับการเคารพสิทธิ เสรีภาพของตนเอง รูปแบบท่ี ๑ การบรรยาย และผูอ ืน่ รูปแบบท่ี ๒ ฐานกจิ กรรม รูปแบบที่ ๑ การแสดง ๘ ลูกเสอื กับการยอมรบั ความคิดเห็นที่แตกตาง ความคิดเห็น รูปแบบที่ ๒ การอภปิ ราย ๙ ลกู เสือกับความซ่ือสตั ยต อตนเอง ตอ ผูอ่นื รปู แบบท่ี ๑ การอภปิ ราย และตอ ประเทศชาติ รปู แบบที่ ๒ เกม/เพลง รปู แบบท่ี ๓ ฐานกจิ กรรม ๑๐ ลูกเสือกับการสรางพลังคุณธรรมความดี รูปแบบที่ ๑ งานกลมุ และการมสี ว นรว ม รูปแบบที่ ๒ เกม/เพลง ๑๑ ลูกเสอื กับเสน ทางสคู วามดีและการมสี วนรว ม รปู แบบที่ ๑ เกม รปู แบบที่ ๒ ฐานกจิ กรรม ๑๒ ลูกเสอื กับการชมุ นุมรอบกองไฟ กจิ กรรมชุมนมุ รอบกองไฟ ๑

ลาํ ดับ ชอ่ื วิชา/กิจกรรม รปู แบบการจดั กจิ กรรม เวลา (นาที) ๑๓ ลกู เสอื กับการบาํ เพ็ญประโยชนเ พือ่ สาธารณะ กิจกรรมบาํ เพญ็ ประโยชน ๙๐ ๑๔ ลูกเสอื กับการเสนอจดั ทาํ โครงการ/โครงงาน รปู แบบท่ี ๑ งานกลุม ๙๐ รปู แบบที่ ๒ การระดมสมอง กิจกรรมลูกเสือชอสะอาด ปฏิบัตกิ ิจกรรมเกย่ี วกบั - • ตนเอง การดาํ เนินการตามแนวทางลกู เสอื • เพ่ือน/สถานศกึ ษา ชอสะอาดหลงั จบการฝก อบรมแลว • ครอบครวั /ชมุ ชน • การขอรบั เครื่องหมายลูกเสอื ชอ สะอาด รวม ๑,๐๘๐ หมายเหตุ เวลาสามารถปรบั เปลย่ี นตามความเหมาะสม ๒ 3

การดําเนนิ งานเพ่ือขอรับเครอื่ งหมายลูกเสอื สามญั ชอสะอาด แผนภูมกิ ารดาํ เนินงาน หลักสูตรลกู เสือสามัญชอ สะอาด ดําเนินการฝก อบรม ๑. ปฐมนเิ ทศการฝกอบรม กิจกรรมในสถานศึกษา ๒. วตั ถปุ ระสงคของการฝกอบรม ๓. ลกู เสอื กบั การเปดดวงตาใหมอ ยา งมคี วามสุข ๔. ลกู เสอื กับการกระทําท่เี ปดเผยโปรง ใส ๕. ลูกเสอื กับหนา ท่ีพลเมืองท่ีดี ๖. ลูกเสอื กับความรบั ผิดชอบ ๗. ลูกเสือกบั การเคารพสทิ ธิ เสรีภาพของตนเองและผูอื่น ๘. ลกู เสือกบั การยอมรับความคดิ เห็นท่แี ตกตาง ๙. ลูกเสอื กับความซ่ือสตั ยต อตนเอง ตอผูอื่นและตอ ประเทศชาติ ๑๐. ลกู เสอื กบั การสรางพลังคณุ ธรรมความดีและการมสี วนรวม ๑๑. ลูกเสือกับเสน ทางสูความดีและการมสี ว นรวม ๑๒. ลกู เสอื กับการชุมนมุ รอบกองไฟ ๑๓. ลกู เสือกับการบาํ เพ็ญประโยชนเ พ่อื สาธารณะ ๑๔. ลูกเสือกับการเสนอจัดทําโครงการ/โครงงาน การนาํ หลักความซือ่ สตั ยไปใช เครอื่ งหมายลกู เสอื สามัญชอ สะอาด ปฏิบตั กิ จิ กรรม อยางนอย ๓ กจิ กรรม ผา น ภายใน ๓ เดอื น ประเมินผล ตนเอง เพอ่ื น/ ครอบครัว/ สถานศึกษา ชมุ ชน ไมผ า น ๓ 4

๑. วตั ถุประสงคข องการฝกอบรม ๑.๑ เพื่อเสริมสรางความรู ความเขาใจในเรื่องการกระทําอยางเปดเผยโปรงใส การเคารพสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผูอ่ืน ความซื่อสัตยสุจริต ความเปนพลเมืองที่ดี และการมีสวนรวมเกี่ยวกับการปองกัน การทุจริต การคดโกง ๑.๒ เพือ่ สงเสริมคุณธรรม และสรางจิตสํานึกท่ีดีในเร่ืองความซื่อสัตยสุจริต และการปองกันการทุจริต ตามระบอบประชาธปิ ไตย ๑.๓ เพอ่ื ปลกู ฝง คณุ คาความซื่อสัตยส ุจรติ ตอตนเอง ตอผูอื่นและตอประเทศชาติ ๑.๔ เพือ่ สรา งการมีสวนรว มในเร่อื งความซ่อื สตั ยสุจรติ และการปองกันการทุจรติ ๒. มาตรฐานของผูผา นการฝกอบรม ผูท่ีผานการฝกอบรมมีคุณสมบัติที่พึงประสงคในเร่ืองการกระทําอยางเปดเผยโปรงใส การยอมรับ เคารพสิทธิเสรีภาพของผูอ่ืน ความซื่อสัตยสุจริต ความเปนพลเมืองที่ดี การมีสวนรวมเกี่ยวกับการปองกัน การทุจรติ และการคดโกง การรงั เกียจการทุจริตทุกรปู แบบ ๓. คุณสมบตั ิผูเ ขารับการฝก อบรม เปนลกู เสอื สามัญ เนตรนารีสามัญ ยวุ กาชาด และสมาชิกผูบําเพญ็ ประโยชนในระดบั เดยี วกนั ๔. ระยะเวลาในการฝก อบรม จาํ นวน ๓ วัน ๒ คนื ๕. คําอธิบายหลกั สูตร เปนการเรียนรูเก่ยี วกบั หลกั การสาํ คญั ในเร่ืองการกระทําท่ีเปดเผยโปรงใส การเคารพสิทธิเสรีภาพของ ตนเองและผูอื่น ยอมรับความคิดเห็นท่ีแตกตางท่ีเกิดข้ึนอยางมีความสุข โดยยึดหลักคุณธรรม ปฏิบัติตนดวย ความซ่ือสัตยสุจริตทั้งตอตนเอง ผูอ่ืนและประเทศชาติ ทําใหเกิดมีความเขาใจในหนาที่และความรับผิดชอบ รวมถงึ สรางการมสี วนรว มในการปองกนั การทุจริต นาํ ไปสกู ารบําเพญ็ ประโยชนต อ สังคมและตอประเทศชาติ ๖. กจิ กรรม/รายวชิ า ๖.๑ ปฐมนเิ ทศการฝกอบรม ๖.๒ วัตถุประสงคของการฝกอบรม ๖.๓ ลกู เสือกับการเปด ดวงตาใหมอยางมคี วามสุข ๖.๔ ลกู เสือกบั การกระทําทเี่ ปด เผยโปรงใส ๖.๕ ลกู เสือกบั หนา ท่พี ลเมอื งท่ีดี ๖.๖ ลูกเสอื กับความรบั ผิดชอบ ๖.๗ ลูกเสือกบั การเคารพสิทธิ เสรภี าพของตนเองและผอู ื่น ๖.๘ ลูกเสอื กับการยอมรับความคดิ เหน็ ท่ีแตกตาง ๖.๙ ลูกเสอื กบั ความซ่ือสตั ยตอตนเอง ตอ ผูอ่นื และตอประเทศชาติ ๖.๑๐ ลกู เสอื กบั การสรา งพลังคุณธรรมความดีและการมีสวนรว ม ๖.๑๑ ลกู เสือกับเสน ทางสคู วามดแี ละการมีสว นรวม ๖.๑๒ ลกู เสอื กบั การชุมนุมรอบกองไฟ ๖.๑๓ ลูกเสอื กับการบําเพญ็ ประโยชนเพ่ือสาธารณะ ๖.๑๔ ลูกเสอื กบั การเสนอจัดทาํ โครงการ ๔ 5

๗. วิธกี ารฝก อบรม ๗.๑ การบรรยาย ๗.๒ งานกลมุ ๗.๓ การระดมสมอง ๗.๔ บทบาทสมมติ ๗.๕ เกม ๗.๖ ฐานกจิ กรรม ๗.๗ กจิ กรรมกลุมสมั พันธ ๗.๘ การถาม - ตอบ ๗.๙ กจิ กรรมชมุ นมุ รอบกองไฟ ๗.๑๐ กจิ กรรมบําเพ็ญประโยชน ๘. การประเมินผล ประเมนิ ผลจากผเู ขารบั การฝกอบรมและเขารว มกิจกรรม ๘.๑ วธิ กี ารวัดผล สงั เกตพฤติกรรม ประเมินความรู ประเมินผลงาน ๘.๒ เคร่อื งมือวดั ผล แบบสังเกตพฤติกรรม แบบประเมนิ ความรู แบบประเมนิ ผลงาน ๘.๓ เกณฑการประเมนิ ผล ผานเกณฑรอ ยละ ๘๐ ๙. เกณฑการผา นหลกั สูตร ๙.๑ เวลาเขา รวมการฝกอบรมไมต ่าํ กวา รอยละ ๘๐ ๙.๒ ผานการประเมินทกุ วชิ าไมต่ํากวารอยละ ๘๐ ๙.๓ ปฏิบัติกิจกรรมของลูกเสือ เพ่ือขอรับเครื่องหมายลูกเสือสามัญชอสะอาดอยางนอย ๓ กิจกรรม กรณไี มผานเกณฑการประเมินผล ใหปฏิบัตกิ จิ กรรมอกี ครง้ั ภายในระยะเวลา ๓ เดือน ๑๐. สอ่ื การฝกอบรม ๑๐.๑ สอ่ื โสตทศั นปู กรณ เชน เคร่อื งฉายโปรเจคเตอร คอมพิวเตอร เครื่องเสียง วดี ิทศั น ๑๐.๒ วสั ดสุ าํ นกั งาน เชน กระดาษ A4 ปากกาเคมี กระดาษ flipchart ๑๐.๓ แผน ภาพ ใบความรู ใบงาน ใบกจิ กรรม แผนภูมิ รูปภาพ เพลง เกม ๑๐.๔ เครอื่ งแตง กายประกอบการแสดง ๑๐.๕ เครอ่ื งดนตรี เชน กลอง ฉิง่ ฉาบ ฯลฯ ๕ 6

7 ตารางการฝกอบรมหลักสูตรลูกเสือสามัญชอสะอาด เวลา ๐๕.๓๐ - ๐๙.๐๐ น. ๐๙.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ - ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. ๑๕.๔๕ - ๑๖.๔๕ - ๑๙.๐๐ - ๒๐.๐๐ - วันที่ ๐๗.๓๐ - ๐๘.๓๐ น. ๐๘.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑๐.๔๕ - ๑๒.๐๐ น. ๑๓.๐๐ น. ๑๓.๓๐ น. ๑๓.๓๐ - ๑๔.๔๕ - ๑๖.๔๕ น. ๑๙.๐๐ น. ๒๐.๐๐ น. ๒๑.๐๐ น. ๑๔.๓๐ น. ๑๕.๔๕ น. ลกู เสอื วันท่ี ๑ • รายงานตวั กับความ ของการ • จดั กลุม • ปฐมนิเทศ • วตั ถุประสงค นันทนาการ ลูกเสือกบั ลูกเสือ รับผดิ ชอบ พัก/รับประทานอาหารเย็น ลกู เสือกบั ลูกเสอื กับ ฝกอบรม • พิธเี ปด การ • ลกู เสือกับการเปด การกระทาํ กับหนา ท่ี การเคารพ การยอมรบั ทเ่ี ปด เผย พลเมืองท่ีดี สทิ ธิเสรีภาพ ความคดิ เหน็ ฝกอบรม ดวงตาใหมอยางมี โปรง ใส ของตนเอง ที่แตกตา ง • พิธถี วายราชสดดุ ี ความสุข และผูอื่น • พิธเี ปด รอบเสาธง วนั ท่ี ๒ • กจิ กรรมกาย ลกู เสือกับความซ่อื สตั ยตอตนเอง ตอ ผูอนื่ พัก/รบั ประทานอาหารกลางวนั นนั ทนาการ ลกู เสือกบั ลกู เสือกับ นดั หมาย ลูกเสือกบั การชุมนมุ ของการ บริหาร และตอประเทศชาติ การสรางพลงั เสนทางสู การชุมนมุ รอบกองไฟ ฝก อบรม • รบั ประทานอาหาร คุณธรรม ความดแี ละ รอบกองไฟ • รบั การตรวจ ความดแี ละ การมสี วนรวม • พธิ รี อบเสาธง การมสี ว นรวม • กจิ กรรมสราง ความสมั พนั ธ วนั ที่ ๓ • กจิ กรรม ลูกเสือกบั การบําเพ็ญ ลกู เสือกบั การเสนอ • ชี้แจงการจัดตัง้ ลูกเสอื สามญั ชอ สะอาด เดินทางกลบั ของการ กายบรหิ าร ประโยชนเ พ่ือ จดั ทําโครงการ/ ในสถานศกึ ษา ฝกอบรม • รบั ประทานอาหาร สาธารณะ โครงงาน • รบั การตรวจ • สรุป อภิปราย ประเมนิ ผล ทดสอบ • พิธีรอบเสาธง หลงั การฝกอบรม • กิจกรรมสราง ความสัมพนั ธ • ขอรับเครอ่ื งหมาย • พธิ ปี ด การฝก อบรม • พิธีปด รอบเสาธง หมายเหตุ ๑. ตารางการฝก อบรมอาจเปล่ยี นแปลงตามความเหมาะสม ๒. คาํ วา “ลูกเสือ” หมายรวมถึง ลกู เสอื สามญั เนตรนารีสามัญ ยุวกาชาด และสมาชกิ ผบู ําเพ็ญประโยชนในระดับเดยี วกัน ๓. การนดั หมายกจิ กรรมชุมนมุ รอบกองไฟใหอยูใ นดลุ ยพนิ ิจของพธิ ีกรประจาํ วัน ๔. พักรับประทานอาหารวางและเครอื่ งดืม่ เวลา ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔๕ น. และ ๑๔.๓๐ - ๑๔.๔๕ น. ๕๖

กาํ หนดการฝกอบรมหลักสตู รลกู เสือสามัญชอสะอาด ระหวางวันท่ี ............เดอื น................................ พ.ศ. .............. ณ คายลูกเสือ............................................................................. วนั ท่ี ๑ ของการฝก อบรม (วันที่ ........ เดอื น .................... พ.ศ. .............) ๐๗.๓๐ น. รายงานตวั ลงทะเบียน/รบั เอกสาร/แบง หมู ๐๘.๓๐ น. ปฐมนเิ ทศการฝกอบรมหลักสูตรลูกเสอื สามัญชอสะอาด ๐๙.๐๐ น. พธิ เี ปดในหอ งประชมุ • ประธานจุดเทียนธปู บชู าพระรัตนตรยั • พิธีถวายราชสดดุ ี • กลา วรายงาน • ประธานกลาวปราศรยั เปด การฝก อบรม พิธีทางลูกเสือ • พธิ รี อบเสาธง (ชกั ธงข้ึน สวดมนต สงบนิ่ง) ๑๐.๐๐ น. • ผอู ํานวยการฝกอบรมกลา วปราศรยั นดั หมาย (ท่ีพกั /สัมภาระ/เปล่ียนชดุ ) ๑๐.๓๐ น. รบั ประทานอาหารวา งและเครือ่ งด่มื ๑๐.๔๕ น. วตั ถุประสงคของการฝกอบรมหลกั สตู รลูกเสอื สามัญชอสะอาด ๑๑.๑๕ น. ลกู เสือกบั การเปด ดวงตาใหมอยา งมีความสขุ ๑๒.๐๐ น. รบั ประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ น. นนั ทนาการ ๑๓.๓๐ น. ลกู เสือกับการกระทาํ ท่ีเปด เผยโปรงใส ๑๔.๓๐ น. พกั รับประทานอาหารวา งและเคร่ืองดม่ื ๑๔.๔๕ น. ลกู เสอื กับหนาทพ่ี ลเมอื งท่ีดี ๑๕.๔๕ น. ลกู เสือกับความรบั ผดิ ชอบ ๑๖.๔๕ น. ประชุมคณะวิทยากร ๑๘.๐๐ น. ชกั ธงลง/รับประทานอาหารเยน็ ๑๙.๐๐ น. ลกู เสือกับการเคารพสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผูอื่น ๒๐.๐๐ น. ลกู เสือกบั การยอมรบั ความคิดเห็นที่แตกตาง ๒๑.๐๐ น. สรปุ กจิ กรรม/นดั หมาย/พธิ ีการทางศาสนา/สรรเสริญพระบารมี/นอน วันท่ี ๒ ของการฝกอบรม (วันท่ี ........ เดอื น .................... พ.ศ. .............) ๐๕.๓๐ น. ต่ืนนอน กายบริหาร ภารกจิ สวนตัว ๐๗.๐๐ น. รบั ประทานอาหารเชา ๐๗.๓๐ น. รบั การตรวจ ๐๘.๐๐ น. พิธีรอบเสาธง ๐๙.๐๐ น. ลกู เสอื กบั ความซื่อสัตยตอ ตนเอง ตอผูอนื่ และตอ ประเทศชาติ (อาหารวา งและเครื่องดื่มในเวลา) ๗ 8

๑๒.๐๐ น. รบั ประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ น. นนั ทนาการ ๑๓.๓๐ น. ลูกเสอื กับการสรา งพลงั คุณธรรมความดีและการมีสว นรว ม ๑๔.๓๐ น. รับประทานอาหารวางและเครอ่ื งดมื่ ๑๔.๔๕ น. ลกู เสือกับเสน ทางสูค วามดีและการมสี ว นรวม ๑๖.๑๕ น. นดั หมายการชมุ นุมรอบกองไฟ ๑๖.๔๕ น. ประชุมคณะวทิ ยากร ๑๘.๐๐ น. ชักธงลง/รบั ประทานอาหารเย็น ๑๙.๐๐ น. การชุมนุมรอบกองไฟ ๒๑.๐๐ น. สรปุ กิจกรรม/นัดหมาย/พิธีการทางศาสนา/สรรเสรญิ พระบารมี/นอน วันท่ี ๓ ของการฝกอบรม (วันที่ ........ เดอื น .................... พ.ศ. .............) ๐๕.๓๐ น. ตื่นนอน กายบริหาร ภารกจิ สวนตวั ๐๗.๐๐ น. รบั ประทานอาหารเชา ๐๗.๓๐ น. รับการตรวจ ๐๘.๐๐ น. พธิ รี อบเสาธง ๐๙.๐๐ น. ลกู เสือบําเพญ็ ประโยชน (กจิ กรรมบําเพ็ญประโยชน... คา ย/ท่พี กั /ปลูกตนไม/...) ๑๐.๓๐ น. พกั รบั ประทานอาหารวา งและเครื่องดื่ม ๑๐.๔๕ น. ลูกเสอื กับการเสนอจดั ทําโครงการ/โครงงาน ๑๒.๐๐ น. รบั ประทานอาหารกลางวนั ๑๓.๐๐ น. ชีแ้ จงการจัดต้งั ลูกเสือสามญั ชอสะอาดในสถานศกึ ษา ๑๔.๐๐ น. สรุป อภิปราย ประเมินผล พิธีปด การฝก อบรม • ผูแทนผเู ขารับการฝกอบรมกลาวความรูส ึก • ผอู ํานวยการฝกอบรมประกาศผลการฝกอบรม • มอบวุฒบิ ตั ร • ผูอาํ นวยการฝกอบรมกลาวปราศรยั ปด การฝกอบรม • ทบทวนคาํ ปฏิญาณ • สวดมนต สงบนิ่ง ชักธงลง ๑๕.๐๐ น. • รองเพลงสามัคคีชุมนมุ จับมือลา เดินทางกลบั หมายเหตุ ๑. ตารางการฝก อบรมอาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม ๒. คําวา “ลูกเสือ” หมายรวมถึง ลูกเสือสามัญ เนตรนารีสามัญ ยุวกาชาด และสมาชิกผูบําเพ็ญ ประโยชนทีอ่ ยูในระดับเดยี วกนั ๓. การนัดหมายกจิ กรรมชมุ นุมรอบกองไฟใหอ ยูในดลุ ยพินิจของพธิ ีกรประจําวัน ๔. พักรับประทานอาหารวา งและเคร่ืองดื่ม เวลา ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔๕ น. และ ๑๔.๓๐ - ๑๔.๔๕ น. ๘ 9

สว่ นที่ ๒ กจิ กรรม/รายวชิ า และเนื้อหาสาระ

คําแนะนาํ ท่ัวไป การบชู าพระรตั นตรยั การฝกอบรมผูบังคับบัญชาลูกเสือ การฝกอบรมลูกเสือ - เนตรนารีของไทยเรานั้น จะมีพิธีทางศาสนา พุทธเขามาเก่ียวของดวย เชน พธิ เี ปด การฝกอบรม พิธีฟงพระธรรมเทศนา กอนเดินทางไกล พิธีเขาประจํากอง ลูกเสือ ดงั น้นั เพ่อื เปน แนวทางในแนวเดียวกัน จึงมขี อ เสนอแนะในดานตาง ๆ ดังน้ี ๑. การจดั โตะหมบู ูชา การจัดโตะหมูบูชามีจุดประสงคเพื่อเปนที่ประดิษฐานพระพุทธรูปพรอมเคร่ืองบูชาตามคตินิยมของ ชาวพุทธ ศาสนพิธีตาง ๆ ทางพระพุทธศาสนานิยมอัญเชิญพระพุทธรูปมาประดิษฐานไวในพิธีดวย เพ่ือให พระรัตนตรัยครบสมบูรณ การอัญเชิญพระพุทธรูปมาประดิษฐานนั้น ควรทําสถานท่ีประดิษฐานใหเหมาะสม ในปจจุบันเปนเอกลักษณของชาติไทย พรอมท้ังเปนวัฒนธรรมประเพณีที่สําคัญเปนมรดกของชาติ สวนหน่ึง การจดั โตะหมบู ูชา โตะ หมมู จี ํานวนโตะ แตกตางกัน คอื หมู ๔ หมู ๕ หมู ๖ หมู ๗ หมู ๙ แตที่นิยมใชคือ หมู ๕ หมู ๗ หมู ๙ การใชโ ตะ หมูขนาดใดขึน้ กับพ้ืนท่ี และอุปกรณท ่ีมเี ปน สาํ คัญ เคร่ืองบูชาท่ีใชในการตั้งโตะหมูบูชา คือ พานพุมหรือพานดอกไม แจกันดอกไม กระถางธูป เชิงเทียน โดยมีปริมาณที่มากนอยแตกตา งกันไปตามจาํ นวนของโตะหมูท่ีใช โดยมีหลักเกณฑการจัดที่สําคัญ คือ การจัดตั้ง เครือ่ งบูชาทกุ ชนดิ จะตองไมสูงกวา พระพุทธรปู ทป่ี ระดิษฐานทีโ่ ตะ หมูบชู า การจัดโตะหมูบูชาในพิธีของราชการ (ที่ไมใชเกี่ยวกับนานาชาติ) นิยมต้ังธงชาติ และพระบรมฉายาลักษณหรือพระบรมฉายาทิสลักษณของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รวมกับโตะหมูบูชาเพ่ือใหครบท้ัง ๓ สถาบัน คือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย มีหลักในการจัด คือ ตั้งโตะหมูบูชาตรงกลาง ตั้งธงชาติทางดานขวาของโตะหมู และต้ังพระบรมฉายาลักษณ หรอื พระบรมฉายาทิสลักษณทางดา นซา ยของโตะ หมู การจัดโตะหมูบ ชู า ๒. การแสดงความเคารพของผูเปนประธาน ณ ทบี่ ชู าและผรู วมพิธี เมื่อประธานในพิธีลุกจากท่ีนั่งเพื่อไปบูชาพระรัตนตรัย ผูรวมพิธียืนขึ้น เมื่อประธานเริ่มจุดเทียนธูป ผูรวมพิธีประนมมือเสมออก ประธานในพิธีจะรับเทียนชนวนและจุดเทียนเลมทางซายมือของประธานกอน จึงจุดเทียนเลมขวามือ เม่ือจุดเทียน ๒ เลมแลว จึงจุดธูป เมื่อประธานในพิธีจุดธูปเสร็จแลว จะลงน่ังคุกเขา และเตรียมกราบแบบเบญจางคประดษิ ฐ ชาย นั่งคุกเขาปลายเทา ต้ัง นงั่ บนสนเทา มอื ทั้งสองวางบนหนา ขาท้ังสองขาง (ทา เทพบุตร) หญิง นั่งคุกเขาปลายเทาราบ นัง่ บนสน เทา มอื ทงั้ สองวางบนหนาขาท้งั สองขาง (ทาเทพธดิ า) ๑๐ 11

การกราบแบบเบญจางคประดษิ ฐ จังหวะท่ี ๑ (อญั ชลี) ยกมือข้ึนประนมระหวางอก ปลายนวิ้ ชิดกัน ตง้ั ข้นึ แนบตวั ไมกางศอก จงั หวะที่ ๒ (วนั ทา) ยกมอื ขึ้นพรอ มกับกมศรี ษะ โดยใหป ลายน้ิวชี้จรดปลายหนา ผาก จังหวะท่ี ๓ (อภิวาท) ทอดมอื ลงกราบ ใหม ือและแขนท้ังสองขางลงพรอมกัน มือคว่ํา หางกันเล็กนอย พอใหห นา ผากจรดพืน้ ระหวา งมือได ชายและหญงิ กราบแบบเบญจางคประดิษฐ ทําสามจังหวะใหครบสามครั้ง แลวยกมือข้ึนจบโดยใหนิ้วชี้จรดหนาผาก แลวปลอยมือลง การกราบ ไมค วรใหช า หรือเร็วเกินไป เม่ือประธานกราบ ผูรวมพิธียกมือที่ประนมมือขึ้นใหน้ิวช้ีจรดหนาผาก พรอมท้ังกมศีรษะเล็กนอย การจัดทบ่ี ูชาพระรตั นตรัยสําหรับประธานในพิธีที่เปนสามัญ ไมนิยมตั้งแทนสําหรับกราบพระ แตอาจใชพรมปู กบั พ้นื ทห่ี นา โตะ หมูบชู าสําหรบั ประธานเทานน้ั เม่ือประธานบูชาพระรตั นตรัยเสรจ็ แลว จะยนื ขน้ึ ถอยหลัง ๑ กาว ยืนตรง คอมศีรษะ คารวะคร้ังเดียว ตรงโตะหมูบูชา ซึ่งถอื วาเคารพตอธงชาติและพระบรมฉายาลักษณพรอมกนั แลวใหประธานปฏิบัติเชนเดียวกันนี้ ท้งั ชายและหญิง ทง้ั ท่อี ยูในและนอกเครอื่ งแบบ การกราบแบบเบญจางคประดษิ ฐ พธิ เี ปดการฝก อบรมในหองประชมุ • ประธานจดุ เทยี นธูป บูชาพระรัตนตรัย ผนู บั ถือศาสนาอ่ืนใหสาํ รวมอยูกับทนี่ ่ัง • เจา ของโครงการหรือผทู ี่ไดรับมอบหมายกลา วรายงานตอประธาน • ประธานกลา วเปดการฝกอบรม ใหโอวาทและ/หรือบรรยายพิเศษ ๑๑ 12

การถวายราชสดดุ ีพระบรมรูปรชั กาลที่ ๖ ในพิธเี ปดการฝก อบรมหลกั สตู รลูกเสอื ชอ สะอาด ๑. เคร่ืองบูชา จัดต้ังหนาพระบรมรูป ควรมีเคร่ืองทองนอยและพานสําหรับวางพวงมาลัยหรือ ชอดอกไม ถาไมมีเคร่อื งทองนอ ยใหจดั เครือ่ งบูชา ดังน้ี ๑.๑ ธูป ๑ ดอก ๑.๒ เทียน ๑ เลม ๑.๓ พานสาํ หรบั วางพวงมาลัย หรือชอดอกไม ๒. พิธีกร พิธีกรเชิญประธานในพิธีจุดเทียน จุดธูปถวายราชสักการะ ภายหลังที่ประธานจุดเทียน จดุ ธปู บชู าพระรัตนตรัยแลว ๓. ประธานในพิธี ๓.๑ เดนิ ไปยังหนาพระบรมรปู ถวายคํานับ (ตามระเบยี บสํานกั พระราชวัง) รับพวงมาลัยหรือ ชอดอกไมจากเจาหนา ทีถ่ วายไวบ นพานทีห่ นาพระบรมรูป แลว จุดเทียน จดุ ธปู ตามลําดับ ๓.๒ เสรจ็ แลวลงนงั่ คกุ เขา ประนมมอื ถวายบงั คม ๓ ครั้ง แลวลกุ ขึน้ ยืนถวายคาํ นับอกี ครงั้ หนึง่ ๓.๓ ถอยออกมาน่ังเตรียมถวายราชสดุดี กาวเทาซายไปขางหนาหนึ่งกาว คุกเขาลง ต้ังเขา ซายน่งั ลงบนสน เทาขวา มือขวาแบคว่ําวางลงบนเขาขวา แขนซายวางพาดบนเขาซายเอียงไปทางขวาเล็กนอย เมอื่ รองเพลงราชสดุดี ใหกมหนาเล็กนอยและใหเงยหนาข้ึนตามเดิมเมื่อจบเพลง (ถาถือหมวกอยูดวยใหปฏิบัติ ตามคูม ือระเบยี บแถวของสาํ นกั งานคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหงชาติ) ๔. ผเู ขารบั การฝกอบรม และแขกผรู บั เชญิ อนื่ ๆ ปฏิบตั ิ ดังน้ี ๔.๑ เมอ่ื ประธานเดนิ ไปจดุ เทียน จดุ ธูปบูชาพระบรมรปู ทกุ คนยนื ในทา ตรง ๔.๒ เม่อื ประธานลงนัง่ คกุ เขา ถวายบงั คมใหทุกคนน่งั ลงในทาเตรยี มถวายราชสดดุ ี ๔.๓ เม่ือประธานถอยมานั่งในทาเตรียมถวายราชสดุดี พิธีกรจะนําถวายราชสดุดี ใหทุกคน รองตามพรอ มกนั ๕. เมื่อจบบทถวายราชสดุดีแลว พิธีกรจะส่ังใหทุกคน “ลุก” ทุกคนลุกขึ้นยืน เมื่อประธานเดินไปน่ัง ยังทีแ่ ลว ใหทกุ คนนั่งลง หมายเหตุ • สําหรับประธานในพิธีและผูเขารับการฝกอบรมที่เปนสตรี เมื่อเวลาถวายราชสดุดี เพ่ือความเหมาะสม ใหน ่งั คุกเขาทัง้ สองขา ง มอื ทัง้ สองวางขนานกันไวบนเขาทง้ั คู • พิธีกรขนึ้ เพลงราชสดดุ ี ควรมีนาํ้ เสยี ง จังหวะที่ถูกตอ ง นุมนวล การจัดโตะหมแู ละพระบรมรปู ประธานบูชาพระรตั นตรัย ประธานถวายราชสดดุ ีพระบรมรปู ร.๖ 13 ๑๒

พธิ ีรอบเสาธงในตอนเชา ระหวา งการฝก อบรม การประชุมรอบเสาธง สําหรับการฝกอบรมหลักสูตรลูกเสือสามัญชอสะอาด ใหมีพิธีกรคนหน่ึง ซึ่งไดรับมอบหมายจากผูอํานวยการฝกเปนผูดําเนินการ และใหมีการปฏิบัติในการชักธงชาติข้ึนสูยอดเสา ตามลาํ ดับ ดังน้ี ๑. ใหพิธีกรยืนอยหู นา เสาธง หันหลงั ใหเ สาธง หา งประมาณ ๓ กาว ๒. ใหคาํ สัง่ เรียก “กอง” ใชส ญั ญาณมือเรียกแถวรูปครง่ึ วงกลม ๓. ใหหมูแรกอยูทางซายมือของผูเรียกเสมอ ทุกคนจะตองจัดแถวโดยการสะบัดหนาไปทางขวามือ ระยะเคยี งระหวางบุคคลภายในหมู ๑ ชวงศอก โดยใหมือซายทาบสะเอว และดันศอกซายใหเปนแนวเดียวกับ ลาํ ตวั ระยะเคยี งระหวางหมู ๑ ชว งแขน โดยใหรองนายหมยู กแขนซายข้ึนวัดระยะแลว เอาลง ๔. ใหหมูถัดไปเขาแถวจัดระยะเคียงตอจากหมูแรกเรียงกันไปตามลําดับจนครบทุกหมู เปนรูป ครึ่งวงกลม ใหหมูสุดทายอยูทางขวามือของผูเรียกตรงกับหมูแรก คือ รองนายหมูของหมูสุดทายจะตองยืน ตรงกับนายหมขู องหมแู รก ๕. เมื่อพิธีกรเห็นวาจัดรูปแถวเรียบรอยแลวจะสั่ง “นิ่ง” ทุกคนสะบัดหนากลับ และคนที่ยกศอกซาย มือทาบสะโพกกล็ ดมือซา ยลง ยนื อยูใ นทาตรง ระวังอยาใหวงกวา งเกนิ ไปนัก จะทาํ ใหไดย นิ เสียงพดู ไมช ดั เจน ๖. เมื่อทุกคนพรอม พิธีกรสั่ง “ตามระเบียบ - พัก” แลวส่ังกองอยูในทาตรงเสียกอน จึงส่ังใหหมู บริการเขาไปเร่ิมพิธีการชักธงชาติ ในขณะเดียวกันพิธีกรกลับไปเขาแถวกับวิทยากรอ่ืนที่เขาแถวอยูหลังเสาธง เมอื่ จะออกคําสงั่ ทุกคร้ังใหก าวไปขา งหนา ๑ กา ว สงั่ เสรจ็ ใหก ลับเขาแถวตามเดมิ ๗. นายหมบู รกิ ารหรือลูกเสือในหมูบริการรวม ๒ คน ฝากไมพลองไวกับคนถัดไป แลวว่ิงออกไปยืนหาง จากเสาธงชาติ ประมาณ ๓ กา ว ๘. ทั้งสองคนทําวันทยหัตถพรอมกัน คนทางขวามือเดินเขาไป ๒ กาว ยืนเทาชิด แกเชือกผูกเสาธง ถอยหลังกลับไปอยูท่ีเดิม แยกเชือกธงเสนที่จะชักข้ึน ใหคนอยูทางซายมือถือไว สวนธงชาติอยูที่คนขางขวา อยาใหเ สนเชือกหยอน ยืนเตรยี มพรอ ม แลวพิธกี รส่งั “กองเคารพธงชาติ วันทยา - วธุ ” ๙. ลูกเสือตามที่กําหนดในหมูบริการนํารองเพลงชาติ ลูกเสือทุกคนรองเพลงชาติ พอเร่ิมรองเพลง ใหผ ูชกั ธงคนทางซายคอ ย ๆ สาวสายเชือกใหธงขึ้นสูยอดเสาชา ๆ ใหสายเชือกตึง สวนคนขางขวาผอนสายเชือก ใหธงคอย ๆ ข้ึนไป และคุมสายเชือกใหตึงเสมอกัน ผูชักธงจะตองกะระยะวา พอเพลงชาติจะจบ กะใหระยะ ธงชาติหางจากปลายเสาประมาณ ๕๐ เซนติเมตร พอเพลงชาติจบ จึงกระตุกเชือกใหธงชาติถึงปลายเสาพอดี เสร็จแลว คนทางขวาไปผกู เชอื กใหเ รยี บรอย แลว ถอยหลงั กลับมา ๑๐. ผูชกั ธงชาติทาํ วนั ทยหตั ถพ รอ มกัน แลวกลับหลังหันวิ่งไปเขาแถวตามเดิม และรับไมพลองมาจาก ทฝี่ ากไวท าํ วันทยาวธุ พธิ กี รสัง่ “เรยี บ - อาวธุ ” ๑๑. พิธีกรสั่ง “หมูบริการนําสวดมนต” แลวสั่ง “สงบน่ิง” ลูกเสือทุกคนรวมท้ังวิทยากรยืนสงบนิ่ง ๑ นาที แลวเงยหนาขึน้ (ตามคูมอื การฝกระเบียบแถวฯ) ๑๒. พธิ กี รสงั่ “กองตามระเบียบ - พกั ” แลว พิธกี รเชิญผอู ํานวยการฝก ๑๓. ขณะทผ่ี อู ํานวยการฝกเดินออกไปหนา เสาธง พิธีกรส่ัง “กอง - ตรง”“วันทยา - วุธ” ผูอํานวยการฝก ทําวนั ทยหัตถตอบ พิธกี รสงั่ “เรียบอาวุธ - ตามระเบยี บพัก” ๑๔. ผูอํานวยการฝกกลาวปราศรัย และกลาวเปดการฝกอบรม สวนพิธีรอบเสาธงเวลาเชาระหวาง การฝกอบรม ใหดําเนินการเก่ียวกับกิจวัตรประจําวัน เชน การรายงานการตรวจ ใหโอวาทตามขั้นตอน จบแลว ๑๓ 14

พิธีกรสั่ง “กอง - ตรง” “วันทยา - วุธ” ผูอํานวยการฝกทําวันทยหัตถตอบ พิธีกรส่ัง “เรียบ - อาวุธ” “ตาม ระเบียบ - พัก” ๑๕. พธิ ีกรนดั หมายแลว สั่ง “กอง - ตรง” “กอง - แยก” หมายเหตุ ๑. กรณีที่ไมม พี ลอง ไมต อ งสั่ง “วนั ทยาวุธ” ๒. กรณีทน่ี ายหมูม ีอาวธุ คนเดียวไมต อ งสั่งวันทยาวุธ แตต วั นายหมูต อ งทําวนั ทยาวุธ พธิ รี อบเสาธงในตอนเชา ระหวางการฝก อบรม การใชค ําบอกกอนการรองเพลงสรรเสริญพระบารมี ในการฝก อบรมผูบังคับบัญชาลูกเสือและลกู เสือ ในการฝกอบรมลูกเสือหรือผูบังคับบัญชาลูกเสือ จะมีการรองเพลงสรรเสริญพระบารมีอยูเสมอ กอนจะมีการรอ งเพลงสรรเสริญพระบารมีน้ัน ควรใชค ําบอกตางกนั ดงั ตอไปน้ี ๑. ในกรณีที่มีพระบรมรูปหรือพระบรมฉายาลักษณอยูในที่ชุมนุมนั้นดวย ใหใชคําบอกวา “กองตรง ถวายคาํ นับ” ครน้ั แลว ใหหมูบรกิ ารนําขึ้นรอ งเพลงสรรเสรญิ พระบารมี ๒. ในกรณที ่ีไมมพี ระบรมรปู หรือพระบรมฉายาลักษณอยูในทชี่ มุ นุมน้ัน ใหใชคําบอกวา “ทุกคนหันหนา ไปทางทิศ…….(ที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวกําลังประทับอยู)” “กองตรง ถวายคํานับ” คร้ันแลวใหหมูบริการ นําข้นึ เพลงสรรเสรญิ พระบารมี ๓. ในกรณีผูบังคับบัญชาลูกเสือและลูกเสือมีอาวุธอยู ใหใชคําบอกวา “กองตรง วันทยาวุธ” แลวหมู บริการนําข้นึ รอ งเพลงสรรเสริญพระบารมี เม่ือจบเพลงแลว ใหใชค าํ บอกวา “กอง เรียบอาวุธ” “เลิกแถว” หรือ แลวแตกรณี ๑๔ 15

