Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือคุณธรรม

คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือคุณธรรม

Published by ปริญญา, 2021-11-15 10:37:03

Description: คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือคุณธรรม

Keywords: ลูกเสือ,วิชาพิเศษ,ลูกเสือคุณธรรม

Search

Read the Text Version

ชอ่ื วิชา ลกู เสอื กับเอกลกั ษณ์ของชาติและความเป็นไทย บทเรียนท่ี ๕ เวลา ๑๘๐ นาที ขอบขา่ ยรายวชิ า ๑. ความหมายและความสําคญั ของเอกลกั ษณค์ วามเปน็ ไทย ซงึ่ มงุ่ เนน้ สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ และ การปกครองระบอบประชาธิปไตย ๒. เอกลักษณค์ วามเป็นไทยทีค่ วรรู้ - ธงชาติไทย - การใช้ผ้าไทย - สญั ลกั ษณ์ประจาํ ชาตไิ ทย - การร้องเพลง และดนตรไี ทย - ประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย - การรอ้ งเพลงชาติ และ - การอยรู่ ว่ มกนั ของชาติ และศาสนา เพลงสรรเสรญิ พระบารมี - การจดั พิธีกรรมทางศาสนา - การรอ้ งเพลงพระราชนพิ นธ์ - การใช้พุทธศกั ราช - มารยาทไทย - วนั สําคัญของชาติไทย - อาหารไทย - การแสดงความจงรักภักดี - สถานท่สี าํ คญั ในท้องถนิ่ - การใชภ้ าษาไทย และเลขไทย จุดหมาย เพ่ือให้ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมมจี ิตสาํ นึก ภาคภมู ิใจ รกั ชาติ รักศกั ดิ์ศรคี วามเป็นไทย วตั ถุประสงค์ เม่อื จบบทเรยี นน้ีแล้ว ผูเ้ ขา้ รับการฝึกอบรมสามารถ ๑. บอกความหมายและความสาํ คัญของเอกลักษณ์ความเป็นไทยได้ ๒. ระบุแนวทางสร้างจิตสํานึกในความเปน็ ไทยได้ ๓. นําความรเู้ กี่ยวกบั เอกลกั ษณค์ วามเป็นไทยไปใชใ้ นชีวติ ประจําวันได้ วิธีสอน / กิจกรรม ๑. นาํ เข้าส่บู ทเรียนโดยใช้เพลงที่เก่ียวขอ้ งกับเอกลักษณ์ความเปน็ ไทย เชน่ เพลงฉนั คือคนไทย หรือใช้เกม ส่ือ / วดิ ที ัศน์ นทิ าน ฯลฯ ๒. ศกึ ษาและปฏิบตั ิกิจกรรมเอกลกั ษณ์ความเป็นไทย โดยศึกษาใบความรู้ เร่ือง เอกลักษณ์ของชาติ และความเป็นไทย ตามฐานกิจกรรม ๘ ฐาน ๆ ละ ๑๐ นาที ซึ่งสามารถนําไปบูรณาการกับ ๘ กลุ่มสาระ ฯ ได้ ดังน้ี รกั ชาติ รูค้ ณุ เทิดทนู องคก์ ษตั รา น้อมบชู าศาสนา รูค้ ุณค่าภาษาไทย ห่วงใยเอกลักษณ์ รู้ประจกั ษว์ นั สาํ คญั สานสรรศลิ ปะไทย มวี นิ ยั ปฏบิ ตั ิตน ฐานท่ี ๑ รักชาติ รู้คุณ เนื้อหาประกอบด้วย การนําเสนอประวัติศาสตร์ ความเป็นมาของชาติ เพอื่ เขา้ ถึงความภาคภูมิใจในสถาบนั ชาติ และรคู้ ุณชาติ ๔๐ คู่มอื การฝึกอบรมหลักสูตรลกู เสือคณุ ธรรม

ฐานที่ ๒ เทิดทูนองค์กษัตรา เน้ือหาประกอบด้วยสถาบันพระมหากษัตริย์ เพลงสรรเสริญ พระบารมี เพลงพระราชนิพนธ์ ฐานท่ี ๓ น้อมบชู าศาสนา เนอื้ หาประกอบด้วยสถาบนั ศาสนา การจดั โต๊ะหมบู่ ูชา ฐานที่ ๔ รคู้ ณุ คา่ ภาษาไทย เนอื้ หาประกอบดว้ ย การใช้ภาษาไทย เลขไทย และพทุ ธศกั ราช ฐานที่ ๕ ห่วงใยเอกลักษณ์ เน้ือหา ประกอบด้วย สัญลักษณ์ประจําชาติไทย การใช้ผ้าไทยและ การแต่งกาย มารยาทไทย (การกราบ การไหว้) ฐานท่ี ๖ รู้ประจักษ์วันสําคัญ เนื้อหาประกอบด้วยวันสําคัญของชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการแสดงความจงรกั ภักดี ฐานที่ ๗ สานสรรศลิ ปะไทย ประกอบดว้ ย กฬี า การละเลน่ และศลิ ปกรรมของไทยแขนงต่าง ๆ เชน่ ดนตรไี ทย การร้องเพลงไทย ฐานที่ ๘ มีวนิ ยั ปฏบิ ตั ิตน เนื้อหาประกอบดว้ ย การมีวนิ ัยต่อตนเอง ครอบครวั และสงั คม ๓. อภิปราย และสรุปตามใบงาน เรือ่ ง เอกลกั ษณ์ของชาตแิ ละความเปน็ ไทย ๔. นําเสนอผลการอภปิ รายและสรุปความรทู้ ไี่ ดร้ บั สื่อการสอน ๑. เพลงฉนั คือคนไทย เพลงหนา้ ท่เี ดก็ ๒. ภาพ แผนภมู ิ เกม นทิ าน สือ่ วดิ ที ศั น์ ๓. ใบความรู้ เรอ่ื ง เอกลักษณ์ของชาตแิ ละความเป็นไทย ๔. ใบงาน เรอ่ื ง เอกลกั ษณ์ของชาตแิ ละความเป็นไทย การประเมินผล ๑. วิธกี ารวดั ผล : ประเมินการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมกล่มุ ๒. เคร่ืองมอื วัดผล : แบบประเมนิ การปฏิบตั ิกจิ กรรมกลมุ่ ๓. เกณฑ์ประเมนิ ผล : มีผลการประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ท่กี ําหนด เอกสารอา้ งองิ / แหล่งข้อมลู ๑. กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมองค์กรเครือข่ายเอกลักษณ์ของชาติภายในและต่างประเทศ สํานักงาน เสริมสรา้ งเอกลกั ษณ์ของชาติ สํานกั งานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี www.identity.opm.go.th ๒. เอกสารแผนแม่บทการเสรมิ สร้างเอกลักษณ์ของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๔ สถาบนั วจิ ัยภาษา และ วัฒนธรรมเพ่อื พัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล ๓. เอกสาร (อัดสําเนา) เรื่อง เอกลักษณ์ของชาติ “การมีจิตสํานึกความเป็นไทย” สํานักงาน เสริมสรา้ งเอกลกั ษณข์ องชาติ สาํ นักงานปลดั สํานกั นายกรฐั มนตรี ๔. Wendell Blanchard (๑๙๕๘ อา้ งอิงใน เอกวิทย์ ณ ถลาง, ๒๕๒๓ : ๓๒) เน้อื หาวิชา ๑. เอกลักษณ์ของชาติและความเป็นไทย ๔๑ คู่มือการฝกึ อบรมหลักสตู รลูกเสือคณุ ธรรม

ใบความรทู้ ี่ ๕ เรอ่ื ง เอกลักษณข์ องชาติและความเป็นไทย ****** เอกลกั ษณข์ องชาติและความเปน็ ไทย คอื สิ่งทบี่ ง่ บอกความเป็นชาติไทยไดอ้ ยา่ งชัดเจน เช่น ๑. ธงชาตไิ ทย เม่ือกล่าวถึงประเทศไทย สัญลักษณ์ที่นึกถึง คือ ธงชาติไทย ธงชาติ ถือเป็นสัญลักษณ์ ท่ีทั่วโลกใช้แสดงถึงความเป็นชาติที่มีอารยธรรมรุ่งเรือง มีเสถียรภาพ อธิปไตย ความเป็นหมู่เหล่า ความเป็น น้ําหน่ึงใจเดียวกัน การประพฤติปฏิบัติต่อธงชาติ จึงเสมือนการประพฤติปฏิบัติต่อคนในชาติ ซึ่งเป็นเจ้าของ ธงชาติน้ัน ๆ และในด้านความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างประเทศ จึงต้องมีการระมัดระวังเป็นพิเศษเก่ียวกับ การปฏบิ ตั ิต่อธงชาตขิ องประเทศอน่ื ๆ ๒. สัญลกั ษณ์ของชาติไทย ตามประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่องการกําหนดสัญลักษณ์ประจําชาติไทย ลงวันท่ี ๑๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ มี ๓ สิ่ง คอื ดอกราชพฤกษ์หรือชยั พฤกษ์ แสดงถงึ ความสวยงาม ร่มเย็นเป็นดอกไมป้ ระจาํ ชาติ ชา้ งไทย เปน็ สัตวป์ ระจําชาติ ศาลาไทย เป็นสถาปัตยกรรมประจาํ ชาติ ๓. สถาบนั พระมหากษตั ริย์ Wendell Blanchard (๑๙๕๘ อ้างอิงใน เอกวิทย์ ณ ถลาง, ๒๕๒๓ : ๓๒) กล่าวไว้ว่า สําหรับคนไทยแล้วโลกทัศน์ของเขาจะขาดความสมบูรณ์ ถ้าปราศจากพระมหากษัตริย์ไทยอยู่ในใจกลางของ มโนภาพนั้น เพราะพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวมความสมานสามัคคีในชาติ เป็นสัญลักษณ์ท่ีหล่อหลอม ประชาราษฎร์ทุกหย่อมหญ้าเข้ามารวมตัวเป็นประชาชาติเดียวกัน ร่วมค่านิยมเดียวกันและเดินไปสู่จุดหมาย ปลายทางเดียวกนั ๔. สถาบันการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข ประชาธิปไตยอันมีรากฐานการสนับสนุนของประชาชนอย่างแท้จริง เป็นสิ่งสําคัญที่จะทัดทาน สภาวะไม่สมดุลของสังคมไทย อันเกิดจากความขัดแย้ง และการต่อสู้แย่งชิงอํานาจได้ ประชาชนชาวไทยมี ความรักในอิสรภาพ เสรีภาพ และเคารพเทิดทูนจงรักภักดีต่อองค์พระมหากษัตริย์ ซึ่งมีส่วนสําคัญและเป็น พนื้ ฐานของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ๔๒ คู่มอื การฝกึ อบรมหลกั สตู รลูกเสือคุณธรรม

๕. ภาษาไทย ภาษาไทยเป็นภาษาพูดท่ีใช้สื่อสารกันได้อย่างเข้าใจ ถึงแม้จะมีสําเนียงท่ีแตกต่างกันไปบ้างใน แต่ละพืน้ ท่ี รวมถงึ การใชศ้ ัพท์กับบคุ คลในระดบั ต่าง ๆ และอักษรไทยท่ใี ช้ในภาษาเขียนโดยทัว่ ไป ๖. การแต่งกาย ปัจจุบันการแต่งกายของชาวไทยจะเป็นสากลมากข้ึน แต่ก็ยังคงเคร่ืองแต่งกายของไทยไว้ใน โอกาสสําคัญต่าง ๆ เช่น ในงานพระราชพิธี งานที่เป็นพิธีการ หรือในโอกาสพบปะสังสรรค์ระหว่างผู้นํา พิธีแต่งงาน เทศกาลและงานประเพณีที่จัดขึ้น หรือในกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีต้องการ แสดงให้เห็นถึงความเป็นไทย อยา่ งชดั เจน ในบางหน่วยงานของราชการ มีการรณรงคใ์ หแ้ ต่งกายในรูปแบบไทย ๆ ด้วย ๗. การแสดงความเคารพ การแสดงความเคารพด้วยการไหว้และกราบ ซึ่งแบ่งแยกออกได้อย่างชัดเจน เช่น กราบพระพุทธรูป กราบพระสงฆ์ กราบไหว้บุคคลในฐานะ หรือวัยต่าง ๆ ตลอดจนการวางตนด้วยความสุภาพ อ่อนน้อมถ่อมตน การแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ ความมีน้ําใจเอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผ่ช่วยเหลือ ซ่งึ กันและกนั รวมไปถงึ ความเกรงใจ ๘. สถาปัตยกรรม ประเทศไทยมีสถาปัตยกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของชาติ ท่ีเห็นได้จากศาสนสถาน โบสถ์วิหาร ปราสาท พระราชวงั และอาคารบา้ นทรงไทย ๙. ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี ประเทศไทยมีการติดต่อกับหลายเช้ือชาติ ทําให้มีการรับวัฒนธรรมของชาติต่าง ๆ เข้ามา แต่ คนไทยสามารถนํามาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม และปฏิบัติสืบต่อกันมา จนกลายเป็นส่วนหน่ึงในวิถีชีวิต ของไทย ๑๐. ดนตรีไทย กีฬาไทย และการละเลน่ พื้นเมืองตา่ งๆ สิ่งท่ีกล่าวมานั้น เป็นเพียงบางส่วนที่แสดงให้เห็นถึงความเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย ถึงแม้ว่า จะมีบางอย่างที่มองไม่เห็นเด่นชัด หรือเปล่ียนแปลงไปบ้างแล้วก็ตาม แต่ส่ิงหนึ่งท่ีจะต้องคงอยู่ในใจของคน ไทยตลอดไป กค็ ือ ศกั ดศ์ิ รขี องคนไทย ๔๓ คู่มือการฝกึ อบรมหลกั สูตรลกู เสือคุณธรรม

ใบงานที่ ๕ เร่ือง เอกลกั ษณ์ของชาตแิ ละความเป็นไทย ****** เรือ่ ง เอกลกั ษณ์ของชาติและความเปน็ ไทย ช่ือกลุ่ม………………………………………………………….………………………...………………….. คําช้แี จง ใหส้ มาชิกในกลุ่มดาํ เนินการตอ่ ไปน้ี ๑. อภิปรายและสรปุ ความรูท้ ่ไี ดร้ บั จากการปฏิบัตกิ จิ กรรมฐานท้ัง ๘ ฐาน ๒. นําเสนอผลงานจากใบงานที่ ๓ กลมุ่ ละ ๕ นาที ฐานที่ ๑ รกั ชาติ รู้คณุ สรปุ ความรทู้ ไ่ี ด้รบั ……………………………………………………………………..……………………………………………. ………………………………………………………………………………..……………………………………………………………… ………………………………………………………………………………..……………………………………………………………… ฐานท่ี ๒ เทดิ ทนู องค์กษตั รา สรปุ ความรูท้ ่ีไดร้ ับ …………………………………………………………..………………………………………………………. ………………………………………………………………………….…………………………………………………………………… …………………………………………………………………………..………………………………………………………………….. ฐานท่ี ๓ นอ้ มบชู าศาสนา สรุปความร้ทู ไ่ี ดร้ ับ …………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………….……………………………………………................................... ……………………………………………………………………..………………………………………………………………………. ฐานท่ี ๔ รคู้ ณุ ค่าภาษาไทย สรปุ ความรูท้ ่ีได้รบั ……………………………………………………..………………………………………………………….. …………………………………………………………………….……………………………………………………………………….. …………………………………………………………………….……………………………………………………………………….. ฐานที่ ๕ ห่วงใยเอกลกั ษณ์ สรุปความรูท้ ีไ่ ด้รบั ………………………………………………………..……………………………………………………….. ……………………………………………………………………….…………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………..…………………………………………………………………… ฐานที่ ๖ รปู้ ระจักษว์ นั สําคัญ สรุปความรู้ทไ่ี ดร้ ับ ………………………………………………………………..………………………………………………. ………………………………………………………………………….…………………………………………………………………. ………………………………………………………………………….…………………………………………………………………. ๔๔ คู่มอื การฝกึ อบรมหลักสูตรลกู เสือคุณธรรม

ฐานที่ ๗ สานสรรศลิ ปะไทย สรุปความรู้ทีไ่ ด้รบั ……………………………………………………………..………………………………………………….. …………………………………………………………………………….……………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………..………………………………………………………………. ฐานที่ ๘ มวี ินัยปฏบิ ตั ติ น สรปุ ความรู้ทไ่ี ด้รับ ……………………………………………………………..………………………………………………….. ……………………………………………………………………………….…………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………….…………………………………………………………….. ๔๕ คู่มอื การฝกึ อบรมหลักสูตรลกู เสอื คณุ ธรรม

แบบประเมนิ การปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ชอื่ วิชา เอกลักษณข์ องชาติและความเป็นไทย ช่ือกลุ่ม............................................................................................................................................... ขอ้ รายการประเมิน ระดับคณุ ภาพ ๔๓๒๑ ๑ การตรงต่อเวลา ๒ ระบบหมู่และการมีสว่ นร่วมของสมาชกิ ๓ การสรปุ ความรู้ทีไ่ ด้รบั รวม …………………………………….. (………………………………….) ผูก้ ํากบั ลกู เสอื เกณฑก์ ารประเมินผล รายการทีป่ ระเมิน ระดับคุณภาพ / คะแนน ๑. การตรงตอ่ เวลา ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรบั ปรงุ (๑) ปฎบิ ัติไมไ่ ด้เลย ๑. การเขา้ ร่วมกิจกรรม ปฏบิ ตั ไิ ด้ ๒ ข้อใน ปฏิบตั ไิ ด้ ๑ ขอ้ ใน ตามเวลา / ตรงเวลา ๓ ข้อ ๓ ข้อ ๒. ผลงานเสรจ็ ตาม เวลาทกี่ ําหนด ๓. การนาํ เสนอใชเ้ วลา ตามเวลาที่กาํ หนด ๒. ระบบหมแู่ ละการมี ทุกคนมสี ว่ นรว่ ม สมาชกิ ๑ คนไมไ่ ด้มี สมาชกิ ๒ คนไมไ่ ดม้ ี สมาชิก ๓ คนขึ้นไป สว่ นรว่ มของสมาชิก สว่ นรว่ ม ส่วนรว่ ม ไมไ่ ด้มีส่วนร่วม ๓. การสรุปความรู้ ถกู ตอ้ งทุกข้อ ผดิ ๑ ข้อ ผิด ๒ ขอ้ ผดิ ๓ ข้อข้ึนไป ทีไ่ ดร้ ับ ๔๖ คู่มอื การฝึกอบรมหลกั สูตรลูกเสอื คณุ ธรรม

ช่อื วิชา ลกู เสือกบั การชุมนมุ รอบกองไฟ บทเรยี นที่ ๖ เวลา ๑๒๐ นาที ขอบขา่ ยรายวชิ า ๑. ความเป็นมา ๒. ความมุ่งหมายของการชุมนมุ รอบกองไฟ ๓. สถานทท่ี ใี่ ชช้ ุมนุมรอบกองไฟ ๔. การเตรียมการก่อนเริม่ การชมุ นุมรอบกองไฟ ๕. การจดั กองไฟ ๖. การจดั ทนี่ งั่ รอบกองไฟให้จดั เปน็ รปู วงกลมหรอื เกอื กมา้ ๗. พิธเี ปดิ การชุมนมุ รอบกองไฟ ๘. กาํ หนดการชุมนุมรอบกองไฟ ๙. การเปลี่ยนอริ ิยาบถของผเู้ ข้าชุมนุม ๑๐. พิธีปดิ การชุมนมุ รอบกองไฟ จุดหมาย เพื่อใหผ้ ูเ้ ข้ารบั การฝกึ อบรมสามารถเขา้ รว่ มและปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตามขั้นตอนการชมุ นมุ รอบกองไฟได้ วตั ถุประสงค์ เม่ือจบบทเรียนนแี้ ลว้ ผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรมสามารถ ๑. บอกขั้นตอนการชุมนุมรอบกองไฟได้ ๒. ปฏิบัตติ ามขน้ั ตอนการชมุ นุมรอบกองไฟได้ ๓. นาํ ความรู้เกยี่ วกบั คณุ ธรรม จดั แสดงในการชมุ นุมรอบกองไฟได้ วธิ ีสอน / กจิ กรรม กิจกรรมย่อยที่ ๑ (๓๐ นาที) ๑. วิทยากรอธบิ ายประวตั ิความเป็นมา แนวทางและขั้นตอนในการชุมนุมรอบกองไฟ ๒. วิทยากรร่วมกับลูกเสือ สาธิตการทําความเคารพการกล่าวชมเชย และการตอบรับคําชมเชย ตามแบบลกู เสือ ๓. นัดหมายหม่บู รกิ ารรอบกองไฟ เพ่อื จดั เตรียมสถานที่ พวงมาลยั พุม่ สลาก เปน็ ตน้ ๔. นดั หมายกําหนดเวลาในการเขา้ รว่ มการชมุ นมุ รอบกองไฟ การสง่ รายชื่อการแสดง กิจกรรมย่อยท่ี ๒ (๙๐ นาท)ี ๑. ผเู้ ขา้ ร่วมชุมนุมน่งั ประจาํ ทีบ่ รเิ วณรอบกองไฟ ๒. พิธีกรนาํ กจิ กรรมเพ่ือเตรยี มความพร้อม ซักซ้อมแนวปฏิบัติในการชุมนุมรอบกองไฟ แนะนํา ผู้เป็นประธานในพธิ ี ๓. พิธีกรเชิญประธานกระทําพิธีเปิดการชุมนุมรอบกองไฟ และจับสลากการแสดงให้ผู้เข้าร่วม ชุมนมุ แสดงรอบกองไฟตามลําดบั ๔. พิธีกรจัดกจิ กรรมเพอ่ื เปลยี่ นอิรยิ าบถของผู้เขา้ ร่วมชุมนุมตามความเหมาะสม ๕. เม่ือทกุ กลมุ่ แสดงจบ พธิ ีกรเชญิ ประธานให้ขอ้ คดิ และกล่าวปิดการชุมนุมรอบกองไฟ ๔๗ คู่มือการฝึกอบรมหลกั สูตรลกู เสือคุณธรรม

สอื่ การสอน ๑. เครอ่ื งดนตรี เชน่ กลอง ฉง่ิ ฉบั กรับ ฯลฯ ๒. เครื่องประกอบการแตง่ กายในการแสดง ๓. เครือ่ งเสยี ง ๔. กองไฟ / กองไฟจาํ ลอง การประเมนิ ผล ๑. วธิ ีการวดั ผล : สังเกตพฤติกรรมในการเข้ารว่ มกจิ กรรมชมุ นมุ รอบกองไฟ ๒. เคร่อื งมอื วัดผล : แบบประเมินการปฏิบัตกิ ิจกรรมชมุ นุมรอบกองไฟ ๓. เกณฑ์การประเมินผล : มผี ลการประเมนิ ผ่านเกณฑ์ที่กําหนด เอกสารอา้ งอิง / แหล่งข้อมลู คู่มือการฝกึ อบรมผ้บู ังคบั บัญชาลูกเสือ ขน้ั ผู้ชว่ ยผู้ให้การฝึกอบรมวิชาผูก้ าํ กบั ลกู เสือ คณะกรรมการ ลกู เสอื ฝา่ ยพัฒนาบุคลากร สาํ นักงานลกู เสอื แหง่ ชาติ เนอ้ื หาวิชา ๑. การชุมนุมรอบกองไฟ ๔๘ คู่มอื การฝกึ อบรมหลักสตู รลูกเสอื คณุ ธรรม

ใบความรทู้ ่ี ๖ เร่อื ง การชุมนมุ รอบกองไฟ ****** ๑. ความเปน็ มา จากประสบการณ์ในชีวิตทหารของลอร์ด เบเดน-โพเอลล์ (บี.พี.) ที่ได้พบเห็นการพักแรมคืน ของพ่อค้า ซ่ึงเดินทางรอนแรมไปต่างเมืองและวิธีการของชาวพ้ืนเมือง ซึ่งมีการชุมนุมกันในยามคํ่าคืน เป็นการพักผ่อน สนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ปรึกษาหารือกัน ท้ังมีการร่วมสนุกสนานด้วยการร้องเพลง และแสดงกิจกรรมต่าง ๆ เป็นการผ่อนคลายอารมณ์และบรรเทาความเหน่ือยล้ามาจากกลางวัน จึงได้นํา วธิ กี ารนีม้ าทดลองใชใ้ นการนําเด็ก ซึ่งอาจเรียกว่าเป็นลูกเสือรุ่นแรกของโลกไปอยู่ค่ายพักแรม ที่เกาะบราวน์ซี ประเทศอังกฤษ ในปี ค.ศ.๑๙๐๗ (พ.ศ. ๒๔๕๐) โดยให้ลูกเสือมาชุมนุมพร้อมกันรอบกองไฟในตอนกลางคืน และใช้เวลานั้นฝึกอบรมประกอบการเล่านิทาน และมีการร่วมแสดงให้เกิดความสนุกสนาน ได้ผลเป็นอย่างดี จึงได้นํามาให้เป็นวิธีการฝึกอบรมลูกเสืออย่างหนึ่งสืบต่อมาจนปัจจุบันน้ี การชุมนุมรอบกองไฟในภาษาอังกฤษ เรียกว่า “CAMP FIRE” เดิมมักเรียกกันในภาษาไทยว่า การเล่นหรือการแสดงรอบกองไฟ เป็นเพียง สว่ นหนึ่งของการชุมนุมรอบกองไฟเทา่ น้นั ๒. ความมุ่งหมายของการชุมนุมรอบกองไฟ การชมุ นมุ รอบกองไฟมคี วามม่งุ หมายสําคญั อยู่ ๕ ประการ เพอ่ื ๒.๑ เป็นการฝึกอบรมตอนกลางคืน ดังท่ี ลอร์ด เบเดน-โพเอลล์ (บี.พี.) ในการฝึกอบรมเด็ก ท่ีไปอยคู่ ่ายพักแรม ณ เกาะบราวน์ซี ๒.๒ ให้ลูกเสือได้ร้องเพลงร่วมกันหรือแสดงกิริยาอาการอย่างเดียวกันเป็นการปลุกใจหรือ เปลีย่ นอารมณใ์ ห้เกิดความสนุกสนานเบิกบานใจ ผอ่ นคลายความเคร่งเครยี ดให้บรรเทาเบาบางลง ๒.๓ ให้ลูกเสือแต่ละคนมีโอกาสแสดงออกในที่ชุมนุม โดยไม่เก้อเขินกระดากอาย เป็น การส่งเสริมความสามัคคีของหมู่ ใหท้ ุกคนร้จู กั ทํางานร่วมกบั ผอู้ ่ืนและทําใหร้ คู้ วามสามารถของแต่ละคนไดด้ ี ๒.๔ ใช้เป็นโอกาสสําหรับประกอบพิธีสําคัญบางกรณี เช่น แนะนําบุคคลสําคัญในกิจการลูกเสือ เช่น แนะนําผู้มีเกียรติสําคัญที่มาเยี่ยม การมอบเครื่องหมายวูดแบดจ์ เคร่ืองหมายตอบแทน เข็มสมนาคุณ หรือประกาศนยี บัตรต่าง ๆ เปน็ ต้น ๒.๕ เชิญบุคคลสําคัญในท้องถิ่นตลอดจนประชาชนท่ัวไป เป็นการประชาสัมพันธ์และ สง่ เสริมกิจการลูกเสือไดอ้ ีกทางหนึ่ง ๓. สถานที่ใช้ชมุ นมุ รอบกองไฟ ค่ายลูกเสือทุกแห่งควรมีบริเวณสําหรับการชุมนุมรอบกองไฟไว้โดยเฉพาะอยู่ที่มุมหนึ่งของค่าย และควรอยู่ห่างจากท่ีพักพอสมควร ไม่ไกลเกินไป เพื่อมิต้องเสียเวลาและเกิดความยุ่งยากเมื่อลูกเสือต้อง เดินจาก ท่ีพักไปยังบริเวณการชุมนุมรอบกองไฟและต้องเดินกลับเม่ือการชุมนุมเลิกแล้ว ส่วนบริเวณ การชุมนุมรอบกองไฟควรมีต้นไม้เป็นฉากหลังน้ัน จะทําให้บรรยากาศดีขึ้น และจะทําให้การร้องเพลงได้ผล ดีกวา่ ท่ีโลง่ แจ้ง ๔๙ คู่มือการฝกึ อบรมหลักสตู รลูกเสอื คุณธรรม

อนึ่ง ในการเลือกสถานที่สําหรับการชุมชนรอบกองไฟนี้ ถ้าสามารถหาท่ีเป็นแอ่งให้ลูกเสือท่ีน่ัง อยู่เหนือกองไฟเล็กน้อยจะดีมาก เช่น ในบริเวณที่มีเนิน อาจจัดทําบริเวณการแสดงและกองไฟอยู่ตอนล่าง ส่วนลูกเสือให้นั่งอยู่บนเนิน หรือจัดทําบริเวณการแสดงและกองไฟให้อยู่บนเกาะมีคูน้ําล้อมรอบ ผู้ชมนั่ง อยู่ริมคูนํ้าอีกด้านหน่ึง สะพานข้ามคูทําด้วยไม้แบบสะพานช่ัวคราว ปรากฏว่าสถานที่การชุมนุมรอบกองไฟ เชน่ ว่านใ้ี ชก้ ารได้ดอี ย่างยงิ่ การชุมนุมรอบกองไฟนี้ถ้าไม่สะดวก เช่น ฝนตกหรือมีเหตุอ่ืน จะจัดภายในอาคารและใช้กองไฟที่ ใหแ้ สงสวา่ งอย่างอืน่ แทนได้ ๔. การเตรยี มกอ่ นเริ่มชุมนมุ รอบกองไฟ ๔.๑ คณะผู้ให้การฝึกอบรมจะต้องปรึกษาหารือกันเพ่ือกําหนดว่า ในการชุมนุมรอบกองไฟนั้นจะ มีกิจกรรมอะไรบ้าง จะให้กลุ่มใดทําหน้าที่บริการ ให้ผู้ใดเป็นพิธีกรและจะเชิญผู้ใดเป็นประธานซ่ึงควรเป็น ผู้ที่มีความรู้ ความเข้าใจขั้นตอนการชุมนุมรอบกองไฟดีพอสมควร หรือพิธีกรจะต้องซักซ้อมการท่ีประธาน จะต้องปฏิบัติตามขัน้ ตอนตา่ ง ๆ เสยี กอ่ น ถ้าเป็นการอยู่ค่ายพักแรมของลูกเสือตามธรรมดา โดยปรกติผู้กํากับ ลูกเสือท่ีพาลูกเสือไปอยู่ค่ายพักแรมน่ันเองจะทําหน้าที่ประธาน และให้รองผู้กํากับลูกเสือ หรือลูกเสือคนใด คนหนง่ึ ทีม่ คี วามสามารถทําหนา้ ที่พิธกี ร ๔.๒ พิธกี ร คือผ้นู าํ ในการชุมนุมรอบกองไฟ มหี นา้ ท่ี ๑) นดั หมาย - ประธาน ขนั้ ตอนทจ่ี ะตอ้ งปฏิบตั ิ - ผู้ร่วมแสดง ข้ันตอนการปฏิบัติ การแต่งเพลงประจําหมู่/กลุ่ม การส่งเร่ืองท่ีจะแสดง เวลาที่มาพร้อม เวลาที่ใช้ในการแสดง การแต่งกายตามเนื้อเรื่อง การรายงานเมื่อเร่ิมแสดง การกล่าวชมเชย การตอบรบั คาํ ชมเชย การกล่าวเมื่อมผี ้มู าเยย่ี ม ข้อหา้ มในเนื้อเรือ่ งทจ่ี ะแสดง - กลุ่มบริการให้จัดสถานท่ี กองไฟ จัดทําพวงมาลัย ทําพุ่มสลาก และคนถือขบวนแห่ การชว่ ยเหลอื พธิ กี ร การทําความสะอาดสถานทเี่ มอื่ เลกิ การแสดง ๒) ชี้แจงลาํ ดับการชุมนุม ซกั ซอ้ ม ขอ้ ปฏบิ ตั ิ ขอ้ หา้ ม ๓) ประกาศช่ือผู้ที่จะมาเปน็ ประธานและผตู้ ิดตาม ๔) เชิญประธานและผตู้ ดิ ตามเข้าสูท่ ี่ประชมุ ๕) ควบคุมและดาํ เนนิ การให้ถูกตอ้ งโดยให้ผู้เข้ารว่ มชมุ นมุ ได้รับความสนุกสนาน ๖) เลือกเพลงทีจ่ ะนาํ มาใชใ้ หเ้ หมาะสมกับผ้เู ข้ารับการฝกึ อบรม ๗) รกั ษาเวลาโดยเคร่งครดั ๕. การจดั กองไฟ กองไฟอาจจะเป็นกองไฟที่ก่อด้วยไม้จริง โดยก่อเป็นแบบผสม (คอกหมู+ปิรามิด) หรือจะใช้ไฟ ให้แสงสว่างอย่างอ่ืน ๆ แทนก็ได้ ถ้าเป็นกองไฟจริงจะต้องมีผู้รับผิดชอบ ซ่ึงโดยปกติจะมอบให้กลุ่มบริการ ในวันน้ันทําหน้าท่ีน้ี คือ มีหน้าท่ีก่อไฟให้เรียบร้อยก่อนทําพิธีเปิด จุดแล้วให้ไฟติดและจะต้องคอยดูแลกองไฟ ให้ติดอยู่ตลอดเวลา ในการนี้ จะต้องเตรียมฟืนอะไหล่และนํ้าสํารองไว้ ถ้าไฟมอดลงจะต้องเติมฟืนลงไป และถ้าไฟลุกลามมากหรือกระเด็นออกจากกองไฟ กต็ ้องพรมน้ําลงไป ๕๐ คู่มอื การฝึกอบรมหลักสตู รลกู เสือคุณธรรม

ในปัจจุบัน นโยบายของรัฐบาลให้อนุรักษ์ป่าไม้และส่ิงแวดล้อมจึงควรละเว้นการก่อไฟด้วยไม้จริง เม่ือเลิกการชุมนุมรอบกองไฟผู้มีหน้าที่รับผิดชอบจะต้องออกจากบริเวณไปอย่างเงียบ ๆ พร้อมกับผู้เข้า ร่วมชุมนุมอ่ืน ภายหลังอีกสักครู่จะต้องหวนกลับมาที่บริเวณการชุมนุมรอบกองไฟอีกครั้งหนึ่ง ไม่ให้มีเศษไม้ หรือเถา้ ถ่านเหลืออยู่เลย เรื่องการทําความสะอาดบริเวณการชุมนุมรอบกองไฟนี้ อย่าถือว่าเป็นเรื่องเล็กน้อย ต้องถือว่า เป็นบทเรยี นอันสาํ คัญในการฝกึ อบรมด้วย ๖. การจัดท่ีนง่ั รอบกองไฟใหจ้ ัดเป็นรปู วงกลมหรือเกือกมา้ การจัดที่น่ังรอบกองไฟให้จัดเป็นรูปวงกลมหรือเกือกม้า ให้กองไฟอยู่ตรงกลาง มีที่น่ังพิเศษสําหรับ ประธานและผู้รับเชิญ ตั้งอยู่ในทิศทางเหนือลมท่ีนั่งของประธานเป็นที่น่ังเดี่ยวให้ต้ังล้ําหน้ากว่าแถว ของผู้ติดตามและผู้ร่วมชมการแสดง ให้มีโต๊ะวางพุ่มสลากไว้ตรงหน้า ส่วนผู้เข้าร่วมชุมนุมโดยปกติให้นั่งตาม กลุ่ม ณ สถานทีท่ ไ่ี ดก้ าํ หนดให้ไว้ ๗. พธิ ีเปิดการชมุ นุมรอบกองไฟ มีข้ันตอนการปฏิบัติดงั น้ี ๗.๑ เม่ือผู้ร่วมแสดงแต่งกายตามเนื้อเร่ืองที่จะแสดงเข้าน่ังที่เรียงตามลําดับกลุ่ม จากซ้าย ของประธานไปทางขวาพร้อมควรเป็นเวลาก่อนเร่มิ ต้นแสดงทก่ี ําหนดไว้ประมาณ ๑๐ นาที ๗.๒ พิธีกร ชี้แจงซักซ้อมการปฏิบัติแล้วแจ้งชื่อ และตําแหน่งหน้าที่การงานหรือตําแหน่ง ทางลูกเสือของผู้เปน็ ประธานในพิธีและผูต้ ิดตามให้ทราบทัว่ กนั ๗.๓ ผูม้ ีหนา้ ทขี่ องกล่มุ บรกิ ารจุดไฟ ๗.๔ พิธีกร ออกไปเชิญประธาน ซ่งึ มารอคอยอยกู่ ่อนแลว้ ใกลท้ ี่ชมุ นมุ ฯ ๗.๕ เมอ่ื ประธานเดนิ เข้ามาในพ้นื ทกี่ ารแสดง พธิ ีกรสงั่ ตรง ทกุ คนลกุ ข้ึนยืนตรง ๗.๖ ประธานรับการเคารพแล้ว เดินตรงไปที่ตั้งกองไฟยืนอยู่ระยะห่างพอสมควรยกมือขวา แสดงรหสั ของลกู เสือชูสูงขึน้ ไปขา้ งหนา้ ทาํ มมุ กบั ไหลป่ ระมาณ ๔๕ องศา ๗.๗ ผ้ตู ิดตามประธานและผู้มาร่วมชุมนมุ เดนิ ตามประธานเขา้ มาใหเ้ ดนิ ไปยืนอยู่ ณ บริเวณทีจ่ ัดให้ ๗.๘ ประธานกล่าวเปิดด้วยข้อความท่ีเป็นมงคลและจบลงด้วยถ้อยคําว่า “ข้าพเจ้าขอเปิด การชุมนมุ รอบกองไฟ ณ บัดนี้” โดยใช้เวลาประมาณ ๓ นาที ประธานยังคงยืนอยู่ ณ ทีเ่ ดมิ ๗.๙ ทกุ คนเข้าร่วมในทีช่ มุ นุมกลา่ วพรอ้ มกนั วา่ “ฟู”่ ๓ คร้งั ๗.๑๐ พธิ ีกร นาํ รอ้ งเพลง ๑ หรอื ๒ เพลง เช่น เพลงสยามานสุ ติ สดดุ มี หาราชา เพลงสถาบัน ของผ้เู ขา้ รว่ มการฝึกอบรม เปน็ ตน้ ท้งั นีโ้ ดยไม่มีดนตรีประกอบ และไมป่ รบมือ ๗.๑๑ จบเพลงแล้ว ประธานเดนิ กลับไปนัง่ ยังทีน่ งั่ ซง่ึ จัดไว้ ผตู้ ิดตามน่งั ลงตามทีข่ องตน ๗.๑๒ พิธีกร ส่ังใหผ้ รู้ ่วมชมุ นมุ “น่ัง” ๗.๑๓ พธิ กี ร สง่ั ให้ผถู้ ือพวงมาลยั และพมุ่ สลากมาตง้ั ขบวนอยู่ดา้ นขวามือของประธาน ๗.๑๔ พิธีกรนําร้องเพลงเกี่ยวกับแห่มาลัย – พุ่มสลาก ขบวนเร่ิมออกเดินผ่านหน้าประธาน เวียนรอบกอง เมื่อครบ ๓ รอบ ผู้ถือพวงมาลัยและพุ่มสลาก หยุดยืนตรงหน้าประธาน บุคคลอื่น ๆ ในขบวน แห่พวงมาลัยและพุ่มสลาก ให้กลับไปน่ังที่เดิม ผู้ถือพวงมาลัย ส่งมาลัยให้แก่ประธาน ผู้ถือพุ่มสลากส่ง ใหป้ ระธาน ตามลําดับ แลว้ กลับเข้าทนี่ ่ังของตน ๕๑ คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือคุณธรรม

๘. การดาํ เนินการ ๘.๑ พิธีกรเป็นผู้นําการจัดกิจกรรม เพ่ือเปล่ียนอิริยาบถ โดยการร้องเพลงประกอบท่าทาง หรือ การเล่นเกมตามความเหมาะสม ๘.๒ พธิ ีกรเชญิ ใหป้ ระธานจบั สลาก รับสลากจากประธานอา่ นใหท้ ราบว่ากลมุ่ ใดจะตอ้ งแสดง ๘.๓ ให้หัวหน้ากลุ่มส่ังสมาชิกในกลุ่มให้เคารพผู้เป็นประธาน “กลุ่ม……ตรง” หัวหน้ากลุ่ม ทําความเคารพ ๘.๔ ทุกคนภายในกลมุ่ ร่วมกันรอ้ งเพลงประจาํ กลมุ่ ๒ จบ จงึ เร่มิ การแสดง ๘.๕ เร่มิ การแสดงบริเวณหน้ากล่มุ ของตน โดยหันหน้าไปทางประธาน ๘.๖ จบการแสดงทุกคนกลับไปยืน ณ ท่ีนั่งของตน หัวหน้ากลุ่มสั่ง “กลุ่ม….…ตรง” หัวหน้ากลุ่ม ทําความเคารพ แล้วสั่งสมาชกิ ภายในกลุ่มของตนนั่งลง ๘.๗ พิธีกร ให้ผู้เข้าร่วมชุมนุม ซ่ึงไม่ใช่กลุ่มที่แสดงคนหน่ึงเป็นผู้นํากล่าวชมเชยให้แก่กลุ่มท่ี แสดง ผู้นํากล่าวชมเชยจะเชิญชวนให้กลุ่มอ่ืนๆ ลุกขึ้นยืน แล้วกล่าวคําชมเชยดังตัวอย่าง เช่น “พี่น้อง......... โปรดยืนขึ้น แล้วกล่าวคําชมเชยให้แก่กลุ่ม…….…พร้อมกัน ๓ คร้ังว่า “ยอดเย่ียม” ผู้เข้าร่วมชุมนุมกล่าว คําชมเชยพรอ้ มกันและแสดงกิริยาประกอบ โดยก้าวเท้าซ้ายออกไปข้างหน้าประมาณคร่ึงก้าว กํามือขวาไปไว้ บรเิ วณหวั ใจ แลว้ ผายมือขวาไปยังกล่มุ ทแ่ี สดงจบ พรอ้ มกล่าวคาํ ชมเชยตามท่ีนัดหมายไว้เสร็จแล้วนง่ั ลง ๘.๘ กลุ่มท่ีแสดงลุกขึ้นยืน ใช้แขนขวาทับแขนซ้าย ต้ังฉากเสมอไหล่ พร้อมกับคํากล่าวสั้น ๆ เชน่ “ขอบคุณ ครับ / คะ่ ” พร้อมกับน้อมตัวลง ๑ ครง้ั ๘.๙ พิธีกรดําเนินการเชน่ เดยี วกันนี้ไปจนครบทกุ กลุม่ เม่อื จบการแสดงของแต่ละกลุ่ม ก่อนจะเริ่ม การแสดงของกลุ่มต่อไป อาจมีการแนะนําบทเรียนหรือประกอบพิธีหรือมีกิจกรรมอื่นหรือร้องเพลงเพ่ือ เปล่ยี นอริ ิยาบถสลับเปน็ คร้งั คราวตามเวลาท่ีเหมาะสม ๙. การเปลย่ี นอริ ยิ าบถของผ้เู ข้าชุมนมุ ในการชุมนมรอบกองไฟ การเปลี่ยนอิริยาบถของผู้เข้าชุมนุมให้สนุกสนานร่าเริงเป็นเรื่องสําคัญ ผู้เข้าชุมนุมอาจจะรู้สึกเบ่ือและง่วงเหงาหาวนอน การเปลี่ยนอิริยาบถของผู้เข้าชุมนุมนี้อาจทําได้หลายวิธี และเป็นหน้าท่ีของพิธีกรที่จะต้องเป็นผู้นํา หรือมอบหมายให้ผู้รู้คนใดคนหน่ึงเป็นผู้นํา เช่น นําให้ร้องเพลง รําวง นําให้แสดงกิริยาอาการต่าง ๆ ที่ขบขัน หรือปลุกให้เกิดความสนุกสนาน ต่ืนตา ตื่นใจ ด้วยวิธีการ ตา่ ง ๆ ท่ีเหน็ ว่าเหมาะสมกบั ผูเ้ ข้าร่วมชมุ นมุ และเหมาะสมกบั เวลา ๑๐. พิธปี ดิ ๑๐.๑ เม่ือจบการแสดงของทุกกลุ่มแล้ว พิธีกรจะให้มีการร้องเพลงทํานองช้า อาจเป็นเพลงที่เป็น คตหิ รอื สร้างสรรคเ์ หมาะสมกบั ผรู้ ว่ มชุมนมุ ท้งั นคี้ วรเป็นเพลงทสี่ ่วนใหญห่ รอื ทง้ั หมดได้รว่ มรอ้ งด้วย ๑๐.๒ พิธกี รจะเชญิ ประธานกลา่ วปิด ๑๐.๓ ประธานไปยืนในท่ีเหมาะสม กล่าวเรื่องส้ันอันเป็นประโยชน์ในเรื่องใด ๆ ที่เห็นว่าเหมาะสม และจบลงด้วยถอ้ ยคําวา่ “ข้าพเจา้ ขอปดิ การชุมนุมรอบกองไฟ ณ บดั น้”ี ใชเ้ วลาประมาณ ๑๐ นาที ๑๐.๔ พิธีกร ให้ทุกคนล้อมวง โดยให้แขนขวาซ้อนบนแขนซ้ายของตนเอง และใช้มือขวาซ้ายจับ คนข้างเคยี งร่วมกนั ร้องเพลงสามัคคชี มุ นมุ พรอ้ มกับโยกตัวไปทางขวา ซ้าย ชา้ ๆ จนจบเพลง ๕๒ คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลกู เสอื คุณธรรม

๑๐.๕ ผู้แทนกลุ่มบริการ นําสวดมนต์อย่างยาว จบแล้วให้สั่งให้ทุกคนหันหน้าไปยังทิศ ทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ประทบั อยู่ในขณะน้นั ถ้าหากพระองค์มิได้ประทับอยู่ในประเทศไทยให้หันหน้า ไปยังพระบรมมหาราชวงั กรงุ เทพมหานคร สั่งทาํ ความเคารพแล้วนําร้องเพลงสรรเสรญิ พระบารมจี นจบ ๑๐.๖ พิธกี ร นดั หมาย ๑๐.๗ ทุกคนแยกย้ายกันกลับท่ีพักอย่างสงบ ส่วนกลุ่มที่ทําหน้าที่เป็นกลุ่มบริการกลับมา ทาํ ความสะอาดใหเ้ รยี บร้อย ๑๑. หน้าท่ขี องพธิ กี ร ๑๑.๑ นัดหมายสมาชิก ๑) เรอื่ งการแสดง ๒) เวลาสง่ เร่ือง ๓) เพลงประจาํ หมู่ ๔) การแต่งกาย ๕) ข้อหา้ ม ๖) ข้อปฏบิ ัติ ๗) ขนั้ ตอน ๘) หนา้ ทห่ี มู่บริการ ๑๑.๒ นัดหมายประธานในพธิ ี ๑) เวลา ๒) ข้นั ตอน ๓) การกลา่ วเปิด ๔) การเล่าเร่ืองสนั้ ๑๑.๓ ก่อนการชมุ นมุ ๑) ตรวจสถานท่ี /อปุ กรณ์/ กองไฟ ๒) รบั เรอื่ งท่จี ะแสดง (ไมค่ วรซาํ้ กัน) ๓) จดั รายการให้เหมาะสม ๑๒. ตวั อยา่ งคาํ กล่าวเปดิ การชุมนมุ รอบกองไฟ ๑๒.๑ ด้วยจิตใจอันดีของ..........ท่ีมาชุมนุม ณ กองไฟน้ี จากทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก ข้าพเจ้าขอเชิญสิ่งศักดิ์สิทธิ์ท้ังหลายจงมาเป็นสักขีพยานในการชุมนุมรอบกองไฟนี้ จงนําโชคดี มาสู่ท่าน และขอให้กิจการ............จงเจริญรุ่งเรืองเหมือนแสงไฟอันรุ่งโรจน์ สิ่งไม่ดีไม่งามทั้งหลายขอจงมอด ไหม้เป็นเถ้าถ่านในกองไฟนี้ พ่ีน้อง...........ทั้งหลาย บัดน้ีถึงเวลาแล้ว ข้าพเจ้าขอเปิดการชุมนุมรอบกองไฟ ณ บัดน้ี ๑๒.๒ จากแสงไฟท่ีลุกโชติช่วงอยู่ ณ บัดน้ี เปรียบประดุจกิจการของ.........ที่รุ่งโรจน์ ส่วนเถ้าถ่าน ที่มอดดับเหมือนกับสิ่งท่ีเราทําผิดพลาดไว้ขอให้สลายไป ถึงเวลาแล้ว ข้าพเจ้าขอเปิดการชุมนุมรอบกองไฟ ณ บดั น้ี ๕๓ คู่มอื การฝกึ อบรมหลกั สตู รลูกเสือคุณธรรม

๑๒.๓ ขอเดชะส่ิงศักดิ์สิทธ์ิในสากลโลก จงดลบันดาลให้กิจการ……….เจริญรุ่งเรืองยิ่ง ๆ ขึ้นไป ทั้ง ๔ ทิศ ดุจเปลวเพลิง ท่ีส่องแสงสว่างรุ่งโรจน์อยู่นี้ บัดนี้เป็นได้เวลาอันสมควรแล้ว ข้าพเจ้าขอเปิด การชุมนุมรอบกองไฟของ..........ณ บัดนี้ ๑๒.๔ ท่ามกลางกองไฟอันรุ่งโรจน์ที่อยู่ตรงหน้าเรานี้ เปรียบเหมือนแสงสว่างแห่งวิญญาณและ ความรุ่งเรืองของกิจการ………. ส่วนความชั่วร้ายอันจะพึงเกิดข้ึนกับกิจการ………… ขอให้สลายหมดส้ินไป เหมือนกับเถ้าถ่านของกองไฟ ที่กําลังจะมอดดับไป บัดนี้ ถึงเวลาแล้ว ข้าพเจ้าขอเปิดการชุมนุมรอบกองไฟ ณ บดั นี้ หมายเหตุ • เพลงประจาํ กลมุ่ ทใี่ ชร้ อ้ งให้มีเนือ้ รอ้ งระบุช่ือหมู่ มีสาระ ปลกุ ใจ เป็นคติ • เร่อื งทีจ่ ะแสดงควรเป็นเร่อื งเปน็ คติเตือนใจ ประวัติศาสตร์ปลกุ ใจใหร้ ักชาติ ส่งเสรมิ ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี สนุกสนาน • ไมค่ วรแสดงเรื่องไรส้ าระ เสียดสบี คุ คล เรอ่ื งการเมอื ง ผีสาง ลามก อนาจาร ล้อเลยี นผู้เขา้ รว่ มชุมนมุ ลอ้ เลยี นศาสนา • ห้ามใช้อาวุธจริงหรอื ของมีคมมาประกอบการแสดง • ห้ามสบู บุหรใ่ี นขณะนัง่ อยู่ในบริเวณชมุ นมุ • หา้ มด่ืมของเมา รวมท้ังนาํ มาใชป้ ระกอบการแสดง • ไมค่ วรแตะต้องหรอื นําส่งิ ของข้ามกองไฟหรือใช้กองไฟประกอบการแสดงในทางไม่เหมาะสม ๕๔ คู่มือการฝึกอบรมหลกั สูตรลกู เสือคณุ ธรรม

แบบประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ชอื่ วิชา การชมุ นุมรอบกองไฟ ชื่อกล่มุ .............................................................................................................................................. การแสดง เรอื่ ง……………………………..………………..…………………...………………………. ข้อ รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ ๔๓๒๑ ๑ เนื้อหาของเร่ืองทีแ่ สดงเหมาะสม ๒ อุปกรณป์ ระกอบการแสดงและเคร่ืองแตง่ กาย ๓ ตัวละครแสดงไดส้ มบทบาท ๔ การมีส่วนรว่ มของสมาชกิ รวม ………………………….. (…………………………..) ผู้กาํ กบั ลกู เสอื เกณฑ์การประเมินผลงานกลมุ่ รายการทปี่ ระเมิน ดมี าก (๔) ระดับคุณภาพ / คะแนน ปรับปรงุ (๑) ดี (๓) พอใช้ (๒) ๑. เนือ้ หาของเรอ่ื งที่ ๑. คณุ ธรรมพนื้ ฐาน ปฏบิ ัตไิ ด้ ๑ ขอ้ แสดงเหมาะสม ๘ ประการ ปฏบิ ตั ิได้ ๓ ขอ้ ปฏบิ ตั ไิ ด้ ๒ ขอ้ ๒. ความกตญั ญกู ตเวที ปฎิบตั ิไมไ่ ดเ้ ลย ๒. อปุ กรณ์ ๓. จติ อาสา ปฏิบัตไิ ด้ ๒ ข้อใน ปฏบิ ตั ิได้ ๑ ข้อใน ประกอบการแสดง ๔. หลกั เศรษฐกิจพอเพียง ๓ ข้อ ๓ ขอ้ แสดงไม่สมบทบาท และเคร่อื งแตง่ กาย ๓ คนข้นึ ไป ๑. ประยุกตก์ ารแตง่ กาย แสดงไม่สมบทบาท แสดงไมส่ มบทบาท ๓. ตวั ละครแสดงได้ ๒. ประยุกต์อุปกรณ์ ๑ คน ๒ คน สมบทบาท ๓. การแต่งกายสอดคลอ้ ง กับเรอ่ื งท่แี สดง ทกุ คนแสดงไดส้ มบทบาท ๔. การมสี ่วนรว่ ม ทกุ คนมสี ว่ นรว่ ม สมาชิก ๑ คนไม่ได้ สมาชกิ ๒ คนไมไ่ ดม้ ี สมาชิก ๓ คนขนึ้ ของสมาชกิ มสี ่วนรว่ ม สว่ นรว่ ม ไปไม่ไดม้ ีส่วนรว่ ม ๕๕ คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือคุณธรรม

ชื่อวชิ า ลูกเสือกบั การจัดทําโครงการ/โครงงาน บทเรียนท่ี ๗ เวลา ๑๒๐ นาที ขอบข่ายรายวชิ า ๑. ความหมาย และองคป์ ระกอบของโครงการ/โครงงาน ๒. การวางแผนจัดทาํ โครงการ / กิจกรรม/โครงงาน ๓. ขัน้ ตอนการจดั ทาํ โครงการ /โครงงาน จุดหมาย เพ่ือให้ผูเ้ ข้ารบั การฝึกอบรมมคี วามรู้ ความเข้าใจ และมที กั ษะในการจดั ทําโครงการ/โครงงาน วัตถุประสงค์ เม่ือจบบทเรยี นน้ีแล้ว ผ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรมสามารถ ๑. เขยี นโครงการ/โครงงานเก่ียวกับกจิ กรรมสง่ เสริมคุณธรรมได้ ๒. นําโครงการ/โครงงานทจี่ ัดทําไปใชใ้ นสถานศกึ ษาของตนเองได้ วิธสี อน / กิจกรรม ๑. นําเขา้ สบู่ ทเรยี นโดยนาํ เสนอตวั อย่างกิจกรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรมด้วยสอื่ เช่น วิดที ัศน์ เกม เพลง แผน่ พบั ฯลฯ ๒. ให้ความรู้เรื่องการวางแผนจัดทําโครงการ/โครงงาน และกิจกรรมเพื่อส่งเสริมคุณธรรม โดยใช้ Power Point เรื่อง การวางแผนกิจกรรมโครงการ/โครงงาน และใบความรู้ เรื่อง การจัดทําโครงการ/ โครงงาน ๓. มอบหมายใหว้ างแผนจดั ทาํ โครงการ/โครงงานส่งเสริมคุณธรรม ๑ โครงการ/โครงงาน ๔. ตวั แทนแตล่ ะกลมุ่ นาํ เสนอโครงการ/โครงงาน ๕. สรปุ และประเมนิ ผล สื่อการสอน ๑. วดิ ที ศั น์ตัวอย่างกิจกรรมสง่ เสรมิ คณุ ธรรม ๒. Power Point เรอ่ื ง การวางแผนกจิ กรรมโครงการ/โครงงาน ๓. ใบความรู้ เร่ือง การจดั ทําโครงการ/โครงงาน ๔. กระดาษ Flipchart ๕. ปากกาเคมี การประเมนิ ผล ๑. วิธกี ารวัดผล : ประเมินการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมกลุม่ ๒. เคร่ืองมือวัดผล : แบบประเมนิ การปฏิบัติกิจกรรม เรื่อง การจดั ทําโครงการ/โครงงาน ๓. เกณฑก์ ารประเมินผล : มผี ลการประเมนิ ผา่ นเกณฑท์ ี่กําหนด ๕๖ คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสอื คุณธรรม

เอกสารอา้ งองิ / แหลง่ ข้อมลู ๑. แหลง่ เรียนร้ใู นชุมชน ๒. ห้องสมุดในสถานศกึ ษา และนอกสถานศกึ ษา ๓. ข้อมูลทาง Internet ๔. ตัวอยา่ งการเขียนโครงการ/โครงงาน ๕. แบบฟอร์มการเขยี นโครงการ/โครงงาน เนอ้ื หาวิชา ๑. การจดั ทําโครงการ/โครงงาน ๕๗ คู่มอื การฝึกอบรมหลกั สตู รลูกเสอื คณุ ธรรม

ใบความรทู้ ี่ ๗ เรือ่ ง การจัดทาํ โครงการ/โครงงาน ****** การจัดทําโครงการ/โครงงานเพื่อดําเนินการตามแผนงานอย่างใดอย่างหนึ่งนั้น สามารถทําให้ ผู้ปฏิบัติงานทํางานได้อย่างมีขั้นตอน และมองเห็นปัญหาในการทํางานได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น รวมทั้งมองเห็น แนวทาง ในการแก้ปัญหาอีกด้วย การเสนอแนะให้จัดทําโครงการ/โครงงานนั้น จําเป็นจะต้องระดม ความสามารถ งบประมาณและทรัพยากรอ่ืน ๆ อีกเป็นจํานวนมาก ซ่ึงโครงการ/โครงงานบางโครงการ/ โครงงาน อาจไม่จาํ เป็นต้องดําเนนิ การ ของบประมาณสนบั สนุนเลยก็ได้ แตก่ ารเขียนโครงการ/โครงงานจะต้อง ทาํ ใหถ้ กู ข้นั ตอนโดยมีแนวทางในการเขียนโครงการ/โครงงาน ดงั ต่อไปน้ี ๑. โครงการ/โครงงาน คืองานหรือกิจกรรมที่ระบุรายละเอียดต่างๆ เพ่ือที่จะนําไปปฏิบัติให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์ทกี่ ําหนดไว้ในแผน บางครง้ั วัตถปุ ระสงคห์ น่งึ ๆ อาจจําเปน็ ต้องมหี ลายโครงการ/โครงงานก็ได้ แต่โครงการ/โครงงานหนึง่ ๆ น้ัน จะต้องมสี ว่ นประกอบท่รี ะบุรายละเอียดอย่างชดั เจนและมีความแนน่ อน ดงั นี้ (๑) ชือ่ โครงการ / กิจกรรม/โครงงาน (๒) หลักการและเหตุผล (๓) วัตถุประสงค์ (๔) เป้าหมาย (๕) วิธดี าํ เนนิ งาน (๖) ระยะเวลา (๗) สถานที่ (๘) งบประมาณ (๙) ผู้รบั ผดิ ชอบ (๑๐) หน่วยงานท่เี ก่ียวขอ้ ง (๑๑) การประเมนิ ผล (๑๒) ผลทคี่ าดว่าจะได้รับ ๒. แนวทางในการเขียนโครงการ/โครงงาน (๑) ช่อื โครงการ / กิจกรรม/โครงงาน เป็นการกําหนดชื่อโครงการใหเ้ ฉพาะเจาะจงในเร่ืองท่ี จะทํา (๒) หลักการและเหตผุ ล ควรระบุหลกั การอยา่ งกวา้ ง ๆ วา่ มคี วามจาํ เป็นและมคี วามเหมาะสม อย่างไร จะใหป้ ระโยชนอ์ ยา่ งไร (๓) วตั ถุประสงค์ คอื สิง่ ทีผ่ ้ทู าํ โครงการ/โครงงานตอ้ งการจะไดร้ ับและผลต่อเน่ืองของโครงการ/ โครงงานนั้น (๔) เปา้ หมาย คือ การระบชุ นดิ คุณภาพ และขอบขา่ ยงานท่ีจะทํา (๕) วิธดี าํ เนนิ งาน เป็นการบอกรายละเอยี ดของการดาํ เนินงาน หรอื วธิ ดี ําเนนิ งานให้บรรลุ ตามวตั ถุประสงค์ เรมิ่ ต้ังแตก่ ารเตรียมงาน การศึกษาและสาํ รวจข้อเท็จจรงิ ต่าง ๆ การเสนอขออนมุ ัติโครงการ/ โครงงาน การเรม่ิ งานจนถงึ การปฏิบตั งิ าน (๖) ระยะเวลา เป็นการกําหนดวันเริ่มโครงการ วันสิ้นสดุ โครงการ/โครงงาน หรือชว่ งเวลา ท่ีดําเนินการ ๕๘ คู่มอื การฝกึ อบรมหลกั สูตรลูกเสือคุณธรรม

(๗) สถานที่ การระบุสถานท่ี หรอื บริเวณทจี่ ะทาํ โครงการ/โครงงาน (๘) งบประมาณ แยกงบประมาณรายรับรายจา่ ยทง้ั หมดไวใ้ ห้ละเอียดทส่ี ดุ เทา่ ทีจ่ ะทําได้ (๙) ผรู้ บั ผดิ ชอบ ให้ระบุชอ่ื ผู้ทาํ ใหช้ ัดเจนวา่ ใคร หรือหน่วยงานใดที่รับผดิ ชอบโครงการ/ โครงงาน นั้น ๆ (๑๐) หนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง คือ หนว่ ยหลักทีช่ ่วยส่งเสรมิ สนับสนุนใหก้ ารดําเนินงานตาม โครงการ/โครงงาน สาํ เรจ็ ลุลว่ ง (๑๑) การประเมนิ ผล การบอกแนวทางในการประเมนิ ผลว่าจะทาํ อยา่ งไรและทําในช่วงเวลาใด (๑๒) ผลทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั การระบผุ ลของโครงการทคี่ าดว่าเมือ่ เสรจ็ ส้นิ โครงการ/โครงงาน ๕๙ คู่มือการฝกึ อบรมหลกั สูตรลูกเสือคณุ ธรรม

ตัวอย่างโครงการ/โครงงาน ****** ๑. ชอ่ื โครงการ / กจิ กรรม/โครงงาน โครงการ/โครงงาน อนรุ กั ษ์สิง่ แวดล้อม (กิจกรรมปลูกต้นไม้ในท่ี สาธารณะ) ๒. หลักการและเหตผุ ล ด้วยสภาพในปัจจุบันมีจํานวนประชากรเพิ่มมากข้ึนทําให้ทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีอยู่ถูกใช้ไปอย่าง สิ้นเปลืองจนน่าวิตก สภาพต้นไม้ถูกทําลายลง บ้านเมืองขยายตัวออกไปอย่างรวดเร็ว ทําให้ประชาชนท่ี อาศัย อยู่ในชุมชนในเมืองขาดร่มเงาจากต้นไม้สําหรับพักผ่อนหย่อนใจ ดังน้ัน จึงควรส่งเสริมให้มีการปลูกต้นไม้ เพ่ือให้เกิดสภาพแวดล้อมที่ร่มรื่นร่มเย็น เพื่อช่วยรักษาสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติทางอ้อม รวมทั้งยังเป็น การฝกึ ใหล้ กู เสือเกดิ ความรกั และหวงแหนในตน้ ไม้ จึงเหน็ สมควรให้มีโครงการ/โครงงานนีข้ ึ้น ๓. วัตถปุ ระสงค์ ๓.๑ เพอื่ ใหม้ ตี น้ ไม้เปน็ รม่ เงาสาํ หรับพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ ๓.๒ เพ่ือให้ลกู เสอื ตระหนกั ถึงความสาํ คัญของตน้ ไมว้ า่ มปี ระโยชน์ต่อมนุษย์และสตั ว์ ๓.๓ ใหล้ ูกเสือได้มีโอกาสบาํ เพ็ญประโยชนต์ อ่ ชมุ ชนและสังคม ๓.๔ ฝึกให้ลกู เสือมที ักษะในการปลกู ต้นไม้ยิ่งข้นึ ๔. เปา้ หมาย ๔.๑ เชงิ ปรมิ าณ ลกู เสือปลูกต้นไม้อย่างน้อยคนละ ๑ ต้น ๔.๒ เชงิ คุณภาพ ลกู เสือมสี ่วนรว่ มในการปลูกตน้ ไม้ ๕. วธิ ีดําเนนิ งาน ๕.๑ ประชุมวางแผนการปลูกตน้ ไมร้ ่วมกับสมาชกิ กองลกู เสอื สามัญร่นุ ใหญ่ ๕.๒ ตดิ ต่อขอพันธุ์กลา้ ไมจ้ ากศนู ยเ์ พาะชาํ กลา้ ไม้ ๕.๓ จัดสภาพแวดล้อมบริเวณที่จะปลูกต้นไม้ ติดป้ายโฆษณาให้บุคคลทั่วไปทราบและขอ ความร่วมมือในการบาํ รุงรักษาต้นไม้ ๕.๔ ให้ลูกเสอื จดั เตรียมเครือ่ งมือ และอาหารไปใหพ้ รอ้ ม ๕.๕ ลงมือปฏิบตั กิ าร ๕.๖ สรปุ และประเมินผล ๖. สถานท่ี สวนสาธารณะ วดั หรือโรงเรยี น ๗. ระยะเวลา ระหวา่ งเดอื นพฤษภาคม ถึง มถิ นุ ายน ๖๐ คู่มือการฝกึ อบรมหลักสตู รลกู เสอื คุณธรรม

๘. งบประมาณ ใชเ้ งินบริจาคจาํ นวน ๓,๐๐๐ บาท ๙. ผู้รับผิดชอบโครงการ/โครงงาน ผู้เสนอโครงการ/โครงงานร่วมกับสมาชิกกองลกู เสือสามัญรุน่ ใหญ่ ๑๐. หน่วยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ศูนยเ์ พาะชาํ กลา้ ไม้ ๑๑. การติดตาม ประเมนิ ผล สงั เกตพฤตกิ รรมของลกู เสือ ๑๒. ผลท่ีคาดวา่ จะได้รับ จะมีตน้ ไม้เพม่ิ ขนึ้ จํานวนหนึง่ บริเวณดงั กลา่ วจะมีร่มเงาของต้นไม้สาํ หรับพักผอ่ นหยอ่ นใจ ๖๑ คู่มือการฝึกอบรมหลกั สูตรลูกเสอื คณุ ธรรม

แบบฟอรม์ การเขยี นโครงการ/โครงงาน ๑. ชือ่ โครงการ / กิจกรรม/โครงงาน ............................................................................................................................................................................. ๒. หลักการและเหตุผล .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ๓. วัตถปุ ระสงค์ ๓.๑ ……………………………………………………………….………………………………………………………………….. ๓.๒ …………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓.๓ …………………………………………………………………….……………………………………………………………. ๔. เปา้ หมาย ๔.๑ เชิงปริมาณ………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๔.๒ เชงิ คณุ ภาพ…………………………………………………………………………..……………………………………. …………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………… ๕. วิธีดาํ เนนิ งาน ๕.๑…………………………………………………………………………………………………………………………………. ๕.๒…………………………………………………………………………………………………………………………………. ๕.๓…………………………………………………………………………………………………………………………………. ๖. สถานท่ี ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………… …………………………………………………..……………………………………….…………………………………………………………. ๗. ระยะเวลา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๘. งบประมาณ …………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………. ๙. ผ้รู ับผิดชอบโครงการ/โครงงาน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………. ๑๐. หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วข้อง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ๖๒ คู่มือการฝกึ อบรมหลกั สตู รลกู เสือคุณธรรม

๑๑. การประเมนิ ผล ๑๑.๑ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ๑๑.๒ …………………………………………………………………………………………………………………………….. ๑๒. ผลทคี่ าดวา่ จะได้รบั ๑๒.๑ ………………………………………………………….…………………………………………………………………. ๑๒.๒ …………………………………………………………………….…………………………................................. ๑๒.๓ ……………………………………………………………………………….……………………………………………. ลงชอ่ื …………………………………ผู้เสนอโครงการ/โครงงาน (…………………………………) ลงชอ่ื …………………………………ที่ปรึกษาโครงการ/โครงงาน ( …………………………………) ลงชือ่ …………………………………ผเู้ หน็ ชอบโครงการ/โครงงาน (…………………………………) ลงชอ่ื …………………………………ผู้อนมุ ัตโิ ครงการ/โครงงาน (…………………………………) ๖๓ คู่มอื การฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสอื คณุ ธรรม

แบบประเมนิ การปฏบิ ตั กิ ิจกรรม เรอื่ ง การจัดทําโครงการ/โครงงาน ช่ือกลุ่ม……………………………………………………………….……………………………………….. ข้อ รายการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ ๑ ๔๓๒ ๑ การมสี ว่ นร่วมของสมาชกิ ๒ ความคิดรเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ ๓ ความถกู ตอ้ งของการจดั ทาํ โครงการ/โครงงาน ๔ วธิ ีการนําเสนอ ๕ ความเปน็ ไปได้ของโครงการ/โครงงาน รวม ……………………………… (……………………………) ผกู้ าํ กับลูกเสอื เกณฑ์การประเมนิ ผล รายการท่ปี ระเมิน ระดบั คณุ ภาพ / คะแนน ๑. การมีส่วนรว่ มของ สมาชิก ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรบั ปรงุ (๑) ๒. ความคดิ ริเรมิ่ ทกุ คนมีส่วนรว่ ม สมาชิก ๓ คนขน้ึ ไป สรา้ งสรรค์ สมาชกิ ๑ คนไมไ่ ดม้ ี สมาชิก ๒ คนไม่ไดม้ ี ไม่ได้มีสว่ นร่วม ๑. ใหม่ไมซ่ าํ้ ใคร ปฎบิ ตั ิไม่ได้เลย ๓. ความถูกต้องของ ๒. มปี ระโยชน์ สว่ นร่วม สว่ นรว่ ม การจัดทําโครงการ/ ๓. ประยกุ ตเ์ ปน็ รูปแบบ ผดิ ๕ ข้อข้ึนไป โครงงาน ใหม่ ปฏบิ ัตไิ ด้ ๒ ข้อใน ๓ ปฏิบตั ิได้ ๑ ข้อใน ๓ ๔. วิธกี ารนาํ เสนอ ถกู ต้องทกุ ข้ันตอนตาม ปฏบิ ตั ิได้ ๑ ข้อ แนวทางการจัดทาํ ข้อ ขอ้ ๑. ความเป็นไปไดข้ อง โครงการ/โครงงาน ปฏบิ ัตไิ ด้ ๑ ข้อ โครงการ/โครงงาน ๑. นาํ เสนอน่าสนใจ ผดิ ๑- ๒ ขอ้ ผิด ๒ – ๔ ข้อ ๒. เสียงดังฟงั ชดั เจน ๓. วาจาสภุ าพ ปฏิบัตไิ ด้ ๓ ข้อ ปฏบิ ัตไิ ด้ ๒ ข้อ ๔. ตามกําหนดเวลา ๑. ปฏิบัตไิ ด้จรงิ ปฏบิ ตั ไิ ด้ ๓ ข้อ ปฏิบตั ิได้ ๒ ขอ้ ๒. มปี ระโยชน์ ๓. มคี วามค้มุ คา่ ๔. ยดึ หลักเศรษฐกจิ พอเพียง ๖๔ คู่มือการฝึกอบรมหลกั สูตรลูกเสือคณุ ธรรม

ช่อื วิชา ลูกเสือกบั การสรา้ งจติ สาํ นกึ (กรณีศกึ ษาจากแหลง่ เรยี นรู้) บทเรียนที่ ๘ เวลา ๑๘๐ นาที ขอบขา่ ยรายวชิ า ศึกษาคณุ ธรรม และเอกลกั ษณ์ความเป็นไทยจากแหล่งเรยี นรูใ้ นชมุ ชน จุดหมาย เพ่ือให้ผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรมสามารถจัดกจิ กรรมเกี่ยวกบั เอกลักษณค์ วามเป็นไทยได้ วตั ถปุ ระสงค์ เม่อื จบบทเรยี นน้แี ลว้ ผู้เข้ารับการฝกึ อบรมสามารถ ๑. บอกความเปน็ มา และความสาํ คญั ของแหล่งเรยี นร้ทู ี่ไปศกึ ษาได้ ๒. ระบวุ ธิ ีการสบื สานและอนุรักษ์แหล่งเรียนรูท้ ไ่ี ปศกึ ษาได้ ๓. นาํ ความรทู้ ไี่ ดไ้ ปปรบั ใช้ในทอ้ งถ่นิ ของตนได้ วธิ ีสอน / กจิ กรรม ๑. นันทนาการ เตรียมความพรอ้ ม (๕ นาที) ๒. ใหค้ วามร้เู บ้อื งต้นเก่ยี วกับแหลง่ เรยี นรทู้ ี่จะไปศึกษาพร้อมช้ีแจงแนวปฏบิ ัติตน ๓. มอบหมายภาระงาน โดยใชใ้ บงาน เรอ่ื ง การปลูกจติ สํานึก ๔. ศกึ ษาแหลง่ เรยี นรู้ในชมุ ชน ๕. สรุป และประเมินผล การศกึ ษาแหล่งเรยี นรู้ ส่อื การสอน ๑. เพลง เกม ๒. ใบงาน เรื่อง การปลูกจิตสาํ นึก (ศกึ ษาแหล่งเรยี นร)ู้ การประเมนิ ผล ๑. วธิ ีการวดั ผล : การตอบแบบสอบถาม ๒. เครื่องมือวดั : แบบสอบถามความคิดเห็นเกย่ี วกบั การศึกษาแหลง่ เรยี นรู้ ๓. เกณฑ์การประเมนิ ผล : มรี ะดับความคิดเห็นเฉลี่ยไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ๖๐ ๖๕ คู่มอื การฝกึ อบรมหลกั สตู รลกู เสือคณุ ธรรม

เอกสารอา้ งอิง ๑. กลุ่มพัฒนาและส่งเสริมองค์กรเครือข่ายเอกลักษณ์ของชาติภายในและต่างประเทศ สํานักงาน เสริมสร้างเอกลกั ษณข์ องชาติ สาํ นักงานปลัดสาํ นกั นายกรฐั มนตรี www.identity.opm.go.th ๒. เอกสารแผนแมบ่ ทการเสริมสรา้ งเอกลกั ษณ์ของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๔ สถาบันวจิ ยั ภาษา และ วัฒนธรรมเพอ่ื พัฒนาชนบท มหาวิทยาลยั มหดิ ล ๓. เอกสาร (อัดสําเนา) เร่ือง เอกลักษณ์ของชาติ “การมีจิตสํานึกความเป็นไทย” สํานักงาน เสริมสรา้ งเอกลักษณ์ของชาติ สํานกั งานปลดั สํานักนายกรัฐมนตรี เน้อื หาวชิ า ๑. การปลกู จิตสาํ นกึ โดยศึกษาแหลง่ เรียนรู้ ๖๖ คู่มือการฝึกอบรมหลกั สูตรลกู เสอื คุณธรรม

ใบงานท่ี ๘ เร่ือง การปลูกจติ สาํ นกึ (ศกึ ษาแหลง่ เรียนรู)้ ****** ช่อื กล่มุ ……………………………………………………..…………………..…………………………….. คําชี้แจง ใหส้ มาชกิ ในหมู่สรปุ สาระสําคัญของความรทู้ ่ไี ดร้ บั จากแหลง่ เรยี นรู้ ชื่อแหลง่ เรยี นรู้ …………………………………………………………………………………….……… ความรูท้ ไี่ ด้รบั ………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………… ……………………………………….……………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………… ………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………… ………………………….…………………………………………………………………………………………………………….………………… …………………………………………………………………………………………….…………………………………………………………… ………………………………………………….………………………… ความประทับใจ ………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………… ………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………… ………………………………………………………………….…………………………… ขอ้ เสนอแนะ ………………………………………………………………………………………..………….…………..………………………………………… ………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………… ….…………………………………………………………………………………………………………….………………………… ๖๗ คู่มอื การฝกึ อบรมหลักสตู รลกู เสือคุณธรรม

แบบสอบถามความคิดเหน็ เกย่ี วกบั การศึกษาแหลง่ เรียนรู้ ชอ่ื แหล่งเรียนรู.้ ........................................................................... วนั ท.่ี ...................เดอื น...................................พ.ศ................. ****** คําช้แี จง โปรดทาํ เคร่ืองหมาย √ ลงในช่องวา่ งตามความคดิ เหน็ ของนกั เรียน รายการประเมนิ ระดบั ความคดิ เห็น ๔๓๒๑ ๑. ได้รับความรแู้ ละประสบการณ์ตรงจากการศึกษาแหลง่ เรยี นรู้ ๒. เปน็ กิจกรรมทีส่ ง่ เสรมิ คณุ ธรรม ๓. เหน็ คุณคา่ ของเอกลกั ษณข์ องความเป็นไทย ๔. กจิ กรรมช่วยส่งเสรมิ ความสัมพนั ธ์ในการทํางานร่วมกบั ผ้อู น่ื ๕. ความประทับใจจากการศึกษาแหลง่ เรยี นรู้ ๖. สามารถนาํ ความร้ไู ปประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ ประจําวันได้ ๗. สามารถนาํ ความรู้ทไ่ี ด้รบั ไปเผยแพร่และแนะนาํ ผอู้ ื่นได้ ข้อเสนอแนะ ………………………………………………………………….....…………………………………………………………………………………… …………………….....…………………………………………………………………………………………………………………………..…… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ระดบั การให้คะแนน ๔ หมายถึง ดมี าก ๓ หมายถึง ดี ๒ หมายถงึ พอใช้ ๑ หมายถงึ ปรับปรุง ๖๘ คู่มือการฝกึ อบรมหลักสตู รลกู เสือคณุ ธรรม

ส่วนที่ ๓ กิจกรรมเสนอแนะ ๖๘ คมู่ ือการฝกึ อบรมหลักสตู รลกู เสอื คณุ ธรรม

แนวทางการจัดตง้ั หนว่ ยลูกเสือคุณธรรมในสถานศึกษา การจดั ต้ังกองลูกเสือ - เนตรนารีในสถานศกึ ษา การจัดกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารีในสถานศึกษา ตามหลักสูตรที่สถานศึกษากําหนดควร ดําเนินการให้เป็นไปตามข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครอง หลักสูตร และวิชาพิเศษ พ.ศ. ๒๕๐๙ ผู้บริหารโรงเรียน และผู้รับผิดชอบกิจกรรมลูกเสือ ควรสํารวจข้อมูลลูกเสือ - เนตรนารี และ ดาํ เนินการดังนี้ ๑. รับสมัครนักเรียน และรวบรวมจํานวนลูกเสือ - เนตรนารี แต่ละประเภท แล้วเขียน ใบสมคั รเข้าเปน็ ลกู เสอื (ใชแ้ บบ ลส. ๓) ดงั นี้ ๑.๑ ลูกเสือสํารอง หมายถึงนักเรียนชายท่ีเรียนระดับช่วงชั้นที่ ๑ ตามหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ คือ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๓ ให้มีจํานวน ๒ – ๖ หมู่ หมู่ละ ๔ – ๖ คน รวมทั้งนายหมู่และรองนายหมู่ด้วย (ข้อบังคับฯ พ.ศ. ๒๕๐๙ ข้อ ๗๒) กองลูกเสือสํารองมีลูกเสือตั้งแต่ ๘ – ๓๖ คน (ข้อบังคบั ฯ พ.ศ. ๒๕๐๘ ขอ้ ๖) ๑.๒ เนตรนารีสํารอง หมายถึงนักเรียนหญิงท่ีเรียนระดับช่วงช้ันที่ ๑ ตามหลักสูตร การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ คือ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๓ ให้มีจํานวน ๒ – ๖ หมู่ หมู่ละ ๔ – ๖ คน รวมทั้งนายหมู่และรองนายหมู่ด้วย (ข้อบังคับ ฯ พ.ศ. ๒๕๐๙ ข้อ ๗๒) กองเนตรนารีสํารองมี เนตรนารีตงั้ แต่ ๘ – ๓๖ คน ๑.๓ ลกู เสอื สามัญ หมายถึงนกั เรียนชาย ที่เรียนระดับช่วงช้ันท่ี ๒ ตามหลักสูตรการศึกษา ข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ คือ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ – ๖ ให้มีใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ระดับช่วงชันที่ ๒ คือ ป.๔ - ป.๖ จํานวน ๒ – ๖ หมู่ หมู่ละ ๖ – ๘ คน รวมท้ังนายหมู่ และรองนายหมู่ด้วย (ข้อบังคับ ฯ ฉบับท่ี ๑๓ พ.ศ. ๒๕๒๕ ข้อ ๘๔) กองลูกเสือสามัญมีลูกเสือต้ังแต่ ๑๒ – ๔๘ คน (ขอ้ บงั คบั ฯ พ.ศ. ๒๕๐๘ ขอ้ ๖) ๑.๔ เนตรนารีสามัญ (เดิม ใช้หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช ๒๕๒๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๓๓) คอื ป.๕ - ป.๖ ปัจจุบันใชห้ ลกั สตู รการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๔ ระดับช่วงช้ันที่ ๒ คือ ป.๔ - ป.๖) จํานวน ๒ – ๖ หมู่ หมู่ละ ๖ – ๘ คน รวมทั้งนายหมู่และรองนายหมู่ด้วย กองเนตรนารี สามญั มเี นตรนารตี ้งั แต่ ๑๒ – ๔๘ คน ๑.๕ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ระดับ ช่วงชั้นท่ี ๓ คือ ม.๑ – ม.๓ จํานวน ๒ – ๖ หมู่ หมู่ละ ๔ – ๘ คน รวมท้ังนายหมู่และรองนายหมู่ด้วย กองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ มีลูกเสือต้ังแต่ ๘ – ๔๘ คน (ขอ้ บังคบั ฯ ฉบับที่ ๑๔ พ.ศ. ๒๕๒๘) ๑.๖ เนตรนารีสามัญรุ่นใหญ่ ระดับช่วงชั้นท่ี ๓ คือ ม.๑ - ม.๓ จํานวน ๒-๖ หมู่ หมู่ละ ๔ – ๘ คน รวมท้ังนายหมแู่ ละรองนายหม่ดู ว้ ย กองเนตรนารสี ามญั รนุ่ ใหญ่ มีเนตรนารตี งั้ แต่ ๘-๔๘ คน ๒. เริ่มทําการสอนวชิ าลกู เสือ-เนตรนารี ตามหลักสตู รกาํ หนด (รายละเอียดในบทท่ี ๓) ๓. มีผู้บังคับบัญชาท่ีผ่านการฝึกอบรมวิชาผู้กํากับลูกเสือประเภทนั้นๆ อย่างน้อยข้ันความรู้ เบื้องต้น ๑ คน ทําหน้าท่ีเป็นผู้กํากับกับ มีรองผู้กํากับอีก ๑ คนขึ้นไปเป็นผู้ช่วย (วิธีปฏิบัติของสํานักงานฯ กลุ่มลูกเสอื ๑ กลุม่ มกี รรมการกลุ่มไมเ่ กิน ๔๐ คน และ กองลกู เสือ ๑ กอง มีรองผกู้ ํากับไม่เกิน ๑๐ คน ) ๔. ดาํ เนินการขออนุญาตโดยกรอกลงแบบคําขอ ต่อไปนี้ แบบละ ๓ ชุด ๖๙ คมู่ ือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสอื คณุ ธรรม

๔.๑ ล.ส.๑ ใบคาํ ร้องขอตงั้ กลมุ่ ลูกเสือหรอื กองลูกเสือ ๔.๒ ล.ส.๒ ใบสมัครขอเปน็ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ๔.๓ ทําหนังสือนําของผู้บังคับบัญชา/ผู้ขออนุญาต ส่ง ผ่านหน่วยงานต้นสังกัด เพ่ือขอ อนุญาตต่อผู้มีอํานาจแต่งตั้งแล้วแต่กรณี ถึง เลขาธิการสํานักงานลูกเสือแห่งชาติ หรือ ผู้อํานวยการลูกเสือ จังหวัด สง่ ใบแตง่ ต้ังใหเ้ ปน็ เจา้ หน้าทีล่ ูกเสอื (ลส. ๑๓) ตาํ แหนง่ ผกู้ ํากับ หรือรองผู้กาํ กบั มาใหโ้ รงเรยี น ๕. เมือ่ ได้รบั อนมุ ัตใิ ห้ต้งั กองได้แล้ว ให้ทําพิธีเข้าประจํากองและจัดกิจกรรม การเรียนการสอน ตามปกติ อย่างต่อเนื่อง (โรงเรียนจะได้รับ ลส. ๑๑ หรือ ลส. ๑๒ ให้ต้ังกลุ่ม หรือกองลูกเสือ จากสํานักงาน ลูกเสือแห่งชาติ หรอื สาํ นกั งานคณะกรรมการลกู เสอื จงั หวดั ) กาํ หนดเกณฑ์การตั้งหนว่ ยลูกเสือคุณธรรมในสถานศกึ ษา ๑. สถานศึกษาต้องมีลูกเสือท่ีผ่านการฝึกอบรม หลักสูตรลูกเสือคุณธรรม อย่างน้อย ๒ หมู่ ๆ ละ ๔ – ๘ คน ๒. การผ่านเกณฑใ์ ห้ไดร้ ับเคร่อื งหมายลกู เสือคุณธรรม ๒.๑ ต้องผา่ นการอบรมหลกั สูตรลกู เสอื คุณธรรม ๓ วนั ๒ คนื ๒.๒ ต้องผ่านการทดสอบความรู้ด้านคุณธรรมทุกด้าน ตามโครงสร้างหลักสูตรลูกเสือ คุณธรรม จากคณะกรรมการ ๒.๓ ต้องผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์เรื่องคุณธรรมร่วมกับ สถานศึกษา ครอบครวั และชุมชน หรือมสี ว่ นรว่ มกจิ กรรมสาธารณประโยชน์ อย่างน้อย ๓ กิจกรรม ๒.๔ ผ้บู งั คับบญั ชาลกู เสือคณุ ธรรมรับรองผลการปฏบิ ตั ิงาน ๓. ตอ้ งมีผูบ้ ังคบั บัญชาลกู เสือหนว่ ยลกู เสอื คุณธรรม ในโรงเรยี นอยา่ งนอ้ ย ๑ คน ๔. ต้องมคี วามเลอ่ื มใสในบทบาทหนา้ ทีข่ องลกู เสือคณุ ธรรม ๕. เคร่อื งหมายลกู เสอื คุณธรรมตอ้ งได้การรบั รองจากสํานักงานลกู เสือแหง่ ชาติ ๗๐ คูม่ ือการฝกึ อบรมหลกั สตู รลูกเสือคณุ ธรรม

ภาคผนวก ๗๑ ค่มู อื การฝึกอบรมหลกั สตู รลกู เสือคณุ ธรรม

คณุ ธรรม ๘ ประการ ๗๒ คูม่ ือการฝกึ อบรมหลกั สตู รลูกเสอื คุณธรรม

๗๓ คู่มอื การฝกึ อบรมหลกั สูตรลูกเสอื คณุ ธรรม

๗๔ คู่มอื การฝกึ อบรมหลกั สูตรลูกเสอื คณุ ธรรม

๗๕ คู่มอื การฝกึ อบรมหลกั สูตรลูกเสอื คณุ ธรรม

๗๖ คู่มอื การฝกึ อบรมหลกั สูตรลูกเสอื คณุ ธรรม

๗๗ คู่มอื การฝกึ อบรมหลกั สูตรลูกเสอื คณุ ธรรม

๗๘ คู่มอื การฝกึ อบรมหลกั สูตรลูกเสอื คณุ ธรรม

๗๙ คู่มอื การฝกึ อบรมหลกั สูตรลูกเสอื คณุ ธรรม

๘๐ คู่มอื การฝกึ อบรมหลกั สูตรลูกเสอื คณุ ธรรม

วนั สําคญั ของไทย ๘๑ คู่มอื การฝกึ อบรมหลกั สตู รลูกเสอื คุณธรรม

วันคล้ายวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ ( ๑ กรกฎาคม ) เพลงวชิราวุธรําลึก วชิราวุธพระมงกุฎเกลา้ เจ้าประชา ก่อกําเนดิ ลกู เสือมาข้าเลือ่ มใส พวกเราลกู เสอื เชือ้ ชาตไิ ทย เทดิ เกียรติพระองค์ไวด้ ้วยภกั ดี ลูกเสอื รําลกึ นกึ พระคุณเทิดบชู า ปฏญิ าณร์ กั กษตั รยิ ์ ชาติ ศาสนศ์ รี มาเถิดลกู เสือสรา้ งความดี เพือ่ ศกั ด์ศิ รีลกู เสอื ไทยดังใจปอง เพลงมหาธีรราช เหล่าลูกเสือของธีรราช ทะนงองอาจสืบชาตเิ ชอ้ื พงศพ์ ันธุ์ สมัครสมานโดยมสี ามคั คมี ั่น พวกเราจะรกั รวมกนั จะผกู สัมพนั ธต์ ลอดกาล มจี รรยารกั ษาชือ่ สร้างเกยี รตริ ะบือเลือ่ งลือต่อไปชา้ นาน รา่ เรงิ แจ่มใสใฝ่ใจรักใหย้ นื นาน พวกเราลว้ นชน่ื บานเพราะกจิ การลกู เสอื ไทย ๘๒ คู่มือการฝึกอบรมหลักสตู รลูกเสือคณุ ธรรม

ประวตั ิของลอรด์ เบเดน โพเอลล์ ลอร์ด เบเดน โพเอลล์ มีชื่อเต็มว่า โรเบิร์ต สตีเฟนสัน สไมธ์ เบเดน โพเอลล์ (Robert Stephenson Smyth Baden Powell ) ชื่อย่อ บี.พี. (B. P.) เกิดที่กรุงลอนดอน ประเทศ อังกฤษ เมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๐๐ บ.ี พ.ี และ โอลาฟ เซ็นต์ แคลร์ โซมส์ บี.พี. มีนิสัยร่าเริงเป็นคนช่างสังเกต มีความรอบรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ สามารถเข้ากับทุกคนได้เป็น อย่างดี จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบก และรัฐบาลได้ส่งไปเรียนเพิ่มเติมที่แซนด์เฮิร์ท ซึ่งเป็น โรงเรียนนายร้อยของอังกฤษอีก ๒ ปี ใน พ.ศ. ๒๔๙๑ ถูกส่งไปรับราชการที่ ประเทศอินเดีย ต่อมาได้ถูก ส่งไปทําสงครามปราบปรามพวกก่อความไม่สงบในประเทศต่าง ๆ ท่ีอยู่ในเครือจักรภพอังกฤษ ซึ่งมีภูมิ ประเทศเตม็ ไปดว้ ยภเู ขา ป่าไม้ ทําให้มคี วามชาํ นาญในวชิ าป่าเป็นอยา่ งดี รวมท้งั จากแอฟรกิ า จากประสบการณ์ที่สะสมไว้ บี.พี. ได้แต่งหนังสือคู่มือการฝึกอบรมลูกเสือขึ้นมาเล่มหนึ่ง มีชื่อว่า Scouting For Boys และ คาํ ว่า Scout จึงใช้เปน็ คาํ เรียก ผูท้ ่เี ป็น ลกู เสือ ซง่ึ มคี วามหมายมาจาก S ยอ่ มาจาก Sincerity แปลวา่ ความจรงิ ใจ C ยอ่ มาจาก Courtesy แปลว่า ความสุภาพอ่อนน้อม O ย่อมาจาก Obedience แปลวา่ การเชื่อฟงั U ย่อมาจาก Unity แปลวา่ ความเปน็ ใจเดียวกัน T ยอ่ มาจาก Thrifty แปลวา่ ความประหยัด และในปีนี้เอง ได้มีการจัดตั้งกองลูกเสือขึ้นเป็นกองแรกในประเทศอังกฤษ รวมทั้งเครือจักรภพ จน ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๔๕๒ พระเจา้ เอด็ เวริ ด์ ท่ี ๑ ทรงรับอปุ ถมั ภภ์ ก ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ตั้งกองลูกเสือขึ้น เปน็ กลมุ่ ประเทศท่ี ๒ และพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยู่หัว ไดจ้ ัดตั้งข้ึนในประเทศไทยเป็นประเทศที่ ๓ ของโลก ๘๓ คมู่ อื การฝึกอบรมหลักสตู รลกู เสือคุณธรรม

การตั้งกองลูกเสือในเมืองไทย กองเสือป่า พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยูห่ วั รัชกาลท่ี ๖ ได้มพี ระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้จัดต้ัง กองลกู เสอื ป่าขึ้น ในวันท่ี ๑ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๕๔ ให้ข้าราชการพลเรือนเข้ารับการฝึกอบรม โดยมุ่งเน้น ทางด้านจิตใจใหเ้ ป็นผทู้ ม่ี ีความรกั ชาติ มมี นุษยสัมพันธ์ และความเสยี สละ ต่อมาเม่ือกิจการเสือป่าเจริญก้าวหน้าม่ันคงแล้ว พระองค์มีพระราชดําริว่า บุตรของเสือป่าก็ควรจะ ได้รับการฝึกอบรมให้เป็นพลเมืองดีต้ังแต่เยาว์วัย ดังนั้นจึงมีพระบรมราชโองการ ณ วันเสาร์ที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๕๔ ใหต้ ั้งกองลูกเสอื ขึน้ เป็นครัง้ แรก ที่โรงเรยี นมหาดเลก็ หลวง (ปัจจุบันคอื โรงเรยี นวชิราวุธ ) เป็นกอง ลูกเสือในพระองคเ์ รียกวา่ กองลกู เสอื กรุงเทพฯ ที่ ๑ หรอื กองลูกเสอื หลวงได้ทําพิธีเข้าประจาํ กอง เม่อื วนั ท่ี ๒ กันยายน พ.ศ.๒๔๕๔ โดยพระราชทานคติพจน์ ใหแ้ ก่คณะลูกเสอื ว่า “เสียชีพอย่าเสียสัตย์” ผู้ท่ีเป็นลูกเสือ ไทยคนแรกคือ นายชพั น์ บญุ นาค พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจา้ อย่หู ัว และนายชพั น์ บญุ นาค ๘๔ คู่มอื การฝึกอบรมหลักสตู รลูกเสอื คุณธรรม

เคร่อื งแบบลกู เสือสมยั กอ่ ต้งั ต่อมาในปีพ.ศ. ๒๔๗๕ คณะลูกเสือไทยได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกสมัชชาลูกเสือโลก ซึ่งเป็นกลุ่มแรก มปี ระเทศตา่ ง ๆ เขา้ ร่วม ๓๑ ประเทศ และถือวา่ เป็นสมาชกิ ผู้รเิ รม่ิ จัดต้งั คณะลูกเสอื โลก อน่ึงพระองค์ได้มีพระราชดําริจะจัดต้ังกองลูกเสือหญิง และจะจัดให้มีงานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ แต่ งานท้ัง ๒ อย่างยังไม่ทันเสร็จสิ้นภารกิจ พระองค์ได้เสด็จสวรรคตเสียก่อน ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๐ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดเกล้า ฯ ให้มีการชุมนุมลูกเสือแห่งชาติข้ึนเป็นคร้ังแรก ใน บริเวณพระราชอุทยานสราญรมย์ จากนั้นจึงได้จัดให้มีการอบรมลูกเสืออีกหลายรุ่น จนกระทั่งปี ๒๔๗๕ เป็นปสี ดุ ทา้ ย ในยคุ กอ่ นเปล่ยี นแปลงการปกครอง พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยูห่ วั รชั กาลที่ ๗ ทรงดํารงตาํ แหนง่ สภานายกสภากรรมการกลาง จดั การลูกเสือแห่งชาติ และพระองคเ์ จ้าธานีนิวัติ ทรงดํารงตําแหน่งอปุ นายกสภา ฯ ปี พ.ศ.๒๔๗๖ จัดตั้งกองลูกเสืออยู่ในสังกัดกรมพลศึกษา มีการประกาศใช้ตราประจําคณะลูกเสือ และกฎลกู เสือ ๑๐ ข้อ มกี ารเปิดอบรมวิชาผู้กํากับลูกเสือ ซึ่งเรียกในทางราชการว่า การฝึก อบรมวิชาพล ศึกษา (ว่าด้วยลูกเสือ ประจําปี พ.ศ.๒๔๗๘ ใช้เวลาอบรม ๑ เดือน และมีการประกาศต้ังกองลูกเสือสมุทร เสนา) ๘๕ คมู่ อื การฝึกอบรมหลกั สตู รลกู เสือคุณธรรม

พ.ศ. ๒๔๗๙ ไดม้ กี ารประกาศ พระราชบญั ญัติกาํ หนดลกั ษณะธงประจํากองของคณะลูกเสอื แห่งชาติ และธงประจาํ กองลูกเสือ พ.ศ.๒๔๘๒ มปี ระกาศใชพ้ ระราชบญั ญัตลิ กู เสือ ใหต้ ัง้ สภากรรมการกลางลกู เสอื แหง่ ชาติ จังหวดั ลูกเสือ อําเภอลูกเสือ และแบง่ ลูกเสือออกเป็น ๒ เหลา่ คือ ลูกเสอื เสนา และลกู เสอื สมุทรเสนา ตน้ ยคุ รัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ภูมิพลอดลุ ยเดช รชั กาลที่ ๙ กจิ การลกู เสือเรมิ่ กลบั มา เจริญก้าวหน้าอกี ครงั้ ในปี พ.ศ. ๒๔๙๐ ได้ยกเลกิ พระราชบญั ญตั ยิ ุวชนแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๔๘๖ แลว้ ตรา พระราชบญั ญัตลิ กู เสือ พ.ศ. ๒๔๙๐ ขึ้นแทน กิจกรรมต่าง ๆ ทค่ี วรปฏบิ ตั ิในวันสถาปนาคณะลกู เสือแห่งชาติ ๑. ทําบุญตักบาตร เพอื่ อุทิศเป็นพระราชกุศลแด่พระองค์ทา่ นผู้ให้กาํ เนดิ ลูกเสอื แหง่ ประเทศไทย ๒. จดั นทิ รรศการ เผยแพรป่ ระวตั ิความเปน็ มาของลูกเสอื และผลงานตา่ ง ๆ ๓. ร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ในวันลูกเสือ เช่น จัดพิธีวันสถาปนาลูกเสือแห่งชาติ ทําบุญ มอบเหรียญ ลูกเสือบําเพ็ญประโยชน์ หรือเหรียญลูกเสือให้ลูกเสือท่ีทําคุณประโยชน์ มีการทบทวนคําปฏิญาณและกฎ ลูกเสือ เดินสวนสนาม หรือนําพวงมาลัยไปถวายบังคมท่ีพระบรมรูป พระบรมราชานุสรณ์ หรือสถานที่ที่ ราชการกาํ หนด ๔. เขา้ ร่วมกจิ กรรมสาธารณประโยชน์ บาํ เพญ็ สาธารณประโยชน์ ๘๖ คู่มือการฝึกอบรมหลกั สูตรลกู เสือคุณธรรม

ถวายราชสดดุ ีวันวชริ าวุธ ๘๗ คมู่ อื การฝกึ อบรมหลักสูตรลูกเสอื คุณธรรม

วันแมแ่ ห่งชาติ ( ๑๒ สงิ หาคม ) แม่รกั ลูกผูกดวงจิตคิดแตล่ ูก แมพ่ ันผกู หว่ งหาอาทรมน่ั แมร่ ักลูกผูกจติ สายสมั พันธ์ ตวั ของฉนั รักการเปน็ แม่เอย พระคุณแม่สูงสุดเปรยี บใดได้ อนั พระคุณแม่ยง่ิ กวา่ มหาสมุทร ทีส่ ่องให้ลกู เดนิ เจริญวัย พระคณุ แม่มากลน้ รักจากใจ ประวตั ิความเปน็ มาของวนั แม่ สภาวัฒนธรรมแห่งชาติได้จัดงานวันแม่ต้ังแต่วันท่ี ๑๕ เมษายน พ.ศ.๒๔๙๓ ซึ่งมีการจัดงานเป็น คร้ังแรกและได้รับความสําเร็จด้วยดี เน่ืองจากประชาชนให้การสนับสนุนมีการจัดพิธีกรรมทางพุทธศาสนา การประกวดคาํ ขวญั วนั แม่ การประกวดแม่แห่งชาติ เพื่อให้เกียรติและตระหนักในความสําคัญของแม่ และ เพอ่ื เพิ่มความสําคัญในวันแม่ให้ย่ิง ๆ ข้ึนไป ด้วยเหตุนี้งานวันแม่จึงเป็นวันแม่ประจําปีของชาติตามประกาศ ของรัฐบาล พณ ฯ จอมพล ป. พิบูลสงคราม แต่โดยทัว่ ไปเรยี กกันว่า “วนั แม่แหง่ ชาติ” ต่อมาในปี ๒๕๑๙ ทางราชการไดเ้ ปลย่ี นใหถ้ อื เอาวันเสด็จพระราชสมภพสมเดจ็ พระนางเจ้า ฯ พระบรมราชนิ นี าถ คือวันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๑๙ เป็นตน้ มาจนถึงปจั จุบัน การปฏบิ ัตดิ ีของลกู ทีม่ ตี อ่ แม่ ๑. ประพฤตติ นเป็นคนดี ๒. ช่วยเหลอื การงานในบา้ น และอน่ื ๆ ทที่ ่านทํา ๓. ยามทา่ นชรา หรือเจบ็ ป่วยตอ้ งช่วยดูแล ๔. เมื่อมีหนา้ ท่กี ารงานเลีย้ งชีพได้ใหต้ อบแทน ๘๘ คูม่ อื การฝึกอบรมหลกั สตู รลูกเสือคณุ ธรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook