Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือคุณธรรม

คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือคุณธรรม

Published by ปริญญา, 2021-11-15 10:37:03

Description: คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือคุณธรรม

Keywords: ลูกเสือ,วิชาพิเศษ,ลูกเสือคุณธรรม

Search

Read the Text Version

คู่มอื การฝกึ อบรม หลักสตู รลกู เสอื คุณธรรม สํานักการลูกเสอื ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สาํ นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ

คาํ นาํ คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือคุณธรรม เป็นแนวทางสําหรับการฝึกอบรมลูกเสือ โดยเน้น การปลูกฝังคุณธรรมพ้ืนฐาน ๘ ประการ (ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี และ มีนํ้าใจ) มีความกตัญญูกตเวที ตลอดจนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตนตามแนวทางปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงและจิตอาสา เพื่อสืบสานศิลปวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามของท้องถ่ิน มีพฤติกรรมในการสร้างสรรค์ รกั ษค์ วามเปน็ ไทย สามารถปรบั ตนให้ดํารงชีวิตอยใู่ นสังคมได้อย่างมีความสุข และมีจิตสาธารณะ ตามนโยบาย ของกระทรวงศึกษาธกิ ารในการเสรมิ สรา้ งทกั ษะการดาํ รงชวี ติ ของลูกเสือ ให้มีคณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ ๓ ด้าน คือ ยึดมัน่ ประชาธิปไตย มีคุณธรรมความเป็นไทย และห่างไกลยาเสพตดิ กระทรวงศึกษาธิการได้กําหนดเป็นนโยบายให้มีโครงการการเสริมสร้างคุณธรรมในระบบการศึกษา ไทย เป็นการจัดการศึกษาท่ีมีความสําคัญต่อการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน ซ่ึงกระบวนการจัดการศึกษาที่ สมบูรณ์ เปรียบเสมือนเหรียญสองด้านคือ ด้านหน่ึงเป็นการจัดการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลกั สูตรการศกึ ษาแต่ละช่วงชั้น เป็นการสร้างองค์ความรู้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ มที กั ษะการดาํ รงชวี ิตทีเ่ กดิ จากการฝึกหดั สามารถใช้ความรู้ให้เกิดประโยชน์ ในการพัฒนาตนเองและประกอบอาชพี อกี ด้านหน่งึ คอื เป็นการบ่มเพาะ กล่อมเกลา ปลูกฝังและปลุกจิตสํานึก เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม ชุมชน และส่ิงแวดล้อม เกิด ความตระหนักในบทบาทหน้าที่ขึ้นในจิตใจ เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถดํารงตนอยู่ในสังคมร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่าง มีความสุข สถานศึกษาทุกระดับ ทุกสังกัด และหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีหน้าท่ีส่งเสริมสนับสนุนและร่วมจัด การศึกษา จงึ มสี ่วนสาํ คญั ในการจัดการเรยี นการสอน และจัดกิจกรรมที่จะส่งเสริมสนับสนุน และพัฒนาผู้เรียน อย่างเหมาะสม โดยการประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วน จัดกิจกรรมท่ีมุ่งเน้นภารกิจ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านประชาธิปไตย (Democracy) ด้านคุณธรรมจริยธรรม (Decency) และด้านต้านภัยจากยาเสพติด (Drug - Free) ซ่ึงจะเป็นแผนแม่บทในการศึกษาของไทย โดยมอบให้แต่ละหน่วยงาน และสถาบันการศึกษาพิจารณา และทบทวนส่ิงที่ทําอยู่แล้วว่ามีอะไร และมีสิ่งใหม่ที่จะเสริมเติมเต็ม โดยดึงเอาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาเป็น เครือข่าย จึงเป็นสง่ิ จาํ เปน็ อยา่ งยิง่ ทีต่ อ้ งเร่งปลกู ฝงั คณุ ธรรมใหก้ ับคนในชาติ โดยเร่ิมตั้งแต่เดก็ การลูกเสือเป็นขบวนการทางการศึกษา ที่มุ่งพัฒนาเยาวชนให้เป็นพลเมืองดี มีคุณภาพ การศึกษา ด้วยวิธีการของลูกเสือ จะช่วยให้เยาวชนมีคุณสมบัติตามที่สังคมต้องการ เช่น มีลักษณะของผู้นําที่ดี เป็นผู้มี ประชาธิปไตย มีคุณธรรม จริยธรรม มีบุคลิกภาพและลักษณะนิสัย ที่เหมาะสมกับความต้องการของสังคม กระบวนการและวิธีการของลูกเสือท่ีเด็กได้รับ เป็นกระบวนการทางธรรมชาติ ที่สอดคล้องกับหลักการศึกษา และตรงกับความต้องการของเด็ก คือการเรียนปนเล่น การศึกษาด้วยการกระทํา และการศึกษาเพ่ือจัด ประสบการณ์ซ่ึงเป็นคุณลักษณะพิเศษ กิจกรรมลูกเสือควรเป็นเคร่ืองมือสําคัญย่ิงในการสร้าง ความเจริญก้าวหน้า การลูกเสือไม่ใช่การปฏิวัติทางการศึกษา การลูกเสือเป็นเพียงคําแนะนํา เป็นการช่วย ศกึ ษาในทางปฏิบตั ิ เพื่อใหม้ คี วามสอดคล้องกบั เป้าหมายทตี่ ้องการ จากผลการวิจัย “เร่ือง การศึกษาความคิดเห็นของผู้บังคับบัญชาลูกเสือต่อการจัดตั้งหน่วยลูกเสือ ประชาธิปไตย หน่วยลูกเสือคุณธรรม และหน่วยลูกเสือต้านภัยยาเสพติดในสถานศึกษา” ปีพุทธศักราช ๒๕๕๓ โดยการสุ่มตัวอย่างจากผู้อํานวยการลูกเสือโรงเรียน และผู้กํากับลูกเสือในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ที่จัดหลักสูตรกิจกรรมลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ จํานวน 2,675 โรงเรียน ได้กลุ่มตัวอย่าง จํานวน 353 โรงเรียน จึงแยกกลมุ่ ตัวอยา่ งเปน็ กลุ่มบคุ คล ได้แก่ ผอู้ ํานวยการลกู เสือโรงเรยี น ผ้กู าํ กบั ลูกเสอื ก

โรงเรียนในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จากเขตตรวจราชการท่ัวประเทศ มีความ เห็นด้วยเก่ียวกับการจัดตั้งหน่วยลูกเสือประชาธิปไตย หน่วยลูกเสือคุณธรรม และหน่วยลูกเสือต้านภัยยาเสพติดใน สถานศกึ ษา อยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๕ กระทรวงศึกษาธิการขอขอบคุณคณะทํางานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่ได้ให้ความร่วมมือ สนับสนุนด้านข้อมูล และร่วมดําเนินการจัดทําคู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือคุณธรรม จนสําเร็จ เรียบร้อยเป็นอย่างดี หวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือคุณธรรม จะเป็นประโยชน์ แก่หน่วยงาน สถานศึกษา และผู้บังคับบัญชา เพ่ือใช้เป็นแนวทางการฝึกอบรมลูกเสือที่มีคุณภาพ มคี ุณลักษณะทพี่ งึ ประสงคข์ องชุมชน สงั คม และประเทศชาติสืบไป (นายนวิ ตั ร นาคะเวช) ประธานคณะกรรมการจดั ทาํ หลักสตู รลกู เสอื คุณธรรม ข

คาํ ชีแ้ จง คู่มือฝึกอบรมลูกเสือหลักสูตรคุณธรรมฉบับน้ีจัดทําข้ึน ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือ เสริมสร้างทักษะการดํารงชีวิตของผู้เรียนให้มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ๓ ด้าน คือ ยึดมั่นประชาธิปไตย มีคุณธรรมความเป็นไทย และห่างไกลยาเสพติด โดยแบ่งเป็น ๓ หลักสูตร คือ หลักสูตรลูกเสือ ประชาธปิ ไตย หลักสูตรลูกเสือคุณธรรม และหลักสูตรลูกเสือต้านภัยยาเสพติด คู่มือฝึกอบรมลูกเสือหลักสูตร คุณธรรม ประกอบด้วย ๓ สว่ น คอื สว่ นที่ ๑ โครงสรา้ งหลกั สตู ร ประกอบดว้ ย วตั ถุประสงค์ มาตรฐานผู้ผ่านการฝกึ อบรม คณุ สมบตั ิผู้เข้ารบั การฝึกอบรม ระยะเวลาในการฝึกอบรม คาํ อธบิ ายกจิ กรรม กจิ กรรม / รายวชิ า วิธกี าร ฝกึ อบรม การประเมนิ ผล เกณฑก์ ารผา่ นหลกั สูตร ตารางการฝกึ อบรม และกาํ หนดการฝกึ อบรม สว่ นที่ ๒ กิจกรรม / รายวชิ าและเนอ้ื หาสาระ ประกอบด้วย รายละเอียดเน้ือหาแต่ละวิชาใน หลกั สตู รทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง พรอ้ มทง้ั แนวทางการจดั กจิ กรรมและการประเมินผลแตล่ ะวชิ า ส่วนที่ ๓ กิจกรรมเสนอแนะ ประกอบด้วย การดําเนินการเพ่ือขอรับเครื่องหมายวิชาพิเศษ ลูกเสอื ในหลักสตู รทเ่ี กยี่ วขอ้ ง และแนวทางการจดั ตง้ั หนว่ ยลกู เสือคุณธรรมในสถานศึกษา ในส่วนของภาคผนวก จะเป็นการนําเสนอตวั อยา่ งเนือ้ เพลงเกี่ยวกับคุณธรรม วันสําคัญและการละเล่น ของไทย ให้เป็นอีกหนึ่งทางเลือกสําหรับผู้ดําเนินการฝึกอบรมท่ีจะใช้นําเข้าสู่บทเรียนหรือประกอบการจัด กิจกรรมคณุ ธรรมพ้ืนฐาน ๘ ประการ เพ่อื สง่ เสรมิ ปลูกฝัง และพัฒนาผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมให้มคี ณุ ธรรม ผู้ดําเนินการฝึกอบรมควรศึกษาทําความเข้าใจหลักสูตรและแนวการฝึกอบรมให้ถ่องแท้ เพ่ือให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุดแก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม รวมถึงต้องจัดกิจกรรม การมีส่วนร่วมอย่างน้อย ๓ กิจกรรมกับ สถานศึกษา ครอบครัว และชมุ ชน เพอ่ื ใหผ้ เู้ ข้ารับการฝกึ อบรมได้รับเคร่ืองหมายของหลกั สตู ร ลูกเสือคณุ ธรรม ***************************** ค

ความเป็นมา อนุสนธิจากการที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ ได้มอบนโยบายเมื่อ วันท่ี ๑๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ เร่ือง ยุทธศาสตร์การยกระดับคุณภาพการศึกษาของลูกเสือ ไปสู่องค์กร หลัก สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และผู้อํานวยการสํานักบริหารงาน คณะกรรมการการศึกษาเอกชน มีใจความว่า “สืบเน่ืองจากเจตนารมณ์สําคัญของกระทรวงศึกษาธิการ ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานสากล นอกเหนือจากเร่งรัดคุณภาพทางวิชาการและเทคโนโลยี แล้ว สิ่งสําคัญประการหน่ึงก็คือการพัฒนา ส่งเสริมทักษะชีวิตและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของนักเรียน กระทรวงศึกษาธิการ โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ พิจารณาเห็นว่า “กิจกรรม ลูกเสือ” เป็นกิจกรรมอันเหมาะสมที่จะช่วยให้นักเรียนหรือเยาวชนมีระเบียบวินัย มีความซ่ือสัตย์สุจริต และมี เกยี รติเชื่อถือได้ ดังพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่ีทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ตั้งกองลูกเสือข้ึน เพราะทรงหวังประโยชน์เพื่อจะฝึกหัดเยาวชนเป็นผู้ประพฤติ และเป็นพลเมืองดีของชาติ บ้านเมอื งในอนาคต ในปัจจุบัน บทบาทการจัดกิจกรรมลูกเสือลดน้อยลง ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ของคณะลูกเสือแห่งชาติ อยา่ งแท้จรงิ กระทรวงศกึ ษาธิการ จึงขอความร่วมมือมายังหน่วยงานของท่าน เพ่ือช่วยพัฒนาและส่งเสริมวินัย ลูกเสือด้วยกระบวนการลูกเสือในสถานศึกษาที่เก่ียวข้อง เพ่ือถือเป็นโอกาสสําคัญเนื่องจากในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ เปน็ ปีเฉลิมพระเกยี รติ ๘๔ พรรษา ประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ และฉลอง ๑๐๐ ปี การลูกเสือไทย โดยขอ ความร่วมมอื ดงั น้ี ๑) ให้สถานศึกษาในระบบและนอกระบบดําเนินการจัดตั้งกลุ่ม/กองลูกเสือให้ถูกต้องตาม ขอ้ บงั คบั คณะลูกเสือแหง่ ชาติ ๒) ให้สถานศึกษาดําเนินการแต่งตั้งผู้บังคับบัญชาลูกเสือให้เป็นไปตามข้อบังคับคณะลูกเสือ แหง่ ชาติ พรอ้ มทง้ั สนับสนุนและส่งเสริมให้ผู้บังคับบัญชาลูกเสือมีวุฒิทางลูกเสือ เพ่ือเป็น การเพ่ิมพูนความรู้ ทักษะทางลูกเสือ และการมีส่วนร่วมในการพัฒนากิจกรรมลูกเสือให้ เจริญกา้ วหน้า ๓) มอบสํานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาและหน่วยงานที่เก่ียวข้องกําหนดแผนพัฒนากจิ การ ลูกเสือในเขตท่ีรับผิดชอบ โดยให้สถานศึกษาท้ังในระบบและนอกระบบจัดกิจกรรม ลูกเสือตามหลักสูตรของข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ และส่งเสริมให้มีหน่วยลูกเสือ คุณธรรม หน่วยลูกเสือประชาธิปไตย และหน่วยลูกเสือต้านภัยยาเสพติด ขึ้นใน สถานศกึ ษาท้งั ในระบบและนอกระบบ ๔) มอบสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สํานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สํานักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และสํานักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริม การศึกษาเอกชน เป็นหน่วยงานที่กําหนดนโยบาย วางแผนพัฒนา ดําเนินงาน กํากับ ติดตาม และส่งเสริมให้สถานศึกษาท่ีเก่ียวข้องจัดกิจกรรมลูกเสือให้เป็นรูปธรรมอย่าง จริงจัง นอกจากน้ัน กระทรวงศึกษาธิการ กําหนดนโยบายขับเคล่ือนการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง มีเป้าหมาย คือ คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ เพื่อสร้างเด็กให้เป็นคนเก่ง คนดี มีความสุข มีความสามารถ สนับสนุนการแข่งขันของประเทศ และอยู่ร่วมกันในสังคมโลกได้อย่างยั่งยืนบนพื้นฐานของ ง

ความเป็นไทย โดยเฉพาะอย่างย่ิงการส่งเสริมการศึกษาเพ่ือสร้างความเป็นพลเมือง (Civic Education) โดย บูรณาการกับวิชาการลูกเสือไทยเพ่ือปรับปรุงหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การประเมินผล และการจัด กจิ กรรม” ดังน้ัน เพ่ือให้การขับเคล่ือนนโยบายดังกล่าวบังเกิดผลเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะการส่งเสริมทักษะชีวิต ของผู้เรียนให้มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ๓ ด้าน คือ ด้านประชาธิปไตย มีคุณธรรมความเป็นไทย และห่างไกล ยาเสพติด โดยมุ่งเน้นให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียน ใช้กระบวนการศึกษาเพื่อสร้าง ความเป็นพลเมือง โดยเฉพาะกลุ่มลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดย สํานักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน และสํานักกิจการพิเศษ ได้รับมอบหมายให้เป็นหน่วย ประสานงานกับองค์กรหลัก สถานศึกษา และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง โดยความร่วมมือของสํานักงานลูกเสือ แห่งชาติ ในการจัดทําหลักสูตรและคู่มือฝึกอบรมลูกเสือตามหลักสูตร ทั้ง ๓ ด้าน คือ หลักสูตรลูกเสือ ประชาธิปไตย หลักสูตรลูกเสือคุณธรรม และหลักสูตรลูกเสือต้านภัยยาเสพติด เพื่อให้สถานศึกษา ผู้บังคับบัญชา ตลอดจนผู้สนใจ ใช้เป็นแนวทางการฝึกอบรมลูกเสือทุกระดับ เพ่ือให้ได้ลูกเสือที่มีคุณภาพ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามนโยบายท้ัง ๓ ด้าน คือ ยึดมั่นประชาธิปไตย มีคุณธรรม และห่างไกล ยาเสพติด โดยผู้ผ่านการฝึกอบรมตามเกณฑ์ท่ีกําหนดสามารถรับวุฒิบัตร สําหรับลูกเสือแต่ละหลักสูตร และ จดั ต้งั หน่วยลกู เสือประชาธิปไตย ลกู เสอื คณุ ธรรม และลกู เสอื ต้านภยั ยาเสพตดิ ในสถานศกึ ษาตอ่ ไป *************************** จ

ขา้ พเจา้ (ช่ือ-สกลุ ) ........................................................................ ผู้เข้ารับการฝึกอบรม หลักสูตรลูกเสือคุณธรรม รุ่นท่ี.............../..................... ขอตั้งปณิธานต่อหน้าส่ิงศักด์ิสิทธิ์ทั้งหลาย และ พระบรมรปู ล้นเกล้ารชั กาลที่ ๖ พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวั วา่ ข้อ ๑ ข้าพเจ้าจะยดึ มน่ั และปฏิบตั ิตามคาํ ปฏญิ าณของลูกเสอื ข้อ ๒ ข้าพเจ้าจะประพฤติตนตามหลักของศาสนาและคุณธรรมพื้นฐาน ๘ ประการ (ได้แก่ ขยัน ประหยัด ซ่ือสัตย์ มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี และมีนํ้าใจ) มีความกตัญญูกตเวที และ ปฏิบัตติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ข้อ ๓ ข้าพเจ้าจะมุ่งม่ันธํารงไว้ซึ่งเกียรติภูมิแห่งลูกเสือ และจะทุ่มเทความรู้ ความสามารถ อุทิศตนให้แก่กิจการท่ีเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะอย่างเต็มกําลัง ตลอดจนรักษาเอกลักษณ์ของชาติและ ความเปน็ ไทยสืบไป …………………………………………….. ( ……………………………………………. ) ฉ

สารบัญ หน้า คํานาํ ก คาํ ชแ้ี จง ค ความเป็นมา ง คาํ ปณิธาน ฉ สารบัญ ช ส่วนที่ ๑ โครงสรา้ งหลกั สูตร ๑ ๒ โครงสร้างหลักสูตรลกู เสอื คุณธรรม ๔ การดาํ เนินงานเพอ่ื ขอรบั เครอื่ งหมายลกู เสือคุณธรรม ๕ วตั ถุประสงค์ของการฝึกอบรม ๕ มาตรฐานผูผ้ า่ นการฝกึ อบรม ๕ คณุ สมบัติผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรม ๕ ระยะเวลาในการฝึกอบรม ๕ คําอธบิ ายหลักสตู ร ๕ กจิ กรรม / รายวชิ า ๖ วิธกี ารฝึกอบรม ๖ การประเมนิ ผล ๖ เกณฑก์ ารผา่ นหลกั สูตร ๖ สือ่ การฝกึ อบรม ๗ เอกสารอ้างอิง/แหลง่ ขอ้ มูล ๘ ตารางการฝึกอบรม ๙ กําหนดการฝึกอบรม ๑๐ ส่วนที่ ๒ กิจกรรม / รายวชิ าและเนอ้ื หาสาระ ๑๑ ลกู เสือกบั การอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งมีความสุขตามวิถคี ุณธรรม ๑๖ ลกู เสือกบั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ๒๕ ลูกเสือกบั การปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓๒ ลกู เสือกับคําปฏญิ าณและกฎของลูกเสือ ๓๙ ลูกเสือกับเอกลักษณ์ของชาตแิ ละความเป็นไทย ๔๖ ลูกเสือกบั การชมุ นุมรอบกองไฟ ๕๕ ลูกเสือกบั การจดั ทาํ โครงการ/โครงงาน ๖๔ ลกู เสือกับการสร้างจิตสํานึก (กรณีศึกษาจากแหล่งเรียนรู้) ๖๘ ส่วนท่ี ๓ กิจกรรมเสนอแนะ ๖๙ แนวทางการจดั ต้งั หน่วยลูกเสอื คณุ ธรรมในสถานศกึ ษา ๗๐ กาํ หนดเกณฑก์ ารต้ังหนว่ ยลูกเสือคณุ ธรรมในสถานศึกษา ช

สารบญั (ต่อ) ภาคผนวก หนา้ คุณธรรม ๘ ประการ ๗๑ วันสําคัญของไทย ๗๒ เพลงประกอบการจดั กจิ กรรม ๘๑ การละเลน่ ของไทย ๙๗ การประดับเครือ่ งหมายลกู เสอื คณุ ธรรม ๑๐๘ สมุดทําความดี ๑๒๑ คณะทาํ งานจัดทาํ คูม่ อื จัดกจิ กรรมลกู เสือคณุ ธรรม ************************************** ซ

ส่วนที่ ๑ โครงสร้างหลกั สตู ร ๑ คู่มือการฝึกอบรมหลกั สตู รลกู เสือคณุ ธรรม

โครงสร้างหลกั สตู รลกู เสอื คณุ ธรรม ลําดบั ช่อื วิชา/กิจกรรม รปู แบบการจดั กิจกรรม เวลา (นาท)ี ๑๒๐ ๑ ลกู เสอื กับการอยู่ร่วมกันอยา่ งมีความสขุ ตาม รปู แบบที่ ๑ การบรรยาย ๑๒๐ วถิ ีคณุ ธรรม รปู แบบที่ ๒ การสาธิต ๖๐ รปู แบบที่ ๓ บทบาทสมมติ ๑๒๐ รูปแบบท่ี ๔ กจิ กรรมกลมุ่ สมั พันธ์ ๑๘๐ ๒ ลูกเสือกบั คุณธรรม/จริยธรรม รปู แบบที่ ๑ กจิ กรรมฐานเรียนรู้ ๑๒๐ ๑๒๐ - คณุ ธรรมพ้นื ฐาน ๘ ประการ ไดแ้ ก่ ขยัน รูปแบบที่ ๒ การศึกษากรณี ๖๐ ๑๘๐ ประหยัด ซ่ือสตั ย์ มีวนิ ัย สภุ าพ สะอาด ตวั อย่าง สามัคคี และมนี ้ําใจ รปู แบบที่ ๓ กจิ กรรมกลมุ่ - ความกตญั ญกู ตเวที การระดมสมอง ๓ ลกู เสือกบั การปฏิบัตติ นตามหลักปรชั ญาของ รูปแบบท่ี ๑ กจิ กรรมบรรยาย เศรษฐกิจพอเพยี ง รปู แบบที่ ๒ การแสดงบทบาท สมมุติ รปู แบบที่ ๓ กจิ กรรมกลมุ่ การระดมสมอง ๔ ลูกเสือกับคาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื รูปแบบที่ ๑ กจิ กรรมฐานเรียนรู้ รปู แบบท่ี ๒ การบรรยาย รปู แบบที่ ๓ กจิ กรรม (ปฏบิ ัต)ิ ๕ ลูกเสอื กับเอกลกั ษณข์ องชาตแิ ละความเปน็ ไทย รูปแบบที่ ๑ กจิ กรรมฐานเรยี นรู้ รปู แบบท่ี ๒ การสอนแบบจ๊ิกซอว์ (Jigsaw) รปู แบบที่ ๓ กจิ กรรมรวมพล คนรกั ษไ์ ทย ๖ ลกู เสอื กบั การชมุ นมุ รอบกองไฟ กจิ กรรมชมุ นมุ รอบกองไฟ ด้านคณุ ธรรม เอกลกั ษณ์ของชาติ และความเปน็ ไทย ๗ ลกู เสือกบั การจดั ทําโครงการ/โครงงาน กจิ กรรมกลมุ่ การระดมสมอง ๘ ภารกิจลูกเสอื คณุ ธรรม กจิ กรรมบําเพ็ญประโยชน์ รอบค่ายทพี่ ัก ๙ ลกู เสือกับการสร้างจิตสํานึก การศึกษาแหลง่ เรียนรู้ ๒ คู่มอื การฝกึ อบรมหลักสตู รลกู เสือคณุ ธรรม

โครงสรา้ งหลกั สูตรลูกเสอื คณุ ธรรม (ตอ่ ) ลาํ ดับ ช่อื วิชา/กิจกรรม รูปแบบการจดั กจิ กรรม เวลา (นาท)ี - ๑๐ คําปณิธานลูกเสอื คณุ ธรรม การกลา่ วคาํ ปณิธานเพื่อให้ คาํ มั่นสัญญา - ๑๑ กจิ กรรมของลกู เสอื คณุ ธรรม ปฏิบัตโิ ครงการ/กิจกรรมเกีย่ วกับ - ตนเอง คุณธรรม อย่างน้อย ๓ กจิ กรรม - เพ่อื น/สถานศึกษา หลังจากการฝึกอบรมแล้ว - ครอบครวั /ชมุ ชน - ๑๒ การขอรับเคร่อื งหมายลกู เสอื คุณธรรม ๑,๐๘๐ รวม หมายเหตุ เวลาสามารถปรบั เปล่ยี นได้ตามความเหมาะสม ๓ คู่มือการฝกึ อบรมหลกั สตู รลกู เสือคณุ ธรรม

การดาํ เนนิ งานเพอ่ื ขอรบั เคร่ืองหมายลูกเสอื คณุ ธรรม แผนภมู ิการดาํ เนนิ งาน หลักสตู รลกู เสือคณุ ธรรม ดําเนินการฝกึ อบรม กจิ กรรมในสถานศึกษา ๑. ลูกเสอื กบั การอยรู่ ว่ มกันอยา่ งมคี วามสขุ ตามวถิ คี ุณธรรม ๒. ลกู เสอื กับคุณธรรม/จริยธรรม ๓. ลูกเสอื กับการปฏิบัตติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๔. ลูกเสือกับคําปฏญิ าณและกฎของลกู เสือ ๕. ลกู เสือกับเอกลักษณ์ของชาตแิ ละความเป็นไทย ๖. ลูกเสอื กบั การชมุ นมุ รอบกองไฟ ๗. ลูกเสือกบั การจดั ทําโครงการ/โครงงาน ๘. ภารกจิ ลูกเสอื คณุ ธรรม (กจิ กรรมบาํ เพญ็ ประโยชน์รอบ คา่ ยทพ่ี ัก) ๙. ลกู เสอื กบั การสร้างจิตสํานกึ (การศึกษาแหลง่ เรียนรู)้ การนาํ หลักคณุ ธรรมไปใช้ เครอื่ งหมายลกู เสือคณุ ธรรม ภายใน ๓ เดอื น ปฏบิ ัติกจิ กรรมอย่างนอ้ ย ๓ กิจกรรม ผา่ น ประเมนิ ผล ไมผ่ า่ น ตนเอง เพ่ือน/สถานศึกษา ครอบครัว/ชมุ ชน ๔ คมู่ ือการฝกึ อบรมหลักสตู รลูกเสือคณุ ธรรม

วัตถปุ ระสงค์ของการฝึกอบรม ๑. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะ เก่ียวกับคุณธรรมพ้ืนฐาน ๘ ประการ ของกระทรวงศึกษาธิการ ได้แก่ ขยัน ประหยัด ซ่ือสัตย์ มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี และมีนํ้าใจ มคี วามกตัญญกู ตเวที และมจี ิตอาสา ๒. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะเก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๓. เพ่อื ให้ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมเห็นคณุ คา่ ของตนเองและผู้อื่น มพี ฤตกิ รรมในทางสร้างสรรค์ และดํารงชีวิต อยู่ในสงั คมได้อย่างมคี วามสุข มาตรฐานผู้ผา่ นการฝกึ อบรม ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรม มีคุณสมบัติท่ีพึงประสงค์ด้านคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสํานึก และเห็น ความสําคัญของเอกลักษณ์ของชาติ และปฏบิ ัตติ นอยู่บนวถิ ชี ีวิตของความเป็นไทย คณุ สมบตั ผิ ้เู ข้ารบั การฝึกอบรม เป็นลกู เสือ เนตรนารี ยุวกาชาด และผบู้ าํ เพ็ญประโยชน์ ระยะเวลาการฝกึ อบรม จํานวน ๓ วนั ๒ คืน คาํ อธบิ ายหลกั สตู ร เป็นการให้ความรู้และฝึกปฏิบัติเก่ียวกับคุณธรรมพื้นฐาน ๘ ประการ (ขยัน ประหยัด ซ่ือสัตย์ มีวินัย สุภาพ สะอาด สามคั คี และมนี ํา้ ใจ) ความกตัญญกู ตเวที จติ อาสา การปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง คาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสือ เอกลักษณ์ของชาติและความเป็นไทย การชุมนุมรอบกองไฟ การจัดทํา โครงการ/โครงงาน ภารกิจลูกเสือคุณธรรม และลูกเสือกับการสร้างจิตสํานึก การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีไทย จัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม เพ่ือให้รู้จักตนเอง รักและเห็นคุณค่าตนเอง และผู้อ่ืน มีพฤติกรรมในทางสร้างสรรค์ รักษ์ความเป็นไทย สามารถปรับตนให้ดํารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่าง มีความสขุ กิจกรรม/รายวิชา ๑. ลูกเสือกับการอยู่ร่วมกนั อย่างมีความสุขตามวถิ ีคณุ ธรรม ๒. ลกู เสอื กบั คณุ ธรรม/จริยธรรม ๓. ลกู เสอื กบั การปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔. ลูกเสือกับคาํ ปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื ๕. ลูกเสือกับเอกลกั ษณข์ องชาติและความเปน็ ไทย ๖. ลกู เสอื กับการชุมนมุ รอบกองไฟ ๗. ลกู เสอื กับการจดั ทาํ โครงการ/โครงงาน ๘. ภารกจิ ลกู เสอื คุณธรรม (กิจกรรมบาํ เพญ็ ประโยชน์รอบคา่ ยทีพ่ กั ) ๙. ลกู เสอื กบั การสร้างจิตสํานกึ (การศกึ ษาแหล่งเรียนรู้) ๕ คู่มอื การฝึกอบรมหลักสตู รลกู เสือคณุ ธรรม

วิธกี ารฝกึ อบรม ๑. การบรรยาย ๒. การสาธิต ๓. การสอนแบบฐานเรียนรู้ ๔. การศกึ ษาดูงาน/ทศั นศึกษา ๕. การศึกษารายกรณี ๖. การสอนแบบจิ๊กซอว์ (Jigsaw) ๗. กจิ กรรมกลมุ่ : การระดมสมอง (Brain Storming) ๘. กิจกรรมกลุ่มสมั พนั ธ์ ๙. กิจกรรมชมุ นุมรอบกองไฟ ๑๐. กิจกรรมรวมพลคนรกั ษไ์ ทย การประเมนิ ผล ประเมินผลจากการเข้ารับการฝึกอบรมและเข้าร่วมกิจกรรม ๑. วธิ กี ารวัดผล : สังเกตพฤติกรรม ประเมินความรู้ ประเมินผลงาน ๒. เคร่อื งมอื วดั ผล : แบบสงั เกตพฤตกิ รรม แบบประเมินความรู้ แบบประเมินผลงาน ๓. เกณฑก์ ารประเมินผล : ผ่านเกณฑร์ ้อยละ ๘๐ เกณฑก์ ารผา่ นหลกั สตู ร ๑. เวลาเข้าร่วมการฝกึ อบรมไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ๒. ผ่านเกณฑ์การประเมินทุกวชิ าไม่ตา่ํ กว่ารอ้ ยละ ๘๐ ๓. ปฏิบัติกิจกรรมของลูกเสือ เพื่อขอรับเครื่องหมายลูกเสือคุณธรรม อย่างน้อย ๓ กิจกรรม หากไม่ผ่าน เกณฑก์ ารประเมนิ ผล ให้ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมอีกครัง้ ภายในระยะเวลา ๓ เดือน สอ่ื การฝึกอบรม ๑. สอื่ โสตทัศนูปกรณ์ ๒. ใบความรู้ ใบงาน ใบกิจกรรม การอภิปรายกลุ่ม การศึกษารายกรณี การแสดงบทบาทสมมติ ๓. แผนภมู ิ รูปภาพ แผน่ ภาพ ท่ีเก่ยี วกับเนือ้ หาคุณธรรม ๔. แบบฟอรม์ และตวั อย่างการเขียนโครงการ ๕. แบบรายงานผลการศกึ ษาดงู าน ๖. กระดาษ A4 กระดาษ Flipchart ๗. อุปกรณ์เครอ่ื งเขยี น ปากกาเคมี สีสาํ หรบั ตกแต่งภาพ ๘. ภาพยนตร์ การ์ตนู นิทาน เก่ียวกบั คณุ ธรรม ๙. เพลง เกม ๑๐. เคร่อื งคอมพวิ เตอรโ์ น้ตบุก๊ ๑๑. วิดที ศั น์ เครอื่ งเลน่ DVD ๑๒. เครอื่ งฉาย LCD ๑๓. เคร่อื งเสยี ง ๖ คู่มือการฝกึ อบรมหลักสูตรลูกเสือคุณธรรม

๑๔. เครอื่ งดนตรี เชน่ กลอง ฉง่ิ ฉาบ กรบั ฆอ้ ง ฯลฯ ๑๕. เครอ่ื งแตง่ กายและอุปกรณป์ ระกอบการแสดง ๑๖. บทขบั เสภา/บทกลอน/บทเพลง ๑๗. ดา้ ยขาว เชือกปา่ น สาํ หรับผกู ข้อมือ ๑๘. เทียนไข ๑๙. กองไฟ/กองไฟจาํ ลอง ๒๐. อุปกรณ์อ่นื ๆ ทีเ่ หมาะสมตามประเพณีนยิ ม เอกสารอา้ งอิง/แหล่งข้อมลู ๑. คู่มือการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ขั้นผู้ช่วยผู้ให้การฝึกอบรมวิชาผู้กํากับลูกเสือ คณะกรรมการลูกเสือ ฝา่ ยพฒั นาบคุ ลากร สํานักงานลูกเสอื แห่งชาติ ๒. นโยบายสถานศึกษา และเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพสถานศึกษา ดา้ นคุณธรรม ๓. บทความของพระเทพคุณาภรณ์ (โสภณ โสภณจิตฺโต ป.ธ.๙) เจ้าอาวาสวัดเทวราชกุญชรวรวิหาร [email protected] (ทมี่ า: หนังสอื พมิ พ์ขา่ วสดรายวัน ฉบบั ท่ี ๖๗๐๘) ๔. รายงานการวจิ ัยและประเมนิ ผลคณุ ธรรม ๘ ประการของผู้เรียน เจตคติ และพฤติกรรม ๕. รายงานสรุปผลการดําเนินงานโครงการคุณธรรมนําความรู้ของสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ ๖. หนงั สอื เก่ียวกบั ลกู เสอื เพลง เกมลกู เสอื ๗. หนงั สอื เร่อื ง พฒั นาคณุ ธรรมและวนิ ยั ของลูกเสือ กระทรวงศึกษาธิการ ๘. หนังสอื หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๙. เอกสารแผนแม่บทการเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๔ สถาบันวิจัยภาษา และ วัฒนธรรมเพือ่ พัฒนาชนบท มหาวทิ ยาลัยมหิดล ๑๐. เอกสาร (อัดสําเนา) เร่ือง เอกลักษณ์ของชาติ “การมีจิตสํานึกความเป็นไทย” สํานักงานเสริมสร้าง เอกลักษณ์ของชาติ สาํ นกั งานปลัดสํานกั นายกรัฐมนตรี ๑๑. เว็บไซต์สาํ นกั งานเสรมิ สรา้ งเอกลกั ษณ์ของชาติ สํานกั งานปลัดสาํ นักนายกรัฐมนตรี www.identity.opm.go.th ๑๒. เวบ็ ไซตส์ าํ นักการลูกเสอื ยุวกาชาด และกิจการนกั เรียน สํานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ www.bureausrs.org ๑๓. เว็บไซต์สาํ นกั กจิ การพเิ ศษ สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ www.skp.moe.go.th ๑๔. เวบ็ ไซตส์ าํ นกั งานลกู เสือแหง่ ชาติ www.scoutthailand.org ๑๕. แหล่งข้อมลู ทาง Internet ๑๖. แหลง่ เรยี นร้ใู นชมุ ชน ๑๗. ห้องสมุดในสถานศกึ ษา และนอกสถานศกึ ษา ๗ คู่มือการฝึกอบรมหลักสตู รลกู เสือคุณธรรม

___________________________________________________________________________ ตารางการฝึกอบรม หล คู่มือการฝึกอบรมหลักสตู รลูกเสอื คณุ ธรรม ๘ เวลา ๐๕.๓๐-๐๙.๐๐ น. ๐๙.๐๐-๑๑.๐๐ น. ๑๑.๐๐- วันท่ี ๑๒.๐๐ น. วนั ท่ี ๑ ๐๗.๓๐- ๐๘.๓๐-๑๐.๐๐ น. ๑๐.๐๐-๑๒.๐๐ น. ของการ ๐๘.๓๐ น. ฝึกอบรม - ปฐมนิเทศ ลกู เสือกบั การอย่รู ว่ มกัน รายงานตัว - พิธีเปดิ การฝกึ อบรม อย่างมีความสขุ ตามวถิ คี ุณธรรม จดั กลมุ่ - พธิ ีถวายราชสดดุ ี - พธิ ีเปดิ รอบเสาธง วันที่ ๒ - กจิ กรรมกายบรหิ าร ลูกเสอื กับเอกลกั ษณ์ของชาตแิ ละความเปน็ ไทย ของการ - รบั ประทานอาหาร ฝกึ อบรม - พิธรี อบเสาธง - เกม/นนั ทนาการ วันที่ ๓ - กจิ กรรมกายบรหิ าร ลกู เสือกบั การจัดทาํ โครงการ/ ภารกจิ ลกู เสือ ของการ - รบั ประทานอาหาร โครงงาน คณุ ธรรม ฝึกอบรม - พิธรี อบเสาธง - เกม/นนั ทนาการ (กจิ กรรมบาํ เพ็ญ - การทดสอบหลังการ ประโยชน์รอบ ค่ายท่พี ัก) ฝึกอบรม หมายเหตุ ๑. ตารางการฝกึ อบรมอาจปรบั เปลย่ี นได้ตามความเหมาะสม ๒. คําวา่ “ลกู เสอื ” หมายรวมถงึ ลกู เสือ เนตรนารี ยุวกาชาด และผูบ้ ําเพญ็ ๓. การนดั หมายกิจกรรมชมุ นุมรอบกองไฟ ใหอ้ ยู่ในดุลยพนิ จิ ของพิธกี รประ ๔. รบั ประทานอาหารว่างและเครื่องดม่ื เวลา ๑๐.๓๐ – ๑๐.๔๕ น. และ ๑ ค่มู ือการฝึกอบร

ลกั สตู รลกู เสอื คณุ ธรรม ๑๒.๐๐- ๑๓.๐๐-๑๕.๐๐น. ๑๕.๐๐- ๑๖.๐๐- ๑๙.๐๐- ๑๓.๐๐ น. ๑๖.๐๐ น. ๑๙.๐๐ น. ๒๑.๐๐ น. ลกู เสือกับการ ปฏิบตั ติ นตาม หลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกิจ พอเพียง รับประทานอาหารกลางวัน ลกู เสอื กับ พัก/รับประทานอาหารเย็น คาํ ปฏญิ าณและ ลูกเสอื กับคุณธรรม/จรยิ ธรรม กฎของลกู เสอื ลกู เสือกบั การสรา้ งจติ สาํ นึก (การศึกษาแหลง่ เรยี นรู)้ ลกู เสอื กบั การชุมนมุ รอบกองไฟ (ดา้ นคณุ ธรรม) - สรปุ อภปิ ราย และประเมนิ ผล เดนิ ทางกลับ - การใหค้ าํ ปณิธานลูกเสอื คณุ ธรรม - พิธีปดิ การฝกึ อบรม - พธิ ปี ดิ รอบเสาธง ญประโยชน์ ะจาํ วนั ๑๔.๓๐ – ๑๔.๔๕ น. ๘ รมหลกั สูตรลกู เสือคุณธรรม



กาํ หนดการฝกึ อบรม หลักสตู รลูกเสอื คุณธรรม ระหว่างวนั ท่ี ….….... เดอื น ……………..…………. พ.ศ. ………… ณ.................................................................................. ------------------------- วนั ท่ี ๑ ของการฝกึ อบรม เวลา ๐๗.๓๐ น. รายงานตัว ๐๘.๓๐ น. ปฐมนิเทศ ๐๙.๐๐ น. พธิ เี ปิดในหอ้ งประชมุ - ประธานจุดธปู เทียน บชู าพระรัตนตรยั และพระบรมรปู รัชกาลท่ี ๖ - ถวายราชสดุดี - กล่าวรายงาน - ประธานกลา่ วปราศรัยเปิดการฝึกอบรม พธิ เี ปิดรอบเสาธง - ชกั ธงข้ึน - สวดมนต์ - สงบนงิ่ - ผูอ้ าํ นวยการฝกึ อบรมกล่าวปราศรยั ๑๐.๐๐ น. ลูกเสือกบั การอย่รู ่วมกนั อย่างมคี วามสขุ ตามวิถคี ณุ ธรรม ๑๒.๐๐ น. รบั ประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ น. ลูกเสอื กับคณุ ธรรม/จริยธรรม ๑๕.๐๐ น. ลกู เสือกบั การปฏบิ ตั ติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๑๖.๐๐ น. ประชมุ คณะวทิ ยากร ๑๘.๐๐ น. ชักธงลง รับประทานอาหารเยน็ ๑๙.๐๐ น. ลูกเสือกับคาํ ปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื ๒๑.๐๐ น. สวดมนต์ – นอน วนั ท่ี ๒ ของการฝึกอบรม เวลา ๐๕.๓๐ น. ตื่นนอน กายบริหาร ภารกจิ สว่ นตวั ๐๗.๐๐ น. รับประทานอาหารเชา้ ๐๘.๐๐ น. พธิ ีรอบเสาธง ๐๙.๐๐ น. ลูกเสอื กับเอกลักษณข์ องชาติและความเปน็ ไทย ๑๒.๐๐ น. รบั ประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ น. ลูกเสอื กบั การสรา้ งจิตสํานึก (การศึกษาแหล่งเรยี นรู)้ ๑๖.๐๐ น. ประชมุ คณะวทิ ยากร ๑๘.๐๐ น. ชักธงลง รับประทานอาหารเย็น ๑๙.๐๐ น. ลกู เสอื กับการชุมนุมรอบกองไฟ (ดา้ นคุณธรรม) ๒๑.๐๐ น. สวดมนต์ – นอน ๙ คู่มือการฝึกอบรมหลกั สูตรลกู เสือคุณธรรม

วนั ที่ ๓ ของการฝกึ อบรม เวลา ๐๕.๓๐ น. ต่ืนนอน กายบริหาร ภารกจิ สว่ นตวั ๐๗.๐๐ น. รับประทานอาหารเชา้ ๐๘.๐๐ น. พธิ รี อบเสาธง ๐๙.๐๐ น. ลูกเสือกับการจัดทาํ โครงการ/โครงงาน ๑๑.๐๐ น. ภารกิจลูกเสอื คุณธรรม (กจิ กรรมบาํ เพญ็ ประโยชน์รอบค่ายท่พี กั ) ๑๒.๐๐ น. รบั ประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ น. - สรุป อภปิ ราย ซักถามปญั หา และประเมนิ ผล - การใหค้ าํ ปณธิ านลกู เสอื คณุ ธรรม ๑๔.๐๐ น. พิธีปดิ การฝกึ อบรม - ผแู้ ทนผ้เู ขา้ รับการฝึกอบรมกลา่ วความรู้สึก - ผูอ้ าํ นวยการฝึกอบรมประกาศผลการฝกึ อบรม - มอบวฒุ ิบัตร - ผ้อู ํานวยการฝึกอบรมกล่าวปราศรยั ปดิ การฝึกอบรม - ทบทวนคาํ ปฏิญาณ พธิ ปี ิดรอบเสาธง - สวดมนต์ สงบน่ิง ชกั ธงลง - รอ้ งเพลงสามคั คชี ุมนุม - จับมอื ลา ๑๕.๐๐ น. เดินทางกลบั -------------------------------------------- หมายเหตุ ๑. ตารางการฝกึ อบรมอาจปรับเปลีย่ นไดต้ ามความเหมาะสม ๒. คําว่า “ลกู เสือ” หมายรวมถงึ ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด และผูบ้ ําเพญ็ ประโยชน์ ๓. การนัดหมายกจิ กรรมชุมนมุ รอบกองไฟ ใหอ้ ย่ใู นดุลยพินจิ ของพิธีกรประจาํ วนั ๔. รับประทานอาหารวา่ งและเครอื่ งดม่ื เวลา ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔๕ น. และ ๑๔.๓๐ - ๑๔.๔๕ น. ๑๐ คู่มือการฝกึ อบรมหลกั สูตรลูกเสือคุณธรรม

ส่วนท่ี ๒ กิจกรรม / รายวชิ าและเนือ้ หาสาระ ๑๑ คู่มือการฝกึ อบรมหลักสตู รลูกเสอื คณุ ธรรม

ช่อื วชิ า ลูกเสือกบั การอย่รู ว่ มกนั อย่างมีความสขุ ชตามวถิ ีคุณธรรม บทเรียนท่ี ๑ เวลา ๑๒๐ นาที ขอบขา่ ยรายวชิ า รปู แบบการจัดกิจกรรมกลมุ่ สมั พันธ์ กจิ กรรม วัตถุประสงค์ ละลายพฤตกิ รรม เพ่อื สรา้ งบรรยากาศในการทาํ งานรว่ มกนั (Ice Break) กระบวนการกลุ่ม เพื่อสร้างกระบวนการทาํ งานรว่ มกันเป็นกลมุ่ (Group Process) การสรา้ งทีมงาน และ เพ่ือสร้างทีมงานให้เกิดการยอมรับซ่ึงกันและกัน การปลุกพลัง ดึงศักยภาพของแต่ การทาํ งานเป็นทีม ละคนท่ีเป็นสมาชิกในทีม เป็นการเตรียมความพร้อมกับการแข่งขัน และทําให้ (Team Building สมาชกิ ในทีมไดม้ ีโอกาสปฏิสัมพนั ธ์กัน and Team Work) การพฒั นาศักยภาพ เพ่ือให้เกิดการยอมรับความแตกต่าง พัฒนาทางด้านศักยภาพ เปิดใจยอมรับซึ่งกัน (Golden chain และกัน เกดิ สัมพันธภาพทด่ี ีต่อเพอ่ื นรว่ มงาน development) จุดหมาย เพ่อื ให้ผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมสามารถสรา้ งความสัมพันธร์ ะหวา่ งกันได้ วัตถุประสงค์ เมื่อจบบทเรียนน้ีแล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถสร้างความสัมพันธ์และอยู่ร่วมกันในค่ายลูกเสือ ไดอ้ ย่างมีความสขุ วธิ กี ารสอน / กจิ กรรม ๑. นําเข้าสู่บทเรียนโดยใช้เพลงที่สนุกสนานต่าง ๆ เพื่อกระตุ้นให้มีความพร้อมที่จะปฏิบัติกิจกรรม ตอ่ ไป ๒. จัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เพ่ือสร้างความคุ้นเคยโดยใช้เพลง เกม การจับกลุ่มสนทนาซักถาม ขอ้ มูลสว่ นตวั ซง่ึ กันและกัน ๓. เพลง เกม ท่ีใช้ควรใหผ้ ู้เขา้ รว่ มกิจกรรมไดเ้ ปล่ียนพฤตกิ รรมดังนี้ - มีการเคลอื่ นไหวอวัยวะของรา่ งกายให้มคี วามสัมพนั ธก์ นั - เนน้ ความสนุกสนานเพลิดเพลิน - มกี ารทํางานรว่ มกันเป็นทีม - มปี ฏิสัมพันธค์ วามเปน็ มติ รไมตรีตอ่ กนั ๔. อภปิ ราย สรุป สง่ิ ทไ่ี ดจ้ ากการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่ สมั พันธ์ ๑๒ คู่มอื การฝกึ อบรมหลกั สตู รลูกเสอื คุณธรรม

ส่ือการสอน ๑. เครือ่ งเสยี ง ๒. เครอ่ื งดนตรี เช่น กลอง ฉ่ิง ฉาบ กรบั ฯลฯ ๓. เพลง เกม การประเมินผล ๑. วิธีการวดั ผล : สังเกตพฤติกรรมในการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่มสมั พนั ธ์ ๒. เคร่อื งมอื วดั ผล : แบบสงั เกตพฤติกรรมในการเข้ารว่ มกิจกรรมกล่มุ สัมพันธ์ ๓. เกณฑก์ ารประเมินผล : ผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๘๐ เอกสารอา้ งอิง / แหลง่ ข้อมลู ๑. หนังสอื เพลง เกมลูกเสอื ๒. หนังสือเกยี่ วกับลกู เสือ เนือ้ หาวิชา ๑. กลุ่มสัมพันธ์ ๑๓ คู่มอื การฝึกอบรมหลกั สตู รลกู เสือคุณธรรม

ใบความรทู้ ี่ ๑ เร่อื ง กลมุ่ สัมพันธ์ ****** กิจกรรมที่ ๑ ใครชอื่ อะไร อปุ กรณ์ รายช่ือสมาชกิ ทกุ คน กระบวนการ ๑. วิทยากรอ่านรายช่ือสมาชิกและให้ยืนข้ึนแสดงตัวทีละคน จนหมดทุกคน แล้วให้ปิดป้ายชื่อท่ีตั้ง บนโต๊ะ (ถ้ามี) ๒. วทิ ยากรเชิญสมาชกิ หมายเลข ๑ เอ่ยชื่อสมาชิก ๑ คน และผู้ทไ่ี ดร้ ับการเรยี กชื่อ ยนื แสดงตวั อกี ครง้ั ๓. สมาชิกท่ีได้รับการเรียกช่ือก็จะเรียกชื่อคนต่อไป ดําเนินเช่นน้ีต่อไปเร่ือย ๆ โดยไม่มีการซ้ําคน วิทยากรจะคอยขดี หมายเลขบนผงั ทนี่ ั่งออกทีละคนจนหมด ๔. ในกรณีทีจ่ าํ ชอื่ ไม่ได้ เรยี กไมถ่ ูก ใหถ้ ามชอื่ บคุ คลน้ันแลว้ แนะนาํ ตัว กจิ กรรมที่ ๒ แจก๊ พอตคนโชคดี อุปกรณ์ สลากชอ่ื สมาชิกใสใ่ นกลอ่ งหรอื กระป๋อง กระบวนการ ๑. วิทยากรชี้แจงให้สมาชิกทราบว่าในประป๋องมีสลากช่ือของสมาชิกทุกคน วิทยากรเริ่มหยิบสลากที่ ๑ คนท่ีหยิบได้ต้องแสดงกิจกรรมอย่างหนงึ่ ให้สมาชกิ ชม เช่น รอ้ งเพลง เล่านิทาน แล้วหยอดเหรียญ ๑ บาท ลงในกระปอ๋ งแล้วสง่ คนตอ่ ไป และปฏิบตั ิเช่นเดียวกับคนที่ ๑ ๒. เมื่อสมาชิกเข้าใจดีแล้ว วิทยากรเร่ิมดําเนินการไปเรื่อย ๆ จํานวนกี่คนก็ได้ตามความเหมาะสม คนสุดท้ายจะได้รับเงินทงั้ หมดที่อยู่ในกระป๋อง กจิ กรรมที่ ๓ ผกู เชือกสมั พันธ์ อุปกรณ์ เชือกฟางยาวประมาณ ๑ ฟตุ จาํ นวนเท่าสมาชิก กระบวนการ ๑. วิทยากรกล่าวนําเก่ียวกับการต้องการทดสอบพลังกลุ่มโดยจะมอบงานให้ทํา ๑ ชิ้น ให้สมาชิก ของกลมุ่ ประมาณวา่ จะใช้เวลาก่นี าทีโดยไม่บอกว่าจะทาํ อะไร ๒. วทิ ยากรแจกเชือกคนละ ๑ เส้น ๓. วิทยากรช้ีแจงกติกาว่าเม่ือเร่ิมจับเวลาให้ทุกคนนําเชือกของตนเองต่อกับเชือกของคนอ่ืนจน กลายเปน็ เส้นเดียวกนั และจะตอ้ งดงึ ไม่หลดุ ๔. วทิ ยากรใหส้ ญั ญาณเร่ิมกิจกรรมพร้อมทงั้ จับเวลา ๕. เม่ือหมดเวลาวิทยากรทดสอบดึงรอยต่อแต่ละเส้นว่าหลุดหรือไม่ ถ้าหลุดลบเวลาตําแหน่งละ ๑ วนิ าที ๖. วิทยากรเปิดโอกาสให้สมาชิกอภิปรายในประเด็นที่ว่า “งานของเราจะเสร็จสิ้นได้อย่างเรียบร้อย และรวดเรว็ เพราะเหตุใด” ๗. วิทยากรให้ข้อคิดเพ่ิมเติมเกี่ยวกับความสามัคคี ปริมาณและคุณภาพการมอบหมายงานท่ีแจ้ง จดุ ประสงคช์ ดั เจน ๑๔ คู่มอื การฝึกอบรมหลกั สตู รลกู เสอื คุณธรรม

กิจกรรมท่ี ๔ ใครเฉยี บ อุปกรณ์ ไมม่ ี กระบวนการ ๑. วิทยากรแบ่งสมาชกิ ออกเป็น ๒ กลมุ่ เท่า ๆ กนั ๒. เชิญสมาชิกออกมาทีละคู่ สลับกันถามปัญหาอะไรเอ่ย อีกฝ่ายจะต้องตอบ เช่น ตัวย่อ ตัวเต็มอะไร อะไรตรงข้ามอะไร สงิ่ นนั้ สีอะไร ฯลฯ ๓. วิทยากรคอยใหค้ ะแนนฝา่ ยไหนไดแ้ ต้มสูงกวา่ กนั ก็จะชนะ ๔. วทิ ยากรเปิดอภปิ รายกิจกรรมนีใ้ ห้แงค่ ดิ อะไร ๕. วทิ ยากรเสริมเนน้ เรื่องความต่ืนตัวอย่เู สมอ การแก้ปญั หาเฉพาะหนา้ ยิ่งฝกึ ย่ิงแกร่ง หมายเหตุ ๑. ตวั อย่างกจิ กรรมรวบรวมจากหนงั สอื ๑๐๑ กิจกรรมประกอบการฝกึ อบรมของอาจารย์อนุกูล เย่ียงพฤกษาวัลย์ ๒. ผดู้ ําเนนิ การกจิ กรรมกลมุ่ สมั พนั ธ์สามารถเลอื กกจิ กรรมทส่ี อดคล้องกบั เน้อื หาวชิ าได้ตาม ความเหมาะสม ๑๕ คู่มือการฝกึ อบรมหลักสูตรลกู เสือคณุ ธรรม

แบบประเมนิ การปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ชื่อวิชา กลุ่มสมั พนั ธ์ ช่ือกลุม่ ............................................................................................................................................... ขอ้ รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ ๔๓๒๑ ๑ มกี ารทาํ งานเป็นทมี ๒ มคี วามกระตือรือร้น --------------------------------- ๓ มปี ฏิสมั พันธ์ความเป็นมิตรไมตรีตอ่ กนั (______________________) รวม ผู้กํากบั ลกู เสอื เกณฑ์การประเมินผล รายการทป่ี ระเมิน ดีมาก (๔) ระดับคุณภาพ / คะแนน ปรบั ปรงุ (๑) ๑. มกี ารทาํ งานเป็นทมี สมาชกิ ทุกคนมสี ว่ น ดี (๓) พอใช้ (๒) สมาชกิ ไม่ให้ความ รว่ ม รว่ มมอื ๓ คนขึ้นไป สมาชกิ ไมใ่ หค้ วาม สมาชกิ ไม่ใหค้ วาม ร่วมมือ ๑ คน ร่วมมือ ๒ คน ๒. มคี วามกระตือรอื รน้ ทุกคนมีความ ขาดความกระตอื รือร้น ขาดความกระตอื รอื รน้ ขาดความกระตอื รอื ร้น กระตอื รอื รน้ ๑ คน ๒ คน ๓ คนขนึ้ ไป ๓. มปี ฏิสมั พนั ธ์ความ ทกุ คนมีปฏสิ มั พนั ธ์ ขาดการมปี ฏสิ มั พันธ์ ขาดการมปี ฏสิ ัมพนั ธ์ ขาดการมีปฏสิ ัมพนั ธ์ เป็นมิตรไมตรีตอ่ กนั ความเป็นมิตรไมตรี ความเป็นมติ รไมตรี ความเปน็ มิตรไมตรี ความเปน็ มติ รไมตรี ต่อกนั ต่อกัน ๑ คน ต่อกัน ๒ คน ตอ่ กัน ๓ คนขนึ้ ไป ๑๖ คู่มอื การฝกึ อบรมหลกั สูตรลกู เสอื คณุ ธรรม

ชอ่ื วิชา ลูกเสือกบั คุณธรรม จริยธรรม บทเรียนท่ี ๒ เวลา ๑๒๐ นาที ขอบขา่ ยรายวชิ า ๑. คุณธรรมพน้ื ฐาน ๘ ประการ ๒. ความกตญั ญกู ตเวที ๓. จิตอาสา ๔. การปฏิบัติตนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง จดุ หมาย เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีคุณธรรม จริยธรรม กตัญญูกตเวที จิตอาสา และปฏิบัติตนตาม หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง วตั ถปุ ระสงค์ เมอ่ื จบบทเรียนนีแ้ ลว้ ผูเ้ ขา้ รบั การฝึกอบรมสามารถ ๑. บอกคุณธรรมพื้นฐาน ๘ ประการ ความกตัญญูกตเวที จิตอาสา และการปฏิบัติตนตามหลัก ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงได้ ๒. ระบุคุณลักษณะเชิงพฤติกรรมของคุณธรรมพ้ืนฐาน ๘ ประการ ความกตัญญูกตเวที จิตอาสา และการปฏบิ ัตติ นตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้ ๓. ปฏิบตั ิตนใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ตนเอง ครอบครวั และสงั คมได้ วิธสี อน / กิจกรรม ๑. นําเข้าสู่บทเรียนโดยการใช้พระบรมราโชวาทที่เกี่ยวข้อง หรือเร่ืองที่เป็นคติ เร่ืองจริง นิทาน / วิดีทัศน์ / เกม / เพลง เช่น เพลงความซ่ือสัตย์ เพลงตรงต่อเวลา เพลงสามัคคี เพลงหน้าท่ีเด็กไทย เพลงงานสิ่งใด เพลงค่านิยม เพลงใครหนอ เพลงอิ่มอุ่น เพลงกฎลูกเสือ ๑๐ ข้อ แล้วแบ่งกลุ่ม ผู้เข้ารับ การฝึกอบรมเปน็ ๑๐ กลมุ่ (๒๕ นาที) ๒. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้ที่ ๑ เร่ือง คุณธรรมพ้ืนฐาน ๘ ประการ ความกตญั ญูกตเวที จิตอาสา และการปฏบิ ัตติ นตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง (๒๕ นาที) ๓. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมระบุคุณลักษณะแต่ละด้านหลังจากศึกษาใบความรู้ ลงในใบงานที่ ๒ (๓๐ นาที) ๔. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมวาดภาพที่เก่ียวกับคุณลักษณะด้านใดด้านหน่ึงเพียงด้านเดียวในกระดาษที่ แจกให้ พรอ้ มตกแตง่ ให้สวยงาม (๓๐ นาท)ี ๕. ให้ทุกกลุ่มจับสลากเพื่อแสดงบทบาทสมมติ พร้อมท้ังจัดหาอุปกรณ์ประกอบการแสดงและ ฝึกซอ้ มตามความเหมาะสม (๓๐ นาที) ๖. ผูเ้ ขา้ รับการฝกึ อบรมแตล่ ะกลุ่มแสดงบทบาทสมมติในประเดน็ ที่ไดร้ ับมอบหมายต่อไปนี้ (กลมุ่ ละ ๑๐ นาที) เรอ่ื งที่ ๑ ความขยัน (สอดคลอ้ งกบั กฎของลกู เสือ ขอ้ ๘) เรอ่ื งท่ี ๒ ความประหยัด (สอดคลอ้ งกบั กฎของลูกเสอื ข้อ ๙) เร่ืองที่ ๓ ความซือ่ สัตย์ (สอดคล้องกบั กฎของลูกเสือ ข้อ ๑) ๑๗ คู่มอื การฝึกอบรมหลกั สตู รลูกเสอื คณุ ธรรม

เร่อื งท่ี ๔ ความมวี นิ ัย (สอดคลอ้ งกบั กฎของลกู เสือ ข้อ ๑๐) เรื่องท่ี ๕ ความสภุ าพ (สอดคลอ้ งกบั กฎของลกู เสือ ขอ้ ๕) เร่อื งที่ ๖ ความสะอาด (สอดคลอ้ งกบั กฎของลกู เสือ ข้อ ๑๐) เรือ่ งที่ ๗ ความสามัคคี (สอดคลอ้ งกับกฎของลกู เสือ ข้อ ๔) เรอ่ื งท่ี ๘ ความมนี ํ้าใจ และจติ อาสา (สอดคล้องกบั กฎของลกู เสือ ข้อ ๓, ๖ และ ๗) เรือ่ งท่ี ๙ ความกตัญญูกตเวที (สอดคลอ้ งกบั กฎของลกู เสือ ขอ้ ๒) หมายเหตุสลากกาํ หนดเฉพาะคุณลักษณะเทา่ นน้ั ๗. หลังจากจบการแสดงแต่ละกลุ่มนําเสนอภาพวาดที่คัดเลือก ๓ ภาพ และข้อมูลท่ีบันทึกกลุ่มละ ๕ นาที (๕๐ นาที) ๘. สรปุ เสนอแนะ และประเมินผล (๑๐ นาที) สื่อการสอน ๑. ใบความรู้ เรอื่ ง คณุ ธรรมพื้นฐาน ๘ ประการ ความกตัญญกู ตเวที จติ อาสา และหลกั การปฏิบตั ิ ตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ๒. ใบงาน เรื่อง คณุ ธรรมพื้นฐาน ๘ ประการ ความกตญั ญกู ตเวที จติ อาสา ๓. เร่อื งเล่าท่เี ป็นคติ / นทิ าน ๔. เพลง ๕. วดิ ที ัศน์ ๖. กระดาษ A4 ๗. สีสาํ หรับตกแตง่ ภาพ การประเมินผล ๑. วธิ กี ารวดั ผล : ประเมนิ การปฏิบตั กิ จิ กรรมกลุ่ม ๒. เคร่ืองมอื วัดผล : แบบประเมินการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม ๓. เกณฑ์การประเมนิ ผล : มีผลการประเมิน ผา่ นเกณฑท์ ีก่ ําหนด เอกสารอ้างอิง / แหล่งขอ้ มลู ๑. หนังสอื เร่อื ง พฒั นาคณุ ธรรมและวนิ ัยของลกู เสอื กระทรวงศึกษาธกิ าร ๒. พระเทพคุณาภรณ์ (โสภณ โสภณจติ โฺ ต ป.ธ.๙) เจา้ อาวาสวัดเทวราชกญุ ชรวรวิหาร watdevaraj@ hotmail.com (ที่มา.....หนังสือพิมพข์ า่ วสดรายวัน ฉบับท่ี ๖๗๐๘) ๓. รายงานสรุปผลการดําเนินงานโครงการคุณธรรมนําความรู้ของสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร ๔. รายงานการวิจัยและประเมินผลคุณธรรม ๘ ประการของผูเ้ รียน เจตคติ และพฤติกรรม ๕. หนังสือเพลง เกม เน้ือหาวิชา ๑. คุณธรรมพน้ื ฐาน ๘ ประการ ความกตญั ญกู ตเวที จติ อาสาและหลกั การปฏิบตั ติ นตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๑๘ คู่มอื การฝึกอบรมหลกั สตู รลกู เสือคณุ ธรรม

ใบความรทู้ ่ี ๒ เรื่อง คุณธรรมพน้ื ฐาน ๘ ประการ ความกตญั ญกู ตเวที จติ อาสา และหลกั การปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ****** คุณธรรมพน้ื ฐาน ๘ ประการ คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงามความดีท่ีบุคคลมีคุณธรรมท่ีกระทรวงศึกษาธิการมุ่งเน้นปลูกฝังนั้น มที ง้ั หมด ๘ ประการ ได้แก่ ๑. ขยัน คือ ความตั้งใจเพียรพยายามทําหน้าท่ีการงานอย่างต่อเน่ือง สม่ําเสมอ อดทน ความขยันต้องปฏบิ ตั ิควบค่กู ับการใชส้ ตปิ ญั ญาแก้ปัญหาจนเกิดผลสาํ เรจ็ คุณลักษณะของผู้ท่ีมีความขยัน คือ ผู้ที่ต้ังใจทําอย่างจริงจังต่อเนื่องในเรื่องท่ีถูกท่ีควรเป็นคน สู้งาน มีความพยายาม ไมท่ อ้ ถอย กล้าเผชญิ อุปสรรค รักงานท่ีทํา ตั้งใจทําหน้าท่ีอย่างจรงิ จงั ๒. ประหยัด คือ การรู้จักเก็บออม ถนอมใช้ทรัพย์สิน ส่ิงของแต่พอควรพอประมาณ ให้เกิด ประโยชนค์ ้มุ ค่า ไม่ฟมุ่ เฟอื ย และฟุ้งเฟ้อ คุณลักษณะของผู้ที่มีความประหยัด คือ ผู้ที่ดําเนินชีวิตความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย รู้จักฐานะ การเงินของตน คิดก่อนใช้ คิดก่อนซ้ือ เก็บออม ถนอมใช้ทรัพย์สินส่ิงของอย่างคุ้มค่า รู้จักทําบัญชีรายรับ - รายจ่ายของตนเองอยูเ่ สมอ ๓. ซ่ือสัตย์ คือ ประพฤติตรง ไม่เอนเอียง ไม่มีเล่ห์เหลี่ยม มีความจริงใจ ปลอดจาก ความรูส้ กึ ลําเอียงหรืออคติ คุณลักษณะของผู้ที่มีความซื่อสัตย์ คือ ผู้ที่มีความประพฤติตรงท้ังต่อหน้าท่ี ต่อวิชาชีพ ตรงตอ่ เวลา ไมใ่ ชเ้ ล่หก์ ลคดโกงทัง้ ทางตรงและทางออ้ ม รบั รู้หน้าทขี่ องตนเองและปฏบิ ตั อิ ย่างเตม็ ที่ถูกตอ้ ง ๔. มีวินัย คือ การยึดม่ันในระเบียบแบบแผน ข้อบังคับและข้อปฏิบัติ ซึ่งมีทั้งวินัยในตนเอง และวนิ ยั ต่อสังคม คุณลักษณะของผู้ท่ีมีวินัย คือ ผู้ที่ปฏิบัติตนในขอบเขต กฎ ระเบียบของสถานศึกษา สถาบนั องค์กร สังคม และประเทศ โดยท่ตี นเองยินดีปฏบิ ตั ิตามอยา่ งเต็มใจและตัง้ ใจ ๕. สุภาพ คอื เรยี บร้อย ออ่ นโยน ละมุนละมอ่ ม มกี ิริยามารยาททีด่ งี าม มีสัมมาคารวะ คุณลักษณะของผู้ที่มีความสุภาพ คือ ผู้ที่อ่อนน้อมถ่อมตนตามสถานภาพและกาลเทศะ ไม่ก้าวร้าว รุนแรง วางอํานาจข่มผู้อ่ืนทั้งโดยวาจาและท่าทาง แต่ในเวลาเดียวกันยังคงมีความม่ันใจในตนเอง เปน็ ผทู้ ี่มมี ารยาท วางตนเหมาะสมตามวัฒนธรรมไทย ๖. สะอาด คือ ปราศจากความมัวหมองท้ังกาย ใจ และสภาพแวดล้อม ความผ่องใสเป็นที่ เจริญตาทําใหเ้ กดิ ความสบายใจแก่ผพู้ บเหน็ คุณลักษณะของผู้ที่มีความสะอาด คือ ผู้รักษาร่างกาย ที่อยู่อาศัย ส่ิงแวดล้อม ถูกต้องตาม สขุ ลักษณะ ฝกึ ฝนจิตใจมใิ หข้ นุ่ มวั จึงมีความแจม่ ใสอยู่เสมอ ๗. สามัคคี คือ ความพร้อมเพรียงกัน ความกลมเกลียวกัน ความปรองดองกัน ร่วมใจกัน ปฏิบัติให้บรรลุผลตามท่ีต้องการ ทํางานอย่างสร้างสรรค์ไม่ทะเลาะวิวาท ไม่เอารัดเอาเปรียบซ่ึงกันและกัน ๑๙ คู่มือการฝกึ อบรมหลกั สูตรลกู เสอื คุณธรรม

มีเหตุผล ยอมรับความแตกต่างหลากหลายทางความคิด ความหลากหลายในเรื่องเชื้อชาติ ในลักษณะนี้ เรียกอีก อย่างว่า ความสมานฉันท์ คณุ ลกั ษณะของผู้ทม่ี ีความสามัคคี คอื ผทู้ ี่เปิดใจกวา้ ง รบั ฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน รู้บทบาท ของตนทั้งในฐานะผนู้ ําและผู้ตามที่ดี มคี วามมงุ่ ม่ันต่อการรวมพลัง ช่วยเหลือเก้ือกูลกันเพ่ือให้การงานสําเร็จลุล่วง แก้ปัญหาและขจัดความขัดแย้งได้ เป็นผู้มีเหตุผล ยอมรับความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม ความคิด ความเช่อื พร้อมท่ีจะปรับตัวเพ่อื อยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสันติ ๘. มนี ้าํ ใจ คอื ความจริงใจทไ่ี มเ่ หน็ แกต่ วั หรอื เรื่องของตัวเอง แต่เหน็ อกเหน็ ใจ เห็นคณุ คา่ ใน เพ่ือนมนุษย์ มีความเอ้ืออาทร เอาใจใส่ให้ความสนใจในความต้องการ ความจําเป็น ความทุกข์สุขของผู้อื่น และพรอ้ มทีจ่ ะให้ความช่วยเหลอื เกอ้ื กูลกันและกัน คุณลักษณะของผู้ท่ีมีน้ําใจ คือ ผู้ให้และผู้อาสาช่วยเหลือสังคม รู้จักแบ่งปัน เสียสละ ความสุขส่วนตน เพื่อทําประโยชน์แก่ผู้อื่น เข้าใจ เห็นใจ ผู้ที่มีความเดือดร้อน อาสาช่วยเหลือสังคมด้วย แรงกาย สตปิ ญั ญา ลงมือปฏบิ ัตกิ ารเพอื่ บรรเทาปัญหา หรือรว่ มสรา้ งสรรค์ส่ิงดีงามให้เกดิ ขึน้ ในชมุ ชน จรยิ ธรรม จริยธรรม ความหมายตามพจนานกุ รมในภาษาไทย จริยธรรม หมายถงึ ธรรมทเ่ี ป็นข้อประพฤติ ศีลธรรมอันดี ตามธรรมเนียมยโุ รป อาจเรียก จริยธรรมวา่ Moral philosophy (หลักจริยธรรม) จริยธรรมแบง่ ไดเ้ ปน็ ๔ ด้านคือ (๑) ความรู้เชงิ จริยธรรม หมายถึง ความรู้ว่าอะไรดอี ะไรชั่วภายในสงั คมของตน แตค่ วามรู้วา่ อะไรดี อะไรช่ัวนีย้ งั เป็นขอ้ สรปุ วา่ คนจะต้องทําตามท่ีตนเองรู้เสมอไปเช่นรวู้ ่าคอรปั ช่นั เป็นส่งิ เลว กไ็ มแ่ นว่ า่ จะไม่ คอรัปช่ัน (๒) ทศั นคตเิ ชงิ จรยิ ธรรม คอื ความร้สู กึ ของบุคคลท่ีมตี ่อสงิ่ ถกู ส่ิงผิดในสงั คมวา่ ชอบหรอื ไมช่ อบ ทศั นคตมิ ีลักษณะจูงใจใหค้ นทําพฤติกรรมตามทัศนคติค่อนข้างมาก (๓) เหตผุ ลเชิงจริยธรรม หมายถึง การใชเ้ หตุผลท่บี คุ คลใชเ้ ลอื กที่จะทํา หรอื ไม่เลอื กทจ่ี ะทาํ อยา่ งใด อยา่ งหน่งึ ตัวอย่างเชน่ ถ้าเดก็ คนจนตอ้ งขโมยเงนิ มาซ้อื ยาใหแ้ มท่ ่เี จ็บป่วยอยู่เด็กจะใหเ้ หตผุ ลว่าเขาทาํ อย่างนนั้ ถูกแล้ว เพราะเขาต้องมคี วามกตัญญู จริยธรรมเรื่องความซ่ือสัตย์ตอ้ งเป็นรองเพราะเขาเปน็ คนจน (๔) พฤติกรรมเชงิ จริยธรรม เปน็ พฤตกิ รรม ทค่ี นแสดงออกมาตามท่ีสงั คมนยิ มช่นื ชอบ หรอื งดเว้นการ แสดงพฤตกิ รรมทฝี่ ่าฝืนกฏเกณฑข์ องสังคม เช่นการใหท้ าน นอกจากน้นั ยงั หมายถงึ พฤติกรรมทแี่ สดงออกใน สภาพการณท์ ี่ยัว่ ยุ เชน่ ถา้ มีคนมาให้สนิ บนขา้ ราชการเขาจะรับหรอื ไม่ ความกตัญญูกตเวที คนดี ย่อมเป็นท่ียกย่องนับถือของคนทั่วไป เพราะอํานาจของความกตัญญูกตเวที ดังคํากล่าว ทว่ี า่ \"ความกตญั ญูกตเวที เปน็ เคร่ืองหมายของคนดี\" กตัญญู หมายถึง บุคคลผู้รู้คุณของคนอื่น กตเวที หมายถึง บุคคลท่ีตอบแทนผู้มีคุณแก่ตน ดังนั้น คําว่า กตัญญูกตเวที จึงหมายถึง บุคคลผู้รู้คุณที่คนอ่ืนกระทําแล้วและทําตอบแทนบุคคลท่ีมีคุณ และสร้างส่ิงท่ีเป็นประโยชน์แก่เรานั้นมีมากมาย ยกตัวอย่างเช่น พ่อแม่ ครูอาจารย์ และพระมหากษัตริย์ เป็นต้น ๒๐ คู่มอื การฝึกอบรมหลักสตู รลกู เสอื คุณธรรม

พ่อแม่ เป็นผู้ให้กําเนิดด้วยกายมนุษย์ ท่านเล้ียงดู ไม่ทอดทิ้ง แม้ประสบความยากลําบากก็ตาม และคอยป้องกันภัยอันตรายต่าง ๆ ให้กับลูกเมื่อมีภัยมา เมื่อลูกเจ็บป่วยไข้ ท่านก็พยายามดูแลและรักษาหา หมอให้ ตามเหตุอันควรท่ีพึงกระทําได้ บางคร้ังท่านก็ทํางานหนักอาบเหงื่อต่างนํ้ายอมอดยอมทน เพื่อหวังให้ ลูกได้เจริญเติบโต ได้รับการศึกษาเล่าเรียนมีความรู้ เฉลียวฉลาดเท่าทันคน ท่านเล้ียงดูลูกด้วยจิตเมตตา มีพรหมวิหาร ๔ ได้แก่ เมตตา ความรักใคร่สนิทสนม กรุณา ความปรานีสงสารในเม่ือมีความทุกข์ยาก เดือดร้อน มุทิตา พลอยยินดีในความสําเร็จของลูกด้วยความจริงใจ และอุเบกขา ความวางเฉย ในเมื่อลูกมี การงานทํา สามารถเลย้ี งตนและครอบครวั ได้ ลูกท่ีดี จึงต้องเลี้ยงท่านตอบแทน ช่วยทําการงานของท่าน รักษาวงศ์สกุลไว้ ประพฤติตนให้เป็น ผู้ควรรับมรดก เม่ือท่านล่วงลับไปแล้ว ควรทําบุญอุทิศส่วนบุญส่วนกุศลไปให้ ดังน้ัน พ่อแม่จึงเป็นผู้มีคุณแก่ ลูกทง้ั หลาย ครูอาจารย์ เป็นผู้ประสิทธ์ิประสาทให้เรามีความรู้ ความสามารถ ประกอบด้วยคุณธรรม จรยิ ธรรม และสามารถนําไปใชเ้ ปน็ เครือ่ งมอื ในการประกอบอาชีพการงาน ครูอาจารย์จึงนับได้ว่า เป็นครูคน ท่สี องรองจากพอ่ แม่ ศิษย์ทด่ี ี จงึ ต้องเช่ือฟงั คาํ สอนของทา่ นและตัง้ ใจศึกษาเลา่ เรียน พระมหากษัตริย์ ทรงเป็นพระประมุขของประเทศ เป็นศูนย์รวม แห่งจิตใจของปวงชนชาวไทย ทรงสละความสุขส่วนพระองค์เพ่ือความสุขของพสกนิกร โดยไม่เลือกช้ันวรรณะ แม้จะอยู่ในถ่ินทุรกันดาร พระองค์จะเสดจ็ ไปบําบัดทกุ ข์ บาํ รุงสุข ช่วยเหลือและให้กาํ ลงั ใจเสมอ ดังน้ัน พระมหากษัตริย์ จึงเป็นผู้มีคุณแก่พสกนิกรท้ังหลาย สมควรที่บุคคลผู้อาศัยอยู่ใต้ร่ม พระบารมตี ้องประพฤตติ นเป็นพลเมืองดี เคารพเชอ่ื ฟังในพระบรมราโชวาท ด้วยเหตุที่พ่อแม่ ครูอาจารย์ และพระมหากษัตริย์ ได้สร้างส่ิงที่เป็นประโยชน์ให้แก่ลูก จึงนับว่า เป็นผู้มีคุณ และสมควรอย่างยิ่งท่ีทุก ๆ คนควรท่ีจะตอบแทนคุณ คือ สร้างส่ิงที่เป็นประโยชน์ให้แก่ท่าน เหล่านัน้ บา้ ง ตามสมควรแกค่ วามสามารถและโอกาสอาํ นวย จติ อาสา \"จิตอาสา\" คือ ผู้ท่ีมีจิตใจท่ีเป็นผู้ให้ เช่น ให้ส่ิงของ ให้เงิน ให้ความช่วยเหลือด้วยกําลังแรงกาย แรงสมอง ซึ่งเป็นการเสียสละ สิ่งท่ีตนเองมี แม้กระท่ังเวลา เพื่อเผื่อแผ่ให้กับส่วนรวม อีกทั้งยังช่วยลด \"อตั ตา\" หรือความเปน็ ตวั เป็นตน ของตนเองลงไดบ้ า้ ง เชน่ การเป็นอาสาสมัคร อาสาสมัคร เกิดจากบุคคลท่ีมีความต้องการช่วยเหลือสังคมส่วนรวม เป็นผู้เอื้อเฟ้ือ เสียสละ เวลา แรงกาย แรงใจ เพอ่ื ชว่ ยเหลือผูอ้ ื่น หรอื สงั คมใหเ้ กิดประโยชน์และความสขุ มากข้ึน การเป็นอาสาสมัคร ทําให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม เป็นส่ิงท่ีควรทําท้ังส้ิน คนท่ีจะเป็นอาสาสมัคร ได้ ไม่จํากัดด้วย วัย การศึกษา เพศ อาชีพ ฐานะ หรือ ข้อจํากัดใด ๆ และมีจิตใจเป็น \"จิตอาสา\" ท่ี อยากจะชว่ ยเหลอื ผอู้ ื่น หรอื สงั คม ยกตัวอย่าง จากเหตุการณ์คลื่นยักษ์สึนามิถาโถมทําคนล้มตายเป็นพันในประเทศไทย ในวันท่ี ๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๗ เป็นเหตุให้คนทั่วโลกเศร้าโศกเสียใจกัน เหตุการณ์ในคร้ังนั้นสร้างความประหลาดใจให้คน ท่ัวโลก นั่นคือ ความงดงามของจิตใจผู้คนทั้งหลาย ท่ีทนไม่ได้กับความทุกข์ยากของเพ่ือนมนุษย์ แต่ละคน พยายามหาทางชว่ ยเหลือกัน ไม่ว่าจะทางไหนที่ทําได้ ตั้งแตก่ ารบรจิ าคทรพั ย์ สงิ่ ของ หรือแม้แต่เอาตัวลงไป เปน็ อาสาสมคั รช่วยเหลือกนั เทา่ ทีจ่ ะทาํ ได้ โดยไมแ่ ยกเชือ้ ชาติเผา่ พนั ธหุ์ รอื ชนชัน้ ๒๑ คู่มอื การฝกึ อบรมหลกั สูตรลกู เสือคณุ ธรรม

การมีอาสาสมัครนับหม่ืนคนหมุนเวียนเปล่ียนกันไปช่วยเหลือผู้ประสบภัยสึนามิ จนเกิดเป็นคล่ืน มวลชน จติ อาสาทํางานตอ่ เนื่องกันมาถึงในปจั จบุ นั และขยายเครือข่ายขยายงานอาสาทาํ ดเี พือ่ สังคมมากขึ้น เ พ่ื อ ร ะ ลึ ก ถึ ง ค ว า ม ดี ง า ม ที่ เ กิ ด ขึ้ น ม า จ า ก ม ว ล ช น ห ล า ก ห ล า ย ต้ั ง แ ต่ วั น น้ั น จึ ง กํ า ห น ด วั น ท่ี ๒๗ ธันวาคม ของทุกปีเป็น “วันจิตอาสา” เพื่อเตือนใจและส่งเสริมให้พวกเราแต่ละคนทําดีกันต่อไป ประโยชนข์ องการมจี ิตอาสา ๑. ทาํ ให้เกดิ ความสขุ ท่ีได้เป็นผใู้ ห้ ๒. ทาํ ให้ผู้ท่ไี ด้รบั ความชว่ ยเหลือพ้นทุกข์ ๓. เปน็ การสร้างขวัญกาํ ลงั ใจใหแ้ กผ่ ู้เดือดรอ้ น ๔. สร้างความประทบั ใจให้แกผ่ ้พู บเห็น ๕. ทาํ ให้เกิดความสมานฉันท์ สามัคคี ๖. ทาํ ใหเ้ กดิ ความภาคภูมใิ จท่ีได้ชว่ ยเหลอื ผ้เู ดือดรอ้ น ๗. ไดร้ บั การยกย่องเชิดชู ๘. เป็นการใช้เวลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ ๒๒ คู่มอื การฝกึ อบรมหลักสูตรลูกเสอื คุณธรรม

ใบงานท่ี ๒ เรือ่ ง คณุ ธรรมพืน้ ฐาน ๘ ประการ จริยธรรม ความกตญั ญกู ตเวที จติ อาสา และหลักการปฏบิ ตั ิตนตาม หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ช่ือกล่มุ ………………………………………………………….………………………...………………….. ****** คําชแี้ จง ใหส้ มาชกิ แต่ละคนดาํ เนินการต่อไปนี้ ๑. ใหผ้ ้รู ับการฝึกอบรมศึกษาเรอื่ งคุณธรรม จรยิ ธรรมจากใบความรทู้ ่ี ๒ (๒๕ นาที) ๒. ให้ผรู้ บั การฝึกอบรมเขียนระบุคุณลักษณะคุณธรรมแต่ละดา้ นหลังจากศกึ ษาใบความรู้ที่ ๒ (๓๐ นาที) ๓. ใหผ้ ู้รับการฝกึ อบรมทุกคนวาดภาพประกอบคณุ ลกั ษณะดา้ นใดดา้ นหนึ่ง (๓๐ นาท)ี ********************************** ๑. คณุ ลักษณะเชงิ พฤตกิ รรมของความขยนั ………………………………………..…………......................... ………………………………………………………………………………………………...…..…………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………...…..…………………………………………….. ตรงกับกฎลกู เสือข้อ..……กลา่ วว่า…………..……………………….…………….………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………...………….......................................... ๒. คณุ ลกั ษณะเชงิ พฤตกิ รรมของความประหยดั ………………..……………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………….….…………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………….…….……………………………………. ตรงกบั กฎลกู เสือข้อ..……กล่าววา่ …………..……………………….……………………….……………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ๓. คณุ ลักษณะเชงิ พฤติกรรมของความซอื่ สตั ย…์ ……………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………….…….………………………………………. …………………………………………………………………………………………………….…….………………………………………. ตรงกบั กฎลกู เสอื ขอ้ ..……กลา่ ววา่ …………..…………………………..…………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………...…………………......................................... ๔. คุณลกั ษณะเชงิ พฤติกรรมของความมีวินยั …………...……………….……………………………………… ………………………………………………………………………………….…………………….………………………………………… …………………………………………………………………………………….………………….………………………………………… ตรงกบั กฎลูกเสอื ข้อ..……กล่าวว่า…………..……………………….…………….…………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………...…........................................ ๕. คุณลกั ษณะเชงิ พฤติกรรมของความสุภาพ………...…………………………...…………………………… …………………………………………………………………………………………….……….………………………………………….. …………………………………………………………………………………………….……….………………………………………….. ตรงกับกฎลูกเสอื ขอ้ ..……กล่าวว่า…………..……………………….……………………….…………………………………. ………………………………………………………………………...……………………………………....................................... ๒๓ คู่มือการฝึกอบรมหลกั สตู รลกู เสือคุณธรรม

๖. คณุ ลกั ษณะเชงิ พฤตกิ รรมของความสะอาด……………………………………………...…………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ตรงกับกฎลูกเสือขอ้ ..……กล่าวว่า…………..……………………….………………………………………………………….. ………………………………………………………………………...……………………………………...................................... ๗. คุณลักษณะเชงิ พฤติกรรมของความสามคั ค…ี ……………………..……………………………………… ………………………………………………………………………………….……………………….……..……………………………. ………………………………………………………………………………………………………...…..………………………………… ตรงกบั กฎลูกเสอื ขอ้ ..……กล่าวว่า…………..……………………….……………………………….………………………… …………………………………………………………………………………………………………...…...................................... ๘. คุณลกั ษณะเชงิ พฤติกรรมของความมีนาํ้ ใจ และจิตอาสา..........…………………………………... ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………… ตรงกบั กฎลูกเสือขอ้ ..……กลา่ วว่า…………..……………………….……………………………….………………………... …………………………………………………………………………………………………………...…..................................... ๙. คณุ ลักษณะเชงิ พฤตกิ รรมของความกตัญญกู ตเวท…ี ………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….... ตรงกบั กฎลกู เสอื ข้อ..……กล่าววา่ …………..……………………….………………………………………………………… ……………………………………………………………………………...………………………………..................................... ๑๐. คุณลกั ษณะเชงิ พฤติกรรมของผู้ท่ีปฏิบัติตนตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง……….. …………………………………………………………………………………………………………..………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………..……………………………….. ตรงกบั กฎลกู เสอื ข้อ..……กล่าวว่า…………..……………………….………….…………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………...………………………………….. ๒๔ คู่มือการฝกึ อบรมหลกั สูตรลูกเสือคณุ ธรรม

แบบประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ช่อื วชิ า คุณธรรมพน้ื ฐาน ๘ ประการ ความกตญั ญกู ตเวที จติ อาสา และหลกั การปฏบิ ตั ติ นตามหลัก ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ชื่อกลุ่ม............................................................................................................................................... คุณลักษณะเชงิ พฤติกรรม ขยัน ประหยดั ซ่ือสตั ย์ มวี นิ ัย สภุ าพ สะอาด สามคั คี มนี าํ้ ใจและจิตอาสา ความกตญั ญู ฯ เศรษฐกิจ ฯ ขอ้ รายการประเมิน ระดบั คุณภาพ ๔๓๒๑ ๑ การตรงต่อเวลา ๒ การมสี ว่ นร่วมของสมาชกิ ๓ ความคิดริเร่มิ สร้างสรรค์ ๔ การสรปุ ความรทู้ ไ่ี ด้รับ รวม --------------------------------- (______________________) ผกู้ าํ กับลกู เสือ เกณฑก์ ารประเมินผล รายการท่ปี ระเมิน ดีมาก (๔) ระดับคุณภาพ / คะแนน ปรับปรงุ (๑) ๑. การตรงต่อเวลา ปฎิบตั ิไมไ่ ด้เลย ๑.การเขา้ ร่วม ดี (๓) พอใช้ (๒) ๒. การมีสว่ นร่วมของ กิจกรรมตามเวลา / สมาชกิ ๓ คนข้ึนไป สมาชกิ ตรงเวลา ปฏบิ ัติได้ ๒ ขอ้ ใน ปฏบิ ตั ไิ ด้ ๑ ขอ้ ใน ไมไ่ ดม้ สี ่วนรว่ ม ๒. ผลงานเสร็จตาม ๓ ขอ้ ๓ ข้อ เวลาทกี่ ําหนด ๓.การนาํ เสนอใชเ้ วลา สมาชิก ๑ คนไม่ได้ สมาชิก ๒ คนไมไ่ ด้ ตามเวลาทีก่ าํ หนด ทุกคนมสี ว่ นรว่ ม มสี ่วนรว่ ม มสี ว่ นร่วม ๓. ความคิดรเิ รมิ่ ๑. ประยุกต์ ปฏิบตั ิได้ ๒ ข้อใน ปฏบิ ตั ิได้ ๑ ข้อใน ปฎบิ ัติไมไ่ ดเ้ ลย สรา้ งสรรค์ การแตง่ กาย ๓ ข้อ ๓ ขอ้ ผิด ๓ ขอ้ ข้นึ ไป ๒. ประยกุ ต์อุปกรณ์ ๔. การสรปุ ความรูท้ ่ี ๓. เรือ่ งแสดงไม่เคย ผดิ ๑ ขอ้ ผิด ๒ ขอ้ ได้รบั ปรากฏมาก่อน ถกู ตอ้ งทกุ ข้อ ๒๕ คู่มือการฝกึ อบรมหลักสตู รลกู เสอื คุณธรรม

ชือ่ วชิ า ลูกเสอื กบั การปฏิบตั ิตนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง บทเรียนที่ ๓ เวลา ๖๐ นาที ขอบขา่ ยรายวชิ า ๑. ส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจในหลกั การเศรษฐกจิ พอเพียง ๒. ส่งเสริมใหร้ ู้จักวิธกี ารและขนั้ ตอนการปฏิบัตสิ วู่ ถิ ีเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๓. ส่งเสริมการนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจาํ วนั จุดหมาย เพ่ือใหผ้ ู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถปฏบิ ัตติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง วตั ถุประสงค์ เม่ือจบบทเรยี นน้แี ลว้ ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมสามารถ ๑. อธบิ ายหลักการ ความหมาย และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได้ ๒. มีความตระหนกั ถึงความสําคญั ของปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๓. สามารถนําปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยกุ ต์ใช้ส่กู ารปฏิบัตไิ ด้ วิธีสอน / กิจกรรม ๑. นําเข้าสู่บทเรียนโดยการใช้พระบรมราโชวาทที่เกี่ยวข้อง หรือเรื่องท่ีเป็นคติ เร่ืองจริง นิทาน / วิดีทัศน์ / เกม / เพลง เช่น เพลงความซื่อสัตย์ เพลงตรงต่อเวลา เพลงสามัคคี แล้วแบ่งกลุ่มผู้เข้ารับ การฝกึ อบรมเป็น ๑๐ กลุม่ ๒. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้ที่ ๓ เร่ือง การปฏิบัติตนตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี ง ๓. ให้ทกุ กลมุ่ ปฏิบตั ิกจิ กรรมตามใบงาน เร่อื ง การปฏบิ ัติตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๔. สรปุ เสนอแนะ และประเมินผล ส่ือการสอน ๑. ใบความรูเ้ รอื่ ง การปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ๒. ใบงานเรอ่ื ง การปฏิบัตติ นตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ๓. เรอื่ งเลา่ ท่เี ป็นคติ / นทิ าน ๔. เพลง ๕. วิดที ศั น์ การประเมินผล ๑. วธิ ีการวดั ผล : ประเมินการปฏบิ ัติกจิ กรรมกลมุ่ ๒. เครอ่ื งมือวัดผล : แบบประเมนิ การปฏิบัติกิจกรรมกลมุ่ ๓. เกณฑก์ ารประเมินผล : มีผลการประเมิน ผา่ นเกณฑท์ ีก่ าํ หนด ๒๖ คู่มอื การฝกึ อบรมหลกั สตู รลกู เสอื คณุ ธรรม

เอกสารอา้ งองิ / แหล่งขอ้ มลู ๑. หนงั สือเพลง เกม ๒. หนงั สือหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๓. ใบความรทู้ ่ี ๓ ๔. ใบงานที่ ๓ เนื้อหาวิชา ๑. การปฏิบตั ิตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๒๗ คู่มือการฝกึ อบรมหลกั สูตรลกู เสอื คุณธรรม

ใบความรทู้ ี่ ๓ เร่ือง การปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี ๙ แห่งราชวงศ์จักรี กรุงรัตนโกสินทร์ ทรงมีความห่วงใยพสกนิกรของพระองค์ในการดํารงชีวิต จึงทรงเน้นย้ําแนวทางการดําเนินชีวิตตามหลักธรรมคําสอน เพ่ือให้ปวงชนชาวไทยได้รอดพ้นจากวิกฤติการณ์ ทางเศรษฐกิจ และสามารถดํารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและย่ังยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ และความเปล่ียนแปลง ต่าง ๆ เป้าหมายของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงก็คือ เพื่อให้เกิดความสมดุลและพร้อมต่อการรองรับ การเปล่ยี นแปลงอย่างรวดเรว็ และกวา้ งขวางท้งั ดา้ นวัตถุ สังคม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอก ได้เป็นอย่างดีนั่นเอง หลักแนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง คือ การพฒั นาท่ตี ง้ั อยู่บนพ้ืนฐานของทางสายกลางและความ ไม่ประมาท โดยคาํ นึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตดั สนิ ใจและการกระทาํ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มีหลกั พจิ ารณา ดงั นี้ แผนภาพแสดงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ๓ หว่ ง ๒ เง่อื นไข ๒๘ คู่มอื การฝกึ อบรมหลกั สูตรลกู เสอื คุณธรรม

ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานคณะอนุกรรมการขับเคล่ือนเศรษฐกิจพอเพียง อธิบายถึง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็นการพัฒนาท่ีต้ังอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ ประมาท โดยคํานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจน การใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทําต่าง ๆ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่มากและไม่น้อยจนเกินไป ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่พอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การใช้หลักเหตุผลในการตัดสินใจ เรื่องต่าง ๆ โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เก่ียวข้อง ตลอดจนผลท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนอย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับต่อผลกระทบท่ีเกิดข้ึนจากการเปลี่ยนแปลงรอบตัว ปจั จยั เหล่านี้จะเกดิ ข้ึนไดน้ ัน้ จะตอ้ งอาศัยความรู้ และคุณธรรมเป็นเงอ่ื นไขพ้นื ฐาน กล่าวคือ เง่ือนไขความรู้ หมายถึง ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังในการดําเนินชีวิต และการประกอบการงาน ส่วนเงื่อนไขคุณธรรม คือ การยึดถือคุณธรรมต่าง ๆ อาทิ ความซื่อสัตย์สุจริต ความอดทน ความเพียร การมุง่ ตอ่ ประโยชนส์ ่วนรวมและการแบ่งปนั ฯลฯ ตลอดเวลาที่ประยุกต์ใชป้ รัชญา ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงได้รบั การเชิดชูเปน็ อย่างสูงจากองค์การสหประชาชาติ โดยนายโคฟี อันนัน ในฐานะเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ได้ทูลเกล้า ฯ ถวายรางวัลความสําเร็จสูงสุดด้าน การพัฒนามนุษย์ แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ และได้มีปาฐกถาถึงปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงว่า เป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ และสามารถเร่ิมได้จากการสร้าง ภูมิคมุ้ กนั ในตนเอง สหู่ มู่บา้ น และสู่เศรษฐกจิ ในวงกวา้ งขนึ้ ในทส่ี ุด คดิ และปฏบิ ตั ติ นอยา่ งไรจงึ จะเรยี กวา่ พอเพยี ง แล้วอยา่ งไรถงึ จะเรียกว่า พอเพียง มีพระราชดํารัสองคห์ นึ่งกลา่ วไว้วา่ “พูดจาก็พอเพียง ปฏิบัติตน ก็พอเพยี ง” คาํ นยิ ามบอกหลักการไว้ว่า ความพอเพียง หมายถงึ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และ การสรา้ งภมู คิ ุม้ กันท่ีดีในตัว จากผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึน จากทั้งภายนอกและภายใน ภายนอกกระทบเข้ามา ภายในก็เปลี่ยนแปลงด้วย จะพอเพียงได้ ต้องคํานึงถึง ๓ หลักการ คือ คิดและทําอะไรอย่างพอประมาณ มีเหตุมีผล และมีภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี ถ้าครบ ๓ หลักการน้ีถึงจะบอกได้ว่าพอเพียง ถ้าไม่ครบก็ไม่พอเพียง และการสร้างความพอเพยี งให้เกิดขึ้นไดต้ ้องใช้ความรู้ควบคูไ่ ปกับคณุ ธรรม ยกตัวอย่าง จะดูหนังสือสอบ หรือเตรียมการสอบอย่างพอเพียงได้อย่างไร กล่าวคือ จะดูหนังสือ อยา่ งพอประมาณกต็ ้องพอดีกับศกั ยภาพของตนเองทีม่ อี ยู่ ประกอบกับเน้ือหาท่ีเรยี นมา มีเหตุมีผล ดูหนังสือ ที่เป็นเร่ืองหลักสอดคล้องกับวิชาท่ีเรียน การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีทําอย่างไร คือดูหนังสือที่เป็นเร่ืองหลัก สอดคล้องกับวิชาทเ่ี รยี น การมภี ูมคิ ุ้มกนั ในตัวท่ดี ีทําอยา่ งไร คือ ดหู นงั สอื ใหส้ อบผ่านไดด้ ว้ ย สุขภาพก็ต้องไม่ ทรุดโทรม ไม่ทะเลาะเบาะแว้งหรือเอาเปรียบเพ่ือนฝูง ไม่คดโกงในการสอบ เพราะฉะน้ันต้องมีความขยัน อดทน ตอ้ งใชค้ ุณธรรมเป็นพ้นื ฐานของความคดิ และการกระทําตลอดเวลา การใช้ชีวิตอย่างไม่พอเพียง แล้วจะเป็นอย่างไร เช่น ใช้จ่ายไม่พอเพียง ดูแลสุขภาพอย่างไร ไมพ่ อเพยี ง บริโภคอย่างไม่พอเพียง ทํางานอยา่ งไม่พอเพียง มากไป น้อยไป หรือนักศึกษาดูหนังสืออย่างไร ไม่พอเพียง การใช้ชีวิต การปฏิบัติตนอย่างไม่พอเพียง น้อยเกินไป มากเกินไป ไม่พอดีพอเหมาะ พอควร กบั ความสามารถของเรา กบั สถานการณส์ ิง่ แวดลอ้ ม มันสง่ ผลกระทบอะไรบ้างให้กับตัวเราเอง ส่งผลกระทบ อะไรบ้างให้กบั คนรอบขา้ ง กระทบกบั สังคม กระทบกบั สิ่งแวดล้อม ส่งผลถึงอนาคตของตนเองและสงั คม ๒๙ คู่มอื การฝึกอบรมหลักสตู รลกู เสอื คุณธรรม

ยกตัวอย่าง การทานข้าวแบบพอเพียงเป็นอย่างไร คือ ให้อ่ิมพอประมาณ เพราะเรารู้ว่า ถ้าอ่ิม มากเกินไป อึดอัด ถ้าอ่ิมน้อยเกินไป ก็ยังหิวอยู่ แต่ว่าอิ่มอย่างเดียว เป็นเรื่องเพียงแค่ปริมาณ ยังไม่พอเพียง ไม่สมดุล ต้องสมดุลด้านคุณภาพด้วย บริโภคส่ิงที่ไม่เป็นประโยชน์กับร่างกาย เช่น ยาเสพติด เหลา้ บุหรตี่ า่ ง ๆ เพราะฉะนน้ั ความพอเพียงในการบริโภค ไม่ใช่เฉพาะปริมาณเท่าน้ัน คุณภาพด้วย ถึงจะ บอกได้ว่า เราใชช้ วี ติ อยา่ งพอเพยี ง การประยุกต์ใช้ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง - โดยพื้นฐานก็คอื การพ่ึงตนเอง เป็นหลักการทําอะไรอย่างเปน็ ข้ันเปน็ ตอน รอบคอบ ระมดั ระวัง - พจิ ารณาถงึ ความพอดี พอเหมาะ พอควร ความสมเหตสุ มผล และการพร้อมรับความเปล่ียนแปลง - การสร้างความสามัคคีใหเ้ กดิ ขน้ึ บนพื้นฐานของความสมดลุ ในแต่ละสัดสว่ นแต่ละระดับ - ครอบคลุมท้ังทางด้านจิตใจ สังคม เทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รวมถึง เศรษฐกิจ การประยกุ ตใ์ ช้สําหรับประชาชนชาวไทย - ไมฟ่ ุ้งเฟอ้ ประหยดั ในทางทถี่ ูกตอ้ ง - ประพฤติชอบและประกอบอาชพี ด้วยความถกู ต้อง สุจริต - ละเลกิ การแกง่ แยง่ เบียดบังผ้อู นื่ - ไมห่ ยุดนงิ่ ท่ีจะหาทางยืนหยดั ได้ด้วยตนเอง - เพมิ่ พูนความดี ลดละความชวั่ ๓๐ คู่มอื การฝกึ อบรมหลกั สูตรลกู เสอื คุณธรรม

ใบงานที่ ๓ เรื่อง การปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ชอ่ื กลุ่ม………………………………………………………….………………………...………………….. ใหห้ มลู่ กู เสอื รว่ มกนั อภิปรายและส่งผแู้ ทนรายงานผลการอภปิ รายตอ่ ที่ประชุม ตามหัวข้อต่อไปนี้ ขอ้ ๑ หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกิจพอเพยี ง ข้อ ๒ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ทเี่ กีย่ วกบั พอประมาณ การมีเหตผุ ล มีภมู คิ ้มุ กันในตวั ทด่ี ี ขอ้ ๓ พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่ท่ที รงปฏิบัติเปน็ แบบอยา่ งเก่ียวกับ การอยอู่ ย่างพอเพียง ๓๑ คู่มอื การฝึกอบรมหลักสตู รลกู เสือคณุ ธรรม

แบบประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ช่ือวชิ า ลูกเสือกบั การปฏบิ ตั ติ นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง แบบประเมนิ การปฏบิ ัตกิ จิ กรรม ชอ่ื กลมุ่ ............................................................................................................................................... ขอ้ รายการประเมิน ระดับคณุ ภาพ ๔๓๒๑ ๑ การตรงตอ่ เวลา ๒ ระบบหมแู่ ละการมีส่วนร่วมของสมาชิก ๓ การสรปุ ความรทู้ ี่ไดร้ บั รวม …………………………………….. (…………………………………….) ผกู้ ํากบั ลกู เสอื เกณฑ์การประเมนิ ผล รายการทปี่ ระเมิน ดมี าก (๔) ระดบั คุณภาพ / คะแนน ปรับปรงุ (๑) ๑. การตรงตอ่ เวลา ปฎิบตั ไิ ม่ไดเ้ ลย ๑. การเข้าร่วมกจิ กรรม ดี (๓) พอใช้ (๒) ๒. ระบบหมแู่ ละการมี ตามเวลา / ตรงเวลา สมาชกิ ๓ คนข้ึนไป สว่ นรว่ มของสมาชิก ๒. ผลงานเสร็จตาม ปฏบิ ัติได้ ๒ ข้อใน ปฏิบัติได้ ๑ ขอ้ ใน ไม่ไดม้ ีสว่ นร่วม เวลาทีก่ ําหนด ๓ ข้อ ๓ ข้อ ๓. การนําเสนอใช้เวลา ตามเวลาที่กําหนด สมาชิก ๑ คนไม่ไดม้ ี สมาชิก ๒ คนไม่ได้มี ทุกคนมีสว่ นรว่ ม ส่วนรว่ ม ส่วนร่วม ๓. การสรุปความรู้ ถกู ตอ้ งทกุ ข้อ ผิด ๑ ขอ้ ผดิ ๒ ข้อ ผดิ ๓ ข้อข้ึนไป ทไี่ ดร้ บั ๓๒ คู่มอื การฝกึ อบรมหลกั สูตรลูกเสือคุณธรรม

ชอ่ื วชิ า ลูกเสอื กบั คําปฏิญาณและกฎของลูกเสอื บทเรียนท่ี ๔ เวลา ๑๒๐ นาที ขอบข่ายรายวิชา ๑. ความหมาย ความสาํ คัญและประโยชน์ของคาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสือสามัญรนุ่ ใหญ่ ๒. แปลความหมายของคําปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ ๓. ทอ่ งคําปฏิญาณและกฎของลูกเสอื สามัญร่นุ ใหญ่ จดุ หมาย เพ่อื ให้ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบีรมได้ดําเนนิ การจัดกิจกรรมท่ีได้นาํ ไปสู่คาํ ปฎิญาณและกฎของลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ ได้ วัตถุประสงค์ เมือ่ จบบทเรียนนีแ้ ลว้ ผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมควรจะมคี วามสามารถ ๑. อธบิ ายความหมาย ความสําคัญและประโยชนข์ องคําปฏิญาณของลูกเสอื สามัญรุ่นใหญไ่ ด้ ๒. ท่องคาํ ปฏญิ าณของลกู เสือสามัญร่นุ ใหญไ่ ด้ถกู ต้อง ๓. ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นตามคําปฏิญาณของลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ได้ ๔. นาํ ความรู้ทไี่ ด้รับไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจําวันได้ วิธีสอน/กิจกรรม ๑. เตรียมความพรอ้ ม ร้องเพลงคําปฏญิ าณ ๒ ให้ลูกเสือ ศึกษาเร่ืองคําปฏิญาณของลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ จากใบความรู้ เรื่อง คําปฏิญาณและ กฎของลูกเสอื และการแสดงรหัส ฝกึ แสดงรหัสและท่องคําปฏิญาณ พร้อมๆ กนั ท้งั หมู่ ๓. ให้ลูกเสอื ศกึ ษา เรอื่ ง การแปลความหมายของคําปฏิญาณจากใบความรู้ ๔. ให้ลูกเสือ แต่ละหมู่ปฏิบัติกิจกรรมตามใบงานเร่ือง ลูกเสือกับคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือ ผู้กํากบั ตรวจผลงานและบนั ทึกผลลงในแบบบนั ทึก สอ่ื การสอน หัวใจของลูกเสือคือ ๑. เพลง ๒. ใบความรเู้ รอื่ ง คาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื สามัญรุ่นใหญ่ ๓. ใบงานเร่ือง คําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ๔. เอกสารประกอบการเรียนการสอน เคร่ืองหมายลูกเสือโลก ชุดที่ ๑ คําปฏญิ าณและกฎ ๕. เกม ๖. นิทาน การประเมินผล ๑. วธิ ีการวดั ผล : ประเมนิ การปฏบิ ัติกจิ กรรมกลุม่ ๒. เครอื่ งมือวัดผล : การทอ่ งคาํ ปฏิญาณและกฎของลกู เสือสามัญรุ่นใหญ่ ๓๓ คู่มอื การฝกึ อบรมหลกั สตู รลกู เสือคุณธรรม

๓. เกณฑ์การประเมนิ ผล : ตารางบันทกึ ผลการทดสอบท่องคําปฏิญาณและกฎของลกู เสอื สามญั รุน่ ใหญ่ เอกสารอา้ งองิ ๑. ข้อบังคับคณะลูกเสอื แหง่ ชาติวา่ ด้วยการปกครอง หลักสูตรและวิชาพเิ ศษลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๐๙ ๒. ใบความรทู้ ี่ ๔ ๓. ใบงานที่ ๔ และ ๔.๑ เนือ้ หาวชิ า ๑. คาํ ปฏิญาณและกฎของลูกเสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ ๓๔ คู่มือการฝกึ อบรมหลกั สูตรลกู เสือคุณธรรม

ใบความรู้ท่ี ๔ เรอ่ื ง คําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสามัญรนุ่ ใหญ่ ถ้านําคําปฏิญาณลูกเสือ แยกหาความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ และความหมายตามพจนานกุ รมไทย - ไทย อาจารยเ์ ปล้ือง ณ.นคร จะไดด้ งั น้ี คํา น. เสียงที่เปล่งออกมา เสียงพูดหรือลายลักษณ์อักษรท่ีเขียนหรือพิมพ์ข้ึนเพ่ือแสดงความคิด โดย ปกติถือว่าเป็นหน่วยท่ีเล็กที่สุดซ่ึงมีความหมายในตัว, ใช้ประกอบหน้าคําอื่นมีความหมายเช่นน้ัน เช่น คํานาม คํากริยา คําบพุ บท, พยางค์ซึ่งเปน็ สว่ นย่อยของวรรคในบาทหรือในฉันท์ แต่ละพยางค์ ถือว่าเป็นคําหน่ึง , ๒ วรรคของคํากลอน, ลักษณะนามของเสียงพูด เช่น พูดคําหนึ่ง ลักษณะนามบอกจําพวกของเค้ียวของ กิน เชน่ ขา้ วคาํ หนึง่ , ลกั ษณะนามเรียก ๒ วรรคของคาํ กลอนว่าคําหน่ึง ปฏญิ าณ ก. ให้คาํ มัน่ โดยสุจริตใจ ลูกเสือ น. สมาชิกแห่งองค์การที่มีวัตถุประสงค์ในการฝึกหัดอบรมบ่มนิสัยเด็กชายให้เป็นพลเมืองดี ตามจารตี ประเพณี มีอดุ มคติและความรบั ผดิ ชอบตวั เองและตอ่ ผู้อนื่ ความหมายของคําปฏิญาณของลกู เสอื คือ คาํ มน่ั สญั ญาท่ีลูกเสอื ไดใ้ หไ้ วด้ ว้ ยความสจุ รติ ใจ แก่ผบู้ ังคับบญั ชา ตอ่ หนา้ แถว หรอื ในพิธีการ ทางลูกเสือเป็นหลักสากลท่ีลูกเสือทุกคนต้องปฏิบัติเช่นเดียวกันหมด ลูกเสือจะต้องจดจําคําปฏิญาณให้ได้ และต้องพยายามปฏบิ ัติตนตามคําปฏญิ าณอยา่ งเตม็ ความสามารถหรือใหด้ ที ีส่ ดุ คําปฏญิ าณของลูกเสอื สามัญรนุ่ ใหญ่ มี ๓ ข้อ ดังน้ี ดว้ ยเกียรติของขา้ ขา้ สญั ญาวา่ ขอ้ ๑ ข้าจะจงรักภักดตี อ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ หมายถึง ลกู เสือตอ้ งเคารพ ยกยอ่ งบูชาเทิดทนู ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์ไวด้ ว้ ยความซอื่ สัตยส์ ุจริต ขอ้ ๒ ขา้ จะช่วยเหลอื ผู้อ่นื ทุกเมื่อ หมายถงึ ลูกเสอื เป็นผ้มู จี ิตใจโอบอ้อมอารี มจี ิตเมตตากรณุ าตอ่ สัตว์ ต่อคนทั่วไป ยอมสละความสขุ ส่วนตัว ข้อ ๓ ข้าจะปฏบิ ัติตามกฎของลกู เสือ หมายถงึ ให้ลกู เสือปฏิบัตติ ามกฎของลูกเสอื ท้ัง ๑๐ ข้อ อย่างเคร่งครดั และปฏบิ ตั อิ ย่างสมา่ํ เสมอ ไมห่ ลกี เลย่ี ง การแสดงรหัสเมอ่ื กล่าวคําปฏญิ าณ ทุกครั้งท่ีกล่าวคําปฏิญาณลูกเสือทุกคนต้องแสดงรหัส ลูกเสือไทยนิยม แสดงรหัสแบบอังกฤษ คือ ยืนในท่าตรง ยกมือขวาขึ้นเสมอไหล่ ข้อศอกชิดลําตัวหันฝ่ามือไปข้างหน้า นิ้วหัวแม่มือกดปลายน้ิวก้อยไว้ อีกสามนิ้ว ท่ีเหลือเรียงชิดติดกันและเหยียดตรงข้ึนไป น้ิวทั้งสามที่เหยียดขึ้นไปน้ันมีความหมายถึง คําปฏิญาณของลูกเสือท้งั ๓ ข้อ ๓๕ คู่มอื การฝกึ อบรมหลักสูตรลกู เสอื คณุ ธรรม

กฎของลูกเสือสามญั ลูกเสือสามญั รนุ่ ใหญ่ ลกู เสอื วิสามญั และบุคลากรทางการลูกเสือ กฎของลูกเสือ หมายถึง ข้อปฏิบัติที่ลูกเสือต้องยึดถือเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติตนและ ปฏิบัติหน้าที่ ให้เป็นคนดีของครอบครัว สังคม และประเทศชาติ มีระเบียบวินัย มีความรักสามัคคี และมี ความซ่อื สัตย์สุจริต ดงั ต่อไปนี้ ข้อ ๑ ลูกเสอื มเี กียรติเชื่อถอื ได้ ข้อ ๒ ลกู เสือมีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และซอื่ ตรงต่อผมู้ ีพระคณุ ข้อ ๓ ลูกเสอื มหี น้าท่ีกระทําตนใหเ้ ปน็ ประโยชน์และช่วยเหลอื ผ้อู ื่น ข้อ ๔ ลกู เสือเป็นมิตรของคนทุกคนและเปน็ พน่ี อ้ งกบั ลูกเสอื อืน่ ทัว่ โลก ข้อ ๕ ลกู เสือเปน็ ผ้สู ภุ าพเรยี บรอ้ ย ขอ้ ๖ ลกู เสือมคี วามเมตตากรุณาตอ่ สตั ว์ ข้อ ๗ ลกู เสอื เช่อื ฟงั คําสั่งของบิดามารดา และผู้บงั คบั บัญชาด้วยความเคารพ ข้อ ๘ ลูกเสอื มีใจร่าเริงและไมย่ อ่ ท้อตอ่ ความยากลําบาก ขอ้ ๙ ลูกเสอื เป็นผู้มธั ยสั ถ์ ข้อ ๑๐ ลกู เสือประพฤตชิ อบด้วยกาย วาจา ใจ ๓๖ คู่มอื การฝึกอบรมหลกั สตู รลูกเสือคณุ ธรรม

ใบงานท่ี ๔ เรือ่ ง ลูกเสอื กบั คาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสือ คาํ ชี้แจง ให้ลูกเสือ แตล่ ะหมวู่ ิเคราะหภ์ าพแล้วตอบคาํ ถามพร้อมวาดภาพใหมแ่ ละส่งตวั แทนนาํ เสนอ ผลงานหนา้ ชน้ั เรียน ๑. วัยร่นุ กลุ่มนปี้ ระพฤติตนตรงกนั ข้ามกับกฎของลกู เสือขอ้ ที่..................................................................... และกฎข้อนั้นใจความว่าอยา่ งไร ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ๒. ถา้ วัยรุ่นกลมุ่ นจ้ี ะเปลยี่ นแปลงพฤติกรรมภาพท่ีควรจะปรากฏควรเป็นภาพใดและภาพใหม่ท่เี กิดขน้ึ ตรงกับ กฎข้อใด....................................................................................................................................... และกฎข้อนน้ั ใจความว่าอย่างไร................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ . ๓๗ คู่มือการฝกึ อบรมหลักสตู รลูกเสือคณุ ธรรม

ใบงานท่ี ๔.๑ คําช้ีแจง ให้ลูกเสือ แต่ละหมู่ทดสอบท่องคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือรายบุคคลโดยเลือกทดสอบกับ นายหมู่ของหมู่ใดหมู่หนึ่ง หลังจากทดสอบเสร็จเรียบร้อยให้นายหมู่บันทึกผลพร้อมรายงานผล การทดสอบกบั ผูก้ ํากับ สว่ นนายหมู่ แตล่ ะหมูใ่ หท้ ดสอบกบั ผู้กํากบั ตารางบันทึกผลการทดสอบทอ่ งคาํ ปฏิญาณและกฎ ขดี เคร่อื งหมาย 9 ลงในชอ่ งสําหรับผู้ทผ่ี ่านการทดสอบ ผลการทดสอบ ที่ ชื่อ – ชือ่ สกลุ คาํ ปฏิญาณ กฎ ผ่าน ไม่ผ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. สรปุ ผลการทดสอบ(จํานวน) หมทู่ ท่ี ดสอบ…………………………… ลงช่อื …………………………………ผู้ทดสอบ (…………………………….) นายหมู่ หม…ู่ …………………….. ๓๘ คู่มือการฝึกอบรมหลักสตู รลูกเสอื คณุ ธรรม

แบบประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ชื่อวชิ า คําปฏิญาณและกฎของลูกเสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ ช่อื กลมุ่ ............................................................................................................................................... ข้อ รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ ๔๓๒๑ ๑ การตรงตอ่ เวลา ๒ ระบบหมู่และการมีสว่ นร่วมของสมาชิก ๓ การสรุปความรทู้ ี่ได้รบั รวม …………………………………….. (………………………………….) ผูก้ ํากับลูกเสอื เกณฑ์การประเมนิ ผล รายการที่ประเมิน ระดบั คุณภาพ / คะแนน ๑. การตรงต่อเวลา ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรุง (๑) ปฎิบตั ิไมไ่ ด้เลย ๑. การเขา้ รว่ มกจิ กรรม ปฏบิ ตั ิได้ ๒ ขอ้ ใน ปฏบิ ัติได้ ๑ ขอ้ ใน ตามเวลา / ตรงเวลา ๓ ข้อ ๓ ข้อ ๒. ผลงานเสรจ็ ตาม เวลาทีก่ าํ หนด ๓. การนําเสนอใช้เวลา ตามเวลาท่กี าํ หนด ๒. ระบบหมู่และการมี ทกุ คนมสี ่วนร่วม สมาชิก ๑ คนไม่ไดม้ ี สมาชิก ๒ คนไม่ได้มี สมาชกิ ๓ คนข้ึนไป ส่วนร่วมของสมาชกิ ส่วนรว่ ม ส่วนรว่ ม ไมไ่ ด้มสี ว่ นรว่ ม ๓. การสรปุ ความรู้ ถกู ต้องทุกขอ้ ผิด ๑ ขอ้ ผิด ๒ ข้อ ผดิ ๓ ขอ้ ข้ึนไป ท่ไี ด้รับ ๓๙ คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลกู เสอื คณุ ธรรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook