Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษาประเภทลูกเสือสามัญ หลักสูตรลูกเสือตรี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

คู่มือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษาประเภทลูกเสือสามัญ หลักสูตรลูกเสือตรี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

Published by ปริญญา, 2021-11-07 03:41:12

Description: คู่มือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษาประเภทลูกเสือสามัญ หลักสูตรลูกเสือตรี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

Keywords: ลูกเสือ,ลูกเสือสามัญ,ประถมศึกษา,ลูกเสือตรี,ทักษะชีวิต

Search

Read the Text Version

เรอ่ื งสน้ั ทีเ่ ป็นประโยชน์ สองคนเพอ่ื นตาย ในอดตี ทผ่ี ่านมา มีกาฝูงหนง่ึ บินมาจากจงั หวดั ประจวบคีรขี นั ธ์ มาพบกบั กาของจังหวัด เพชรบุรี กาเพชรบรุ ีกถ็ ามวา่ “จะรบี ไปไหน ๆ” กาจากประจวบครี ขี นั ธ์ ก็ตอบว่า “จะไปหากินท่ี กรงุ เทพฯ” กาเพชรบุรกี ็ใหก้ าประจวบคีรีขนั ธท์ ดสอบวิทยายทุ ธ์ โดยใหบ้ นิ ไปขโมยปลาสดของแมค่ ้าคน หนึ่งทีก่ าํ ลงั พายเรอื มาขายปลา ที่แม่นาํ้ เมอื งเพชร กาประจวบคีรีขันธบ์ ินโผลงไปจะจกิ เอาปลาสด แม่ค้ารู้ทนั เงอื้ ไม้พายตกี า ช่วงจงั หวะนน้ั กาเมืองเพชรบรุ ีได้โอกาสจึงโฉบเขา้ ไปทางด้านหลงั ของ แมค่ า้ ขณะเผลอ แล้วกาท้งั สองตัวกบ็ ินไปเกาะตน้ ไม้เดียวกนั กาเมอื งเพชรบุรกี ถ็ ามวา่ “เป็นไงเลา่ ขโมยปลายงั ทําไม่ได้ แลว้ ไปอยกู่ รงุ เทพฯ จะไหวเหรอ ผคู้ นกรงุ เทพฯ ลว้ นแต่หไู ว ตาไว ไปหากินไม่ รอดหรอก กาประจวบคีรขี นั ธ์ ไตรต่ รองดูแลว้ กเ็ หน็ ด้วยกบั คําพูดของกาเมอื งเพชรบุรี จึงขออยเู่ ป็นเพ่อื น กันท่เี มอื งเพชรบุรตี งั้ แตน่ ้นั มา กาทั้งสองจงึ อยหู่ ากนิ ด้วยกันท่เี มอื งเพชรดว้ ยความเป็นมติ รทด่ี ตี ่อกัน เรอื่ งน้ีสอนใหร้ วู้ า่ ความจรงิ ใจเป็นบอ่ เกดิ แหง่ มติ รภาพที่ดี การจะเปน็ เพอ่ื นทีด่ ตี อ่ กัน ตอ้ งมี ความจริงใจ หวงั ดตี อ่ กนั เปน็ ทย่ี ดึ มนั่ ประเด็นการวเิ คราะห์คณุ ธรรมทไี่ ด้ 1. ซือ่ สัตย์ สจุ รติ 2. ความรับผิดชอบ 3. กตญั ํู 4. อดุ มการณ์ คณุ ธรรม 92 คคู่มมู่ ืออื สสง่ เ่งสเรสิมรแมิ ลแะลพะัฒพนฒั ากนิจากกริจรมกลรกูรเมสลอื ทกู ักเสษือะชทีวกั ิตษในะชสถวี าติ นใศนึกสษถาาปนรศะึกเภษทาลกู ลเสกู ือเสาอื มตัญรี หชล้ันกั ปสตูรระลถูกมเสศือกึ ตษราี ปที ี่ 4 99 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4

ใบความรู้ ความเป็นสุภาพบุรษุ และกลุ สตรี สุภาพบุรุษนั้นหาใช่.....บุคคลท่ีแต่งตัวดี...พูดจาไพเราะ...เก่งกาจด้านการเรียน...รํ่ารวยเงิน ทองไม่หากแต่เปน็ บคุ คลทเี่ ปน็ คนดขี องสงั คมและ สามารถทาํ อะไรทเ่ี ป็นประโยชนต์ ่อผู้อื่น และเปน็ คน ทสี่ ามารถทาํ ใหผ้ ูอ้ น่ื มคี วามสุขได้ สุภาพบุรุษนั้นจริงใจ และสุภาพ มีนํ้าใจ และรู้ว่าส่ิงไหนควรทํา และไม่ควรทํา มีความ รบั ผิดชอบ มีผู้ยกตวั อยา่ งพฤติกรรมความเปน็ สุภาพบุรษุ ไว้หลายประการ เชน่ - สภุ าพบรุ ุษไม่ตะโกนโห่เรียกผู้หญิง - สภุ าพบรุ ุษไม่หยิบยืมเงนิ ทองจากเพ่ือน ยกเวน้ ในสถานการณ์ท่จี ําเป็นคับขันจรงิ ๆ และเมื่อ ยมื มาแลว้ จะต้องรีบใชค้ ืนทนั ทีทเี่ ป็นไปได้ - สภุ าพบรุ ษุ ไม่โออ้ วดความรํา่ รวยในทรพั ย์สนิ เงินทองและสงิ่ ของเครื่องใช้ - สุภาพบุรษุ ไม่มีพฤติกรรมต่อหน้าอย่างลบั หลังอย่างไมว่ า่ จะอยทู่ ่ไี หนก็ตาม - สภุ าพบรุ ษุ เคารพสทิ ธิของผู้อน่ื และตอ้ งการใหผ้ ู้อ่ืนปฏิบัติตอ่ ตนเชน่ เดยี วกัน - สุภาพบุรุษคอื ผูท้ ีย่ นื หยดั อย่บู นลําแข้งของตวั เองเปน็ ตน้ กลุ สตรีตามความหมายในปัจจุบันคอื ผู้ท่ขี วนขวายหาความรูใ้ หก้ บั ตัวเองในทุกวิถีทางที่เป็นไป ได้นับตั้งแต่การศึกษาจนถึงเรียนรู้มารยาทสังคมทั่วไปจึงส่งผลให้มีกริยามารยาทงดงามและประสบ ความสําเร็จกุลสตรีรู้ดีว่าความสวยงามและมั่งค่ังสามารถจะหายไปได้ในพริบตาแต่นิสัยใจคอจะเป็น เกณฑ์วัดและตัดสินเธอในฐานะคนคนหน่งึ ความสุภาพอ่อนโยนเปน็ การแสดงความนับถืออย่างสูงที่เธอมี ต่อตัวเองและผู้อ่ืนและถ้อยคําชื่นชมยกย่องและเห็นอกเห็นใจผู้อื่นอย่างจริงใจจะสะท้อนให้เห็นค่านิยม ในทางที่ดีงามของเธอ การเป็นกุลสตรีคือศิลปะไม่ใช่ชาติกําเนิดคือส่ิงเรียนรู้จากได้จากความใส่ใจและ การหมน่ั ฝกึ ฝนตนเองอย่างสมาํ่ เสมอ 100 ค่มู ือสง่คเมู่ สือรสมิ ง่ แเสลระมิ พแฒัละนพาัฒกนจิ ากกรจิ รกมรรลมกู ลเูกสเือสอืททกั ักษษะะชชีววี ติติ ใในนสสถถาานนศศกึ ษกึ าษปาระลเกูภเทสลอื กู ตเสรือี สชาั้นมปญั รหะถลักมสศูตกึ รษลกูาเปสทีอื ต่ี 4รี 93 ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4

แผนการจัดกจิ กรรมลูกเสอื หลักสูตรลกู เสือสามญั (ลกู เสือตร)ี ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 หนว่ ยที่ 4 คาํ ปฏิญาณและกฎของลูกเสอื สามัญ เวลา 1 ชั่วโมง แผนการจดั กิจกรรมที่ 16 การส่อื สารเพ่อื บอกความตอ้ งการ 1. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ลูกเสือสามารถสอ่ื สารเพ่ือบอกความต้องการได้ 2. เนอ้ื หา วิธีการส่ือสารเพ่ือบอกความต้องการ 3. สอ่ื การเรียนรู้ 3.1 แผนภมู เิ พลง 3.2 เกม 3.2 ใบงาน 3.3 ใบความรู้ 3.4 เรอื่ งสน้ั ทีเ่ ป็นประโยชน์ 4. กิจกรรม 4.1 พธิ เี ปดิ ประชุมกอง )ชักธงขึ้น สวดมนต์ สงบนิง่ ตรวจ แยก( 4.2 เพลง หรือเกม 4.3 กจิ กรรมตามจุดประสงค์การเรยี นรู้ 1( ผูก้ ํากบั ลกู เสอื แจกใบความรู้ บรรยายขนั้ ตอนทักษะการสอื่ สารเพ่อื บอกความตอ้ งการ พร้อมยกตัวอย่าง 2( หม่ลู ูกเสอื ร่วมกนั ฝกึ ทกั ษะการสอื่ สารเพ่ือบอกความต้องการตามใบกิจกรรม 3( รวมกอง สุม่ ใหห้ มลู่ กู เสอื รายงานทลี ะสถานการณ์ และใหห้ มอู่ ่นื ทไ่ี ด้สถานการณ์ เดียวกนั ช่วยเพมิ่ เตมิ ผู้กํากบั ลูกเสอื และลกู เสือหมูอ่ นื่ รว่ มกันประเมนิ ความถูกตอ้ ง จนครบทัง้ 3 สถานการณ์ 4.4 ผกู้ ํากบั ลกู เสอื เล่าเร่อื งสั้นทีเ่ ป็นประโยชน์ 4.5 พธิ ปี ดิ ประชุมกอง )นดั หมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชกั ธงลง เลิก( 5.การประเมนิ ผล 5.1 สังเกตความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 5.2 สังเกตกระบวนการคดิ จากการอภปิ ราย 6.องคป์ ระกอบทักษะชวี ิตสําคญั ทีเ่ กดิ จากกจิ กรรม การสร้างสมั พนั ธภาพ และการสอื่ สาร 94 คู่มคมู่อื ือสส่ง่งเเสสรรมิิมแแลละะพพฒั ฒั นนากาิจกกิจรกรรมรลมกู เลสกู ือเทสกั ือษทะักชีวษติ ะใชนวี สิตถาในนศสึกถษาานปศรึกะษเภาทลลูกกู เสเสือือสตามรญั ี ชห้นั ลปกั รสะตู ถรมลูกศเกึสอืษตารปี ีท่ี 4 101 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมท่ี 16

การสรา้ งสมั พนั ธภาพ และการส่อื สาร ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมที่ 16 เพลง เด็กกางร่ม ฝน ฝน ฝน เด็กสองคนกางร่มหน่งึ คนั ฝนตกแรงไมห่ ว่ัน ฝนตกแรงไมห่ ว่นั รม่ หน่งึ คัน กางกนั สองคน ฝน ฝน ฝน เด็กสามคนกางร่มหนึ่งคนั ฝนตกแรงไมห่ ว่นั ฝนตกแรงไมห่ วน่ั ร่มหนึ่งคัน กางกนั สามคน ฝน ฝน ฝน เด็กส่ีคนกางร่มหน่ึงคนั ฝนตกแรงไมห่ ว่นั ฝนตกแรงไมห่ วั่น รม่ หนงึ่ คนั กางกนั สี่คน เอา๊ !!.. เกม เกมรถไฟด่วน แบ่งลกู เสือเปน็ หมู่ ใหแ้ ตล่ ะหมเู่ ขา้ แถวตอนเรียงหน่งึ มือทัง้ สองแตะบ่าลกู เสือคนขา้ งหนา้ เรมิ่ เล่น ใหท้ ุกคนว่ิงไปขา้ งหนา้ ในลักษณะแถวตอนเรียงหนึ่ง โดยมือต้องไมห่ ลุดจากบ่าคนข้างหน้า ว่ิงไป จนคนสดุ ทา้ ยผ่านเส้นชัย การตัดสนิ หมใู่ ดผ่านเสน้ ชยั กอ่ นเป็นผชู้ นะ เร่อื งส้ันทีเ่ ปน็ ประโยชน์ คางคกกบั สุนขั จ้งิ จอก คางคกคยุ อวดสนุ ขั จ้งิ จอกว่า \"เจ้าร้ไู หมว่าขา้ สามารถรักษาโรคภยั ไขเ้ จ็บต่างๆ ได้ ขา้ เป็นหมอ เทวดา มยี าวิเศษมากมายหลายขนานเจา้ เชอื่ ข้าเถอะนะ\" สนุ ขั จงิ้ จอกไดฟ้ ังกห็ ัวเราะเยาะเเล้ววา่ \"ขา้ ก็อยากจะเช่ือเจา้ หรอกนะถ้าเจา้ รักษาผิวหนัง ตะปมุู ตะป่า ของเจ้าใหห้ ายดีไดเ้ สยี กอ่ น \" เรอื่ งนสี้ อนใหร้ วู้ ่า ผอู้ ืน่ ย่อมเช่ือถือผลงานมากกว่าคาํ โอ้อวด ประเด็นการวเิ คราะห์คุณธรรมที่ได้ 1. ซื่อสตั ย์ สจุ ริต 102 ค2ู่ม.อื คส่งวเาสมริมรับแลผะิดพชัฒอนบากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือตรี ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 3. อดุ มการณ์ คณุ ธรรม คูม่ ือส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสือทกั ษะใชบีวติ งในาสนถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามัญ หลักสตู รลกู เสอื ตรี 95 ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4

ใบงาน ใหล้ กู เสอื แตล่ ะหมู่ ร่วมกนั คดิ ประโยคสอ่ื สารเพอ่ื บอกความตอ้ งการ ในสถานการณ์ที่ กําหนดให้ ตามขน้ั ตอนการสอื่ สารเพื่อบอกความตอ้ งการ 4 ขนั้ ตอน เขยี นประโยคคาํ พูดลงในตาราง ดา้ นล่าง และสง่ ตวั แทนรายงานในกองลกู เสอื สถานการณ์ หมูท่ ี่ 1 และ 4 ตอ้ งการให้เพ่อื นในหมูช่ ว่ ยขนเตน็ ทไ์ ปเก็บ หมู่ที่ 2 และ 5 ตอ้ งการใหเ้ พอ่ื นในหมมู่ าประชมุ เพอ่ื วางแผนจัดนทิ รรศการในตอนบา่ ย หมทู่ ่ี 3 และ 6 ตอ้ งการใหเ้ พือ่ นในกองลูกเสอื รว่ มกนั บรจิ าคเงนิ ช่วยผู้ประสบภยั นาํ้ ท่วมท่ี ภาคใต้ สถานการณ์ ................................................................................................................................................... ข้นั ตอน ตัวอย่างคําพูด 1. บอกความรู้สกึ อาจมหี รือไมม่ ีเหตผุ ลประกอบ ขึน้ กับสถานการณ์ 1. 2. 2. บอกความตอ้ งการอยา่ งตรงไปตรงมา 3. ถามความเห็น เปน็ การใหเ้ กยี รตคิ ูส่ นทนา 3. 4. ขอบคณุ หรอื แสดงความชน่ื ชมเมอื่ อกี ฝาู ย 4. ยอมรบั ค่มู ือสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือตรี ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 103 96 คู่มือสง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามญั หลกั สูตรลูกเสือตรี ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4

ใบความรู้ การส่อื สารเพือ่ บอกความต้องการ หลกั การสอ่ื สารทางบวก 1. ควบคุมอารมณ์ให้สงบขณะส่ือสาร เพราะการสื่อสารขณะกําลังอารมณ์ไม่ดี เช่น โกรธ อาจจะใช้คําพูดและทา่ ทางที่ไมเ่ หมาะสมได้ 2. ตอ้ งรู้ควรพดู เวลาใด และสถานทีใ่ ดทค่ี วรพดู โดยคู่สนทนามคี วามพร้อมท่ีจะฟัง 3. เปน็ การส่ือสารทส่ี รา้ งความรสู้ ึกทดี่ ตี อ่ คสู่ นทนา เชน่ ทาํ ใหเ้ ขาเกิดความภูมใิ จ, ให้ ความสําคัญ , ใหเ้ กียรติเป็นตน้ ฯลฯ ข้นั ตอนการส่อื สารเพอ่ื บอกความต้องการ ตัวอย่างสถานการณ์ : ตอ้ งการยมื สมุดจดการบา้ นของเพื่อน ขัน้ ตอน ตวั อย่างคาํ พดู 1. บอกความรสู้ กึ อาจมหี รอื ไมม่ ีเหตุผลประกอบ 1. ดีใจจัง ไดเ้ จอเธอพอดี ข้นึ กบั สถานการณ์ 2. อยากขอยมื สมดุ จดการบ้านเธอหน่อย 2. บอกความตอ้ งการอย่างตรงไปตรงมา 3. ถามความเหน็ เป็นการให้เกียรตคิ ูส่ นทนา 3. ไดไ้ หมจ๊ะ 4. ขอบคุณหรอื แสดงความชน่ื ชมเมอื่ อกี ฝาู ย 4. ขอบคุณมากนะ ยอมรับ 104 ค่มู ือส่งเสคมู่รือมิ สแง่ ลเสะรพิมฒั แลนะาพกฒั ิจนการกริจมกลรูกรมเสลูกอื เทสกัือทษักะษชะีวชิตีวใติ นในสสถถาานนศศกึึกษษาา ปลรกูะเเภสทอื ลตกู รเสี อืชสนั้ าปมรัญะถหมลศักสึกูตษราลปูกเีทส่ีือ4ตรี 97 ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4

แผนการจัดกจิ กรรมลูกเสอื หลักสตู รลกู เสือสามญั (ลกู เสือตรี) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 หนว่ ยที่ 4 คําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสามัญ เวลา 2 ช่วั โมง แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 17 ส่ิงประดษิ ฐ์จากขยะ 1. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ลูกเสอื สามารถอธบิ ายความสาํ คญั ของการลดปรมิ าณขยะ และรว่ มกนั ทาํ สง่ิ ประดิษฐจ์ ากขยะได้ 2. เนื้อหา การประดิษฐ์สิ่งของเครอ่ื งใชจ้ ากวัสดุเหลอื ใชป้ ระเภทขยะ 3. สื่อการเรยี นรู้ 3.1 แผนภมู เิ พลง 3.2 เกม 3.2 เศษวัสดุ วัสดุเหลอื ใช้ วสั ดขุ ยะ อปุ กรณก์ ารตัดและการประดิษฐ์ 3.3 เรื่องสัน้ ทเี่ ป็นประโยชน์ 4. กิจกรรม 4.1 พธิ เี ปดิ ประชุมกอง )ชักธงข้นึ สวดมนต์ สงบน่ิง ตรวจ แยก( 4.2 เพลง หรือเกม 4.3 กิจกรรมตามจุดประสงค์การเรียนรู้ 1( มอบหมายใหล้ กู เสอื รวบรวมกล่องนม / ถงุ นม / หรอื ขวดนา้ํ พลาสติกทไ่ี มใ่ ชแ้ ลว้ มา ประดิษฐเ์ ปน็ ของใช้ 2( ผ้กู าํ กบั ลกู เสือนาํ ตวั อยา่ งสงิ่ ประดิษฐจ์ ากกลอ่ งนม ถุงนมหรือขวดนา้ํ พลาสตกิ เชน่ เสือ่ รองน่ัง กระเปา๋ ถอื ตะกรา้ ใสข่ อง ฯลฯ ใหล้ กู เสอื เลอื กประดษิ ฐ์ตามวสั ดทุ ่ลี กู เสอื มอี ยู่ 3( ลกู เสือแต่ละหมู่ เลอื กประดษิ ฐส์ ่ิงของตามแบบตัวอยา่ งท่หี มสู่ นใจ หลังทําเสรจ็ ให้ ส่งตัวแทนนาํ เสนอในกองลกู เสือพร้อมบอกประโยชนใ์ ช้สอย ผู้กาํ กบั ลูกเสือช่วยให้ คําแนะนาํ เช่นเรอื่ งการใชข้ องมีคมเทคนคิ การตัดต่อหรือการเยบ็ 4( ลกู เสอื นาํ สง่ิ ประดิษฐข์ องแต่ละหมู่มานําเสนอ 4.4 ผู้กาํ กับลูกเสอื เล่าเร่ืองส้นั ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ 4.5 พธิ ีปิดประชมุ กอง )นดั หมาย ตรวจเครอื่ งแบบ ชักธงลง เลิก( 5. การประเมินผล 5.1 สงั เกตความมรรว่ ว่ มมมมอื ือคคววาามมรรบับผดิ ชอบและตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรรรมม 5.2 สงั เกตกระบวนการคิดสรา้ งสรรค์จากสิง่ ประดษิ ฐ์ 98 ค่มูคู่มอื ือสสง่ ่งเเสสรมิ แแลละะพพัฒฒั นนากาิจกกจิ รกรรมรลมูกเลสูกอื เทสักอื ษทะกัชีวษิตะใชนวี สิตถาในศสกึ ถษาานปศรึกะษเภาทลลกู กู เสเสอื ือสตามรัญี ชหัน้ ลปักรสะตู ถรมลูกศเกึสือษตารปี ีท่ี 4 105 ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4

6. องค์ประกอบทกั ษะชีวิตสําคัญท่ีเกดิ จากกจิ กรรม การคดิ วเิ คราะห์ ความคิดสรา้ งสรรค์ ตระหนกั ถึงความสําคญั ของการลดปรมิ าณขยะและความ รบั ผดิ ชอบต่อสงั คม ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมท่ี 17 เพลง เศษกระดาษ เศษกระดาษเจา้ เอย๋ ใครละเลยโยนเจา้ ท้ิงไว้ คนท้งิ ก็ชา่ งใจร้าย คนทง้ิ ละกช็ า่ งใจร้าย คนใดทง้ิ ผงเลอะเทอะ ถา้ แมน้ เราเจอะจะชว่ ยบอกให้ เอากลับไปใชใ้ หมท่ ันใด ฉนั จะบอกใหร้ ีไซเคิลกด็ ี เกม เกมลูกเสอื ลอดถาํ้ ให้ลูกเสือเข้าแถวตอนเปน็ หมู่ๆ ไปยนื หา่ งกนั ประมาณ 1 เมตร และยนื แยกขา พอใหส้ ญั ญาณ เริม่ เลน่ ใหค้ นหลงั สดุ คลานลอดขาคนหน้า และคนท่ี 2 – 3 ฯลฯ คลานลอดขาตามไปเลยทีเดียว ไม่ ต้องคอยใหค้ นหลงั ไปยืนหน้าคนหนา้ สดุ และให้ลอดตามไปเรื่อยๆ จนครบ 3 รอบ การตดั สนิ หมูใ่ ดเสร็จกอ่ นและน่งั ลง หมนู่ น้ั เปน็ ผ้ชู นะ เร่อื งสั้นทเี่ ปน็ ประโยชน์ คนขเ้ี หนียวกบั ทองคํา ชายคนหนึง่ เปน็ คนข้ีเหนยี วมาก เขามักจะแอบเอาสมบตั ิฝงั ดนิ ไวร้ อบๆ บา้ นไมย่ อมนาํ มาใช้ จ่ายใหเ้ กิดประโยชน์ ตอ่ มาเขากลัววา่ จะไมป่ ลอดภยั ถ้าฝงั เงนิ ทองไวห้ ลายแหง่ เขาจึงขายสมบัติ ท้งั หมดเเล้วซอื้ เปน็ ทองคาํ เเท่งหน่งึ มาฝังไวท้ หี่ ลังบ้านแลว้ ม่ันไปดูทกุ วนั คนใช้ผหู้ นงึ่ สงสัยจงึ เเอบตาม ไปดูทห่ี ลงั บา้ นเเล้วกข็ ดุ เอาทองเเทง่ ไปเสยี วนั ตอ่ มาชายขเ้ี หนยี วมาพบหลมุ ท่วี ่างเปลา่ ก็เสยี ใจ ร้องหม่ ร้องไหไ้ ปบอกเพ่ือนบา้ นคนหนง่ึ เพ่ือนบา้ นจึงเเนะนาํ แบบประชดประชนั ว่า \"ทา่ นกเ็ อาก้อนอิฐใส่ในหลุมแลว้ คิดวา่ เปน็ ทองคําสิ เพราะถงึ อยา่ งไรทา่ นก็ไมเ่ อาออกมาใช้อยู่ แลว้ \" เร่ืองนี้สอนใหร้ ้วู า่ ของมคี ่า ถ้าไมน่ าํ มาทาํ ให้เกดิ ประโยชน์กย็ อ่ มเปน็ ของไร้คา่ 106 คู่มอื ส่งคเูม่ สือรสมิ ่งแเสลระิมพแัฒละนพาัฒกนจิ ากกรจิ รกมรรลมูกลเกู สเือสอืททักกั ษษะะชชวี วี ิตติ ใในนสสถถาานนศศึกษึกาษปาระลเกูภเทสลอื กู ตเสรือี สชานั้ มปญั รหะถลกัมสศตู ึกรษลูกาเปสทีอื ตี่ 4รี 99 ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 4

ประเดน็ การวเิ คราะหค์ ณุ ธรรมทไ่ี ด้ 1. ความพอเพียง 2. ซื่อสัตย์ สจุ รติ 3. ความรับผิดชอบ 4. กตญั ํู 5. อุดมการณ์ คุณธรรม 100 คมู่คมู่ืออื สส่งง่ เเสสริมแแลละะพพฒั ฒั นนากาจิกกจิ รกรรมรลมกู เลสูกือเทสกั อื ษทะกัชีวษติ ะใชนีวสติ ถาในศสกึ ถษาานปศรกึ ะษเภาทลลูกกู เสเสอื ือสตามรญั ี ชห้ันลปกั รสะตู ถรมลกูศเกึสือษตารปี ที ่ี 4 107 ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4

แผนการจดั กจิ กรรมลูกเสอื หลกั สตู รลกู เสอื สามญั (ลกู เสือตรี) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 หนว่ ยที่ 5 กจิ กรรมกลางแจง้ เวลา 2 ชว่ั โมง แผนการจัดกิจกรรมที่ 18 การใชป้ ระโยชน์จากเงอ่ื นเชือก 1. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ลูกเสือสามารถผกู เงื่อนโดยใชเ้ ชือกขนาดเดียวกนั และเชือกทม่ี ีขนาดต่างกันได้ถูกตอ้ ง 2. เนื้อหา การผูกเง่ือนและใช้ประโยชน์จากเงื่อนเชือกท่ีใช้เชือกขนาดเดียวกนั )เง่ือนพิรอด เงื่อนประมง เง่ือนผูกร่น เงื่อนผูกคนลาก( และเชือกท่ีมีขนาดต่างกันได้ )เงื่อนขัดสมาธิชั้นเดียว และ 2 ช้ัน( 3. สอื่ การเรยี นรู้ 3.1 แผนภมู ิเพลง 3.2 เกม 3.2 ใบความรู้ 3.3 เชือกขนาดเดยี วกนั และเชอื กทม่ี ขี นาดตา่ งกัน 3.4 เรอ่ื งส้ันทเ่ี ป็นประโยชน์ 4. กจิ กรรม 4.1 กิจกรรมคร้งั ที่ 1 1( พิธเี ปิดประชุมกอง )ชกั ธงขนึ้ สวดมนต์ สงบนงิ่ ตรวจ แยก( 2( เพลง หรอื เกม 3( กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ )1( ผู้กํากบั ลกู เสอื ชแี้ จงวตั ถปุ ระสงค์การเรียนร้เู กีย่ วกบั การผกู เชือกโดยลกู เสอื จะเรยี นเรื่องการผูกเงอื่ น 2 ประเภทคอื การผกู เงอื่ นโดยใช้เชือกขนาดเดยี วกนั และการผูกเงอ่ื นโดยใช้เชอื กทมี่ ขี นาดตา่ งกนั วธิ ีการเรียนจะเรยี นเป็นฐาน 3 ฐาน แต่ละฐาน ลูกเสือจะไดเ้ รยี นรูก้ ารผูกเงื่อน 1 ชนดิ และการใช้ประโยชนข์ องเง่ือน ชนิดนัน้ ๆ )2( ผกู้ าํ กบั ลูกเสอื ใหล้ กู เสอื เรียนจากระบบฐาน ดงั นี้ ฐานที่ 1 เงื่อนพิรอดและการใชป้ ระโยชน์ ฐานท่ี 2 เง่อื นประมงและการใชป้ ระโยชน์ ฐานที่ 3 เงอื่ นผูกรน่ และการใช้ประโยชน์ )3( ผู้กํากับลูกเสือและลูกเสือร่วมกันสรุปบทเรียน พร้อมท้ังมอบหมายให้ลูกเสือ ฝกึ ฝนการผกู เง่อื นในเวลาวา่ ง 108 คู่มือสง่คเ่มู สือรสมิ ง่ แเสลระิมพแัฒละนพาัฒกนจิ ากกรจิ รกมรรลมูกลเูกสเือสอืททกั ักษษะะชชวี ีวติิตใในนสสถถาานนศศกึ ษึกาษปาระลเกูภเทสลือูกตเสรอื ี สชาั้นมปญั รหะถลกัมสศตู ึกรษลกูาเปสทีอื ตี่ 4รี 101 ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4

4( ผ้กู าํ กบั ลกู เสอื เล่าเรอ่ื งสนั้ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ 5( พิธปี ิดประชุมกอง )นดั หมาย ตรวจเคร่ืองแบบ ชกั ธงลง เลิก( 4.2 54ก21((จิ(( กพผเพรกู้พิธิธราํีปลีเมกปิดงบัคปิดหลรปรรูกัง้ะรอื ทชเะเสุมกช่ี ือ2มกมุ เลอก่างอเง)รน่อื )ดัชงสักหน้ัธมงทาขยเ่ี ป้ึนต็นสรปววรดจะเมโคยนรชตือ่ น์งสแ์ งบบบนงิ่ชกัตธรงวลจงแเยลกิก(( 4.2 54ก3231((จิ(((( กพผกกเพ))))รู้กพิธ2211ิจจิธิราํีป((((ลกกเีมกฝดิปงรรฐฐฐฐฐฐผผผผับึกคปิดรราาาาาาห้กูู้กูู้ก้กลฝมมนนนนนนรรปราาํําํํากูนั้งตตะททททททรอืกกกกทชเาากะี่่ีี่่ี่ี่ีเสบัับบบัั11ุม3232กมมชี่าอื2ลลลลมกรมุจจเกกููกูกูผดดุุลอกเเเเเเเเเเกู่างงปปงงงงงอสสสส่ืื่ออเ่ืออ่ือื่่อืเรรงออออืืืื)รงนนนนนนนะะือ่ื่อแแใใ)สสขขขขผผหหดัชงนลลงงัดดัดดััสูกกูักห้ล้ละะใคคั้นสสสสนคคกกลลููธมกก์์ มมมมกกููงนนทเเเาาาสสวขาาาาเเยลล่ีเรรลสสออืืป้ึนธธธธาาเเาออืืเเตชิิชิิรร็นกกรร22วสรรีียยรนนั้ั้ยยปีีแแ่า่่ววววนนชชเเลลนนรงมมดจดดรรน้ันั้ะะะจจเกกมียยีูู้้โกกคแแาายัันนนววาากกลลรชแแสสรรตื่อะะรรลลใในรรกก์ะะงชชสปปุุะะบบแ์าาปป้้กกงบบบรรบบบรราาใใททบฐฐชชะะรรนาาเเโโใใปป้้งิ่รรชนนชชยยยียีรรกัปป้้ชชตะะนนดดธนนรรรโโงังังยยวะะ์์พพนนลโโจชชยยรรงีี้้ นนออแ้้ชชเ์์ยมมนนลกททิก์์ ((ัง้ั้งมมออบบหหมมาายยใใหหลล้้ กููกเเสสอือื 5. การปตรระวเจ54มส((นิ อพผผบู้กิธลคาํปี วกฝดิาับกึมปลฝถรกูนะกู ชเกตสุมาอ้อื กรงเผลขอูกา่งอเเง)รงกนอ่ืือ่ าัดงนรสหใผ้ันนมูกทเาเวยงี่เลปอ่ื าต็นนวรปเ่าวชรงจือะเกโคยรแช่อื ลนงะแ์ สบอบบถชาักมธคงวลางมเเลขิกา้ (ใจเกีย่ วกับการนําเงอ่ื นไป ใชป้ ระโยชน์ 5. การประเมินผล ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของการผูกเงอื่ นเชอื ก และสอบถามความเขา้ ใจเก่ียวกบั การนาํ เงอื่ นไป ใช้ประโยชน์ ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมท่ี 18 เพลง ภาคผนวกประกเพอลบงแเงผ่ือนนกเชาอื รกจัดกจิ กรรมที่ 18 เชือกขนาดเทา่ กนั ตอ่ กนั ดว้ ยเงือ่ นพิรอด เพลง สองเสน้ ไม่เทา่ กนั ตลอด สมาธสิ อดลอดเป็นเสน้ ยาว กบร่วะงหสวายัดเธไชมนือู้ ใกชขเ้ นชาือเดกพเเทลสา่้นงกเยงนั า่ือวนเชอื ลอตกาาอ่ กจกชอนั ่วา้ ดวย้วๆกยชู้ เไงวี ม่อืติ ขนยาพนืดริยหอาลดวดุ เลย สองเส้นไม่เทา่ กนั ตลอด สมาธสิ อดลอดเป็นเส้นยาว บ่วงสายธนู อาจชว่ ยกู้ชวี ติ ยนื ยาว กระหวัดไม้ ใช้เชือกเสน้ ยาว ลากอา้ วๆ ไมขาดหลดุ เลย คมู่ อื ส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื ตรี ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 109 102 คู่มคมู่อื อื สสง่ ่งเเสสรมิ แแลละะพพัฒัฒนนากาิจกกิจรกรรมรลมูกเลสูกือเทสกั ือษทะกัชวีษิตะใชนีวสิตถาในศสกึ ถษาานปศรกึ ะษเภาทลลกู กู เสเสือือสตามรญั ี ชห้นั ลปักรสะูตถรมลกูศเึกสอืษตารปี ที ี่ 4 109 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4

เกม เกมครอบครวั สัตว์ อุปกรณ์ กระดาษเขยี นชอื่ สตั ว์ ใหค้ รบจาํ นวนผู้เล่น นาํ กระดาษเขยี นช่ือสัตวเ์ ป็นครอบครวั เชน่ ครอบครวั ที่ 1 เปน็ ครอบครัวเสอื เขยี นพ่อเสือ แม่ เสือ ลูกชายเสือ ลูกสาวเสอื ใหเ้ ขยี นครอบครวั สัตวจ์ นครบจาํ นวนผ้เู ล่น แลว้ นาํ กระดาษมาคละกันให้ผู้ เลน่ แต่ละคนจับ เม่ือผู้เลน่ แต่ละคนจับได้อะไรห้ามบอกผู้เล่นคนอื่นๆ ผู้กํากับให้สัญญาณเล่น ให้ผู้เล่นทุกคนออกเสียงสัตว์ตามท่ีตนเองจับฉลากได้ เพ่ือหา ครอบครัวตวั เอง ครอบครวั ทร่ี วมกนั ไดค้ รบ ใหร้ วมกลุ่มกนั แล้วนง่ั ลง การตดั สิน ครอบครวั ท่ีนง่ั ได้ถูกต้องและเสรจ็ กอ่ นเป็นทมี ชนะ เรอื่ งสน้ั ท่ีเปน็ ประโยชน์ ราชสหี ก์ บั วัว 4 ตัว กาลคร้งั หน่ึงมีววั อยู่ 4 ตัว และเวลาออกหากินหญ้าในทุ่งหญา้ อันกวา้ งใหญ่ ววั ทั้ง 4 จะไม่จาก กันไปไหนตามลําพงั เลย ไม่ว่าจะเป็นยามออกหาอาหาร หรือกระท่ังยามหลับนอน ราชสีห์ตัวหนึ่ง เหน็ ววั ท้ังสเี่ ขา้ กค็ ดิ ที่จะล่ากนิ เปน็ อาหาร แตม่ นั รดู้ ีว่าถ้าวัวทง้ั หมดอยรู่ วมกนั เช่นนี้ มนั ก็ไม่อาจเขา้ จู่ โจมไดร้ าชสีหเ์ จา้ เล่ห์จึงคิดอบุ ายให้วัวทง้ั สแี่ ตกความสามคั คกี ัน มนั พยายามเล่าเร่ืองราวตา่ ง ๆ ให้วัว แต่ละตัวฟัง เพอื่ กอ่ ความระแวงสงสยั ซึ่งกนั และกัน ในท่สี ุดแผนการของมนั ก็ประสบผลสาํ เรจ็ วัวทั้งส่ี ต่างมีแต่ความอิจฉาริษยา และระแวงกันอยู่ตลอดเวลา ในไม่ช้า มันก็แตกกลุ่ม แยกกันออกหา อาหารตามลาํ พงั ทาํ ให้ราชสหี ส์ ามารถฆา่ ววั แตล่ ะตวั เป็นอาหารได้อย่างง่ายดาย เรื่องนีส้ อนให้รู้วา่ สามคั คคี ือพลงั ต้นโอ๊กผ้ยู งิ่ ใหญ่ เยน็ วันหนง่ึ เกดิ พายใุ หญพ่ ดั กระหนา่ํ จนตน้ ออ้ น้นั พากนั เอนลู่ไปตามกระเเสลม ต้นโอก๊ ใหญ่ เหน็ เชน่ นั้นจึงถามตน้ ออ้ ว่า “ไฉนเจา้ จงึ ไมย่ นื นง่ิ ตา้ นเเรงลมเลา่ ” ตน้ ออ้ ตอบอยา่ งถ่อมตนวา่ “ขา้ นน้ั เปน็ ต้นไม้เลก็ ๆ ไมม่ เี เรงกําลังมากเช่นท่าน ลมพัดไปทางไหนจึงตอ้ งเอนไปทางนน้ั ” ต้นโอ๊กได้ฟังก็หัวเราะดงั ลนั่ อยา่ งภาคภมู ใิ จในความย่ิงใหญ่ของตนคืนนน้ั พายุยังคงโหม กระหนํ่ารุนเเรง ตน้ โอก๊ ทต่ี ้านแรงลมไมไ่ หวจงึ หกั โค่นลง เหลอื เเต่ตน้ ออ้ ที่ยงั มชี ีวติ อยู่ เเละเมอื่ พายุ สงบลง ต้นออ้ ก็กลับยืนตรงไดอ้ ีกครั้ง เรื่องนี้สอนใหร้ วู้ ่า การรูจ้ ักโอนออ่ น ยอ่ มหยดั ยนื อยไู่ ดน้ านกว่าความแข็งกระดา้ ง 110 ค่มู ือส่งคเู่มสือรสมิ ง่ แเสลระมิ พแัฒละนพาฒั กนิจากกริจรกมรรลมูกลเูกสเือสอืททกั ักษษะะชชีวีวิตติ ใในนสสถถาานนศศกึ ษึกาษปาระลเกูภเทสลือกู ตเสรือี สชา้นั มปัญรหะถลักมสศตู กึ รษลูกาเปสทีอื ตี่ 4รี 103 ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4

ประเดน็ การวเิ คราะหค์ ณุ ธรรมทไ่ี ด้ 1. ความพอเพียง 2. ซื่อสัตย์ สจุ รติ 3. ความรับผิดชอบ 4. กตญั ํู 5. อุดมการณ์ คุณธรรม 104 คมู่คมู่ืออื สส่งง่ เเสสริมแแลละะพพฒั ฒั นนากาจิกกจิ รกรรมรลมกู เลสูกือเทสกั อื ษทะกัชีวษติ ะใชนีวสติ ถาในศสกึ ถษาานปศรกึ ะษเภาทลลูกกู เสเสอื ือสตามรญั ี ชห้ันลปกั รสะตู ถรมลกูศเกึสือษตารปี ที ่ี 4 111 ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4

ใบความรู้ 1. การผกู เง่อื นโดยใช้เชือกขนาดเดยี วกันและตา่ งขนาดกนั ประเภทของเง่อื นเชอื ก แบง่ ออกเปน็ กลุ่มใหญๆ่ ได้ 3 กลมุ่ คือ 1. ประเภทต่อเชอื กเข้าดว้ ยกนั เพอื่ ใช้ประโยชน์ต่อเชือกให้ยาวข้ึนผูกได้ 2 แบบได้แก่ การ ตอ่ เชอื กขนาดเดียวกัน เชน่ เงือ่ นพิรอด เงอื่ นขดั สมาธิ เงอ่ื นประมง การต่อเชอื กตา่ งขนาดกัน เชน่ เงอื่ น ขัดสมาธิ 2. ประเภททําเป็นบ่วง เพื่อใช้ประโยชน์สําหรับคล้องหรือสวมกับหลักเช่นเง่ือนบ่วงสายธนู เงอ่ื นผกู คนลาก เง่อื นเก้าอ้ี รอกเชอื ก 3. ประเภทผูกกับวัตถุ เพื่อใช้ประโยชน์สําหรับผูกให้แน่น ใช้รั้งให้ตึงหรือดึงให้แน่น เช่น เง่อื นผูกซุง เงือ่ นบกุ เบกิ เงอื่ นตะกรุดเบด็ เงือ่ นผกู ถัง เงือ่ นกระหวดั ไม้ เง่อื นผกู ร้งั เงื่อนขันชะเนาะ เงอื่ นผูกประกบ เงอื่ นผูกกากบาท เงือ่ นผกู ทแยง 2. ประโยชนแ์ ละวิธกี ารผกู เงอื่ น เง่อื นพริ อด ประโยชน์ 1. ใชต้ ่อเชอื กขนาดเทา่ กนั เหนยี วเท่ากนั 2. ใชผ้ กู ปลายเชือกเสน้ เดียวกนั เพอื่ ผูกมดั ห่อสิง่ ของและวัตถุตา่ งๆ 3. ใช้ประโยชน์ในการปฐมพยาบาลผ้ทู ไี่ ด้รับบาดเจบ็ เช่น ผูกชายผา้ พนั แผล ผกู ชายผ้า 4. ผกู เชอื กรองเทา้ ผูกโบ วธิ ีผูก 112 คู่มอื ส่งคเู่มสือรสิม่งแเสลระมิ พแัฒละนพาฒั กนิจากกริจรกมรรลมูกลเูกสเอืสือททกั กั ษษะะชชวี ีวติติ ใในนสสถถาานนศศึกษึกาษปาระลเกูภเทสลอื ูกตเสรอื ี สชา้ันมปญั รหะถลักมสศูตกึ รษลกูาเปสทีือต่ี 4รี 105 ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4

เงอ่ื นประมง )เง่อื นหวั ลา้ นชนกนั ( ประโยชน์ 1. ใช้ในการตอ่ เชอื กทีม่ ขี นาดเดียวกนั 2. ใช้ตอ่ เชอื กที่มลี กั ษณะล่ืน หรอื มขี นาดเลก็ เชน่ ต่อสายเอ็นตกปลา 3. ช่องกลางระหวา่ งปมน้ันใช้เชือกลอ็ คยึดสงิ่ ของ หรือใชเ้ ป็นห่วงรูดก็ได้ เช่น ใชผ้ กู คอขวดเพื่อการถือหรือหว้ิ 4. ใช้ต่อเชอื กทีอ่ ยกู่ ันคนละจดุ โยนเชอื กใหก้ นั และกัน แลว้ ผกู รูดปมเขา้ ตอ่ กนั วิธผี ูก นําเชือก 2 เสน้ มาวางขนานกัน เอาปลายทจ่ี ะผูกแต่ละเสน้ พนั ทบั ซ่ึงกันและกันเสร็จแล้ว ม้วนปลายเชือกกลับมาพันรอบตัวของมันเอง 1 รอบสอดปลายเชือกลอดห่วงดึงให้แน่นทําเหมือนกัน ทง้ั 2 เสน้ หลงั จากนน้ั ดึงกกเชอื กของท้ัง 2 เส้น ให้ปมท่ีเกิดน้ันว่ิงมาชนกันเข้าจะเกิดเง่ือนหัวล้านชน กัน เง่ือนผกู ร่น ประโยชน์ ใช้ผูกรน่ ทบเชอื กทช่ี าํ รดุ เลก็ น้อยให้มีความแข็งแรงมากขึ้น โดยไม่ต้องตัดเชือกทิ้งแล้ว มาตอ่ ใหม่ ใช้ทบเชือกทยี่ าวมากๆใหส้ นั้ ลง วิธีผูก นําเชือกส่วนทีช่ ํารดุ หรอื สว่ นทจ่ี ะรน่ นัน้ มาวางไว้ตรงกลาง ทบเชือกท้ัง 2 ข้างให้เหมือนรูปตัว Z โดยให้ส่วนท่ีจะทําการร่นน้ันอยู่ตรงกลางระหว่าง 2 เส้นที่ทบ เสร็จแล้วให้นําปลายเชือกท้ัง 2 ข้าง ม้วนกลับให้เป็นห่วงบิดให้ปลายเชือกอยู่ด้านในหรือทําลักษณะเดียวกันกับเงื่อนตะกรุดเบ็ดเสร็จแล้ว สวมเข้าไปที่คอพับเชือกท่ีต้องการร่นลักษณะหักคอเชือกทําเหมือนกันท้ัง 2 ข้าง สอดปลายเชือกลอด ผา่ นชอ่ งทบนท้ี ัง้ 2 ขา้ ง แล้วดึงใหแ้ นน่ จะเกดิ เงื่อนรน่ เชือก 106 คูม่คู่มืออื สสง่ ่งเเสสรริมมิ แแลละะพพัฒัฒนนากาจิกกิจรกรรมรลมูกเลสกู อื เทสกั อื ษทะักชีวษิตะใชนีวสติ ถาในนศสกึ ถษาานปศรกึ ะษเภาทลลูกกู เสเสืออืสตามรัญี ชห้ันลปกั รสะูตถรมลูกศเกึสือษตารปี ที ่ี 4 113 ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4

เงอ่ื นผกู คนลาก ประโยชน์ เป็นเงื่อนท่ีผูกเป็นบ่วงแล้วไม่รูด ใช้ทําบ่วงคล้องไหล่เมื่อต้องการลากของหนัก ใช้ผูก ของในการลากใชผ้ ูกลกู บันไดในการทําบนั ไดลิง วธิ ีผกู 1. ขดเชอื กเป็นบว่ งใหด้ ้านขวาทับด้านซา้ ย 2. จับปลายเชือกดา้ นซ้ายออ้ มไปทางหลังบ่วง 3. ดึงบว่ งตวั ลา่ งลอดเขา้ ใต้เส้นเชือกแล้วดงึ ขน้ึ มา จากนั้นจดั เงอื่ นใหเ้ รยี บรอ้ ย เงือ่ นขดั สมาธิ เป็นเงื่อนที่มปี ระโยชน์ในการตอ่ เชอื กทมี่ ขี นาดตา่ งกนั หรือขนาดเทา่ กนั โดยใชเ้ สน้ ใหญ่ทาํ เป็นบว่ งสว่ นเสน้ เลก็ เปน็ เสน้ พนั ขดั ประโยชน์ 1. ใช้ต่อเชอื กท่มี ขี นาดตา่ งกนั 2. ใช้ผกู กบั สงิ่ ทมี่ ลี กั ษณะเป็นขอหรอื เป็นหูอยู่แล้ว เช่น เชือกรอ้ ยธงชาติ เป็นตน้ 3. ใช้ต่อเส้นดา้ ย เสน้ ไหมทอผา้ วิธีผกู 1. งอเชชอือกกเสเสน้ ้นใหใหญญใ่ หใ่ หเ้ ปเ้ ็นปบ็นว่บงว่ สงอสดอปดลปายลเาชยอื เกชเอืสกน้ เลสก็น้ เเขลา้ ็กไเปขใ้านใบนว่ บงว่ทงท่ี ทำ� ที่ไวํา้ ไโดว้ยโสดอยดสจอาดกดจา้ นกลา่ ง ด า้ นล่าง 2. ม2ว้ .นมปว้ลนายปเลชาอื ยกเเชสือน้ กเลเสก็ น้ ทเส่ีลอก็ ดทลส่ี งออดอ้ ลมงดอา้ อ้ นมหดลา้ งั นขหอลงบังขว่ องทงบท่ี ว่ำ� ไงวทค้ ที่ รํางั้ ไแวรค้ กรั้งแรก 33.. จจบับั ปปลลาายยเเชชอือื กกเเสสน้น้ เเลลก็็กขขน้ึ้นึ ไไปปลลออดดขขดัดั ตตวั วั เเอองงแลแว้ลจว้ ดัจเดั งเอ่ื งน่ือในหใแ้หนแ้ ่นนแน่ ลแะลเระยีเรบียรบอ้ รยอ้ โยดโยดกยากรดารงึ ดตงึาม ต าม ทศิ ทางของลกู ศร ทศิ ทางของลกู ศร 114 คมู่ อื ส่งคเ่มู สือรสมิ ง่ แเสลระิมพแัฒละนพาฒั กนิจากกรจิ รกมรรลมูกลเูกสเือสอืททักกั ษษะะชชวี วี ติติ ใในนสสถถาานนศศึกษกึ าษปาระลเกูภเทสลอื กู ตเสรือี สชานั้ มปัญรหะถลกัมสศูตกึ รษลกูาเปสีทอื ต่ี 4รี 107 ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4

เงื่อนขัดสมาธิ 2 ชัน้ ประโยชน์ 1. ใช้ต่อเชือก 2 เสน้ ทมี่ ลี กั ษณะ 1( ขนาดแตกตา่ งกนั มาก, 2(เชือกเปยี กทั้ง 2 เสน้ , 3( เชือกอ่อนมากกบั เชือกแขง็ มาก, 4( เชอื กทล่ี ื่น เช่น ไนลอ่ น 2. ใช้คลอ้ งผูกสมอ วิธผี กู 1. ผูกเชือกให้เปน็ เงื่อนขัดสมาธิช้นั เดียวก่อน 2. จบั ปลายเชือกเสน้ เลก็ ที่ลอดขัดตัวเอง ออ้ มหลังบ่วงเชือกเส้นใหญ่อกี 1 รอบ แล้ววกกลบั มา สอดขดั กบั ตัวเชือกเส้นใหญเ่ ช่นเดิม 3. ดึงตวั เชือกเส้นใหญ่ เพอื่ ใหเ้ งอื่ นแนน่ 108 คูม่คมู่อื อื สสง่ ่งเเสสรริมมิ แแลละะพพัฒฒั นนากาิจกกิจรกรรมรลมกู เลสูกือเทสักือษทะักชีวษิตะใชนีวสิตถาในนศสกึ ถษาานปศรกึ ะษเภาทลลูกกู เสเสอื อืสตามรัญี ชหั้นลปักรสะูตถรมลูกศเึกสือษตารปี ีที่ 4 115 ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4

แผนการจัดกจิ กรรมลูกเสือ หลกั สตู รลกู เสือสามญั (ลูกเสือตรี) ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 หนแว่ ผยนทกี่ 5ารกจิจดั กกรจิ รกมรกรลมาลงแูกจเส้งอื หลกั สูตรลกู เสอื สามญั (ลกู เสือตร)ี ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 แหผนนว่ ยกทารี่ 5จดั กจิ กรรมกทล่ี 1า9งแทจง้กั ษะในการใช้เขม็ ทิศ เวลา 2 ชั่วโมง แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 19 ทกั ษะใกนากราใชรใ้เขช้มเ็ ขท็มิศทิศ เวลา 2 ชว่ั โมง 1. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. จดุ ป1ร.ะ1สงลคกู ์กเสาอืรสเรายี มนารรถู้ บอกประวัต,ิ สว่ นประกอบ, วิธใี ช้, วิธเี ก็บรักษา, และประโยชน์ของเขม็ ทิศ ได้ 1.1 ลกู เสือสามารถบอกประวัต,ิ สว่ นประกอบ, วิธีใช้, วธิ เี ก็บรกั ษา, และประโยชนข์ องเข็มทศิ ได้ 1.2 ลกู เสอื สามารถหาทิศโดยการใช้เขม็ ทศิ ได้ 2. เน้อื ห1า.2 ลกู เสอื สามารถหาทิศโดยการใชเ้ ข็มทิศได้ 2. เนอื้ หปาระวัติ ส่วนประกอบ วิธีใช้ วิธีเก็บรักษา และประโยชน์ของเข็มทิศ การหาทิศโดยใช้เข็มทิศ การกาํ หปนรดะมวุมัตอิ สา่วซนิมปุทระเพกอ่ื บอวกิธจีใุชด้พวิกธัดีเกแ็บลระักกษาารกแาํ ลหะนปดระจโุดยพชิกนัด์ขเอพงื่อเขบ็มอทกิศมุมกอาารซหิมาทุ ิศโดยใช้เข็มทิศ การกาํ หนดมุมอาซิมุท เพื่อบอกจุดพิกัด และการกําหนดจุดพิกัดเพื่อบอกมุมอาซิมุท 3. สื่อการเรยี นรู้ 3. สอ่ื กา3ร.1เรียแผนนรภู้ ูมิเพลง 3.12 เแกผมนภมู ิเพลง 3.2 ใเกบมความรู้ 3.32 ใเขบ็มคทวาศิ มแรบู้ บซิลวา แผนภมู สิ ่วนประกอบของเขม็ ทศิ 3.43 เขร่อื็มงทสศิ ้ันแทบเ่ี บปซ็นิลปวราะโยแชผนน์ ภมู สิ ว่ นประกอบของเขม็ ทศิ 3.4 เร่อื งสั้นทเ่ี ป็นประโยชน์ 4. กจิ กรรม 4. กจิ กร4ร.ม1 กจิ กรรมครัง้ ท่ี 1 4.1 ก1ิจ( กพรธิรเีมปคดิ รปัง้ รทะชี่ 1ุมกอง )ชกั ธงขึ้น สวดมนต์ สงบนิ่ง ตรวจ แยก( 12( พเพิธลเี ปง ดิ หปรรอื ะเกชมุ กอง )ชกั ธงขึ้น สวดมนต์ สงบนงิ่ ตรวจ แยก( 23( เกพิจลกงรรหมรตอื าเกมมจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3( ก)1ิจ(กรผรู้กมาํ ตกาับมลจูกดุ เปสรือะนสาํงสคนก์ ทารนเารเียรนื่อรงู้ทิศและการหาทิศ ซึ่งมีได้หลายวธิ ี เช่น การสังเกต )1( ดผวกู้ งาํ อกาบั ทลิตกู ยเส์สอื ังนเกาํ สตนดทอนกาไเมรอื่้บงาทงศิชแนลิดะทกี่าบราหนารทับิศแซส่งึ มตไีะดว้หันลแายลวะธิกี าเชร่นใชก้เขา็รมสทงั ิศเกซตึ่ง สามารถ ดวงอาทิตย์สังเกตดอกไม้บางชนิดที่บานรับแสงตะวัน และการใช้เข็มทิศซึ่ง ส ามารถ ใสชา้ไมดา้ใรนถทใชุกไ้สดถท้ ากุ นสทถ่แี าลนะทเวแ่ี ลาะเลวูกลาเสลือกู จเึงสคอื วจรงึ เครวียรนเรู้แยี ลนะรใแู้ ชล้ปะใรชะโป้ ยรชะโนยจ์ ชานก์จเขากม็ เทขศิม็ ทศิ )2( ใหชม้ไดู่ลกู้ในเสทือุกรส่วถมากนนั ทศ่ีแึกลษะาเวใลบาควลากู มเสรู้ือเจรือ่งึ คงเวขรม็ เรทียศิ นรในูแ้ ลเระื่อใงชต้ป่อรไะปโยนชี้ นจ์ ากเข็มทิศ )2( - หปมรูล่ ะกูวัตเสเิ ือขรม็ ว่ ทมศิ กชันาศตกึแิ ษรกาทใบีผ่ คลวติ าเมขร็มู้ ทเรศิ ่ือขงน้ึเขใช็ม้ทิศ ในเร่อื งต่อไปนี้ - คปวระาวมัตหเิ มขา็มยทแศิ ลชะาปตรแิะโรยกชทน่ผี ข์ลอติ งเเขขม็ ม็ ททศิ ศิ ขน้ึ ใช้ - คกาวราเมกห็บมราักยษแาลเขะปม็ รทะศิ โยชน์ของเขม็ ทศิ - กวิธาใีรชเกเ้ ข็บ็มรทกั ษิศาเขม็ ทิศ 4( ผกู้ ําก- ับวลิธูกใี ชเสเ้ ขอื ม็เรทยี ิศกรวมกอง แจกเขม็ ทิศแบบซิลวาให้ลกู เสอื สองคนตอ่ 1 เรือน ทบทวน 4( ผ้กู าํ กบั ลูกเสอื เรยี กรวมกอง แจกเข็มทศิ แบบซิลวาให้ลกู เสอื สองคนตอ่ 1 เรอื น ทบทวน 116 คมู่ อื สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสือตรี ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 116 คมู่ อื สง่คเมู่ สือรสมิ ่งแเสลระมิ พแัฒละนพาัฒกนจิ ากกริจรกมรรลมกู ลเูกสเอืสือททักักษษะะชชีววี ติติ ใในนสสถถาานนศศกึ ษกึ าษปาระลเกูภเทสลอื กู ตเสรอื ี สชานั้ มปญั รหะถลกัมสศตู ึกรษลกูาเปสีทือตี่ 4รี 109 ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 4

เรื่องท่ศี กึ ษาจากใบความรู้ และบรรยายประกอบการใช้แผนภมู ิ ในเรอ่ื งสว่ นประกอบ ของเขม็ ทิศแบบซลิ วา 5( ผู้กํากับลูกเสอื นัดหมายนายหมเู่ พือ่ ทบทวนทักษะการใชเ้ ข็มทิศและนํากลบั ไปสอน สมาชิกในคราวต่อไป 4.4 ผู้กาํ กับลกู เสอื เลา่ เรอื่ งส้ันทเ่ี ป็นประโยชน์ 4.5 พิธีปิดประชมุ กอง )นดั หมาย ตรวจเครอื่ งแบบ ชกั ธงลง เลกิ ( 4.2 กิจกรรมครง้ั ท่ี 2 1( พิธีเปิดประชมุ กอง )ชกั ธงข้นึ สวดมนต์ สงบนงิ่ ตรวจ แยก( 2( เพลง หรอื เกม 3( กิจกรรมตามจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ - การปฏิบัติการใชเ้ ขม็ ทศิ )1( ผกู้ ํากบั ลูกเสอื มอบหมายใหน้ ายหมทู่ าํ การสอนสมาชิกในหมู่ 3 เรอ่ื ง ดงั น้ี - การหาทิศเหนือ - การกําหนดมมุ อาซมิ ทุ เพอื่ หาจุดพกิ ัด - การหามมุ อาซมิ ุทเมอ่ื กาํ หนดพิกดั ให้ )2( ผกู้ าํ กบั ลกู เสือทบทวนความรโู้ ดยให้ลกู เสอื เลน่ เกม \"หาทศิ \" )3( ผกู้ ํากับลูกเสอื และลูกเสอื ร่วมกนั สรปุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ 4( ผูก้ าํ กับลกู เสอื เล่าเรื่องสน้ั ท่ีเปน็ ประโยชน์ 5( พธิ ีปดิ ประชุมกอง )นดั หมาย ตรวจเครือ่ งแบบ ชักธงลง เลกิ ( 5. การประเมินผล 5.1 สอบถาม ความเขา้ ใจเกี่ยวกับส่วนประกอบ วิธใี ช้ วิธีเก็บรกั ษา และประโยชนข์ องเข็มทิศ 5.2 ตรวจสอบ ความถกู ตอ้ งของทกั ษะการใช้เข็มทิศ 5.3 สงั เกต การมีสว่ นร่วม และความต้ังใจในการเรยี นรู้ในหมู่ 110 คคมู่ ูม่ ือือสสง่ เ่งสเรสมิ รแมิ ลแะลพะฒั พนฒั ากนิจากกริจรมกลรกูรเมสลอื ทูกกัเสษอืะชทีวกั ติ ษในะชสถวี าิตนใศนกึ สษถาาปนรศะึกเภษทาลกู ลเสกู อื เสาอื มตญั รี หชลน้ั กั ปสตูรระลถูกมเสศือกึ ตษราี ปีท่ี 4 117 ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมท่ี 19 เพลง ทิศท้งั แปด ทศิ ทง้ั แปดทิศ ขอใหค้ ิดจาํ ไวเ้ คยชนิ อุดรตรงข้ามทักษิณ บรู พาประจิมจาํ ไว้ อสี านตรงหรดี ท่องอกี ทีจําให้ขึน้ ใจ พายัพนนั้ อยูท่ างไหน ตรงขา้ มไปคอื อาคเนย์ เดนิ วนหาทศิ ขอถามสกั นดิ เธออยูท่ ศิ อะไร เดนิ เอย๋ เดนิ วน สค่ี นสี่ทิศ ใครอยู่ทิศอะไรกจ็ งบอกมา ทกุ คนโปรดได้เขา้ ใจ สอง บุญเหลอื น้ันอยูท่ ศิ ใต้ หนึ่ง บุญตา เธออยู่ทศิ เหนอื สี่ บุญให้ อยู่ทิศตะวนั ตกเอย สามตะวนั ออก บญุ หลาย จําไว้ เกม หาทศิ วิธีเล่น 1. ผู้เล่นเขา้ แถวตอนลกึ ตามจาํ นวนหมู่ 2. ขดี เส้นจากหมหู่ า่ งออกไปประมาณ 8 เมตร วางเข็มทศิ กระดาษแข็งท่ีตีเสน้ ตามทิศ 8 ทศิ และฝาขวดนาํ้ อดั ลมท่ีเขียนตัวเลขมมุ ตา่ ง ๆ 8 มมุ )0 , 45 , 90 , 135 , 180 , 225 , 270 , และ 315( 3. เมอ่ื ได้ยินสัญญาณเร่ิม นายหมู่ซึ่งอยู่หัวแถวว่ิงไปหันเข็มทิศให้ตรงทิศเหนือ แล้วหยิบฝา ขวดนาํ้ อัดลม 1 อนั มาวางบนกระดาษใหต้ รงมุมองศาท่เี ขยี นไว้ แล้วว่ิงกลับไปสัมผัสมือคนที่ 2 ให้ว่ิง มาหยบิ ฝาขวดน้าํ อดั ลมวางบนกระดาษให้ตรงตามองศาทเี่ ขียนไว้ ทําเชน่ นีจ้ นครบ 8 ฝา ถา้ คนไมค่ รบ 8 คน ใหเ้ ล่นซํ้าคนแรกใหม่ 4. หมู่ใดเสร็จก่อนและถกู ตอ้ งมากทสี่ ดุ เป็นผชู้ นะ เกมสิบทศิ แบ่งผู้เล่นออกเป็นทีมหรือหมู่ๆ ละเท่าๆ กัน เข้าแถวตอนเรียงหนึ่งที่เส้นเริ่ม เมื่อได้รับ สญั ญาณใหผ้ ูเ้ ลน่ คนแรกวิ่งไปแตะที่จุดตกลงกันไว้ โดยจะไปด้วยวธิ ใี ดก็ได้ แล้ววิ่งกลับมาแตะคนท่ี 2 118 ค่มู อื สง่คเู่มสือรสมิ ง่ แเสลระิมพแฒัละนพาัฒกนิจากกรจิ รกมรรลมูกลเกู สเอืสอืททกั กั ษษะะชชวี ีวิติตใในนสสถถาานนศศึกษึกาษปาระลเกูภเทสลอื กู ตเสรอื ี สชาน้ั มปัญรหะถลกัมสศูตึกรษลูกาเปสีทือตี่ 4รี 111 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4

มาหยบิ ฝาขวดนํา้ อดั ลมวางบนกระดาษใหต้ รงตามองศาท่เี ขียนไว้ ทําเชน่ น้จี นครบ 8 ฝา ถ้าคนไมค่ รบ 8 คน ใหเ้ ลน่ ซํ้าคนแรกใหม่ 4. หมู่ใดเสร็จก่อนและถกู ตอ้ งมากทสี่ ุด เป็นผู้ชนะ เกมสิบทิศ แบ่งผู้เล่นออกเป็นทีมหรือหมู่ๆ ละเท่าๆ กัน เข้าแถวตอนเรียงหนึ่งท่ีเส้นเร่ิม เมื่อได้รับ สัญญาณให้ผู้เลน่ คนแรกวง่ิ ไปแตะท่จี ุดตกลงกันไว้ โดยจะไปดว้ ยวธิ ีใดกไ็ ด้ แล้วว่ิงกลับมาแตะคนที่ 2 ก็จะวิ่งไปแตะที่จุดนั้นอีก แต่วิธีการไปต้องแตกต่างกันกับคนแรก แล้วกลับมาแตะคนท่ี 3 ให้ทํา ตอ่ ไปเร่ือย ๆ จนครบทกุ คน 1138, 4 , ค5ยู่ม,ือก6สตง่ วั เฯสอลรยิมฯา่ แงลกคะเ็ พนชัฒ่นทนเ่ี ด1ากยี วจิวง่ิกกไรนั ปรมคลูกนเทสี่อื 2ทักจษะะวชงิ่ ีวไิตปใไนมสไ่ ถดาต้นอ้ศงกึ ทษําาอลยกู า่ เงสอือน่ืตรเี ชชน่นั้ ปกรระถะโมดศดึกหษราปือทีคี่ล4าน คนท่ี การตดั สิน ทีมใดทาํ ครบหมดกอ่ น โดยเคลื่อนไหวไมซ่ าํ้ แบบกนั เป็นทีมชนะ เร่อื งสั้นที่เป็นประโยชน์ คนหาปลา ชายหนมุ่ ผู้หน่ึงนัง่ เปูาขลยุ่ อย่างไพเราะอย่เู เม่นาํ้ เพ่ือหวังจะเรยี กปลาขึน้ มาจากน้ํา เเล้วตนจะ ได้จับเอาไปเป็นอาหาร เพลงเเล้วเพลงเล่าผ่านไปก็ไมม่ ีปลาสักตัวผุดข้นึ จากนา้ํ ตามเสียงขลุ่ยของเขา ชายหนุ่มรู้สึกโมโหมาก เขาจึงกลับบ้านไปเอาแหมาเหวี่ยงลงน้ํา ในไม่ช้าก็ได้ปลาตัวเล็กตัวน้อยดิ้น รนติดเเหอยู่หลายสิบตัว ชายหนุ่มคนหาปลาขัดเคืองใจนักจึงบ่นตําหนิปลาว่า \"ทีอย่างนี้มาทํา กระโดดโลดเต้นกันใหญ่ ที่เปูาขลุ่ยให้ฟังกลับทําเฉย\" เรอ่ื งนสี้ อนให้รู้ว่า คดิ ทาํ การใด ควรหาวธิ กี ารหรืออุปกรณ์ท่ีเหมาะสม กิจการนนั้ จึงจะสาํ เร็จ ชายพเนจรอกตัญํู ชายสองคนเดนิ ทางพเนจรไปเร่อื ยๆท่ามกลางแสงแดดท่ีร้อนจดั ขณะนั้นเปน็ เวลาเท่ียงวันเม่ือ พบไม้พุ่มหนึ่งจึงชวนกันหยุดพักใต้ร่มเงาของพุ่มไม้ชายคนหน่ึงลงนอนพักใต้ร่มไม้ มองดูพุ่มไม้ ด้านบนเเล้วบ่นว่า \"ไม้พุ่มน้ีไม่มีผลให้เรากินเลยนะ\"อีกคนก็เอ่ยบ้างว่า \"จริงด้วยไม้พุ่มน้ีช่างไร้ ประโยชนเ์ สียจริงๆ\" เรื่องน้สี อนใหร้ ู้ว่า คนโงไ่ ม่รจู้ ักคดิ ใหร้ อบคอบกอ่ นพดู ประเด็นการวิเคราะห์คุณธรรมที่ได้ 1. ความพอเพียง 2. ซ่อื สตั ย์ สจุ รติ 3. ความรบั ผิดชอบ 4. กตัญํู 5. อดุ มการณ์ คณุ ธรรม 112 คมู่ ือสง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทักษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามัญ หลกั สูตรลูกเสอื ตรี ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4

ใบความรู้ ประวัติเข็มทิศ เข็มทิศเป็น 1 ใน 4 สิ่งประดิษฐ์ที่สําคัญของจีนโบราณ )เข็มทิศ ดินปืน กระดาษ และการ พิมพ์( มีประวัติยาวนานกว่า 2,000 ปี เข็มทิศในยุคแรกทาํ จากหนิ แมเ่ หล็กธรรมชาติรูปร่างคล้ายช้อน ท่ีมีพื้นด้านล่างเรียบและมนั สามารถหมุนได้อยา่ งอสิ ระบนจานซ่ึงทาํ จากทองแดงหรือไม้เม่อื เข็มทิศท่ี หมุนหยุดนิ่งแล้วส่วนท่ีเหมือนคันช้อนของเขม็ ทิศจะชี้ไปทางทิศใต้เสมอดังนั้นเข็มทิศจึงมีช่ือเรียกอีก ชอ่ือหหนน่ึงึ่งววา่ ่า “ซอื หนาน\"”ซ(ือเขหม็นชาท้ีนศิ\"ใ)ตเข)้ ็มแชล้ีทะเิศมใอ่ื ตม้(กี แาลรใะชเมเ้ ขื่อม็ มทีกศิ ากรนั ใแชพ้เขร็มห่ ทลาิศยกมันาแกพขน้ึร่จหงึ ลมากี ยามรปากรบัขปึ้นรจงุ ึงเมขม็ีกทารศิ ใปหรส้ ับะปกรวุงดเตขอ่ ็มกทาิศรใชหง้ ้สาะนดมวากกตข่อน้ึ การใช้งานมากข้ึน นอกจากเป็นชาติแรกของโลกทป่ี ระดษิ ฐ์เขม็ ทิศแลว้ จนี ยังเปน็ ชาตแิ รกที่นาํ เขม็ ทิศไปใช้ในการ เดนิ เรอื ในตน้ ศตวรรษท่ี 12 และช่วยให้เกิดการเปลย่ี นแปลงครงั้ สาํ คญั คือสง่ ผลใหก้ จิ การเดินเรอื ได้รับ การพฒั นา และเกดิ การแลกเปลี่ยนทางวฒั นธรรมระหวา่ งประเทศ พ่อค้าชาวอาหรับและชาวเปอร์เซีย ที่โดยสารเรือประมงของจีนบ่อยๆกลุ่มหนึ่ง ได้เรียนรู้วิธีการประดิษฐ์เข็มทิศและนําความรู้ดังกล่าว เผยแพรไ่ ปสู่โลกตะวนั ตก ต่อมาชว่ งปลายศตวรรษท่ี 12 ต้นศตวรรษที่ 13 ประเทศอาหรับและยุโรปจึง ไดเ้ ร่ิมใชเ้ ข็มทศิ ในการเดินเรอื ซงึ่ เกดิ ขึ้นหลงั จากจีนถงึ รอ้ ยกว่าปี เขม็ ทิศของจนี ในยุคแรก ความหมายและประโยชน์ของเขม็ ทิศ เข็มทิศ หมายถงึ เครือ่ งมอื ท่ีใชใ้ นการหาทิศ โดยอาศัยแรงดงึ ดูดระหว่างสนามแม่เหล็กขวั้ โลก )Magnetic Pole( กับเข็มแม่เหลก็ ซ่งึ เป็นองค์ประกอบสําคัญท่ีสุดของเคร่ืองมือน้ีเข็มแม่เหล็กจะแกว่ง ไกวได้โดยอิสระในแนวนอนเพื่อให้แนวเข็มชี้อยู่ในแนวเหนือใต้ ไปยังขั้วแม่เหล็กโลกตลอดเวลา หน้าปัดเข็มทิศซึง่ คล้ายกบั หน้าปัดนาฬิกาจะมกี ารแบ่งโดยรอบเปน็ 360 องศานอกจากน้ีเข็มทิศยังเปน็ เครอื่ งมือสําหรับใชใ้ นการหาทศิ ของจุดหรอื วัตถโุ ดยมหี น่วยวัดเปน็ องศา เปรียบเทียบกบั จดุ เร่ิมต้น 120 คูม่ อื ส่งคเู่มสือรสมิ ง่ แเสลระมิ พแฒัละนพาัฒกนิจากกริจรกมรรลมกู ลเกู สเือสือททักกั ษษะะชชีวีวิติตใในนสสถถาานนศศกึ ษกึ าษปาระลเกูภเทสลือูกตเสรือี สชา้ันมปัญรหะถลักมสศตู ึกรษลูกาเปสทีอื ตี่ 4รี 113 ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4

ประโยชนข์ องเข็มทศิ 1. ใชป้ ระโยชนใ์ นการเดินทางโดยต้องมแี ผนทปี่ ระกอบ ทง้ั ทางบก ทางเรอื และทางเครือ่ งบนิ 2. ใช้หาทิศจรงิ ในแผนที่ เมอื่ วางแผนทไี่ ดต้ รงทิศแลว้ จึงจะสามารถใช้แผนทไ่ี ดต้ าม วัตถุประสงค์ 3. เปน็ เคร่อื งมอื ชว่ ยในการสาํ รวจ ของนกั สํารวจ เขม็ ทิศแบบซลิ วา ผลิตในประเทศสวเี ดนมีลักษณะเป็นเขม็ ทิศและไม้โปรแทรกเตอร์รวมกนั อยู่ เป็นเขม็ ทศิ ทน่ี ยิ ม ใช้ในวงการลกู เสอื เพราะมีราคาถกู ใช้งา่ ยและพกพาสะดวก ส่วนประกอบของเขม็ ทศิ ซลิ วา 1. แผ่นฐานเปน็ ตัววตั ถโุ ปรง่ ใส 2. ทขี่ อบมมี าตราสว่ นเปน็ นิว้ และ/หรอื เซนตเิ มตร 3. มีลูกศรชีท้ ิศทางที่จะไป 4. เลนสข์ ยาย 5. ตลบั เขม็ ทศิ เปน็ วงกลมหมุนไดบ้ นกรอบหนา้ ปัดของตลบั เขม็ ทิศแบ่งออกเป็น 360 องศา 6. ปลายเข็มทศิ เปน็ แมเ่ หลก็ สแี ดงซงึ่ จะชีไ้ ปทางทศิ เหนอื เสมอ 7. ขดี ตําแหนง่ สําหรบั ตง้ั มมุ และอา่ นคา่ มุมอยบู่ นหน้าปัดตรงโคนลกู ศรช้ีทิศทาง 114 คู่มคมู่ือือสสง่ ง่ เเสสริมแแลละะพพฒั ฒั นนากาจิกกจิ รกรรมรลมูกเลสูกอื เทสกั ือษทะักชีวษิตะใชนวี สติ ถาในศสึกถษาานปศรกึ ะษเภาทลลูกกู เสเสอื อืสตามรญั ี ชห้นั ลปักรสะตู ถรมลูกศเกึสือษตารปี ที ่ี 4 121 ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4

วิธใี ช้เข็มทิศซลิ วา การหาทิศเหนอื วางเขม็ ทศิ ในแนวระนาบ ปลายเขม็ ทิศขา้ งหนง่ึ จะชี้ไปทางทศิ เหนอื คอ่ ย ๆหมนุ หนา้ ปดั ของ เขม็ ทิศใหต้ ําแหนง่ ตัวเลขหรอื อกั ษรท่ีบอกทิศเหนือบนหน้าปดั ตรงกบั ปลายเหนอื ของเขม็ ทิศเม่อื ปรับ เข็มตรงกบั ทิศเหนอื แล้วจะสามารถอา่ นทิศต่างๆไดอ้ ย่างถกู ต้องจากหน้าปดั เขม็ ทศิ ลูกเสือสามารถนาํ เขม็ ทิศไปใชใ้ นกิจกรรมต่างๆไดเ้ ชน่ การเดินทางไกลการสาํ รวจปาู การผจญ ภัยการสาํ รวจและการเยือนสถานที่เปน็ ตน้ เมอ่ื เริม่ ออกเดินทางลกู เสอื ควรหาทศิ ท่ีจะมงุ่ หนา้ ไปให้ ทราบก่อนว่าเปน็ ทิศใด เมอ่ื เกดิ หลงทศิ หรือหลงทางจะสามารถหาทิศทางตา่ ง ๆ จากเขม็ ทิศได้ การกําหนดมุมอาซมิ ุทแล้วหาพกิ ดั กรณีบอกมุมอะซมิ ทุ มาใหแ้ ละต้องการรูว้ ่าจะตอ้ งเดนิ ทางไปในทิศทางใดสมมุตวิ ่ามมุ อะซิมุท 60 องศา 1( วางเขม็ ทศิ ในแนวระดับใหเ้ ข็มแมเ่ หลก็ หมุนไปมาได้อิสระ 2( หมนุ กรอบหนา้ ปดั ของตลับเข็มทิศใหเ้ ลข 60 อยตู่ รงขดี ตําแหนง่ ตั้งมุม 3( หันตัวเขม็ ทศิ ทง้ั ฐานไปจนกว่าเข็มแม่เหล็กสีแดงภายในตลับเข็มทิศชี้ตรงกับอักษร N บน กรอบหน้าปัด ทับสนิทกับเครอื่ งหมายหัวลกู ศรทพี่ มิ พ์ไว้ 4( เมอื่ ลกู ศรช้ที ศิ ทางชไี้ ปทิศใด ใหเ้ ดนิ ไปตามทศิ ทางน้นั โดยเล็งหาจดุ เด่นท่อี ยู่ในแนวลูกศรช้ี ทศิ ทางเปน็ หลัก แล้วเดนิ ตรงไปยงั สิง่ นั้น การหามมุ อาซิมุทเมื่อกาํ หนดพิกดั ให้ กรณที ่ีจะหาคา่ ของมมุ อะซมิ ุทจากตําบลทเ่ี รายนื อยู่ ไปยังตาํ บลทีเ่ ราจะเดินทางไป 1( วางเข็มทิศในแนวระดับใหเ้ ข็มแม่เหล็กหมุนไปมาได้อิสระ 2( หนั ลูกศรชที้ ิศทางไปยงั จดุ หรอื ตาํ แหนง่ ท่ีเราจะเดนิ ทางไป 3( หมุนกรอบหนา้ ปัดเขม็ ทศิ ไปจนกว่าอักษร N บนกรอบหนา้ ปดั อยู่ตรงปลายเขม็ แมเ่ หล็กสี แดงในตลบั เขม็ ทิศ 4( ตวั เลขบนกรอบหน้าปัดจะอยตู่ รงขดี ตาํ แหน่งสําหรับต้ังมุมและอ่านค่ามุม คือค่าของมุมท่ีเรา ตอ้ งการทราบ 122 คู่มอื ส่งคเ่มู สือรสิม่งแเสลระิมพแัฒละนพาัฒกนจิ ากกริจรกมรรลมกู ลเกู สเอืสือททกั ักษษะะชชวี ีวติิตใในนสสถถาานนศศกึ ษึกาษปาระลเกูภเทสลือกู ตเสรือี สชาน้ั มปญั รหะถลักมสศูตกึ รษลกูาเปสทีือตี่ 4รี 115 ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4

ขอ้ ควรระวังและการเก็บรักษาเขม็ ทิศ 1. จบั ถอื ด้วยความระมดั ระวังเพราะหนา้ ปัดและเข็มบอบบางออ่ นไหวงา่ ย 2. อยา่ ใหต้ กแรงกระเทอื นทาํ ใหเ้ สียได้ 3. ไมค่ วรอา่ นเขม็ ทศิ ใกล้ส่ิงทเ่ี ป็นแมเ่ หลก็ หรอื วงจรไฟฟฺา 4. อยา่ ให้เปยี กนาํ้ จนขนึ้ สนมิ 5. อยา่ ใหใ้ กลค้ วามร้อนเข็มทิศจะบิดงอ 6. เม่อื ไม่ใชค้ วรปิดฝาและใส่ซอง ระยะปลอดภยั ในการใชเ้ ข็มทศิ การใช้งานใกล้โลหะ และไฟฟาฺ แรงสงู อาจคลาดเคลื่อนได้ มีการกําหนดระยะหา่ งดังน้ี - หมวกเหลก็ 1 หลา - ปืนเลก็ 1 หลา - โทรศัพท์,ลวดหนาม 10 หลา - สายโทรเลข 10หหลลาา - ปืนใหญ่ 10 หลา - รถยนต,์ รถถงั 20 หลา - สายไฟฟาฺ แรงสงู 60 หลา 116 ค่มูค่มูอื อื สส่ง่งเเสสรรมิมิ แแลละะพพฒั ฒั นนากาิจกกิจรกรรมรลมกู เลสูกือเทสักอื ษทะกัชีวษติ ะใชนวี สติ ถาในนศสึกถษาานปศรกึ ะษเภาทลลกู กู เสเสือือสตามรัญี ชหน้ั ลปกั รสะูตถรมลกูศเกึสอืษตารปี ที ี่ 4 123 ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4

แผนการจดั กจิ กรรมลกู เสอื หลกั สูตรลกู เสอื สามัญ (ลกู เสือตรี) ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4 หนแ่วผยนทกี่ 5ารกจจิดั กกรจิ รกมรกรลมาลงแกู จเส้งอื (กหารลมกั สีส่วูตนรรลว่ กู มเใสนอื กสจิ ากมรัญรม(ลลูกกู เเสสอื ือใตนรห)ี มชู/่ ใน้ั นปกรอะงถ) มศึกษาปีที่ 4 แหผนนว่ ยกทาร่ี 5จดั กจิ กรรมกทลี่ 2า0งแกจ้งาร(กบานั รเมทสีงิ ว่ นร่วมในกิจกรรมลกู เสอื ในหม่/ู ในกองเว)ลา 2 ชวั่ โมง แผนการจดั กิจกรรมท่ี 20 การบันเทงิ เวลา 2 ชว่ั โมง 1. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. จดุ ป1ร.ะ1สงลคูกก์ เสาอืรสเรายี มนารรถู้ แสดงละครกับเพอ่ื นลูกเสือได้ 1.12 ลกู เสือสามารถแร้อสงดเงพลละงคหรรกอื บั ทเพาํ ทอื่ า่นทลากู งเปสรอื ะไกดอ้ บเพลงได้ 1.32 ลูกเสือสามารถทร้อาํ งหเุน่พแลลงหะเรชอื ิดทหํานุ่ ทเา่ปท็นาเงรปือ่ รงะสกนั้ อๆบกเพบั ลเพงไื่อดน้ ลกู เสอื ได้ 1.3 ลกู เสือสามารถทําหุ่นและเชิดหนุ่ เป็นเรือ่ งสั้นๆ กับเพื่อนลกู เสอื ได้ 2. เนอื้ หา 2. เนอ้ื 2ห.า1 การแสดงละคร 2.12 การแร้อสงดเงพลละงคหรรอื ทา่ ทางประกอบเพลงทม่ี ดี นตรีประกอบ 2.32 การทรอ้ ํางหเนุ่พแลลงะหเรชือิดทหา่ ุน่ ทางประกอบเพลงทมี่ ดี นตรปี ระกอบ 2.3 การทําหนุ่ และเชดิ หุ่น 3. สอื่ การเรียนรู้ 3. สอื่ กา3ร.1เรยีแผนนรภู้ มู เิ พลง 3.12 แเกผมนภมู ิเพลง 3.2 ใเกบมความรู้ 3.32 วใบสั คดวุอาุปมกรรู้ ณ์ทใี่ ชท้ ําหนุ่ มือ ได้แก่ ถงุ กระดาษ กลอ่ งกระดาษ สีเมจกิ กระดาษสี กรรไกร มดี 3.3 วัสดอุ ปุ กรณท์ ีใ่ ช้ทําหุ่นมอื ได้แก่ ถงุ กระดาษ กลอ่ งกระดาษ สีเมจกิ กระดาษสี กรรไกร มดี กมาดี วกหาวรอื หแรปอื ฺงแเป้งยี เกปียก 3.4 เกคารว่อื หงดรนอื แตปรทีงฺ เี่หปายี งกา่ ยๆ ตามทอ้ งถิ่น 3.3.45 เหคนุ่ รมื่อืองดแนบตบรตที ่าี่หงๆางา่ ยๆ ตามทอ้ งถิ่น .33.65 เหรนุ่ือมงสือัน้แทบเ่ีบปต็น่าปงๆระโยชน์ 3.6 เร่อื งสนั้ ทเี่ ป็นประโยชน์ 4. กจิ กรรม 4. กจิ กร4ร.1มกจิ กรรมคร้งั ท่ี 1 4.1 ก1(จิ กพรธิ รีเมปคดิ ปร้ังรทะช่ี 1มุ กอง )ชักธงขน้ึ สวดมนต์ สงบนิง่ ตรวจ แยก( 12( พเพิธลเี ปง ิดหปรรือะเกชมุ กอง )ชกั ธงขน้ึ สวดมนต์ สงบนงิ่ ตรวจ แยก( 23( เกพจิ ลกงรรหมรตอื าเกมมจดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3( )ก1จิ( กผรูก้รมาํ กตาบั มลจกู ดุ เสปอื รนะสําสงคน์กทานราเรเกยี ่ยีนวรกู้ ับการแสดงตา่ ง ๆ เช่น การแสดงละคร การร้อง เพลงทาํ ทา่ ทางป)1ร(ะกผอกู้ บําดกนบั ตลรกู ี แเสลอื ะนกาํ สรเนชทดิ นหานุ่ เกเ่ียปว็นกตบั ้นการแสดงตา่ ง ๆ เช่น การแสดงละคร การร้อง เพลงทําทา่ ทางป)2ร(ะกใอหบล้ ดกู นเสตือรดี แหู ล่นุ ะมกอืาจรเาชกิดเศหษนุ่ วเัสปดน็ ุตต่าน้ ง ๆ เช่น หุ่นมอื จากถงุ เทา้ ถุงกระดาษ กลอ่ ง )2( ใกหร้ละกูดเาสษือดเศหู ษ่นุ ผมา้ อื จเปาน็กเตศ้นษวัสดุต่าง ๆ เชน่ หุ่นมอื จากถงุ เทา้ ถงุ กระดาษ กลอ่ ง กระดาษ เศษผา้ เป็นตน้ 124 คมู่ ือสง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสือตรี ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4 124 ค่มู อื ส่งคเมู่ สือรสมิ ่งแเสลระิมพแฒัละนพาัฒกนิจากกริจรกมรรลมูกลเกู สเือสือททกั กั ษษะะชชวี ีวิติตใในนสสถถาานนศศกึ ษกึ าษปาระลเกูภเทสลอื กู ตเสรอื ี สชานั้ มปัญรหะถลักมสศูตกึ รษลกูาเปสทีือตี่ 4รี ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 117

)3( ใหห้ ม่ลู ูกเสอื รว่ มกนั อภิปราย และคดิ วา่ จะใชห้ ุน่ มาประกอบการเลน่ นทิ าน เลา่ ขา่ ว หรือโฆษณาได้อยา่ งไร )4( ผู้กาํ กับลกู เสอื สาธิตวิธีการทําหนุ่ มือ )5( มอบหมายงานใหห้ มู่ลกู เสอื นําไปทาํ เปน็ หุ่นเชดิ ประกอบการเลา่ นิทาน เล่าข่าว หรือโฆษณาตามทก่ี ลมุ่ สนใจ )6( ให้หมลู่ กู เสอื เลือกแสดงอย่างใดอยา่ งหน่ึงต่อไปนี้ เชน่ การร้องเพลง การทาํ ทา่ ทาง ประกอบเพลง หรือการแสดงละครสน้ั การเลา่ นทิ านโดยเชดิ หนุ่ ประกอบ โดยฝกึ ใน เวลาว่างเพอ่ื เตรียมแสดงเม่ือไปอยู่คา่ ยพกั แรม หรือ Day Camp 4( ผกู้ ํากบั ลกู เสอื เล่าเรื่องส้ันท่เี ป็นประโยชน์ 5( พิธปี ดิ ประชุมกอง )นัดหมาย ตรวจเคร่ืองแบบ ชกั ธงลง เลิก( 4.2 กจิ กรรมคร้งั ที่ 2 1( พิธเี ปดิ ประชมุ กอง )ชักธงขน้ึ สวดมนต์ สงบน่งิ ตรวจ แยก( 2( เพลง หรือเกม 3( กจิ กรรมตามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ )1( ผกู้ ํากับลกู เสอื นาํ สนทนาเร่อื งการรอ้ งเพลงต่าง ๆ ให้ลูกเสอื บอกช่ือเพลงทรี่ ู้จัก )2( ใหห้ มลู่ ูกเสอื ร่วมกันแตง่ เพลงประจําหมพู่ ร้อมคิดท่าทางประกอบ แลว้ นํามาเสนอที ละหมู่ )3( ผกู้ าํ กับลกู เสอื และลูกเสือรว่ มกนั สรุป 4( ผู้กํากับลูกเสอื เลา่ เร่ืองสนั้ ที่เป็นประโยชน์ 5( พิธีปดิ ประชุมกอง )นดั หมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชักธงลง เลกิ ( 5. การประเมนิ ผล 5.1 สังเกตความรว่ มมอื ในการปฏบิ ัติกิจกรรม 5.2 สังเกตความพรอ้ มในการแสดงจรงิ เม่อื อยคู่ า่ ยพกั แรมหรอื Day Camp 118 คู่มค่มูอื ือสส่ง่งเเสสรริมมิ แแลละะพพฒั ฒั นนากาจิกกจิ รกรรมรลมูกเลสกู อื เทสกั อื ษทะกัชวีษติ ะใชนวี สิตถาในนศสึกถษาานปศรึกะษเภาทลลกู กู เสเสือือสตามรัญี ชหั้นลปกั รสะูตถรมลกูศเกึสอืษตารปี ที ี่ 4 125 ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4

ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกิจกรรมเรยี นร้ทู ่ี 20 เพลง แว่วเสียงแคน ยามสนธยา เหลา่ นกกาบนิ กลับรงั เสียงแคนแว่วดัง ชวนให้ฟังนะเจา้ เอย โอน้ วลเอ๋ยชา่ งเพลินอรุ า เจา้ งามลา้ํ ของเรยี มนเ่ี อย แลนแลนแต แตแ่ ลนแลนแต )ซา้ํ ( มาฟังเสียงแคนกันเถดิ หนา แสงเดือนเยือนขอบฟาฺ ส่องแสงมาดั่งเช่นเคย อย่าทาํ เฉยมาชิมาทาํ เปด็ ยามเมอ่ื เป็ดมันเดนิ ไป มองแลว้ ไมน่ ่าดเู ลย จาํ ไว้เถิดเพอ่ื นเอ๋ย เอย๋ จงอยา่ เดินใหเ้ หมอื นเปด็ นกพิราบ พรบั พรึบ พรับ พรึบ พรับ ขยบั ปกี )ซ้าํ ( ฝูงนกพริ าบ ดําและเทาน่ารักจรงิ นา บินเวยี นวนอยู่บนหลังคา ไซร้ปีกหางกนั อยไู่ ปมา พอแสงแดดจา้ พากนั คนื รัง ลงิ เจี๊ยก เจีย๊ ก เจ๊ียก เป็นเสียงเรยี กของลิง ลิงไม่อยนู่ งิ่ มนั ชอบว่ิงกนั อยไู่ ปมา เจย๊ี ก เจย๊ี ก เจี๊ยก มันรอ้ งเรยี กพวกมันมา ครั้นพอถงึ เวลา ออกเทยี่ วหาผลไมก้ นิ เกม ตามผู้นํา วิธเี ลน่ ให้ลกู เสอื เข้าแถวหนา้ กระดานหรอื แถวตอนเรยี งหนึง่ เลอื กหัวหนา้ คนหนง่ึ ผ้เู ปน็ หัวหน้า จะทํา จกะริ ทิยำ�ากทริ่ายิทาาทงา่ตทา่ างงๆตา่เชงๆน่ เวชิ่งน่ กวรง่ิ ะโกดรดะโดหดัวเหราวั ะเรรา้อะงรไอ้ หง้ไฯหล้ ฯลคฯนคอนน่ื อๆน่ื ๆจะจตะอ้ ตงอ้ ทงําทตำ� าตมาทมทุกอกุ ยอา่ยงา่ ง การตดั สนิ 1. ผทู้ ไี่ มส่ ามารถทําตามหวั หนา้ ได้ ต้องออกจากการแขง่ ขนั 2.2ผ. ู้ชผนชู้ นะคะคอื อผื ผเู้ ลเู้ ลน่ น่ ททอ่ี อ่ียยู่ในใู่ นแแถถววนนาานนททส่ี ส่ี ุดดุ 126 ค่มู ือส่งคเมู่ สอื รสิมง่ แเสลระิมพแัฒละนพาฒั กนิจากกริจรกมรรลมกู ลเกู สเอืสือททกั กั ษษะะชชีววี ติติ ใในนสสถถาานนศศกึ ษึกาษปาระลเกูภเทสลือูกตเสรอื ี สชาัน้ มปัญรหะถลักมสศตู ึกรษลูกาเปสีทือต่ี 4รี 119 ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4

ทาํ ตรงกนั ขา้ ม วธิ เี ล่น เลือกผ้นู าํ มา 1 คน โดยให้ผู้นาํ ทาํ ทา่ ทางต่าง ๆ ผู้เลน่ คนอ่ืนนนั้ จะตอ้ งทาํ ตรงกันขา้ มกบั ที่ ผู้นําทาํ เช่น ผนู้ าํ หัวเราะ ลกู เสอื ทกุ คนต้องรอ้ งไห้ ผูน้ าํ นง่ั ลง ลกู เสือตอ้ งยนื ขึน้ ผนู้ ําก้าว เทา้ ซา้ ย ลูกเสอื กา้ วเท้าขวา ฯลฯ การทาํ จะเรว็ ขนึ้ ไปเรอ่ื ย ๆ การตดั สนิ ลูกเสือที่ทาํ ตามผูน้ าํ หรอื ทําช้า จะตอ้ งออกจากการแขง่ ขนั หรอื เปลีย่ นมาเปน็ ผนู้ าํ เรอ่ื งสั้นท่ีเปน็ ประโยชน์ ประวตั ขิ องหนุ่ กระบอกไทย หุ่นกระบอกไทย กําเนิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งปรากฏ อยา่ งชัดเจนในลายพระหตั ถ์ท่สี มเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ และสมเด็จพระ เจ้าบรมวงศเ์ ธอ เจ้าฟาฺ กรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ทรงโตต้ อบกนั ในหนงั สือสาส์นสมเด็จทกี่ ล่าวถึงหุ่น กระบอก มีท่มี าจากชายขอทานตาบอดคนหน่ึง น่งั ร้องเพลงพรอ้ ม ๆ กบั สีซอ และการขับร้องประกอบ ขณะสซี อ ชายตาบอดขอทานนเี้ รยี กชอื่ ใหส้ มญาวา่ “ตาสงั ขารา” ซ่งึ เป็นคนเก่งทแี่ บง่ ใจเปน็ สองภาคได้ คือ ทั้งเล่นดนตรแี ละใชข้ บั ร้อง เปรียบเทยี บกบั “หุน่ กระบอก” ท่ีแสดงได้ง่ายกว่าคนหน่ึงแสดงเชิดหุ่น อกี คนหนง่ึ ขบั รอ้ ง คนจึงนยิ ม ทําห่นุ กระบอกในการแสดงมหรสพ เร่อื งนี้สอนใหร้ ู้ว่า การบันเทงิ ของแตล่ ะชาตมิ ีมาตั้งแตส่ มยั โบราณ คดิ ก่อนพูด ชาย 2 คนเป็นพน่ี อ้ งกัน พวกเขาเลี้ยงหมาสีขาวตัวหน่ึง วันหน่ึงชายผู้น้องออกไปเย่ียมญาติ ระหวา่ งทางฝนเทลงมาอยา่ งหนกั ทาํ ให้เสื้อผ้าสีขาวของเขาเปียกโชก เม่ือไปถึงบ้านญาติจึงเปล่ียนใส่ เสอื้ ผา้ ชุดดําแทน เม่ือกลับบ้านในตอนเยน็ หมาจาํ เขาไม่ไดจ้ งึ เหา่ กระโชกเป็นการใหญ่ ชายผู้นอ้ งโกรธ มาก ร้องด่าพลางไล่ตีหมาไปรอบๆ บ้าน ชายผู้พี่มาพบเข้าจึงร้องห้ามพร้อมกับพูดว่า “อย่าตีมัน” ชายผนู้ ้องก็พูดวา่ “ตใี หต้ าย หมาระยํา จําเจ้าของไม่ได้” ชายผู้พี่จึงกล่าวเตือนสติผู้น้องว่า “ถ้าหมาสี ขาวของเรามนั ออกจากบา้ นไปแล้วกลายเปน็ หมาดํา เม่ือกลับมาเจา้ จะจําไดห้ รอื ไม่” ชายผู้นอ้ งจงึ ไดส้ ติ เพราะไม่สามารถตอบคาํ ถามของพไ่ี ด้ เรอื่ งนส้ี อนให้รู้วา่ เวลาเราจะทําหรือพูดอะไรก็ตามจะตอ้ งคดิ ใหร้ อบคอบเสยี ก่อน ประเด็นการวิเคราะห์คณุ ธรรมทไี่ ด้ 1. ความพอเพยี ง 2. ซอื่ สตั ย์ สจุ ริต 3. ความรบั ผิดชอบ 4. อุดมการณ์ คุณธรรม 120 คมู่คมู่อื อื สสง่ ่งเเสสรริมิมแแลละะพพัฒัฒนนากาิจกกจิ รกรรมรลมูกเลสูกือเทสักอื ษทะักชีวษติ ะใชนวี สติ ถาในนศสึกถษาานปศรกึ ะษเภาทลลูกกู เสเสอื อืสตามรัญี ชหัน้ ลปกั รสะตู ถรมลกูศเกึสือษตารปี ีท่ี 4 127 ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4

ใบความรู้ การบันเทงิ การร้องเพลง การเชิดห่นุ การบันเทงิ การบันเทิง หมายถึง กิจกรรมที่ทําให้เกิดความสนุกสนานร่าเริง ผู้เป็นลูกเสือต้องกล้า แสดงออกในการบันเทิงตามโอกาสท่เี หมาะสม เช่น การละเลน่ หรอื การแสดงท่ีจะทําใหเ้ กิดความรื่นเริง เพื่อผอ่ นคลายอารมณ์ ได้แก่ การร้องเพลง การแสดงละคร การเชดิ หุ่นตา่ ง ๆ การรอ้ งเพลง การร้องเพลงพรอ้ มกนั หลายๆ คน จะทําใหส้ นุกสนาน ผูร้ ้องจะมคี วามม่ันใจในตัวเองมากกว่า การรอ้ งเพลงคนเดียว การร้องเพลงหมู่ ควรร้องใหถ้ ูกจังหวะทาํ นองอยา่ งพร้อมเพรียงกัน ขณะร้องต้องคอยฟังเสียง ของผู้อ่นื ดว้ ย ไม่ร้องดังเกินไปไมต่ ะโกน หรอื ตะเบ็งเสียง เสยี งเพลงทร่ี อ้ งนั้นจงึ จะฟังไพเราะ การเชญิ ชวนให้เพอ่ื นๆ รอ้ งเพลงรว่ มกันเปน็ ส่ิงดี เพราะทําให้เกิดความกลา้ มีความสนุกสนาน มคี วามเป็นนาํ้ หนึง่ ใจเดยี วกนั และก่อใหเ้ กดิ ความสามคั คใี นหมู่คณะ เพลงหมูท่ ี่นํามาร้องควรเป็นเพลง ทเ่ี ร้าใจ ปลุกใจใหเ้ ข้มแข็ง มีความกล้าหาญ หลีกเลี่ยงในการประพฤติชั่ว ประพฤติปฏิบัติแต่ในส่ิงที่ดี งาม เครอ่ื งดนตรีประกอบการรอ้ งเพลง การร้องเพลงจะสนุกสนานมากขึ้น ถ้ามี เคร่ืองดนตรีประกอบเพ่ือให้จังหวะ จะทําให้เกิด ความพร้อมเพรียงกัน ลูกเสือที่สามารถเล่นเครื่อง ดนตรีได้ เช่น หีบเพลงปากเมโลเดียน กีตาร์ ขลุ่ย ฯลฯ ควรนาํ มาเลน่ ประกอบการร้องเพลง ซึ่งจะช่วย ใหเ้ พลงไพเราะ และนา่ ฟังย่งิ ขน้ึ 128 คู่มือสง่คเมู่ สอื รสิมง่ แเสลระิมพแัฒละนพาัฒกนิจากกริจรกมรรลมกู ลเูกสเือสอืททักกั ษษะะชชวี วี ิตติ ใในนสสถถาานนศศกึ ษึกาษปาระลเกูภเทสลือกู ตเสรอื ี สชานั้ มปัญรหะถลกัมสศตู กึ รษลกูาเปสทีือต่ี 4รี 121 ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4

เคร่ืองดนตรชี นดิ ตา่ ง การแสดงประกอบเพลงและดนตรี การแสดงทา่ ทางประกอบเพลงและดนตรี เช่น แสดงท่ารําเลียนแบบสตั ว์ต่าง ๆ ลูกเสือต้องฝึก แสดงทา่ ทางประกอบเพลง โดยสังเกตจากเพอ่ื น หรือจากประสบการณท์ ีเ่ คยพบเห็น และสังเกตทา่ ทาง ของสตั วบ์ างชนดิ แลว้ นาํ มาปรบั ปรงุ ฝึกฝนให้ชาํ นาญ หุ่นเชิด หุ่น คอื สงิ่ ทมี่ นุษย์ประดษิ ฐข์ ้ึน อาจเปน็ หนุ่ คน หุ่นสตั ว์ หรอื สิ่งของ แลว้ นํามาเชดิ ใหเ้ กดิ ทา่ ทางและมคี าํ พดู จากเสยี งของผ้เู ชิดประกอบ หุ่นมีหลายชนดิ เช่น หนุ่ น้ิวมอื หุน่ มอื หุน่ กระบอก หนุ่ ชัก และหุน่ เงา หรอื หนงั ตะลงุ หุ่นกระบอก ห่นุ ชัก 122 ค่มูคู่มอื ือสสง่ ่งเเสสรริมมิ แแลละะพพฒั ัฒนนากาจิกกจิ รกรรมรลมูกเลสูกอื เทสกั ือษทะกัชีวษิตะใชนวี สติ ถาในนศสึกถษาานปศรึกะษเภาทลลูกกู เสเสอื อืสตามรัญี ชห้นั ลปกั รสะูตถรมลกูศเึกสือษตารปี ที ี่ 4 129 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4

การแสดงหนุ่ เพอ่ื ความบนั เทิง อาจเชิดหุน่ โดยเลอื กนิทานที่สนุก มีตวั ละครไม่มากนัก เมอ่ื เลอื กวา่ จะเชิดหุ่นเรือ่ งอะไร มตี วั ละครอย่างไรแล้ว กจ็ ัดทําหุ่นขน้ึ ตามตวั ละครเหลา่ นนั้ การทาํ หนุ่ มือจากถุงกระดาษ วสั ดุทใี่ ช้ 1. ถงุ กระดาษสีนาํ้ ตาลชนดิ เนื้อหนา 1 ใบ 2. กระดาษแขง็ สีเทาขาว 3. สีเมจกิ หรอื กระดาษสี ใช้ติดแทนการระบายสี 4. กรรไกรตดั กระดาษ 5. แปฺงเปียก วธิ ที าํ 1. วาดหุน่ ที่ต้องการบนกระดาษเทาขาว แลว้ ใชก้ รรไกรตดั หนุ่ ออกเปน็ 2 ส่วน คอื ส่วนตวั และ สว่ นตัวหนุ่ 2. ระบายสีห่นุ หรอื จะใช้กระดาษสีตดิ บางสว่ นแทนการระบายสกี ไ็ ด้ 3. ทาแปฺงเปียกด้านหลงั ภาพ แล้วตดิ สว่ นหัวหนุ่ ที่ก้นถงุ กระดาษ ตดิ ส่วนตัวหนุ่ ทข่ี ้างถุง กระดาษ ท้ิงให้แหง้ แล้วนาํ ไปเชดิ ได้ การทาํ หุ่นจากกล่องกระดาษ กลอ่ งกระดาษ หนุ่ ทที่ าจากกลอ่ งกระดาษ วสั ดทุ ใ่ี ช้ 1. กล่องกระดาษแข็งขนาดเล็กทมี่ ีสอดเข้าได้ 2. กระดาษแขง็ 3. สเี มจิกหรือกระดาษสีใช้ตดิ แทนการระบายสี 4. กรรไกรตดั กระดาษ 5. แปฺงเปยี ก การเชดิ หุ่น 130 คู่มอื ส่งคเู่มสือรสมิ ่งแเสลระิมพแฒัละนพาัฒกนิจากกริจรกมรรลมูกลเกู สเอืสอืททกั ักษษะะชชีววี ติิตใในนสสถถาานนศศกึ ษึกาษปาระลเกูภเทสลอื ูกตเสรือี สชาน้ั มปญั รหะถลกัมสศตู กึ รษลูกาเปสทีอื ต่ี 4รี 123 ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4

การเชิดห่นุ ใชฝ้ าู มอื และน้ิวมอื สอดเขา้ ไปในหัวหนุ่ แลว้ เชดิ ถ้าเปน็ หนุ่ ทมี่ แี ขนจะสอดน้ิวชท้ี หี่ ัวหนุ่ นว้ิ กลาง และนวิ้ หัวแม่มอื ที่แขนท้ังสองขา้ ง เมอ่ื เคลอ่ื นไหวนิว้ ทงั้ สาม หุ่นจะดูคลา้ ยมชี ีวิตขน้ึ ทนั ที ถา้ เป็นหุ่นทไ่ี มม่ ีแขน จะสอดนว้ิ หวั แมม่ อื ทีป่ ากลา่ งของหนุ่ นวิ้ ทเี่ หลอื สอดไวบ้ นปากของหนุ่ เม่ือขยบั นว้ิ เข้าหากนั หนุ่ จะเคลอ่ื นไหวคล้ายกาํ ลงั พูด การเชดิ หุ่น ตอ้ งแบง่ หนา้ ทกี่ ัน เรมิ่ จากการสรา้ งเวทีสําหรบั เชดิ ห่นุ ทาํ ฉาก และกาํ หนดตวั ผ้เู ชดิ คนหนงึ่ อาจเชดิ หนุ่ ได้ 1 ถงึ 2 ตัว ขณะเชิดหุ่นต้องพดู ตามบทหรอื ตามเร่ืองทกี่ าํ หนดไว้ โดยท่องจาํ บทใหไ้ ด้ ถ้ามีดนตรปี ระกอบผู้ดจู ะสนกุ เพลดิ เพลินมากขน้ึ ถา้ การเชดิ หนุ่ มบี ทรอ้ งเพลงรวมอยู่ดว้ ย และถ้าผ้เู ชดิ บอกให้ผดู้ ูรว่ มรอ้ งเพลงลูกเสอื ทกุ คนควร รว่ มรอ้ งเพลงโดยพรอ้ มเพรียงกนั จะเพมิ่ ความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ มากขึ้นอกี ด้วย กจิ กรรมเสนอแนะ 1. แบง่ กล่มุ ใหล้ ูกเสือรว่ มกนั จดั กิจกรรมแสดงประเภทต่าง ๆ เชน่ การร้องเพลง การเต้นรํา การ เล่านิทาน การแสดงละคร การเชิดหนุ่ เป็นต้น โดยใหล้ ูกเสอื แต่ละกล่มุ ฝึกซ้อมมาล่วงหน้าแล้วนาํ มาแสดง ให้เพื่อนดู 2. ให้ลูกเสือแตล่ ะหมูจ่ ัดทําอปุ กรณ์หรอื เคร่อื งดนตรงี ่ายๆ ทใี่ ช้ประกอบการจดั กิจกรรมบันเทิง ต่าง ๆ เช่น หุ่นกระบอก หุ่นนิ้วมือ ส่วนกลองอาจทําจากกระป๋อง ป่ีทําจากลําไผ่เล็ก ๆ และท่ีเคาะ จงั หวะทาํ นากฝาขวดนํ้าอดั ลม เปน็ ตน้ แผนการจดั กจิ กรรมลูกเสือ หลักสูตรลกู เสือสามัญ (ลูกเสือตรี) ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4 หน่วยท่ี 5 กจิ กรรมกลางแจง้ เวลา 1 ชว่ั โมง แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 21 การเตรยี มส่งิ ของ อาหาร และการแสดง 1. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1.1 ลูกเสอื สามารถเตรยี มสง่ิ ของ อาหาร เพอ่ื การเดนิ ทางไกลและการอยู่คา่ ยพกั แรมได้ 124 คู่มือส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามญั หลักสูตรลกู เสือตรี 131 คู่มชัน้ือปสรง่ ะเถสมรศิมกึ แษลาะปพที ฒั ี่ 4นากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื ตรี ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4

แผนการจดั กจิ กรรมลกู เสอื หลักสตู รลกู เสอื สามญั (ลูกเสอื ตรี) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 หนว่ ยที่ 5 กจิ กรรมกลางแจง้ เวลา 1 ช่ัวโมง แผนการจดั กิจกรรมที่ 21 การเตรยี มส่งิ ของ อาหาร และการแสดง 1. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1.1 ลูกเสือสามารถเตรียมสิง่ ของ อาหาร เพอื่ การเดินทางไกลและการอยคู่ า่ ยพกั แรมได้ 1.2 ลูกเสอื สามารถเตรยี มการแสดงได้ 2. เนอ้ื หคาู่มอื สง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื ตรี ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 131 2.1 การเตรียมสง่ิ ของสําหรบั การอยคู่ า่ ยพกั แรม 2.2 การเตรยี มอปุ กรณก์ ารประกอบอาหาร สําหรับการเดินทางไกล 2.3 การเตรยี มการแสดง 3. สอื่ การเรียนรู้ 3.1 แผนภมู ิเพลง 3.2 เกม 3.2 ใบความรู้ 3.3 ฐานสาธิต การเตรยี มวสั ดอุ ปุ กรณ์ การประกอบอาหาร และการแสดง 3.4 เร่อื งสัน้ ทเี่ ป็นประโยชน์ 4. กิจกรรม 4.1 พธิ ีเปดิ ประชุมกอง )ชักธงขนึ้ สวดมนต์ สงบนงิ่ ตรวจ แยก( 4.2 เพลง หรือเกม 4.3 กิจกรรมตามจุดประสงค์การเรียนรู้ 1( ผกู้ ํากบั ลกู เสอื มอบหมายใหห้ มูล่ ูกเสอื วเิ คราะห์กันว่าถา้ จะเดินทางไกลไปยงั สถานท่ี เราไมค่ ุ้นเคย เขาจะเตรยี มสิง่ ของอะไรไปบา้ ง และหากเราเหงาคดิ ถงึ บา้ นเราจะ มีวธิ กี ารอย่างไรใหค้ ลายเหงา 2( ผกู้ ํากับลกู เสอื นําลกู เสอื เรียนรู้จากฐานกจิ กรรม ดงั นี้ ฐานที่ 1 การจดั อปุ กรณเ์ ครื่องใช้ ยารักษาโรค แสงสวา่ ง เครอ่ื งนงุ่ หม่ สําหรับไปอยคู่ ่ายพักแรม ฐานที่ 2 การบรรจุ วัสดุ อุปกรณ์ ส่ิงของเครอื่ งใชใ้ น เปฺ หรือกระเป๋าสว่ นตวั ให้ เหมาะสม ฐานท่ี 3 การประกอบอาหาร การใชอ้ าหารแหง้ สาํ เรจ็ รปู และอปุ กรณ์ประกอบอาหาร ฐานท่ี 4 การแสดง เชน่ ดนตรี ขบั รอ้ งเพลง การกอ่ ไฟ การละเลน่ ตา่ ง ๆ 3( ผู้กาํ กับลกู เสอื สรุปสาระสาํ คญั ทไ่ี ดร้ ับ 4( ผู้กํากับลูกเสอื นดั หมายการเตรียมการบันเทงิ 4.4 ผ้กู ํากบั ลกู เสอื เลา่ เรื่องสน้ั ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ 4.5คู่มพอื ิธส่งีปเสิดรปิมแรละะชพมุ ัฒกนอากงจิ )กนรรดั มหลกูมเาสอืยทตกั ษระวชจีวเิตคในรสอ่ื ถงาแนบศกึบษาชกัปรธะงเภลทงลเูกลเสิกือ(สามัญ หลักสูตรลูกเสอื ตรี 125 ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4

3( ผฐ้กูานาํ กทบั่ี 4ลกูกเาสรอืแสสรดปุ งสเาชรน่ ะสดาํ นคตัญรที ขไ่ี บัดร้รบัอ้ งเพลง การกอ่ ไฟ การละเลน่ ต่าง ๆ 34(( ผผููก้้กําาํ กกบับั ลลูกกู เเสสออืื สนรัดุปหสมาารยะกสาาํ รคเัญตรทียไี่ มดก้รับารบันเทิง 4.4 4ผ(ู้กําผกู้กับาํ ลกกู ับเลสกูือเเลสา่อื เนรดั่อื หงสมนั้ าทยีเ่กปาน็รเปตรระียโมยกชานร์ บนั เทงิ กก5าา.รรกออยยาคคูู่่ร444555ปา่า่ ......ยยร554121พพะตตพพผสเัักกมงัรรู้กธธิิแแเววนิําปีีปกรรจจกมมดดิิผตสสับปปลกออลรราบบกูะะรคคชชเเสตววุมุมือาารกกมมียเลออมถถา่งงตูกกู เร))วัตตนนื่อกออ้้ ดดัังางงสหหรแแน้ัแมมลลทสาาะะดยยเเีเ่ หหปงตตมมน็ รราาปววะะรจจสสะเเมมโคคยใใรรนนชอืื่อ่ กกนงงาาแแ์ รรบบเเตตบบรรชชียียัักกมมธธสสงงิิ่่งงลลขขงงอองงเเลลออิกกิ าา((หหาารร เพอ่ื การเดนิ ทางไกลและ เพอื่ การเดินทางไกลและ 5. การ5ป.ร21ะตสเมังรเวนิ กจผตสลกอาบรคเตวารมียมถตกู ัวตกอ้ างรแแลสะดเหงมาะสมในการเตรียมส่ิงของ อาหาร เพอ่ื การเดนิ ทางไกลและ การอยคู่ า่ ยพักแรม 132 ค5มู่ .อื 2สสง่ เงัสเรกิมตแกลาะพรเัฒตภนราาียคกมิจผตกัวนรกรวมากลรแูกปสเสรดอื ะงทกกั อษบะชแวี ติผในนสกถาารนจศึกดั ษกาจิ ลกกู รเสรอื มตรที ่ีช2ั้น1ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 132 คู่มอื สง่ เสรมิ และพัฒภนาาคกจิผกนรรวมกลกูปเสรอื ะทกกั อษบะชแีวติผในนสกถาารนจศึกดั ษกาิจลกกู รเสรอื มตรที ่ีช2ั้น1ประถมศึกษาปที ี่ 4 เพลง เพลง ภาคผนวกประสกุขอใบจคแ่าผยนพกักาแรรจมัดกิจกรรมที่ 21 สขุ ใจเมอ่ื ไดม้ าอยคู่ า่ ย สุขใจคา่สยุขพใจักเแมรือ่ มไดม้ าพักแรม เพลง สคุขืนในจ้พี เมร่ือะจไดันม้ทารอ์สยวคู่ยา่แยจม่ สพุขกั ใแจรเมมๆอ่ื ไสดุขม้ ใาจพกั แรม สคุขืนในจ้ีพเมร่อืะจไดนั ม้ทารร์ส้อวงยเแลจน่ ม่ สุขใจคา่พยักพแักรแมรรๆมม่ เสยุข็นใจเมือ่ ได้มาพักใจ สขุ ในจที้ เมีเ่ ร่ือาไฝดนั ม้ ใาฝอรู ้อยงคู่ เ่าลยน่ สุขใจเมรสื่อ่มุขไเดใยจม้ น็เามเพมอ่ื กั่อืไดไแดม้รม้าพาพกั ักแรใจม )ซาํ้ ( สคขุนื น้ทีพ่เี รระาจฝันันทใฝร์สู วยแจม่ พกั แรมสๆขุ สใจุขเใมจอื่ ไดม้ าพกั แรม )ซาํ้ ( เกม สขุ ใจเมือ่ ไดม้ ารอ้ งเลน่ รม่ เย็นเม่ือไดม้ าพกั ใจ เกม สุขนี้ทเี่ ราฝนั ใฝู เกมขึน้ เขาลงหส้วุขยใจเม่อื ไดม้ าพักแรม )ซ้ํา( ให้แต่ละหมู่เข้าแถวตอนลึก เกระมยขะ้นึระเหขาว่ลางงหหมว้ ู่ย3 ก้าว ระยะต่อ 5 ก้าว ให้คน สเกุดมท้ายใรหอ้แงตน่ลาะยหหมมู่เู่ยขืน้าแตถรงวตคอนนตลึก่อมาระยยืนะกร้มะหหวล่าังงหคมนู่ ถ3ัดไปกย้าืนวแยระกยขะาต่อ) ส5ลับกเร้าื่อวย ใๆห้คไปน สจนุดถทงึ้าหยัวรแอถงนวา(ยหมู่ยืนตรง คนต่อมเกายมืนขกน้ึ ้มเหขาลลังงหค้วนยถัดไปยืนแยกขา ) สลับเร่ือย ๆ ไป จนถึงหเใวั มหแื่อ้แถสตวัญ่ล(ะญหามณู่เขเร้า่มิ แถใหวต้รอนาลยึกหมรู่เะปย็นะรผะู้วหิ่งวข่า้างมหคมนู่ ท3่ีอยกู่ข้า้าวงหรนะ้ายะแตล่อ้วม5ุดคนกท้า่ีอวยู่ถใหัด้คไปน เสมุดื่อทไ้าปยถเรมึงอือ่หงสัวนญัแาถยญวหามณกู่ย็ยเรืนกม่ิ ตมรใือหงข้รึ้นอคในหาต้สย่อัญหมญมาู่เยาปณืน็นกผค้มู้วนห่ิงทลข้าัง้ายมแคคถนนวถทจัดะ่ีอไเยปู่ขย็น้าืนผงแู้วหย่ิงนก้าจขะแามลุด้ว)หมสรุดลือคับกนเรทระื่อี่โอดยยดู่ถๆกัด่อไปน สเจมนุด่ือถแไตงึ ปหค่ ถวันึงแทหถย่ี ัวนื แ(อถยวู่ขก้าง็ยหกนมา้ ือจขะ้ึนยนืใหใน้สทัญา่ ญใดาณ คนท้ายแถวจะเป็นผู้วิ่ง จะมุดหรือกระโดดก่อน สุดแตค่ กเนมาทอื่ รย่ี สตนืัญดั อญสยนิาู่ขณ้างเหหรม่ินใู่ ้าดใจหหะ้รมยอดืนนกใาน่อยทนห่ามแใดลู่เปะ็นั่งผลู้วง่ิงกขอ่ ้านมจคะชนนทะี่อยู่ข้างหน้า แล้วมุดคนที่อยู่ถัดไป เมื่อไปถกึงาหรัวตแัดถสวินก็ยหกมมใู่ ดือหขม้ึนดใหก้ส่อัญน ญแลาะณน่งั คลนงกทอ่้านยแจะถชวนจะเป็นผู้ว่ิง จะมุดหรือกระโดดก่อน สุดแตค่ นที่ยืนอยู่ขา้ งหนา้ จะยนื ในท่าใด เรื่องส้ันกทารเ่ี ปต็นดั ปสรินะโหยมช่ใูนด์ หมดก่อน และนง่ั ลงก่อนจะชนะ เเเมมชรรัั่นน่ น่่ื่ืออรรงงเะะขสสวว็มน้ันั้ัังงกกกกกขสสททรราาาดัะะณณรรรเเเ่เ่ีีขขขขกกปปตีตีนึ้ ึ้นึ้นึ้น็็ดด็็นน้น้นตตตตขขไไน้ปปน้นน้้ออมมไงงไไไรรน้้นมตตมมมะะ้น้ันั้ นน้้้้้ เโโถถถเเชยยไไปป้้้าาาอืมมชช็็นนตตตก้หห้ ตตนน้้้นนนคลล้นน้ไไไ์์ลุดดุ มมมไไ้อเเมม้้้ตตตกกง้ทท้พ้้้ย่ียี่นนน่เ่ีีเววนนนยปปกกงุั้ัั้้นนนน็็นบบััตมมมลลเเวั ีีีกกกสสําาํ สสเ่่ิิิ่ออ้ืื้งงงหกกกูงงูผผลชช้้้าาากกกา้า้ ็กะะนนนขขาาาลลหออสสสรรรดููดรขขขงงาาาอืเเขขข้้นึึนึน้ไไรรไาาามมาาตตตม่่มมกกก้นน้น้ท้จจีกีก็็็งึึงสสสําไไไง่ิ่งิคคาลาามมมกกววมมมูก้้้ า้า้รราาาทนนเเรรรลลอสสถถถืืออยาาปปปกกสขขีีีนนนขขําาาหขขข้นึนึ้ ผผึ้้้ึึนนนรตต้้ขููขบั ลลลนน้้ นึนึ้้ เงงงไไหตตไไไมมยดดดออ้้ ้้ททยี้้้งงงงง่ไ่ีไี ใใ่่่าาาบมมชชยยยหมม่่เเ้้ คครขขขสีีสือรระะ้้้ออออ่ือื่เเเคคคกกกงงวววามม็ด็ดะรรรืืออยรรรชชะะะึด่่วววววััังงงยยคคคผผืืือออ่่ออจจจนนััับบบแแใใใรรหหหงง้้้ เมช1ั่น่น26รเะขวม็ งั กคขสูม่ชครัดะู่มัน้ณอื เขือปกสตีสนึ้รง่ด็ ง่ะ้นเตเถขสสไน้มรอมศมิไงึกน้แมแตษลลนั้้ ้นาะเะเปชพไพปทีัฒือมฒัน็ี่ กน4ห้ นตาคลกา้นลดุิจกไ้อกเิจมกรงกร้ทพยี่รมี่เรวลยปมกูกงุ เน็ลับสตกูลือเัวเทสําสกัสเอ้ืือหษงูผทะลชา้กัชก็ะขีวษลหิตอะใูดชรงนอืวีเสไรติไถมามาใ่มน้ทจศีกสงึาํกึ ถิง่คลษากวาูกนา้รทปศนเรลึกอสะษือยเาภากสขทขาําลลห้ึนูกกู ผเรตสเูข้สับือ้นือึ้นสเไตหาตมมรย้อญั้ที ียงช่ีไหใบัน้มชลหป่มักเ้ รคสรสี ะตูือระถรอ่ืเเมลกกงูกศามด็เกึสะืออืยษตชดึาร่วปี ยีที่ผ4่อนแ1รง33 เช่น เข็มคข่มู ัดอื ขสึ้น่งเตส้นริมไมแล้ เะชพือฒั กนคาลกอ้ ิจงกพรรยมุงลตูกวั เสเือหทลัก็กษหะชรอืวี ิตไมในท้ สาํ ถลากูนทศกึอษยาสําลหกู รเสับอื เตหรยี ยี ชบน้ั หปรระือถเมกศาึกะยษดึาปที ่ี 4 133

ลูกเสือตอ้ งตรวจสอบลกู ทอยว่าอยูต่ อกติดแน่น สามารถรบั นํา้ หนกั ตัวเราได้ ไมเ่ ช่นนน้ั อาจเกิด อนั ตรายตอ่ ตัวเราได้ ดังน้นั ลูกเสือจงึ ไม่ควรปีนปาู ยขึน้ ตน้ ไมด้ ว้ ยตนเอง และหากไม่มีอุปกรณ์ ไม่ม่ันใจ ลูกเสือต้อง หลีกเลี่ยง และไม่ขึ้นต้นไม้อยา่ งเด็ดขาด เรอ่ื งน้ีสอนให้รวู้ ่า การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมใด ๆ กต็ าม ควรรอบคอบเพราะจะทําให้เราปลอดภยั เสมอ ใบความรู้ การเตรียมสงิ่ ของสําหรบั การเดินทางไกล ในการเดินทางไกลระยะส้นั ๆ ท่ีใชเ้ วลาไม่นาน ลูกเสืออาจไม่ต้องเตรียมอาหารไปรับประทาน แต่ถา้ ไปไกลและใช้เวลานานกวา่ ครึง่ วนั ก็ต้องเตรยี มอาหารไปรับประทานดว้ ย เช่น ขา้ วห่อ ข้าวต้มมัด หรืออาหารห่ออย่างอ่ืน ในกรณีเช่นน้ีลูกเสือจะต้องมีเครื่องหลัง )ย่าม( เพ่ือใส่อาหารสําเร็จรูปและ ส่ิงของจาํ เปน็ อน่ื ๆ หรอื ถา้ มีการพักแรมค้างคืน ก็ต้องมีการเตรียมการเรื่องเคร่ืองหลังให้พร้อม และ เหมาะสมกับการเดนิ ทางไกลไปพักคา้ งคืน อปุ กรณ์ท่ตี ้องจดั เตรยี มแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คอื 1. อปุ กรณเ์ ฉพาะบุคคล หรอื อุปกรณป์ ระจําตวั รวมทงั้ เครอ่ื งปจั จุบนั พยาบาล 2. อปุ กรณส์ ่วนรวม หรอื อุปกรณส์ าํ หรบั หมหู่ รอื กอง อปุ กรณเ์ ฉพาะบุคคล ควรเป็นส่ิงจาํ เปน็ และมีนาํ้ หนักไมม่ ากนกั ไดแ้ ก่ 1. กระติกน้าํ ใสน่ ้ําสะอาดให้เตม็ 2. เคร่อื งใช้ประจําตัว เช่น ผ้าเช็ดตัว ผ้าขาวม้า ผา้ ถงุ สบู่ แปรงสฟี ัน ยาสฟี ัน รองเท้าแตะ ไฟ ฉาย ชอ้ นส้อม จานขา้ ว ยาทากันยุง เป็นตน้ 3. เครอื่ งแบบและเครื่องประกอบเครื่องแบบ ได้แก่ เสื้อ กางเกง )กระโปรงสําหรับเนตรนารี( ผ้าพนั คอ หมวก เขม็ ขดั รองเท้า ถงุ เท้า เปน็ ตน้ 4. เขม็ ทิศ แผนท่ี สมดุ จดบนั ทึกการเดนิ ทาง ดนิ สอ ปากกา 5. ฤดูฝนต้องเตรียมชดุ กันฝน ฤดหู นาวให้เตรยี มเสอื้ กันหนาว 6. เครื่องนอน เช่น เตน็ ท์ ผา้ ปทู ่นี อน เส่อื ผ้าหม่ ถุงนอน เป็นตน้ 7. ถุงพลาสติก เพอ่ื ใชส้ าํ หรับใสเ่ สอ้ื ผา้ เปยี กช้ืนหรอื เสอื้ ผ้าท่ีใช้แล้ว 8. เชือกหรือยางเพอื่ ใช้ผกู รดั อุปกรณส์ ่ิงของเลก็ ๆ นอ้ ย ๆ การเตรยี มเคร่ืองปัจจบุ ันพยาบาลส่วนตวั สาํ หรับการเดนิ ทางไกล ในการปฏิบัติกิจกรรมเดินทางไกล บางครงั้ ลูกเสอื อาจเกิดอาการเจบ็ ปูวยหรอื ไมส่ บาย ดงั น้ัน ควรเตรียมเครอ่ื งปจั จบุ นั พยาบาลส่วนตวั ไปด้วย ดังนี้ 1. ยาประเภทต่าง ๆ เช่น ยาลม ยาแก้ปวดลดไข้ ยาแก้ปวดท้อง ยาแดง ยาเหลือง ทิงเจอร์ แอมโมเนยี ข้ีผ้งึ ฯลฯ 2. อปุ กรณก์ ารปฐมพยาบาล เชน่ ผา้ พนั แผล ผ้ากอซ สาํ ลี ฯลฯ 134 คู่มอื สง่คเู่มสอื รสมิ ง่ แเสลระมิ พแฒัละนพาัฒกนิจากกรจิ รกมรรลมูกลเูกสเอืสอืททักักษษะะชชวี ีวิติตใในนสสถถาานนศศึกษกึ าษปาระลเกูภเทสลือกู ตเสรือี สชาั้นมปญั รหะถลกัมสศตู ึกรษลกูาเปสีทือต่ี 4รี 127 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4

อุปกรณ์ สว่ นรวม หรอื อุปกรณ์สาํ หรับหมหู่ รือกอง เป็นอุปกรณท์ ่ใี ช้สาํ หรบั ทุกคนในหมหู่ รือกอง ในการอยูค่ ่ายพกั แรมรว่ มกนั และต้องแบง่ หนา้ ที่ กันนาํ ส่ิงของไป เช่น - นายหมู่ เอาตะเกยี ง มีดพร้า และแผนที่ - รองนายหมู่ นาํ พลัว่ สนาม เตน็ ท์ กระดาษชําระ กระเป๋ายาและอปุ กรณใ์ นการปฐมพยาบาล ถังนํา้ กะละมงั ไมข้ ดี ไฟ เชอื้ ไฟ ยาขดั รองเทา้ ยาขดั โลหะ - หวั หนา้ คนครวั เตรียมกระทะ หมอ้ ทพั พี หมอ้ สําหรับปรงุ อาหาร กระทะ มีดทําครวั - รองหวั หน้าคนครวั นาํ กบั ข้าว เคร่ืองปรงุ อาหารสด อาหารแห้ง และอาหารกระป๋องสาํ หรับ รบั ประทานท้งั หมู่ สิ่งท่ีไมค่ วรบรรจุเคร่ืองหลงั ไม่ควรนาํ สิ่งของอน่ื ๆ ทไ่ี ม่จําเป็นและของมคี ่าทกุ ชนิดไป เชน่ สายสร้อยทองคํา โทรศัพท์ราคา แพง เครอ่ื งเลน่ รวมถงึ อุปกรณอ์ ิเลค็ โทรนิกอ่ืน ๆ ฯลฯ นําเงนิ ตดิ ตวั ไปเท่าท่ีจาํ เป็นต้องใช้รวมทงั้ ไมพ่ กพา อาวธุ ทุกชนิด การบรรจุส่ิงของลงในถุงเคร่ืองหลังหรือกระเปา๋ เครอื่ งหลงั คอื ถงุ หรอื กระเปา๋ สําหรับใส่สิ่งของต่าง ๆ และใช้สะพายหลังเพื่อให้สามารถ นาํ สงิ่ ของไปยงั สถานที่ตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งสะดวกเคร่ืองหลังจงึ เป็นสง่ิ สาํ คัญและมีความจําเป็นมากสําหรับ การเดินทางไกล เพราะลูกเสอื ตอ้ งใช้บรรจอุ ุปกรณป์ ระจําตัว อุปกรณ์ประจําหมู่ ซ่ึงต้องนําไปใช้ในการ อยู่คา่ ยพกั แรม มขี ั้นตอนดังตอ่ ไปน้ี 1. เลอื กเครอื่ งหลงั ทม่ี ขี นาดพอเหมาะไม่เลก็ หรือใหญ่จนเกนิ ไป 2. บรรจุสง่ิ ของที่มนี ้าํ หนกั มากหรือสิง่ ของทีใ่ ช้ภายหลงั ไวข้ ้างล่าง ส่วนส่ิงของท่ีใช้ก่อนหรือใช้ รีบด่วน เช่นไฟฉาย เส้ือกันฝน ไม้ขีดไฟ ฯ ให้บรรจุไว้ข้างบนสุดเพื่อสามารถนําออกมาใช้ได้อย่าง สะดวก 3. บรรจุส่ิงของนุ่ม ๆ เช่น ผ้าเช็ดตัว ผ้าห่ม เสื้อผ้า ฯลฯ ตรงส่วนท่ีสัมผัสกับหลังของลูกเสือ เพ่อื จะได้ไม่เจ็บหลงั ขณะเดนิ ทาง 4. สิ่งของบางประเภท เช่น ยารักษาโรค ข้าวสาร เป็นต้น ควรใส่ถุงผ้าหรือถุงพลาสติกก่อน แล้วจึงบรรจลุ งเครือ่ งหลงั 5. ในกรณีท่ถี งุ นอน และผ้าห่มบรรจุเคร่อื งหลงั ไม่ได้ ให้ผกู ถุงนอนและผา้ ห่มนอนของลกู เสือไว้ นอกเคร่อื งหลัง คลุมดว้ ยแผน่ พลาสตกิ ใสเพ่ือกันการเปียกนาํ้ 6. เคร่อื งหลงั ท่ีลูกเสือนําไปต้องไมห่ นกั จนเกนิ ไป เพราะจะทาํ ใหล้ ูกเสอื เหน่ือยเรว็ น้ําหนักของ เครื่องหลังควรหนักไมเ่ กิน 1 ใน 5 ของน้ําหนักตัวลูกเสือ เช่น ถ้าลูกเสือหนัก 60 กิโลกรัมเครื่องหลัง ควรหนกั ไม่เกนิ 12 กิโลกรัม เป็นตน้ 128 คมู่ค่มูืออื สส่งง่ เเสสรมิ แแลละะพพฒั ฒั นนากาจิกกิจรกรรมรลมกู เลสกู ือเทสักือษทะักชวีษิตะใชนวี สติ ถาในศสกึ ถษาานปศรกึ ะษเภาทลลกู กู เสเสอื ือสตามรัญี ชหัน้ ลปกั รสะตู ถรมลูกศเึกสือษตารปี ีที่ 4 135 ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4

รองเทา้ ผา้ ใบ ชุดลาลอง รองเท้าแตะ สมุดบันทกึ ยารักษาโรค ของใช้ส่วนตัว ไฟฉาย แผนการจดั กจิ กรรมลูกเสอื หลกั สูตรลกู เสอื สามญั (ลูกเสอื ตร)ี ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4 หนว่ ยที่ 5 กจิ กรรมกลางแจ้ง เวลา 1 ชั่วโมง แผนการจดั กิจกรรมท่ี 22 การปฏิบตั ติ ามกฎและเครอื่ งหมายจราจร 1. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. ลกู เสือบอกความหมายของสัญญาณไฟจราจรและเครอ่ื งหมายจราจรได้ถูกตอ้ ง 2. ลกู เสือปฏบิ ัติตามกฎและเคร่อื งหมายจราจรไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและปลอดภยั 136 คมู่ ือสง่คเมู่ สือรสิม่งแเสลระิมพแฒัละนพาฒั กนจิ ากกริจรกมรรลมูกลเกู สเอืสือททักักษษะะชชวี วี ติติ ใในนสสถถาานนศศึกษกึ าษปาระลเกูภเทสลอื กู ตเสรอื ี สชา้ันมปญั รหะถลักมสศูตึกรษลกูาเปสทีอื ต่ี 4รี 129 ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4

แผนการจัดกจิ กรรมลูกเสอื หลกั สูตรลกู เสือสามญั (ลูกเสือตร)ี ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 หนว่ ยท่ี 5 กิจกรรมกลางแจง้ เวลา 1 ชั่วโมง แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 22 การปฏิบตั ิตามกฎและเคร่ืองหมายจราจร 1. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. ลูกเสือบอกความหมายของสญั ญาณไฟจราจรและเครอื่ งหมายจราจรไดถ้ กู ตอ้ ง 2. ลกู เสือปฏบิ ัตติ ามกฎและเคร่ืองหมายจราจรไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและปลอดภยั 1326. เนื้อคห่มู าอื สง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื ตรี ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 กฎและเครอื่ งหมายจราจร 3. ส่ือการเรยี นรู้ 3.1 แผนภมู ิเพลง เกม 3.2 ใบความรู้ 3.3 เรอื่ งสน้ั ทเี่ ปน็ ประโยชน์ 4. กจิ กรรม 4.1 พิธเี ปดิ ประชมุ กอง )ชกั ธงขน้ึ สวดมนต์ สงบนิ่ง ตรวจ แยก( 4.2 เพลง หรือเกม 4.3 กจิ กรรมตามจุดประสงค์การเรยี นรู้ 1( ผ้กู ํากับลกู เสอื จดั สถานท่ีเปน็ ถนนจาํ ลอง ทบทวนเคร่ืองหมายจราจร )สญั ญาณไฟ จราจร สัญญาณไฟคนขา้ มถนน ปาฺ ยจราจร( และสาธิตการเดนิ ถนนและข้ามถนนอย่าง ปลอดภัย 2( หมูล่ กู เสอื ฝึกปฏบิ ตั ิตามสญั ญาณไฟจราจร สัญญาณไฟคนขา้ มถนน ปาฺ ยจราจร และ การเดนิ ถนนและขา้ มถนนอยา่ งปลอดภัย 3( ผกู้ ํากับลกู เสอื และลกู เสอื ร่วมกนั สรุป 4.4 ผู้กาํ กับลกู เสือเล่าเรอ่ื งสั้นทเ่ี ปน็ ประโยชน์ 5.4 พธิ ีปิดประชมุ กอง )นัดหมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชักธงลง เลิก( 5. การประเมินผล 5.1 ซกั ถามความหมายของสัญญาณไฟจราจรและเครอ่ื งหมายจราจร 5.2 สังเกตการปฏบิ ตั ติ ามกฎและเคร่ืองหมายจราจร 130 ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมท่ี 22 เพลง คมู่ ือสง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือสามัญ หลักสตู รลูกเสอื ตรี ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4

5. การประเมนิ ผล 5.1 ซกั ถามความหมายของสญั ญาณไฟจราจรและเครอ่ื งหมายจราจร 5.2 สงั เกตการปฏิบัติตามกฎและเคร่ืองหมายจราจร ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมที่ 22 เพลง ข้ามถนน อยา่ เหม่อมองตอ้ งดขู ้างหน้า อีกซา้ ยและขวาเมอ่ื จะขา้ มถนน หากยวดยานมากหลายกต็ อ้ งอดใจทน อยา่ ตัดหนา้ รถยนต์ทกุ ทกุ คนควรระวงั เอย คู่มอื ส่งเสริมและพฒั นากมิจงกรแรซมะลูกมเงสือแทซักะษแะชซวี ะิตมในงสตถะาลน่มุ ศตกึ มุษมางลกู )เซสา้ํ ือ(ตรี ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 137 ขา้ มถนน ข้ามถนนบนสะพานลอย หรอื ลอดอุโมงคเ์ หนอ่ื ยหนอ่ ย แต่กป็ ลอดภยั ดี ขา้ มถนนบนทางม้าลาย มองขวามองซ้าย และมองขวาอีกที หากปลอดภัยขา้ มไดอ้ ย่ารอรี ครึ่งหลังมองซา้ ยอกี ที เพราะอาจจะมีรถมา เกม เกมซิบ – แซบ ทุกคนน่ังเป็นวงกลม มีลูกเสือคนหน่ึงอยู่ตรงกลาง ลูกเสือท่ีอยู่ในวงกลมต้องพยายามจําชื่อ นามสกุล ของผู้ทอ่ี ยู่ทางขวาและซา้ ยมอื ใหไ้ ด้ ผู้ทีอ่ ยูต่ รงกลางจะเดนิ ไปรอบ ๆ วงกลม แล้วชม้ี อื ไปยัง ลูกเสือคนหน่ึงแล้วพดู ว่า “ซบิ ” พรอ้ มกบั นบั “1 – 2 – 3 -4 – 5” ผู้ท่ถี กู ชี้ต้องบอกช่ือ นามสกุล ของ ผูท้ อี่ ยทู่ างซา้ ยมอื ถ้าพดู ว่า “แซบ” พร้อมกับนับ “1 – 2 – 3 -4 – 5” ผู้ท่ีถูกช้ีต้องบอกชื่อ นามสกุล ของผูท้ ่ีอยูท่ างขวามือ การตัดสนิ 1. ลูกเสอื ทีถ่ กู ชจี้ ะต้องบอกช่อื นามสกลุ ใหค้ รบกอ่ นนบั ถงึ 5 2. ถ้าบอกผิด หรอื บอกซํ้า หรอื นกึ ไมอ่ อก ต้องเปล่ียนมาอยู่กลางวงกลมคอยเปน็ ผู้ชีต้ ่อไป เรอื่ งส้ันทีเ่ คปูม่ ็นือสปง่ เรสระิมโแยละชพนฒั น์ ากจิ กรรมลกู เสือทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามญั หลักสตู รลูกเสอื ตรี 131 ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 กบกับหนู

เร่ืองสน้ั ท่ีเป็นประโยชน์ กบกับหนู หนเู เก่ตวั หนง่ึ เดนิ ทางรอนแรมมาจนถงึ ลําธารที่ชายปูาหนตู อ้ งการจะข้ามไปยังฝ่ังตรงข้ามจึง เข้าไปหากบตัวนอ้ ยท่อี ยูร่ มิ ลาํ ธารเเลว้ ขอรอ้ งให้กบช่วยพาข้ามลําธารไปฝ่ังตรงกันข้ามเจ้ากบตัวน้อย มองดูหนูอย่างพจิ ารณาเเล้วจึงปฏิเสธอย่างสุภาพว่า \"โธ่ ฉนั น่ะตัวเลก็ พอๆ กับทา่ นเเลว้ จะพาท่านขา้ ม ลําธารไปไดอ้ ยา่ งไรกันละ่ จะ๊ \" แตห่ นไู มย่ อมเปล่ยี นความคดิ อา้ งวา่ ตนเปน็ สตั ว์ผู้อาวโุ สกวา่ ถ้ากบไม่ ชว่ ย ตนจะไปปูาวประกาศให้สรรพสัตวท์ ัง้ หลายร้ถู ึงความใจดาํ ของกบเมื่อถูกขู่เข็ญเช่นนั้น กบจึงต้อง จํายอมให้หนูเอาเท้าผูกกับเท้าของตน เเล้วก็พาว่ายข้ามลําธารไปเเต่ทว่าพอว่ายไปได้เเค่ครึ่งทาง 13เท8า่ นน้ั คกมู่บือกสเ็ ่งรเม่ิ สหริมมแดลเะเพรงฒั กนอ่ านกทจิ ก่ีทรงั้ รคมู่จละกู จเสมอื นทา้ํ ักตษาะยชเวี หติ ยในี่ยสวถตาวั นหศนกึ ง่ึษกา็โฉลกูบเลสงอื มตารีจชกิ ั้นเอปราะทถงั้ มกศบกึ เษเลาปะีทหี่น4ูไปกนิ เร่ืองนี้สอนใหร้ วู้ า่ คดิ ประโยชนจ์ ากผ้ทู ่ไี มส่ ามารถให้ได้ ยอ่ มมีเเตเ่ สยี หาย ประเด็นการวเิ คราะห์คุณธรรมทไี่ ด้ 1. ซ่อื สัตย์ สจุ ริต 2. ความรบั ผดิ ชอบ 3. กตญั ํู 4. อุดมการณ์ คณุ ธรรม ใบความรู้ 132 คูม่ ือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลกั สตู รลกู เสอื ตรี ชั้นประถมศกึ ษาเคปที รี่ อ่ื4 งหมายจราจร และความปลอดภัยในการเดินถนน

ใบความรู้ เคร่ืองหมายจราจร และความปลอดภัยในการเดินถนน เคร่อื งหมายจราจร เป็นสัญลักษณ์ทางจราจรที่ใช้ในการควบคุมการจราจรมักเป็นสัญญาณแสงหรือปฺาย เพื่อ กําหนดหรอื บงั คับการเคลอ่ื นตวั ของจราจร การจอด หรืออาจเปน็ การเตือนหรอื แนะนําทางจราจร สญั ญาณไฟจราจร การจราจสครัญู่มตือญาสมา่งทเณสารไงมิ ฟแแจยลรกะาพจโัฒดรนโยดาทกย้งั ิจทสกั่วารไมรปมสปลี ไูกรดะเส้แกอื กอท่สบักแี ดษด้วะงยชใีวสหิตัญ้รใถนญหสาถยณาุดนไศฟสึกีเสหษาลามือสลงีตกู ใเิดหสตร้อื ถัง้ตตรระาี วชมงั้ันทปเาตรงะรแถียยมมกศหตึกยา่ษงดุาเปพแีท่อืลี่ 4ะคสวเีบขคีย1ุมว39 คือใหร้ ถไปได้ สาํ หรับสญั ญาณไฟจราจรพิเศษ เชน่ มสี ีเหลอื งเพยี งสีเดียวกระพรบิ อยู่ใช้สาํ หรับทางแยกท่ีไม่ พลกุ พล่านหมายถงึ ให้ระมัดระวังว่ามที างแยกและดคู วามเหมาะสมในการออกรถได้เอง, สัญญาณไฟ จราจรสําหรับการข้ามถนน เป็นต้น สญั ญาณไฟจราจรสาํ หรับการเดนิ รถ มี 3 สี คือ สแี ดง สเี หลือง และสีเขียว สีแดง หมายถงึ ให้รถทกุ คนั หยดุ หลังแนวเส้นทก่ี าํ หนดไว้ สเี หลอื ง หมายถงึ ใหร้ ถท่แี ล่นอยู่เตรียมหยดุ หรอื ใหร้ ถทจ่ี อดอย่เู ตรียมแลน่ สีเขียว หมายถงึ ให้รถแลน่ ผ่านไปได้ สัญญาณไฟสําหรบั คนขา้ มถนน สญั ญาณไฟสําหรับคนขา้ มถนนจะมีรปู คนในสญั ญาณไฟ มี 2 สี คอื สแี ดง และสีเขียว สีแดง หมายถึง หา้ มขา้ มถนน สีเขียว หมายถึง ข้ามถนนได้ ปา้ ย-จราปจฺารยเคบปูม่ งั น็อื คสปบั่งาฺเสยรมมิคแกัวลจบะะพคมัฒมุ พี นกานื้ ากรสิจจขีกรราราวมจลขรูกอเแสบบอื สท่งกัีแอษดอะงกชวีเเปิตปใ็นน็นสป3ถฺาาปยนศรกกึะาํ ษเหภานทปดระเตภอ้ทงลทูกเาํสตอื สาามมชัญเน้ั ชปห่นรละักถหสมูตา้ ศรมึกลษเูกลาเสปย้ี ือทีวต่ีข4รีวา 133

สัญญาณไฟสาํ หรบั คนข้ามถนนจะมรี ปู คนในสญั ญาณไฟ มี 2 สี คือ สแี ดง และสเี ขียว สแี ดง หมายถึง หา้ มขา้ มถนน สีเขียว หมายถงึ ขา้ มถนนได้ ป้ายจราจร เป็นปฺายควบคมุ การจราจร แบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท - ปาฺ ยบงั คบั มกั จะมพี นื้ สขี าว ขอบสแี ดง เปน็ ปาฺ ยกาํ หนด ตอ้ งทําตาม เชน่ ห้ามเลยี้ วขวา - ปาฺ ยเตือน มักจะมพี ื้นสขี าว ขอบสีดาํ จะเปน็ ปาฺ ยแจง้ เตอื นวา่ มอี ะไรอยขู่ า้ งหน้า - ปาฺ ยแนะนํา เป็นปฺายท่ีแนะนําการเดนิ ทางตา่ งๆ อาทิ ทางลดั ปฺายบอกระยะทาง เปน็ ต้น ป้ายจราจร ความหมาย แสดงตําแหน่งทางขา้ มถนน 140 คมู่ อื สง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือตรี ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 เครอื่ งหมายทางขา้ มถนน โรงเรียน ระวงั เดก็ :ทางขา้ งหนา้ มโี รงเรียนตง้ั อยู่ขา้ งทางใหข้ บั รถให้ ชา้ ลงและระมัดระวงั อบุ ตั ิเหตุ ซงึ่ อาจจะเกดิ ขึ้นแก่เดก็ นกั เรียนถ้าเดก็ นักเรียนกําลังเดนิ ข้ามถนนให้หยุดรถให้เดก็ นกั เรียนข้ามถนนไปได้ โดยปลอดภยั ถ้าเปน็ เวลาทโ่ี รงเรียนกาํ ลังสอนใหง้ ดใชเ้ สยี งสัญญาณ และห้ามให้เกดิ เสยี งรบกวนด้วยประการใด ๆ ระวงั คนขา้ มถนน :ทางข้างหนา้ มที างสําหรบั คนข้ามถนน หรอื มี หม่บู ้านราษฎรอยขู่ า้ งทางซ่งึ มีคนเดนิ ขา้ มไปมาอยเู่ สมอ ให้ขับรถให้ ชา้ ลงพอสมควรและระมัดระวังคนขา้ มถนนถา้ มคี นกาํ ลงั เดนิ ขา้ มถนน ใหห้ ยดุ ให้คนเดนิ ขา้ มถนนไปได้โดยปลอดภยั เฉพาะคนเดิน :บรเิ วณท่ตี ดิ ตงั้ ปฺายเปน็ บริเวณท่ีกาํ หนดใหเ้ ฉพาะคน เดินเทา่ น้ัน หยุด : รถทกุ ชนดิ ตอ้ งหยดุ เมอ่ื เหน็ ว่าปลอดภยั แล้ว จึงให้เคลื่อนรถ ต่อไปไดด้ ว้ ยระมดั ระวงั ให้ทาง :รถทกุ ชนดิ ต้องระมดั ระวงั และให้ทางแกร่ ถและคนเดนิ เทา้ ในทางขวางหนา้ ผ่านไปกอ่ นเมือ่ เห็นวา่ ปลอดภยั และไม่เปน็ การกดี ขวางการจราจรที่บรเิ วณทางแยกนั้นแลว้ จึงใหเ้ คลือ่ นตอ่ ไปไดด้ ว้ ย ความระมดั ระวัง ความปลอดภยั ในการเดนิ ถนน และข้ามถนน เพคือ่มู่ ือคสวง่ าเสมรปมิ แลลอะพดฒัภนยั าขกอิจกงรตรนมลเอกู เงสือผทูอ้ักนษื่ ะชแวี ลิตะใเนปสน็ถาตนวัศอึกษยา่าปงทระี่ดเภี ทคลวกู รเสปือฏสิบามัตัญิในหลกักาสรตู เรดลินกู เถสนือตนรี ดงั น้ี 134 1.ชน้ั ถปนระนถมทศมี่ กึ ีทษาาปงีทเที่ 4า้ เดนิ บนทางเทา้ และเดนิ ชดิ ด้านซา้ ยของทางเท้า 2. ถนนทีไ่ มม่ ีทางเทา้ เดินชดิ ขอบดา้ นขวาของถนน เมอื่ มรี ถแลน่ สวนมาจะได้ระมัดระวงั

ความระมดั ระวัง ความปลอดภัยในการเดนิ ถนน และขา้ มถนน เพอื่ ความปลอดภยั ของตนเอง ผู้อน่ื และเป็นตวั อย่างทดี่ ี ควรปฏบิ ตั ิในการเดินถนน ดงั นี้ 1. ถนนทีม่ ีทางเท้า เดนิ บนทางเทา้ และเดนิ ชดิ ดา้ นซา้ ยของทางเทา้ 2. ถนนที่ไมม่ ีทางเทา้ เดินชดิ ขอบดา้ นขวาของถนน เมอื่ มรี ถแลน่ สวนมาจะได้ระมัดระวงั 3. เดินถนนตอนกลางคืนควรถือไฟฉายส่องทาง และควรสวมเสอื้ ผา้ สีขาวหรอื สอี ่อน 4. เด็กท่ียงั ขา้ มถนนไม่เปน็ ตอ้ งมีผใู้ หญด่ ูแลโดยจูงเดก็ ใหเ้ ดก็ เดนิ ด้านในหา่ งขอบถนน การเดนิ คขู่ม้าือมสถง่ เนสรนมิ แเลพะอื่ พคฒั วนาามกปิจลกอรรดมภลัยกู ใเสหือ้ปทฏักบิ ษตัะชิ ีวดิตงั ในนส้ี ถานศกึ ษา ลกู เสือตรี ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 141 1. ข้ามสะพานลอย ทางข้ามที่มีสัญญาณไฟสําหรับคนข้าม ทางม้าลาย หรือบริเวณจุดที่มี ตํารวจอํานวยความสะดวก รอให้รถจอดสนทิ ก่อนจึงขา้ มได้และระมัดระวังรถทข่ี ับแซงข้ึนมา 2. ถ้าไม่มีสะพานลอย หรือทางข้ามท่ีมีสัญญาณไฟ หรือทางม้าลาย ให้ข้ามถนนด้วยความ ระมัดระวัง หยุดท่ีขอบทางก่อน มองดูรถทางขวา หันกลับมาดูรถทางซ้าย แล้วหันกลับไปดูรถ ทางขวาอีกคร้งั เมื่อไมม่ ีรถหรือรถอยไู่ กลจงึ ขา้ มถนนอยา่ งระมัดระวัง โดยเดนิ ทางตรง 3. ไม่ควรวิง่ ไมค่ วรเดินย้อนกลับกลางทาง และไม่ควรหยุดเก็บของที่ตกหล่นอยู่กลางถนน ไม่ว่ิงเล่นหยอกล้อคุยโทรศัพท์ หาของในกระเป๋าหรือก้มเก็บของท่ีตกหล่นขณะข้ามถนนเด็ดขาด เพราะอาจเสียหลกั หกล้มจนโดนรถเฉี่ยวชนได้ 4. เพิ่มความระมัดระวังการข้ามถนนบริเวณทางแยกและบริเวณท่ีมีส่ิงบดบัง เช่น ท้ายรถ ประจาํ ทาง ซอยที่มรี ถจอด 5.การขา้ มถนนที่มรี ถเดนิ ทางเดยี ว ควรหยุดดูวา่ รถวง่ิ มาจากทางใดและระมดั ระวังรถที่วิ่งย้อนศร หากเป็นถนนทีม่ เี กาะกลาง ควรข้ามทีละครึ่งถนน และหยดุ พกั ท่เี กาะกลางหากไมม่ ีรถค่อยขา้ มครึ่งหลัง แผนการจัดกจิ กรรมลูกเสือ หลักสูตรลกู เสอื สามญั (ลูกเสอื ตร)ี ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 หนว่ ยท่ี 5 กจิ กรรมกลางแจ้ง แผนการจัดคกู่มจิ อื กสง่รเสรรมิมทแล่ี ะ2พ3ฒั นเาดกก็จิ กไรทรมยลไูกมเส่กอื ทนิ กั หษะวชาีวนิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามชัญน้ั ปหรละักถสเมตูวศรลกึ ลษกูาาเสปอืีท3ตี่ 4รี ชวั่ โม13ง5

แผนการจดั กจิ กรรมลูกเสือ หลกั สูตรลกู เสอื สามญั (ลูกเสือตรี) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 หน่วยที่ 5 กจิ กรรมกลางแจง้ แผนการจัดกจิ กรรมที่ 23 เดก็ ไทยไมก่ ินหวาน เวลา 3 ชวั่ โมง 1. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1.1 ลูกเสอื สามารถอธบิ ายถึงผลเสียของการบรโิ ภคนํา้ ตาลมากเกินไปได้ 1.2 ลูกเสอื สามารถบอกวิธปี ฏบิ ัตติ นเพือ่ ปฺองกนั ปัญหาสุขภาพจากการบรโิ ภคนาํ้ ตาลได้ 1422. เนื้อคห่มู าอื ส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสือตรี ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 2.1 ลูกเสอื มคี วามสามารถในการวิเคราะห์ถงึ ปริมาณของน้าํ ตาล ในขนมทม่ี ีรสหวานและ เคร่อื งด่มื ท่นี ยิ มดื่มกนั อยใู่ นปจั จบุ ัน 2.2 ลูกเสอื สามารถปฺองกันตนเองจากปญั หาสขุ ภาพทอ่ี าจตามมาได้ 3. สือ่ การเรียนรู้ 3.1 แผนภมู เิ พลง 3.2 เกม 3.3 ภาพเดก็ อว้ น และเดก็ ฟนั ผุ 3.4 กลอ่ ง กระปอ๋ งหรือขวด เครอื่ งดมื่ นาํ้ อดั ลม ทีม่ ขี อ้ มลู โภชนาการชดุ ละ 4 ชนดิ เช่น นมชนิดตา่ ง ๆ น้ําอดั ลมสตี ่าง ๆ ชาพร้อมดมื่ บรรจุขวด นา้ํ ผลไม้ หรือเคร่ืองดม่ื ทเี่ ดก็ ดม่ื เปน็ ประจําในทอ้ งถิ่น จาํ นวนชุดเทา่ กับจํานวนหมู่ลูกเสอื 3.5 กระดาษปรฟู๊ ปากกาเคมี 3.6 เรอ่ื งส้นั ท่ีเป็นประโยชน์ 4. กจิ กรรม 4.1 กจิ กรรมครั้งที่ 1 1( พิธเี ปิดประชุมกอง )ชกั ธงขนึ้ สวดมนต์ สงบนิง่ ตรวจ แยก( 2( เพลง หรือเกม 3( กิจกรรมตามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ )1( ผกู้ ํากับลกู เสือให้กองลูกเสอื ดภู าพเด็กอว้ น/เดก็ ฟนั ผแุ ล้วชวนคดิ ชวนคุยว่า นา่ จะ เกดิ เกดิ จากสาเหตุใดไดบ้ า้ ง เชน่ ลกู อม ขนมหวาน เครอ่ื งดม่ื ทม่ี นี ้�ำตาลมาก ฯลฯ) จากสาเหตุใดไดบ้ า้ ง )เช่น ลูกอม ขนมหวาน เครอื่ งดม่ื ทมี่ นี ํ้าตาลมาก ฯลฯ( )2( ผู้กํากับลกู เสอื แจกกล่อง/ขวด/กระป๋อง เครื่องดมื่ ให้ลูกเสอื หมูล่ ะ 1 ชุด และ มอบหมาย ใหล้ ูกเสอื แต่ละหมู่สาํ รวจปริมาณน้ําตาลในเครือ่ งด่มื แต่ละชนิด โดย คาํ นวณปริมาณ น้าํ ตาลออกมาเป็นจํานวนช้อนชาต่อกลอ่ ง/ขวด/กระป๋อง )1 ชอ้ นชา = 4 กรมั ( 136 คู่มอื สง่ เสริม)3แ(ละพหัฒลนงั ากกาิจรกครรํามนลวกู เณสอื ใทหัก้เษปะรชยีวี ติบใเนทสยีถาบนวศ่าึกษเาคปรร่อื ะงเภดทม่ื ลชกู เนสิดอื สใาดมมัญปี หรลมิ ักาสณูตรนลูก้าํ เตสอืาตลรมี ากทสี่ ดุ ช้นั ประถมศึกษาปแีทล่ี 4ะน้อยที่สดุ แลว้ สง่ ตวั แทนรายงานในกองลกู เสือ )4( ลูกเสือรายงานทลี ะหมจู่ นครบ

)1( ผกู้ าํ กบั ลกู เสอื ให้กองลูกเสอื ดภู าพเด็กอว้ น/เด็กฟันผุแลว้ ชวนคิดชวนคุยว่า นา่ จะ เกดิ จากสาเหตุใดไดบ้ ้าง )เชน่ ลกู อม ขนมหวาน เครือ่ งด่มื ทมี่ นี ้ําตาลมาก ฯลฯ( )2( ผู้กํากบั ลูกเสอื แจกกล่อง/ขวด/กระปอ๋ ง เคร่ืองดมื่ ใหล้ ูกเสือหมูล่ ะ 1 ชุด และ มอบหมาย ให้ลกู เสือแตล่ ะหม่สู าํ รวจปรมิ าณนา้ํ ตาลในเครือ่ งดมื่ แตล่ ะชนิด โดย คํานวณปริมาณ นา้ํ ตาลออกมาเป็นจาํ นวนช้อนชาต่อกล่อง/ขวด/กระป๋อง )1 ช้อนชา = 4 กรมั ( )3( หลงั การคํานวณให้เปรยี บเทียบวา่ เครอื่ งดื่มชนิดใดมีปรมิ าณนํา้ ตาลมากทีส่ ดุ และน้อยทส่ี ุด แลว้ สง่ ตัวแทนรายงานในกองลกู เสือ )4( ลกู เสือรายงานทีละหมจู่ นครบ )5( ผ้กู าํ กบั ลูกเสือชวนคิดว่าลกู เสือได้ขอ้ คดิ อะไรจากกจิ กรรมน้ี )67( กมองบลหกู มเสายอื ใรหว่ ้ลมกู เันสรือวแบตรล่ วะมคผนลจกดาบรนัวิเทคึกราะชหนข์ ดิ อแงลแะตปล่ ระมิ หามณู่ ทเาํ คเปร่ือน็ งตดามื่ รแางลตะลิดกูบอมรด์ )7( มทอร่ี บั หปมระาทยาใหน้ลในกู เส1ือวแันต่ลเะพค่ือนนจําดมบานั คทยุ ึกกนั ชคนริดัง้ ตแอ่ลไะปรมิ าณ เครอื่ งดมื่ และลูกอม คูม่ อื 445ส((ง่ เสผผพร้กกูู้ ธิิมําําีปแกกลดิทัับบะปร่ีพลลบัรัฒููกกะปเเนชสสราุมะอืือกกทเเจิ ลลอาก่าา่งนรเเรใรร)มนนออ่ืื่ ลัดงงกูสส1หเนั้ั้นสมวททอื าันท่เีเี่ยปปกั เตน็็นษพระปปือ่ชวรรวีนจะะติเาํโโคใยยมนรชชาอ่ืสคนนถงุย์์แากนบนศั บึกคษชรางั้กั ตธลอ่งกู ไลเปสงอื เตลริกี (ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4 143 5( พิธีปิดประชมุ กอง )นัดหมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชักธงลง เลิก( 4.2 กิจกรรมครัง้ ที่ 2 4.2 ก1(ิจกพริธรีเมปคิดรปง้ัรทะชี่ 2มุ กอง )ชกั ธงขน้ึ สวดมนต์ สงบน่งิ ตรวจ แยก( 12( พเพิธลีเปงหดิ รปือรเะกชมุมกอง )ชักธงขน้ึ สวดมนต์ สงบนง่ิ ตรวจ แยก( 23( เกพิจลกงรหรมรอืตเากมมจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3( )ก1(ิจกลรกู รเมสตอื านม่ังจลดุ้อปมรวะงสตงาคมก์หามรู่ เรพยี ูดนครยุ ู้ แลกเปลยี่ น และชว่ ยกนั วเิ คราะหว์ ่าสมาชิกแตล่ ะคน )1( ลกกู นิ เสนอื้าํ นตาง่ั ลอ้จมากวเงคตราอื่มงหดมมื่ ู่ แพลูดะลคกูยุ อแมลกวเนัปลยะี่ กน่ีชแ้อลนะชชา่วย)เกคนั รว่ือิเงคดรื่มาดะหจู าว์ ก่าสตมาารชางกิ คแรตง้ั ่ลกะอ่ คนน / ลูกอม 1 เมก็ดนิ มนนีาํ้ ตํา้ ตาลาจลาปกรเะคมราื่อณงด1ม่ื แชล้อะนลชกู าอ(ม วนั ละกี่ช้อนชา )เคร่อื งดม่ื ดจู ากตารางครงั้ ก่อน / ลกู อม)21( เมผ็ดูก้ ํามกนี บั ้าํ ลตกู าเลสปอื รใะหม้ขา้อณมลู 1ปชร้อมิ นาณชาน(ํ้าตาลท่บี ริโภคต่อวนั สําหรบั เด็กทอี่ ยู่ในวยั ลกู เสอื )2( สผาูก้ มําัญกับชลนั้ กูปเรสะือถใมหศ้ขึกอ้ ษมาลู ปีทริมี่ 4าไณมน่คํ้าวตรกาลนิ ทนีบ่้าํ ตริโาภลคเกตนิ ่อววนั ันลสะาํ 5หชรบั้อเนดชก็ าที่อยใู่ นวัยลูกเสอื )3( สใหามแ้ ตญั ล่ ชะน้ั หปมร่สู ะาํ ถรมวศจึกดษวู า่ ปมีทีสี่ม4าไชมิก่คกว่ีครกนินทน่ีก้าํนิ ตนาาํ้ ลตเกาลินจวานั กลละูก5อมชแอ้ ลนะชเคารือ่ งดมื่ เกนิ )3( ใ5ห้แชตอ้ ่ลนะชหามตู่สอ่ าํ วรันวจแดลูว้ ่าสง่มตีสวั มแาทชนิกรกา่คี ยนงาทน่ีกในิ นนกาํ้ อตงาลจากลกู อมและเครือ่ งดื่มเกิน )4( ต5ัวชแอ้ ทนนชหาตมอ่ ู่ลวูกนั เสแือลร้วาสย่งตงวัาแนทผนู้กราํ ยกงับาลนูกในเสกืองเพิ่มเติมดังน้ี “นอกจากลูกอมและ เครอ่ื งด)ม่ื4( ตัวแทนหมู่ลูกเสือรายงาน ผู้กํากับลูกเสือเพิ่มเติมดังนี้ “นอกจากลูกอมและ เครื่องดม่ื แเคลรว้ อ่ื ลงูกดเม่ืสือแยลังว้ ไลดกู น้ เสา้ํ อืตยางัลไจดาน้ ก้�ำอตาาหลาจราอกนื่ อาๆหาอรีกอดน่ื ้วๆย อเชกี น่ ดว้ บยาเงชคน่ นบชอางบคเนติมชอนบํ้าตเตามิ ลนล้�ำงตในาล แลกลงว๋ ใ้วยนลเกตูก๋ว๋ยีเสยวเือทตยีลย๋ งั ะวไหทดลีน้ าะา้ํ ยหตๆลาาชลย้อจานๆก”อชาอ้ หนา”รอ่ืน ๆ อกี ด้วย เชน่ บางคนชอบเติมนาํ้ ตาลลงใน )5( ชกว๋วนยคเติดี๋ยววา่ ท“นลี ะอหกลจายกๆกชว๋ ย้อเนต”ี๋ยว ลกู อม ขนม และเครอ่ื งด่มื แล้ว ลกู เสอื คิดวา่ ยังมี )5( ชนวาํ้ นตคาิดลวใน่า อ“นาหอการจใาดกอกีก๋วบย้าเงตท๋ยี ี่ตวอ้ ลงูกคอวมรรขะวนังม” และเครอ่ื งด่มื แลว้ ลูกเสอื คิดว่ายงั มี )6( ผน้กู ํ้าําตกาับลลในกู เอสาือหราวรบใดรวอมีกแบล้าะงสทรีต่ ปุ ้อคงําคตวอรบระทวไี่ งั ด”้ ชวนคดิ ว่าลกู เสือได้ขอ้ คดิ อะไร )6( ผจ้กู าํากกกับิจลกกู รเรสมอื นรี้ วบรวมและสรุปคาํ ตอบทไ่ี ด้ ชวนคดิ ว่าลกู เสือได้ขอ้ คดิ อะไร )7( มจอาบกหกมจิ กายรรใหมล้นกู้ี เสอื แต่ละหม่หู าขอ้ มูล “วิธปี ฺองกันปัญหาสุขภาพจากการ )7( มรบัอปบรหะมทาายนในห้าํลตกู าเลสมือแากตเล่ กะินหไมปหู่ ”าหขมอ้ ลู่มะูล3“วขิธ้อปี อฺ งกันปญั หาสุขภาพจากการ 4( ผู้กาํ รกบั บั ปลรูกะเทสาอื นเลนา่ ้าํ เตร่ือาลงสม้ันากทเ่ีเกปิน็นไปปร”ะหโยมชู่ลนะ์ 3 ข้อ 54( พผูก้ธิ าํีปกิดับปลรูกะชเสุมือกเลอา่งเ)รนอ่ื ดังสห้ันมทายีเ่ ปตน็ รปวรจะเโคยรชื่อนงแ์ บบ ชักธงลง เลกิ ( 5ค(มู่ อื พส่งธิเสีปริมดแปลระะพชฒั ุมนกากอิจงกร)รนมัดลูกหเสมอื าทยักษตะรชวี ติจใเนคสรถ่ือานงแศกึบษบา ปชรกั ะเธภงทลลงกู เสเลอื สกิ า(มญั หลกั สตู รลกู เสือตรี ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 137 4.3 กจิ กรรมครง้ั ท่ี 3 4.3 ก1(จิ กพรธิ รีเมปคิดรป้งัรทะช่ี 3ุมกอง )ชักธงขน้ึ สวดมนต์ สงบนิ่ง ตรวจ แยก(

)5( ชวนคิดว่า “นอกจากก๋วยเตีย๋ ว ลูกอม ขนม และเครื่องด่ืมแล้ว ลกู เสอื คิดว่ายังมี นาํ้ ตาลในอาหารใดอีกบ้างทตี่ อ้ งควรระวัง” )6( ผู้กาํ กบั ลกู เสอื รวบรวมและสรปุ คําตอบทีไ่ ด้ ชวนคิดว่าลกู เสอื ไดข้ อ้ คดิ อะไร จากกจิ กรรมนี้ )7( มอบหมายใหล้ ูกเสือแต่ละหมหู่ าขอ้ มูล “วิธปี อฺ งกนั ปญั หาสุขภาพจากการ รับประทานน้าํ ตาลมากเกินไป” หมูล่ ะ 3 ขอ้ 4( ผูก้ ํากบั ลูกเสอื เลา่ เรอ่ื งสนั้ ทเี่ ปน็ ประโยชน์ 5( พิธปี ดิ ประชมุ กอง )นดั หมาย ตรวจเครอื่ งแบบ ชกั ธงลง เลิก( 4.3 กจิ กรรมครัง้ ท่ี 3 1( พธิ ีเปดิ ประชมุ กอง )ชักธงขน้ึ สวดมนต์ สงบนิ่ง ตรวจ แยก( 2( เพลง หรอื เกม 3( กิจกรรมตามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ )1( ลูกเสอื แตล่ ะหมรู่ ายงาน“วิธีปฺองกันปัญหาสุขภาพจากการรบั ประทานน้าํ ตาลมาก 144 คเ ู่มกอื นิ สไ่งปเส”ร)2มิ (แลผเะกูก้พนิ ฒัําไกนปับา”ลกกูจิ กเสรอืรมรลวูกบเรสวือมทแกั ลษะะใชหวี ล้ ิตกู ในเสสือถชานว่ ยศกึกษนั าโหลวกู ตเสวอื่าวติธรีใี ดชนั้ทปลี่ รูกะเถสมอื ศทึกาํ ษไาดปง้ ีทา่ ี่ย4ท่สี ดุ )3( ผกู้ าํ กบั ลกู เสือเพิ่มเติมว่า “นาํ้ ตาลเป็นสง่ิ ที่ร่างกายไมส่ ามารถขบั ท้งิ ได้ จงึ สะสม อยู่ในรา่ งกาย จะลดปริมาณนํ้าตาลได้ตอ้ งเปล่ยี นน้าํ ตาลใหเ้ ปน็ พลังงาน เชน่ การเดินเร็วๆ 1 กิโลเมตร จงึ จะลดนา้ํ ตาลทส่ี ะสมลงได้ = 4 ชอ้ นชา” )4( ให้แตล่ ะหมูร่ ว่ มกนั วางแผนปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรมสมาชกิ ตาม “วธิ ีปอฺ งกันปัญหา สขุ ภาพจากการรบั ประทานนํ้าตาลมากเกนิ ไป” 2 วิธีที่โหวตได้ใน ขอ้ 4 เขยี นลง กระดาษปรู๊ฟติดบอร์ด 4( ผู้กํากบั ลูกเสอื เลา่ เรือ่ งสั้นทเ่ี ปน็ ประโยชน์ 5( พธิ ีปดิ ประชุมกอง )นัดหมาย ตรวจเครอื่ งแบบ ชักธงลง เลิก( 5. การประเมินผล 5.1 สงั เกตการมสี ว่ นร่วมและการแสดงความคดิ เหน็ ในหมู่และกองลูกเสอื 5.2 ตรวจสอบการอธบิ ายผลเสยี ของการบริโภคนา้ํ ตาลมากเกินไป 5.3 สอบถามการปฏบิ ตั ติ น เพื่อหลกี เลยี่ งปัญหาจากการรับประทานน้าํ ตาลมากเกินไป 6. องคป์ ระกอบทักษะชีวติ สําคญั ที่เกดิ จากกิจกรรม การคดิ วเิ คราะห์ ความคิดสร้างสรรค์ ตระหนกั รู้ และปอฺ งกันผลเสียของการบริโภคนาํ้ ตาลมาก เกนิ ไป 138 คช่มูั้นอืปสร่งะเถสมรศิมกึ แษลาะปพทีัฒ่ี นภ4าากจิคกผรรนมลวกู กเสือปทรกั ษะะกชอวี ิตบในแสถผานนศกกึ ษาารปจรัดะเภกทิจลกกู เสรือรสมามทญั ี่ ห2ล3กั สูตรลูกเสือตรี

ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมที่ 23 เพลง ขนมเป๊ียะขนมปงั ขนมเปย๊ี ะขนมปงั )ซาํ้ ( ขนมฝรั่งไส้หมู ลอดชอ่ งสาคู )ซา้ํ ( ขนมขห้ี นขู ้าวพอง ทองหยิบฝอยทองกเม๋วด็ ยขเตนนุ๋ียวบะหมี่ วุ้นน้ําเชือ่ มโอ้โออว้ นจงั )ซาํ้ ( )ทํานองเพลงกนิ ขา้ วกับนํ้าพริก( คูม่ อื ส่งเสรมิ และพัฒนากิจกกรรว๋ มยลเกูตเี๋ยสวอื กบท๋วักะหษยะมเชตี่ ีว)๋ียซติ วํ้าใบน( สะถหามนี่ศกึ ษา แลกู เงสกือะตหรรี ชีใ่ สัน้ ม่ ปันระถมศึกษาปีท่ี 4 145 ขนมจนี ทอดมัน )ซ้าํ ( )เทนาํ ือ้ นสอเงตเ็กพสลตงูกินขา้ วกบั น้ําพรกิ ( แกงเนอื้ แกก๋วงยหเตม๋ียูแวกบงะไหก่มี่ )ซาํ้ ( แกงใกสะพ่หรกิใี่ สไม่ทันยโอโ้ ฮ กขนะทมิแจกนี งทไอทดยมันหว)าซนํ้าม(ัน เนือ้ สเต็กชสว่ ตยูดบั ความฝนั ดารา แกงเนือ้ แกงหมูแกงไก่ แกงใส่พริกไทยโอโ้ ฮ กะทิแกงไทย หเวดาก็ นไมทันยไม่กนิ หวาน ชว่ ยดับความฝนั ดารา เดก็ ไทยเราไมก่ นิ หวาน ปรมิ าณน้ําตาล จะเกนิ ความจําเป็น กินผกั สด กับเนื้อนมไขเ่ ด็กไทยไม่กนิ หวโาปนรตีนกม็ ากมาย วิตามนิ กจ็ าํ เป็น ใเดหก็้พไลทงั ยงเารนาดไมี ่กมนิ คี หณุ วาปนระโยชน์ ปรไิมาม่ ณีโทนษ้ําตแลาละโรคภยั จะเรก่านิงกคาวยามแขจําง็ แเปรน็ง กินผักสด กบั เนอ้ื นมไข่ โปรตีนก็มากมาย วิตามนิ ก็จาํ เป็น ใหพ้ ลังงานดี มคี ณุ ประโยชน์ ไมม่ ีโทษและโรคภยั รา่ งกายแขง็ แรง เกม เช้อื โรคติดตอ่ วเกิธมีเลน่ 1. เขยี นวงกลมรัศมพี อสมควร ใหค้ นอยใู่ นวงกลมหลบคนทีว่ ิง่ รอบ ๆ วงได้ 2. ให้ลกู เสือคนหนง่ึ เป็นเชอื่้ โรค วง่ิ เรชอือ้ บโรๆควตงดิ กตล่อม วิธีเล่น 31. ลเขกู ียเสนือวทงกอี่ ลยมู่ในรศัวมงกพี ลอมสมอคยว่ารใหใเ้หช้คือนโรอคยแใู่ ตนะวถงกู ลตมัวไหดล้ บใคครนถทูกว่ี แง่ิ ตระอตบอ้ ๆงอวองกไไดป้ เป็นเช้อื โรค 2. ใหล้ กู เสอื คนหนึ่งเปน็ เชอื่ โรค วงิ่ รอบ ๆ วงกลม 3. ลูกเสอื ทอี่ ยใู่ นวงกลม อยา่ ใหเ้ ชื้อเโรรยี คงแตตวั ะอถักู ษตวัรได้ ใครถูกแตะต้องออกไปเปน็ เชอ้ื โรค วิธีเล่น 11. . แแบบง่ ง่ลลกู กู เสเสอื อืเปเป็น็นหหมมู่ แู่ แจกจกบบตั ตัรอรกอั ษกั ษรใรหให้ มห้ ลู่มะลู่ ะ1 1ชดุ ชดุ 2. ใหล้ ูกเสอื แข่งขนั กันเรยี งบตั รอกั เรษยี รงใตหวั ้เปอ็นกั ขษ้อรความว่า “ทาํ ดีที่สดุ ” หมูใ่ ดเรยี งเสร็จก่อน วิธีเลน่ 1. แแลบะง่ถลถกู กู ูกตเอต้ สง้อื ถงเอปืถว็นือา่ วหชา่ มนชู่ ะนแจะกบัตรอกั ษรใหห้ มู่ละ 1 ชดุ 2. ให้ลกู เสอื แข่งขนั กันเรยี งบตั รอักษร ใหเ้ ปน็ ขอ้ ความว่า “ทาํ ดที ส่ี ดุ ” หมใู่ ดเรยี งเสร็จกอ่ น และ ถกู ตอ้ งถือวา่ ชนะ เรอื กรรเชียง วิธเี ล่น ใหแ้ ต่ละหมู่ยืนคล่อมไม้พลอง ให้คนหน้าสุดหันหน้าเข้าหาคนอ่ืน ๆ ให้ทุกคนจับไม้พลองไว้ การเคลื่อนท่ี เคลื่อนถอยหลัง คนหนึ่งเป็นคเนรือตกี รรเชียง คนหัวแถวเป็นคนถือท้าย หมู่ใดถึงเส้นชัย กวกิธ่อารนเี ลเเคป่นล็น่ือใผหนูช้ แ้ ทนตคี่ ะู่มล่เคือะสลหง่ ื่อเมสนู่ยริมถืนแอคลยะลพห่อฒั ลมนังไามกคจิ ้พนกรลหรอมนงลึ่งกู เใเปสหอื ็น้คทคนักษนหะตนชวีีก้าติ สรใรนุดเสหชถันาียนหงศนกึ คษ้านาเหขป้าัรวะหแเภถาทควลนเูกปเอส็นื่นือคสานๆมชถญั ัน้ใือหปหทรล้ทะกั้าถุกสยมคตู ศรหนึกลษจมูกาเับู่ใสปดือไที ตถมี่ 4รึ้งพี เลสอ้นง1ชไ3ัยว9้ กอ่ นเป็นผชู้ นะ

2. ให้ลกู เสอื แขง่ ขนั กนั เรยี งบัตรอกั ษร ให้เปน็ ข้อความว่า “ทําดีทีส่ ุด” หมใู่ ดเรยี งเสรจ็ ก่อน และ ถกู ตอ้ งถอื วา่ ชนะ เรอื กรรเชียง วธิ ีเล่น ให้แตล่ ะหมู่ยืนคล่อมไม้พลอง ให้คนหน้าสุดหันหน้าเข้าหาคนอื่น ๆ ให้ทุกคนจับไม้พลองไว้ การเคลื่อนที่ เคล่ือนถอยหลัง คนหน่ึงเป็นคนตีกรรเชียง คนหัวแถวเป็นคนถือท้าย หมู่ใดถึงเส้นชัย ก่อนเปน็ ผู้ชนะ เร่ืองสน้ั ที่เปน็ ประโยชน์ 146 คู่มอื ส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสือทกั เษดะก็ ชโีวลติ ภในสถานศกึ ษา ลกู เสอื ตรี ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 เด็กชายคนหนึ่งอยากกนิ ลกู เกาลัดมาก จึงล้วงมือลงไปในโถ แล้วกอบลูกเกาลัดจนเต็มกํามือ และไมส่ ามารถเอามือออกจาก ปากโถแคบๆ ได้เด็กชายจึงร้องไห้อยู่อย่างนั้นเพราะไม่ยอมปล่อยลูก เกาลัด ออกจากมือเมือ่ ผู้ใหญค่ นหนึง่ เดนิ ผ่านมาเห็นเข้าจึงวา่ \"ทําไมไมป่ ล่อยลูกเกาลัดในมือเสียก่อน ถา้ ลว้ งหยบิ เกาลดั ทีละลกู เดยี ว ก็สามารถหยบิ กนิ ได้จนอม่ิ เหมือนกัน มอื กไ็ ม่ตดิ ปากโถด้วย\" เรอื่ งนส้ี อนให้รวู้ ่า ไดท้ ีละน้อย ก็สามารถเก็บใหเ้ ปน็ มากได้ ห่านออกไข่เปน็ ทองคํา เช้าวนั หนึ่งชาวนาเดนิ เข้าไปในเลา้ เห็นหา่ นทเี่ ล้ียงไว้ออกไข่เป็นทองคําสวยงามมาก ก็รู้สึกดี ใจและต่ืนเต้น รีบนําไข่ไปให้ภรรยาดู ท้ังสองตกลงใจนําไข่ทองคําไปขายจึงก็ได้เงินมาจํานวนหน่ึง เพยี งพอท่ีจะใช้จ่ายในครอบครวั และซอ้ื ส่ิงของท่ีต้องการ วันต่อมาแม่ห่านตัวเดิมก็ออกไข่เป็นทองคํา อีก สองสามีภรรยาตา่ งดอี กดใี จท่มี ีหา่ นวิเศษไว้ในครอบครอง ทุกเชา้ จงึ เกบ็ ไขห่ า่ นทองคําไปขายจนมี ฐานะรํา่ รวยข้นึ ด้วยความโลภทั้งสองคนจึงปรกึ ษากนั วา่ “เราจะมัวเกบ็ ไขห่ ่านทองคําไปขายวันละฟองอย่ทู ําไม สจู้ ับหา่ นมาฆา่ นําทองทั้งหมดทม่ี อี ยู่ใน ท้องของมันไปขายทีเดยี วไมด่ กี ว่าหรอื ” เมื่อความเหน็ ตรงกัน ชาวนาจึงฆ่าห่านแตเ่ ม่อื ผ่าทอ้ งดกู ลับพบวา่ ภายในทอ้ งหา่ นมแี ต่ความ ว่างเปลา่ เรื่องนี้สอนใหร้ วู้ า่ โลภนกั มกั ลาภหาย ลากบั เงา ชายหนุม่ คนหนง่ึ ตกลงเชา่ ลาตัวหนง่ึ เพือ่ ขีเ่ ดินทางข้ามทอ้ งถน่ิ อนั ทรุ กนั ดารและแห้งแล้ง โดย มเี จ้าของลาตดิ ตามไปดว้ ย คร้นั ถึงเวลาเที่ยงแดดร้อนจัด ชายหนุ่มจึงลงจากหลังลามานั่งพักกับพ้ืน ทรายโดยอาศยั ร่มเงาของลาเปน็ ทบ่ี งั แดด เจ้าของลาซง่ึ ยืนตากแดดอย่เู ห็นดงั นน้ั กไ็ ม่ยอมอา้ งวา่ เขามี สทิ ธทิ์ ่จี ะเข้าไปหลบแดดในเงาของลามากกว่า แต่ชายหนุ่มโต้แย้งว่า “ข้าได้จ่ายค่าเช่าให้ท่านถูกต้อง แลว้ ข้ากค็ วรจะมีสิทธทิ์ จ่ี ะใช้เงาของลาได้” แต่เจ้าของลาไม่ยอมเถียงว่า “ท่านขอเช่าแต่ตัวลาเท่าน้ัน ไม่ได้ขอเช่าเงาของลาด้วย ดังนั้น ท1่า4น0ไม่มเมีสคชิ่อืทู่มน้ั ไือปธมสร์ิ”ง่ะม่ เถวสีใม่ารคศมิแึกรแลษยล้วาะอปกพมทีัฒ็พใี่ น4คยารากจยิจงึกาเรมกรมแิดลทกกู ารเสรกือทเทขะัก้าเษลมะาชาะวี หชติ ใลกนบตสใถ่อนายนเกศงกึันาษขขาอ้นึ ปงรลใะนาเภรทะลหกู เวส่าอื งสนามั้นัญเอหงลกัลสาตู เรกลิดกู เตสกอื ตใรจี มันจึงวิ่ง หนีหายไป ในที่สดุ ชายทงั้ สองก็เลยตอ้ งเดินตากแดดไปตลอดทาง

ว่างเปลา่ เร่ืองนส้ี อนให้รูว้ ่า โลภนักมักลาภหาย ลากับเงา ชายหน่มุ คนหน่งึ ตกลงเช่าลาตวั หน่ึง เพื่อข่เี ดินทางข้ามทอ้ งถน่ิ อนั ทรุ กนั ดารและแหง้ แลง้ โดย มเี จา้ ของลาตดิ ตามไปด้วย คร้นั ถงึ เวลาเที่ยงแดดร้อนจัด ชายหนุ่มจึงลงจากหลังลามาน่ังพักกับพื้น ทรายโดยอาศัยร่มเงาของลาเปน็ ทบ่ี งั แดด เจ้าของลาซ่ึงยืนตากแดดอยเู่ หน็ ดงั นัน้ กไ็ มย่ อมอา้ งว่าเขามี สทิ ธ์ิที่จะเข้าไปหลบแดดในเงาของลามากกว่า แต่ชายหนุ่มโต้แย้งว่า “ข้าได้จ่ายค่าเช่าให้ท่านถูกต้อง แล้ว ข้ากค็ วรจะมีสทิ ธทิ์ จ่ี ะใช้เงาของลาได้” แต่เจ้าของลาไม่ยอมเถียงว่า “ท่านขอเช่าแต่ตัวลาเท่านั้น ไม่ได้ขอเช่าเงาของลาด้วย ดังน้ัน ท่านไม่มีสิทธ์ิ” ว่าแล้วก็พยายามแทรกเข้ามาหลบในเงาของลา เมือ่ ไมม่ ีใครยอมใครจึงเกดิ การทะเลาะชกตอ่ ยกันขนึ้ ในระหว่างน้ันเองลาเกิดตกใจ มันจึงวิ่ง หนีหายไป ในทส่ี ุดชายท้งั สองก็เลยตอ้ งเดนิ ตากแดดไปตลอดทาง เรอ่ื งนี้สอนให้รวู้ า่ เม่อื ไรซ้ ง่ึ ความสามัคคี ประโยชนอ์ นั พงึ มีก็หายไป ประเด็นการวเิ คราะหค์ ุณธรรมทไ่ี ด้ 147 1ค. ู่มคอื วสาง่ มเสพรอิมเแพลยีะพงัฒนากจิ กรรมลกู เสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื ตรี ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 2. ซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ 3. ความรบั ผิดชอบ 4. กตญั ํู 5. อุดมการณ์ คุณธรรม คู่มือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลักสตู รลกู เสอื ตรี 141 ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4