ช่ือวิชา ปฐมนเิ ทศการฝก อบรมหลักสูตรลกู เสอื สามัญชอสะอาด บทเรยี นที่ ๑ เวลา ๓๐ นาที ขอบขา ยวิชา ๑. มอบหบี อุปกรณ/การแตง กาย ๒. การใชสมดุ จดรายวชิ า ๓. แนะนาํ สถานที่ ๔. หมแู ละการเปล่ียนหนา ท่ีภายในหมู ๕. หนาที่ของหมบู รกิ าร ๖. แนวปฏิบตั ิอน่ื ๆ ท่จี ะตองปฏิบัตริ ว มกนั จดุ หมาย เพือ่ ใหลกู เสือสามัญไดทราบรายละเอยี ดและแนวปฏิบัติใหเปนไปในทางเดยี วกัน วตั ถปุ ระสงค เมือ่ จบบทเรยี นน้ีแลว ลูกเสอื สามญั สามารถ ๑. ปฏบิ ัตติ นเองตามขอตกลงรว มกันได ๒. รบั ผดิ ชอบงานประจาํ วันที่ไดรบั มอบหมายได ๓. บอกรายละเอยี ดและขน้ั ตอนของพิธเี ปด การฝกอบรมได วธิ ีสอน/กจิ กรรม บรรยาย ช้แี จงประกอบการสาธติ สื่อการสอน ๑. เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ๒. อปุ กรณสว นบุคคล ๓. Power Point วีดิทัศน การประเมนิ ผล ๑. วิธกี ารวดั ผล : สงั เกตพฤติกรรมในการฟงบรรยาย สาธติ และปฏิบตั ิ ๒. เครอ่ื งมือวดั ผล : แบบสังเกตพฤติกรรมในการฟงบรรยาย สาธติ และปฏิบัติ ๓. เกณฑการประเมนิ ผล : ระดบั คุณภาพดี หมายถงึ ผา น เน้ือหาวชิ า การปฏิบัติตนของลูกเสือสามัญ เพื่อท่ีจะใหการฝกอบรมเปนไปตามความตองการของคณะผูให การฝกอบรมไดอยา งดีนน้ั ขน้ึ อยูกับการช้แี จง แนะนําไดล ะเอยี ดมากนอยเพยี งใด วทิ ยากรผูท่ีจะทําหนาที่ช้ีแจง น้ัน จะตองเปนผูมีบุคลิกลักษณะท่ีนาเล่ือมใสพอสมควร มีความรูและทักษะในการบริหารงานฝกอบรม เปน อยางดี พรอ มกนั นี้จะตอ งรูจักสถานทท่ี ้งั หมดภายในคายฝก อบรมดว ย จึงจะทําใหลูกเสือสามัญปฏิบัติตนได ถูกตองครบถวน ตามความมุงหมายของคณะผูใหการฝกอบรม น่ันก็คือ “การปฐมนิเทศ” การปฐมนิเทศจะ ไดผ ลดเี พียงใดนนั้ จะทราบผลไดใ นการปฏิบตั จิ ากลูกเสือสามญั ที่เขา รับการฝก อบรมนน่ั เอง ๑๕ 16

ผทู ีจ่ ะทําหนา ทปี่ ฐมนิเทศนัน้ ควรจะตองมคี วามรู ความเขาใจและทักษะตาง ๆ ดงั น้ี • การใชสมุดจดวชิ า • การจดั หมู • การปฏิบตั ขิ องผูเขา รบั การฝกอบรมในระหวางการฝกอบรม • การจัดเตรียมสถานท่ี • การรกั ษาเวลา • ขอหามตาง ๆ ในการฝก อบรม • การรกั ษาพยาบาล • วิธีดาํ เนนิ การฝกอบรม • หนา ทหี่ มบู รกิ าร • การวดั ผลหรือการประเมินผล • ฯลฯ ๑. การจัดหีบอปุ กรณ หีบอุปกรณเปนเครื่องมือที่สําคัญของหมูที่จะชวยใหการฝกอบรมบรรลุวัตถุประสงค ท่ีกลอง/หีบ ดา นนอกเขียนชือ่ หมูข องลกู เสือสามัญชอสะอาด ที่กลอง/หีบดา นในตดิ รายการอุปกรณ อปุ กรณควรมีสิ่งเหลาน้ี จดั ไวลวงหนากอ นเปดการฝกอบรม ดังนี้ • ผา ผูกคอ • เคร่ืองหมายหมู • เครอ่ื งหมายตาํ แหนง นายหมู และรองนายหมู • เคร่อื งหมายตําแหนงพลาธิการ • ปา ยช่ือ • เข็มกลดั ซอนปลาย • เข็มเย็บผาพรอมดา ย • ไมบรรทัด • สเี มจิก • สมุดจดบนั ทึกของผเู ขารับการฝก อบรม • กรรไกร • คัตเตอร • อุปกรณใชฝ ก อบรมอื่นสาํ หรบั การฝก อบรม ๒. การแตง กายในการฝกอบรมหลกั สตู รลูกเสอื สามญั ชอสะอาด ผเู ขารบั การฝก อบรม ๒.๑ แตงเครอ่ื งแบบลูกเสือ ตามประเภทลูกเสอื สาํ หรับการฝกอบรม ๒.๒ ผา ผูกคอ ใชผาผกู คอสําหรับการฝกอบรม ๒.๓ หมวก การฝก อบรมหลกั สูตรลูกเสือสามญั ชอ สะอาด สวมหมวกปกกวา ง ๑๖ 17

๒.๔ ปา ยช่ือ ผูเขารับการฝกอบรมทุกคนตองติดปายช่ือที่เหนือกระเปาขางขวา ปายชื่อเปนกระดาษแข็งสีอะไรก็ได ใหมีขนาดกวางประมาณ ๔ - ๕ ๒.๕ เครื่องหมายหมู ซม. ยาว ๘ - ๙ ซม. เขียนชื่อตัว ชื่อสกุล บรรทัดบน ชื่อหมู/กลุม ๒.๖ เครอ่ื งหมายนายหมู ท่ีบรรทัดลางดวยขนาดที่มองเห็นชัดเจน หุมดวยพลาสติกแข็ง ๒.๗ เครอ่ื งหมายรองนายหมู ใชตดิ ท่ีหนา อก เหนอื กระเปาเสื้อขา งขวา ใชอนุโลมตามเคร่ืองแบบลูกเสือตามกฎกระทรวง ติดแขนซาย ประเภทสามัญใชรบิ บิน้ สีเปนแถบยาว ใชแถบผาสีขาว กวาง ๑.๕ ซม. นายหมูใช ๒ แถบ ยาวตามกระเปา รูปสีเ่ หลยี่ มผนื ผา ขางซาย ใชแ ถบผา สีขาว กวาง ๑.๕ ซม. รองนายหมูใช ๑ แถบ ยาวตามกระเปา รูปส่เี หล่ียมผืนผา ขา งซาย ๓. โอกาสในการแตงกาย ผเู ขา รบั การฝก อบรมแตงเครอ่ื งแบบครบ คอื ก. ในพิธเี ปด - ปด การฝก อบรม ข. ในพธิ ีประชุมรอบเสาธง (ตอนเชา) และพิธชี ักธงชาตลิ งเวลา ๑๘.๐๐ น. ค. เมอ่ื ไดร ับอนญุ าตใหอ อกไปนอกบรเิ วณคายฝก อบรม (เพ่อื ธรุ กิจที่จําเปน ) ง. เมือ่ ผอู ํานวยการฝกอบรมจะนัดหมายเปน กรณีพเิ ศษ แตง กายอยา งอ่ืน ๑. แตงกายลําลอง คือ การแตงกายสุภาพ ใชเส้ือมีแขน ประกอบดวยหมวก ผาผูกคอ เครื่องหมายหมู เครอ่ื งหมายนายหมู รองนายหมู พลาธิการ และปายชอ่ื (หา มสวมรองเทา แตะ) ๒. แตงกายตามสบาย คือ การแตงกายสุภาพ (ใชเสื้อมีแขน - หามสวมรองเทาแตะ) แตไมตองมีหมวก ผาผูกคอ สวนเคร่ืองหมายอ่ืน ๆ ควรติดเพ่ือจะไดทราบหมู และหนาท่ี โอกาสท่ีจะแตงกายตามสบาย เปน การเรียนตอนกลางคนื หรอื เม่อื เลกิ จากฝก อบรมประจาํ วนั แลว ๔. การใชส มุดจดวิชา บอกใหทราบถึงการฝก อบรม เปนตนวา หนาที่ ๑ การฝก อบรมหลกั สูตรลูกเสือสามญั ชอ สะอาด รุนที่……………… ระหวา งวนั ท่ี………………… หนา ที่ ๒ ณ คา ย…………………………………….. หนาที่ ๓ รายช่ือคณะผูใหการฝกอบรม เขียนเย้ืองไปทางซายเพื่อจะเหลือดานขวาของ หนาที่ ๔ หนากระดาษไวส าํ หรบั ขอลายเซน็ หนา ท่ี ๕ รายชอื่ ผเู ขา รับการฝกอบรมในหมู ปฏบิ ัติเชนเดยี วกบั หนา ที่ ๒ หนา ที่ ๖ ขอความสาํ คัญของประธานผูกลาวเปด หรือผรู ายงานทีเ่ ปนใจความสําคัญ ตารางการฝก อบรม เปนหนาที่ของผูเขารับการฝกอบรมจะตองบันทึกเกี่ยวกับคําบรรยายของผูบรรยาย แตล ะวิชา ควรจะมรี ูปแบบ ดงั นี้ ๑๗ 18

หัวขอบรรยาย • ผูบ รรยายคือใคร • วัน/เดือน/ป ท่ีบรรยาย ควรเขียนที่มุมทางซายแตละหนา ตอจากน้ันแตละบรรทัดควรมีหัวขอยอย ลงไปตามลําดบั • สมุดโนตวิชาเหมือนกระจกเงาของแตละคน วันสุดทายวิทยากรประจําหมูมีหนาท่ีตรวจและให ขอ คดิ เห็นในสมุดของผเู ขา รับการฝก อบรม • ปกหลังดานในสมุดของผูเขารับการฝกอบรม กําหนดใหมีการสอบในเรื่องคําปฏิญาณและกฎของ ลูกเสือ การสเกตภาพประจําวนั ขอควรจาํ ของผูเขา รบั การฝกอบรม หรือส่ิงทค่ี วรนาํ ไปปฏิบตั ิ ๕. การจดั หมู ผูเขารับการฝกอบรมทุกคน ใชผาผูกคอของการฝกอบรมตามท่ีกําหนดและติดเครื่องหมายประจําหมู นอกจากนี้ ผูอ าํ นวยการฝกอบรมจะเปน ผกู ําหนดใหมีการแตง กายแบบลาํ ลอง ตามโอกาสอันสมควร อัตรากําลังของหมูเปนไปตามขอบังคับคณะลูกเสือแหงชาติวาดวยการปกครอง หลักสูตรและวิชา พเิ ศษ (หมลู กู เสอื สามญั ๖ - ๘ คน) เวลา ๑๒.๐๐ น. เปลี่ยนหนาท่ีภายในหมู เพ่ือทุกคนจะเรียนรูความรับผิดชอบภายในหมูระหวาง การฝกอบรม ๖. การปฏบิ ตั ขิ องผเู ขารบั การฝกอบรมในระหวางการฝกอบรม เวลา ๐๕.๓๐ น. ต่นื ทาํ ภารกิจสว นตัว ออกกําลงั กาย เวลา ๐๗.๐๐ น. รบั ประทานอาหาร เวลา ๐๗.๓๐ น. รบั การตรวจ เวลา ๐๘.๐๐ น. ประชุมรอบเสาธง รบั ฟง รายงานการตรวจ การเลน เพื่อสุขภาพ เวลา ๐๙.๐๐ น. การฝกอบรม/กิจกรรม เวลา ๑๒.๐๐ น. รบั ประทานอาหารกลางวนั เวลา ๑๓.๐๐ น. การฝก อบรม/กจิ กรรม เวลา ๑๘.๐๐ น. ชกั ธงลง รบั ประทานอาหารเย็น เวลา ๑๙.๐๐ น. การฝก อบรม/กิจกรรม เวลา ๒๑.๓๐ น. สวดมนต ดบั ไฟ นอน ๗. การเตรียมจดั สถานที่กินอยูหลบั นอน เปน ไปตามท่ผี ูอ ํานวยการฝกกําหนด ๘. ขอ ไมค วรปฏิบัติ ไมสูบบุหรี่ระหวางเวลาการบรรยายและการปฏิบัติกิจกรรม ไมดื่มของเมาในระหวางการฝกอบรม ไมมอี าวุธหรอื ของผดิ กฎหมายเขา มาในสถานทฝ่ี ก อบรม ๙. การตรงตอ เวลาและการรกั ษาความสะอาด เปนไปตามตารางการฝก อบรมและขอกําหนด ๑๐. การรักษาพยาบาล เปนหนาที่ของผูเขารับการฝกอบรมจะตองปฏิบัติและรักษาตัวเอง และคายฝกอบรมจะตองจัด เจาหนาท่ีฝายบรกิ ารและใหค วามสะดวกตลอดเวลาการฝกอบรม เพ่อื ใหเกดิ ความปลอดภยั และสบายใจ ๑๘ 19

๑๑. หนาท่ีหมูบริการ ใหเปนไปตามขอกําหนดเพื่อความเหมาะสมแตละสถานท่ีในการฝกอบรม โดยจะกําหนดหมูบริการ ประจําวนั และหนา ท่ีของหมบู รกิ ารแตละวนั จะสิน้ สดุ เวลา ๑๘.๐๐ น. หมบู รกิ ารมหี นา ท่ใี นการปฏิบัติ ดังตอไปน้ี ๑๑.๑ การเตรยี มและชกั ธงชาตขิ น้ึ สยู อดเสาในตอนเชา เวลา ๐๘.๐๐ น. และชักธงลงเวลา ๑๘.๐๐ น. การชักธงขึ้นและชกั ธงลง ใหปฏิบตั ติ ามขอ บังคบั คณะลูกเสอื แหงชาติ ๑๑.๒ การทําความสะอาดสถานทท่ี ่ใี ชร ว มกัน เชน หองนา้ํ หองสว ม หอ งเรียน บรเิ วณรอบเสาธง ๑๑.๓ การจดั สถานท่ชี มุ นุมรอบกองไฟ การเตรยี มสถานที่ ทําพวงมาลัย แจกันปา การทําความสะอาด หลังการชมุ นุมรอบกองไฟ ๑๑.๔ การชวยเหลอื จดั อุปกรณ เตรียมอปุ กรณทจ่ี ะใชในการฝก อบรมตามที่วิทยากรกําหนด ๑๑.๕ หนาท่อี ่นื ใดท่ไี ดรับมอบหมาย ๑๒. แนวปฏบิ ตั ิเมือ่ วทิ ยากรเขา - ออก ในการใหค วามรู ๑๒.๑ เมื่อวิทยากรเขาบรรยายแตละวิชา ใหผูเขารับการฝกอบรมยืนตรง แสดงความเคารพ (วันทยหตั ถ) พรอ มกลา วคําวา “สวสั ดคี รบั /คะ ” เอามือลง และนงั่ ลงทีเ่ ดิม ๑๒.๒ เม่ือวิทยากรจบคําบรรยายแตละรายวิชา ใหผูเขารับการฝกอบรมยืนตรง แสดงความเคารพ (วนั ทยหตั ถ) พรอ มกลาวคาํ วา “ขอบคณุ ครับ/คะ” เอามือลงและน่ังลงทเี่ ดมิ ๑๓. การรกั ษาส่ิงของมีคา ขอใหแตละหมูนําไปฝากที่วิทยากรประจําหมู และ/หรือ หากคายฝกอบรมมีสถานท่ีรับฝากของมีคา ที่ปลอดภัย ใหนําไปฝากไว ณ ท่ีนั้น ท้ังนี้ เม่ือเกิดการสูญหาย เพ่ือนสมาชิกผูเขารับการฝกอบรมจะเกิด ความไมส บายใจ ๑๔. กิจกรรมยามวา ง (SPARE TIME ACTIVITY) เปนท่ียอมรบั กันวา กิจกรรมยามวา งเปนอปุ กรณในการฝกอบรมอยางไดผลดี เพราะวา ๑๔.๑ กิจกรรมยามวางชวยใหผูอํานวยการฝกอบรมสามารถประเมินผลความสามารถของผูเขารับ การฝกอบรมวาไดรบั ความรูมากนอ ยเพยี งไร หากเหน็ วายงั มีอะไรบกพรอง ควรจะสอนอะไรเพมิ่ เติมให ๑๔.๒ ฝายผูเขารับการฝกอบรมเอง ก็ปรารถนาจะทดสอบความรูของตนวาไดรับความรูไปมากนอย เพียงไร และมโี อกาสท่ีจะเสาะหาความรู ความเขาใจจากวิทยากรในประเดน็ ที่ตนเองยังไมเ ขา ใจ ๑๔.๓ กิจกรรมยามวาง เปนกิจกรรมหนึ่งที่จะทําใหคณะผูใหการฝกอบรมและผูเขารับการฝกอบรม ปรับตัวเขาหากัน มีสัมพันธภาพที่ดีตอกัน มีการหารือในการแกปญหาอ่ืน ๆ ทําใหเกิดความสนิทสนมกัน มากยิง่ ขนึ้ ๑๔.๔ ควรใหมีระยะเวลาเพียงพอที่ทุกคนจะศึกษาหาความรู ทําความเขาใจกับกิจกรรมยามวางท่ี มอบหมาย และนดั หมายใหทําการทดสอบตามกาํ หนด ขอควรระลึกถึงมีวา เมื่อใดใหกิจกรรมยามวางแกผูเขารับการฝกอบรมไปทําแลว ควรใหมีระยะเวลา เพียงพอที่ทุกคนจะศึกษาหาความรู ทําความเขาใจกับกิจกรรมยามวางที่ใหไปกอน แลวจึงนัดหมายใหมาทํา การทดสอบ การทํากิจกรรมยามวางน้ัน เปนเร่ืองของผูเขารับการฝกอบรมแตละคนท่ีจะไปศึกษาหาความชํานาญ เพมิ่ เติม ถาสงสยั จะถามหรอื ขอคําแนะนําจากเพือ่ นสมาชิกหรือวทิ ยากร ๑๙ 20

กิจกรรมยามวา ง อาจจัดใหมีในเร่ือง ตอ ไปน้ี ๑. คําปฏญิ าณและกฎของลกู เสือ ๒. การสเกตภาพ ๓. กิจกรรมหรือทกั ษะอยา งอ่ืนท่ีผูอาํ นวยการฝกจะเห็นสมควร ๑๕. การวัดผลหรือประเมินผลในระหวางการฝกอบรม ผทู ี่เขารับการฝกอบรมผานหรอื ไมผ านการฝกอบรม พจิ ารณาจากสงิ่ ตอไปน้ี ๑๕.๑ ผูเขารับการฝกอบรมจะขาดการฝกอบรมไมเกิน ๓ ช่ัวโมง และตองไดรับอนุญาตจาก ผูอํานวยการฝกอบรมเปนผูพิจารณาเปนราย ๆ โดยจัดทําบันทึกขออนุญาตเปนลายลักษณอักษรผานวิทยากร ประจาํ หมู ๑๕.๒ ระบบหมู ๑๕.๓ ความต้ังใจและสนใจในการเขารว มกจิ กรรมในระหวางการฝก อบรม ๑๕.๔ การสอบกจิ กรรมยามวาง ๑๕.๕ สมดุ จดรายวชิ า ๑๕.๖ ผูอํานวยการฝกอบรม เปนผูประเมินจากการสังเกตพิจารณาของวิทยากรประจําหมู และ วิทยากรอ่นื ๆ ความต้ังใจและสนใจในการเขารว มกจิ กรรม ๒๐ 21

หมู................................. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการฟงบรรยาย คุณภาพการปฏบิ ัติ ลําดับ พฤตกิ รรม ๓๒๑ ๑ มคี วามกระตือรือรน ใหความสนใจในการฟงบรรยาย ๒ มีสวนรวมในการสาธิตและปฏิบตั ิ รวม ลงชือ่ ..............................................ผปู ระเมนิ (...............................................) เกณฑการใหค ะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอยางสม่ําเสมอ เทากับ ดี ให ๓ คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมบอยครั้ง เทา กับ พอใช ให ๒ คะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้ังหรอื นอยคร้ัง เทากับ ปรับปรุง ให ๑ คะแนน เกณฑการตัดสินคณุ ภาพ ชว งคะแนน ระดับคณุ ภาพ ๕ – ๖ ดี ๓ – ๔ พอใช ๒ ปรับปรงุ ๒๑ 22

ชื่อวิชา วัตถุประสงคของการฝกอบรมหลกั สตู รลกู เสอื สามญั ชอสะอาด บทเรียนที่ ๒ เวลา ๓๐ นาที ขอบขา ยวิชา ผูอํานวยการฝก อบรมกลา วตอนรับ และแนะนําใหรจู กั คณะผูใหการฝกอบรม อธิบายถึงวิธีการตอนรับ ของคณะวิทยากร การดําเนินงาน พรอมท้ังระบุวัตถุประสงคของการฝกอบรมหลักสูตรลูกเสือสามัญชอสะอาด อยา งชดั เจน จดุ หมาย เพ่ือใหลูกเสือสามัญรู เขาใจ ปฏิบัติตามวัตถุประสงคและวิธีการฝกอบรม นําความรู แนวคิด ทัศนคติ การอยรู วมกนั ในสังคมไปปฏบิ ตั ใิ นชีวิตประจําวนั อยางมคี วามสุข เกิดคุณธรรมความดี ความซ่ือสัตยสุจริต และ มีความรูสกึ ทดี่ ตี อ การฝกอบรมหลักสตู รลกู เสอื สามัญชอสะอาด วตั ถปุ ระสงค เม่ือจบบทเรยี นน้ีแลว ลกู เสือสามญั สามารถ ๑. อธิบายถึงความอบอุน มีความรูสึกท่ีดีตอการตอนรับจากคณะวิทยากรและพบกับวิทยากรประจํา หมูได ๒. บรรยายวัตถุประสงคของการฝกอบรมหลกั สตู รลูกเสือสามัญชอ สะอาดได ๓. บรรยายถึงวธิ ีการจัดฝกอบรมหลกั สตู รลูกเสือสามญั ชอสะอาดได วิธสี อน/กิจกรรม บรรยายประกอบสอ่ื ภาพนิ่ง เก่ยี วกับวัตถปุ ระสงคข องการฝกอบรมหลกั สตู รลูกเสอื สามัญชอ สะอาด สอ่ื การสอน ส่อื ภาพน่ิงประกอบการบรรยายวัตถุประสงคหลักสตู รลูกเสือสามัญชอ สะอาด การประเมนิ ผล ๑. วิธีการวดั ผล : สังเกตพฤติกรรมในการฟงบรรยาย ๒. เครอ่ื งมอื วดั ผล : แบบสังเกตพฤติกรรมในการฟงบรรยาย ๓. เกณฑการประเมนิ ผล : ระดับคณุ ภาพดหี มายถึง ผาน เนอ้ื หา ความประทับใจคร้ังแรกเปนเร่ืองสําคัญ ทุกส่ิงทุกอยางควรเตรียมใหพรอมเสร็จ เพ่ือวาคณะผูให การฝก อบรมจะไดวางทําการตอนรับลกู เสอื สามญั ทจ่ี ะเขารบั การฝก อบรม เมื่อลูกเสือสามัญมาถึง ควรไปลงทะเบียนรายงานตัว รับเอกสาร แตงเครื่องแบบลูกเสือใหเรียบรอย จัดแบงออกเปนหมู วิทยากรประจําหมูควรแนะนําใหสมาชิกในหมูทุกคนไดรูจักเม่ือมาถึง ถาสมาชิกแตละคน ในหมไู ดรูจ ักกนั โดยเรว็ ท่สี ดุ แลว จะชวยใหลดความประหมา ความไมคุนเคยจะหมดไป วิทยากรควรอธิบายถึง สถานท่ีท่ีใชในการฝกอบรมตาง ๆ ใหสมาชิกทราบดวย วิทยากรประจําหมูอาจแนะนําใหดูหนังสือ คูมือ แผนภมู ิ ฯลฯ ทแ่ี สดงไว ๒๒ 23

จงเรมิ่ งานใหตรงเวลาท่ีกําหนดไว ผอู าํ นวยการฝกอบรมควรทาํ ดังนี้ ๑. กลา วคาํ ปราศรยั ตอนรับ ๒. แนะนาํ คณะวิทยากร ๓. ชี้แจงวตั ถุประสงคของการฝก อบรม ๔. อธบิ ายวิธกี ารทีจ่ ะใชในการฝกอบรม ๕. อธิบายวิธกี ารบรหิ ารจดั การในการฝกอบรม ๖. อธิบายถงึ วิธกี ารประเมินผลในการฝกอบรม การกลาวตอนรับแสดงความรูสึกอยางจริงใจ เปรียบเสมือนลูกเสือสามัญและคณะวิทยากรอยูรวมกัน เหมอื นญาตพิ นี่ อ ง เหมอื นเพื่อนสนทิ ทาํ ใหการอยรู วมกนั ระหวางการฝก อบรมมคี วามสุข ผูอํานวยการฝกอบรมควรกลาวดวยวา ลูกเสือสามัญแตละคนมีความรู มีทักษะและประสบการณ ท่ีจะไดรับจากการฝกอบรมคร้ังนี้ดวย ฉะน้ัน ขอใหลูกเสือสามัญทุกคนเห็นวาการฝกอบรมครั้งนี้ เปนการแลกเปลย่ี นความรู และประสบการณซ ่ึงกันและกัน การฝกอบรมหลักสูตรลูกเสือสามัญชอสะอาดอาจประสบปญหาความยุงยากบาง เพราะวาลูกเสือ สามัญยังมิไดรูจักคุนเคยกัน จึงเสนอแนะใหใชเวลาเล็กนอยกอนเร่ิมบทเรียน เพื่อวิทยากรประจําหมูจะได แนะนาํ สมาชกิ ไดรจู ักกันและกนั ผอู ํานวยการฝกอบรมกลา วคําปราศรยั ตอ นรบั และชแ้ี จงวัตถุประสงค ๒๓ 24

แบบสังเกตพฤติกรรมการฟงบรรยาย หมู............................... ลาํ ดบั พฤตกิ รรม คณุ ภาพการปฏบิ ตั ิ ๓๒๑ ๑ มคี วามกระตือรอื รนใหความสนใจในการฟง บรรยาย ๒ มีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น รวม ลงชอื่ ..............................................ผูประเมิน (...............................................) เกณฑการใหค ะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอยางสมํ่าเสมอ เทากับ ดี ให ๓ คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบอยครงั้ เทากับ พอใช ให ๒ คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ังหรอื นอยครง้ั เทากับ ปรับปรุง ให ๑ คะแนน เกณฑก ารตดั สินคุณภาพ ชว งคะแนน ระดับคุณภาพ ๕ - ๖ ดี ๓ - ๔ พอใช ๒ ปรบั ปรงุ ๒๔ 25

ช่อื วิชา ลูกเสอื กับการเปด ดวงตาใหมอยางมคี วามสุข บทเรียนท่ี ๓ เวลา ๖๐ นาที ขอบขา ยรายวิชา รปู แบบการจดั กิจกรรมกลมุ สัมพันธ กจิ กรรม วัตถุประสงค ละลายพฤติกรรม เพือ่ สรางบรรยากาศใหเกดิ ความสนุกสนาน ความเปน กนั เอง ความประทับใจ (Ice Break) กระบวนการกลมุ เพ่อื สรางกระบวนการทํางานรวมกนั เปน กลมุ (Group Process) การสรางทมี งานและ เพอ่ื สรางทีมงานใหเกดิ การยอมรบั ซงึ่ กนั และกัน การปลกุ พลงั ดงึ ศกั ยภาพของ การทํางานเปนทมี แตล ะคนท่เี ปน สมาชิกในทีม เปนการเตรียมความพรอมและทาํ ใหส มาชกิ ในทีม (Team Building and มโี อกาสปฏิสัมพนั ธกัน Team Work) เพื่อใหเกดิ การยอมรับความแตกตางการอยรู วมกนั พฒั นาทางดา นศักยภาพ ความกลา แสดงออก เปด ใจยอมรบั ซึ่งกันและกัน เกดิ สัมพันธภาพท่ีดตี อ การพัฒนาศกั ยภาพ เพ่อื นรว มงาน (Golden chain development) จุดหมาย เพื่อใหลูกเสอื สามัญสามารถสรางความสัมพันธแ ละพฒั นาทางดา นศักยภาพระหวางกันได วตั ถปุ ระสงค เมื่อจบบทเรียนน้ีแลว ลูกเสือสามัญสามารถสรางความสัมพันธและอยูรวมกันในคายลูกเสือหลักสูตร ลกู เสอื สามญั ชอ สะอาดอยางมคี วามสุข วิธีสอน/กจิ กรรม ๑. นําเขาสูบทเรียนโดยใชเพลงท่ีสนุกสนานตาง ๆ เพ่ือกระตุนใหมีความพรอมที่จะปฏิบัติกิจกรรม ตอไป ๒. จัดกิจกรรมกลุมสัมพันธเพ่ือสรางความคุนเคย โดยใชเพลง เกม การจับกลุมสนทนา ซักถามขอมูล สวนตวั ซงึ่ กันและกนั ๓. เพลงหรือเกมที่ใช ควรใหผเู ขารบั การฝกอบรมเปล่ยี นพฤติกรรม ดังน้ี • มีการเคล่ือนไหวอวัยวะของรางกายใหม ีความสัมพนั ธกัน • เนน ความสนกุ สนานเพลดิ เพลิน • มกี ารทาํ งานรวมกันเปนทีม • มปี ฏสิ ัมพันธค วามเปน มติ รไมตรีตอกนั ๔. อภปิ รายสรุปสิง่ ทไ่ี ดจากการเขารวมกิจกรรมกลุมสัมพันธ ๒๕ 26

สอ่ื การสอน ๑. เคร่ืองเสียง ๒. เครอ่ื งดนตรี เชน กลอง ฉิ่ง ฉาบ กรับ ฯลฯ ๓. เพลง เกม ๔. ใบความรูท่ี ๑ เร่ือง กลุมสัมพันธ การประเมินผล ๑. วิธกี ารวดั ผล : สังเกตพฤติกรรมในการเขา รวมกิจกรรมกลุมสัมพนั ธ ๒. เคร่ืองมอื วัดผล : แบบสังเกตพฤตกิ รรมในการเขารว มกิจกรรมกลุมสัมพนั ธ ๓. เกณฑก ารประเมินผล : ระดบั คณุ ภาพดี หมายถงึ ผาน เนอ้ื หาวิชา กลมุ สมั พนั ธ ๒๖ 27

ใบความรูท่ี ๑ เรื่อง กลุมสัมพันธ กจิ กรรมที่ ๑ ปรบมือเปน จงั หวะ อปุ กรณ ไมมี กระบวนการ ๑. วทิ ยากรใหผ เู ขา รับการฝก อบรมปรบมือโดยสาธติ ประกอบทา ทาง เชน • ปรบมอื ๑ ครั้ง ใชม ือทาํ รปู ปนยงิ ๔ ทิศ • ปรบมือ ๒ ครง้ั ใชม ือทาํ รูปปนยิง ๔ ทศิ • ปรบมือ ๓ คร้ัง ใชม ือทาํ รูปปนยงิ ๔ ทศิ • ปรบมอื ทาํ ตอเน่ือง คือ ปรบมือ ๑ ครัง้ ยิง ปรบมอื ๒ คร้ัง ยิง ปรบมือ ๓ คร้งั ยงิ ๒. วิทยากรใหผเู ขารบั การฝก อบรมปรบมือ ๑ ครั้ง ฝก ปรบมือเปน จงั หวะตอ เน่ือง เชน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๓. วิทยากรรอ งเพลงและทาํ ทาทางประกอบเพลง แลว ใหผูเขา รับการฝกอบรมทําตาม (ออกเสยี งดัง ๆ) ตวั อยา งเพลง เพลง ตบมอื ตบมือ ๕ คร้ัง ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ตบใหดังกวานี้ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ตบใหมอีกที ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ตบอยูกับที่ ดงั เดมิ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ตบไปทางซาย ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ แลว ยา ยไปทางขวา ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ตบไปขางหนา ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ แลว สง เสียงฮาดงั ดัง ฮา ฮา ฮา ฮา ฮา เพลง เจอะกัน เม่อื เรามาเจอะกนั ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ถามวาไปไหนมา ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ จับมือซายขวา ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ โบกมือ ลาสวัสดี ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ขอ เสนอแนะ วทิ ยากรนาํ กจิ กรรมปรบมือในรูปแบบอ่ืน ๆ ได เชน ยกมือขึ้นปรบมือเร็ว ลดมือลงปรบมือชาลง หรือ การกระทืบเทา หรอื การหยกั ไหล กิจกรรมที่ ๒ ใครช่อื อะไร อุปกรณ รายช่ือสมาชกิ ทุกคน กระบวนการ ๑. วิทยากรอานรายชื่อสมาชิก และใหยืนข้ึนแสดงตัวทีละคนจนหมดทุกคน แลวใหปดปายช่ือท่ีต้ัง บนโตะ (ถามี) ๒. วิทยากรเชญิ สมาชกิ หมายเลข ๑ เอย ชอื่ สมาชิก ๑ คน และผทู ี่ไดร ับการเรียกชอื่ ยนื แสดงตวั อกี ครั้ง ๓. สมาชิกที่ไดรับการเรียกช่ือ ก็จะเรียกช่ือคนตอไป ดําเนินเชนนี้ตอไปเรื่อย ๆ โดยไมมีการซ้ําคน วิทยากรจะคอยขีดหมายเลขบนผังที่นัง่ ออกทีละคนจนหมด ๔. ในกรณีท่ีจําช่อื ไมได เรยี กไมถกู ใหถามช่อื บุคคลน้ันแลว แนะนาํ ตวั ขอ เสนอแนะ วิทยากรนํากิจกรรมในรปู แบบอืน่ ๆ ได เชน จับคูถามช่ือ ถาม...อ่ืน ๆ หรือทําตอเนื่อง จับมากกวา ๒ คน กไ็ ด เชน จับ ๓ คน จับ ๔ คน .... ๒๗ 28

กจิ กรรมท่ี ๓ แจคพอตคนโชคดี อุปกรณ สลากช่อื สมาชิกใสในกลองหรือกระปอง กระบวนการ ๑. วิทยากรช้ีแจงใหสมาชกิ ทราบวาในกระปองมีสลากชื่อของสมาชิกทุกคน วิทยากรเร่ิมหยิบสลาก ๑ คนท่ีหยิบไดตองแสดงกิจกรรมอยางหน่ึงใหสมาชิกชม เชน รองเพลง เลานิทาน ถาทําไมไดหรือผานใหหยอด เหรยี ญ ๑ บาท ลงในกระปอ งแลว สง คนตอ ไป และปฏิบัตเิ ชนเดียวกบั คนที่ ๑ ๒. เม่ือสมาชิกเขาใจดีแลววิทยากรเร่ิมดําเนินการไปเรื่อย ๆ จํานวนก่ีคนก็ไดตามความเหมาะสม คนสุดทา ยจะไดร ับเงนิ ท้ังหมดท่อี ยูใ นกระปอง ขอเสนอแนะ วิทยากรนํากิจกรรมในรูปแบบอื่น ๆ ได เชน เขียนขอความลงในกระดาษ A4 ใหรองเพลง ทําทา เลียนแบบสัตว ....... กจิ กรรมที่ ๔ ผูกเชือกสัมพันธ อปุ กรณ เชือกฟางยาวประมาณ ๑ ฟุต จาํ นวนเทาสมาชิก กระบวนการ ๑. วิทยากรกลาวนําเก่ยี วกบั การตองการทดสอบพลังกลุม โดยจะมอบงานใหทํา ๑ ช้ิน ใหสมาชิกของ กลมุ ประมาณวา จะใชเวลากี่นาที โดยไมบอกวาจะทําอะไร ๒. วิทยากรแจกเชอื กคนละ ๑ เสน ๓. วิทยากรช้ีแจงกติกาวาเม่ือเริ่มจับเวลา ใหทุกคนนําเชือกของตนเองตอกับเชือกของคนอื่นจนกลาย เปน เสน เดียวกนั และจะตอ งดึงไมห ลุด ๔. เมือ่ เสรจ็ วทิ ยากรจบั เวลาและแจงผล ๕. วิทยากรทดสอบดึงรอยตอ แตละเสนวาหลุดหรอื ไม ถา หลุดลบเวลาตําแหนง ละ ๑ วินาที ๖. วิทยากรเปดโอกาสใหสมาชิกอภิปรายในประเด็นที่วา “งานของเราจะเสร็จส้ินอยางเรียบรอยและ รวดเร็วเพราะเหตุใด” ๗. วิทยากรใหขอคิดเพิ่มเติมเก่ียวกับความสามัคคี ปริมาณและคุณภาพ การมอบหมายงานท่ีแจง จุดประสงคช ัดเจน ขอ เสนอแนะ วิทยากรนํากิจกรรมในรูปแบบอื่น ๆ เชน การพับแขนเสื้อขางซายของทุกคน โดยเร่ิมที่คนทายแถว ไมต องพบั แขนเสอ้ื ใหพ บั แขนเสือ้ ของคนท่อี ยทู างขวา พับตอ ๆ กนั ไปจนถึงคนหัวแถว ครบแลว น่งั ลง ๒๘ 29

กจิ กรรมท่ี ๕ ใครเฉยี บ อุปกรณ ไมมี กระบวนการ ๑. วทิ ยากรแบง สมาชิกออกเปน ๒ กลมุ เทา ๆ กัน ๒. เชิญสมาชิกออกมาทีละคูสลับกันถามปญหาอะไรเอย อีกฝายจะตองตอบ เชน ตัวยอ ตัวเต็มอะไร อะไรตรงขา มอะไร สิ่งนัน้ สอี ะไร ฯลฯ ๓. วิทยากรคอยใหคะแนนฝายไหนไดแ ตมสูงกวา กจ็ ะชนะ ๔. วิทยากรเปดอภปิ รายกิจกรรมน้ใี หแงคิดอะไร ๕. วิทยากรเสริมเนนเรื่องความตน่ื ตวั อยูเสมอ การแกปญหาเฉพาะหนา ยิ่งฝกยิ่งแกรง ขอเสนอแนะ วิทยากรนํากิจกรรมในรูปแบบอื่น ๆ เชน จับคู หันหนาหากัน ย่ืนมือซายหงาย มือขวาคว่ํา เม่ือ วิทยากรบอกชื่อกลุม เครื่องครัว ใหผูเขารับการฝกอบรมคนแรกพูดเครื่องครัว เชน หมอ พรอมตีฝามือคน ท่ี ๒ คนท่ี ๒ พูด เชน กระทะ พรอมตีฝามือคนที่ ๑ ทําสลับไปเร่ือย จนวิทยากรเปานกหวีด ใครยังไมพูด ใหรางวัลทําทาทาง หมายเหตุ ๑. ตัวอยางกิจกรรมรวบรวมจากหนังสือ ๑๐๑ กิจกรรมประกอบการฝกอบรมของอาจารยอนุกูล เย่ยี งพฤกษาวลั ย ๒. ผูดําเนินการกิจกรรมกลุมสัมพันธสามารถเลือกกิจกรรมท่ีสอดคลองกับเน้ือหาวิชาตาม ความเหมาะสม ๒๙ 30

แบบประเมนิ การปฏบิ ัติกิจกรรม ช่ือวิชา กลุมสัมพันธ หมู............................... ขอ รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ ๓ ๒๑ ๑ มกี ารทํางานเปนทีม ๒ มีความกระตือรอื รน ๓ มีปฏสิ มั พนั ธค วามเปนมติ รไมตรตี อกัน รวม ลงช่ือ................................................. (..................................................) ผกู ํากบั ลูกเสือ เกณฑก ารประเมินผลงานกลมุ หวั ขอที่ประเมิน ดี (๓) ระดับคุณภาพ/คะแนน ปรับปรุง (๑) ๑. มีการทํางานเปนทีม สมาชกิ ทกุ คนมสี ว นรวม พอใช (๒) สมาชิกไมใหค วามรวมมือ ๓ คน ข้ึนไป ๒. มีความกระตือรือรน สมาชกิ ไมใหความรว มมือ ๑ - ๒ คน ขาดความกระตือรือรน ๓. มีปฏสิ มั พันธ ๓ คน ข้ึนไป ความเปนมติ รไมตรี ทุกคนมี ขาดความกระตือรือรน ตอ กนั ความกระตือรือรน ๑ - ๒ คน ขาดการมปี ฏิสัมพันธ ความเปน มติ รไมตรี ทุกคนมีปฏิสมั พนั ธ ขาดการมีปฏสิ ัมพนั ธ ตอกนั ๓ คน ขนึ้ ไป ความเปนมติ รไมตรี ความเปน มิตรไมตรี ตอกัน ตอ กัน ๑ - ๒ คน เกณฑการตดั สินคณุ ภาพ ชวงคะแนน ระดับคณุ ภาพ ๗ - ๙ ดี ๕ - ๖ พอใช ๓ - ๔ ปรับปรงุ ๓๐ 31

ชือ่ วิชา ลูกเสือกบั การกระทาํ ทเ่ี ปดเผยโปรง ใส บทเรยี นที่ ๔ เวลา ๖๐ นาที ขอบขา ยรายวิชา ๑. ความซ่ือตรง ๒. การกระทําที่เปดเผย ความจริงใจ ๓. การกลา ยอมรบั ผิด จดุ หมาย เพื่อใหลูกเสือสามัญมีพฤติกรรมที่แสดงถึงความจริงใจตอผูอ่ืน ไมหลอกลวง กลาพูดความจริง กลายอมรบั ความผดิ ในสิง่ ทตี่ นเองกระทาํ ดวยความรสู ึกภาคภูมิใจ วัตถปุ ระสงค เมอ่ื จบบทเรยี นนี้แลว ลูกเสอื สามญั สามารถ ๑. แสดงความละอายตอการพูดโกหก หรือการปกปดความผดิ ที่ไดกระทํา ๒. ปฏิบัติหนา ทที่ ไ่ี ดรบั มอบหมายอยางตรงไปตรงมา ตามกฎ ระเบียบทีก่ าํ หนด ๓. แสดงการรบั ผิดตอการกระทาํ ของตนเองได วธิ ีสอน/กิจกรรม ๑. บรรยายใหท ราบถึงคาํ นิยาม หรอื คําจํากัดความของขอบขายรายวิชา (ใบความรูท ่ี ๑) ๒. ใหแตละหมู เลนเกมใบคํา เชนคําวา เปดเผย โปรงใส รับผิดชอบ คดโกง โกหก บิดเบือน ฯลฯ หรือเขียนคําขวัญรณรงคความโปรงใส เชน โปรงใส ไรคอรรัปชัน รวมสรางสรรคชาติไทย เพ่ือใหจําไดและ เกดิ ความรูส ึกคลอ ยตาม ๓. แจกใบงานที่ ๑ ใหอภิปรายในหมูโดยใชใบความรูท่ี ๒ เรื่อง สํานวน สุภาษิตและคํากลอน และ ใบความรูที่ ๓ เรอื่ ง พันทายนรสงิ ห เพอ่ื ใหเกิดการนําเสนอและแลกเปลี่ยนความเห็น พรอมรวมกันยกตัวอยาง จากประสบการณจรงิ ทัง้ ในสว นดแี ละไมด ี ๔. รวมกนั สรุปเน้ือหา และกลาแสดงการรับผิดตอการกระทําของตนเอง สอื่ การสอน ๑. วีดิทัศน เรื่อง พนั ทา ยนรสงิ ห ๒. เกมใบคาํ ภาพ สํานวนสุภาษิต นทิ าน ๓. ใบความรูที่ ๑ เรื่อง การกระทําท่ีเปด เผยโปรงใส ใบความรทู ี่ ๒ เร่ือง สํานวน สภุ าษติ และคํากลอน ใบความรูท่ี ๓ เรื่อง พันทา ยนรสิงห ๔. ใบงานที่ ๑ การประเมนิ ผล ๑. วธิ กี ารวดั ผล : สังเกตพฤติกรรมการเลน เกมและการทํางานหมู ๒. เครื่องมอื วดั ผล : แบบประเมินคําสุภาษิต คาํ กลอน และแบบประเมนิ การทาํ งานหมู ๓. เกณฑก ารประเมนิ ผล : ระดับคุณภาพดี หมายถึง ผาน เนื้อหาวชิ า การกระทําท่ีเปดเผยโปรง ใส ๓๑ 32

ใบความรทู ่ี ๑ เร่ือง การกระทาํ ที่เปดเผยโปรง ใส ความโปรงใส (Transparency) หมายถึง การมองเห็นภาพโดยตลอด ปราศจากประเด็นแอบแฝง ซอนเรน มีขอมูลชัดเจน ละเอียด ประกอบการประสานงาน การรวมมือรวมใจ และการตัดสินใจ การอํานวย ความสะดวกใหประชาชน เขาสูขอมูลขาวสารขององคกร กฎหมาย กฎ ระเบียบและกระบวนการทํางาน โดยสะดวกสรางความเปดเผย เปดโอกาสใหผูมีสวนไดสวนเสียท้ังจากภายในและภายนอกหนวยงานสามารถ เขาถึงขอมูลดวยวิธีการตาง ๆ มีการส่ือสาร การแสดงความรับผิดชอบพรอมรับการตรวจสอบ รวมท้ังมี กระบวนการในการติดตามและประเมินผลท่ีไดรับการยอมรับวาเที่ยงตรงและเช่ือถือได ความโปรงใสจึงเปน เคร่ืองมือที่สําคัญในการตรวจสอบความถูกตองและชวยปองกันไมใหเกิดการทุจริต รวมทั้งนําไปสูการสราง ความไววางใจซ่ึงกันและกัน ท้ังระหวางผูปฏิบัติรวมกันในองคกรเดียวกัน ระหวางประชาชนตอรัฐ ไปจนถึง ระหวางคนในชาติดวยกัน การทํางานใหมีความโปรงใส มีการเปดเผยขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนอยาง ตรงไปตรงมา ดวยภาษาที่เขาใจงาย เพ่ือประชาชนจะไดเขาถึงขอมูลขาวสารไดโดยสะดวกและชวยตรวจสอบ ความถูกตอง สังคมไทยเร่ิมรูจักคําวา “ความโปรงใส” อยางแพรหลายในชวง พ.ศ. ๒๕๓๕ ที่ทานนายกฯ อานันท ปนยารชนุ เขา มาบริหารประเทศ ซ่ึงทานนายกฯ อานันท ใหความสําคัญตอ “ความโปรงใส” ในการบริหารงาน ของรัฐบาลอยางมาก ดังจะเห็นจากปาฐกถาพิเศษของทาน เรื่องความโปรงใสและธรรมรัฐ เม่ือวันท่ี ๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๒ วา “..สมัยผมเปนนายกรัฐมนตรี ผมไมมีฐานอํานาจ ไปสูกับทหารก็ไมได ไปสูกับ กระบวนการทางการเมืองก็ไมได ผมมาตัวเปลา และก็อาศัยส่ือตาง ๆ ไมวาจะเปนโทรทัศน หนังสือพิมพ มหาวิทยาลัย ที่ผมจะไปส่ือความคิด ความเขาใจของผม วิธีการบริหารของผม แนวทางนโยบายของรัฐบาล ของผม อันนั้นเปนจุดเริ่มตนในการบริหารงานการเมืองของประเทศชาติในขณะนั้น เปนท้ังหนาที่และ ความรับผิดชอบที่ตองส่ือใหประชาชนมีความเขาใจวารัฐบาลกําลังทําอะไรอยู กําลังคิดอะไรอยู กําลังวางแผน อะไรอยู และประชาชนมีสิทธิท่ีจะรับทราบขอมูลถึงแนวทางความคิด ถึงวิธีการ ถึงกระบวนการและ วัตถุประสงคบั้นปลายของแนวนโยบายตาง ๆ” “โปรง ใส ประสทิ ธิภาพ เปนธรรม และประหยดั ” นโยบาย ๔ ป. สมัยรัฐบาลพลเอกสุรยุทธ จุลานนท เปนแนวนโยบายสําคญั ประการหนง่ึ ในการบริหารประเทศในขณะนั้น ซึ่งเปนที่คาดหวังวาจะบริหารบานเมือง ดวยความโปรงใส ขจัดปญหาการคอรรัปชันในหนวยงานรัฐท่ีเช่ือกันวาเกิดขึ้นอยางมากมาย “ความโปรงใส” เปนส่ิงสําคัญย่ิงในการบริหารและการปฏิบัติงานของภาครัฐ การบริหารหรือการปฏิบัติดวยความโปรงใสนั้น เปน ปฏปิ ก ษกับการคอรรัปชันหรือการทุจริตประพฤติมิชอบ ความโปรงใสมุงเนนใหหนวยงานรัฐเปดเผยขอมูล ขาวสารท่ีเก่ียวของกับการดําเนินงานที่มีผลกระทบตอประชาชน ใหผูมีสวนไดสวนเสียหรือสาธารณชนทราบ การปกปดนั้น ใหกระทําใหนอยที่สุดและเทาท่ีจําเปนเทานั้น ท้ังนี้ โดยไมขัดตอขอกําหนดของพระราชบัญญัติ ขอมลู ขา วสารของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ดงั นั้น ความโปรงใสจงึ เปนกลไกประการหนึ่งในแนวคิดของระบอบ การปกครองแบบประชาธิปไตย ท่ีเนนการมีสวนรวมของประชาชน (Public Participation) การบริหารดวย ความโปรงใส จึงเปนการเปดพ้ืนที่ใหประชาชนเขามามีสวนในการตรวจสอบการใชอํานาจของรัฐอยาง กวางขวางยิ่งขึ้น เพราะประชาชนสามารถเขาถึงขอมูลขาวสารของภาครัฐโดยมีขอจํากัดนอยท่ีสุด นอกจากนี้ การที่หนวยงานภาครัฐประพฤติปฏิบัติใด ๆ ดวยความโปรงใสนั้น กลายเปนระบบกลไกควบคุมประการหน่ึง ท่ีจะชวยขจัดปดเปาปญหาการคอรรัปชันใหคอย ๆ หมดไป ในขณะเดียวกันก็เปนการสรางความเช่ือม่ันและ ความไววางใจใหก บั ประชาชนโดยสว นรวมอกี ดว ย ๓๒ 33

ในการประเมินความโปรงใสของหนวยงานภาครัฐ ประการสําคัญที่สุดนาจะอยูท่ี “จิตสํานึก” หากขาราชการและพนักงานของรัฐทุกคน ต้ังแตผูบริหารระดับสูง ลงมาจนกระทั่งผูปฏิบัติงานในระดับลาง และรวมถึงบรรดาขาราชการการเมืองดวย ตางก็มีจิตสํานึกของความซื่อสัตยสุจริต มีจิตสํานึกตอวิชาชีพ ขา ราชการ หรือพนักงานของรฐั ทีเ่ ตม็ เปยมไปดวยความรับผดิ ชอบในหนา ที่ มสี ํานกึ ในภาระความรับผิดชอบท่ีมี ตอประชาชน ตอสังคมโดยสวนรวม และตอประเทศชาติ หากเปนเชนน้ี การสรางกลไกและการผลักดัน ใหเกิดความโปรงใสของหนวยงานภาครัฐทั่วทั้งประเทศ ยอมประสบความสําเร็จอยางแนนอน หากขาด ซึ่งจิตสํานึกแลว กลไกการประเมินความโปรงใสของหนวยงานภาครัฐที่พยายามสรางข้ึนมา ก็อาจประเมินแค เพยี ง “ความโปรง ใสทางเอกสาร” ซ่งึ หาใชความโปรง ใสทแ่ี ทจริงไม “ความโปรงใส เปรียบเสมือนคนอยูในบาน กลางวันถาปดประตูบานหมด และในเวลากลางคืนก็ไม เปดไฟ คนขางนอกจะไมเห็นอะไรเลย แตถาเราเปดบานใหโปรงใส เปดประตูหนาตางใหคนเห็นมากข้ึน และ กลางคืนก็เปดไฟใหคนเห็นได ความพยายามท่ีจะทําอะไรที่ไมอยากใหคนเห็น ก็จะลดนอยลง คนเราถาจะโกง กนิ แลว อยา งนอยกจ็ ะมคี วามเกรงใจ มีความเปนหว งวาใครจะเหน็ หรือไม” อานันท ปนยารชนุ ในทุกสังคมประกอบดวยสมาชิกหรือบุคคลที่แตกตางหลากหลาย ตามบทบาทและหนาท่ีตาง ๆ ที่เหมอื นกนั บางและตา งกนั บา ง ตั้งแตเ ปน สมาชกิ ของครอบครวั สมาชกิ ของโรงเรยี น สมาชิกของท่ีทํางาน และ สมาชิกของสังคม ดังนั้น การอยูรวมกันอยางสันติสุข เขาใจซ่ึงกันและกัน ไมละเมิดผูอื่น และพรอมยอมรับ ในการกระทําของตนเองนั้น สมาชิกทุกคนจะตองเขาใจความรับผิดชอบ ในบทบาทและหนาท่ีของตนเอง และบุคคลตาง ๆ รวมท้ังการปฏิบัติหนาที่ตาง ๆ อยางมีความรับผิดชอบ พรอมที่จะใหมีการตรวจสอบ มคี วามเคารพตอกฎเกณฑกตกิ าอยา งมีวนิ ยั การกระทําอยางรับผิดชอบ (Responsibility and Accountability) คือ การมีจิตสํานึกในบทบาท และหนาทข่ี องตวั เอง และปฏบิ ตั หิ นา ทีใ่ หด ที ีส่ ดุ เคารพกฎเกณฑ กติกา พรอมใหตรวจสอบการกระทําไดเสมอ หากมกี ารกระทําผิดกพ็ รอ มท่ีจะยอมรบั และแกไขในสง่ิ ทีผ่ ิด มเี รอื่ งเลา ใหอ ิ่มใจ ในสัปดาหแรกของการเปดเรียนตอนเย็นวันศุกร ขณะท่ีกําลังจะปดประตูหองเรียน ไดยินเสียงเรียก \"คุณครูครับ ๆ\" มาแตไกล เห็นเด็กชาย ๒ คน วิ่งหนาต้ังมาหาครู พอมาถึงก็ยื่นเงินเหรียญ ๑๐ บาท ใหพรอมกับบอกวา \"ผมเก็บเงินไดท่ีขางถนนดานนอกโรงเรียนครับ\" ครูซักถามขอมูลเพ่ิมเติมอีก เล็กนอย และกลาวชมเชย ชื่นชม ในคุณความดีคร้ังน้ี พรอมกับใหพรเพ่ือเปนกําลังใจ และใหความม่ันใจใน การทําดตี อไป วนั น้นั ครเู ดนิ ย้มิ ออกจากโรงเรียนดวยความสุขใจ นึกถึงเด็กชายท่ีเก็บเงินได ถาเก็บเอาไปใชเอง ก็ไมมีใครรู บอกเพ่ือนแลว ทั้งสองแบงกันคนละ ๕ บาท ก็ยอมได แตเด็กท้ังสองไมคิดเชนน้ัน คิดวาเงินไมใช ของเขา คร้ันจะถามหาเจาของก็ไมได จึงนํามาใหครู น่ันก็แสดงถึงคุณธรรมที่มีอยูในจิตใจ สะทอนถึงสภาพ ครอบครัวที่อบอุนม่ันคง มีจริยธรรม และการอบรมบมเพาะของพอแม ครูอาจารย ที่สําคัญคือจิตใจใฝดีของ เดก็ เองท่มี ุง ม่ันพฒั นาใหค ณุ ธรรมเจริญงอกงามข้ึนในจิตใจดวงนอย ๆ ครูเช่ือวาเติบใหญภายหนายอมเปนคนดี อยา งแนนอน ๓๓ 34

ใบความรูท่ี ๒ เร่ือง สํานวน สุภาษติ และคํากลอน ตัวเปนข้ีขา อยา ใหผาเหม็นสาบ สํานวนน้ีเปนสุภาษิตเกาแก ท่ีสอนใหคนเราประพฤติชอบแตในทางที่ดี ไมใหประพฤติตนไปในทาง เสื่อมเสียแมจะมีฐานะยากจน เปนคนรับใชหรือลูกจางเขาก็ตามแต ก็ตองรักษาความดี ความซื่อสัตย รวมทั้ง ความสะอาดกายไปในตวั ดว ย อยา ปลอ ยตวั เองใหต กเปน ทาสของความช่วั คาํ กลอน ควรรกั ษาใหตดิ เปนนิสัย ความซ่อื สตั ยคณุ ธรรมอันลํ้าคา ตองจริงใจในคาํ พดู ของตน อยา สับปลับกลบั กลอกหลอกลวงใคร เมอ่ื ผิดกลาแถลงแจงเหตผุ ล รบั ปากแลวทาํ ตามอยา งทวี่ า เหลาผองชนจะช่นื ชมตลอดกาล ยอมรับแตโดยดนี ่ีคอื คน ผปู ระพนั ธ : ไชยญาณ บญุ ยศ (๒๒ ธันวาคม ๒๕๓๕) ใบความรูที่ ๓ เรื่อง พนั ทายนรสิงห “พันทายนรสิงห” เปนเร่ืองของความซื่อตรงตอหนาท่ี กลาวคือ ในสมัยสมเด็จพระเจาเสือแหง กรุงศรีอยุธยา ไดเสด็จลงเรือพระที่นั่งเอกชัยเพื่อไปประพาสทรงเบ็ด เมื่อเรือพระท่ีนั่งมาถึงตําบลโคกขาม เมืองสาครบุรี ซ่ึงเปนคลองคดเคี้ยว พันทายนรสิงหนายทายเรือไมสามารถคัดทายไดทัน เรือพระที่นั่งจึงชน กิง่ ไมหักตกนํา้ ซึ่งมีโทษประหาร แตพระเจาเสือเห็นวาเปนเร่ืองสุดวิสัย จึงพระราชทานอภัยโทษใหถึงสองคร้ัง แตพันทายนรสิงหกลับขอใหประหารตน ยอมตายเพื่อมิใหเสียกฎมณเฑียรบาล ดวยความกลาหาญและ ความซื่อตรงตอหนาท่ีนี้เอง ท่ีทําใหปจจุบันยังมีศาลพันทายนรสิงหอยูท่ีจังหวัดสมุทรสาคร บริเวณที่เกิด เหตุการณดังกลาว เพ่ือเปนอนุสรณสถานใหอนุชนรุนหลังนึกถึงคุณงามความดีของทาน ซึ่งแมจะเปนเพียง นายทายเรือ แตก ็ประพฤตติ นเปน แบบอยา งแกล ูกหลาน หากทา นรบั การอภยั โทษครง้ั น้นั ชือ่ เสียงของทานก็คง ไมเปน ทีก่ ลาวขวญั กนั จนถงึ ทกุ วันนี้ “พันทายนรสิงห” แมจะเปนเรื่องเลาในพงศาวดารของไทย ก็ตาม แตก็เปนที่เลาขานสืบตอกันมาจนถึงปจจุบัน เพื่อใชเปนคติ สอนใจคน อันแสดงใหเห็นวาไมวาชนชาติใด ภาษาไหน ตางก็เห็นวา ความซ่ือสัตย กลารับผิดชอบ เปดเผยและไมโกหกหลอกลวงใคร เปน คณุ ธรรมท่นี า ยกยอ งและเปน เรอ่ื งท่ีสมควรประพฤตปิ ฏิบัติ ๓๔ 35

ใบงานที่ ๑ เรอ่ื ง การกระทาํ ที่เปด เผยโปรงใส คําชแี้ จง ผเู ขารับการฝกอบรมยกตัวอยางสํานวน สุภาษิต ที่มีความหมายแสดงถึงการกระทําดี ซ่ือสัตยสุจริต ไมคดโกง เปดเผยโปรงใส พรอมอธิบายความหมายสํานวน สุภาษิตนั้น และชวยกันแตงคํากลอนที่มีลักษณะ ที่เปน การกระทําดี ซอ่ื สตั ยส ุจรติ ไมค ดโกง เปด เผยโปรง ใส แลวบนั ทึกสรุปผลการอภิปรายลงในใบงาน สํานวน สภุ าษิต ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... แตง คํากลอนทมี่ ีลักษณะเปน การกระทําดี ซื่อสตั ยส จุ รติ ไมค ดโกง เปด เผยโปรงใส ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ๓๕ 36

แบบประเมนิ เรอื่ ง การกระทาํ ท่ีเปดเผย (สาํ นวน สุภาษติ คํากลอน) หมู............................... ลําดับ รายการประเมิน คณุ ภาพผลงาน ๑ ผลการอภิปรายเร่ือง สํานวน สุภาษิต ๓๒๑ ๒ แตง คาํ กลอนท่ีมลี กั ษณะเปน การกระทาํ ดี ซื่อสตั ยส ุจรติ ไมคดโกง เปดเผยโปรง ใส รวม ลงชือ่ ..............................................ผปู ระเมนิ (...............................................) เกณฑการใหค ะแนนความหมายสาํ นวน สภุ าษิต สํานวน สภุ าษิตตรงเนอ้ื หา และใหค ําอธบิ ายความหมายไดดี ให ๓ คะแนน สํานวน สภุ าษิตตรงเนือ้ หา และใหคาํ อธิบายความหมายไมชัดเจนครอบคลมุ ให ๒ คะแนน สํานวน สภุ าษติ ไมตรงเนือ้ หา และใหค ําอธบิ ายความหมายไมช ดั เจนครอบคลมุ ให ๑ คะแนน เกณฑก ารใหค ะแนนการแตง คาํ กลอน การใชคาํ การสมั ผสั ถกู ตอง ตรงเนอ้ื หา ครบทั้งสามรายการ ให ๓ คะแนน การใชค าํ การสัมผัสถกู ตอง ตรงเนอื้ หา ขาดหนึ่งรายการ พอใช ให ๒ คะแนน การใชค ํา การสัมผสั ถกู ตอง ตรงเน้ือหา ขาดสองรายการ ปรบั ปรงุ ให ๑ คะแนน เกณฑก ารตดั สนิ คณุ ภาพ ชวงคะแนน ระดับคณุ ภาพ ๕ - ๖ ดี ๓ - ๔ พอใช ๒ ปรับปรงุ ๓๖ 37

แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางาน หมู............................... ลาํ ดับ พฤตกิ รรม คุณภาพการปฏิบตั ิ ๓๒๑ ๑ มีสว นรว มในการแสดงความคิดเห็น ๒ มคี วามกระตือรอื รน ในการทาํ งาน ๓ รบั ผดิ ชอบงานท่ีไดร บั มอบหมาย ๔ มขี นั้ ตอนในการทาํ งานอยา งเปนระบบ ๕ ใชเ วลาในการทาํ งานอยางเหมาะสม รวม ลงชื่อ..............................................ผปู ระเมิน (...............................................) เกณฑก ารใหค ะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยางสมาํ่ เสมอ เทากบั ดี ให ๓ คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบอยคร้งั เทา กับ พอใช ให ๒ คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั หรอื นอยครงั้ เทา กบั ปรับปรงุ ให ๑ คะแนน เกณฑการตดั สินคุณภาพ ชวงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๑ - ๑๕ ดี ๖ - ๑๐ พอใช ๕ ปรบั ปรงุ ๓๗ 38

ชอ่ื วิชา ลกู เสือกับหนา ท่พี ลเมืองทีด่ ี บทเรยี นที่ ๕ เวลา ๖๐ นาที ขอบขายรายวิชา ๑. หนาท่ีของพลเมืองตามรฐั ธรรมนูญ ๒. การปฏบิ ตั ิตนเปนพลเมืองท่ดี ี ๓. คุณคา ของหลกั ประชาธิปไตย จุดหมาย เพื่อใหลูกเสอื สามัญมีความรู ความเขาใจ และสามารถปฏิบัตติ นเปน พลเมืองที่ดขี องชาติได วตั ถุประสงค เม่ือจบบทเรยี นน้ีแลว ลูกเสือสามัญสามารถ ๑. ระบหุ นาท่ที ี่ถูกตอ งตามรัฐธรรมนญู ได ๒. นําหลักประชาธปิ ไตยมาใชเพอื่ ความเปน พลเมืองทดี่ ีได วธิ ีสอน/กิจกรรม ๑. บรรยายนาํ ถงึ หนา ทต่ี ามรัฐธรรมนญู เพื่อสรา งความเปนพลเมอื งดี (ใบความรทู ่ี ๑) ๒. ใหแตละหมูเลนเกมอธิบายจากภาพเกี่ยวกับหนาที่ใหมีการแขงขันและนําเสนอ มีการพิจารณา ใหคะแนนโดยผเู ขารบั การฝกอบรม (นําภาพจากหนังสือพิมพมาอธบิ าย) (ใบความรูท่ี ๒) ๓. ถาม - ตอบ/อภิปรายกลุมถึงประเด็นท่ีเก่ียวของกับหนาท่ีตามรัฐธรรมนูญ โดยใชคําปฏิญาณและ กฎของลูกเสือ (ใบความรูท ี่ ๓) ๔. วิทยากรเปดเพลงใหฟง เชน ตนไมของพอ เพ่ือสรางความตระหนักการเปนพลเมืองดีของประเทศไทย โดยสรุปจากพระราชกรณียกจิ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรชั กาลปจ จุบัน สือ่ การสอน ๑. Power Point ๒. ภาพบุคคลอาชพี ตา ง ๆ ๓. ขา วหนงั สือพิมพ ส่ือตา ง ๆ ที่เก่ียวกับหนาที่ ๔. ใบความรูท่ี ๑ เร่อื ง หนา ท่ีของปวงชนชาวไทย ใบความรูที่ ๒ เรือ่ ง การปฏิบตั ิตนเปน พลเมืองดี ใบความรูท ่ี ๓ เร่ือง คาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสือ ๕. วีดิทัศนเพลงตนไมของพอ การประเมนิ ผล ๑. วิธกี ารวดั ผล : สงั เกตพฤติกรรม ประเมนิ การทํางานและประเมินผลงาน ๒. เคร่ืองมือวัดผล : แบบประเมินพฤตกิ รรมการทํางานและแบบประเมินผลงาน ๓. เกณฑก ารประเมินผล : ระดบั คุณภาพดี หมายถึง ผา น เน้ือหาวชิ า ๑. หนาที่ของปวงชนชาวไทย ๒. การศกึ ษาเพอ่ื ความเปนพลเมืองดี ๓๘ 39


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook