ประเดน็ การวเิ คราะห์คณุ ธรรมทไี่ ด้ 1. ความรบั ผดิ ชอบ 2. กตญั ํู 3. อุดมการณ์ คุณธรรม ใบความรู้ พระราชประวตั ขิ องพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยู่หัว พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจา้ อยูห่ ัวและสมเด็จพระศรพี ัชรนิ ทราบรมราชนิ นี ารถ )สมเดจ็ พระนางเจา้ เสาวภาผอ่ งศร(ี ทรงพระราช สมภพ เมือ่ วันเสาร์ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2434 ได้รับพระราชทานนามว่า \"สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้า ฟ้ามหาวชริ าวุธฯ\" เมอื่ ทรงพระเยาวไ์ ด้ศึกษาวิชาหนังสือไทยกับพระยาศรีสุนทรโวหาร พระชนมายุ ได้ 13 พรรษา ได้เสด็จไปทรงศึกษา ณ ประเทศอังกฤษ ในสาขาประวัติศาสตร์ รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ กฎหมาย วรรณคดี ที่มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด และวิชาทหารบก ที่โรงเรียนนายร้อย แซนด์เฮสิ ต์ หลังทรงจบการศึกษา ไดเ้ สดจ็ นวิ ัตกิ ลับประเทศไทยใน พ.ศ. 2453 และทรงเข้ารับราชการ ทันที พระองคเ์ สดจ็ เถลิงถวลั ยราชสมบตั ิต่อจากสมเด็จพระบรมชนกนาถเม่ือวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 ขณะนนั้ มพี ระชนมายุได้ 31 พรรษา ตลอดรัชสมัยของพระองค์ได้ทรงประกอบพระราช กรณีย กิจทํานุบํารุงประเทศชาติในด้านการปกครองการทหารการศึกษาการสาธารณสุขการคมนาคมการ ศาสนาโดยเฉพาะทางวรรณคดีทรงพระราชนิพนธ์ทั้งร้อยแก้วร้อยกรองประมาณ 200 เรื่องด้วยพระ ปรชี าสามารถของพระองคป์ ระชาชนจงึ ถวายพระสมญาแดพ่ ระองค์ว่า \"พระมหาธีรราชเจ้า\" ทรงอยใู่ น ราชสมบตั ิเพยี ง 16 ปี เสด็จสวรรคตเม่อื วันท่ี 26 พฤศจิกายน พ.ศ.2468 พระชนมายไุ ด้ 46 พรรษาแต่ เนื่องด้วยพระราชกรณียกจิ ของพระองคท์ ําใหเ้ กิดคณุ ประโยชน์แกบ่ ้านเมืองอย่างใหญ่หลวงรัฐบาลกับ ประชาชนจงึ ร่วมใจกนั สรา้ งพระบรมรูปของพระองคป์ ระดิษฐานไว้ทีส่ วนลมุ พนิ ีและคณะลกู เสือแหง่ ชาติ ร่วมด้วยคณะลูกเสือทั่วราชอาณาจักรได้สร้างพระบรมรูปของพระองค์ประดิษฐานไว้หน้าค่ายลูกเสือ วชริ าวุธอําเภอศรรี าชาจงั หวดั ชลบุรี พระราชกรณยี กจิ ทส่ี ําคัญ ถึงแมว้ า่ พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าฯจะทรงครองราชย์ไม่นาน แต่ก็ทรงประกอบพระราช กรณียกจิ อนั เปน็ คุณประโยชน์อเนกประการ ซึ่งแบง่ ออกได้ดังน้ี 1. ด้านการปกครอง ได้ทรงตั้งสภาเผยแพร่พาณิชย์ )คือกระทรวงพาณิชย์ในปัจจุบัน( ต้ัง กรมศิลปากร ปรับปรุงกระทรวงโยธาธิการเป็นกระทรวงคมนาคม ตราพระราชบัญญัตินามสกุล ทรง ประดิษฐ์ธงไตรรงค์ ตัง้ กองลูกเสือปาู และกองลูกเสอื 42 ค่มูคู่มืออื สสง่ ง่ เเสสรมิ แแลละะพพฒั ัฒนนากาิจกกจิ รกรรมรลมกู เลสกู อื เทสักอื ษทะกัชวีษติ ะใชนีวสิตถาในศสกึ ถษาานปศรกึ ะษเภาทลลูกกู เสเสือือสตามรัญี ชหัน้ ลปักรสะตู ถรมลกูศเกึสอืษตารปี ีที่ 4 49 ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4
2. ด้านการทหาร ได้ทรงตั้งสภาปฺองกันราชอาณาจักร กระทรวงทหารเรือ ตั้งกองบิน กองทัพบก )ได้พัฒนาจนกลายมาเป็นกองทัพอากาศในปัจจุบัน( สร้างเรือรบและจัดหายุทโธปกรณ์ อันทันสมัยมาใช้ 3. ด้านการศึกษา ไดท้ รงปรับปรงุ โรงเรยี นขา้ ราชการพลเรอื นจนเจริญก้าวหนา้ เปน็ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัยในปัจจบุ นั โปรดใหต้ ั้งกรมมหาวิทยาลยั เพ่ือจดั การศึกษาขน้ั อุดมศกึ ษา ตัง้ โรงเรียนเพาะช่าง โรงเรียนพาณิชยการ โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรม ตราพระราชบัญญัติประถมศึกษา พระราชบัญญัติ โรงเรียนราษฎร์ 4. ด้านการสาธารณสุข โปรดให้ตั้งโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ตั้งสถานเสาวภา ต้ังกรม สาธารณสขุ เปิดการประปา 5. ด้านการคมนาคม โปรดให้ตั้งกรมรถไฟหลวง เปิดสถานีวิทยุโทรเลขเปิดการรับส่ง จดหมายทางอากาศ 6. ด้านการศาล ทรงจัดวางระเบียบบริหารราชการกระทรวงยุติธรรม ประกาศใช้ประมวล กฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ 7. ด้านการต่างประเทศ ทรงนําประเทศไทยเข้าสู่สงครามโลกคร้ังที่ 1 ร่วมกับฝูาย สัมพันธมิตรโดยส่งทหารไทยไปสู้รบเคียงบ่าเคียงไหล่กับทหารของชาติมหาอํานาจหลังจาก สงครามโลกยุติลงสัมพันธมิตรเป็นฝาู ยชนะประเทศไทยจงึ มเี กยี รติภูมติ ามไปด้วยพระองคท์ รงเห็นเปน็ จงั หวะดี จึงไดข้ อเจรจาแก้ไขสนธสิ ญั ญาซง่ึ เราเป็นฝูายเสียเปรียบมาก ท่ีชาติตะวันตก 10 ชาติ ได้เคย ทําไว้กับประเทศสยาม )ประเทศไทย( ที่สําคัญ ได้แก่ เรื่องการพิจารณาคดีคนต่างชาติท่ีมาทําผิดใน เมืองไทย เรื่องการจัดเก็บภาษีศุลกากร การเจรจาได้ใช้เวลาหลายปี แต่ในท่ีสุดก็สําเร็จได้ด้วยความ ยากเย็น 8. ด้านการวรรณคดี ทรงมพี ระทัยฝกั ใฝทู างอักษรศาสตร์มาก ได้ทรงพระราชนิพนธ์หนังสือ บทความ บทกวี บทละคร เร่อื งสน้ั ท้ังรอ้ ยแก้วและรอ้ ยกรอง เป็นจํานวนประมาณ 200 เรื่อง ด้วยพระ ปรีชาสามารถดา้ นนี้ ประชาชนจึงถวายสมญานามแด่พระองคว์ ่า \"สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า\" การกําเนิดลูกเสือไทย ยคุ กอ่ ตง้ั )พ.ศ. 2454-2468( รวม 14 ปี ในรัชกาลท่ี 6 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 ทรงสถาปนาการเสือปูา 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 ทรงสถาปนาลูกเสือไทย โดยตราข้อบังคับลักษณะการปกครอง ลกู เสอื และตง้ั สภากรรมการกลางจัดการลูกเสือแห่งชาติข้ึน โดยพระองค์ทรงดํารงตําแหน่งสภานายก หลังจากนน้ั พระมหากษตั รยิ อ์ งคต์ ่อ ๆ มา ทรงเป็นสภานายกสภาลูกเสอื แหง่ ชาติตลอดมาจนถงึ ปี พ.ศ. 2490 ในยุคนีม้ ีเหตุการณส์ าํ คญั ๆ เชน่ พ.ศ.2454 ตง้ั ลกู เสือกองแรกท่โี รงเรยี นมหาดเลก็ หลวง )คอื โรงเรียนวชิราวธุ ปจั จุบัน( เป็นกองลูกเสอื ในพระองค์ เรียกว่ากองลกู เสอื กรงุ เทพฯที่ 1 พ.ศ.2458 พระราชทานเหรยี ญราชนยิ มให้แกล่ กู เสอื โท ฝาฺ ย บญุ เล้ยี ง 50 คมู่ ือสง่คเ่มู สอื รสิม่งแเสลระิมพแฒัละนพาัฒกนิจากกรจิ รกมรรลมกู ลเกู สเือสอืททักักษษะะชชีวีวติิตใในนสสถถาานนศศกึ ษึกาษปาระลเกูภเทสลอื กู ตเสรอื ี สชาน้ั มปัญรหะถลกัมสศตู ึกรษลกูาเปสทีอื ตี่ 4รี 43 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
พ.ศ.2459 ตงั้ โรงเรียนผู้กาํ กบั ลกู เสือในพระบรมราชูปถมั ภข์ ึน้ ณ สโมสรเสอื ปูา จงั หวัดพระนคร หลกั หสลตู ักรส2ูตเรด2อื นเดเอืปนิดไเดป้ ดิ4ไปดี ้ ก4ล็ ปม้ ีเกล็ลกิ ้มไปเลิกไป พ.ศ. 2463 สง่ ผ้แู ทนลูกเสอื ไทยไปชมุ นมุ ลูกเสอื โลกคร้งั ท่ี 1 ณ กรงุ ลอนดอน โดยมนี ายสวัสดิ์ สมุ ติ ร เปน็ หวั หน้าคณะ พ.ศ. 2465 คณะลกู เสือไทยสมคั รเข้าเป็นสมาชิกของสมชั ชาลกู เสือโลก เปน็ กลมุ่ แรกมีประเปทรศะเทศ ต่างๆ รวม 3ร1วมปร3ะ1เทปศรแะเลทะศถแอื ลวาะ่ เถปือ็นวสา่ มเปาน็ชกสิ ผมรู้าเิชรกิม่ ผจดรู้ั ิเตรงั่ิม้ คจณัดตะล้งั กูคเณสอืะลโลูกกเสือโลก พ.ศ. 2467 ส่งผแู้ ทนไปรว่ มการชมุ นมุ ลกู เสือโลกครง้ั ที่ 2โดยพระยาภรตราชา เปน็ หวั หนา้ คณะ พ.ศ. 2468 การลูกเสอื ไทยสูญเสยี พระผู้พระราชทานกําเนดิ ลกู เสอื ไทย รัชกาลท่ี6 บทพระราชนพิ นธ์ ของ พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หัวทเ่ี ก่ียวกับลูกเสอื “ใครมาเป็นเจา้ เขา้ ครอง คงต้องบงั คบั ขบั ไส เค่ยี วเข็ญเยน็ คาํ่ กราํ ไป ตามวิสัยเชิงเช่นผเู้ ปน็ นาย เขาจะเหน็ แก่หนา้ คา่ ช่ือ จะนับถือพงศ์พนั ธุ์น้ันอยา่ หมาย ไหนจะตอ้ งเหน่ือยยากลาํ บากกาย ไหนจะอายทัว่ ท้ังโลกา” “ข้าไม่ตอ้ งการตาํ ราเรยี นทเ่ี ดนิ ได้ ท่ีขา้ อยากได้น้นั คือเยาวชนท่ีเป็นสุภาพบุรุษ ซ่ือสัตย์ สุจริตมี อปุ นิสยั ใจคอดี” “ลูกเสอื บใ่ ช่ เสอื สตั ว์ไพร เรายมื ช่ือมาใช้ ด้วยใจกล้าหาญปานกนั ใจกล้า มิใชก่ ลา้ อาธรรม์ เชน่ เสอื อรญั สญั ชาตชิ นคนพาล ใจกล้าตอ้ งกลา้ อย่างทหาร กล้ากอร์ปกิจการแหง่ ชาติประเทศเขตตน” แบบส่ังสอนเสือปูาและลูกเสือ เป็นบทพระราชนิพนธ์ที่ถือว่าเป็นหัวใจสําคัญของเสือปูาและ ลกู เสือเป็นตําหรับทองของลูกเสือเพ่ือใชใ้ นการฝกึ อบรมในยคุ นนั้ ซ่งึ ประกอบด้วยบทตา่ งๆ ดงั น้ี - บทท่ี 1 การสบื ขา่ วและการเดินทาง - บทท่ี 2 อาณตั สิ ัญญาณ - บทที่ 3 การชา่ งและความร้เู บ็ดเตล็ด - บทท่ี 4 การตัง้ คา่ ยและท่พี กั แรม - บทท่ี 5 การอยคู่ ่ายและทพ่ี ักแรม )ต่อ( - บทท่ี 6 ยามและด่าน - บทที่ 7 การพิจารณาสงั เกตและจาํ - บทท่ี 8 การสะกดรอย - บทท่ี 9 การสนั นษิ ฐาน - บทที่ 10 การแฝงกายและเกลอ่ื นรอย 44 คู่มคมู่ืออื สส่งง่ เเสสริมแแลละะพพฒั ัฒนนากาิจกกิจรกรรมรลมูกเลสูกอื เทสกั ือษทะกัชวีษิตะใชนีวสติ ถาในศสกึ ถษาานปศรึกะษเภาทลลกู กู เสเสอื ือสตามรญั ี ชหั้นลปกั รสะตู ถรมลกูศเึกสอืษตารปี ีที่ 4 51 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4
- บทท่ี 11 รายงานและแจ้งเหตุ - บทที่ 12 กําบัง - บทที่ 13 ตั้งรบั - บทที่ 14 ปฺองกนั ตวั - บทท่ี 15 จบั ผู้ร้าย - บทท่ี 16 ช่วยชวี ติ และกนั ภยั - บทที่ 17 ปัจจุบันพยาบาล - บทท่ี 18 ปจั จบุ ันพยาบาล )ตอ่ ( 52 คู่มอื ส่งคเมู่ สอื รสิม่งแเสลระมิ พแฒัละนพาฒั กนิจากกรจิ รกมรรลมูกลเูกสเือสอืททกั ักษษะะชชวี ีวิติตใในนสสถถาานนศศกึ ษึกาษปาระลเกูภเทสลือูกตเสรือี สชาน้ั มปัญรหะถลกัมสศูตกึ รษลูกาเปสีทอื ต่ี 4รี 45 ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4
แผนการจัดกิจกรรมลกู เสอื หลกั สตู รลูกเสือสามญั (ลูกเสอื ตร)ี ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 หนว่ ยท่ี 3 ความรู้เกย่ี วกับขบวนการลูกเสือ แผนการจัดกิจกรรมท่ี 6 ววิววิ ฒั ฒั นนาการขขอองงขขบบววนนกการาลรูกลเกูสเอื สไือทไยทแยละแลลูกะเลสกูอื โเลสกือโลก เวลา 1 ชวั่ โมง 1. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ลูกเสอื สามารถเลา่ ววิ ัฒนาการของขบวนการลกู เสอื ไทยและลูกเสอื โลกพอสังเขปได้ 2. เนื้อหา ววิ ัฒนาการของขบวนการลูกเสอื ไทยและลกู เสอื โลก 3. สอ่ื การเรยี นรู้ 3.1 แผนภมู ิเพลง 3.2 เกม 3.2 ใบความรู้ 3.3 เรอ่ื งส้นั ท่ีเป็นประโยชน์ 4. กิจกรรม 4.1 พธิ ีเปดิ ประชมุ กอง )ชักธงขึน้ สวดมนต์ สงบนง่ิ ตรวจ แยก( 4.2 เพลง หรอื เกม 4.3 กจิ กรรมตามจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1( ผู้กาํ กับลกู เสอื นาํ สนทนาถึงการกําเนิดลกู เสอื ไทยและลกู เสอื โลก 2( ผู้กํากับลูกเสือให้ลูกเสือแต่ละหมู่ได้ศึกษาเรื่องวิวัฒนาการของขบวนการลูกเสือไทย และลกู เสอื โลกจากใบความรู้ และสรปุ เป็นแผนผังความคิด 3( ผู้กํากับลูกเสือและลูกเสือช่วยกันอภิปรายถึงความสัมพันธ์ระหว่างลูกเสือไทยและ ลูกเสือโลก 4( ผู้กํากับลูกเสือและลูกเสือช่วยกันสรุปความเข้าใจเก่ียวกับวิวัฒนาการของขบวนการ ลูกเสือไทยและลูกเสือโลก 4.4 ผกู้ าํ กับลกู เสอื เลา่ เรอ่ื งสั้นท่ีเป็นประโยชน์ 4.5 พิธปี ดิ ประชุมกอง )นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชักธงลง เลกิ ( 5. การประเมินผล 5.1 สังเกตความร่วมมอื ในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 5.2 ตรวจสอบแผนผังความคดิ เร่อื งวิวฒั นาการของขบวนการลูกเสอื ไทยและลูกเสอื โลก 46 คู่มคู่มอื ือสส่ง่งเเสสริมแแลละะพพฒั ฒั นนากาจิกกิจรกรรมรลมูกเลสกู ือเทสักอื ษทะกัชวีษิตะใชนีวสติ ถาในศสกึ ถษาานปศรึกะษเภาทลลูกกู เสเสอื อืสตามรัญี ชห้นั ลปักรสะูตถรมลกูศเึกสือษตารปี ีที่ 4 53 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4
ภาคผนวกประกอบแผนการจัดการจัดกิจกรรมท่ี 6 เพลง ลกู เสอื อบรม ทาํ นองเพลงสีนวล เสยี งเพลงครืน้ เครงในอารมณ์ เม่ือมาอบรมลกู เสอื เปรมปรดี ิ์ สขุ ฤทยั สมใจเหลือที ดว้ ยบารมธี ีรราชเจา้ ไทย ท่านคงดลฤดีเราให้ สขุ ใจทไ่ี ดเ้ หน็ ฝกึ อบรมรบั ความรม่ เย็น ลว้ นแตเ่ ป็นผ้มู ีนํ้าใจ ลกู เสอื กา้ วหนา้ พฒั นาชาตไิ ทย พร้อมเพรียงกายใจ ลกู เสอื ไทยรุง่ เรอื ง เกม เกม “สวัสดี” วธิ ีที่ 1 แบง่ ลูกเสือออกเป็นหมู่ๆ ละเท่าๆ กัน ให้ลูกเสือแต่ละหมู่ยืนเป็นแถวตอนลึก หันหน้า ไปทางผู้กาํ กบั เมื่อเรม่ิ เล่นให้คนท่ี 1 ของแตล่ ะหมู่กลบั หลงั หัน พบกับคนท่ี 2 แล้วกล่าวคําว่า “สวัสดี” ทาํ ความเคารพและจับมือกัน คนที่ 2 เมื่อทํากับคนที่ 1 แล้ว ก็กลับหลังหันมาพบกับคนที่ 3 แล้ว กล่าวคําว่า “สวัสดี” ทําความเคารพและจับมอื กัน ทาํ ไปเช่นน้จี นหมดแถวหม่ใู ดเสร็จกอ่ นหม่นู ้นั ชนะ วิธีท่ี 2 ให้ลูกเสือเข้าแถวเป็นวงกลม หันหน้าเข้าศูนย์กลางทุกคน ให้ลูกเสือคนหน่ึงเป็นคน เริ่มต้นว่ิงรอบวงกลมด้านนอกไปแตะหลังผู้ท่ียืนเป็นวงกลมคนใดคนหน่ึง คนท่ีถูกแตะต้องออกวิ่งสวน ทิศทางกับคนแรก เม่ือว่ิงไปพบกันที่ใดให้ทําวันทยหัตถ์และจับมือเขย่าพร้อมกับกล่าวคําว่า “สวัสดี” ดงั ๆ แลว้ ปล่อยมอื ชงิ กนั วิง่ เขา้ ทีผ่ ใู้ ดเขา้ ท่ไี มไ่ ดเ้ ป็นผู้เรมิ่ ตน้ ใหม่ เร่ืองสัน้ ทีเ่ ป็นประโยชน์ การฆาตกรรมทีเ่ อลสตัน ขณะท่ี โรเบิรต์ ไฮนด์มาร์ช เด็กเล้ียงแลกะกําลังเดินทางกลับบ้าน ได้สังเกตเห็นชายผู้หนึ่งกําลัง น่ังแยกเท้าและกินอาหารอยู่บนพ้ืนดิน เขาได้สังเกตรูปร่างและชายผู้นั้น โดยเฉพาะตะปูท่ีมีลักษณะ พิเศษบนพื้นรองเท้า โดยท่ีชายผู้นั้นไม่รู้สึกตัว เม่ือเขาจะถึงบ้านได้เห็นคนมุงดูศพของนางมาร์กาเรต โครเธียร์ หญิงชราตายอยู่หน้ากระท่อม เขาสังเกตเห็นรอยเท้าที่มีลักษณะพิเศษในสวนเล็กๆ ข้าง กระท่อมหญิงชรา ซ่ึงเหมือนกับลักษณะตะปูที่รองเท้าของชายท่ีเขาพบ จึงมั่นใจว่าชายคนน้ันต้องเป็น คนร้าย จึงตัดสนิ ใจแจง้ ตํารวจ หลงั จากชายคนนน้ั ไดถ้ ูกนาํ ตวั ขน้ึ ศาล สอบสวนดแู ลว้ วา่ ได้ทําความผิดจริง จึงได้ถูกแขวนคอ ทีเ่ มอื งนวิ คัสเซลิ ปรากฏวา่ คนร้ายชื่อ วิลล่ี วนิ เตอร์ เป็นชาวยิปซี จากเร่อื งนพ้ี อสรุปไดว้ ่า 1. เด็กเลย้ี งแกะสามารถใชว้ ชิ าความรู้ทางลูกเสอื ด้วยการพจิ ารณา สงั เกต และจํา จงึ ทําให้ เขาไดช้ ่วยเหลือเจา้ หนา้ ท่ีจับผกู้ ระทาํ ผดิ มาลงโทษ 54 คู่มือส่งคเูม่ สือรสิมง่ แเสลระมิ พแัฒละนพาฒั กนจิ ากกรจิ รกมรรลมกู ลเูกสเือสอืททักักษษะะชชวี ีวติติ ใในนสสถถาานนศศึกษกึ าษปาระลเกูภเทสลอื ูกตเสรือี สชาน้ั มปญั รหะถลกัมสศตู ึกรษลูกาเปสีทอื ตี่ 4รี 47 ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4
2. การเปน็ ผตู้ ัดสินใจไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง คอื นาํ ตํารวจไปจบั คนร้ายได้ โดยไม่หวั่น ภัยอันตรายท่ี จะมาถึงตัว เปน็ การกระทําที่น่าสรรเสรญิ เรอื่ งน้สี อนให้ร้วู ่า การเป็นคนชา่ งสงั เกตจดจาํ ยอ่ มนาํ มาใช้ประโยชนใ์ นภายหนา้ ได้ ประเดน็ การวิเคราะหค์ ณุ ธรรมทไ่ี ด้ 1. ความรับผิดชอบ 2. กตัญํู 3. อุดมการณ์ คุณธรรม ใบความรู้ ววิ ฒั นาการลกู เสือโลก วิวัฒนาการลกู เสือโลก ลอรด์ เบเดน โพเอลล์ )บี.พี.( เปน็ ผูก้ อ่ ตั้งกิจการลูกเสอื ของโลกเป็นคร้ังแรก และไดร้ บั คัดเลอื ก เป็นประธานคณะลูกเสอื ทวั่ โลก เมอ่ื พ.ศ.2461 สาเหตทุ ี่ บี.พี.คิดต้ังกองลกู เสอื ข้นึ เมอื่ พ.ศ.2442 บ.ี พี.ถูกส่งไปรักษาเมืองมาฟอีคิง เมืองข้ึน ของอังกฤษในแอฟรกิ าใต้ เน่ืองจากสงครามบวั ร์ เมืองมาฟอีคิงถูกล้อมนานถึง 213 วัน ในระหว่างน้ี บ.ี พ.ี ไพดี.ไ้จดดั ้จกัดอกงอทงหทาหราเรดเ็กดซ็ก่ึงซมึ่งมอี าอี ยายุตุตงั้ แงั้ แตต่ ่99 ปปีขีข้นึ ึ้นไไปป มมเี ด็กหนุ่มุ่ เป็น็ ผู้บงั คบั บญั ชา มีเี คครรื่อ่อื งงแแบบบบแแลละะไไดด้ร้รับบั การอบรมในการสอื่ สารกบั รฐั มนตรี กระทรวงกลาโหมของอังกฤษ เด็กเหล่านี้มีความสามารถและกล้า หาญมาก เขาได้รบั เหรยี ญกลา้ หาญในสงครามครั้งน้ีดว้ ย พ.ศ. 2447 - ได้เขยี นโครงการอบรมเด็ก ซึง่ มหี ลักการคลา้ ยลูกเสอื ใหเ้ ซอร์ วลิ เลยี ม สมธิ นาํ ไป ทดลอง ตงั้ สมาคมเดก็ ขน้ึ ในสกอตแลนด์ พ.ศ. 2450 - บ.ี พี.ถูกปลดเป็นทหารกองหนนุ หลังจากนนั้ ทา่ นไดน้ ําเดก็ 20 คน ไปอยคู่ า่ ยพักแรมที่ เกาะบราวนซ์ ี ซงึ่ อยูท่ างตอนใตข้ ององั กฤษเปน็ เวลา 9 คืน และไดป้ ระสบผลสาํ เร็จ ตามความมุง่ หมาย คือ )1( การจดั แบ่งเดก็ เปน็ หมู่ ๆ ละ 5 คน มีนายหมู่รบั ผิดชอบในเรอ่ื งความประพฤติ และ การปฏิบตั ใิ นหมขู่ องตน ปรากฏไดผ้ ลดมี ากในทางปฏบิ ัติ เดก็ รูจ้ กั หนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ แสดงใหเ้ หน็ วา่ ระบบหมู่เป็นวธิ ีการทีถ่ กู ตอ้ งในการอบรมเด็ก )2( เด็กทกุ คนไมว่ า่ จะมาจากครอบครวั มฐี านะใด ตา่ งชอบการอยูค่ ่ายพกั แรม และ กิจกรรมกลางแจ้ง )3( วิธที ่ีได้ผลที่สดุ ในการศกึ ษาวชิ าลกู เสือ คอื กรปฏิบัตจิ ริงและโดยการเล่นเกม พ.ศ. 2451 - แตง่ ตําราชแี้ จงวตั ถปุ ระสงค์ สาระสาํ คญั คาํ ปฏญิ าณ และกฎ คติ รหัส การแสดง ความเคารพ การจบั มอื เครือ่ งแบบ แนวการฝึกอบรมลูกเสือ 48 คมู่คู่มือือสสง่ ง่ เเสสริมแแลละะพพัฒัฒนนากาิจกกจิ รกรรมรลมกู เลสูกือเทสกั อื ษทะกัชีวษิตะใชนวี สิตถาในศสึกถษาานปศรกึ ะษเภาทลลกู กู เสเสืออืสตามรญั ี ชห้นั ลปักรสะูตถรมลูกศเึกสอืษตารปี ที ี่ 4 55 ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4
- มกี ารชุมนมุ ต้ังลกู เสอื องั กฤษครั้งแรกทค่ี รสิ ตลั แพพาเลช ) Crystal Palace ( ใน กรุงลอนดอน ในวันท่ี 4 กันยายน พ.ศ. 2452 - ตง้ั สํานกั งานลูกเสือ และในวนั ที1่ 0 ธันวาคม พ.ศ.2452 จดั ต้งั กรรมการบรหิ าร ลูกเสอื ชดุ แรก โดยมี บ.ี พี.เป็นประธานกรรมการ - บ.ี พ.ี ได้รบั พระราชทานบรรดาศักดิเ์ ป็นช้ันเซอร์ ) Sir ( เรียกช่อื เต็มวา่ เซอร์โรเบิรต์ เบเดน โพเอลล์ พ.ศ. 2453 - มกี ารจัดตง้ั ลูกเสอื หญิง ) Girl Guide ( โดยมี แอกนสิ นอ้ งสาวของ บ.ี พี.เป็นหัวหนา้ พ.ศ. 2454 - ต้ังกองลูกเสอื สมทุ ร พ.ศ. 2455 - บี.พ.ี เดินทางรอบโลก เยยี่ มการลกู เสอื ในประเทศตา่ ง ๆ - บี.พี.สมรสกบั มีสโอลาฟ เซนตแ์ คลร์ โซมส์ เมอ่ื 30 ตลุ าคม พ.ศ. 2455 พ.ศ. 2457 - เกดิ สงครามโลกคร้ังแรก บ.ี พี.มอบลกู เสือใหท้ าํ หนา้ ทช่ี ่วยทหาร เช่น รกั ษาสะพาน และสายโทรศพั ท์ ทาํ หนา้ ท่ีผู้สอื่ ขา่ ว ช่วยงานในโรงพยาบาล พ.ศ. 2459 - ตงั้ กองลกู เสอื สาํ รอง พ.ศ. 2460 - เลดี้ เบเดน โพเอลล์ ไดร้ ับเลอื กใหเ้ ปน็ ประมขุ ของกองลูกเสอื หญงิ พ.ศ. 2461 - ตั้งกองลูกเสอื วิสามญั หรือ Rover Scout ขึ้น พ.ศ. 2462 - ตง้ั กิลเวลลป์ าร์ค และเรมิ่ ดาํ เนนิ การอบรมวชิ าผูก้ ํากบั ลูกเสอื ขัน้ วูดแบดจ์ พ.ศ. 2463 - ชุมนมุ ลกู เสอื โลกครง้ั แรกที่โอลิมเปีย ในกรุงลอนดอน ทา่ นได้รับการสถาปนา เปน็ ประมขุ ของลกู เสอื โลก ) Chief Scout of the World ( - ทป่ี ระชมุ มมี ตใิ หม้ กี ารประชุมสมัชชาลกู เสอื โลกทุก 2 ปี และจดั ต้งั สาํ นกั งานลกู เสือ นานาชาตขิ นึ้ ทกี่ รงุ ลอนดอน พ.ศ. 2465 - เขียนหนงั สอื ) Rover to Succes ( ซง่ึ เป็นคมู่ ือสาํ หรบั ลกู เสอื วสิ ามญั พ.ศ. 2467 - มกี ารชุมนมุ ลกู เสือโลกครัง้ ท่ี 2 ณ เมืองเออเมลนั เดน ) Ermelunden ( ในประเทศเดนมารก์ พ.ศ. 2469 - ตง้ั กองลูกเสือพกิ าร พ.ศ. 2472 - มีการชุมนมุ ลกู เสอื โลกครัง้ ที่ 3 ณ อารโ์ รวป์ าร์ค เมอื งเบอร์เดนแฮค ในประเทศองั กฤษ - พระเจ้ายอรช์ ท่ี 5 พระราชทานบรรดาศกั ดชิ์ นั้ บารอน เรียกชอื่ เตม็ ว่าลอรด์ เบเดน โพเอลล์ แหง่ กิลเวลล์ พ.ศ. 2476 - มีการชุมนมุ ลกู เสอื โลกครั้งท่ี 4 ณ เมืองเกอะเดอะเลอะ ประเทศฮงั การี พ.ศ. 2480 - บ.ี พี.อายุ 80 ปี พระเจ้ายอร์ชท่ี 6 พระราชทานเครื่องราชอิสรยิ าภรณ์ พ.ศ. 2481 - บี.พ.ี ไปอยทู่ ีเ่ มืองไนเยอรี ประเทศเคนยา พ.ศ.2484 - บี.พี.ถึงแกอ่ นจิ กรรม เม่อื อายุได้ 84 ปี ณ บ้านพกั เมอื งไนเยอรี เมอ่ื 8 มกราคม พ.ศ. 2484 56 คู่มือสง่คเ่มู สือรสิมง่ แเสลระิมพแฒัละนพาัฒกนิจากกรจิ รกมรรลมูกลเูกสเอืสือททักกั ษษะะชชีววี ติติ ใในนสสถถาานนศศกึ ษกึ าษปาระลเกูภเทสลอื ูกตเสรือี สชา้ันมปญั รหะถลกัมสศตู กึ รษลูกาเปสีทือตี่ 4รี 49 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4
คําวา่ SCOUT มาจาก S ย่อมาจาก SINCERITY แปลว่า ความจริงใจ C ย่อมาจาก COURTESY แปลวา่ ความสภุ าพอ่อนโยน O ยอ่ มาจาก OBEDIENCE แปลว่า การเชื่อฟัง U ย่อมาจาก UNITY แปลว่า ความเป็นใจเดียวกนั T ย่อมาจาก THRIFTY แปลว่า ความมธั ยัสถ์ องค์การลูกเสือโลก เกิดขึ้นท่ีอังกฤษเมื่อปี พ.ศ. 2451 โดยอาศัยความคิดเห็นและหนังสือ \" การลูกเสอื สําหรบั เด็กชาย \" 1. สมัชชาลกู เสือโลก สมชั ชาลกู เสอื โลก คือ ทป่ี ระชมุ ของผู้แทนคณะลูกเสือต่าง ๆ ปัจจุบันมีสมาชกิ อยู่ 119 ประเทศ เป็นผแู้ ทนลูกเสือประมาณ 16 ล้านคน ประเทศสมาชิกส่งผู้แทนเข้าร่วมประชุมได้ประเทศละ 6 คน เงื่อนไข การเข้าประชมุ คือ การยอมรบั และปฏิบัติตามจุดหมาย และหลักการลกู เสือโลกอย่างอิสระ และไม่เก่ียวกับ การเมอื ง สมัชชาลูกเสือโลก ประชุมกันทุก 3 ปี ในประเทศใดประเทศหนึ่งตามมติของท่ีประชุม สมชั ชาลูกเสือโลก 2. คณะกรรมการลูกเสอื โลก คณะกรรมการลกู เสอื โลก ประกอบด้วยบคุ คล 12 คน จากสมาชกิ 12 ประเทศ เลือกตั้งโดย ท่ีประชุมสมัชชาลูกเสือโลก กรรมการลูกเสือโลกอยู่ในตําแหน่งคราวละ 6 ปี และเลือกต้ังกันเองเป็น ประธานและรองประธานในการประชมุ สมชั ชาลกู เสอื โลกทกุ ๆ 3 ปี จะมีกรรมการพ้นจากตําแหน่ง 4 คน และจะเลอื กต้งั กรรมการลกู เสอื เข้าแทนทีโ่ ดยวิธีลงคะแนนนับจากท่ีประชุมใหญ่ ซึ่งมีผู้แทนมาจาก 19 ประเทศ โดยปกตคิ ณะกรรมการลูกเสอื โลกจะมกี ารประชมุ อย่างน้อยปีละครั้ง ณ เมืองเจนีวา ประเทศ สวิตเซอรแ์ ลนด์ 3. สํานกั งานลูกเสือโลก สํานักงานลูกเสือโลก ทําหน้าที่เป็นสํานักงานเลขาธิการการปฏิบัติตามคําส่ังหรือมติของ สมัชชาลกู เสือโลกและคณะกรรมการลกู เสอื โลก มเี ลขาธิการเปน็ หัวหน้าสํานักงานและมีเจ้าหน้าท่ีอีก 40 คนเปน็ ผชู้ ว่ ย พ.ศ. 2463 - ตั้งขนึ้ เป็นครั้งแรกท่ีกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ พ.ศ. 2501 - ย้ายไปอย่ทู ีก่ รุงออตตาวา ประเทศแคนาดา พ.ศ. 2504 - การประชุมสมัชชาคร้ังท่ี 18 ณ กรุงลิสบอน ประเทศโปรตเุ กส พ.ศ. 2511 - ยา้ ยไปอยู่เมอื เจนีวา ประเทศสวิตเซอรแ์ ลนดจ์ นถงึ ปัจจบุ นั นอกจากนยี้ งั มีสาํ นักงานอกี 5 เขต คอื 1. เขตอินเตอร-์ อเมรกิ า ต้งั อยทู่ ่เี มืองซานโฮเซ ประเทศ สวติ เซอรแ์ ลนด์ 2. เขตเอเชีย-แปซฟิ กิ ตัง้ อยูท่ เี่ มอื งมะนิลา ประเทศฟลิ ปิ ปนิ ส์ 50 คู่มค่มูอื อื สส่งง่ เเสสรมิ แแลละะพพฒั ฒั นนากาจิกกิจรกรรมรลมกู เลสกู อื เทสกั ือษทะกัชีวษติ ะใชนีวสติ ถาในศสึกถษาานปศรกึ ะษเภาทลลูกกู เสเสืออืสตามรญั ี ชหนั้ ลปกั รสะูตถรมลูกศเึกสอืษตารปี ที ่ี 4 57 ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4
3. เขตอาหรับ ตัง้ อยทู่ เี่ มืองไคโร ประเทศอียปิ ต์ 4. เขตยโุ รป ตง้ั อยทู่ เ่ี มืองเจนวี า ประเทศสวติ เซอร์แลนด์ 5. เขตแอฟริกา ต้งั อยู่ท่ีเมืองไนโรบี ประเทศเคนยา การประชมุ สมั มนาลูกเสอื เขตเอเชีย-แปซิฟกิ ประชุมครง้ั แรกเม่ือปี พ.ศ. 2501 หลงั จากน้นั ไดม้ ีการประชุมทุก 2 ปี และได้เปลี่ยนเป็นทุก 3 ปี ในปี พ.ศ. 2532 ในปีที่ไม่มีการประชุมสมัชชาลูกเสือโลก ต่อมาในปี พ.ศ. 2513 ได้ เปล่ียนช่ือเป็น \" Asia-Pacific Scout Conference \" ววิ ฒั นาการลูกเสอื ไทย แบง่ ออกเปน็ 5 ยคุ ดงั นี้ 1. ยคุ ก่อตัง้ )พ.ศ. 2454-2468( รวม 14 ปี ในรัชกาลท่ี 6 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 ทรงสถาปนาการเสอื ปูา ทรงสถาปนาลูกเสือไทย โดยตราข้อบังคับลักษณะการปกครองลูกเสือและต้ังสภากรรมการ กลางจัดการลูกเสือแห่งชาติข้ึน โดยพระองค์ทรงดํารงตําแหน่งสภานายก และหลังจากน้ัน พระมหากษตั รยิ อ์ งค์ต่อมา ทรงเปน็ สภานายกสภาลูกเสือแหง่ ชาติตลอดมาจนถงึ ปี พ.ศ. 2490 ในยุคนี้ มีเหตกุ ารณ์สาํ คัญๆ เช่น พ.ศ. 2454 ต้ังลูกเสือกองแรกท่ีโรงเรียนมหาดเล็กหลวง)คือโรงเรียน วชริ าวุธ ปัจจุบัน( เป็นกองลูกเสือในพระองค์ เรยี กว่ากองลกู เสือกรงุ เทพฯท่ี 1 พ.ศ.22445588 - พระราชทานเหรยี ญราชนิยมให้แกล่ กู เสอื โท ฝฺาย บญุ เล้ยี ง พ.ศ. 2459 - ตัง้ โรงเรยี นผ้กู าํ กับลกู เสือในพระบรมราชูปถมั ภข์ ึน้ ณ สโมสรเสอื ปูา จังหวดั พระนครหลกั สูตร 2 เดือน เปดิ ได้ 4 ปี กล็ ม้ พ.ศ. 2463 - ส่งผู้แทนลกู เสอื ไทยไปชมุ นุมลกู เสอื โลกคร้งั ท่ี 1 ณ กรุงลอนดอน โดยมี นายสวสั ดิ์ สมุ ติ ร เป็นหวั หนา้ คณะ พ.ศ. 2465 - คณะลกู เสอื ไทยสมคั รเขา้ เปน็ สมาชกิ ของสมัชชาลกู เสอื โลก เป็นกลมุ่ แรกมี ประเทศตา่ งๆ รวม 31 ประเทศและถือว่าเป็นสมาชกิ ผ้รู เิ ร่มิ จดั ตงั้ คณะลกู เสอื โลก พ.ศ. 2467 - ส่งผแู้ ทนไปรว่ มการชุมนมุ ลกู เสอื โลกครงั้ ที่ 2โดยพระยาภรตราชา เปน็ หวั หนา้ คณะ พ.ศ. 2468 - การลกู เสือไทยสูญเสยี พระผพู้ ระราชทานกําเนิดลูกเสือไทยรัชการที่ 6 2. ยคุ สง่ เสรมิ )พ.ศ.2468-2482( สมัยรัชกาลท่ี 7 จนถงึ สงครามโลกครั้งที่ 2 ยุคนี้แบ่งออกเปน็ 2 ตอนคอื 2.1 กอ่ นเปลย่ี นแปลงการปกครอง รชั กาลท่ี 7 ยงั ทรงเปน็ สภานายกสภากรรมการกลาง จดั การลกู เสอื แหง่ ชาตอิ ยู่ 58 คู่มือส่งคเู่มสอื รสมิ ง่ แเสลระมิ พแฒัละนพาัฒกนจิ ากกรจิ รกมรรลมกู ลเูกสเอืสือททกั กั ษษะะชชวี ีวติิตใในนสสถถาานนศศึกษกึ าษปาระลเกูภเทสลอื ูกตเสรือี สชาน้ั มปัญรหะถลักมสศูตกึ รษลูกาเปสีทอื ตี่ 4รี 51 ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4
พ.ศ. 2470 - มกี ารชมุ นมุ ลูกเสอื แห่งชาติ ครงั้ ท่ี 1 ณ พระราชอุทยานสราญรมย์ กรงุ เทพฯ พ.ศ.22447722 - สง่ ผูแ้ ทนไปรว่ มชมุ นมุ ลกู เสอื โลกคร้งั ที่ 3 ณ ประเทศองั กฤษ พ.ศ.22447733 - มกี ารชมุ นมุ ลูกเสอื แห่งชาตคิ ร้งั ที่ 2 ณ พระรามราชนิเวศน์ จงั หวดั เพชรบรุ ี หลกั สตู ร22เเดดอื อื นนดําเนนิ การได้ 2 ปีก็เลกิ ลม้ เพราะเปลี่ยนการปกครอง 2.2 ภายหลงั การเปลย่ี นแปลงการปกครอง รชั กาลที่ 7 ก่อนสละราชสมบตั ิและรชั กาลที่ 8 จนถงึ สงครามโลกครั้งท่ี 2 )พ.ศ. 2475-2482( พ.ศ. 2476 - ตั้งกรมพลศกึ ษาขนั้ึ ในกระทรวงศึกษาธกิ าร โดยมกี องลูกเสอื อยู่ในกรมพล ศพึกลษศกึาษแาละแสลง่ะผสแู้ง่ ผทแู้นทไนปไรป่วรมว่ ชมมุ ชนมุ มุ นลุมกู ลเกูสเือสโอืลโกลคกรง้ัคทรงั่ี้ 4ท่ีป4รปะเรทะเศทฮศงั ฮกงั ากราี รี โดยมนี ายอภัย จนั ทวิมล เป็นหวั หนา้ คณะ - ประกาศใช้ตราประจาํ คณะลูกเสือแห่งชาติ และกฎลกู เสือ 10 ขอ้ - เปดิ การฝึกอบรมวชิ าผกู้ ํากบั ลูกเสอื ซง่ึ เรียกในทางราชการวา่ การฝกึ อบรม วชิ าพลศึกษา)วา่ ด้วยลูกเสอื ( ประจําปี 2478 เปน็ เวลา 1 เดอื น - ประกาศต้ังการลูกเสอื สมทุ รเสนา พ.ศ. 2479 ประกาศใชห้ ลกั สูตรลูกเสอื เสนา และสมทุ รเสนา - พระราชบัญญตั ธิ ง พ.ศ. 2479 กําหนดลกั ษณะธงประจํากองคณะลูกเสือ แหง่ ชาติ และธงประจาํ กองลกู เสอื พ.ศ. 2482 - พระราชบัญญตั ิ ลกู เสือตั้งสภากรรมการกลางจัดการลูกเสอื แหง่ ชาติ จังหวัดลูกเสือ อาํ เภอลูกเสือ และแบง่ ลูกเสอื ออกเป็น 2 เหลา่ คือ ลกู เสือเสนา และลกู เสอื สมทุ ร เสนา - พระราชบญั ญตั ใิ ห้ทรพั ย์สินกองเสอื ปูาเป็นของคณะลกู เสือแห่งชาติ 3. ยุคประคับประคอง )พ.ศ. 2483-2489( ระยะนก้ี ารลกู เสอื ซบเซาลงมากเน่อื งจากอย่ใู นภาวะ สงคราม พ.ศ. 2488 - สงครามโลกครั้งท่ี 2 ส้นิ สุด การลูกเสอื เร่ิมฟนื้ ฟทู ว่ั โลก - รชั กาลท่ี 8 เสด็จนวิ ัติสพู่ ระนคร และถกู ลอบปลงพระชนม์ 4. ยคุ กา้ วหนา้ )พ.ศ. 2489-2514( เรมิ่ ต้น รัชกาลท่ี 9แบ่งออกเปน็ 2 ระยะคือ 4.1 ระยะเริม่ ก้าวหนา้ (พ.ศ.2489-2503) พ.ศ. 2496 - เรมิ่ ดำ�าํ เนินกาารรสสรรา้ า้ งงคคา่ ่ายยลลกู กู เเสสอื อื ววชชริ ิราาววธุ ธุ ตำ�ําบบลลบบาางงพพรระะออำ� ําเเภภออศศรรี ีราาชชาาจจงั งัหหววดั ดั ชลบุรี พ.ศ. 2497 - มีการชมุ นมุ ลกู เสอื แหง่ ชาตคิ ร้งั ที่ 3 ณ สนามกฬี าแห่งชาติ พ.ศ. 2500 - สง่ ผ้แู ทนจากประเทศไทยไปร่วมชุมนมุ ลูกเสอื โลกครั้งที่ 9 ณ ประเทศองั กฤษ เพอื่ เฉลมิ ฉลองอายคุ รบ 100 ปี ของลอร์ด เบเดน โพเอลล์ พ.ศ. 2501 - เปิดการฝกึ อบรมวชิ าผกู้ าํ กับลูกเสอื สาํ รอง ขน้ั ความรู้เบือ้ งต้นเปน็ ครง้ั แรกใน ประเทศไทยตามหลกั สูตรกลิ เวลลป์ าร์ค 52 คมู่คูม่อื ือสส่งง่ เเสสริมแแลละะพพฒั ัฒนนากาจิกกจิ รกรรมรลมกู เลสูกอื เทสกั อื ษทะกัชวีษติ ะใชนวี สิตถาในศสึกถษาานปศรกึ ะษเภาทลลูกกู เสเสือือสตามรัญี ชหนั้ ลปักรสะูตถรมลูกศเึกสอืษตารปี ที ี่ 4 59 ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4
- จัดต้งั กองลกู เสอื สาํ รองกองแรกข้ึนในประเทศไทย 5 สงิ หาคม 2501 พ.ศ.2503 - เปิดการฝกึ อบรมวิชาผกู้ าํ กับลูกเสอื สาํ รองข้ันวดู แบดจ์ ครั้งท่ี 1 ณ พระตำ�ําหนกัง อา่ งศิลา จังหวัดชลบุรี - สง่ ผ้แู ทนไปรว่ มประชมุ สมชั ชาลกู เสอื โลกคร้ังที่ 2 ณ ประเทศพม่า 4.2 ระยะกา้ วหนา้ (พ.ศ. 2504-2514) พ.ศ. 2504 - มกี ารชุมนมุ ลกู เสอื แหง่ ชาติ คร้ังท่ี 4 ณ สวนลุมพนิ ี พระนคร เพอ่ื เฉลิมฉลองที่ คณะลูกเสือไทยมอี ายคุ รบรอบ 50 ปี - เปดิ การฝกึ อบรมวชิ าผกู้ าํ กบั ลูกเสอื สามญั ขน้ั วดู แบดจร์ ุน่ ท่ี 1 ณ คา่ ยลูกเสอื วชิราวุธ - วางศลิ าฤกษ์ศาลาวชริ าวุธ พ.ศ. 2505 - พลเอกถนอม กิติขจร นายกรัฐมนตรี เปิดคา่ ยลูกเสอื วชริ าวธุ - 1 กรกฎาคม 2505 รชั กาลที่ 9 ทรงประกอบพิธีเปิดประชุมกองศาลาวชริ าวุธ พ.ศ. 2506 - เปดิ การฝึกอบรมผกู้ าํ กับลกู เสือกเสือวสิ ามญั ขน้ั วดู แบดจ์ ร่นุ ท่ี 1 ณ ค่ายลูกเสอื วชริ าวุธ - จัดตั้งกองลกู เสอื วิสามัญ วันท่ี 18 มีนาคม พ.ศ. 2506 พ.ศ. 2507 - ประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั ิลูกเสอื พ.ศ. 2507 - เปดิ การฝกึ อบรมวชิ าผกู้ ํากับลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ขน้ั วดู แบดจ์ ณ คา่ ยลกู เสอื วชริ าวุธ พ.ศ. 2508 - ประชมุ สภาลกู เสอื แหง่ ชาติ ครั้งที่ 1 ณ ศาลาสนั ตธิ รรม กรงุ เทพฯ)ประชมุ ทุกป(ี - จดทะเบยี นลูกเสอื สามัญรุน่ ใหญเ่ หลา่ สมทุ รกองแรก ณ โรงเรียนสัตหีบ - มีการชมุ นมุ ลูกเสอื แห่งชาติ คร้งั ที่ 5 ณ คา่ ยลกู เสอื วชริ าวธุ พ.ศ.2509 - คณะลูกเสอื ไทยบรจิ าคเงนิ สรา้ งพุทธศาลา ณ กิลเวลลป์ ารค์ - จดทะเบียนกองลูกเสอื สามัญรนุ่ ใหญ่กองแรก ณ โรงเรยี นเทพศิรินทร์ พ.ศ. 2511 - กิลเวลล์ปาร์ค ถวายเครอื่ งหมายวูดแบดจ์ กิตติมศักดแิ์ ด่รัชกาลที่ 9 พ.ศ. 2512 - มกี ารชมุ นมุ ลกู เสอื แหง่ ชาติ คร้งั ท่ี 6 ณ คา่ ยลกู เสือวชริ าวธุ พ.ศ.2514 - มกี ารชุมนมุ ลกู เสอื แหง่ ชาติ ครั้งที่ 7 ณ ค่ายลูกเสือวชิราวธุ - เปิดการฝึกอบรมวิชาผู้กาํ กับลูกเสือขั้นผู้ให้ความรู้แห่งชาติ คร้ังท่ี 1 ณ ค่ายลูกเสือวชิราวุธ - ส่งผแู้ ทนคณะลูกเสอื ไทยเข้าไปร่วมงานชุมนมุ ลกู เสือโลก ครง้ั ที่ 13 ณ ประเทศ ญปี่ ูนุ 5. ยคุ ประชาชน ) พ.ศ. 2514-ปัจจบุ นั ( เนื่องจากปี 2514 เปน็ ปีที่มกี ารฝึกอบรมลูกเสอื ชาวบา้ นเปน็ คร้ังแรก พ.ศ. 2516 - รับกิจการลูกเสอื ชาวบ้านเป็นสว่ นหนึง่ ของคณะลูกเสือแห่งชาติ 60 คู่มอื สง่คเูม่ สอื รสิม่งแเสลระมิ พแฒัละนพาัฒกนจิ ากกริจรกมรรลมูกลเกู สเอืสอืททักกั ษษะะชชวี ีวติติ ใในนสสถถาานนศศึกษึกาษปาระลเกูภเทสลือกู ตเสรอื ี สชาน้ั มปัญรหะถลกัมสศูตกึ รษลูกาเปสีทอื ตี่ 4รี 53 ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4
- สง่ ผแู้ ทนคณะลกู เสือไทยเขา้ ไปร่วมงานชมุ นมุ ลกู เสอื โลก คร้ังที่ 13 ณ ประเทศ ญป่ี นุู 5. ยคุ ประชาชน ) พ.ศ. 2514-ปัจจุบัน( เน่ืองจากปี 2514 เปน็ ปีท่ีมีการฝกึ อบรมลูกเสอื ชาวบ้านเปน็ คร้ังแรก พ.ศ. 2516 - รับกจิ การลกู เสอื ชาวบ้านเปน็ สว่ นหนงึ่ ของคณะลกู เสือแหง่ ชาติ - กระทรวงศึกษาธิการมีคาํ สั่งใหน้ ําวชิ าลูกเสอื เข้าอยหู่ ลกั สูตรของโรงเรยี น 60 คูม่ อื ส่งเสริมและพ- ฒัรคัชน่ากยาากลลิจกู ทกเรส่ี 9รอื มวทลชรกู ิรงเสาปอืวรทุธะกักษอะบชพวี ติิธใเี นปสิดถปารนะศชึกมุ ษกาอลงกูกเาสรือชตุมรนี ชุมนั้ ลปูกรเะสถอื มแศหกึ ่งษชาปาตที ิค่ี 4รัง้ ที่8 ณ พ.ศ.2518 - ส่งผ้แู ทนไปรว่ มการชมุ นมุ ลกู เสอื โลกครงั้ ที่ 14 ณ ประเทศเดนมาร์ก - ส่งผู้แทนเข้ารว่ มประชมุ สมัชชาลกู เสอื โลกครง้ั ที่ 14 ณ ประเทศเดนมาร์ก พ.ศ.2519 - มีการอบรมผบู้ ริหารลกู เสอื อาชีพรนุ่ ที่ 1 ณ คา่ ยลูกเสอื วชิราวธุ พ.ศ.2520 - มกี ารชมุ นมุ ลกู เสอื แหง่ ชาตคิ รงั้ ที่ 9 ณ คา่ ยลกู เสือวชิราวธุ พ.ศ.2521 - ได้ประกาศยกเลกิ หลกั สูตรการฝึกอบรมวิชาผกู้ ํากบั ลกู เสือสาํ รองและสามัญ ของ กลิ เวลล์ปาร์คและใช้ของสาํ นักงานลูกเสอื โลก เขตเอเชีย-แปซิฟิก พ.ศ. 2524 - มกี ารชมุ นมุ ลกู เสอื แหง่ ชาตคิ ร้งั ที่ 10 ณ คา่ ยลูกเสือวชิราวธุ เพอ่ื เฉลมิ ฉลองวัน พระราชสมภพครบรอบ 100 ปี ของรัชกาลท่ี 6 - นายแพทยบ์ ุญสม มาตนิ ได้รบั เลอื กตง้ั เปน็ กรรมการลูกเสอื โลกจากการ ประชุมสมชั ชาลูกเสอื โลก ครัง้ ท่ี 28 ณ เมืองดาการ์ ประเทศเซเนกลั พ.ศ. 2528 - มีการชุมนมุ ลกู เสอื แห่งชาตคิ ร้งั ท่ี 11 ณ ค่ายลกู เสือวชริ าวธุ พ.ศ. 2532 - มกี ารชุมนมุ ลูกเสอื แห่งชาตคิ รงั้ ท่ี 12 ณ ค่ายลกู เสอื วชิราวุธ พ.ศ. 2545 - ประเทศไทยเป็นเจา้ ภาพจดั งานชมุ นุมลกู เสือโลก ครัง้ ที่ 20 ท่คี า่ ยหาดยาว ตําบล แสมสาร อําเภอสตั หีบ จงั หวัดชลบุรี ซง่ึ จัดเม่ือวนั ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2545 ถงึ วนั ท่ี 10 มกราคม พ.ศ. 2546 54 คูม่ อื สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามญั หลกั สตู รลูกเสอื ตรี ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4
แผนการจัดกิจกรรมลกู เสือ หลกั สตู รลูกเสือสามัญ (ลูกเสือตร)ี ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4 หนว่ ยท่ี 3 ความรูเ้ ก่ยี วกับขบวนการลกู เสือ เวลา 1 ชั่วโมง แผนการจดั กจิ กรรมท่ี 7 การทาํ ความเคารพ การแสดงรหัส การจับมือซา้ ย และคติพจนข์ องลกู เสือสามัญ 1. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1.1 ลกู เสอื ทาํ ความเคารพ แสดงรหสั และการจับมอื ซา้ ย ได้ถูกต้อง 1.2 ลูกเสือบอกคตพิ จน์ของลกู เสอื สามญั และความหมายของคตพิ จนไ์ ด้ 2. เนอื้ หา .22.1 การทําความเคารพ ทาํ มอื เปล่าและ ทา่ ถอื ไม้พลอง 2.2 การแสดงรหสั 2.3 การจบั มือซ้าย 42.42 คติพจนข์ องลกู เสอื สามัญ 3. ส่อื การเรยี นรู้ 3.1 แผนภมู เิ พลง 3.2 เกม 3.32 ใบความรู้ 3.43 ไม้พลอง 3.54 เรื่องส้นั ท่เี ป็นประโยชน์ 4. กิจกรรม 4.1 พิธีเปิดประชมุ กอง )ชกั ธงขึ้น สวดมนต์ สงบนงิ่ ตรวจ แยก( 4.2 เพลงหรือเกม 4.3 กจิ กรรมตามจดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1( ผกู้ าํ กับลูกเสอื นาํ สนทนาอธิบายพรอ้ มทงั้ สาธิตวธิ ีการทําความเคารพ การแสดงรหสั การจบั มอื ซ้าย แล้วใหล้ กู เสอื ฝกึ ปฏิบัตติ าม 2( ผู้กํากบั ลูกเสือใหน้ ายหมู่ลกู เสอื นาํ สมาชกิ ในหมขู่ องตนเอง ฝึกปฏิบตั ิการทําความ เคารพ การแสดงรหัส การจบั มอื ซา้ ย จนสามารถปฏบิ ัตไิ ดท้ ุกคน 3( ผูก้ าํ กับลกู เสือนาํ สนทนาเกยี่ วกบั ความหมายของคติพจน์ และให้ลกู เสือบอกวธิ ีปฏบิ ตั ิ ตนตามคตพิ จนข์ องลกู เสอื สามัญ 4.4 ผู้กาํ กับลกู เสือเลา่ เรอื่ งส้นั ที่เป็นประโยชน์ 4.5 พิธีปิดประชมุ กอง )นดั หมาย ตรวจเครอื่ งแบบ ชักธงลง เลิก( 62 ค่มู ือส่งคเู่มสอื รสมิ ง่ แเสลระิมพแฒัละนพาัฒกนจิ ากกรจิ รกมรรลมูกลเกู สเือสอืททกั ักษษะะชชีววี ติติ ใในนสสถถาานนศศกึ ษกึ าษปาระลเกูภเทสลือูกตเสรอื ี สชาัน้ มปัญรหะถลกัมสศูตกึ รษลูกาเปสทีือต่ี 4รี 55 ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4
5. การประเมินผล 5.1 สงั เกต การทาํ ความเคารพ การแสดงรหสั และการจับมอื ซา้ ยแบบลูกเสอื 5.2 ซกั ถามความหมายคตพิ จนข์ องลกู เสอื สามัญ ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมที่ 7 เพลง ลูกเสอื จับมือ ลกู เสือเขาไมจ่ ับมอื ขวา ยน่ื ซ้ายมาจบั มือกันมน่ั มอื ขวาใชเ้ คารพกัน )ซา้ํ ( ยนื่ ซา้ ยออกมาพลนั จบั มอื จับมอื เหมอื นญาตสิ นทิ ควรคดิ ยดึ ถอื จับมือนน้ั หมายถึงมติ ร เพราะพวกเราคอื ลกู เสอื ด้วยกนั ยม้ิ ด้วยเวลาจบั มือ ) ซ้ํา ( เกม เกมผู้วิเศษ เลอื กลูกเสอื ออกมา 3 – 4 คน สมมติวา่ เป็นผวู้ เิ ศษ เมือ่ แตะถกู ผใู้ ดแล้ว คนนนั้ จะต้อง กลายเป็นหนิ ยืนอยกู่ บั ท่ี สาํ หรับคนอน่ื ๆ ตอ้ งพยายามหนใี นเขตทีก่ าํ หนดไว้อยา่ ใหถ้ ูกแตะตวั ได้ การตัดสิน 1. เม่ือหมดเวลาผ้ทู ี่ไมถ่ ูกแตะใหก้ ลายเป็นหนิ เปน็ ผู้ชนะ 2. การเลน่ ควรแบง่ เปน็ หมู่ หมู่ใดเหลอื ผเู้ ลน่ ทไี่ มโ่ ดนแตะมากเป็นทมี ชนะ เรอ่ื งส้ันท่เี ปน็ ประโยชน์ กระต่ายกับเพ่อื น กระต่ายตวั หนง่ึ ภาคภมู ิใจนักหนาท่สี ตั วท์ กุ ตัวในปูาต่างกเ็ ปน็ เพือ่ นรกั ของมัน วันหนึ่งเมื่อได้ยิน เสียงหมาปาู ดังมาจากชายทุ่งกระต่ายจงึ ไปหามา้ เพอ่ื ขอให้ม้าพามนั ขห่ี ลงั หนจี ากอันตราย “วันน้ีข้าไม่ว่างจจรริงงิ ๆๆ เพ่ือนเอ๋ย” ม้าปฏิเสธ “เจ้าลองไปขอความช่วยเหลือจากเจ้าวัวดูเถอะ” กระตา่ ยขอใหว้ วั ชว่ ยไล่ขวดิ ขบั ไล่พวกหมาปูาแต่วัวก็อ้างว่าติดธุระสําคัญ เพราะนางวัวสาวนัดให้มันไป พบ “ลองไปหาเจา้ แพะดซู ิ มนั คงชว่ ยพาเจา้ หนีไดแ้ น่” วัวแนะนํา “แต่ขนของขา้ แขง็ และหยาบ อาจจะตาํ กน้ ของเจ้าให้บาดเจ็บได้นะ” แพะบ่ายเบ่ียง “ไปขอให้เจ้า แกะชว่ ยดกี วา่ เพราะขนของมันทง้ั ยาวและนิม่ ” 56 คู่มคู่มืออื สส่งง่ เเสสริมแแลละะพพฒั ัฒนนากาจิกกจิ รกรรมรลมูกเลสกู ือเทสกั อื ษทะักชวีษิตะใชนีวสิตถาในศสกึ ถษาานปศรึกะษเภาทลลูกกู เสเสืออืสตามรัญี ชหนั้ ลปักรสะตู ถรมลกูศเกึสือษตารปี ีท่ี 4 63 ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4
“ข้าก็อยากจะช่วยเจ้าเหมือนกัน” แกะพูดเอาใจ “แต่เจ้าก็รู้น่ีว่าหมาปูามันก็ชอบกินแกะ เหมือนกนั เอาไวข้ อความชว่ ยเหลอื อยา่ งอ่นื ดีกวา่ นะ” ขณะนนั้ หมาปูาฝูงใหญไ่ ดว้ งิ่ พ้นชายปูาเขา้ ใกล้มามากแล้ว กระต่ายจึงตัดสินแผ่นหนีด้วยขาของ ตนและโชคดีที่หนีพ้นอนั ตรายไปได้อยา่ งหวดุ หวิด เร่อื งนสี้ อนใหร้ ู้วา่ ถงึ แม้จะมเี พอ่ื นมากมาย แตก่ ารทาํ ส่ิงใดก็ตามควรหวังพึ่งตนเองดีทสี่ ุด ประเดน็ การวเิ คราะหค์ ุณธรรมท่ไี ด้ 1. ซอ่ื สัตย์ สจุ ริต 2. กตญั ํู 3. ความรบั ผิดชอบ 4. อดุ มการณ์ คณุ ธรรม ใบความรู้ การทาํ ความเคารพของลกู เสือ การทาํ ความเคารพแสดงใหเ้ หน็ ถึงความมีระเบยี บวนิ ยั และเป็นผู้มมี ารยาทเรยี บรอ้ ย ซงึ่ ทําให้ เกิดความรกั ใครน่ บั ถอื ซงึ่ กนั และกนั การทาํ ความเคารพของลูกเสอื มี 2 วธิ ี คอื 1.1 การแสดงความเคารพท่ามือเปลา่ หรือการทําวนั ทยหตั ถ์ การฝกึ ข้นั ต้น คาํ บอก \" วนั ทยหัตถ์ \" การปฏบิ ัติ ยกมอื ขวาขน้ึ โดยเร็วและแขง็ แรง น้วิ ชี้ นว้ิ กลางและน้วิ นางเหยยี ดชดิ ติดกัน ใชน้ ิว้ หวั แมม่ อื กดน้ิวก้อยไว้ ให้ปลายน้ิวช้ีแตะที่หางค้ิวขวา หรือถ้าสวมหมวกให้เอาปลายนิ้วช้ีแตะท่ี ขอบลา่ งของหมวกค่อนข้างหนา้ เลก็ น้อย เปิดฝูามือข้ึนประมาณ 30 องศา ข้อมือไม่หัก แขนขวาท่อน บนย่ืนไปข้างหน้าประมาณแนวไหล่ เมื่ออยู่ในที่แคบให้ลดข้อศอกลงได้ตามความเหมาะสม ร่างกาย สว่ นอ่นื ต้องไมเ่ สียลกั ษณะทา่ ตรง เมอื่ ไดย้ ินคาํ บอก \"มอื ลง \" ให้ลดมือลงอยูใ่ นท่าตรงโดยเร็วและแข็งแรง )ทา่ วนั ทยหตั ถ์โดย ปกตติ ่อจากท่าตรงเป็นท่าเคารพ เมอื่ อยตู่ ามลําพงั นอกแถว 1.2 การแสดงความเคารพท่าถอื ไมพ้ ลอง หรือ วนั ทยาวุธเปน็ ทา่ แสดงความเคารพ คาํ บอก \" วันทยา-วุธ \" การปