Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือคุณธรรม

คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือคุณธรรม

Published by ปริญญา, 2021-11-15 10:37:03

Description: คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือคุณธรรม

Keywords: ลูกเสือ,วิชาพิเศษ,ลูกเสือคุณธรรม

Search

Read the Text Version

ลูก ๆ ทกุ คน ควรรวู้ ่า ความหวงั ของแม่ท่มี ตี อ่ ลูก ๓ หวัง คอื ยามแก่เฒา่ หวงั เจ้า เฝา้ รับใช้ ยามปว่ ยไข้ หวังเจ้า เฝ้ารักษา เมอ่ื ถงึ ยาม ตอ้ งตาย วายชวี า หวงั ลกู ช่วย ปิดตา เมอื่ ส้นิ ใจ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ในวันแม่ทคี่ วรปฏบิ ัติ ๑. ประดับธงชาตติ ามอาคารบ้านเรือน ๒. จดั กจิ กรรมต่าง ๆ เกีย่ วกับวนั แม่ เช่น จดั นทิ รรศการ จัดประกวดเรียงความ บทความ คาํ ขวญั เก่ียวกบั วนั แม่ ๓. จัดกจิ กรรมเกีย่ วกับการบําเพญ็ สาธารณประโยชน์ ทาํ บญุ ใส่บาตรอทุ ศิ สว่ นกุศล เพ่อื รําลกึ ถึง พระคณุ แม่ ๔. นาํ พวงมาลัยดอกมะลไิ ปไหวข้ อพรแม่ ๘๙ คู่มือการฝึกอบรมหลกั สตู รลูกเสือคณุ ธรรม

วนั วชริ าวุธ ( ๒๕ พฤศจกิ ายน ) ความเป็นมาของวันวชิราวุธ วนั วชริ าวธุ ตรงกับวันที่ ๒๕ พฤศจกิ ายนของทุกปี สาเหตทุ ีก่ ําหนดให้เป็นวนั นี้ เนือ่ งจากตรงกบั วันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยหู่ วั รัชกาลที่ ๖ ซงึ่ ทรงประกอบพระราชกรณยี กจิ ที่ เป็นประโยชน์อยา่ งมากมายมหาศาลต่อประเทศชาติ ทัง้ ในดา้ นการคมนาคม การปกครอง กจิ การเสือปา่ และ ลกู เสอื รวมท้ังด้านศิลปวฒั นธรรมและดา้ นวรรณคดี เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หัวสวรรคต ทางการจึงกาํ หนดใหว้ ันที่ ๒๕ พฤศจกิ ายนของทุกปี เป็นวันวชริ าวุธ เพ่อื เทิดพระเกียรติและรําลกึ ถงึ พระมหา กรุณาธคิ ุณของพระองคท์ ่าน ท้งั นี้ภายหลงั มีหลักฐานยืนยนั วา่ วันสวรรคตจริงตรงกบั เชา้ มืดช่วงตี ๑ ของวนั ท่ี ๒๖ พฤศจิกายน แต่ทางราชการยงั คงถอื วา่ วันท่ี ๒๕ พฤศจกิ ายน เป็นวนั วชิราวุธ พระราชประวตั พิ ระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยู่หวั พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชริ าวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหู่ ัว ทรงเป็นพระมหากษัตริยร์ ัชกาล ท่ี ๖ แห่งราชวงศ์จักรี ทรงเปน็ พระราชโอรสองคท์ ่ี ๒๙ ในพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๕ และองค์ที่ ๒ ในสมเด็จพระศรพี ชั รินทราบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนี พระพนั ปหี ลวง (สมเดจ็ พระนาง เจ้าเสาวภาผ่องศรี) พระราชสมภพเมอ่ื วนั ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๓ มพี ระเชษฐภคินแี ละพระอนุชารว่ มพระ มารดารวม ๘ พระองค์ ซึ่งมพี ระอนุชาองค์เล็กคอื พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาล ท่ี ๗ เมอ่ื พระชนมพรรษาเจริญครบเดือน พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว ได้พระราชทานพระนามวา่ \"สมเด็จพระเจา้ ลกู ยาเธอ เจ้าฟา้ มหาวชริ าวุธ\" ในปี พ.ศ.๒๔๓๑ เมอ่ื มพี ระชนมพรรษา ๘ พรรษา ทรงได้รบั การสถาปนาข้นึ เป็นเจ้าฟ้า \"กรมขนุ เทพทวาราวด\"ี ใหท้ รงมีพระเกียรตยิ ศเปน็ ช้ันท่ี ๒ รองจากสมเด็จพระ บรมโอรสาธิราช เจา้ ฟา้ มหาวชิรณุ หศิ สยามมกฎุ ราชกมุ าร และไดม้ พี ระราชพธิ ีโสกันต์ในเดือนธนั วาคม พุทธศักราช ๒๔๓๕ ๙๐ คูม่ ือการฝกึ อบรมหลกั สตู รลกู เสอื คณุ ธรรม

ขณะทรงพระเยาว์ พระองค์ได้ทรงศกึ ษาความรู้จาก พระศรสี นุ ทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) พระยา อิศรพันธโ์ สภณ (หนู อิศรางกูร ณ อยุธยา) และหม่อมเจา้ ประภากร ในสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ กรม พระยาบาํ ราบปรปักษ์ ท้งั ในพระบรมมหาราชวงั และโรงเรยี นสวนกหุ ลาบ จนเมอื่ มีพระชนมพรรษา ๑๒ พรรษา พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้เสดจ็ ไปทรงศึกษาตอ่ ณ ประเทศ อังกฤษ นับเป็นพระมหากษตั รยิ ไ์ ทยพระองค์แรกทที่ รงไดร้ ับการศกึ ษาจากตา่ งประเทศ ระหวา่ งทีท่ รงศึกษาอยู่ ณ ประเทศอังกฤษ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชเจา้ ฟา้ มหาวชิรุณหศิ สยามมกุฎ ราชกุมารไดส้ วรรคตเมอื่ วนั ที่ ๔ มกราคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๓๗ พระองคจ์ งึ ไดร้ ับการสถาปนาเฉลมิ พระอสิ รยิ ยศ ขนึ้ เปน็ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช ฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร สบื แทน และได้ประกอบพระราชพธิ ีขึน้ เม่อื วันที่ ๑๗ มกราคม พ.ศ.๒๔๓๗ ท่ปี ระเทศไทย และที่สถานทตู ไทยในกรงุ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ เม่อื วันท่ี ๘ มนี าคม พ.ศ.๒๔๓๗ พระองค์ทรงมีพระราชดาํ รัสอันเป็นพระวาทะอมตะว่า \"ขา้ พเจา้ กลับไปยังประเทศสยามเมอ่ื ใด ขา้ พเจา้ จะเปน็ ไทยใหย้ งิ่ กวา่ วันท่อี อกเดนิ ทางมา\" พระองคท์ รงศึกษาสรรพวิชาหลายแขนง ทง้ั การทหารบกทโ่ี รงเรียนนายรอ้ ยทหารบกแซนเฮิสต์ วิชา ประวตั ิศาสตร์และกฎหมายทว่ี ทิ ยาลัยไครสตเ์ ซชิ มหาวิทยาลยั อ๊อกซฟอรด์ และทรงพระราชนิพนธ์ วิทยานิพนธ์ ทางประวตั ศิ าสตรเ์ รื่อง The War of the Polish Succession แต่ระหวา่ งทีศ่ กึ ษาอยู่ ทรงพระประชวรด้วย พระโรคพระอันตะ (ไสต้ งิ่ ) อกั เสบ ทําให้ตอ้ งทรงรบั การผา่ ตัดทนั ที จึงทรงพลาดโอกาสท่จี ะได้รับปรญิ ญา ปี พ.ศ.๒๔๔๗ พระองค์เสด็จออกผนวชตามราชประเพณี ประทับอยปู่ ระจําวดั บวรนิเวศวหิ าร ตอ่ มา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดาํ เนินยุโรปครง้ั ที่ ๒ จึงทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานอํานาจในราชกจิ ไวแ้ ด่พระองคใ์ นฐานะทรงเป็นผสู้ าํ เรจ็ ราชการแผน่ ดิน สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจา้ ฟา้ มหาวชริ าวุธ สยามมกฎุ ราชกมุ าร เสดจ็ ขนึ้ ครองราชยเ์ มือ่ วันที่ ๒๓ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๕๓ ซึง่ ตรงกับวนั เสดจ็ สวรรคตของพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั ในครานน้ั พระองคย์ ังทรงโทมนสั กบั การสูญเสียพระชนมชีพของสมเดจ็ พระบรมชนกนาถ จนกระทัง่ เหลา่ พระบรมวงศานุ วงศ์ เสนาบดี ขา้ ราชการชั้นต่าง ๆ มาเข้าเฝา้ เพ่ือกราบถวายบงั คมอัญเชิญเสดจ็ ขึ้นเถลงิ ถวลั ยร์ าชเป็น พระเจา้ แผน่ ดนิ สืบต่อสมเด็จพระบรมชนกนาถ เป็นพระมหากษตั รยิ พ์ ระองค์ที่ ๖ แหง่ พระบรมราชจักรวี งศ์ ทรงพระ นามวา่ พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อย่หู วั พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงมพี ระราชธดิ าเพียงพระองค์เดียว คือ สมเดจ็ เจา้ ฟ้าหญิง เพชรรัตนราชสดุ าสิรโิ สภาพัณณวดี ประสตู ิแตพ่ ระนางเจ้าสุวทั นา พระวรราชเทวี ในวนั ท่ี ๒๔ พฤศจกิ ายน พ.ศ.๒๔๖๘ แตห่ ลังจากนัน้ เพียง ๑ วันคอื วันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๘ เวลา ๑ นาฬกิ า ๔๕ นาที พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หัว เสดจ็ สวรรคตด้วยพระโรคพระโลหติ เปน็ พิษในพระอทุ ร รวมพระชนม พรรษา ได้ ๔๕ พรรษา รวมเสด็จดาํ รงสริ ิราชสมบตั ไิ ด้ ๑๕ พรรษา ๙๑ คมู่ ือการฝึกอบรมหลกั สูตรลกู เสือคณุ ธรรม

ด้านกิจการเสอื ปา่ และลูกเสอื พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อย่หู ัวทรงจัดตั้งกองเสือป่าข้ึนเมอ่ื วันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๔๕๔ มี จดุ มงุ่ หมายเพ่ือฝึกอบรมข้าราชการ พ่อคา้ คหบดี ใหไ้ ด้รับการฝึกหดั อย่างทหาร เพ่อื ให้เป็นราษฎรทีเ่ ขม้ แข็ง มี คณุ ภาพ และสง่ เสริมความสามัคคี โดยเหลา่ เสือปา่ จะมหี นา้ ที่ในการรักษาความสงบท่ัวไปในเมือง ขณะเดยี วกนั กไ็ ดท้ รงกอ่ ตง้ั กองลกู เสอื ขน้ึ ทโี่ รงเรยี นมหาดเลก็ หลวง เพอื่ ฝึกใหเ้ ยาวชนมคี วามเขม้ แขง็ อดทน เสียสละ สามัคคี ดงั ทไี่ ด้พระราชทานคตพิ จนใ์ หแ้ กค่ ณะลกู เสือวา่ \"เสยี ชพี อยา่ เสยี สัตย\"์ และ ดัง พระราชนิพนธ์บทละครพูดเรอื่ ง หัวใจนักรบ และความดมี ีไชย ทแ่ี สดงให้เหน็ วา่ พระองคท์ รงใหค้ วามสาํ คญั กับ บทบาทและหน้าท่ีของลกู เสอื ๙๒ คู่มือการฝึกอบรมหลักสตู รลกู เสือคณุ ธรรม

วันพอ่ แหง่ ชาติ ( ๕ ธนั วาคม ) คาํ สอนของพอ่ .......คนไม่มีความสุจริต คนไม่มีความมั่นคง ชอบแต่มักง่าย ไม่มีวันจะสร้างสรรค์ ประโยชนส์ ่วนรวมทส่ี ําคญั อันใดได้ ผู้ท่มี ีความสุจริตและความมงุ่ ม่ันเท่านั้น จึงจะทํางานสําคัญท่ี ยิ่งใหญท่ ่เี ปน็ คุณประโยชนแ์ ทจ้ ริงไดส้ าํ เรจ็ ...... (พระบรมราโชวาท ในพิธพี ระราชทานปรญิ ญาบตั รของจุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย) วันที่ ๑๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๒ ประวตั ิความเป็นมาของวันพอ่ วันพ่อแห่งชาติ ได้มีการจัดข้ึนครั้งแรก เมื่อวันท่ี ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๐ โดยคุณหญิงเน้ือทิพย์ เสมรสุต นายกสมาคมผู้อาสาสมัครและช่วยการศึกษาเป็นผู้ริเริ่ม คณะกรรมการจัดงานวันพ่อแห่งชาติ ได้ กาํ หนดให้ “ดอกพุทธรกั ษา” ดอกไมท้ ่มี ีนามมงคลน้ี เป็นสญั ลักษณข์ องวนั พอ่ แห่งชาติ จดุ ประสงคข์ องการจดั งานวันพ่อ ๑. เพ่ือเทดิ บูชาพระเกยี รติคณุ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวภูมพิ ลอดลุ ยเดช ๒. เพอื่ เทิดทนู พระคุณพอ่ และยกยอ่ งบทบาทความสาํ คญั ของพอ่ ท่มี ตี อ่ ครอบครวั และสังคม ๓. เพ่อื ให้ลกู ไดแ้ สดงความกตญั ญู ๔. เพือ่ ให้ผเู้ ป็นพอ่ ไดส้ ํานึกในหนา้ ท่ีและความรบั ผดิ ชอบของตนเอง ๙๓ คู่มอื การฝึกอบรมหลักสตู รลกู เสือคณุ ธรรม

ในการจัดงานวันพ่อ ได้มีการยกยอ่ งพ่อตัวอย่างข้ึนทกุ ปี เพ่ือเป็นการส่งเสรมิ และยกย่องเทดิ ทนู สนบั สนุนพอ่ ผคู้ วรเป็นแบบอยา่ ง คณะกรรมการวันพอ่ ได้กาํ หนดคุณสมบัตพิ ่อตัวอยา่ งไวด้ งั นี้ ๑. มีอายตุ ัง้ แต่ ๔๐ ปขี ้นึ ไป ๒. ส่งเสรมิ การศกึ ษาแกบ่ ตุ รและธิดา ๓. นบั ถอื ศาสนาโดยเคร่งครัด ๔. งดเวน้ อบายมขุ ทกุ ชนดิ ๕. อทุ ิศตนเพื่อประโยชน์ต่อสาธารณชน ๖. มีภรรยาคนเดียว หน้าที่ของบดิ ามารดาพงึ มตี อ่ บุตร ๑. เลี้ยงดแู ละส่งั สอนห้ามมใิ ห้ทําชัว่ ๒. ใหต้ ั้งอยู่ในความดี ๓. ให้ศกึ ษาศลิ ปวทิ ยา ๔. หาคู่ครองที่สมควรให้ ๕. มอบทรพั ย์สมบตั ใิ ห้ดแู ลเมอื่ ถึงเวลาอันควร หนา้ ทข่ี องบตุ รพงึ มีตอ่ บิดามารดา ๑. เลีย้ งดบู ิดามารดาเปน็ การตอบแทน ๒. ชว่ ยเหลอื การงานในบ้านและอน่ื ๆ ท่ีทา่ นทาํ ๓. ดํารงวงศ์สกุล ประพฤตติ นเปน็ คนดี ๔. ประพฤติตนให้เป็นผคู้ วรรับทรัพยม์ รดก ๕. เมอ่ื บดิ ามารดาถึงแกก่ รรมแล้ว ทําบญุ อทุ ศิ ส่วนกศุ ลไปให้ ๖ ยามทา่ นชราหรอื เจบ็ ปว่ ยตอ้ งชว่ ยดแู ล ๗. เมอ่ื มีหน้าท่ีการงานเลย้ี งชีพไดใ้ ห้ตอบแทน ในโรงเรยี นหรอื สถาบนั การศกึ ษา ในวนั ท่ี ๕ ธันวาคม หลงั จากทาํ พิธเี ทดิ พระเกยี รติ อาเศยี รวาท ราชสดุดี ถวายพานพมุ่ ดอกไม้ และทําพิธีเสร็จแลว้ ก็มกั จะมีพธิ วี ันพ่อต่อไป โดยการเชญิ พอ่ ของนกั เรยี นมา ใหล้ ูก ๆ กราบด้วยดอกพทุ ธรกั ษา หรืออน่ื ๆ พิธตี ามความเหมาะสมของแตล่ ะสถานศกึ ษา กจิ กรรมต่าง ๆ ทค่ี วรปฏบิ ตั ใิ นวนั พอ่ แห่งชาติ ๑. ประดับธงชาติตามอาคารบ้านเรอื น ๒. จดั กจิ กรรมเกยี่ วกบั การส่งเสรมิ ยกยอ่ งผทู้ ีส่ มควรไดร้ ับการยกย่องว่าเป็นพ่อตวั อยา่ ง ๓. จัดกจิ กรรมสาธารณประโยชน์ เพื่ออุทศิ สว่ นกุศลและราํ ลกึ ถึงพระคุณของพอ่ ๙๔ คมู่ ือการฝกึ อบรมหลกั สตู รลูกเสอื คณุ ธรรม

วันอาสาฬหบูชา ( ข้นึ ๑๕ คาํ่ เดอื น ๘ ) ทกุ วนั ขึ้น ๑๕ ค่าํ เดือน ๘ ของทุกปี จะตรงกับวันสําคญั ทางพุทธศาสนาอกี หน่ึงวนั นนั่ คือ \"วนั อาสาฬหบชู า\" ทั้งน้ี คําว่า \"อาสาฬหบูชา\" สามารถอา่ นได้ ๒ แบบ คือ อา-สาน-หะ-บู-ชา หรอื อา- สาน-ละ-หะ-บู-ชา ซ่ึงจะประกอบดว้ ยคาํ ๒ คาํ คอื อาสาฬห ทแี่ ปลว่า เดอื น ๘ ทางจันทรคติ กบั คาํ วา่ บชู า ที่ แปลว่า การบชู า เมือ่ นํามารวมกนั จงึ แปลว่า การบชู าในเดือน ๘ หรอื การบชู าเพอ่ื ระลึกถึงเหตุการณส์ าํ คัญใน เดอื น ๘ วันอาสาฬหบูชา คอื วันที่พระพทุ ธเจา้ ได้ทรงประกาศพระพทุ ธศาสนาเปน็ ครง้ั แรก หลงั จากตรสั รไู้ ด้ ๒ เดอื น โดยแสดงปฐมเทศนาโปรดพระปัญจวัคคยี ์ทั้ง ๕ ได้แก่ พระโกณฑัญญะ พระวปั ปะ พระภัททยิ ะ พระ มหานาม และพระอัสสชิ ทปี่ ่าอสิ ปิ ตนมฤคทายวนั เมอื งพาราณสี แควน้ มคธ จนพระอัญญาโกณฑญั ญะ ได้ บรรลธุ รรมและขอบวชเป็นพระภิกษุรูปแรกในพระพุทธศาสนา จึงถือวา่ วนั น้มี พี ระรัตนตรยั ครบ องค์สาม บรบิ ูรณค์ รงั้ แรกในโลก คอื มที ง้ั พระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์ ซงึ่ เหตกุ ารณน์ ้ีเกิดขนึ้ ก่อนพทุ ธศกั ราช ๔๕ ปี ท้งั นี้ พระธรรมท่พี ระพทุ ธเจ้าทรงแสดงแกป่ ัญจวคั คียท์ ้งั ๕ เรียกวา่ \"ธมั มจักกัปปวตั ตนสูตร\" แปลว่า พระสตู รแห่งการหมนุ วงล้อธรรม ซ่ึงหลังจากปฐมเทศนาหรอื เทศนากณั ฑแ์ รกทีพ่ ระองคท์ รงแสดงจบลง พระ อญั ญาโกณฑัญญะกไ็ ดด้ วงตาเห็นธรรม สําเรจ็ เป็นพระโสดาบนั จึงขออุปสมบทเป็นพระภกิ ษใุ นพระพุทธ ศาสนา พระพทุ ธเจา้ ก็ไดป้ ระทานอุปสมบทใหด้ ้วยวธิ ีท่เี รียกวา่ \"เอหิภกิ ขุอปุ สมั ปทา\" พระโกณฑัญญะจงึ ได้เป็นพระ อรยิ สงฆ์องค์แรกในพระพุทธศาสนา ตอ่ มา พระวัปปะ พระภทั ทิยะ พระมหานามะ และพระอัสสชิ กไ็ ด้ดวงตา เห็นธรรม และไดอ้ ปุ สมบทตามลาํ ดบั สําหรบั ใจความสําคญั ของการปฐมเทศนา มีหลกั ธรรมสาํ คญั ๒ ประการ คือ ๑. มชั ฌิมาปฏปิ ทา หรอื ทางสายกลาง เป็นข้อปฏิบัตทิ ่เี ป็นกลางๆ ถูกต้องและเหมาะสมทีจ่ ะใหบ้ รรลุ ถงึ จดุ หมายได้ มิใชก่ ารดําเนนิ ชวี ติ ท่ีเอยี งสดุ สองอยา่ ง หรอื อยา่ งหนึ่งอย่างใด คอื ๙๕ คู่มอื การฝกึ อบรมหลักสูตรลกู เสอื คณุ ธรรม

การหมกมุ่นในความสุขทางกาย มวั เมาในรปู รส กลิน่ เสยี ง รวมความเรยี กว่าเปน็ การหลง เพลิดเพลินหมกมนุ่ ในกามสขุ หรอื กามสขุ ลั ลกิ านุโยค การสร้างความลาํ บากแก่ตน ดาํ เนินชีวิตอยา่ งเลือ่ นลอย เช่น บําเพ็ญตบะการทรมานตน คอย พ่งึ อํานาจสิ่งศกั ดิ์สทิ ธิ์ เป็นต้น ซึง่ การดําเนนิ ชวี ติ แบบทีก่ อ่ ความทกุ ขใ์ หต้ นเหนื่อยแรงกาย แรงสมอง แรงความคิด รวม เรยี กว่า อตั ตกิลมถานโุ ยค ดงั น้นั เพื่อละเว้นหา่ งจากการปฏบิ ัตทิ างสุดเหลา่ น้ี ตอ้ งใช้ทางสายกลาง ซ่ึงเปน็ การดําเนนิ ชวี ิต ดว้ ยปัญญา โดยมีหลักปฏิบัตเิ ปน็ องค์ประกอบ ๘ ประการ เรยี กว่า อริยอฏั ฐังคิกมัคค์ หรอื มรรคมีองค์ ๘ ได้แก่ ๑. สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบ คอื รู้เขา้ ใจถกู ต้อง เหน็ ตามทีเ่ ปน็ จรงิ ๒. สัมมาสังกัปปะ ดาํ รชิ อบ คอื คดิ สจุ ริตต้ังใจทาํ ส่ิงทดี่ งี าม ๓. สมั มาวาจา เจรจาชอบ คอื กล่าวคาํ ๔. สมั มากัมมนั ตะ กระทาํ ชอบ คอื ทําการท่ี ๕. สัมมาอาชวี ะ อาชพี ชอบ คือ ประกอบสัมมาชพี หรืออาชพี ท่ี ๖. สัมมาวายามะ พยายามชอบ คือ เพียรละชัว่ บําเพ็ญ ๗. สมั มาสติ ระลึกชอบ คอื ทําการดว้ ยจติ สํานกึ เสมอ ไมเ่ ผลอ ๘. สัมมาสมาธิ ต้ังจิตมน่ั ชอบ คอื คุมจติ ใหแ้ นว่ แนม่ น่ั คงไม่ ๒. อรยิ สจั ๔ แปลวา่ ความจรงิ อนั ประเสรฐิ ของอริยะ ซ่ึงคอื บคุ คลทห่ี า่ งไกลจากกิเลส ๑. ทุกข์ ไดแ้ ก่ ปัญหาทงั้ หลายที่เกดิ ข้นึ กบั มนษุ ย์ บคุ คลตอ้ งกําหนดรู้ให้เท่าทนั ตามความเปน็ จริง วา่ มนั คืออะไร ตอ้ งยอมรบั รู้ กลา้ สูห้ น้าปญั หา กล้าเผชิญความจรงิ ต้องเข้าใจในสภาวะโลกว่าทุกสง่ิ ไมเ่ ท่ียง มี การเปลยี่ นแปลงไปเปน็ อยา่ งอ่นื ไมย่ ดึ ๒. สมุทัย ได้แก่ เหตุเกิดแห่งทกุ ข์ หรอื สาเหตุของปญั หา ตัวการสาํ คญั ของทกุ ข์ คอื ตัณหาหรือ เส้นเชอื กแห่งความอยากซงึ่ สัมพนั ธ์กบั ปัจจยั ๓. นโิ รธ ไดแ้ ก่ ความดับทกุ ข์ เริม่ ด้วยชวี ติ ทอ่ี สิ ระ อยู่อย่างรู้เทา่ ทันโลกและชีวิต ดาํ เนินชีวิตดว้ ย การใช้ ๔. มรรค ได้แก่ กระบวนวธิ ีแหง่ การแก้ปญั หา อันไดแ้ ก่ มรรคมอี งค์ ๘ ประการดังกล่าว ส่วนพธิ ีกรรมโดยทั่วไปทนี่ ิยมกระทําในวนั นี้ คือ การทาํ บญุ ตกั บาตร รักษาศลี ฟังพระธรรมเทศนา และสวดมนต์ ในตอนคา่ํ ก็จะมกี ารเวยี นเทียนทเี่ ปน็ การสบื ทอดประเพณอี นั ดีงามของไทยเรา ดังน้ัน พทุ ธศาสนิกชนท้ังหลายควรเขา้ วดั เพ่ือน้อมระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย อีกท้งั ยังเปน็ การช่วยชะล้างจิตใจให้ปลอด โปรง่ ผ่องใส จะได้มรี า่ งกายและจติ ใจท่ีพร้อมสาํ หรบั การดําเนินชีวติ ในยุคท่คี า่ ครองชพี ถีบตัวสูงขน้ึ อยา่ งนี้... ๙๖ คูม่ ือการฝึกอบรมหลักสูตรลกู เสือคุณธรรม

เพลงประกอบการจัดกิจกรรม ๙๗ คู่มือการฝึกอบรมหลกั สูตรลูกเสือคุณธรรม

๑. เพลง ๓D Democracy Decency Drug นโยบายหลกั เน้นหลักการศกึ ษา รว่ มสอนสั่ง เน้ือหา ตามหลักวชิ า เพ่อื ภายภาคหนา้ ไดเ้ ยาวชนดี (ทํานอง) เนน้ ๓D โรงเรยี นดใี กลบ้ า้ น โรงเรียนในฝันของเราทุกคน เร่มิ D๑ มเี หตุมผี ล เทิดองคภ์ มู ิพลรกั ประชาธปิ ไตย D๒ ตามครรลองคุณธรรม เดก็ ไทยนอ้ มนาํ กตญั ญูเตม็ หวั ใจ ซ่อื สตั ย์ มัธยัสถ์ นยิ มไทย หลกั พอเพยี งสอนไว้ให้ประมาณตน (ทาํ นอง) D ๓ หา้ มยุ่งเสพแมเ้ พียงนดิ จงหา่ งไกลยาเสพตดิ เกิดเยาวชน ออกกําลงั เล่นกฬี าดกี วา่ ชวี ติ ไรค้ ่าเสียนํ้าตาจนเออ่ ล้น เรยี นฟรี ๑๕ ปมี ีคณุ ภาพ ผู้ปกครองยอมรบั ว่าไดผ้ ล ช่วยเหลอื บรรเทาความเดอื ดรอ้ น ความสุขถาวรของพนี่ อ้ งประชาชน เข้ามาจบั มือรวมพลงั สรา้ งสรรค์ ยกผลสมั ฤทธท์ิ ่วั กนั วิชาการสง่ ผล สมเจตนารมณ์ ๓D นําระบบ ICT มาพัฒนาคน ทําโรงเรียนดีใกลบ้ า้ นสุดยอดโรงเรียนในฝนั เปน็ ๓D กนั ทกุ คน (ทํานอง) ******************** เพลงเกี่ยวกับคณุ ธรรม สังคมไทยควรจัดการศึกษาให้สอดคล้องเหมาะสมกับวัฒนธรรมของสังคมไทย ส่งเสริมพัฒนา จิตใจความคิดของผู้เรียนให้สูงข้ึน เพื่อยกจิตวิญญาณของคนให้สูงข้ึนด้วย คุณธรรม สังคมไทยจึงจะเป็น สังคมคุณธรรมนําความรู้ การศึกษาจึงเป็นเงื่อนไขสําคัญในการพัฒนาสังคมคุณธรรม ฉะนั้นหากครูมี การบูรณาการคุณธรรมกับการเรียนการสอนทุกวิชา โดยเกิดการเรียนรู้ระหว่างครูกับผู้เรียนอย่างมีมีส่วนร่วม และสนกุ กบั การเรียนรู้จากการสร้างบรรยากาศที่ดี แรงบันดาลใจ ครูต้องเป็นแบบอย่างที่ดี มีเมตตาแก่ผู้เรียน อย่างแท้จริง ลดการชิงดีชิงเด่น เพื่อให้เกิดการช่วยเหลือกันระหว่างกลุ่ม และอีกหน่ึงแนวทางใน การจัดการ ศึกษาที่เหมาะสมน้ัน ก็คือ การนําบทเพลงไปสอดแทรกในแผนการจัดการเรียนรู้ในกระบวน การสอนด้วยบท เพลงเสริมคุณธรรมโดยเฉพาะ ๘ คุณธรรมพื้นฐาน บทเพลงเก่ียวกับคุณธรรมมีอยู่หลายบทเพลง แต่ขอ นําเสนอตัวอย่างบทเพลง ให้เป็นอีกหน่ึงทางเลือกสําหรับคุณครูที่จะใช้นําเข้าสู่บทเรียนเพื่อส่งเสริม ปลูกฝัง พัฒนาผเู้ รียนให้มีคณุ ธรรมตอ่ ไป ๙๘ คู่มอื การฝกึ อบรมหลกั สตู รลูกเสอื คณุ ธรรม

๒. เพลง คณุ ธรรมสีป่ ระการ (พรอ้ ม) *คุณธรรมสีป่ ระการองคพ์ ระภบู าลประทานประชา.. ให้ทกุ คนร่วมศึกษา และนอ้ มนาํ มาปฏิบัตติ น คณุ ธรรมอย่กู บั ใคร ชีวติ วไิ ลประเสรฐิ เลิศลน้ คุณธรรมอย่กู บั ปวงชน สง่ ผลใหช้ าตบิ า้ นเมอื งวฒั นา (ญ) ประการแรกคอื ความจรงิ ใจ สจั จะคงไวท้ ้ังใจวาจา กอรปกจิ กรรมนานา ให้มีคณุ ค่าให้ความเป็นธรรม (ช) ประการสองคือการขม่ ใจ มใิ หอ้ ่อนไหวผดิ พลาดถลาํ ความดีท่ีช่วยกันทาํ ล้วนนาํ สังคมชวี ิตสดใส (ญ) ประการสามทาํ ใจทาํ ตน อดออมอดทนและยอมอดกล้ัน ไมล่ ่วงความดดี งึ ดนั ยดึ ม่นั ในความสตั ยส์ ุจริตใจ ประการสลี่ ะวางความชวั่ มิเห็นแกต่ ัว หว่ งประโยชนช์ าติไว้ เพื่อชาตเิ จริญก้าวไกล ผองไทยรม่ เย็นล้วนเปน็ มงคล ซ้ํา * (๒ รอบ) และซ้ําทัง้ เพลง ๓. เพลง ความซื่อสัตย์ ชาวไทยควรถือปฏบิ ตั ิ ใชค้ วามซอื่ สัตย์ขจดั ความเสอื่ ม ความซือ่ สัตยน์ น้ั จะช่วยเชอ่ื ม ใหใ้ จเราเอื้อมถึงกนั มนั่ คง ความซ่อื สัตย์ในสจั จะวาจา จะช่วยนําพาชวี ติ ให้สงู สง่ ช่วยบา้ นเมืองรงุ่ เรอื งดาํ รง ช่วยบา้ นเมืองรงุ่ เรืองดํารง เศรษฐกจิ มนั่ คง เพราะความซอ่ื ตรงจรงิ ใจ ไม่โกงไมก่ นิ สินบน เป็นสุจริตชนแลว้ มีคนรกั ใคร่ ทาํ ความดใี หเ้ ปน็ นิสยั ไม่หลอกลวงใคร ใหเ้ ขาเสยี ศรทั ธา ความซอ่ื สัตย์ เป็นสมบตั ิของคนดี ในตวั เรามีไม่ต้องไปซอื้ หา ไมต่ อ้ งกยู้ มื ใครเขามา ไมต่ ้องกยู้ มื ใครเขามา ก็สามารถพัฒนา เมอื งไทยให้รงุ่ เรอื ง (ซา้ํ ทง้ั เพลง) ๙๙ คมู่ ือการฝกึ อบรมหลักสตู รลูกเสือคณุ ธรรม

๔. เพลง พอ่ แห่งชาติ ลูกเกดิ มาในชาตินี้ ลูกโชคดีมสี ุขใจ ได้เกิดมาเปน็ ลกู ไทย ลูกมีพ่อยิง่ ใหญ่ ก้องไกรเกริกนาม พ่อมใี จคอยเกื้อหนุน พอ่ มีบุญคมุ้ เขตคาม ลูกมีทุกขใ์ นป่าหนาม ไกลเพยี งไหน พ่อตามใหค้ วามเยน็ ใจ * พ่อ.....คอื องค์ภมู พิ ล ฯ ลูกเทดิ บนกระหม่อมเหนือใคร ขอถวายสมญาย่งิ ใหญ่ พ่อไทย...และพ่อแหง่ ชาติแห่งชน ** แผ่นดินไทยคงสขุ ศรี ตราบยงั มีพ่ออยูย่ ล โอพ้ ระคณุ พอ่ ท้วมท้น ขอให้พระชีพชนม์ ยงิ่ ยงทรงพระเจรญิ ซ้ํา *, ** ๕. เพลง หนง่ึ ในโลก หนึ่งในใจของไทยประชา หน่ึงใตฟ้ า้ ของเมืองสยาม หน่งึ ดว้ ยเดชะบารมีลือนาม ปกเขตคามทั่วไทยร่มเยน็ หนง่ึ ในรัฐนักพฒั นา หนงึ่ ราชาท่โี ลกไดเ้ หน็ หน่ึงด้วยคณุ ธรรมท่ีทรงบาํ เพ็ญ ดบั ลาํ เคญ็ ของปวงประชา องค์พระมหากษัตริยป์ ระวัติศาสตร์ ท่คี รองราชยน์ านเนาในหลา้ ทรงเปน็ เอกองค์ในพสธุ า เกรกิ ก้องฟา้ พระบารมีอนนั ต์ หน่ึงในแสนมแิ มน้ มิปาน หนงึ่ ในลา้ นมิเทียมเทยี บทนั หน่งึ ในโลกหน่ึงเดยี ว หนง่ึ เดยี วเท่านั้น มหาราชันองคภ์ ูมพิ ลฯ องคพ์ ระมหากษตั รยิ ป์ ระวตั ิศาสตร์ ทคี่ รองราชย์นานเนาในหล้า ทรงเปน็ เอกองคใ์ นพสธุ า เกริกกอ้ งฟ้าพระบารมีอนันต์ หนงึ่ ในแสนมแิ ม้นมปิ าน หนง่ึ ในล้านมิเทียมเทียบทนั หนึ่งในโลกหนึ่งเดียว หนึง่ เดียวเท่านนั้ มหาราชนั องค์ภูมพิ ลฯ ๑๐๐ คู่มือการฝกึ อบรมหลกั สตู รลกู เสือคณุ ธรรม

๖. เพลง พทุ ธรกั ษาบูชาพอ่ เหลอื งอรา่ มนามพทุ ธรกั ษา สมชื่นชบู ชู าสง่ิ สงู ค่าสูงสดุ น้อมคาํ นงึ ถึงองคพ์ ระสมั พทุ ธ บรสิ ุทธิ์พทุ ธศาสน์ปราศราคี สแี สนงาม นามเพราะเหมาะจริงหนอ สัญลกั ษณว์ นั พ่อ เหลอื งลออทกุ ท่ี เหมือนมีพอ่ มี พระปกปอ้ งปรานี พุทธรักษา มีความหมายเป็นมง่ิ มงคล เหลอื งวไิ ลชอ่ ไสวในวนั พอ่ ลูกวอนขอพทุ ธรักษ์พทิ ักษ์ผล พอ่ คอื พระแสนประเสรฐิ เลิศกมล ให้ชพี ชนม์ให้ตัวตนลูกเกดิ มา พทุ ธรกั ษ์ประสิทธ์ิ * ถึงวันพอ่ ลกู ขอพรทวั่ ทิศ ขอกราบพ่อมอบช่อพทุ ธรักษา ชีวิตพอ่ เจดิ จ้า พทุ ธรกั ษาบชู าพอ่ น้อมใจภาวนา ซ้ํา * ๗. เพลง รกั กันไว้เถดิ (ทาํ นอง คาํ รอ้ ง และขับรอ้ ง : นคร ถนอมทรัพย์) (สร้อย ) รักกนั ไวเ้ ถดิ เราเกิดร่วมแดนไทย จะเกิดภาคไหนๆ ก็ไทยดว้ ยกัน เชือ้ สายประเพณี ไมม่ ขี ดี กั้น เกดิ ใตธ้ งไทยนนั้ ปวงชนทกุ คนคอื ไทย ท้องถิ่นแหลมทอง เหมอื นทอ้ งของแม่ เกดิ ถิ่นเดยี วกนั แท้ เหมือนแมเ่ ดียวกนั ใช่ไหม ยามฉนั มองตาคุณ อบอนุ่ ดวงใจ เห็นสายเลือดไทยในสายตาบอกสายสมั พันธ์ ซาํ้ (สรอ้ ย).... ทะเลแสนงาม ในนา้ํ มีปลา พืชพันธ์ุด่นื ดาษตา ไรน่ ารวงทองไสว สินทรัพย์มีเกล่อื นกล่น บรรพชนใหไ้ ว้ เราลกู หลานไทย จงร่วมใจ รักษาให้มัน่ ซํ้า (สร้อย).... แหลมทองโสภา ด้วยบารมี ปกเกลา้ เหลา่ ไทยน้ี รม่ เยน็ เป็นศรีผ่องใส ใครคิดบังอาจหมนิ่ ถ่นิ ทององคไ์ ท้ เราพร้อมพลีใจ ป้องถ่นิ ไทยและองคร์ าชนั ซ้าํ (สร้อย).... ๘. เพลง อยา่ เกยี จคร้าน อย่าเกยี จคร้าน การทาํ งานนะพวกเรา งานหนกั งานเบา เหนื่อยแล้วเราพกั ผ่อนก็หาย ไม่ทาํ งานหลบหลกี งาน เฝ้าเกยี จครา้ นเอาแตส่ บาย แก่จนตายขอทาํ นายว่าไมเ่ จริญ แก่จนตายขอทาํ นายวา่ ไมเ่ จริญ ๑๐๑ คมู่ อื การฝกึ อบรมหลกั สตู รลกู เสอื คุณธรรม

๙. เพลง ตรงตอ่ เวลา ตรงต่อเวลา พวกเราต้องมาใหต้ รงเวลา ตรง ตรง ตรงเวลา พวกเราตอ้ งมาให้ตรงเวลา เราเกิดมาเปน็ คน ตอ้ งหมนั่ ฝกึ ตนให้ตรงเวลา วันคืนไมค่ อยทา่ วันเวลาไม่เคยคอยใคร วนั เวลาไมเ่ คยคอยใคร ๑๐. เพลง ความซอื่ สัตย์ ความซ่ือสัตยเ์ ป็นสมบัตขิ องผ้ดู ี หากวา่ ใครไม่มี ชาตนิ ้ีเอาดีไม่ได้ มีความรู้ทว่ มหวั เอาตัวไมร่ อดถมไป คดโกงแลว้ ใครจะรบั ไวเ้ ขา้ ร่วมการงาน ๑๑. เพลง ความเกรงใจ ความเกรงใจ เป็นสมบัตขิ องผู้ดี ตรองดูซี ทุกคนกม็ ีหวั ใจ เกิดเป็นคน ถา้ หากไม่เกรงใจใคร คนนัน้ ไซรไ้ ร้คณุ ธรรมประจาํ ใจ ๑๒. เพลง ช่วยกันทํางาน งานสง่ิ ใด งานส่ิงใด แมใ้ ครละเลยท้ิงปล่อย มวั แต่คอย เฝา้ แต่คอย หวังคอยแตเ่ กีย่ งโยนกลอง ไม่มีเสรจ็ ไมม่ เี สร็จรับรอง จาํ ไว้ทกุ คนต้องทาํ งาน เราต้องช่วยกัน ช่วยกนั ช่วยกัน ช่วยกนั ๑๓. เพลง ฉนั คือคนไทย ฉนั นีห้ รือคอื คนไทย ท้ังกายใจ สายเลอื ดไทย หัวใจคงม่ัน ถึงจะอยู่ถิน่ ใดไม่สําคญั บรรพบรุ ุษของฉนั คือคนไทย ขวานทองดินแดนแผน่ ดนิ เรา ภูมิลําเนาปูย่ ่าตายาย ระลกึ ถึงถ่ินกาํ เนิดไม่รู้คลาย ชีพมลายกไ็ ม่ลมื ความเป็นไทย ๑๐๒ คมู่ ือการฝกึ อบรมหลักสตู รลกู เสือคุณธรรม

๑๖. เพลง “แม่” (ขับร้องโดย เสก โลโซ) ปา่ นน้ี จะเป็นอย่างไร จากมาไกล แสนนาน คิดถงึ คิดถึงบา้ น จากมาต้งั นาน เมอ่ื ไรจะได้กลบั แม่จา๋ แม่ร้บู ้างไหม วา่ ดวงใจ ดวงนี้เป็นห่วง จากลกู นอ้ ย ทแี่ มห่ ว่ งหวง อยเู่ มอื งหลวง ศวิ ิไลซ์ ไกลบา้ นเรา * คดิ ถึงแม่ขน้ึ มา น้าํ ตามนั กไ็ หล อยากกลับไป ซบลงท่ีตรงตักแม่ ในออ้ มกอด รกั จริง ทเ่ี ท่ยี งแท้ ในอกแม่ สขุ เกินใคร อีกไมน่ าน ลูกจะกลบั ไป หอบดวงใจ เจ็บช้ําเกนิ ทน เกบ็ เรื่องราว วุ่นวายสบั สน ใจท่ีวกวน ของคนในเมอื งกรุง ( ซํา้ * ) ๑๗. เพลง “ใครหนอ” (ขับร้องโดย ดาวใจ ไพจติ ร, ศรไี ศล สุชาตวิ ฒุ )ิ ใครหนอ รักเราเท่าชวี ี ใครหนอปราณไี มม่ ีเสอ่ื มคลาย ใครหนอรักเราใช่เพยี งรูปกาย รักเขาไม่หน่าย มคิ ดิ ทําลาย ใครหนอ ใครหนอ เหน็ เราเศรา้ ทรวงใน ใครหนอ เอาใจปลอบเราเร่ือยมา ใครหนอ รักเราดังดวงแกว้ ตา รักเขากวา้ งกว่าพื้นพสธุ านภากาศ * จะเอาโลกมาทาํ ปากกา แลว้ เอานภามาแทนกระดาษ เอาน้าํ หมดมหาสมุทรแทนหมึกวาด ประกาศพระคณุ ไมพ่ อ ** ใครหนอ รกั เราเทา่ ชวี นั (เท่าชีวนั ) ใครหนอ ใครกนั ใหเ้ ราขค่ี อ (คณุ พอ่ คณุ แม)่ ใครหนอ ชกั ชวนดหู นังสีจ่ อ ร้แู ล้วละก็อย่ามวั ร้งั รอ ทดแทนบญุ คณุ ใครหนอ รักเราเทา่ ชวี ัน (เท่าชวี นั ) ใครหนอ ใครกนั ให้เราขี่คอ (คุณพ่อ คณุ แม)่ ใครหนอ ชักชวนดหู นงั ส่ีจอ รู้แล้วละก็ อยา่ มวั ร้งั รอ ทดแทนบุญคณุ (ซํา้ *, **) ๑๐๓ คู่มอื การฝกึ อบรมหลกั สูตรลูกเสือคุณธรรม

๑๘. เพลง อมิ่ อนุ่ (ขับรอ้ งโดย ศุ บุญเลย้ี ง) อุน่ อกออ้ มแขนอ้อมกอดแม่ตระกอง ไม่อยากจากไปไกล แม้เพียงครึง่ วนั อ่นุ ใดๆ โลกนีม้ มิ เี ทียบเทียม ให้ดวงใจเราสองเช่อื มโยงผกู พัน รกั เจ้าจงึ ปลกู รักลกู แม่ย่อมหว่ งใย อมิ่ อกอ่มิ ใจ อมิ่ รักลูกหลับนอน ใหก้ ายเราใกลก้ นั ให้ดวงตาใกลต้ า แมพ่ รา่ํ เตือนพราํ่ สอน สอนสงั่ ให้เจ้าเปน็ ความหวงั ของแมต่ ่อไป อิ่มใดๆ โลกนมี้ ิมเี ทียบเทยี ม ที่ลกู รา่ํ ร้องเพราะตอ้ งการไออุ่น นํ้านมจากอก อาหารของความอาทร ขอนา้ํ นมอนุ่ จากอกใหล้ กู ดม่ื กนิ ให้เจ้าเปน็ เด็กดี ใหเ้ จ้ามพี ลัง ใช่เพยี งอิ่มท้อง อ่นุ ไอรัก อนุ่ ละมนุ ๑๙. เพลง พระคณุ ทส่ี าม ครบู าอาจารย์ ท่ที ่านประทาน ความรู้มาให้ อบรมจิตใจ ใหร้ ู้ผดิ ชอบ ช่ัวดี ก่อนจะนอน สวดมนตอ์ ้อนวอนทกุ ที ขอกศุ ล บญุ บารมี สง่ เสรมิ ครนู ใี้ ห้รม่ เยน็ ครูมบี ญุ คณุ จะตอ้ งเทิดทูน เอาไวเ้ หนอื เกล้า ท่านสงั่ สอนเรา อบรมใหเ้ รา ไม่เว้น ทา่ นอทุ ิศ ไม่คดิ ถึงความยากเยน็ สอนใหร้ ู้ จดั เจน เฝ้าแนะ เฝา้ เนน้ มิได้อําพราง * พระคณุ ท่สี าม งดงามแจ่มใส แต่วา่ ใครหนอใคร เปรียบเปรย ครูไว้ วา่ เป็นเรือจ้าง ถา้ หากจะคดิ ยงิ่ คิดยงิ่ เห็น ว่าผิดทาง มีใครไหนบ้าง แนะนาํ แนวทาง อย่างครู บุญเคยทาํ มา ต้ังแตป่ างใด เรายกให้ทา่ น ตัง้ ใจกราบกราน เคารพคณุ ทา่ น กตญั ญู โรคและภัย อย่ามาแผว่ พาน คณุ ครู ขอกุศลผลบญุ คํ้าชู ใหค้ รูมสี ขุ ชัว่ นริ ันดร.................. ให้ครูมสี ขุ ชัว่ นริ ันดร ............................ ๒๐. เพลง “เดก็ เอ๋ยเดก็ ด”ี เดก็ เอย๋ เดก็ ดี ต้องมหี น้าทส่ี บิ อย่างด้วยกัน (ซาํ้ ) หนงึ่ นับถือศาสนา สอง รกั ษาคําให้มนั่ สาม เช่อื พ่อแมค่ รอู าจารย์ ส่ี วาจานน้ั ต้องสภุ าพออ่ นหวาน หา้ ยดึ มน่ั กตญั ญู หก เปน็ ผู้รู้รกั การงาน เจด็ ตอ้ งศึกษาให้ เชยี่ วชาญ ต้องมานะบากบน่ั ไมเ่ กียจ ไมค่ รา้ น แปด รจู้ กั ออมประหยัด เกา้ ต้องซอ่ื สตั ย์ตลอดการ นา้ํ ใจ นักกีฬากล้าหาญ ใหเ้ หมาะกบั การณส์ มัยชาตพิ ฒั นา สิบ ทําตนให้เป็นประโยชน์ รูบ้ าปบุญคณุ โทษ สมบัตชิ าติ ตอ้ งรักษา เดก็ สมัยชาติพฒั นา จะเป็นเดก็ ดีท่พี าชาตไิ ทยเจริญ ๑๐๔ คูม่ ือการฝกึ อบรมหลกั สูตรลกู เสอื คณุ ธรรม

๒๑. เพลง รรู้ กั สามัคคี (ประพันธ์เน้ือร้องโดย อ.นคร ถนอมทรัพย)์ (ญ) เพ่อื นรว่ มชาติเราเป็นญาตกิ ันด้วยหวั ใจ ดว้ ยวญิ ญาณความเปน็ ไทยเชื่อมใจเราอยู่ (ช) มาเถดิ มาชธู งไทยมิให้ใครหลู่ รว่ มเชิดชชู ่ือไทยให้โลกศรัทธา *(ญ) ราโชวาทให้คนไทยรว่ มใจรกั กนั ร่วมสรา้ งสรรค์จรรโลงไทยใหว้ ฒั นา (ช) เลกิ ขดั แย้งรวมพลังคดิ สร้างคณุ คา่ ร่วมหันมารรู้ ักรู้สามคั คี **(พร้อม) รรู้ กั สามัคคี รู้รกั สามัคคีให้คาํ ๆ น้เี รามาจํากนั ให้ขึ้นใจ รรู้ ักสามคั คี รรู้ กั สามัคคี ให้คํา ๆ น้อี งคภ์ มู ีทรงใหผ้ องไทย (พูด) เพอื่ นรว่ มชาติเราเปน็ ญาติกนั ด้วยหวั ใจ ด้วยวญิ ญาณความเป็นไทยเช่ือมใจเราอยู่ มาเถดิ มาชธู งไทยมิใหใ้ ครหลู่ ร่วมเชิดชูชื่อไทยให้โลกศรัทธา (พร้อม) * ** ** ** ๒๒. เพลง มองคนในแง่ดี (ทํานอง ราํ วง) มองคนในแง่ดี เราจะมีอารมณแ์ จม่ ใส มองคนในแง่รา้ ย พาจติ ใจเราใหข้ ุ่นมวั เป็นธรรมดาของคน มีสง่ิ ปะปนทั้งดแี ละช่ัว * มองความดีของเขาใหท้ ว่ั (ซํา้ ) สว่ นความช่วั เรามองข้ามไป ๒๓. เพลง ลูกเสือคณุ ธรรม ๘ ประการ ทาํ นอง หลงเสียงนาง คาํ รอ้ ง ศิรณิ ี บุญปถัมภ์ (สร้อย) หลา่ ลา ลา ลา ............................... คณุ ธรรม ประจาํ ลกู เสอื ไทย มนี ํ้าใจ เป็นมิตร จติ อาสา คุณธรรม ๘ ประการ นั้นนาํ มา ใหน้ ําพา สามคั คี มวี นิ ยั ซือ่ สัตย์ ประหยัด และ ขยนั สะอาดสรรค์ทง้ั กายและจิตใจ ความสุภาพน้อมนํามีนา้ํ ใจ เราทําได้ ลูกเสอื คุณธรรม ๒๔. เพลง ความขยนั ทาํ นอง หลงเสียงนาง คํารอ้ ง ศริ ิณี บุญปถมั ภ์ (สรอ้ ย) หลา่ ลา ลา ลา ............................... ความขยัน นนั้ คือความต้ังใจ ทาํ อะไรให้ทําอยา่ งจรงิ จงั อดทน รักงาน จติ ปลูกฝงั ปฏบิ ตั ดิ งั เปน็ นิสยั ให้ชินชา (สร้อย) หลา่ ลา ลา ลา ............................... พยายามจิตใจไม่ท้อถอย อกี ต้องคอยใช้สติและปญั ญา กล้าเผชญิ อุปสรรคและปญั หา น่แี หละหนา ลกู เสอื คณุ ธรรม ๑๐๕ คู่มือการฝกึ อบรมหลักสูตรลูกเสอื คณุ ธรรม

๒๕. เพลง ความประหยัด ทาํ นอง หลงเสียงนาง คํารอ้ ง ศริ ณิ ี บญุ ปถัมภ์ (สร้อย) หลา่ ลา ลา ลา ............................... ลูกเสือเก็บออมถนอมทรัพยส์ ิน การอยกู่ ินพอควรพอประมาณ ไม่ฟมุ่ เฟือย ฟุ้งเฟ้อ ทะเยอทะยาน คิดนานๆ กอ่ นซ้ือหรอื จะใช้ (สร้อย) หลา่ ลา ลา ลา ............................... ใช้ทรพั ยส์ นิ สง่ิ ของอย่างคุ้มค่า รจู้ ักฐานะการเงนิ ของตนไซร้ ดําเนนิ ชวี ิตเรียบงา่ ยจาํ ใสใ่ จ โปรดจําไว้ทุกคนช่วยประหยัด ๒๖. เพลง ความซ่อื สตั ย์ ทาํ นอง หลงเสียงนาง คําร้อง ศริ ิณี บญุ ปถัมภ์ (สรอ้ ย) หลา่ ลา ลา ลา ............................... ความซือ่ สัตยป์ ฏิบตั ิอย่างเทยี่ งตรง ลกู เสอื จงมีใจไม่ลาํ เอยี ง อคติ คดโกง จงหลกี เลยี่ ง ปฏิบัติเท่ียงธรรมตอ่ หน้าที่ (สรอ้ ย) หลา่ ลา ลา ลา ............................... อีกอย่าใชเ้ ลห่ ก์ ลแบบคนพาล จงทํางานใหเ้ ต็มถูกต้องดี ลูกเสอื ไทยรบั ผดิ ชอบในหนา้ ที่ เป็นคนดี ต้องมีความซอ่ื สัตย์ (สร้อย) หลา่ ลา ลา ลา ............................... ๒๗. เพลง ความสามคั คี ทํานอง หลงเสียงนาง คํารอ้ ง ศิริณี บญุ ปถมั ภ์ (สรอ้ ย) หลา่ ลา ลา ลา ............................... สามคั คมี ีความพร้อมเพรียงกนั รว่ มสร้างสรรค์ กลมเกลยี ว สามคั คี เปน็ ผูน้ าํ และผตู้ าม กันดว้ ยดี สามัคคีร่วมงานสานสัมพันธ์ (สร้อย) หลา่ ลา ลา ลา ............................... รวมพลังชว่ ยเหลอื อีกเกือ้ กูล ใหเ้ ปน็ ศนู ยร์ วมใจไม่เดยี ดฉนั ท์ ฟงั ความคิด ความเห็น กันและกัน ปรบั ตนนั้น อยู่กนั อยา่ งสันติ (สรอ้ ย) หลา่ ลา ลา ลา ............................... ๒๘. เพลง ความสภุ าพ ทาํ นอง หลงเสียงนาง คําร้อง ศริ ณิ ี บญุ ปถมั ภ์ (สรอ้ ย) หลา่ ลา ลา ลา ............................... ความสภุ าพ อ่อนนอ้ ม ไมถ่ ือตน มีเหตุผล รกู้ าลเทศะ ไม่กา้ วร้าว รนุ แรง วางอาํ นาจนะ ใช้วาทะ เรียบร้อย มารยาทดี (สรอ้ ย) หลา่ ลา ลา ลา ............................... กริ ิยา วาจา และทา่ ทาง อกี ท้งั วางตัวตนและท่วงที เอกลกั ษณ์ สอดคลอ้ งประเพณี วัฒนธรรมไทยนีล้ ้ําเลอคา่ (สรอ้ ย) หลา่ ลา ลา ลา ............................... ๑๐๖ คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือคณุ ธรรม

๒๙. เพลง ความสะอาด ทาํ นอง หลงเสียงนาง คําร้อง ศริ ิณี บญุ ปถัมภ์ (สร้อย) หลา่ ลา ลา ลา ............................... ความสะอาดต้องปราศความมัวหมอง ลกู เสอื ต้องสะอาดท้ังกายใจ อกี สภาพแวดลอ้ มทอี่ าศัย ใหเ้ ปน็ ไปถกู ต้องสขุ ลักษณะ (สร้อย) หลา่ ลา ลา ลา ............................... ฝกึ ฝนจิตใจให้เริงรน่ื จติ ช่มุ ชนื่ กิจนสิ ัยไม่เลยละ เจรญิ ตา เจรญิ ใจ ใครพบปะ เขาก็จะชนื่ ชมสมเสอื ไทย ๓๐. เพลง ความมีวนิ ยั ทํานอง หลงเสียงนาง คํารอ้ ง ศิริณี บุญปถมั ภ์ (สร้อย) หลา่ ลา ลา ลา ............................... มวี ินยั นนั้ เปน็ สงิ่ สาํ คญั ควรยดึ มั่น มีระเบียบ ปฏบิ ัติ สร้างวินยั ในตนเองอยา่ งเคร่งครัด ปฏบิ ตั ติ ามวนิ ัย ตอ่ สงั คม (สรอ้ ย) หลา่ ลา ลา ลา ............................... กฎ วินัย ยึดถอื ไว้ ใหจ้ งดี สิง่ เหล่านี้ จักเชิดชู สง่าสม ปฏบิ ตั ิเตม็ ใจ ตัง้ ใจ คนชน่ื ชม ให้เหมาะสมทเี่ ปน็ ลกู เสอื ไทย ๓๑. เพลง ความมนี า้ํ ใจ ทํานอง หลงเสียงนาง คาํ รอ้ ง ศริ ิณี บญุ ปถัมภ์ (สรอ้ ย) หลา่ ลา ลา ลา ............................... มีนาํ้ ใจ คอื ไม่เหน็ แกต่ ัว อย่าขุ่นมวั ใจคดิ เอาแตไ่ ด้ ลูกเสอื จงเหน็ อก และเห็นใจ ร้คู ุณค่าใน เพอื่ นมนษุ ยใ์ ห้จงดี (สร้อย) หลา่ ลา ลา ลา ............................... ชว่ ยเหลอื เกอื้ กูล ซงึ่ กันและกนั อีกแบ่งปัน เออ้ื อาทร มีไมตรี ลกู เสอื คณุ ธรรม เปน็ คนดี ทุกคนมีน้ําใจ ใสสะอาด (สร้อย) หลา่ ลา ลา ลา ............................... บทสรุป จะเห็นว่าบทเพลงที่มีเน้ือหาเก่ียวกับคุณธรรมน้ัน นอกจากจะสร้างความเพลิดเพลินแล้ว ยังเป็นการ ปลูกฝังคุณธรรมในเร่ืองนั้นให้กับผู้เรียนได้เป็นอย่างดี ครูจึงควรจัดการเรียนรู้คุณธรรมไปบูรณาการได้ทุกกลุ่ม สาระวิชา เมอื่ ผู้เรียนมลี กั ษณะอันพึงประสงค์แล้ว การจดั การเรียนรู้ในเรอื่ งสาระต่างๆ ก็จะตามมา จนพัฒนา ผู้เรียนจากการเป็น คนดี สู่ ความเป็นคนเก่ง สามารถนําองค์ความรู้พัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน และ ประเทศชาติ มคี วามม่ันคง สงบสขุ จนกลายเป็นสงั คมคุณธรรมนาํ ความรู้เกดิ ผลดีตอ่ ตัวเราทกุ ๆ คนนน้ั เอง ๑๐๗ ค่มู อื การฝกึ อบรมหลกั สตู รลกู เสือคุณธรรม

การละเลน่ ของไทย ๑๐๘ คูม่ ือการฝกึ อบรมหลกั สตู รลูกเสือคณุ ธรรม

การละเล่นของไทย การละเล่นพ้ืนบา้ นของไทยนั้นเปน็ การละเล่นทเ่ี กิดจากภูมิปญั ญาของชาวบา้ นในแต่ละท้องถนิ่ ท่ีสืบสานเป็นมรดกตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากมีการละเล่นที่แปลกใหม่และมีเทคโนโลยีที่ทันสมัย เข้ามาแทนที่ เกรงว่าการละเล่นพื้นบ้านของไทย จะสูญหายไป เราจึงต้องช่วยกันอนุรักษ์และส่งเสริมให้อยู่คู่ ชาติไทย การละเลน่ พ้ืนบ้านมีมากมาย ขาโถกเถก อุปกรณ์ ขาโถกเถก ๑. ไม้ไผ่ลําต้นตรงและแข็งแรง จํานวน ๒ ต้น (ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ๑ - ๒ นิ้ว สูงตามความ เหมาะสมของผู้เล่น ควรสงู ๑ เมตรขน้ึ ไป) ๒. ทอ่ นไม้จํานวน ๒ ท่อน (ขนาดเลก็ ) ๓. เชือก ๒ เส้น วิธีทํา นําไม้ไผ่มาเจาะรู ให้รูไม้ไผ่มีขนาดพอให้ท่อนไม้ขนาดเล็กที่เตรียมไว้ สอดเข้าไปในตําแหน่งข้อไม้ไผ่ ข้อที่ ๒ โดยนับจากพ้ืนขึ้นมา (ถ้าเด็กเล็กอาจใช้ข้อที่ ๑) แล้วนําท่อนไม้ขนาดเล็กมาทําเป็นลิ่มสอดเข้าไปในรู เสร็จแล้วนําเชือกมาผูกท่อนไม้กับลําต้นของไม้ไผ่ให้แน่น เพ่ือเวลาที่ใช้เท้าเหยียบ จะได้ไม่เกิดอันตรายและ ปอ้ งกันการหลดุ ของท่อนไม้ ถึงเส้นชัย ชนะแล้วครับ ผู้เล่น เลน่ ได้ทง้ั ชาย-หญิง ไมจ่ ํากดั จํานวน ๑๐๙ คมู่ อื การฝึกอบรมหลกั สตู รลูกเสือคุณธรรม

สถานท่ี ควรเป็นบริเวณกวา้ ง กติกา ผใู้ ดสามารถเดนิ เขา้ เสน้ ชัยกอ่ นเป็นผูช้ นะ วิธเี ลน่ ๑. กรรมการใหผ้ ู้แข่งขันเข้าประจําทเ่ี ตรียมพรอ้ มที่จะฟงั สญั ญาณ ๒. กรรมการเปา่ นกหวดี ให้สัญญาณการแขง่ ขนั ผแู้ ขง่ ขนั ขึ้นเหยยี บทพ่ี ักเทา้ แล้วรีบเดินไปข้างหน้า ทางเสน้ ชยั ๓. ผ้เู ขา้ แข่งขนั คนใดถ้าหากล้มหรอื หลน่ จากทเ่ี หยียบลงพืน้ สามารถเริม่ ต้นข้ึนเดินใหมไ่ ด้ ๑๑๐ คมู่ อื การฝกึ อบรมหลกั สตู รลกู เสอื คุณธรรม

ปดิ ตาตีหมอ้ อุปกรณ์ ปดิ ตาตหี มอ้ ๑. หม้อดนิ ๑ ใบหรอื เท่าจํานวนคน (หรืออาจใชอ้ ปุ กรณอ์ นื่ แทนได้ เชน่ ป๊ีบ ถงั กระป๋อง ฯ) ๒. ไม้ตี ๑ อนั ต่อคน ไชโย ชนะแล้ว ๓. ผ้าปดิ ตา ตามจาํ นวนคน (อยา่ ให้บางนกั ) ผู้เลน่ เลน่ ไดท้ งั้ ชาย-หญงิ ไมจ่ ํากัดจาํ นวน สถานที่ บริเวณกวา้ ง เช่นลานกฬี า ลานบา้ น ลานวดั กตกิ า ใครตหี มอ้ ถูกกอ่ นเปน็ ผชู้ นะ วิธเี ลน่ ๑. ให้กรรมการวางหมอ้ เรยี งกันตามจํานวนผู้เล่น เวน้ ระยะห่างกันพอสมควร   ๒. กาํ หนดความหา่ งของหมอ้ กับผูเ้ ลน่ พอสมควร ๓. ให้ผแู้ ข่งขนั ถือไมค้ นละ ๑ อัน ปดิ ตาไมใ่ ห้มองเห็น ๔. จบั ผู้เลน่ หมนุ ตัวสัก ๑ - ๒ รอบ แล้วจบั ตวั ผูเ้ ล่นใหห้ นั ตรงไปยังจุดที่วางหมอ้ ไว้ ๕. เมื่อใหส้ ญั ญาณนกหวีดเร่ิมแขง่ ขัน ผเู้ ขา้ แข่งขนั เริ่มเดนิ ไปจนคิดวา่ ถงึ แลว้ ก็เร่มิ ลงมือตี ถา้ ใคร ตีถูกก่อนเปน็ ผชู้ นะ ๑๑๑ คู่มอื การฝึกอบรมหลักสตู รลูกเสือคณุ ธรรม

ข่ีม้าก้านกลว้ ย อปุ กรณ์ ขมี่ ้ากา้ นกล้วย ก้านกล้วยขนาดพอเหมาะ ๑ ก้าน (ตัดใบออกเหลอื แต่ส่วนปลายไวท้ ําหางม้า) วิธีทํา ๑. ก้านกลว้ ย ตดั ใบออกเหลอื แต่สว่ นปลายไว้ทาํ หางมา้ ๒. แลว้ วัดสว่ นทางโคนไปหาปลายก้านประมาณ ๓-๕ น้ิว ต่อจากนั้นใช้มีดเฉือนเข้าไปประมาณ ๑ เซนตเิ มตร เพอ่ื ใชท้ ําเป็นหูม้า ๓. หักส่วนโคนของก้านกล้วยท่ีบากเอาไว้ท้ังสองด้านลง ก็จะกลายเป็นส่วนหัวม้า แล้วนําไม้เสียบ ลูกชิ้น หรือก้านทางมะพร้าว (แบบท่ีใช้ทําไม้กวาด) เสียบเข้าตรงไปหัวม้ากับลําตัวม้า เพ่ือป้องกันไม่ให้หัวม้า หลดุ น่ันเอง ๔. นาํ เชือกมาผกู ตรงลาํ ตัวหวั มา้ ใกลก้ บั บรเิ วณคอมา้ แลว้ นําไปผกู ติดกับหางมา้ ผู้เล่น ไดท้ ง้ั ชาย-หญงิ ไม่จาํ กดั จาํ นวน สถานทเี่ ล่น บรเิ วณทวั่ ไป ๑๑๒ คู่มือการฝกึ อบรมหลกั สูตรลูกเสือคณุ ธรรม

กตกิ า ผูเ้ ข้าแขง่ ขันขม่ี ้า ควบม้าไปจนถงึ เสน้ ชัยก่อน เป็นผูช้ นะ วธิ ีเล่น ๑. กรรมการใหผ้ ู้แขง่ ขนั ยนื ครอ่ มมา้ กา้ นกล้วยของแตล่ ะคน โดยใชม้ ือข้างหนึ่งถอื กา้ นมะพรา้ วหรอื ก้านมะยมหรอื อปุ กรณอ์ ่ืน ๆ ตามสภาพ ไวเ้ ป็นแส้ เพ่อื หวดมา้ ให้วง่ิ ๒. ผู้แขง่ ขนั เขา้ ประจาํ ที่พร้อมแล้ว กรรมการให้สญั ญาณนกหวดี เริ่มแขง่ ขนั ได้ ๓. ผู้ใดควบมา้ เข้าถงึ เส้นชยั ก่อนเป็นผชู้ นะ เราชนะเธอแน่ ๆ ไม่แน่นะ เสน้ ชยั อกี ไกล   ๑๑๓ คู่มอื การฝึกอบรมหลกั สูตรลูกเสือคุณธรรม

เดนิ กะลา อปุ กรณ์ เดินกะลา ๑. กะลามะพรา้ ว ๒ ใบ (เป็นกะลามะพร้าวทม่ี รี )ู ๒. เชือกยาว ๑.๕ - ๒ เมตร หรือใหเ้ หมาะสมกบั ผ้เู ล่นหรือผู้แข่งขัน วิธีทาํ นํากะลามะพรา้ ว ๒ ใบ มารอ้ ยดว้ ยเชือก โดยนําปลายเชือกสอดเข้าไปในรกู ะลาท้งั ๒ ใบ แล้วผูก ปลายเชือกใหเ้ ป็นปมทั้งสองข้าง ป้องกันไมใ่ หเ้ ชือกหลุดออกจากกะลา ผู้เล่น เลน่ ไดท้ ัง้ ชาย-หญงิ ไมจ่ ํากดั จํานวน สถานทเ่ี ลน่ บริเวณกว้าง กติกา ใครสามารถเดนิ ไปถงึ เส้นชยั ก่อน เปน็ ผชู้ นะ วธิ ีเล่น ๑. กรรมการใหผ้ ูแ้ ข่งขนั ยืนบนกะลา ใหใ้ ชห้ วั แมเ่ ทา้ กบั น้วิ ช้ีหนีบเชอื กทก่ี น้ กะลาไว้ทง้ั สองขา้ ง แลว้ เอามอื ดงึ เชอื กใหต้ งึ ไว้ ยนื ในแนวเดียวกัน ๒. เมอ่ื กรรมการใหส้ ญั ญาณเป่านกหวีด ผู้แขง่ ขันรบี เดนิ ไปยังจดุ เสน้ ชัย หากหากใครหกล้มหรือเท้า หลดุ จากกะลา ใหร้ ีบเรมิ่ ทาํ ใหมแ่ ละเดินตอ่ ไป ๓. ใครไปถงึ เสน้ ชัยกอ่ นเป็นผ้ชู นะ ๑๑๔ คมู่ ือการฝึกอบรมหลักสตู รลกู เสือคุณธรรม

ถงึ เส้นชยั กอ่ นใคร เลย แต่เหนอื่ ยจงั เลยมกี ําลังใจเพราะ เพ่ือน ๆ ช่วยเชยี ร์ ๑๑๕ คู่มือการฝกึ อบรมหลักสูตรลกู เสอื คณุ ธรรม

ปนื ก้านกล้วย อปุ กรณ์ ปืนกา้ นกล้วย ๑. กา้ นกล้วย ๑ ใบ ๒. มดี ๑ เลม่ วธิ ีทาํ ๑. ใช้เฉพาะสว่ นโคน เพราะใหญ่ดี แลว้ ตัดส่วนโคนของก้านกล้วย ประมาณ ๓๐ - ๔๐ เซน็ ตเิ มตร ๒. ให้ใชม้ ดี นนั้ เฉือนย้อนก้านกลว้ ยกลับเขา้ มาทลี ะอัน สกั ๔ - ๖ อนั เว้นระยะแตล่ ะอันอย่าให้ชิด กนั มากนัก ใชว้ ิธีบากเขา้ ไปในแนวเฉียง ๆ ๓. เสรจ็ แลว้ ใหด้ งึ เปลือกก้านกล้วยที่เฉือนแลว้ ใหต้ ้งั ขึ้นมา ผเู้ ล่น ไดท้ งั้ ชาย-หญงิ ไมจ่ ํากัดจาํ นวน สถานท่ี สามารถใชส้ ถานทก่ี วา้ งหรอื แคบกเ็ ลน่ ไดท้ ุกสถานท่ี กตกิ า ไม่มี เลน่ เพอื่ ความสนุกมากกวา่ แลว้ แต่ผู้เลน่ จะตกลงกัน เช่น แอบตน้ ไม้ ใครโผล่มาให้เห็นกถ็ กู ยิง แลว้ ทาํ เปน็ ตาย หรอื เล่นสนกุ ๆ วธิ เี ลน่ ๑. อาจจะเลน่ ลักษณะซ่อนแอบกันก็ได้ เปน็ ขา้ ศกึ ศัตรู หรอื ผรู้ ้ายกบั ตํารวจ ยิงต่อสู้กนั ๒. เมือ่ จะยิงใช้มือปาดก้านกล้วยท่ตี ั้งขึน้ เอาไว้ ทําอย่างเร็ว จะมีเสียงรัวดังข้นึ เหมอื นเสยี งปนื ปาดคร้ังเดยี ว หรือกคี่ รัง้ ก็ได้ และจะยงิ กคี่ รง้ั แลว้ แตผ่ เู้ ลน่ ปงั ..ปัง.. ๑๑๖ ค่มู อื การฝึกอบรมหลกั สตู รลูกเสอื คณุ ธรรม

มอญซ่อนผา้ อุปกรณ์ มอญซอ่ นผา้ ผา้ จาํ นวน ๑ ผนื หรอื ใชต้ ุ๊กตาผ้า หรอื อน่ื ๆ ตามความเหมาะสม ผู้เล่น ได้ทัง้ ชาย - หญิง ไมจ่ าํ กัดจาํ นวน สถานที่ ควรเป็นทร่ี ่ม เช่นใต้ตน้ ไม้ ลานบ้าน สนามหญา้ กติกา ใครท่ถี ูกตีต้องเปน็ มอญซอ่ นผา้ จะตอ้ งลุกข้นึ แลว้ เล่นแทนคนเดมิ ตอ่ ไป วิธเี ล่นและกตกิ า ๑. ใหท้ กุ คนจบั ไม้สนั้ ไมย้ าว ๒. เพ่อื เสยี่ งทายวา่ ใครจะเป็นมอญซอ่ นผา้ เปน็ คนแรก ๓. ทกุ คนนงั่ ลอ้ มเป็นวงกลม ยกเว้นคนท่ีเป็นมอญซอ่ นผา้ อยูน่ อกวง ๔. คนที่เป็นมอญซ่อนผ้าถือผ้าซ่อนไว้ข้างหลัง เดินรอบวงกลมไปเรื่อย ๆ เพ่ือให้เกิด ความสนุกสนาน ผเู้ ลน่ จะรอ้ งเพลงมอญซอ่ นผ้า พร้อมปรบมอื ไปดว้ ยตามจังหวะ เนือ้ ร้องดังน้ี มอญซ่อนผา้ ตกุ๊ ตาอยขู่ ้างหลงั ไว้โนน่ ไว้น่ีฉันจะตกี ้นเธอ ๕. ขณะท่ผี ู้เลน่ รอ้ งเพลง ตบมือกันเพลิดเพลิน ผ้เู ปน็ มอญซอ่ นผ้าจะหาโอกาสวางผ้าไว้ด้านหลงั ของ คนท่เี ผลอ แลว้ รบี วงิ่ หรือเดินรอบวงไปจนกลับมาถึงทวี่ างผา้ ถ้าคนนั้นยังไมร่ ู้วา่ ตนเองถูกวางผ้า มอญทซ่ี อ่ นผา้ จะหยบิ ผา้ ตคี นน้นั วงิ่ ไป ๖. ผู้เล่นคนนน้ั จะตอ้ งรีบลุกข้นึ วงิ่ หนีไปรอบ ๆ วงเพ่ือใหถ้ กู ไล่ตที ัน ถา้ ผู้เลน่ เป็นมอญว่งิ ไล่ตถี กู ตัว ผเู้ ล่นผู้เลน่ คนนนั้ ไดท้ ันกอ่ นครบรอบวง ผเู้ ล่นคนน้นั ก็จะตอ้ งมาเปน็ มอญซ่อนผา้ แทน ๑๑๗ คู่มือการฝึกอบรมหลกั สูตรลูกเสือคุณธรรม

๗. แต่ถ้าผู้เล่นคนนั้นรู้ตัวก่อนว่ามีผ้าอยู่ข้างหลังก็รีบจับผ้าลุกขึ้นวิ่งไล่ตีคนที่เป็นมอญไปรอบ ๆ วง จนกว่าจะครบรอบ ถา้ ในระหวา่ งน้ันว่ิงไลต่ ไี ดถ้ กู จะตอ้ งมาเป็นมอญซอ่ นผ้าดังเดิม หากผู้เล่นท่ีถูกไล่ตีสามารถ ว่ิงหนีจนครบมานั่งยังที่ว่างน้ันได้ ผู้ท่ีว่ิงไล่ตี ไม่ทันก็ต้องมาเป็นมอญซ่อนผ้าแทน สลับผลัดเปลี่ยนเล่นแบบน้ี ไปเรือ่ ย ๆ พกั สักครู่เลน่ วงิ่ และรอ้ งกันเหนื่อย แล้ว มากินกันก่อน ๑๑๘ คู่มือการฝกึ อบรมหลกั สูตรลูกเสอื คุณธรรม

วิ่งเป้ียว อปุ กรณ์ วงิ่ เป้ียว ๑. ผ้า จาํ นวน ๒ ผนื ๒. หลักหรอื ต้นไม้ จํานวน ๒ หลัก หรอื ใชค้ นเป็นหลัก หรืออปุ กรณอ์ ื่น ๆ ตามความเหมาะสม ผูเ้ ล่น ทัง้ ชาย-หญิง จาํ นวนควร ๔ คนข้นึ ไป สถานทเ่ี ลน่ ลานกวา้ ง เชน่ สนาม หรือบรเิ วณท่ีมีต้นไม้และมที ี่ว่าง เหมาะเลน่ วิ่งเปี้ยว ให้มีระยะหา่ งกนั ประมาณ ๕๐ - ๖๐ เมตร กติกา ฝา่ ยใดถูกไล่ตที ันเปน็ ฝา่ ยแพ้ วิธีเลน่ ๑. เมือ่ จัดเตรยี มสถานท่เี รยี บรอ้ ยแล้ว กรรมการใหแ้ บ่งผเู้ ลน่ เป็น ๒ ฝ่าย แต่ละฝา่ ยมีจาํ นวนคน เท่ากนั ๒. ใหผ้ ูเ้ ล่นประจาํ หลักของตนเอง ห้ามล้ําหนา้ หลกั ๓. เมอ่ื ได้ยินสัญญาณนกหวีดจากผูต้ ดั สิน คนแรกทถ่ี ือผา้ ใหเ้ ร่มิ วิ่งไปออ้ มหลกั ของอีกฝ่ายหนง่ึ ต่อจากนั้นก็ว่ิงวกกลบั มาทหี่ ลักของตนเองเพอื่ สง่ ผา้ ให้คนตอ่ ไปวิ่งตอ่ เช่นเดิม ๔. ผเู้ ลน่ ของแตล่ ะฝ่ายจะตอ้ งพยายามวิ่งไลก่ วดพรอ้ มท่ีจะใชผ้ า้ ไลต่ ฝี ่ายตรงขา้ มใหท้ นั หากฝ่าย ไหนไล่ตีได้ทนั กถ็ อื ว่าเป็นฝ่ายชนะ สนกุ จงั แตเ่ หน่ือยมาก จะไปไหนต่อครับ ๑๑๙ คู่มอื การฝึกอบรมหลกั สูตรลูกเสอื คณุ ธรรม

บทสรปุ การละเลน่ พื้นบ้านของไทยนั้น เกิดจากภูมปิ ัญญาของชาวบ้าน เราต้องช่วยกนั อนรุ ักษ์และ ส่งเสริม การละเล่นมีมากมาย เชน่ ขาโถกเถก ปดิ ตาตหี มอ้ ขี่มา้ ก้านกลว้ ย เดินกะลา ปืนก้านกลว้ ย มอญซอ่ นผา้ วง่ิ เปี้ยว เปน็ ต้น เราตอ้ งรู้จักวิธเี ลน่ และทําอุปกรณ์สําหรบั เล่น ๑๒๐ คู่มือการฝกึ อบรมหลกั สตู รลกู เสือคุณธรรม

การประดบั เครื่องหมาย ลกู เสอื คุณธรรม ๑๒๑ คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสอื คุณธรรม

การประดับเครอื่ งหมายลูกเสือคุณธรรม เครอ่ื งหมายประกอบเครือ่ งแบบลูกเสอื คณุ ธรรม มีลักษณะเป็นรูปส่เี หลย่ี มขนาดกว้าง ๑.๕ นว้ิ ยาว ๒ น้ิว ตรงกลางเป็นเทียนส่องสว่าง มือพระพทุ ธเจ้าและหนา้ เสอื ด้านลา่ งมคี าํ ว่า “ลูกเสือคณุ ธรรม” ประดับท่ีอกเสื้อดา้ นขวาเหนอื กระเปา๋ ๑๒๒ ค่มู ือการฝกึ อบรมหลกั สตู รลกู เสอื คณุ ธรรม

คณะผ้จู ัดทาํ รองปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร (นายนวิ ตั ร นาคะเวช) ทปี่ รึกษา ดร.คงศกั ดิ์ เจริญรกั ษ์ ทีป่ รกึ ษา ผู้อาํ นวยการสํานกั การลูกเสอื ยวุ กาชาด และกิจการนกั เรยี น ทป่ี รึกษา ผูอ้ าํ นวยการสาํ นักเลขาธกิ าร สํานักงานลูกเสอื แห่งชาติ ทปี่ รึกษา คณะทาํ งาน ๑. นางวรรณภา พรหมถาวร ผเู้ ชยี่ วชาญสํานกั การลกู เสอื ฯ ประธาน ๒. นายสมหมาย วรี ะชิงชัย ๒. นายนพพล เหลาโชติ หัวหนา้ กลมุ่ ฯ ลกู เสือ รองประธาน ๓. นางศริ ณิ ี บุญปถมั ภ ๔. นางสาวจิราภรณ วงศถริ วัฒน ผอ.โรงเรียนมธั ยมวัดมกุฎกษตั รยิ  รองประธาน ๕. นางจารวุ รรณ พวงวเิ ศษสุนทร ๖. นายสมบตั ิ สรวงอนรุ กั ษ ผตู รวจการลูกเสอื คณะทาํ งาน ๗. นางสาวสวุ นั นา ทับแถม ๘. นางสาวเปลงศรี ปน พล ขา ราชการบาํ นาญ คณะทํางาน ๙. นางชลธร รวมธรรม ๑๐. นายโอฬาร เกง รกั ษส ตั ว ผตู รวจการลูกเสือ คณะทาํ งาน ๑๑. นางรงุ ฟา แดนนาริน ๑๒. นายคมสรรค สุนนทราช ผอ. โรงเรยี นวดั บางกระเจ็ด คณะทํางาน ๑๓. นางสาวก่งิ โพยม บษุ บงค ๑๔. นางสาวศศธิ ร สุวรรณรงค โรงเรียนจนั ทรห ุน บาํ เพญ็ คณะทํางาน ๑๕. นางสาวชนิดาภา กัญจนวัตตะ สาํ นักการลูกเสือ ฯ คณะทาํ งาน ๑๖. นายเกรียงศักดิ์ สิทธเิ สน ๑๗. นายธาํ รงเกียรติ แจมดวง โรงเรียนธญั รตั น คณะทํางาน ๑๘. นายอํานาจ สายฉลาด สํานักการลูกเสือ ฯ คณะทํางาน ๑๙. นางกลั ยาณี จัยสนิ โรงเรียนเชียงรากนอ ย คณะทํางาน ๒๐. นางสกาวรัตน์ พยัคฆนั ตร์ ลกู เสืออาสาสมัคร คณะทํางาน ๒๑. นางสาวชลธกิ าญจน์ ภมู ีศรี สํานักการลูกเสือ ฯ คณะทํางาน โรงเรียนวดั นอ ยนพคณุ คณะทํางาน โรงเรยี นวัดสังเวช คณะทํางาน สํานกั กิจการพเิ ศษ คณะทํางาน สาํ นักการลูกเสือฯ คณะทาํ งานและเลขานกุ ารโครงการ สาํ นกั การลูกเสอื คณะทาํ งานและผชู ว ยเลขานกุ ารโครงการ สํานักการลกู เสือฯ คณะทาํ งานและผชู ว ยเลขานกุ ารโครงการ สํานักการลูกเสอื ฯ คณะทาํ งานและผชู ว ยเลขานกุ ารโครงการ สาํ นกั การลกู เสอื ฯ คณะทาํ งานและผูชว ยเลขานกุ ารโครงการ ๑๒๓ คูม่ อื การฝึกอบรมหลกั สตู รลกู เสือคุณธรรม

๑๒๔ คมู่ อื การฝกึ อบรมหลกั สูตรลกู เสือคณุ ธรรม

สมุดทําความดีลูกเสือคณุ ธรรม คําชีแ้ จง 1. ผกู ํากับแจก “สมุดทําความดี” ของลูกเสอื คุณธรรมหลงั การฝก อบรม ใหล กู เสือไป ปฏิบตั ิ กิจกรรมตอครอบครัว โรงเรียน ชุมชน 2. ตอ งมีผูรบั รองหลงั การปฏบิ ตั แิ ตล ะกิจกรรม 3. ผกู ํากับลูกเสือกําหนดระยะเวลาในการสง คนื สมุด เพ่อื นํามาประเมนิ กิจกรรม 4. เมอื่ ปฏิบตั คิ รบจึงจะสามารถขอรับเคร่ืองหมายลูกเสือคุณธรรม



**************************************************************** กิจกรรมพัฒนาผูเรยี น โรงเรยี น ………………………………………………………… สงั กดั สํานักคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน เขตพ้ืนท่ี ................................... ลกู เสอื คณุ ธรรม  “ ลูกเสือมคี วามจงรกั ภกั ดีตอ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย และซ่ือตรงผมู พี ระคณุ “ ช่ือ .............................................. นามสกุล ........................................... ชนั้ ................................................ ระหวา งวันที่ ................... เดอื น ............................ พ.ศ. .........................

4. บาํ เพญ็ ประโยชน บา น โรงเรยี น ชมุ ชน (ทาํ ความสะอาด) ลาํ ดบั ที่ รายการปฏบิ ตั ิ ว/ด/ป ผูรับรอง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 ขอ เสนอแนะ ................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ......................................................................................................................

ใหล กู เสอื ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตอไปนี้อยา งนอ ย 2 กจิ กรรม ภายในเวลา ........ เดือน 1. จดั กิจกรรมวนั สําคัญทางศาสนา ลาํ ดับท่ี รายการปฏบิ ตั ิ ว/ด/ป ผรู บั รอง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 ขอ เสนอแนะ ................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ......................................................................................................................

2. กิจกรรมวนั พอ วนั แม วันครอบครัว วนั เกดิ ฯลฯ ลําดบั ท่ี รายการปฏบิ ตั ิ ว/ด/ป ผูรบั รอง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 ขอเสนอแนะ ................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ......................................................................................................................

3. การจดั กิจกรรมวันสาํ คญั ของชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย ลําดบั ที่ รายการปฏบิ ตั ิ ว/ด/ป ผรู บั รอง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 ขอ เสนอแนะ ................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... ...................................................................................................................... .......................................................................................................................













คณะผจู้ ัดทาํ รองปลดั กระทรวงศึกษาธิการ (นายนวิ ตั ร นาคะเวช) ทป่ี รกึ ษา ดร.คงศกั ด์ิ เจริญรกั ษ์ ทปี่ รกึ ษา ผอู้ าํ นวยการสาํ นักการลกู เสอื ยวุ กาชาด และกิจการนกั เรียน ทป่ี รึกษา ผู้อาํ นวยการสํานักเลขาธิการ สํานกั งานลูกเสือแหง่ ชาติ ทปี่ รึกษา คณะทํางาน ๑. นางวรรณภา พรหมถาวร ผู้เชย่ี วชาญสํานกั การลกู เสอื ฯ ประธาน ๒. นายสมหมาย วรี ะชงิ ชัย ๒. นายนพพล เหลาโชติ หัวหน้ากลุ่มฯ ลูกเสือ รองประธาน ๓. นางศิรณิ ี บญุ ปถัมภ ๔. นางสาวจริ าภรณ วงศถริ วฒั น ผอ.โรงเรยี นมธั ยมวัดมกฎุ กษตั รยิ  รองประธาน ๕. นางจารุวรรณ พวงวเิ ศษสนุ ทร ๖. นายสมบตั ิ สรวงอนุรกั ษ ผูตรวจการลกู เสอื คณะทํางาน ๗. นางสาวสวุ นั นา ทบั แถม ๘. นางสาวเปลง ศรี ปน พล ขาราชการบาํ นาญ คณะทํางาน ๙. นางชลธร รวมธรรม ๑๐. นายโอฬาร เกง รักษส ตั ว ผูตรวจการลกู เสือ คณะทํางาน ๑๑. นางรุงฟา แดนนารนิ ๑๒. นายคมสรรค สุนนทราช ผอ. โรงเรยี นวดั บางกระเจด็ คณะทํางาน ๑๓. นางสาวก่ิงโพยม บษุ บงค ๑๔. นางสาวศศิธร สุวรรณรงค โรงเรียนจนั ทรห ุน บาํ เพญ็ คณะทํางาน ๑๕. นางสาวชนิดาภา กญั จนวตั ตะ สาํ นักการลูกเสือ ฯ คณะทาํ งาน ๑๖. นายเกรยี งศักด์ิ สทิ ธเิ สน ๑๗. นายธาํ รงเกียรติ แจม ดวง โรงเรียนธญั รัตน คณะทาํ งาน ๑๘. นายอาํ นาจ สายฉลาด สาํ นกั การลูกเสอื ฯ คณะทาํ งาน ๑๙. นางกลั ยาณี จัยสนิ โรงเรียนเชียงรากนอย คณะทาํ งาน ๒๐. นางสกาวรัตน์ พยคั ฆันตร์ ลกู เสืออาสาสมัคร คณะทํางาน ๒๑. นางสาวชลธิกาญจน์ ภมู ีศรี สํานกั การลูกเสือ ฯ คณะทํางาน โรงเรียนวัดนอ ยนพคณุ คณะทาํ งาน โรงเรียนวัดสังเวช คณะทํางาน สํานกั กจิ การพิเศษ คณะทํางาน สํานักการลกู เสอื ฯ คณะทาํ งานและเลขานกุ ารโครงการ สาํ นกั การลูกเสือ คณะทาํ งานและผูช ว ยเลขานกุ ารโครงการ สาํ นกั การลูกเสือฯ คณะทาํ งานและผูช ว ยเลขานกุ ารโครงการ สํานกั การลูกเสือฯ คณะทาํ งานและผชู ว ยเลขานกุ ารโครงการ สํานักการลูกเสอื ฯ คณะทาํ งานและผชู ว ยเลขานกุ ารโครงการ  


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook