คูมือการฝก อบรมหลักสตู ร ลกู เสือสำรองชอสะอาด จัดทำโดย สำนักงานลกู เสือแหง ชาติ สำนกั การลูกเสอื ยวุ กาชาดและกจิ การนกั เร�ยน สำนกั งานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุ ร�ตแหง ชาติ
คมู อื การฝก อบรมหลักสูตร ลกู เสือสำรองชอ สะอาด
. พระบาทสมเด็จพระเจาอยหู ัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช พระประมุขคณะลูกเสอื แหง ชาติ ๒
\"...ความซ่อื สัตย สุจรติ เปน พนื้ ฐานของความดีทุกอยาง เด็ก ๆ จึงตองฝกฝนอบรมใหเกิดมีขน้ึ ในตนเอง เพอ่ื จกั ไดเตบิ โตขนึ้ เปน คนดี มีประโยชน และมชี วี ิตที่สะอาด ที่เจริญมั่นคง...\" พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจา อยหู ัว พระราชทานเน่ืองในวันเดก็ แหงชาติ พ.ศ. ๒๕๓๑ ๓
คาํ นาํ คูมือการฝกอบรมหลักสูตรลูกเสือชอสะอาด ไดจัดทําข้ึนสําหรับลูกเสือท้ัง 4 ประเภท คือ ลูกเสือ สํารอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุนใหญ และลูกเสือวิสามัญ เพ่ือใชเปนแนวทางประกอบการเรียนการสอน หลักสูตรลูกเสือชอสะอาดในสถานศึกษา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเสริมสรางจิตสํานึกการเปนพลเมืองดี มีความตระหนัก ความรู ความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับปญหาและภัยของการทุจริตที่มีตอประเทศ ปฏิบัติตน ดวยความซอ่ื สัตยส ุจริต มีจติ สาธารณะ มีสวนรวมสรางสรรคสังคมใหโปรงใส นํากระบวนการลูกเสือไปรณรงค เสริมสรางสังคมสุจริต เปนธรรม ชวยใหสังคมมีสันติสุข มีสวนรวมในการตอตานการทุจริต ตลอดจนสงเสริม ใหเหน็ คุณคา ของตนเองและผอู ื่น มพี ฤตกิ รรมในทางสรางสรรค รวมถึงดําเนนิ ชวี ิตในสงั คมไดอ ยางมคี วามสขุ การจัดทําหลักสูตรลูกเสือชอสะอาด ไดรับความอนุเคราะหจากสํานักงานคณะกรรมการปองกันและ ปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (สํานักงาน ป.ป.ช.) สํานักงานลูกเสือแหงชาติ สํานักการลูกเสือ ยุวกาชาดและ กิจการนักเรียน สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีการแตงต้ังคณะบุคคลรวมกันดําเนินการ คือ คณะอนุกรรมการบริหารโครงการลูกเสือชอสะอาด และคณะทํางานจัดทําหลักสูตรและคูมือการฝกอบรม ลูกเสือชอสะอาด ตลอดจนไดรับความรวมมือจากกรรมการผูทรงคุณวุฒิของสภาลูกเสือไทย และผูเชี่ยวชาญ ทางดานการลูกเสือหลายทาน จนทําใหหลักสูตรลูกเสือชอสะอาดสําเร็จลุลวงไปดวยดี จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ คณะทํางาน กนั ยายน 2557 ๔ ก
ความเปน มา คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (คณะกรรมการ ป.ป.ช.) มีอํานาจหนาที่ ในการปองกันการทุจริตและเสริมสรางทัศนคติคานิยมเก่ียวกับความซื่อสัตยสุจริต ใหความสําคัญกับ สถาบันการศึกษาในการอบรมบมนิสัยใหความรู ความเขาใจที่ถูกตอง การสรางนิสัย การประพฤติปฏิบัติตาม หลักคุณธรรม ซ่ึงหัวใจสําคัญของการศึกษา คือ การทําใหคนเปนคนดี เปนคนท่ีเปนประโยชนตอผูอ่ืน ท้ังตอ สังคมที่ตนอยูอาศัยและตอประเทศชาติ การสรางลักษณะนิสัยความซ่ือสัตยสุจริตจึงเปนเรื่องสําคัญที่ตอง เอาใจใสด ูแลไมน อยกวา การทาํ ใหผ ูเ รยี นมีความรู มีกจิ กรรมเสริมสรางพัฒนาการท้ังทางกาย สติปญญา ศีลธรรม และการเปนพลเมืองที่ดี โดยเห็นวาหลักสูตรลูกเสือและเนตรนารี สามารถปลูกฝงคานิยมความซ่ือสัตยสุจริต และการทาํ ประโยชนเพอื่ สว นรวม ซึ่งจะทําใหเยาวชนคนรุนใหมมีคานิยมความซื่อสัตยสุจริต เห็นแกประโยชน สวนรวม จึงไดประสานความรวมมือกับสํานักงานลูกเสือแหงชาติ กระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือสงเสริมใหมี การเรียนการสอนเรื่องการปองกันและปราบปรามการทุจริตในหลักสูตรลูกเสือและเนตรนารีทุกระดับ เพอื่ ปลกู ฝง คา นิยมความซือ่ สตั ยสุจริต อนั จะสงผลใหป ระเทศชาติมกี ารพัฒนาท่ียงั่ ยนื สืบไป สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (สํานักงาน ป.ป.ช.) ดําเนินการ เพอื่ ขับเคลือ่ นยทุ ธศาสตรชาติวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริตโดยใชกลไกทางการศึกษา เมื่อวันที่ ๒๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ไดจัดทําบันทึกขอตกลงความรวมมือในการปองกันและปราบปรามการทุจริต ระหวา งสํานกั งาน ป.ป.ช. กบั กระทรวงศึกษาธกิ าร โดยสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยเห็นชอบรวมกันในการสงเสริม สนับสนุน เผยแพร และประสาน การเสริมสรางทัศนคติ คานิยมในความซ่ือสัตยสุจริต ใหหนวยงานและบุคลากรในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ตลอดจนบุคลากรท่ีเก่ียวของกับการจัดการศึกษาของประเทศทุกระดับ อันเปนการยกระดับใหกระทรวง ศึกษาธกิ ารไทยใสสะอาด ปราศจากการทจุ รติ ทุกรูปแบบ และมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามการทุจริต กบั สํานักงาน ป.ป.ช. เพือ่ รวมขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตรช าตวิ าดวยการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริต สํานักงาน ป.ป.ช. ไดรับการอนุเคราะหเปนอยางดียิ่งจากสํานักงานลูกเสือแหงชาติ และสํานัก การลกู เสือ ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น สาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ในการดําเนินการจัดทําหลักสูตร ลูกเสือชอสะอาด ทั้ง ๔ ประเภท ไดแก ลูกเสือสํารอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุนใหญ และลูกเสือวิสามัญ และสํานักงาน ป.ป.ช. ไดมอบหมายใหสํานักปองกันการทุจริตภาคการเมืองรับผิดชอบ “โครงการลูกเสือ ชอ สะอาด” ต้งั แตป พ.ศ. ๒๕๕๖ - พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยมีผลการดาํ เนินการ ดงั นี้ ๑. สํานักงานลูกเสือแหงชาติ เปนเจาภาพในการจัดพิธีลงนามในบันทึกขอตกลงความรวมมือ เรื่อง ความรว มมือในกิจการลูกเสือเพ่ือการปองกันและปราบปรามการทุจริต ระหวางสํานักงาน ป.ป.ช. กับสํานักงาน ลูกเสือแหงชาติ ในพิธีมอบนโยบาย “การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมเยาวชนโดยกระบวนการลูกเสือ” เมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ๒. จดั ทาํ ตราสญั ลักษณ “ลูกเสอื ชอ สะอาด” เพอ่ื ใชใ นการดําเนนิ โครงการลูกเสือชอสะอาด ๓. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทําหลักสูตรและคูมือการฝกอบรมลูกเสือชอสะอาด ท้ัง ๔ ประเภท ระหวา งวันที่ ๗ - ๙ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ๑ ข
๔. ฝกอบรมผูกํากับลูกเสือ ขั้นความรูทั่วไป เพ่ือพัฒนาศักยภาพบุคลากรของสํานักงาน ป.ป.ช. เกี่ยวกับกจิ การลูกเสอื เมอื่ วันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ๕. ฝกอบรมผูบังคับบัญชาลูกเสือระดับผูนํา ข้ันความรูชั้นสูง เพ่ือเพ่ิมพูนคุณวุฒิทางการลูกเสือใหกับ บคุ ลากรของสาํ นกั งาน ป.ป.ช. ระหวา งวันที่ ๑๒ - ๑๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ๖. ประกอบพิธีมอบวุฒิบัตรและเคร่ืองหมายวูดแบดจ บุคลากรทางการลูกเสือระดับผูนํา ขั้นความรู ชั้นสงู รนุ ที่ ๖๖๙ ของสาํ นักงาน ป.ป.ช. เมือ่ วนั ท่ี ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ๗. จัดต้งั สโมสรลูกเสอื สํานกั งาน ป.ป.ช. เม่อื วันท่ี ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ๘. ทดลองใชห ลักสูตรลูกเสือชอสะอาด ทง้ั ๔ ประเภท ระหวา งเดือนพฤษภาคม - มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗ ๙. ประชมุ เชิงปฏิบัตกิ ารเพ่ือทบทวนหลักสตู รลกู เสอื ชอ สะอาด ในเดอื นสงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เมื่อเสร็จส้ินการดําเนินงานใน พ.ศ. ๒๕๕๗ จะมีการนําหลักสูตรลูกเสือชอสะอาดไปใชในสถานศึกษา ทวั่ ประเทศ พรอมทงั้ ผลักดนั ใหเ ปนวิชาพเิ ศษตอ ไป พธิ ลี งนามในบนั ทึกขอตกลงความรว มมือ ระหวางสํานักงานคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ แหงชาติ กับสาํ นักงานลกู เสอื แหง ชาติ ๒ ค
อารัมภบทลูกเสอื สาํ รองชอ สะอาด ลกู เสือสาํ รองเปนลูกเสือปฐมวัย ซึ่งถือเปนการเร่ิมตนของการเปนลูกเสือ โดยเปนเด็กนักเรียนท่ีมีอายุ ระหวาง ๘ ป ไมเกิน ๑๑ ป หรือกําลังเรียนอยูระดับประถมศึกษาปท่ี ๑ - ๓ และเมื่อเขาสูกระบวนการเปน ลูกเสือสํารองแลว วิชาตลอดจนความรูและกิจกรรมของลูกเสือสํารองซึ่งมีหลากหลายรูปแบบ จะทําใหเด็ก ๆ เหลานนั้ ไดร บั ความรู การเรียนรูในการดํารงชีวิตขั้นพ้ืนฐาน ความสนุกสนาน มีพัฒนาการในเชิงพฤติกรรมตั้งแต เยาววัยสูความเติบใหญท่ีดี มีคุณคาในภายภาคหนา ความสนุกสนานท่ีมีคุณลักษณะพิเศษ เพื่อสรางเสริม สติปญญา ความเฉลียวฉลาด ความมีระเบียบวินัย และมีความเขาใจในเบื้องตนเก่ียวกับหนาท่ีและ ความรับผิดชอบอันเกดิ จากระบบหมขู องลูกเสือสํารองนัน่ เอง สาํ หรบั ประเทศไทยไดม ีการจัดตั้งกองลกู เสอื สาํ รองข้ึนเปนคร้ังแรก เมื่อวันที่ ๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๐๗ โดยกําหนดตามขอบังคับคณะลูกเสือแหงชาติวาดวยการปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษ คือ ลูกเสือที่มี อายุ ๘ - ๑๑ ป แตเ ม่ือกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กาํ หนดใหกิจกรรมลูกเสือเปนกจิ กรรมบังคับในหลักสูตรการศึกษา ขั้นพ้นื ฐาน พ.ศ. ๒๕๔๔ ตอเน่อื งถึงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ จงึ กาํ หนดใหโรงเรียน จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนลกู เสอื สาํ รองในช้นั ประถมศึกษาปที่ ๑ - ๓ เปนตนมา ในปจจุบันน้ี สังคมไทยไดรับผลกระทบจากคานิยมในวัตถุท่ีมุงแสวงหาความร่ํารวยเปนหลัก โดยละเลยคุณธรรมความดี การสรางสังคมใหเปนสังคมคุณธรรม จึงตองเร่ิมตนท่ีเด็กกอน โดยเฉพาะอยางย่ิง เรอ่ื งของความซือ่ สตั ยสุจรติ ซึ่งมีพืน้ ฐานมาจากเรื่องการมคี ณุ ธรรมและสํานกึ ในเรือ่ งจรยิ ธรรม วินยั ซึ่งประเด็น สําคัญน้ีมีความออนแอจนเห็นไดชัดวาการทุจริตไดรับการยอมรับจากสังคมไทยในบางระดับแลว เชน เม่ือมี การทุจริตเกิดขึ้นจนเปนท่ีเปดเผย สังคมก็ไมไดใหความสนใจ และปฏิกิริยาที่ตานทานในเร่ืองนี้ลดนอยมาก ฉะนั้น ถาปลอยใหคานิยมที่ไมถูกตองเชนนี้ยังดํารงอยูตอไปโดยไมคิดทําการแกไขและขจัดใหหมดส้ิน ความลมเหลวในดานคุณธรรม จริยธรรม จะเปนเร่ืองปกติของสังคมไทย อันเปนสาเหตุที่จะทําใหเกิด ผลเสียหายทีต่ ามมา จนเปนผลใหการพฒั นาชาติบา นเมอื งไมเ ปน ไปตามเปาหมายที่วางไว ดว ยเหตุผลดังกลาวขา งตน น้ี สํานักงาน ป.ป.ช. ซงึ่ มีอํานาจและบทบาทหนาทีใ่ นการดาํ เนินการปองกัน การทจุ รติ ในทุกรปู แบบ และเสริมสรา งเจตคติ คา นยิ มเกี่ยวกับความซื่อสัตยสุจริต เห็นควรวานาจะมีกลไกหรือ นวัตกรรมใหม ๆ นํามาใชเปนเครื่องมือในการปลูกฝงคานิยมของการเปนพลเมืองดี ท่ีมีความตอเน่ืองและ เกิดประโยชนอยางจริงจัง จึงเห็นวากระบวนการลูกเสือเปนกิจกรรมที่ดี และมีความเปนสากลที่นานา อารยประเทศทวั่ โลกนาํ ไปใชใ นการพัฒนาพลเมืองของประเทศตนเองมาอยางยาวนาน เปนเวลากวารอยปแลว โดยจะเริ่มทําการปลูกฝงคุณความดีใหแกเด็กต้ังแตปฐมวัยจนถึงวัยหนุมสาว และมีกระบวนการปลูกฝงในเร่ือง ของความซื่อสัตย สุจริต ความกตัญูรูคุณ ความถูกตองในสังคม การไมเอารัดเอาเปรียบ โปรงใส ตลอดจน ความเสียสละและการมีวนิ ัย ในการนี้ สํานักงาน ป.ป.ช. ซึ่งรวมมือกับสํานักงานลูกเสือแหงชาติ และสํานักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดําเนินการวางแนวทางและจัดทําหลักสูตรลูกเสือ สํารองชอสะอาดข้ึน เพ่ือเปนการปูพ้ืนฐานใหแกเด็กปฐมวัย โดยอาศัยเนื้อหาสาระและกิจกรรมลูกเสือสํารอง ท่ีมีอยูเดิมมาผสมผสานกับความรูดานพลเมืองศึกษา (Civic Education) ท่ีมีความจําเปนและเปนปจจุบัน เพื่อใหเกิดการเรียนรูและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางท่ีเหมาะสม เกิดประโยชนตอสังคมโดยรวม อยางแทจ รงิ ๓ ง
สารบัญ หนา ก คาํ นํา ข ความเปนมา ง อารมั ภบทลูกเสือสาํ รองชอสะอาด จ สารบัญ ๒ สว นท่ี ๑ โครงสรางหลกั สตู ร ๓ ๔ โครงสรา งหลกั สูตรลูกเสือสํารองชอสะอาด ๔ การดําเนินงานเพื่อขอรับเครื่องหมายลกู เสอื สาํ รองชอ สะอาด ๔ วตั ถปุ ระสงคของการฝก อบรม ๔ มาตรฐานผผู านการฝก อบรม ๔ คุณสมบัติผูเขารับการฝกอบรม ๔ ระยะเวลาในการฝกอบรม ๕ คําอธบิ ายหลกั สูตร ๕ กจิ กรรม/รายวชิ า ๕ วธิ ีการฝกอบรม ๕ การประเมนิ ผล ๖ เกณฑการผานหลักสตู ร ๑๐ สือ่ การฝกอบรม ๑๕ ตารางการฝกอบรม ๑๘ สวนท่ี ๒ กจิ กรรม/รายวิชา และเนื้อหาสาระ ๒๕ คําแนะนําท่วั ไป ๓๙ วตั ถปุ ระสงคของการฝก อบรม ๕๘ ปฐมนิเทศการฝกอบรม ๖๕ ลกู เสือสํารองชอสะอาดกับการจัดกจิ กรรมกลมุ สัมพันธ ๗๘ ลกู เสอื สาํ รองชอสะอาดกับคาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื สํารอง ลกู เสือสํารองชอสะอาดกับการบันเทงิ (เกมเงยี บ) ๑๐๐ ลูกเสอื สาํ รองชอสะอาดกับการรจู กั เคารพกฎหมาย ลูกเสอื สํารองชอสะอาดกับการสรางจิตอาสา ลกู เสอื สํารองชอสะอาดกับกจิ กรรมกลางแจง ๑ จ
สวนท่ี ๓ กิจกรรมเสนอแนะ หนา การประดบั เครื่องหมายลูกเสือสํารองชอสะอาด ๑๒๕ แนวทางการจดั ต้ังกองลูกเสือสํารองในสถานศึกษา ๑๒๖ เกณฑการจดั ตั้งลูกเสอื สํารองชอสะอาดในสถานศึกษา ๑๒๘ ๑๒๙ บรรณานุกรม ๑๓๒ ภาคผนวก ๑๓๔ ๑๓๕ คําสัง่ แตง ต้งั คณะอนุกรรมการบริหารโครงการลกู เสอื ชอสะอาด ๑๓๗ คาํ ส่ังแตง ต้ังคณะอนุกรรมการบริหารโครงการลูกเสือชอสะอาด (เพม่ิ เติม) คําสั่งแตงตัง้ คณะทํางานจัดทําหลักสตู รและคูมือการฝกอบรมลูกเสือชอสะอาด เพลงลูกเสือชอสะอาด ๑ ฉ
ส่วนท่ี ๑ โครงสรา้ งหลกั สตู ร
โครงสรางหลักสูตรลกู เสือสาํ รองชอสะอาด ลาํ ดบั ช่อื /กจิ กรรม รูปแบบ เวลา (นาที) ๑ วตั ถปุ ระสงคของการฝก อบรม การบรรยาย ๓๐ ๒ ปฐมนเิ ทศการฝก อบรม การบรรยาย ๙๐ ๓ ลูกเสอื สํารองชอสะอาดกับการจัดกิจกรรม • เพลง ๖๐ กลุมสมั พันธ • เกมการทดสอบ • เกมการทาํ งานเปน ทีม ๙๐ • บทบาทสมมติ ๑๒๐ ๙๐ ลกู เสือสํารองชอสะอาดกับคาํ ปฏญิ าณและกฎ • การสาธิต ๙๐ ๔ ของลกู เสอื สาํ รอง (ความซ่ือสตั ยสจุ รติ • บทบาทสมมติ • ระดมสมอง ๑๘๐ ความเอ้ือเฟอเผ่ือแผ) ๗๕๐ ๕ ลกู เสอื สํารองชอสะอาดกับการบนั เทงิ (เกมเงยี บ) เกม/เพลง/การแสดงเงยี บ ๖ ลกู เสอื สํารองชอสะอาดกับการรจู กั เคารพกฎหมาย • บทบาทสมมติ/ละคร • ระดมสมอง ๗ ลูกเสอื สาํ รองชอสะอาดกับการสรางจติ อาสา • บทบาทสมมติ • ปฏิบตั ิ ๘ ลกู เสือสาํ รองชอสะอาดกับกจิ กรรมกลางแจง • การเดินทางสาํ รวจ (การเปดประชุมกองพเิ ศษ, การเดนิ ทางสํารวจ) • กจิ กรรมตามฐาน รวม ๑ 2
การดาํ เนนิ งานเพอ่ื ขอรับเครื่องหมายลูกเสือสํารองชอสะอาด แผนภูมิการดําเนินงาน หลกั สูตรลูกเสือสาํ รองชอ สะอาด ดําเนินการฝก อบรม ๑. วตั ถุประสงคของการฝกอบรม กิจกรรมในสถานศึกษา ๒. ปฐมนเิ ทศการฝกอบรม ๓. ลูกเสอื สํารองชอ สะอาดกับการจัดกิจกรรมกลุมสัมพนั ธ ๔. ลูกเสอื สํารองชอ สะอาดกับคาํ ปฏิญาณและกฎของลกู เสอื สํารอง (ความซอื่ สตั ยสุจริต, ความเอ้ือเฟอเผอ่ื แผ) ๕. ลูกเสอื สาํ รองชอ สะอาดกับการบันเทงิ (เกมเงยี บ) ๖. ลกู เสอื สาํ รองชอสะอาดกับการรูจกั เคารพกฎหมาย ๗. ลกู เสือสาํ รองชอ สะอาดกับการสรา งจติ อาสา ๘. ลกู เสอื สาํ รองชอสะอาดกับกิจกรรมกลางแจง (การเปดประชุมกองพเิ ศษ, การเดนิ ทางสํารวจ) การนาํ หลักความซ่ือสัตยไปใช เคร่อื งหมายลกู เสอื สํารองชอสะอาด ปฏิบัตกิ จิ กรรม อยา งนอย ๒ กิจกรรม ผาน ภายใน ๓ เดอื น ประเมินผล ตนเอง เพ่ือน/ ครอบครวั / สถานศึกษา ชมุ ชน ไมผ า น ๒ 3
๑. วตั ถปุ ระสงคข องการฝกอบรม ๑.๑ เพ่อื สรางจิตสาํ นึกทีด่ ใี นการปองกันและปราบปรามการทุจรติ ๑.๒ เพ่ือใหผูเขารับการฝกอบรมมีความรู ความเขาใจท่ีถูกตองเกี่ยวกับการปองกันและปราบปราม การทจุ รติ ๑.๓ เพ่ือใหผูเขารับการฝกอบรมมีความรู ความเขาใจ และสามารถปฏิบัติตนเปนคนซ่ือสัตยสุจริต สง เสรมิ การปอ งกันการทุจรติ และสามารถนาํ ไปเผยแพรใ หบ คุ คลในครอบครวั เพอ่ื นและชมุ ชนได ๑.๔ เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมเห็นคุณคาของตนเองและผูอ่ืน มีพฤติกรรมในทางสรางสรรคและ ดําเนนิ ชวี ิตในสงั คมไดอ ยา งมีความสุข ๒. มาตรฐานผูผานการฝก อบรม ผทู ี่ผานการฝกอบรมมีคณุ สมบัติท่ีพึงประสงค ดานความซือ่ สตั ยสจุ ริต เห็นความสําคัญของการปองกัน และปราบปรามการทุจริต ปฏิบัติตนอยบู นวิถีชวี ติ ของสงั คมไทย ๓. คณุ สมบตั ขิ องผูเขา รับการฝกอบรม เปน ลูกเสอื สํารอง เนตรนารสี ํารอง ๔. ระยะเวลาในการฝกอบรม จํานวน ๒ วนั (ไมพ กั คางคืน) ใชเ วลาจํานวน ๑๒ ชวั่ โมง ๕. คาํ อธบิ ายหลกั สตู ร ตามแผนยุทธศาสตรชาติวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต ยุทธศาสตรท่ี ๑ การปลูก จิตสํานึก คานิยมคุณธรรม จริยธรรม การสรางวินัยแกทุกภาคสวน และดําเนินการใหความรูและฝกปฏิบัติ เก่ยี วกับคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค ๘ ประการ ตามหลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย มวี ินยั สภุ าพ สะอาด สามัคคี และมนี ้าํ ใจ) ท่ีควรรูจัก เคารพกฎหมาย เคารพตนเองและผูอ่ืน จิตอาสา การบริการ การปฏิบัติตนตามคําปฏิญาณ และกฎของลูกเสือสํารอง การแสดงเงียบ จัดกิจกรรมสงเสริมและ พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ความซ่ือสัตยสุจริต เพ่ือใหเห็นความสําคัญของตนเองและผูอื่น มีพฤติกรรมในทาง สรางสรรค ดํารงไวซ ่ึงความถูกตอง ความยุติธรรม สามารถดาํ รงตนอยูในสงั คมอยางมคี วามสขุ ๖. กิจกรรม/รายวิชา ๖.๑ วัตถุประสงคข องการฝก อบรม ๖.๒ การปฐมนิเทศ ๖.๓ ลกู เสือสํารองชอ สะอาดกับการจดั กจิ กรรมกลุมสมั พันธ ๖.๔ ลูกเสือสํารองชอสะอาดกับคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสํารอง (ความซ่ือสัตยสุจริต ความเออ้ื เฟอ เผือ่ แผ) ๖.๕ ลกู เสือสาํ รองชอสะอาดกบั การบันเทงิ (เกมเงียบ) ๖.๖ ลูกเสือสํารองชอ สะอาดกบั การรจู กั เคารพกฎหมาย ๖.๗ ลูกเสือสาํ รองชอสะอาดกับการสรา งจิตอาสา ๖.๘ ลกู เสือสาํ รองชอสะอาดกับกิจกรรมกลางแจง (การเปด ประชมุ กองพิเศษ การเดินทางสาํ รวจ) ๓ 4
๗. วธิ กี ารฝก อบรม ๗.๑ การบรรยาย ๗.๒ การสาธิต ๗.๓ บทบาทสมมติ/การแสดงละคร ๗.๔ กลุมสัมพนั ธ ๗.๕ กจิ กรรมเกมเงียบ ๗.๖ กิจกรรมเดินสํารวจ ๗.๗ กิจกรรมการแจง /กจิ กรรมตามฐาน ๗.๘ การระดมสมอง ๘. การประเมนิ ผล ประเมินผลจากการเขารับการฝกอบรมและเขารวมกิจกรรม ประกอบดวย ๘.๑ วิธีการวดั ผล : สงั เกตพฤติกรรม ประเมนิ ความรู ประเมนิ ผลงาน ๘.๒ เครือ่ งมอื วัดผล : แบบสังเกตพฤตกิ รรม แบบประเมนิ ความรู แบบประเมินผลงาน ๘.๓ เกณฑการประเมินผล : ผา นเกณฑร อ ยละ ๘๐ ๙. เกณฑการผา นหลักสตู ร ๙.๑ เวลาเขา รวมการฝก อบรมไมน อ ยกวารอ ยละ ๘๐ ๙.๒ ผานเกณฑก ารประเมนิ รายวชิ าไมตาํ่ กวารอยละ ๘๐ ๙.๓ ปฏิบัติกิจกรรมของลูกเสือเพื่อขอเครื่องหมายลูกเสือสํารองชอสะอาด อยางนอย ๒ กิจกรรม หากไมผ า นเกณฑก ารประเมินผลใหป ฏบิ ตั ิกจิ กรรมอกี ครงั้ ภายในระยะเวลา ๓ เดอื น ๑๐. ส่อื การฝกอบรม ๑๐.๑ สอ่ื โสตทศั นูปกรณ ๑๐.๒ ใบงาน ใบความรู ใบกจิ กรรม การสาธติ การแสดงบทบาทสมมติ ๑๐.๓ แผนภูมิ รปู ภาพ แผนภาพ แผน พับ ทีเ่ กี่ยวกับเน้ือหาการปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ ๑๐.๔ แบบรายงานผลการเดนิ สํารวจ ๑๐.๕ กระดาษ A4 ๑๐.๖ อุปกรณเ คร่ืองเขยี น ปากกาเคมี สตี กแตง งานฝมือ ๑๐.๗ เพลง/เกม ๑๐.๘ ภาพยนตร นิทาน เมาคลลี กู หมาปา ๑๐.๙ เคร่อื งคอมพิวเตอรชนิดพกพา ๑๐.๑๐ วดี ิทศั น ๑๐.๑๑ เครื่องฉายโปรเจคเตอร ๑๐.๑๒ เคร่อื งเสียง ๑๐.๑๓ เครือ่ งดนตรี เชน กลอง ฉ่ิง ฉาบ กรับ ฯลฯ ๑๐.๑๔ เครอ่ื งแตงกายและอุปกรณประกอบการแสดง ๑๐.๑๕ บทเพลง ๑๐.๑๖ ไหมพรม ๔ 5
ตารางการฝกอบรมหลักสูตรลูกเสอื สาํ รองชอสะอาด ระหวางวันท่ี ............เดือน................................ พ.ศ. .............. ณ คา ยลูกเสือ............................................................................. วันแรกของการฝก อบรม เวลา นาที กจิ กรรม ผูรบั ผดิ ชอบ สถานที่ ๐๗.๐๐ - ๐๘.o๐ น. ๖๐ รายงานตวั ................../และคณะ หองประชมุ ๐๘.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๙๐ พิธเี ปด การฝก อบรมในหอ งประชุม วทิ ยากรประจําวนั หอ งประชมุ ................................... • ประธานในพธิ ีจุดเทยี นธูปบชู า พระรัตนตรัย ................................... ................................... • ผูสงเทียนชนวน ประธานฯ • ผสู ง พวงมาลัย วทิ ยากรประจาํ วนั • ประธานจดุ เทียนธปู สักการะ ร. ๖ ผรู บั ผิดชอบโครงการ • พิธถี วายราชสดุดี ประธานฯ • กลาวรายงาน วทิ ยากรประจาํ วัน หนา เสาธง • ประธานกลาวเปด พธิ ีเปดการฝก อบรมหนา เสาธง ผูอ าํ นวยการฝก • ชกั ธง พธิ ีการทางศาสนา สงบน่งิ • ผอ.ฝก กลาวตอ นรับ, ชี้แจง ผอู าํ นวยการฝก นอกหอ งประชุม ................../และคณะ หองประชุม วตั ถปุ ระสงคการฝก อบรม ปฐมนิเทศ วิทยากรประจาํ วัน หองอาหาร ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๖๐ ลกู เสอื สํารองชอสะอาดกับกจิ กรรม ................../และคณะ หอ งประชมุ กลมุ สมั พันธ ๑๑.๓๐ - ๑๒.๓๐ น. ๖๐ พักรบั ประทานอาหารกลางวนั ................./และคณะ หองประชมุ ๑๒.๓๐ - ๑๔.๐๐ น. ๙๐ ลกู เสอื สาํ รองชอสะอาดกับการสราง จติ อาสา ๑๔.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. ๑๒๐ ลูกเสอื สํารองชอสะอาดกับ การบนั เทิง (เกมเงียบ) หมายเหตุ พักรับประทานอาหารวางและเคร่ืองด่มื เวลา ๑๐.๓๐ น. และเวลา ๑๔.๓๐ น. ๕ 6
วันท่ี ๒ ของการฝก อบรม เวลา นาที กิจกรรม ผูรับผดิ ชอบ สถานที่ ๐๘.๐๐ - ๐๘.๓๐ น. ๓๐ พธิ ีรอบเสาธง วิทยากรประจําวนั หนา เสาธง ผูอ ํานวยการฝก ปราศรยั ผอู าํ นวยการฝก หองประชมุ ๐๘.๓๐ - ๑๐.๐๐ น. ๙๐ ลกู เสือสาํ รองชอสะอาดกับการรจู กั ............../และคณะ หอ งประชมุ เคารพกฎหมาย ๑๐.๐๐ - ๑๑.๓๐ น. ๙๐ ลูกเสือสาํ รองชอสะอาดกับ …………../และคณะ หอ งอาหาร คําปฏิญาณและกฎของลกู เสือสาํ รอง หองประชุม/ • ความซ่ือสัตยส จุ ริต สนามฝก หอ งประชุม • ความเอื้อเฟอเผื่อแผ วิทยากรประจําวัน ๑๑.๓๐ - ๑๒.๓๐ น. ๖๐ พักรบั ประทานอาหารกลางวัน หนา เสาธง ๑๒.๓๐ - ๑๕.๓๐ น. ๑๘๐ ลูกเสอื สํารองชอสะอาดกับกิจกรรม …………../และคณะ กลางแจง • การเปด ประชุมกองพเิ ศษ • การเดนิ ทางสํารวจ ๑๕.๓๐ - ๑๖.๐๐ น. ๓๐ พธิ ปี ดในหอ งอบรม วทิ ยากรประจําวัน ผอู าํ นวยการฝก • ผูอํานวยการฝก ปราศรยั ครั้งสุดทา ยและใหโ อวาท • กลา วปด การฝกอบรม พิธปี ด รอบเสาธง วทิ ยากรประจาํ วัน • พิธีการทางศาสนา สงบน่ิง ผอู าํ นวยการฝก และ ชกั ธงลง วิทยากรทกุ คน • สามัคคชี มุ นุม/จับมือลา หมายเหตุ ๑. ตารางการฝกอบรมอาจเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม ๒. คําวา “ลกู เสือ” หมายรวมถงึ ลกู เสือสํารอง เนตรนารสี าํ รอง ๓. การนดั หมายกจิ กรรมชมุ นุมรอบกองไฟใหอ ยใู นดลุ ยพนิ ิจของพิธีกรประจําวนั ๔. พกั รับประทานอาหารวา งและเครอ่ื งดมื่ เวลา ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔๕ น. และ ๑๔.๓๐ - ๑๔.๔๕ น. ๖ 7
ตารางการฝก อบรมหลักสูตรลูกเสอื สํารองชอสะอาด วนั ท/ี่ ๐๗.๐๐ - ๐๘.o๐ น. ๐๘.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑๑.๓๐ - ๑๒.๓๐ - ๑๔.๐๐ น. ๑๔.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. เวลา ๑๒.๓๐ น. ลูกเสือสํารองชอสะอาดกับ วันท่ี ๑ รายงานตวั • ปฐมนเิ ทศ ลกู เสือสํารองชอสะอาดกับ ลกู เสอื สาํ รองชอสะอาดกับ การบนั เทงิ (เกมเงียบ) • พิธเี ปด การฝกอบรม การจัดกจิ กรรมกลุมสัมพนั ธ การสรางจิตอาสา ๑๕.๓๐ - ๑๖.๐๐ น. • พธิ ีเปดรอบเสาธง ัพกรับประทานอาหารกลาง ัวน ชีแ้ จงการจัดตั้งลกู เสือ • ผอ.ฝกชแ้ี จงวตั ถปุ ระสงค สาํ รองชอ สะอาด การฝกอบรม ในสถานศกึ ษา /พิธปี ด /ประเมนิ ผล วนั ท่ี/ ๐๘.๐๐ - ๐๘.๓๐ น. ๐๘.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. ๑๐.๓๐- ๑๑.๓๐ น. ๑๒.๓๐ - ๑๕.๓๐ น. เวลา วนั ที่ ๒ พธิ ีรอบเสาธง ลูกเสอื สํารองชอสะอาดกับ ลูกเสือสาํ รองชอสะอาดกับ ลูกเสือสํารองชอสะอาดกับ การรจู ักเคารพกฎหมาย คําปฏิญาณและกฎของ กิจกรรมกลางแจง ลกู เสอื สาํ รอง (ความซ่ือสัตย (การเปดประชมุ กองพเิ ศษ, สจุ รติ , ความเอื้อเฟอ เผ่ือแผ การเดนิ ทางสาํ รวจ) หมายเหตุ ๑. ตารางการฝกอบรมอาจเปล่ียนแปลงตามความเหมาะสม ๒. คาํ วา “ลกู เสอื ” หมายรวมถงึ ลกู เสอื สํารอง เนตรนารสี ํารอง ๓. การนดั หมายกิจกรรมชมุ นุมรอบกองไฟใหอ ยใู นดุลยพินิจของพิธกี รประจําวนั ๔. พักรับประทานอาหารวา งและเครื่องดม่ื เวลา ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔๕ น. และ ๑๔.๓๐ - ๑๔.๔๕ น. 7 8
สว่ นที่ ๒ กจิ กรรม/รายวชิ า และเนื้อหาสาระ
คาํ แนะนําท่วั ไป พิธีการของลูกเสือสาํ รองชอสะอาด ๑. พิธีเปด การฝกอบรม ๑.๑ พิธีเปด การฝกอบรมในหองประชมุ การเตรยี มงาน ๑) จัดต้ังโตะหมูบูชา ประกอบดวยพระพุทธรูป ธงชาติ พระบรมฉายาลักษณ พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั พรอมท่ีกราบพระ ๒) ถัดจากโตะหมูบูชาไปทางซายตั้งพระบรมรูปหรือฉายาลักษณรัชกาลที่ ๖ (ทรงเคร่ืองแบบลูกเสือ) พรอมเครื่องบูชา (เคร่ืองทองนอย) มีธูป ๑ ดอก เทียน ๑ เลม และพานพุม การตั้ง เครื่องทองนอยใหเ อาพานพมุ อยูดา นใน ธูปเทยี นอยดู านนอก ๓) หากมีการอยคู า ยพักแรมตองมีเสาธงประจาํ คา ยดว ย พธิ ีเปด การฝก อบรม ๑) เมื่อประธานมาถงึ เชิญนัง่ พกั ณ ท่จี ัดไว ทุกคนยนื รบั ประธานนงั่ จึงนั่ง ๒) เม่ือถึงเวลาพิธีกรกลาวเชิญประธาน ประธานจุดเทียน - ธูปบูชาพระรัตนตรัย ผูนับถือ ศาสนาพทุ ธยืนพนมมอื ผูนับถอื คริสตย นื สํารวม และผูนบั ถืออิสลามนั่งสาํ รวมอยกู ับทน่ี ัง่ ๓) พิธีกรสงเทียนชนวนใหประธาน ประธานจุดเทียนทางซายมือของประธานกอน แลวจึงจุดเทียนเลมขวา เสร็จแลวจุดธูป (ทุกคนพนมมือ) พิธีกรรับเทียนชนวนจากประธานแลวดับเทียน ประธานคุกเขาลงท่ีกราบพระ กมกราบพระ ๓ ครั้ง แลวลุกขึ้นยืน (ทุกคนลดมือลงจากการพนมมือ) ถอยหลัง ออกไป ๑ กาว ทาํ ความเคารพธงชาติ โดยการถวายคาํ นับ (ลูกเสือทําวันทยหัตถ) ๔) ประธานท่ปี ระชมุ กลา วเปดการฝกอบรม ใหโ อวาท และบรรยายพิเศษ ๑.๒ พธิ เี ปดการฝก อบรมรอบเสาธงในตอนเชาในระหวา งการฝกอบรม ความสําคัญ พิธีรอบเสาธง เปนกิจกรรมท่ีปลูกฝงความรักชาติ ศาสน กษัตริยของผูรับการฝกอบรม ทุกคน การปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม ควรเร่ิมตั้งแตเด็กนักเรียนช้ันอนุบาล ประถม และมัธยมศึกษา แมแต ระดับอุดมศึกษาก็ตองใหความสนใจในเร่ืองดังกลาวเชนกัน เพราะประโยชนที่ไดรับจากกิจกรรมหนาเสาธง มมี ากมาย เชน ๑) การปลูกฝงใหมีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ซ่ึงเปนหนาท่ีท่ีกระทํา อยา งตอเนอ่ื งทุกวัยของผูเรียน ๒) การรับขาวสารทีถ่ ือปฏบิ ตั ริ ว มกัน ขา วจากงานตา ง ๆ เชน งานวิชาการ งานกิจกรรม งานปกครอง งานวดั ผลประเมินผล ๓) การแสดงออกของนักเรียน นักศึกษาดานการเปนผูนํา ดานความคิดเห็น ความกลา ในสง่ิ ทถ่ี กู ตอ งและทีค่ วรกระทาํ เปนการฝก ความเปนผนู ําใหกบั นกั เรียน นกั ศกึ ษา ๔) การฝกอบรมคุณธรรม จริยธรรม เชน ระเบียบวาดวยเร่ืองตาง ๆ ของกระทรวง ศึกษาธกิ าร แนวปฏิบัติของสถานศึกษานั้น ๆ นอกจากนั้นยังมีเร่ืองเกี่ยวกับความสํานึกในหนาท่ี ความซื่อสัตย ความอดทน อดกลั้น อดออม การสรางวินัย การเสียสละ ความขยันหมั่นเพียร การทําความเคารพ ความกตัญู กตเวทิตา การตอ ตานยาเสพติดใหโ ทษทกุ ชนดิ และเร่อื งอ่นื ๆ 8 10
วธิ ีดาํ เนินการ พธิ กี รคนหนึ่งซงึ่ ไดร บั มอบหมายจากผูอํานวยการฝกเปนผูดําเนินการ และใหมีการปฏิบัติ ในการชกั ธงชาตขิ ึ้นสูยอดเสาตามลําดับ ดงั น้ี ๑) พิธีกรยืนหนาเสาธง หันหลังใหเสาธงหางประมาณ ๓ กาว อยูในทาตรง ใชคําสั่งเรียก “แพก็ ” โดยทําสัญญาณมอื เรยี กแถวเปนรูปครึ่งวงกลม ๒) ผเู ขา รับการฝก อบรมเขาแถวคร่งึ วงกลม โดยให • นายหมูของหมูแรกยนื เปนหลกั อยูทางซายมือของผูเรียก หันหนามาทางดานหนา ผเู รยี ก • นายหมูและสมาชิกในหมู ๒, ๓, ๔, ๕, ...... เขาแถวตอไปทางซายตามลําดับหมู เวนระยะเคียงระหวางบุคคลภายในหมู ๑ ชวงศอก โดยใหมือซายทาบสะโพกและดันศอกซายใหเปนแนวเดียว กับลาํ ตวั ระยะเคยี งระหวางหมู ๑ ชวงแขน โดยใหรองนายหมูยกแขนซายข้ึนวัดระยะแลวเอาลง รองนายหมู หมูสดุ ทา ยไมตอ งยกแขน • คนกงึ่ กลางของหมทู ี่อยตู รงกลางของแถวท้งั หมดยืนตรงหนา ผเู รียก • นายหมูหมูแรกผูเรียก และรองนายหมูหมูสุดทายเปนคนหลัก ยืนอยูในแนว เดียวกัน คนอื่นจัดแถวเรียงไปตามลําดับหมูเปนแถวรูปครึ่งวงกลม (การจัดแถวใหกาวเขามาในวงเม่ือแถวหาง และถอยหลังออกเมอ่ื แถวชดิ เกินไป) ๓) พธิ กี รสัง่ “จดั แถว” เม่ือเหน็ วา ถกู ตอ งเรียบรอยสั่ง “น่ิง” ทุกคนสะบัดหนากลับ และ คนท่ียกศอกซายมือทาบสะโพกก็ลดมือซายลง ยืนอยูในทาตรง ระวังอยาใหวงกวางเกินไป เพราะจะทําให ไดย ินเสียงพูดไมช ดั เจน ๔) ตอจากน้นั ส่งั “แพ็ก ตามระเบียบ - พกั ” ๕) ซักซอ มแนะนําการปฏบิ ัติตามลาํ ดบั ทุกข้ันตอนจนเขาใจดี ๖) พิธีกรส่ัง “แพ็ก - ตรง” “ผูแทนหมูบริการ, ชักธง” พิธีกรกลับไปยืนริมสุดของแถว คณะวทิ ยากรซง่ึ ยนื อยใู นแถวหนา กระดานหลังเสาธง ๗) ผูแทนหมูบริการ ๒ คน ผูใดก็ไดไมวาผูชายหรือผูหญิง ผูแทนหมูอาจจะเปนนายหมู และรองนายหมูก็ไดวิ่งไปที่เสาธง หยุดหางจากเสาธงประมาณ ๓ กาวในทาตรง ถาเปนผูชายและผูหญิง ใหผูชายยืนทางขวา ผูหญิงยืนทางซาย หันหนาเขาหาเสาธงทําความเคารพดวยทาวันทยหัตถพรอมกัน ลดมือ ลงพรอมกัน ผูที่ยืนทางขวาเปนผูกาวเทาออกไป ๒ กาว นําดวยเทาซาย ยืนในทาตรงเทาชิด ปลดสายเชือกธง ออก แลว ถอยหลังกลับดวยเทาซายกอน แยกเชือกผูกธงชาติออกจากกันโดยใหธงชาติอยูกับคนทางขวา เชือกที่ จะชกั ใหอยกู บั คนทางซา ย เสน เชือกตรงกลางและผืนธงชาติไมห ยอนแตะพื้นดนิ ๘) พิธีกรสั่ง “แพ็ก เคารพ - ธงชาติ” คณะผูใหการฝกอบรมซ่ึงยืนอยูทางดานหลังของ เสาธง ทําวันทยหัตถ ๙) ผูแทนหมบู ริการนํารองเพลงชาติในวรรคแรก ทุกคนที่รวมในพิธีรองเพลงชาติในวรรค ตอ ไปจนจบ ผชู กั ธง (คนทางซาย) คอย ๆ สาวสายเชอื กใหธ งขึน้ สูยอดเสาชา ๆ ใหสายเชือกตึง สวนคนขางขวา ผอนสายเชือกใหธงคอย ๆ ข้ึนไป และคุมสายเชือกใหตึงเสมอกัน ผูชักธงจะตองกะระยะวาพอเพลงชาติจะจบ กะใหระยะธงชาติหางจากปลายเสาประมาณ ๕๐ เซนติเมตร พอเพลงชาติจบจึงกระตุกเชือกใหธงชาติถึง ปลายเสาพอดี เสร็จแลวคนทางขวารวบเชือกท้ัง ๒ เสน กาวเทาเขาไปผูกที่เสาธง นําดวยเทาซาย ยืนในทาตรง เทา ชิด แลว ถอยหลังกลับมาอยใู นทเี่ ดิม ผแู ทนหมูบริการทั้ง ๒ คนทําวันทยหัตถพรอมกัน เสร็จแลวกลับหลังหัน วิ่งไปยนื ในหมูของตนและอยูในทาตรง (ผใู หการฝกอบรมเอามือลงพรอ มกับผูชกั ธง) 9 11
๑๐) วธิ ปี ฏิบัติขณะกระทําพธิ กี รรมทางศาสนา ๑๐.๑) พิธีกรสั่ง “ถอดหมวก” “เตรียมตัวสวดมนต” ทุกคนถอดหมวก โดยปฏิบัติ ดังน้ี • วิทยากรสวมหมวกทรงออน (เบเร) ใชมือขวาจับที่หมวกดานขวาแลวถอด หมวกพรอมกับยกมือซายขึ้นมาประกบกับมือขวาในทาพนมมือ ใหดานในของหมวกหันไปทางซาย หนาหมวก หันเขา หาตวั ใหห มวกอยรู ะหวางฝา มอื ท้ังสองและหนบี หมวกไว • ลูกเสือ เนตรนารีสํารอง ใชมือขวาจับที่ปกหมวกดานหนาแลวถอดหมวก พรอมกบั ยกมือซายขน้ึ มาประกบกับมือขวาในทา พนมมือ ใหดานในของหมวกหนั ไปทางซา ย ๑๐.๒) ผูแทนนําสวดมนตบูชาพระรัตนตรัย ผูนับถือศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต ยืนอยูในแถวในอาการสงบนิ่ง ผแู ทนนําสวดมนตไปทีละวรรคจนจบ ๑๑) พิธีกรส่ัง “สงบนิ่ง” ทุกคนสงบน่ิง โดยลดมือขวาท่ีถือหมวกไปอยูก่ึงกลางลําตัว แขนเหยียดตรงพรอมกับวางฝา มอื ซา ยทบั ลงบนหลังมือขวา กมหนาเล็กนอย สงบน่ิงประมาณ ๑ นาที แลวเงย หนา ขึ้น ๑๒) พิธีกรส่ัง “สวมหมวก” และยนื อยใู นทา ตรง ๑๓) พิธีกรสั่ง “แพ็ก ตามระเบียบ - พัก” ๑๔) พิธีกรหันหนามาทางผูอํานวยการฝกอบรมทําวันทยหัตถกลาววา “ขอเรียนเชิญ ผูอํานวยการฝก อบรมครบั /คะ” ๑๕) ผูอํานวยการฝกอบรมรับดวยทาวันทยหัตถ เดินออกจากแถวไปยืนดานหนาของ เสาธง หางประมาณ ๓ กา ว ๑๖) พิธีกรสั่ง “แพ็ก - ตรง” เม่ือผูอํานวยการฝกอบรมทําความเคารพแลว พิธีกรส่ัง “แพ็ก ตามระเบียบ - พัก” ๑๗) เมื่อผูอํานวยการฝกอบรมกลาวปราศรัยจบ ดําเนินการเกี่ยวกับกิจวัตรประจําวัน เชน รายงานผลการตรวจเยี่ยม การใหโอวาทตามขั้นตอน จบแลวพิธีกรส่ัง “แพ็ก - ตรง” ทุกคนเคารพดวย ทาตรง ผูอํานวยการฝกอบรมทาํ วนั ทยหัตถตอบและลดมือลง พิธีกรสัง่ “แพ็ก ตามระเบียบ - พกั ” ๑๘) พิธีกรกาวไปยืนหนาเสาธง หางประมาณ ๓ กาว นัดหมายแลวสั่ง “แพ็ก - ตรง” “แพก็ - แยก” หมายเหตุ • เมื่อพิธีกรจะใชคําส่ังทุกคร้ัง ใหกาวเทาออกจากแถวคณะวิทยากร ๑ กาว เมื่อส่ังเสร็จ ถอยหลัง กลบั เขาไปอยูในแถวตามเดมิ • เมื่อผูอํานวยการฝกอบรมจบการปราศรัย กลับหลังหันพรอมกับทําวันทยหัตถเพ่ือแสดง ความขอบคุณคณะวิทยากรในแถว เดินกลับเขามาถึงแถว คณะวิทยากรที่ยืนอยูจึงแยกยายกันออกจากแถว ทัง้ น้ี เพือ่ ความเปนระเบยี บเรยี บรอย เหมาะสมเปน แบบอยางถือปฏบิ ตั ิใหเ หมือนกนั • กรณีทวี่ ทิ ยากรผูเดนิ ทางมายงั ไมไ ดแนะนาํ ตัว ใหมีการแนะนาํ ตัวดวย • ถาเปนวันที่คลายวนั เกิดของคณะผูใหการฝกอบรมหรือผูเขารับการฝกอบรม ผูอํานวยการฝกอบรม กลาวอวยพร พรอมมอบของขวัญหรือชอดอกไม แลวรว มกันรองเพลงอวยพร ๒ จบ 10 12
๑.๓ การถวายราชสดุดีพระบรมรูปรชั กาลที่ ๖ ในพิธีเปดการฝกอบรมหลักสตู รลูกเสือชอ สะอาด เครอื่ งบูชา จัดตั้งไวหนาพระบรมรูป ควรมีเครื่องทองนอยและพานสําหรับวางพวงมาลัย หรือ ชอ ดอกไม ถา ไมมีเคร่ืองทองนอ ยใหจัดเครอ่ื งบชู า ดังน้ี ๑) ธปู ๑ ดอก เทียน ๑ เลม หรือเครือ่ งทองนอ ย ๒) พานสาํ หรับวางพวงมาลยั หรือชอ ดอกไม พธิ ีกร เชิญประธานในพธิ ีจุดธูปถวายราชสกั การะหลังจากจุดเทียนธูปบูชาพระรตั นตรัย แลว ประธานในพิธี ปฏิบัติดงั น้ี ๑) ประธานเดนิ เขามาในบริเวณพิธี ถอดหมวก เดินไปยังหนาพระบรมรูป หรือพระบรม ฉายาสาทิสลักษณ ถาประธานแตงเคร่ืองแบบลูกเสือใหทําวันทยหัตถ หากประธานไมแตงเครื่องแบบลูกเสือ ใหถวายคาํ นับ ๑ คร้งั รับพวงมาลยั หรือชอดอกไมจากเจาหนาท่ีวางบนพานหนาพระบรมรูป หรือพระบรมฉายา สาทสิ ลักษณ แลว จุดเทยี น ธปู ตามลาํ ดับ ๒) น่ังคุกเขาประนมมือถวายบังคม ๓ คร้ัง แลวลุกข้ึนยืนทําวันทยหัตถหรือถวายคํานับ ๑ ครง้ั ๓) ถอยออกมานงั่ เตรยี มถวายราชสดดุ ี กา วเทาซายไปขางหนาคร่ึงกาว คุกเขาลง ต้ังเขา ซายน่ังลงบนสน เทาขวา มือขวาแบคว่ําวางลงบนเขาขวา แขนซายวางพาดบนเขาซายเอียงไปทางขวาเล็กนอย เม่อื รองเพลงราชสดุดีใหกมหนา เล็กนอ ย และใหเงยหนา ข้ึนตามเดมิ เมือ่ จบเพลง (ถาถือหมวกดวยใหปฏิบัติตาม คมู ือการฝกระเบยี บแถวของสาํ นกั งานลูกเสือแหงชาติ) ผเู ขา รบั การฝกอบรม และแขกผูรับเชญิ อื่น ๆ ปฏบิ ัติ ดงั นี้ ๑) เมื่อประธานเดินไปจุดเทียน ธูปบูชาพระบรมรูป ทุกคนยืนอยูในทาตรง สําหรับผูนับถือ ศาสนาอสิ ลามนั่งสาํ รวมอยู ณ ทีน่ ่งั ๒) เมื่อประธานลงนั่งคุกเขาถวายบังคม ใหทุกคนน่ังลงในทาเตรียมถวายราชสดุดี สาํ หรับผูนบั ถอื ศาสนาอิสลามนง่ั สํารวมอยู ณ ท่นี ง่ั ๓) เมอื่ ประธานถอยมาน่งั ในทาเตรยี มถวายราชสดุดี พธิ ีกรจะนําถวายราชสดุดี ใหทุกคน รองตามพรอ มกนั ๔. เม่ือจบการถวายราชสดดุ แี ลว พิธกี รจะสงั่ ใหทุกคน “ลกุ ” ทกุ คนลุกขน้ึ ยนื หมายเหตุ สําหรับประธานในพธิ แี ละผูเขา รบั การฝกอบรมที่เปนสตรี เวลาถวายราชสดุดีเพ่ือความเหมาะสม ใหน่งั คกุ เขา ทงั้ สองขาง มอื ทัง้ สองวางขนานกันไวบ นเขาทง้ั คู โดยอนโุ ลม ๒. พธิ ีปด การฝกอบรม ๒.๑ พธิ ีปดการฝก อบรมในหองประชมุ การเตรียมงาน ๑) การเชิญประธาน ในการเชิญประธานมาทําพิธีปดการฝกอบรม ควรมีคุณสมบัติ เชนเดียวกับประธานพิธีเปดตามความเหมาะสม ๒) การจดั สถานท่ี การจดั สถานท่มี ีลกั ษณะและรปู แบบเชน เดียวกบั สถานทีใ่ นพธิ ีเปด ๓) ขัน้ ตอนในการเตรียมงาน ขั้นตอนในการเตรียมงานเชนเดียวกับพิธีเปด มีขอแตกตาง ดงั ตอไปนี้ 11 13
• ไมม พี ธิ กี ารทางศาสนาและถวายราชสักการะ • มีการเตรยี มวุฒิบตั รและเคร่ืองหมายผา นการฝกอบรม • นดั หมายผแู ทนผเู ขารบั การฝก อบรม กลา วแสดงความรสู กึ เก่ียวกับการฝกอบรม พิธปี ด การฝก อบรม จะปฏบิ ตั ิหลงั เสร็จส้นิ การอภิปรายซกั ถามปญ หาในการฝก อบรมแลว กรณีประธานเปน ผอู าํ นวยการฝก อบรม ๑) พธิ กี รเชญิ ผแู ทนผเู ขา รบั การฝกอบรมกลาวแสดงความรูสกึ เกีย่ วกบั การฝกอบรม ๒) ผูอ ํานวยการฝกอบรมประกาศผลการฝก อบรม ๓) มอบวุฒบิ ัตรและเคร่ืองหมายผา นการฝก อบรม ๔) ผูอาํ นวยการฝกอบรมกลา วปราศรัยและปด การฝกอบรม ๕) ทบทวนคาํ ปฏิญาณ กรณีประธานเปน บุคคลภายนอก ๑) พธิ กี รเชญิ ผแู ทนผูเขา รับการฝกอบรมกลาวแสดงความรูสึกเกีย่ วกับการฝก อบรม ๒) ผอู าํ นวยการฝก อบรมประกาศผลการฝก อบรม ๓) มอบวุฒบิ ัตรและเครอื่ งหมายผา นการฝก อบรม ๔) ผูอาํ นวยการฝกอบรมกลา วปราศรยั ๕) เชิญประธานเขา รวมในพธิ ปี ด ๖) ผอู ํานวยการฝก อบรมกลา วรายงาน ๗) ประธานกลา วปด ๘) ทบทวนคําปฏิญาณ ๒.๒ พธิ ีปดการฝกอบรมรอบเสาธง ๑) เขา แถวครึ่งวงกลม ๒) ขนั้ ตอนพธิ ีทางศาสนาเหมอื นพธิ ีหนา เสาธง ๓) ชกั ธงลง (ไมต องรองเพลงชาติ) ๔) รองเพลงสามคั คชี มุ นมุ จบั มอื เปนรปู วงกลมรอ งเพลงสามัคคีชุมนุม โดยใหมือขวา ทับมือซา ย เมื่อเรม่ิ รองเพลงใหคอย ๆ โยกตวั ไปทางขวา และซายสลับกนั ๕) รองเพลงลา ผูอาํ นวยการฝกเดนิ จับมือกบั คณะวิทยากร และลูกเสือจนครบทุกคน (ลกู เสือเดนิ จบั มือกนั ดว ย) จบั มือเปนรปู วงกลมรองเพลงสามัคคชี มุ นุม รอ งเพลงลา ผอู ํานวยการฝก เดนิ จับมือกบั ลูกเสือ 12 14
ช่อื วิชา วตั ถุประสงคของการฝก อบรมหลกั สตู รลกู เสอื สํารองชอสะอาด บทเรียนที่ ๑ เวลา ๓๐ นาที ขอบขา ยวิชา ผอู าํ นวยการฝก อบรมกลาวตอ นรับ แนะนําใหรูจักคณะผูใหการฝกอบรม อธิบายถึงวิธีการตอนรับของ คณะวิทยากร การดําเนินงาน พรอมท้ังระบุวัตถุประสงคของการฝกอบรมหลักสูตรลูกเสือสํารองชอสะอาด อยา งชดั เจน จดุ หมาย เพอ่ื ใหลูกเสือสํารองรู เขาใจ ปฏิบัติตามวัตถุประสงคและวิธีการฝกอบรม นําความรู แนวคิด ทัศนคติ การอยรู วมกันในสังคมไปปฏิบตั ิในชีวติ ประจําวนั อยา งมคี วามสุข เกิดคุณธรรมความดี ความซื่อสัตยสุจริต และ มีความรูสกึ ท่ดี ตี อ การฝกอบรมหลักสูตรลกู เสือสํารองชอ สะอาด วัตถปุ ระสงค เมอ่ื จบบทเรียนนี้แลว ลกู เสือสาํ รองสามารถ ๑. อธิบายถึงความอบอุน มีความรูสึกท่ีดีตอการตอนรับจากคณะวิทยากรและพบกับวิทยากรประจํา หมูได ๒. บรรยายวตั ถุประสงคของการฝก อบรมหลักสูตรลูกเสือสํารองชอ สะอาดได ๓. บรรยายถึงวธิ กี ารจัดฝกอบรมหลักสตู รลูกเสอื สาํ รองชอ สะอาดได วธิ ีสอน/กจิ กรรม บรรยายประกอบ สื่อ ภาพนิ่ง เกย่ี วกบั วตั ถุประสงคข องการฝกอบรมหลักสตู รลกู เสือสาํ รองชอสะอาด สอ่ื การสอน สอ่ื ภาพนิ่งประกอบการบรรยายวตั ถุประสงคห ลักสูตรลกู เสือสํารองชอสะอาด การประเมนิ ผล ๑. วิธกี ารวดั ผล : สังเกตพฤติกรรมในการฟงบรรยาย ๒. เคร่ืองมอื วัดผล : แบบสงั เกตพฤติกรรมในการฟง บรรยาย ๓. เกณฑการประเมนิ ผล : ระดบั คุณภาพดี หมายถึง ผาน เนอ้ื หา ความประทับใจคร้ังแรกเปนเร่ืองสําคัญ ทุกส่ิงทุกอยางควรเตรียมใหพรอมเสร็จ เพ่ือวาคณะผูให การฝก อบรมจะไดว างทาํ การตอ นรับลกู เสือสาํ รองท่ีจะเขา รับการฝกอบรม เม่ือลูกเสือสํารองมาถึง ควรไปลงทะเบียนรายงานตัว รับเอกสาร แตงเคร่ืองแบบลูกเสือใหเรียบรอย จัดแบงออกเปนหมู วิทยากรประจําหมูควรแนะนําใหสมาชิกในหมูทุกคนไดรูจักเมื่อมาถึง ถาสมาชิกแตละคน ในหมูไ ดรจู กั กนั โดยเร็วทสี่ ดุ แลว จะชวยใหลดความประหมา ความไมคุนเคยจะหมดไป วิทยากรควรอธิบายถึง สถานท่ีท่ีใชในการฝกอบรมตาง ๆ ใหสมาชิกทราบดวย วิทยากรประจําหมูอาจแนะนําใหดูหนังสือ คูมือ แผนภูมิ ฯลฯ ทแี่ สดงไว 13 15
จงเรม่ิ งานใหต รงเวลาท่ีกาํ หนดไว ผอู ํานวยการฝก อบรมควรทําดงั น้ี ๑. กลาวคาํ ปราศรยั ตอนรับ ๒. แนะนาํ คณะวิทยากร ๓. ช้แี จงวตั ถุประสงคของการฝกอบรม ๔. อธิบายวธิ กี ารทีจ่ ะใชในการฝกอบรม ๕. อธบิ ายวิธีการบรหิ ารจดั การในการฝก อบรม ๖. อธบิ ายถึงวธิ กี ารประเมนิ ผลในการฝก อบรม การกลา วตอนรบั แสดงความรูสึกอยางจริงใจ เปรียบเสมือนลูกเสือสํารองและคณะวิทยากรอยูรวมกัน เหมอื นญาตพิ น่ี อง เหมือนเพอ่ื นสนิท ทําใหการอยรู วมกันระหวางการฝก อบรมมีความสขุ ผูอํานวยการฝกอบรมควรกลาวดวยวา ลูกเสือสํารองแตละคนมีความรู มีทักษะและประสบการณ ท่ีจะไดรับจากการฝกอบรมครั้งนี้ดวย ฉะน้ัน ขอใหลูกเสือสํารองทุกคนเห็นวาการฝกอบรมคร้ังน้ี เปน การแลกเปลยี่ นความรู และประสบการณซง่ึ กันและกัน การฝกอบรมหลักสูตรลูกเสือสํารองชอสะอาดอาจประสบปญหาความยุงยากบาง เพราะวาลูกเสือ สํารองยังมิไดรูจักคุนเคยกัน จึงเสนอแนะใหใชเวลาเล็กนอยกอนเร่ิมบทเรียน เพื่อวิทยากรประจําหมูจะได แนะนาํ สมาชิกไดรูจักกนั และกนั ผอู าํ นวยการฝก และผรู บั ผดิ ชอบโครงการชี้แจงวัตถปุ ระสงคข องการฝก อบรม 14 16
แบบสังเกตพฤติกรรมการฟงบรรยาย หมู............................... ลาํ ดบั พฤตกิ รรม คณุ ภาพการปฏบิ ตั ิ ๓๒๑ ๑ มคี วามกระตือรอื รนใหความสนใจในการฟง บรรยาย ๒ มีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น รวม ลงชอื่ ..............................................ผูประเมิน (...............................................) เกณฑการใหค ะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอยางสมํ่าเสมอ เทากับ ดี ให ๓ คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบอยครงั้ เทากับ พอใช ให ๒ คะแนน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบางคร้ังหรอื นอยครง้ั เทากับ ปรับปรุง ให ๑ คะแนน เกณฑก ารตดั สินคุณภาพ ชว งคะแนน ระดับคุณภาพ ๕ - ๖ ดี ๓ - ๔ พอใช ๒ ปรบั ปรงุ 15 17
ชือ่ วิชา ปฐมนิเทศการฝกอบรมหลักสตู รลูกเสือสาํ รองชอสะอาด บทเรียนที่ ๒ เวลา ๙๐ นาที ขอบขายวิชา ๑. มอบหบี อปุ กรณ/การแตงกาย ๒. การใชสมุดจดรายวชิ า ๓. แนะนาํ สถานที่ ๔. หมูและการเปลย่ี นหนา ท่ีภายในหมู ๕. หนา ท่ขี องหมูบริการ ๖. แนวปฏิบัติอื่น ๆ ท่จี ะตองปฏบิ ัตริ วมกนั จุดหมาย เพื่อใหลกู เสือสาํ รองไดทราบรายละเอียดและแนวปฏบิ ตั ิใหเปนไปในทางเดยี วกนั วตั ถปุ ระสงค เม่ือจบบทเรียนน้ีแลว ลูกเสอื สาํ รองสามารถ ๑. ปฏิบัติตนตามขอตกลงรวมกันได ๒. รบั ผิดชอบงานประจาํ วันที่ไดรบั มอบหมายได ๓. บอกรายละเอียดและขั้นตอนของพิธเี ปด การฝก อบรมได วธิ สี อน/กจิ กรรม บรรยายประกอบการสาธิต หรอื นาํ ชมสถานที่ ดังนี้ ๑. ในการปฐมนิเทศ ใชสถานท่ีบริเวณสนามหรือสถานที่ที่เปนธรรมชาติ จัดสถานท่ีเลียนแบบปาดง พงพีในนิยายเมาคลี และสถานท่ีในการฝกอบรมจะมีช่ือตัวละครในนิยายเมาคลี เชน หองประชุมใชชื่อวา หอ งประชมุ อาเคลา หอ งนํา้ ใชชอื่ วาตาบากคิ ลายทุกข บรเิ วณรอบเสาธงใชช ือ่ วา ลานศรัทธาหตั ถี ๒. ผปู ฐมนเิ ทศคือทานผูอํานวยการฝก ซ่ึงผูอํานวยการฝกจะสวมบทบาทเปนหัวหนาฝูงหมาปาอาเคลา โดยการติดปายช่ืออาเคลา สว นผเู ขารับการฝกอบรมจะถูกสมมุติเปนลูกหมาปา คณะวิทยากรผูใหการฝกอบรม ทุกทานสวมบทบาทเปนตวั ละครในนยิ ายเมาคลี โดยตดิ ปายชือ่ ตัวละครนนั้ ๓. เรม่ิ โดยผูอาํ นวยการฝก เลา นิทานเมาคลี ตอนท่ี ๑ กําเนดิ เมาคลี และปฐมนิเทศตามเนือ้ หาวชิ า สื่อการสอน ๑. เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ๒. อุปกรณส วนบคุ คล ๓. Power Point, วดี ิทศั น การประเมนิ ผล ๑. วธิ กี ารวัดผล : สงั เกตพฤติกรรมในการฟง บรรยาย สาธติ และปฏบิ ตั ิ ๒. เคร่อื งมือวัดผล : แบบสงั เกตพฤติกรรมในการฟง บรรยาย สาธติ และปฏิบัติ ๓. เกณฑการประเมนิ ผล : ระดบั คุณภาพดี หมายถึง ผาน 16 18
เนอื้ หาวิชา การปฏิบัติตนของลูกเสือสํารอง เพื่อที่จะใหการฝกอบรมเปนไปตามความตองการของคณะผูให การฝก อบรมไดอ ยางดีนนั้ ขึน้ อยูก บั การชแ้ี จง แนะนาํ ไดล ะเอียดมากนอ ยเพียงใด วทิ ยากรผูท่ีจะทําหนาที่ช้ีแจง น้ัน จะตองเปนผูมีบุคลิกลักษณะที่นาเล่ือมใสพอสมควร มีความรูและทักษะในการบริหารงานฝกอบรม เปนอยางดี พรอมกันน้ีจะตองรูจักสถานที่ทั้งหมดภายในคายฝกอบรมดวย จึงจะทําใหลูกเสือสํารองปฏิบัติตน ไดถูกตองครบถวน ตามความมุงหมายของคณะผูใหการฝกอบรม น่ันก็คือ “การปฐมนิเทศ” การปฐมนิเทศจะ ไดผ ลดีเพียงใดนน้ั จะทราบผลไดในการปฏบิ ตั ิจากลูกเสอื สาํ รองทเี่ ขา รับการฝก อบรมนนั่ เอง ผูท ีจ่ ะทําหนาทป่ี ฐมนเิ ทศน้ัน ควรจะตองมคี วามรู ความเขาใจและทกั ษะตาง ๆ ดงั น้ี • การใชส มดุ จดวชิ า • การจดั หมู • การปฏิบัตขิ องผเู ขา รบั การฝก อบรมในระหวา งการฝกอบรม • การจดั เตรยี มสถานท่ี • การรักษาเวลา • ขอหามตาง ๆ ในการฝก อบรม • การรกั ษาพยาบาล • วิธดี าํ เนนิ การฝกอบรม • หนาทห่ี มูบรกิ าร • การวดั ผลหรอื การประเมนิ ผล ๑. การจดั หบี อปุ กรณ หีบอุปกรณเปนเครื่องมือที่สําคัญของหมูท่ีจะชวยใหการฝกอบรมบรรลุวัตถุประสงค ที่กลอง/หีบ ดานนอกเขียนชื่อหมูของลูกเสือสํารองชอสะอาด ที่กลอง/หีบดานในติดรายการอุปกรณ อุปกรณควรมี สิง่ เหลา น้ี จดั ไวลวงหนา กอ นเปด การฝก อบรม ดังน้ี • ผาผูกคอ • เครอื่ งหมายหมู • เครื่องหมายตาํ แหนง นายหมู และรองนายหมู • เครือ่ งหมายตาํ แหนงพลาธิการ • ปายชอื่ • เข็มกลดั ซอ นปลาย • เข็มเย็บผา พรอมดา ย • ไมบ รรทัด • สีเมจกิ • สมุดจดบันทกึ ของผเู ขารบั การฝกอบรม • กรรไกร • คัตเตอร • อุปกรณใชฝก อบรมอื่นสาํ หรับการฝกอบรม 17 19
๒. การแตงกายในการฝกอบรมหลักสตู รลูกเสอื สาํ รองชอสะอาด ผเู ขา รับการฝกอบรม ๒.๑ แตงเครื่องแบบลูกเสือ ตามประเภทลูกเสือสาํ หรับการฝกอบรม ๒.๒ ผา ผกู คอ ใชผ า ผกู คอสาํ หรับการฝก อบรม ๒.๓ หมวก การฝก อบรมหลกั สูตรลกู เสือสํารองชอ สะอาด สวมหมวกทรงออน ๒.๔ ปา ยช่อื ผูเขารับการฝกอบรมทุกคนตองติดปายช่ือที่เหนือกระเปาขางขวา ปายช่ือเปนกระดาษแข็งสีอะไรก็ได ใหมีขนาดกวางประมาณ ๔ - ๕ ซม. ยาว ๘ - ๙ ซม. เขยี นชอ่ื ตัว - ชอื่ สกลุ ไวบรรทดั บน ชื่อหมู/กลุม ที่บรรทัดลางดวยขนาดที่มองเห็นชัดเจน หุมดวยพลาสติกแข็ง ใชต ดิ ท่ีหนา อก เหนอื กระเปา เสื้อขา งขวา ๒.๕ เครอ่ื งหมายหมู ใชอนุโลมตามเครื่องแบบลกู เสือตามกฎกระทรวง ตดิ แขนซา ย ๒.๖ เครือ่ งหมายนายหมู ใชแถบผา สขี าว กวาง ๑.๕ ซม. นายหมูใช ๒ แถบ ยาวตามกระเปา รปู สเ่ี หลย่ี มผืนผา ๒.๗ เคร่ืองหมายรองนายหมู ใชแถบผาสีขาว กวาง ๑.๕ ซม. รองนายหมูใช ๑ แถบ ยาวตาม กระเปา รูปสเ่ี หลยี่ มผืนผา ๓. โอกาสในการแตงกาย ผูเขา รับการฝก อบรมแตงเครอ่ื งแบบครบ คือ ก. ในพิธเี ปด - ปด การฝก อบรม ข. ในพธิ ีประชมุ รอบเสาธง (ตอนเชา ) ค. เมือ่ ไดรับอนุญาตใหออกไปนอกบรเิ วณคายฝก อบรม (เพือ่ ธุรกิจทีจ่ าํ เปน ) ง. เม่อื ผูอาํ นวยการฝกอบรมจะนดั หมายเปน กรณีพเิ ศษ การแตง กายอยางอื่น ๑. แตง กายลําลอง คือ การแตงกายสุภาพ ใชเสื้อมีแขน ประกอบดวยหมวก ผาผูกคอ เครื่องหมายหมู เครอื่ งหมายนายหมู รองนายหมู พลาธิการ และปา ยชอ่ื (หา มสวมรองเทาแตะ) ๒. แตงกายตามสบาย คือ การแตงกายสุภาพ (ใชเสื้อมีแขน - หามสวมรองเทาแตะ) แตไมตองมีหมวก ผาผูกคอ สวนเครื่องหมายอ่ืน ๆ ควรติดไวเพ่ือจะไดทราบหมู และหนาท่ี โอกาสท่ีจะแตงกายตามสบาย เปน การเรยี นตอนกลางคนื หรอื เมือ่ เลกิ จากฝกอบรมประจาํ วันแลว ๔. การใชส มุดจดวิชา บอกใหทราบถงึ การฝกอบรม เปน ตนวา หนาที่ ๑ การฝก อบรมหลักสูตรลูกเสือสาํ รองชอ สะอาด รนุ ท่ี……………… ระหวา งวันที่………………… หนาท่ี ๒ ณ คา ย…………………………………….. หนาที่ ๓ รายช่ือคณะผูใหการฝกอบรม เขียนเย้ืองไปทางซายเพ่ือจะเหลือดานขวาของ หนาท่ี ๔ หนา กระดาษไวส าํ หรบั ขอลายเซ็น หนา ท่ี ๕ รายช่อื ผเู ขา รบั การฝกอบรมในหมู ปฏิบตั เิ ชนเดียวกบั หนา ที่ ๒ ขอ ความสาํ คญั ของประธานผูกลาวเปด หรือผูรายงานท่ีเปนใจความสาํ คัญ ตารางการฝก อบรม 18 20
หนา ที่ ๖ เปนหนาที่ของผูเขารับการฝกอบรมจะตองบันทึกเกี่ยวกับคําบรรยายของผูบรรยาย แตละวิชา ควรจะมีรูปแบบ ดังนี้ หัวขอบรรยาย • ผูบรรยายคอื ใคร • วัน/เดือน/ป ทีบ่ รรยาย ควรเขียนท่ีมุมทางซายแตละหนา ตอจากน้ันแตละบรรทัดควรมีหัวขอยอย ลงไปตามลําดับ • สมุดโนตวิชาเหมือนกระจกเงาของแตละคน วันสุดทายวิทยากรประจําหมูมีหนาที่ตรวจและให ขอ คิดเห็นในสมดุ ของผเู ขา รบั การฝกอบรม • ปกหลังดานในสมุดของผูเขารับการฝกอบรบ กําหนดใหมีการสอบในเรื่องคําปฏิญาณและกฎ ของลูกเสอื การสเกตภาพประจาํ วัน ขอ ควรจาํ ของผูเ ขารับการฝกอบรม หรือส่งิ ที่ควรนําไปปฏบิ ตั ิ สมดุ ลูกเสอื ๕. การจดั หมู ผูเขารับการฝกอบรมทุกคน ใชผาผูกคอของการฝกอบรมตามที่กําหนดและติดเคร่ืองหมายประจําหมู นอกจากน้ี ผูอ าํ นวยการฝกอบรมจะเปนผูก ําหนดใหม ีการแตงกายแบบลาํ ลอง ตามโอกาสอันสมควร อัตรากําลังของหมูเปนไปตามขอบังคับคณะลูกเสือแหงชาติวาดวยการปกครอง หลักสูตรและวิชา พเิ ศษ เวลา ๑๒.๐๐ น. เปลี่ยนหนาท่ีภายในหมู เพื่อทุกคนจะเรียนรูความรับผิดชอบภายในหมูระหวาง การฝกอบรม ๖. การปฏิบตั ิของผูเขารบั การฝกอบรมในระหวางการฝก อบรม เวลา ๐๘.๐๐ น. พธิ เี ปดรอบเสาธง เวลา ๐๘.๓๐ น. การฝก อบรม/กิจกรรม เวลา ๑๑.๓๐ น. รบั ประทานอาหารกลางวัน เวลา ๑๒.๓๐ น. การฝกอบรม/กิจกรรม เวลา ๑๖.๐๐ น. ปด การฝกอบรม ๗. การเตรยี มจัดสถานท่ีรบั ประทานอาหาร และการจดั การฝกอบรม เปนไปตามทีผ่ อู ํานวยการฝก กําหนด ๘. การตรงตอ เวลาและการรักษาความสะอาด เปนไปตามตารางการฝก อบรมและขอกําหนด 19 21
๙. การรกั ษาพยาบาล เปนหนาที่ของผูเขารับการฝกอบรมจะตองปฏิบัติและรักษาตัวเอง และคายฝกอบรมจะตองจัด เจาหนาทฝ่ี า ยบริการและใหความสะดวกตลอดเวลาการฝกอบรม เพอื่ ใหเกิดความปลอดภัยและสบายใจ ๑๐. หนา ท่ีหมูบรกิ าร ใหเปนไปตามขอกําหนดเพื่อความเหมาะสมแตละสถานท่ีในการฝกอบรม โดยจะกําหนดหมูบริการ ประจาํ วัน และหนา ท่หี มูบริการแตละวนั จะสิน้ สุดเวลา ๑๘.๐๐ น. หมูบรกิ ารมหี นา ท่ีในการปฏบิ ัติ ดงั ตอ ไปนี้ ๑๐.๑ การเตรยี มและชักธงชาตขิ ึ้นสูย อดเสาในตอนเชาเวลา ๐๘.๐๐ น. และชักธงลงเวลา ๑๘.๐๐ น. การชกั ธงขึ้นและชักธงลง ใหป ฏิบตั ติ ามขอ บังคบั คณะลกู เสือแหง ชาติ ๑๐.๒ การทาํ ความสะอาดสถานท่ีท่ใี ชร ว มกนั เชน หองนา้ํ หอ งสวม หองเรยี น บริเวณรอบเสาธง ๑๐.๓ การจดั สถานทีเ่ กมเงยี บ การเตรียมสถานท่ี การทําความสะอาดหลังการเลน เกมเงียบ ๑๐.๔ การชวยเหลือจัดอุปกรณ เตรียมอุปกรณท ี่จะใชในการฝก อบรมตามที่วิทยากรกาํ หนด ๑๐.๕ หนา ท่อี ื่นใดท่ีไดรบั มอบหมาย ๑๑. แนวปฏบิ ตั เิ มื่อวิทยากรเขา - ออก ในการใหค วามรู ๑๑.๑ เม่ือวิทยากรเขาบรรยายแตละวิชา ใหผูเขารับการฝกอบรมยืนตรง แสดงความเคารพ (วนั ทยหตั ถ) พรอ มกลา วคาํ วา “สวัสดีครบั /คะ” เอามือลง และน่ังลงที่เดมิ ๑๑.๒ เม่ือวิทยากรจบคําบรรยายแตละรายวิชา ใหผูเขารับการฝกอบรมยืนตรง แสดงความเคารพ (วนั ทยหัตถ) พรอ มกลาวคาํ วา “ขอบคณุ ครับ/คะ” เอามือลงและน่ังลงทเี่ ดมิ ๑๒. การรักษาสง่ิ ของมีคา ขอใหแตล ะหมนู าํ ไปฝากไวที่วิทยากรประจําหมู และ/หรือ หากคายฝกอบรมมีสถานที่รับฝากของมีคา ที่ปลอดภัย ใหนําไปฝากไว ณ ที่น้ัน ท้ังนี้ เมื่อเกิดการสูญหาย เพ่ือนสมาชิกผูเขารับการฝกอบรมจะเกิด ความไมส บายใจ ๑๓. กิจกรรมยามวาง (SPARE TIME ACTIVITY) เปนทย่ี อมรบั กนั วา กิจกรรมยามวางเปน อุปกรณในการฝก อบรมอยา งไดผ ลดี เพราะวา ๑๓.๑ กิจกรรมยามวางชวยใหผูอํานวยการฝกอบรมสามารถประเมินผลความสามารถของผูเขารับ การฝกอบรมวาไดร ับความรมู ากนอยเพยี งไร หากเห็นวายังมีอะไรบกพรอ ง ควรจะสอนอะไรเพมิ่ เตมิ ให ๑๓.๒ ฝายผูเขารับการฝกอบรมเอง ก็ปรารถนาจะทดสอบความรูของตนวาไดรับความรูไปมากนอย เพยี งไร และมีโอกาสทจี่ ะเสาะหาความรู ความเขาใจจากวิทยากรในประเดน็ ทต่ี นเองยังไมเ ขาใจ ๑๓.๓ กิจกรรมยามวางเปนกิจกรรมหน่ึงท่ีจะทําใหคณะผูใหการฝกอบรมและผูเขารับการฝกอบรม ปรับตัวเขาหากัน มีสัมพันธภาพที่ดีตอกัน มีการหารือในการแกปญหาอ่ืน ๆ ทําใหเกิดความสนิทสนมกัน มากย่ิงข้ึน ขอควรระลึกถึงมีวา เมื่อใดใหกิจกรรมยามวางแกผูเขารับการฝกอบรมไปทําแลว ควรใหมีระยะเวลา เพียงพอที่ทุกคนจะศึกษาหาความรู ทําความเขาใจกับกิจกรรมยามวางท่ีใหไปกอน แลวจึงนัดหมายใหมาทํา การทดสอบ การทํากิจกรรมยามวางน้ัน เปนเร่ืองของผูเขารับการฝกอบรมแตละคนที่จะไปศึกษาหาความชํานาญ เพม่ิ เติม ถา สงสยั จะถามหรือขอคําแนะนําจากเพ่ือนสมาชกิ หรอื วิทยากร 20 22
กิจกรรมยามวาง อาจจดั ใหมใี นเรือ่ ง ตอ ไปน้ี ๑. คาํ ปฏิญาณและกฎของลูกเสอื ๒. การสเกตภาพ ๓. กิจกรรมหรือทักษะอยางอ่นื ทผ่ี อู าํ นวยการฝก จะเห็นสมควร ๑๔. การวดั ผลหรือประเมนิ ผลในระหวางการฝกอบรม ผูที่เขารบั การฝกอบรมผา นหรือไมผ านการฝก อบรม พจิ ารณาจากส่งิ ตอไปนี้ ๑๔.๑ ผูเขารับการฝกอบรมจะขาดการฝกอบรมไมเกิน ๓ ชั่วโมง และตองไดรับอนุญาตจาก ผูอํานวยการฝกอบรมเปนผูพิจารณาเปนราย ๆ โดยจัดทําบันทึกขออนุญาตเปนลายลักษณอักษรผานวิทยากร ประจําหมู ๑๔.๒ ระบบหมู ๑๔.๓ ความตง้ั ใจและสนใจในการเขารว มกิจกรรมในระหวางการฝกอบรม ๑๔.๔ การสอบกจิ กรรมยามวาง ๑๔.๕ สมุดจดรายวชิ า ๑๔.๖ ผูอํานวยการฝกอบรม เปนผูประเมินจากการสังเกตพิจารณาของวิทยากรประจําหมู และ วิทยากรอ่ืน ๆ การปฐมนิเทศเพอ่ื ชีแ้ จงแนะนํา หบี อปุ กรณ 21 23
หมู.................................. แบบสังเกตพฤติกรรมการฟงบรรยาย ลาํ ดบั พฤตกิ รรม คณุ ภาพการปฏบิ ตั ิ ๓๒๑ ๑ มคี วามกระตือรอื รนใหความสนใจในการฟง บรรยาย ๒ มสี ว นรว มในการสาธติ และปฏิบตั ิ รวม ลงช่ือ..............................................ผูประเมนิ (...............................................) เกณฑก ารใหค ะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยางสมํ่าเสมอ เทา กับ ดี ให ๓ คะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบอยคร้ัง เทากบั พอใช ให ๒ คะแนน ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบางคร้งั หรือนอยครง้ั เทากบั ปรับปรงุ ให ๑ คะแนน เกณฑการตดั สินคณุ ภาพ ชวงคะแนน ระดบั คุณภาพ ๕ – ๖ ดี ๓ – ๔ พอใช ๒ ปรบั ปรงุ 22 24
ชอื่ วิชา ลกู เสือสาํ รองชอสะอาดกับการจัดกิจกรรมกลุมสัมพนั ธ บทเรยี นที่ ๓ เวลา ๖๐ นาที ขอบขายรายวชิ า รูปแบบการจัดกิจกรรมกลุมสัมพันธ การจัดกิจกรรมสรางความคุนเคยใหกับสมาชิกผูเขารับ การฝกอบรม เพื่อเปนการกระตุนใหผูเขารับการฝกอบรมแสดงออกและมีการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมไปตาม วตั ถปุ ระสงค อนั จะเปน ผลตอการฝกอบรม และดาํ เนินไปดว ยความราบรืน่ และรวดเร็วยิง่ ข้นึ กจิ กรรม วัตถุประสงค ละลายพฤติกรรม (Ice Break) เพ่อื สรางความคนุ เคย ทําความรจู กั กนั ใหมากยิ่งขึ้น กระบวนการกลมุ (Group Process) เพอ่ื สรา งกระบวนการทํางานรวมกับกลมุ การสรางและการทาํ งานเปน ทมี เพ่ือสรา งทีมงานใหเ กิดการยอมรบั ซงึ่ กนั และกนั (Team Building and Team Work) เนนการปลุกพลัง เตรยี มความพรอ มกับการแขง ขนั และทําใหสมาชกิ ในทีมไดมโี อกาสปฏสิ ัมพันธกนั การพฒั นาศกั ยภาพ เพ่ือใหเ กิดการยอมรับความแตกตาง เปด ใจยอมรบั (Golden Chain Development) ซ่งึ กันและกัน เกิดสัมพันธภาพท่ีดีตอเพื่อนรว มงาน จดุ มุงหมาย เพ่ือใหลูกเสอื สํารองสามารถสรางความสมั พันธร ะหวา งกัน วัตถุประสงค เมอื่ จบบทเรยี นน้ีแลว ลกู เสือสํารองสามารถ ๑. สรางความสัมพันธแ ละอยูรว มกนั ในคายฝกอบรมอยางมีความสขุ ๒. ปฏิบตั งิ านรว มกนั เปน ทีม ๓. ทาํ ความรูจกั ตัวตนของกันและกันใหมากที่สุด ๔. มคี วามกระตือรอื รน ๕. กลา แสดงออกในเวลาท่ีถูกตองเหมาะสม วธิ สี อน/กิจกรรม ๑. นําเขาสูบทเรียนโดยใชกิจกรรมหรือเพลงท่ีสนุกสนานประกอบกิจกรรม เชน เจอะกัน เพลงสวัสดี เพลงเชาวันหนึ่งวันนั้น และแสดงทาทางประกอบเพลง เพื่อกระตุนใหมีความพรอมที่จะปฏิบัติกิจกรรมตอไป เชน • ฝก ปรบมือตามจงั หวะ ๑ ครง้ั , ๒ ครงั้ , ๓ คร้ัง, ……., ๑๐ คร้ัง • ฝกปรบมอื ตามคาํ สัง่ เชน ถาวทิ ยากรชม้ี ือไปทางกลมุ ใดใหต บมอื เปนชุด พรอ มสงเสยี ง “เฮ” • นัดหมายสัญลักษณทาทางเมื่อวิทยากรกลาวขอความ เชน วิทยากรถามวาพรอมมั้ย ๆ ใหล กู เสอื ปรบมอื ๓ ครง้ั ตบตัก ๓ ครง้ั กํามอื ชขู นึ้ ๒ ครง้ั แลว เปลง เสียงวา พรอมแลว ๆ ๒. จดั กิจกรรมพัฒนาความสมั พันธเ พ่อื ความเปน หน่ึงเพ่อื สรางความคนุ เคย โดยใชเพลง เกม 23 25
๓. ดําเนินกิจกรรมใหผูเขารับการฝกอบรมไดทําความรูจักกันต้ังแต ๒, ๔, ๖, ๘, ๑๐ คน การจับกลุม สนทนาซักถามขอมลู สว นตวั ซ่ึงกันและกัน โดยใชเ พลง สลบั เกม กิจกรรมทีใ่ ชค วรใหผูเ ขารว มกิจกรรมไดเปลี่ยน พฤตกิ รรม ดังน้ี • มีการเคลือ่ นไหวสว นตาง ๆ ของรา งกายใหม ีความสมั พันธกันกบั จังหวะเพลง • เนน ความสนุกสนานเพลดิ เพลนิ ตื่นตวั แตมีสาระและเปนการสรา งบรรยากาศใหก ับสมาชกิ • มกี ารปฏิบัติงานรวมกนั เปนทมี • มปี ฏิสัมพนั ธความเปน มิตรไมตรีตอ กัน • ไดท ําความรูจกั ตวั ตนของกนั และกนั ใหมากท่สี ดุ • สงเสริมใหก บั สมาชกิ ไดแ สดงออกในทางที่ดี • เกดิ การเปลยี่ นแปลงทศั นคติใหกับสมาชกิ • เกิดเสรมิ สรา งความคดิ รเิ ริ่มสรา งสรรค ๔. วทิ ยากรและผูเ ขารับการฝกอบรมสรุปกจิ กรรมองคป ระกอบการมีสัมพันธภาพท่ดี ี สื่อการสอน ๑. ใบความรทู ่ี ๑ กิจกรรมกลมุ สมั พนั ธ ๒. ใบความรูท่ี ๒ เพลงประกอบการจดั กจิ กรรมกลุม สัมพนั ธ ๓. วีดิทัศน การประเมนิ ผล ๑. วธิ กี ารวดั ผล : ประเมนิ การปฏิบตั ิกจิ กรรมกลุม ๒. เคร่ืองมอื วัดผล : แบบประเมินการปฏิบตั ิกิจกรรมกลมุ ๓. เกณฑก ารประเมนิ : มีผลการประเมนิ ผา นเกณฑทีก่ ําหนด เนือ้ หาวิชา กิจกรรมกลมุ สมั พนั ธ กจิ กรรมกลุม สมั พนั ธ 24 26
ใบความรทู ี่ ๑ กิจกรรมกลุมสัมพันธ การกําหนดรูปแบบ การกาํ หนดรูปแบบและวธิ ีการของกลมุ สมั พนั ธอ อกเปน รปู แบบตาง ๆ เพอ่ื ใหวทิ ยากรสามารถวางแผน จัดกิจกรรมอยางเหมาะสม เพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจถึงลักษณะของกิจกรรมกลุมสัมพันธไดชัดเจนยิ่งขึ้น จึงขอสรปุ รูปแบบของกลมุ สัมพนั ธเ ปน ๔ รูปแบบ ดงั น้ี ๑. กิจกรรมกลุม ๒. เกม ๓. เพลง ๔. เพลงประกอบจังหวะทาทาง ซงึ่ ในทางปฏิบัตกิ ารจดั กลุมสัมพันธเพื่อการฝกอบรมแตละคร้ัง วิทยากรจะจัดทั้ง ๔ รูปแบบควบคูกัน เพ่ือเปน การสรางบรรยากาศของการฝกอบรม และใหการดําเนินการฝกอบรมบรรลุตามจุดมุงหมายที่กําหนดใหมาก ทส่ี ุด ตอไปนจี้ ะกลา วถึงรายละเอยี ดของกลมุ สัมพันธพ อสงั เขป ดงั น้ี กจิ กรรมกลมุ เปนวิธีการท่ีใชกับกลุมของผูเขารับการฝกอบรม โดยใหผูเขารับการฝกอบรมกระทํากิจกรรมรวมกัน หรือมกี ารแสดงออกรว มกันภายใตจุดมุงหมายบางประการ เชน ฝกทักษะมนุษยสัมพันธ ฝกการทํางานรวมกัน เปน กลุม การทาํ ความเขา ใจตนเอง เขาใจผูอ่ืน เปนตน และลักษณะของกิจกรรมสวนใหญ จะเปนการเสริมสราง ความรสู ึกสรางสรรค ประสบการณ และสรางทัศนคติท่ีดีงามตอกัน โดยมุงเนนใหสมาชิกเรียนรูดวยการกระทํา และข้ันตอนสุดทายของกิจกรรม จําเปนจะตองมีการติชม (Feedback) เพ่ือใหสมาชิกเกิดการหย่ังรู (Insight) ดว ยตนเอง การจดั กิจกรรมกลุม สามารถทาํ หลายวิธี แลว แตความเหมาะสมของสถานการณ ดังนี้ ๑. การแสดงบทบาทสมมุติ (Role - Playing) เปนวิธีการจัดกิจกรรมกลุมเพ่ือการฝกอบรม โดยจัดใหผูเขารับการฝกอบรมแสดงบทบาทใน สถานการณใดสถานการณหนึ่ง เหมือนใชชีวิตจริง ๆ โดยวิทยากรจะกําหนดโครงเร่ืองท่ีสมมุติขึ้นมา แลวให ผูเขารับการฝกอบรมสวมบทบาทน้ัน ๆ และแสดงออกตามความรูสึกของตนเองที่แสดงพฤติกรรมของตนเอง อยา งลึกซ้งึ และเปน การชวยพัฒนาทักษะในดานมนษุ ยสัมพันธ รวมท้ังอาจชวยใหเกิดการเปล่ียนแปลงทัศนคติ ดวยการแสดงบทบาทน้ี ๒. กรณีตวั อยา ง (Case Study) เปนวิธีการที่ใหผูเขารับการฝกอบรมศึกษาเรื่องราว ซ่ึงรวบรวมจากเหตุการณที่เกี่ยวของกัน เพื่อให ผูเขารับการฝกอบรมศึกษา วิเคราะห อภิปรายรวมกัน เพ่ือนําไปสูการสรางความเขาใจและฝกฝนหาทางแกไข ปญหาน้ัน ๆ ภายใตสถานการณท่ีใกลเคียงความเปนจริงมากที่สุด วิธีการนี้เหมาะท่ีจะใชกับขนาดของกลุมท่ี ไมใหญนัก เพราะสมาชิกจะชว ยกันอภปิ รายและแลกเปล่ียนความคิดเห็นกันอยางท่ัวถึง และเร่ืองที่มอบหมายให ศึกษาน้ัน ตองมีรายละเอียดมากพอท่ีจะชวยใหสมาชิกมองเห็นจุดสําคัญของปญหาและขอมูลตาง ๆ เพ่ือชวย ในการพิจารณาวา วิธีการน้ีนอกจากจะเปนการฝกใหสมาชิกรูจักวิเคราะห อภิปราย และหาแนวทางแกไข ปญหารวมกันแลว ยังเปนการชวยใหสมาชิกรูจักคิดและพิจารณาขอมูลท่ีตนไดรับอยางถี่ถวนและอยางมีเหตุ มผี ล 25 27
๓. สถานการณจ าํ ลอง (Simulation) เปนวิธีการท่ีวิทยากรจําลองสถานการณจริง หรือสรางเสริมสถานการณใหใกลเคียงกับความเปนจริง แลวใหผ เู ขา รับการฝก อบรมเขาไปอยูในสถานการณน้ัน ๆ และมีปฏิกิริยาโตตอบซึ่งกันและกัน วิธีการน้ีจะชวย ใหผูเขารับการฝกอบรมมีโอกาสทดลองแสดงพฤติกรรมตาง ๆ มากที่สุด เพื่อจะเขาใจถึงท่ีมาของพฤติกรรม แตล ะบคุ คล และทําใหค นเรามกี ารแสดงพฤตกิ รรมทแ่ี ตกตางกนั ๔. ละครส้ัน (Skit or Dramatization) เปนวิธีการที่ใหผูเขารับการฝกอบรมทดลองแสดงบทบาทตามบทท่ีเขียนหรือกําหนดให โดยผูแสดง จะตองพยายามแสดงใหสมตามบทท่ีกําหนด โดยไมนําเอาบุคลิกภาพและความรูสึกนึกคิดของตนเองเขาไป มีสวนเกี่ยวของ อันจะมีสวนทําใหเกิดผลเสียตอการแสดงบทบาทนั้น วิธีการน้ีเปนวิธีท่ีจะชวยใหผูเขารับ การฝกอบรมมีประสบการณ ในการท่ีจะเขาใจในความรูสึก เหตุผลและพฤติกรรมของผูอื่น ซ่ึงความเขาใจน้ี มีสวนเสริมสรางความเห็นอกเห็นใจกัน นอกจากน้ันการท่ีผูเขารับการฝกอบรมมีโอกาสแสดงละครรวมกัน เปน การชว ยฝกใหเ กดิ ความรบั ผิดชอบในการเรียนรูรว มกัน และฝกการทาํ งานรว มกันดว ย ๕. การระดมสมอง (Brain Storming) เปนวิธีการท่ีเหมาะสําหรับกลุมผูเขารับการฝกอบรมที่มีความรูในระดับเดียวกัน มีความสนใจหรือ ปฏิบัติงานในลักษณะคลายคลึงกัน มารวมกันแสดงความคิดเห็นในเร่ืองเดียวกัน โดยวิทยากรจะตองคอย กระตุนใหผูเขารับการฝกอบรมทุกคนเกิดการคิดสรางสรรค (Creative) โดยไมคํานึงวา ความคิดน้ันจะเปน อยางไร ถกู ตอ งหรือไม ความคิดทุกอยางจะตอ งไดร บั การยอมรับจากกลมุ ทง้ั ส้นิ สุดทายจึงคอ ยสรุปผล นอกจากการจดั กิจกรรมกลุม ทง้ั ๕ ประเภท ตามท่ีกลาวไวขางตน วิทยากรยังสามารถจัดกิจกรรมกลุม เพอื่ จดุ มงุ หมายตาง ๆ ตามทไี่ ดว างแผนไว โดยมลี าํ ดับข้ันตอนเปน กระบวนการทตี่ อเน่ืองกันไป ดงั นี้ ๑. กจิ กรรมกลุมเพื่อสรางความรูจ กั คุนเคย เปนกิจกรรมเริ่มตนท่ีใชในการฝกอบรมหรือเรียกวา “การละลายพฤติกรรม” (Ice Breaker) ซ่ึงมีอยู หลายกิจกรรม วิทยากรสามารถเลือกใชโดยพิจารณาความสัมพันธของสมาชิกที่เขารับการฝกอบรมวาเคยรูจัก กนั มากอ นหรือไม มาจากหนวยงานเดยี วกันหรือตางหนว ยงาน กจิ กรรมสรางความรูจักคุนเคย จึงเปนจุดเร่ิมตน ของการจัดกิจกรรมกลุมอื่น ๆ ตอไป เพราะสมาชิกจะเกิดความรูสึกวามีสวนรวม มีความยึดมั่นในกลุม มีความอบอุนมั่นใจ ปรับตัวไดในเวลารวดเร็ว และมีความผูกมัดที่จะทํากิจกรรม เพ่ือใหไดมาซ่ึงเปาหมายของ การเรยี นรตู ามทีค่ าดหวงั ตอ ไป ตัวอยา ง : กิจกรรม “ความเหมอื นท่แี ตกตา ง” จดุ มงุ หมาย ๑. เพ่ือใหสมาชกิ ที่เพ่งิ จะมาพบกนั ไดท าํ ความรูจักชอื่ และสถานทท่ี าํ งานของกันและกัน ๒. เพอ่ื กอ ใหเ กิดความรูจกั คุน เคยกันของสมาชิกในเวลาอันรวดเรว็ ๓. เพื่อกอ ใหเ กดิ บรรยากาศทเี่ ปนกนั เอง ขนาดของกลุม ไมจ าํ กดั จํานวน เวลาท่ตี องใช ประมาณ ๓๐ นาที และสามารถยืดหยุน ตามจาํ นวนสมาชิกของกลุม 26 28
อุปกรณท ใี่ ช ไมมี สถานที่ ภายในหองเรียนหรือหองประชมุ กระบวนการ ๑. ใหผ ูเขา รับการฝก อบรมยืนกระจายใหเ ต็มพ้ืนท่ี ๒. รอบท่ี ๑ เมื่อไดยินสัญญาณ GO ใหสมาชิกรีบคนหาคูท่ีคิดวามีอะไรท่ีชอบเหมือน กับเรา ใชเวลาประมาณ ๑ นาที ในการใชคําถามตาง ๆ เพื่อคนหาคนท่ีชอบเหมือนเรา เมื่อไดยินสัญญาณ Stop ใหห ยุดการคน หา ตวั อยางคาํ ถามเชน คุณชอบรับประทานกว ยเตีย๋ วเหมอื นฉันไหม ชวยกันสรปุ วา ๒ คน มีสิ่งที่ ชอบเหมอื นกันกีอ่ ยาง ๓. รอบท่ี ๒ เม่ือไดยินสัญญาณ GO ใหสมาชิกรีบคนหาคูท่ีคิดวามีรูปรางเหมือนกับเรา ใชเวลาประมาณ ๑ นาที ในการใชคําถามตาง ๆ เพื่อคนหาคนที่มีรูปรางเหมือนเรา เม่ือไดยินสัญญาณ Stop ใหหยุดการคนหา ตัวอยางคําถามเชน คุณมีสวนสูงเทาฉันมัย คุณมีรูปหนากลมเหมือนฉันมัย ชวยกันสรุปวา ๒ คน มรี ูปรา งทค่ี ลายคลงึ กนั กร่ี ายการ ๔. รอบที่ ๓ เม่ือไดยินสัญญาณ GO ใหสมาชิกรีบคนหาคูเราคิดวาเราชอบมากที่สุด ใชเ วลาประมาณ ๑ นาที ในการใชคําถามตาง ๆ เพื่อทําความรูจักกับเขาใหมากท่ีสุด เมื่อไดยินสัญญาณ Stop ใหห ยุดการคนหา ตัวอยา งคําถามเชน คณุ ชอื่ อะไร คุณมาจากไหน คุณมีพีน่ องกีค่ น คณุ เกิดวันอะไร ๕. รอบที่ ๔ เมื่อไดยินสัญญาณ GO ใหสมาชิกรีบคนหาคูเราคิดวาแตกตางกับเรามาก ทีส่ ุด ใชเวลาประมาณ ๑ นาที ในการใชคาํ ถามตาง ๆ เพื่อหาขอแตกตางระหวางเรากับเขา เม่ือไดยินสัญญาณ Stop ใหหยุดการคนหา ๖. รอบที่ ๕ เมื่อไดยินสัญญาณ GO ใหสมาชิกรีบจับกลุมกับเพื่อนท่ีมีความชอบเหมือนกัน มีอะไรคลาย ๆ กัน กลุม ละ ๕ คน ทําความรจู ักกนั ใหม ากขน้ึ ภายในเวลา ๒ นาที สรปุ ขอ คดิ ๑. วทิ ยากรใหสมาชิกชวยกันสรปุ จดุ มุงหมายของกจิ กรรมน้ี วาสมาชกิ ไดร บั อะไรบา ง ๒. ใหส มาชกิ รว มกนั อภิปรายวาไดข อคิดหรือประสบการณอยางไรบาง ตอ กิจกรรมทผ่ี านมา ๓. วิทยากรสรุปตอนทายวา การที่สมาชิกแตละคนมาจากสถานท่ีแตกตางกัน และตอง มาเขารับการฝก อบรมรว มกันในชวงเวลาหนึ่ง บางคนอาจเกิดความรูสึกขาดความม่ันใจ วาเหว อึดอัดใจ เมื่อมี โอกาสไดรูจักเพื่อนใหมในเวลาอันรวดเร็ว ความรูสึกท่ีไมดีจะลดลงไป นอกจากนี้ในการที่เราจะทําความรูจัก คุนเคยกับผูอื่นน้ัน เราควรจะไดทราบถึงคุณลักษณะประจําตัวของเขาดวย เพื่อจะกอใหเกิดความเขาใจซึ่งกัน และกนั และนําไปสูก ารอยูรว มกนั อยา งอบอุน ๒. กจิ กรรมกลมุ เพื่อพัฒนาความเขาใจตนเองและผูอ่นื ที่กลาววามนุษยเปนสัตวสังคม (Social Animal) หรือสัตวเมือง เปนความจริงที่ไมมีใครปฏิเสธ เพราะมนุษยมีสัญชาติญาณท่ีจะตองอยูรวมกันเปนกลุม เมื่อมนุษยอยูรวมกันก็จะเกิดเปนความสัมพันธซึ่งกัน และกนั ถามีความสัมพันธที่ดีตอกันก็จะอยูรวมกันดวยความอบอุน แตถาเกิดความขัดแยงขึ้นมา ปญหาตาง ๆ กจ็ ะตามมาอยางไมม ีที่สิ้นสุด สาเหตสุ าํ คญั ที่ทาํ ใหเ กดิ ความขัดแยงมักเกิดจากความไมเขาใจซ่ึงกันและกัน และ ไมไวว างใจกัน ซึ่งโดยธรรมชาติแลวบุคคลใดท่ีมีความสับสนในตนเอง ไมเขาใจตนเองก็จะมีความรูสึกเชนนี้กับ ผูอื่น เพราะฉะน้ัน กิจกรรมกลุมเพ่ือพัฒนาความเขาใจตนเองและผูอ่ืน สามารถท่ีจะชวยแกปญหาความขัดแยง 27 29
ความไมเขาใจซึ่งกันและกันของบุคคลท่ีอยูรวมในองคกรเดียวกัน ซ่ึงจริง ๆ แลวอาจมีอยูดวยกันหลายกิจกรรม แตข อนําเสนอในสวนท่จี ะกอใหเกิดผลอยา งชัดเจน ดงั นี้ ตวั อยาง : กจิ กรรม “บิงโกมนุษย” จุดมุง หมาย ๑. เพอ่ื ใหส มาชกิ รจู ักและเขาใจผอู ่ืนมากข้ึน ๒. เพ่ือใหสมาชิกเขา ใจถึงความแตกตา งระหวางบุคคลของมนุษยเ รามากย่งิ ขึ้น ๓. เพ่ือใหสมาชิกสามารถเปรียบเทียบถึงความแตกตางระหวางส่ิงตาง ๆ ที่มองเห็น อยา งผิวเผนิ กบั สภาพทีแ่ ทจ รงิ จากการมองเห็น ขนาดของกลุม จาํ กัดจาํ นวน เวลาที่ตองใช ประมาณ ๓๐ นาที อุปกรณท ีใ่ ช แผนบงิ โกมนษุ ย สถานท่ี ภายในหอ งเรยี นหรือหองประชมุ วิธีเลน ๑. วิทยากรอธิบายวาแตละคนจะมีคุณลักษณะท่ีไมเหมือนใคร และคุณลักษณะท่ีมี รว มกับคนอน่ื ๆ ๒. แจกแผนบิงโกมนษุ ยและปากกาใหผ ูเลน ทกุ คน ๓. วทิ ยากรแนะนํากตกิ ากบั ผูเลน วา แผนบงิ โกจะบรรยายลักษณะพิเศษท่ีหลาย ๆ คนมี ใหผเู ลน ไปตามหาบคุ คลที่มคี ุณลกั ษณะตามที่กาํ หนดไว แลวใหบุคคลนั้นบันทึกช่ือของตัวเองไวในชองท่ีตรงกับ คณุ ลักษณะท่กี ําหนดดว ยลายมอื ของเขาเอง ๔. เม่ือไดยินสัญญาณเร่ิม ใหผูเลนทุกคนปฏิบัติการคนหา โดยวิธีการสอบถามขอมูล เมอ่ื พบแลวในเจาของคุณลกั ษณะ ๕. เมื่อตามหาบุคคลตามลักษณะท่ีกําหนดใหตรงกันตามแนวนอน แนวต้ัง หรือ แนวทแยงมมุ ไดแลว ใหต ะโกนคําวา “บิงโก” ๖. ใหจับกลุมกับคนท่ีบิงโกในเวลาใกลเคียงกันใหไดกลุมละ ๕ คน นั่งเปนวงกลม แลว แบง ปน สงิ่ ที่พวกเขาไดเรียนรเู ก่ียวกบั ผอู น่ื สรปุ ขอ คดิ ๑. วทิ ยากรใหส มาชิกรวมกันอภปิ รายตามหัวขอ ดงั นี้ ๑.๑ ผเู ลน มีวิธีคนหาขอ มูลตามคุณลกั ษณะทีก่ าํ หนดใหใ นเวลาจาํ กัด ไดอยา งไร ๑.๒ มคี ุณลักษณะพเิ ศษขอใดที่ผเู ลน ไมสามารถหาบคุ คลได ๑.๓ มคี ุณลักษณะพเิ ศษใดบางทไ่ี มไดถ กู กําหนดไวใ นบงิ โกมนษุ ยน้ี 28 30
๒. วิทยากรสรุปขอคิดเพ่ิมเติมวาคนเราเกิดมามีทั้งท่ีเหมือนกันหรือแตกตางกันหรือ ท่ีเรียกวา ความแตกตา งระหวา งบุคคล เหมอื นกัน เชน ในความรสู ึกรอ น หนาว หิว เจ็บปวด รัก โกรธแคน โลภ ดีใจ เสียใจ เคียดแคน ฯลฯ และมีสิ่งแตกตางกัน เชน พันธุกรรม สิ่งแวดลอม สังคม ประสบการณ เพศ วัย ศาสนา ภมู หิ ลัง ครอบครวั ความคิด ความเช่ือ คานิยม และรูปรางหนาตา ฯลฯ แตเราสามารถทํางานรวมกันได ภายใตนโยบายเปาหมายเดียวกัน ซึ่งเราจะตองศึกษาทําความกระจางใหแจมชัดตรงกัน เปรียบเสมือนดนตรี วงใหญ บรรเลงเพลงดวยโนต เพลงเดยี วกนั ประสานเสียงกันไดอ ยา งไพเราะดวยเครอ่ื งดนตรีหลากหลาย เราคง ตองการใหสวนดอกไมของเราเต็มไปดวยดอกไมหลากสี พันธุไมหลายประเภท แตจัดวางอยูในที่ท่ีเหมาะสม ไดอยางสวยงาม เปน ระเบยี บ สะอาดใจ สบายตา ตัวอยา งแผน บิงโกมนษุ ย เกิดเดอื นเดียวกับเรา ถนดั ซา ย ดัดฟน มคี วามสามารถดา นดนตรี ……………………….….. …………………….... ……………………….….. ……………………….…..…………… ชอบนักรอ งเกาหลี สว นสงู เกิน ๑๑๐ ซม. นกั กฬี า …………………….….. ……………………..…….. เพศหญงิ ผมส้นั ……………………………... เปนลกู คนเดยี ว …………………………………..….. รูม ากกวา ๒ ภาษา ……………………….. สวยท่ีสดุ ในหอง ……………………………... …………………….……….. ชอบดูดวง กนิ เกง …………………………………….….. บานทาํ นา ……………………….. ลกู กาํ พรา …………………………….. …………………………….. เกิดป พ.ศ. เดยี วกนั …………………………………..….. ๓. กิจกรรมกลมุ เพ่ือพฒั นาความคดิ รเิ ริ่มสรางสรรค การดาํ เนินชีวิตของมนุษยตั้งแตสมัยโบราณจนถึงปจจุบัน แสดงใหเห็นถึงวิวัฒนาการของมนุษยที่รูจัก สรางสรรคตนเองและสังคมตลอดมาทุกยุคทุกสมัย การปรับปรุงเปล่ียนชีวิตความเปนอยู และสิ่งแวดลอมให ดีข้ึน ไดอาศัยผลผลิตทางดานความคิดสรางสรรคท่ีเกิดจากแรงดลใจ เกิดจากการคิดแกปญหา และเกิดจาก ความตั้งใจท่ีจะปรับปรุงชีวิตและความเปนอยูใหผาสุกขึ้น ผลผลิตทางดานความคิดสรางสรรคตองอาศัยท้ัง ความคิดฝน ความคิดจินตนาการ บวกดวยความอุตสาหะ พากเพียร มุมานะ ไมยอมเลิกลมความคิดงาย ๆ จนกระท่ังคิดไดสําเร็จ ความคิดสรางสรรคเปนทักษะทางสติปญญาที่สําคัญของสมาชิกในสังคมที่ตองการ ความเจริญกาวหนา ตอไปนี้เปนตัวอยางกิจกรรมกลุมเพ่ือพัฒนาความคิดริเริ่มสรางสรรค สําหรับนําไปใช ประกอบการฝกอบรมเพอ่ื พัฒนาบุคลากรในองคการ ตัวอยา ง : กิจกรรม “ความคิดพชิ ิตความสาํ เร็จ” จดุ มุงหมาย ๑. เพื่อใหสมาชิกเหน็ ความสาํ คัญของความคดิ ริเรม่ิ สรางสรรค ๒. เพ่อื ฝกใหส มาชิกรูจ ักกระบวนคดิ อยางสรางสรรค ๓. เพ่ือฝก ใหสมาชิกทํางานรวมกัน เพ่อื หาทางแกป ญ หาอยางสรา งสรรค ขนาดของกลมุ ไมจํากัดจํานวน แตใหเพียงพอตอ การแบงกลมุ ยอ ยได 29 31
เวลาที่ตอ งใช ประมาณ ๑ ชัว่ โมง อุปกรณท ่ใี ช ๑. รูปภาพส่ีเหล่ียมจัตุรัส ภาพหาเหลี่ยม และภาพจุดดํา ๙ จุด จํานวนเทากับสมาชิก หรือใชแผน ใสฉายใหแกส มาชิกเห็นไดท ่ัวถงึ ๒. คลปิ หนีบกระดาษตวั เล็ก ๑ ตวั สถานท่ี ภายในหองเรยี นหรอื หองประชุม วิธเี ลน ๑. วิทยากรจัดใหสมาชกิ แบงกลุมยอ ย กลุมละประมาณ ๖ คน และใหแตละกลุมชวยกัน คิดต้งั ชื่อกลุมของตนและสรา งคาํ ขวัญประจํากลุมดว ย โดยใหใ ชวธิ ีระดมสมองและตกลงใจกันเองวา จะใชชื่อใด และใชคาํ ขวัญประจาํ กลมุ ๒. วิทยากรชูคลิปหนีบกระดาษใหสมาชิกทุกคนดูอยางท่ัวถึงและใหสมาชิกแตละกลุม ชวยกันคิดวา “เราจะใชคลิปหนีบกระดาษนี้ทําอะไรไดบาง” ขอใหชวยกันคิดและเขียนลงในกระดาษกอน แลวจึงรวบรวมกันในกลมุ โดยดูวา กลุมใดจะคดิ ไดมากทส่ี ุดภายในเวลา ๒๐ นาที และหลังจากน้ันใหแตละกลุม เตรยี มตวั แทนทจ่ี ะออกมาเสนอตอ กลมุ ใหญ สรุปขอ คิด วทิ ยากรสรุปเพ่ิมเติมถึงความหมายของความคิดริเริ่มสรางสรรค และย้ําวาการที่คนเราจะพัฒนาตนเอง ใหม ีความคิดรเิ รม่ิ สรางสรรคนัน้ จะตอ งอาศัยปจจยั หลัก ๔ ประการ คือ ๑. เปน ผูมีใจกวาง เห็นประโยชนและความสําคัญที่จะมคี วามคดิ ริเร่ิมสรางสรรค ๒. รูจกั ใชเ ทคนคิ วิธีการคดิ แบบสรางสรรค ๓. เช่ือม่นั ในความสามารถของตนเอง ๔. มใี จสู อดทน ไมท อ ถอยงา ย ๆ หากลองปฏบิ ัติแลว ไมไ ดผลหรือไดผ ลชา ๔. กจิ กรรมกลุมเพือ่ พฒั นาทกั ษะการตัดสนิ ใจเพื่อการแกปญหา มนุษยทุกเพศทุกวัยตางก็ประสบ “ปญหา” ดวยกันทุกคนไมเวลาใดก็เวลาหนึ่ง จึงดูเหมือนวาปญหา กบั มนษุ ยเปน ของคูกนั ปญ หาสว นใหญเ กดิ ขน้ึ ในชวี ิตประจาํ วนั ของมนษุ ย เชน ปญหาสวนตัว ปญหาครอบครัว ปญหาเพื่อนรวมงาน ปญหาจากผบู ังคับบัญชา และผใู ตบ งั คบั บญั ชา รวมทง้ั ปญหาจากสิ่งแวดลอ ม เปน ตน กิจกรรมกลุมตอไปน้ีจะชวยเปนแนวทางในการพัฒนาทักษะการตัดสินใจ เพ่ือการแกปญหาใหแก บุคคลท้ังเปนรายบุคคลและเปนกลุม ที่ตองรวมมือกันตัดสินใจและแกไขปญหาที่เกิดขึ้นในองคการใหสําเร็จ ลลุ ว งไปดว ยดี ตัวอยา ง : กจิ กรรม “ถูกตองไมถ ูกใจ” จุดมุงหมาย ๑. เพ่ือฝกทักษะการตดั สินเปน รายบุคคลอยางมเี หตุผล ๒. เพือ่ ใหส มาชิกเปรยี บเทยี บถงึ ผลของการตดั สินใจเปนรายบุคคลและรายกลุม 30 32
ขนาดของกลุม ไมจ าํ กดั จํานวน แตอยางนอยไมค วรต่าํ กวา ๑๐ คน เวลาท่ตี องใช ประมาณ ๓๐ นาที อุปกรณท ่ีใช กระดาษเขียนรายชื่อเพ่ือนเกาในโลกใบใหมสําหรับสมาชิกคนละ ๑ แผน หรือเขียน แผนใสฉายใหส มาชกิ ทกุ คนเหน็ อยา งท่วั ถงึ สถานท่ี ภายในหองเรียนหรอื หองประชมุ วธิ เี ลน ๑. แบงผเู ลนออกเปน กลุม ๆ ละประมาณ ๗ - ๙ คน แจกกระดาษ ปากกา กลมุ ละ ๑ ชดุ ๒. เรมิ่ เลน วิทยากรตั้งโจทย ขอ ที่ ๑ เชน ถาพดู ถงึ ทะเล แตละกลมุ นกึ ถึงอะไรบา ง ๓. ใหแตละกลุม คิดคาํ ตอบภายในเวลาทีก่ าํ หนดให ใหตอบได ๗ คําตอบ ๔. วิทยากรเฉลยคาํ ตอบ มี ๑๐ คําตอบ แตละคําตอบจะมีคะแนนไมเทากัน ใหแตละกลุม รวบรวมคะแนนของกลมุ ตัวเอง ๕. วิทยากรตัง้ คาํ ถามอีก ๒ - ๓ คําถาม แตล ะกลมุ รวบรวมคะแนนท่ีไดท งั้ หมด ไปทะเลนึกถงึ อะไร ตวั อยา งคาํ ถาม ๑. ชดุ วา ยนาํ้ ๕ คะแนน ๒. หอย ๔ คะแนน ๓. ทราย ๓ คะแนน ๔. แวนตาดํา ๔ คะแนน ๕. รถจักรยาน ๒ คะแนน ๖. เรอื กลวย ๒ คะแนน ๗. รม กนั แดด ๕ คะแนน ๘. ตนมะพรา ว ๔ คะแนน ๙. สายลม ๑ คะแนน ๑๐. เตียงผาใบ ๓ คะแนน ถา คดิ ถงึ ผลไมนึกถงึ อะไร ๕ คะแนน ๑. ฝร่งั ๑ คะแนน ๒. แตงโม ๒ คะแนน ๓. มะมวง ๔ คะแนน ๔. ขนุน ๓ คะแนน ๕. มังคดุ ๑ คะแนน ๖. ทุเรยี น ๕ คะแนน ๗. ลองกอง 31 33
๘. กลวย ๒ คะแนน ๙. ขนนุ ๓ คะแนน ๑๐. ละมุด ๔ คะแนน ขอ เสนอแนะ ๑. คะแนนใน ๑๐ คําตอบ ควรแบงเปนขอละ ๑, ๒, ๓, ๔, ๕ คะแนน อยางละ ๒ คําตอบ ขอใดเปน คําตอบทง่ี า ย เด็กนึกไดงา ยใหค ะแนนนอย ขอ ใดทีเ่ ปน คาํ ตอบทยี่ ากหรอื เดก็ นกึ ไมถึงใหคะแนนมาก ๒. ผูนํากิจกรรมควรช้ีแจงวัตถุประสงคของเกมนี้ และชมเชยผูรวมแขงขันวาคําตอบท่ีคิดไดเปน คําตอบทีถ่ ูกตอ ง แตอ าจไมตรงใจผูนํากิจกรรมเหมือนชื่อเกมการแขงขนั ๓. หลังจากเฉลยแตละขอ ผูนําควรถามคําตอบซ่ึงไมไดคะแนน อาจเปนคําตอบท่ีนาสนใจนําไปเปน ตัวเฉลยในครัง้ ตอ ไป ๔. วิทยากรเปดโอกาสใหสมาชิกอภิปรายแสดงความคิดเห็นวาไดรับประสบการณและขอคิดใดบาง จากกิจกรรมน้ี สรปุ ขอคิด วทิ ยากรสรุปขอ คิดเพิม่ เตมิ วาการตัดสนิ ใจใด ๆ ควรต้ังอยูบนความมีเหตุผล พิจารณาถึงแนวทางเลือก หลาย ๆ แนว แลวนํามาเปรียบเทียบหรือชั่งนํ้าหนักแลวตัดสินเลือกทางเลือกท่ีดีท่ีสุด และที่สําคัญที่สุด การตัดสินใจเลือกสิ่งใด ๆ ไมควรเลือกดวยความเพอฝนหรือดวยอคติ แตควรจะตองคํานึงถึงวาสามารถนําไป ปฏิบตั ิแกไขปญ หาไดจ ริง ๕. กิจกรรมกลุม เพอ่ื พัฒนาทักษะผูนํา ผูนําเปนบุคคลท่ีมีความสําคัญตอความสําเร็จของกลุมเปนอยางมาก ผูนําที่มีคุณสมบัติท่ีดีและปฏิบัติ ตามบทบาทหนา ทไี่ ดเ หมาะสม กย็ อมจะสามารถพากลุมใหบรรลุเปา หมายไดอยางมีประสิทธิภาพ การเปนผูนํา ท่ีมีความสามารถนั้น ไมไดเปนคุณสมบัติที่สั่งสมมาจากกรรมพันธุ แตความสามารถในการเปนผูนําถือวาเปน ทกั ษะทส่ี ามารถเรียนได ฝกฝนได เปนความสามารถที่ตองอาศัยทั้งศาสตรซ่ึงตองเรียนรู และเปนศิลปะซ่ึงตอง อาศัยการฝก ฝนอยา งสมํา่ เสมอ และถามพี รสวรรคเ ปนเครอื่ งเสรมิ เพยี งเล็กนอ ยก็จะทาํ ใหไดป ระสทิ ธภิ าพยิ่งขึ้น ตวั อยาง : กจิ กรรม “ผนู ําอยไู หน” จดุ มุงหมาย ๑. ฝก ความเปนผนู าํ ผูต าม ๒. เกดิ ความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ พึงพอใจ ๓. ชว ยพฒั นาใหผ เู ลนเปน คนชา งสงั เกต ๔. ชวยใหเกดิ เกดิ ความคลอ งตวั ประสาทตา หู มือ เทา สามารถทาํ งานไดอยางสมั พันธกัน ขนาดของกลุม ไมจํากดั จํานวน แตอยางนอยไมควรตา่ํ กวา ๑๐ คน เวลาทีต่ องใช ประมาณ ๓๐ นาที อุปกรณท ใี่ ช ไมม ี 32 34
สถานที่ ภายในหองเรยี นหรือหอ งประชมุ วิธีเลน ๑. เลือกผูเลนคนหนึ่งที่จะเปนผูตามหาผูนําออกไปนอกหอง ๑ คน เราจะเรียกบุคคลน้ี วานกั สืบ ๒. ผเู ลนทีเ่ หลือตกลงเลือกผูน ํา ๑ คน หนาท่ีของผูนําคือแสดงทาทาง เชน ปรบมือ ตบไหล ยกแขน ใหผูเ ลนคนอ่ืนปฏบิ ตั ติ าม โดยท่ตี องระวงั ไมใ หนกั สบื จบั ได ๓. เม่ือนัดหมายเรียบรอย ใหไปเชิญนักสืบเขามา ผูนําทําทาทางตาง ๆ ไปเร่ือย นักสืบ ทําหนา ทีค่ นหาผูนํา ใหเ วลา ๒ นาที ๔. ถาทายถกู จะเปลีย่ นมาเปนผูเ ลน บา ง ผูเ ลนอาจเปลี่ยนเปนนักสืบบาง ใบความรทู ่ี ๒ เพลง สวสั ดี สวัสดี สวสั ดี วันนเ้ี รามาพบกัน เธอกับฉันพบกนั สวสั ดี เพลง ระบาํ กอไก ระบํากอไก ขอไข ขอขวด คอควาย พวกเราลูกเสอื ไทย (ซํ้า) ออกกาํ ลงั กายสา ยเอว (สา ยหัว, สายไหล ……) ไปมา เพลง เพอ่ื นรัก ฉนั เคยรูจกั เพอื่ นรกั อยูไ หน เพอ่ื นเอยเพ่ือนรัก เอะ นัน่ ยังไง คนช่ือ………..นน่ั เอง ลกุ ขน้ึ ยนื แลวจอ งมองไป เพลง ทะเล ทะเล ทะเล ทะเล ทะเล ทะเล ทะเล ทะเล ทะเล ทะเล ทะเล ทะเล ทะเล ลนั หลัน้ ลา หลัน ลัน ลา ลนั หลั้น ลา หลัน ลันลา เพลง The sun The sun The sand The sea The sea The sand The sun ลัน หล้นั ลา หลัน ลัน ลา ลัน หล้นั ลา หลัน ลัน ลา เพลง กระโดด กระโดด ๆ ๆ กระโดดใหพรอมเพรยี งกัน กระโดดเพ่อื สรางพลัง กาํ ลังใหแกพ วกเรา ลัน หล้ัน ลา หลัน ลัน ลา ลัน หลนั้ ลา หลนั ลัน ลา 33 35
เพลง ลมื ความทกุ ข ลืมความทกุ ขสนุกใหเ ตม็ อิม่ มานง่ั ยิม้ หวั เราะชอบใจ ลมื ความทุกขส นกุ ใหเต็มอ่ิม มานัง่ ยม้ิ หวั เราะชอบใจ ฮิ ฮิ ฮิ ฮิ ฮะ ฮะ ฮะ ฮะ เพลง เฮฮาอบรม เราอยูค นละหมูบ าน เรามาอบรมดว ยกนั ไมมีใครเยยหยัน วาเราน้นั ไมสามคั คี อยูด วยกันผกู มิตรไมตรี เย็นวนั นกี้ นิ ขาวดวยกนั คนื วนั นเ้ี รานอนดว ยกนั วันพรงุ น้ีเราเรยี นดว ยกัน เพลง โดเรมอ น โอเ จาโดเรมอน โดเรมอน โดเรมอน โอเจาโดเรม่ี โดเรมี่ โดเรมี่ ขา งหนาคือซุปเปอรแ มน ขางหนาคอื ซปุ เปอรแ มน บินถลาแลนลม อาย ยา ย ยาย ยา อาย ยาย ยาย ยา เพลง สวัสดี แลว กไ็ ปแบบสากล สวสั ดแี บบไทย แบบสากลแลวกแ็ บบไทย สวัสดที กุ ๆ คน วนั หนึง่ วนั น้นั เจ็ดนาฬิกา เพลง เชาวนั หนึง่ และบอกวา รัก รักฉันคนเดยี ว เชา วันหน่งึ วันน้นั กบ็ อกวา รกั รกั เธอคนเดยี ว เธอกระโดดเขามา จะไมแ ลเหลียว ใหเสียเวลา ฉนั ก็บอกวารกั คนอน่ื จะไมแลเหลยี ว กิจกรรมกลมุ สัมพนั ธโดยใชเกม 34 36
แบบประเมนิ การปฏิบตั กิ จิ กรรม วิชากลุมสัมพันธ หมู…………………………………… คาํ ชแ้ี จง ใหค ะแนนตรงกบั พฤติกรรมของผูรับการฝกอบรม ขอ รายการประเมนิ ดมี าก ระดับคณุ ภาพ (๔) ดี พอใช ปรับปรงุ ๑ มีปฏิสัมพันธสรา งความเปนมิตรไมตรี (๓) (๒) (๑) ๒ มีการปฏบิ ตั งิ านรวมกันเปนทีม ๓ มีความกระตือรอื รน ๔ กลา แสดงออกในเวลาท่ีถูกตองเหมาะสม เกณฑการประเมนิ คะแนน ดมี าก ๑๕ - ๑๖ คะแนน ดี ๑๒ - ๑๔ คะแนน ปานกลาง ๙ - ๑๑ คะแนน ตอ งปรบั ปรงุ ๐-๘ คะแนน ผา น คะแนน ไมผา น เกณฑการตดั สนิ ๙ - ๑๐ ไดต ่ํากวา ๘ 35 37
เกณฑก ารใหค ะแนน หัวขอท่ีประเมิน ดมี าก (๔) ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรุง (๑) ๑. มปี ฏสิ ัมพนั ธ มพี ฤติกรรมท่ี ดี (๓) พอใช (๒) ไมม ีพฤติกรรมที่ สรา งความเปน แสดงออกถึง แสดงใหเ หน็ วามี มิตรไมตรี ความปฏสิ มั พนั ธ มีพฤติกรรมที่ มพี ฤติกรรมที่ ความปฏสิ ัมพนั ธ สรา งความเปน แสดงออกถึง แสดงออกถึง สรา งความเปน มติ รไมตรีสม่ําเสมอ ความปฏสิ ัมพันธ ความปฏสิ มั พันธ มติ รไมตรี ตลอดเวลา สรา งความเปน สรา งความเปน มติ รไมตรีสม่ําเสมอ มติ รไมตรีสม่ําเสมอ เปน สวนใหญ บางครง้ั ๒. มีการ ใหค วามรวมมือ ใหความรว มมือ ใหค วามรว มมือ ไมใหค วามรว มมือ ปฏิบัตงิ าน ในการทํางานที่ ในการทํางานท่ี ในการทํางานท่ี ในการทํางาน รวมกนั เปน ทีม ไดรับมอบหมาย ไดร ับมอบหมายจน ไดรบั มอบหมาย จนเสรจ็ ทกุ ครั้ง เสร็จเปนสวนใหญ จนเสร็จเปน บางครั้ง ๓. มีความ มีพฤติกรรมท่ี มีพฤติกรรมท่ี มีพฤติกรรมที่ ไมมีพฤติกรรมท่ี กระตือรือรน แสดงออกถึง แสดงออกถึง แสดงออกถึง แสดงใหเ หน็ วามี ความกระตือรือรน ความกระตือรือรน ความกระตือรือรน ความกระตือรือรน สมา่ํ เสมอตลอดเวลา สมา่ํ เสมอ สม่าํ เสมอบางครั้ง เปน สว นใหญ ๔. กลา แสดงออก มีพฤติกรรมท่ี มพี ฤติกรรมท่ี มีพฤติกรรมที่ ไมมีพฤติกรรมท่ี ในเวลาทีถ่ กู ตอง แสดงออกถึง แสดงออกถึง แสดงออกถึง แสดงใหเห็นถงึ เหมาะสม การกลา แสดงออก การกลา แสดงออก การกลา แสดงออก การกลา แสดงออก สม่ําเสมอตลอดเวลา สมาํ่ เสมอ สมาํ่ เสมอบางครง้ั เปน สวนใหญ 36 38
ช่อื วิชา ลูกเสอื สํารองชอ สะอาดกับคาํ ปฏิญาณและกฎของลกู เสอื สาํ รอง บทเรยี นท่ี ๔ เวลา ๙๐ นาที ขอบขา ยรายวิชา ๑. ความหมาย ความสําคญั และประโยชนข องคําปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื สํารอง ๒. แปลความหมายของคาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสือสาํ รอง ๓. ทองคาํ ปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื สาํ รอง ๔. การประพฤตปิ ฏบิ ัตติ นตามคําปฏญิ าณของลกู เสอื สํารอง ๕. ความหมายของ “ความซ่ือสตั ยส ุจริต” และ “ความเออ้ื เฟอ เผือ่ แผ” ๖. การปฏิบัตติ นในเร่อื ง “ความซอื่ สตั ยส ุจรติ ” และ “ความเอ้ือเฟอเผ่ือแผ” จดุ มุง หมาย เพือ่ ใหลูกเสือสํารองดาํ เนนิ การจัดกิจกรรม ท่ีนําไปสคู ําปฏิญาณและกฎของลกู เสอื สาํ รองได วตั ถปุ ระสงค เม่อื จบบทเรียนน้เี รยี น ลกู เสอื สํารองสามารถ ๑. บอกความหมาย ความสาํ คญั และประโยชนของคําปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื สํารองได ๒. ทอ งคําปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื สํารองไดถ กู ตอ ง ๓. ประพฤติปฏบิ ัติตนตามคาํ ปฏิญาณของลกู เสอื สํารองได ๔. เขา ใจความหมายของคาํ วา “ความซือ่ สัตยสจุ รติ ” และ “ความเอ้อื เฟอ เผื่อแผ” ๕. ปฏิบัติตนในเรื่อง “ความซ่ือสัตยสุจริต” และ “ความเอื้อเฟอเผ่ือแผ” ในชีวิตประจําวันไดถูกตอง เหมาะสมกับวยั วธิ สี อน/กจิ กรรม นําเขาสูบทเรียน ๑. วิทยากรนําภาพพระราชกรณียกิจของพระบาทพระเจาอยูหัว ท่ีพระองคทรงรักและหวงใย ประชาชนชาวไทย มาสนทนากับผูเ ขา รบั การฝก อบรม ๒. ปลูกฝง ใหผ ูเ ขารับการฝกอบรม จงรกั ภกั ดีตอสถาบนั ชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย ขน้ั ดําเนนิ การสอน ๑. ทาํ แบบทดสอบกอ นเรียน ตรวจแบบทดสอบ แจง ผลการทาํ แบบทดสอบ ๒. วิทยากรนําเสนอเรื่อง ความหมาย ความสําคัญ และประโยชนของคําปฏิญาณ กฎคติพจนของ ลูกเสอื สาํ รอง ความซื่อสัตยสจุ รติ และความเอื้อเฟอเผือ่ แผ โดยบรู ณาการเขา ดวยกัน ๓. ใหผูเขารับการฝกอบรมฝก ทบทวนคาํ ปฏิญาณ กฎและคตพิ จนของลกู เสือสาํ รอง โดยการทอ ง ๔. ใหผ รู บั การฝกอบรมฝกรอ งเพลงกฎลกู เสอื สาํ รอง ๕. ใหแ ตล ะหมสู ง ตวั แทนจับสลากใบงาน วิทยากรนําลูกเสือไปปฏิบัติงานตามใบงาน ณ บริเวณสนาม ฝกอบรม (ปาดงพงพี) โดยการกําหนดสถานที่ใหแตละหมูปฏิบัติงาน แตละหมูลงมือปฏิบัติงานตามใบงานท่ี ไดร ับมอบหมายในเวลาที่กาํ หนด 37 39
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150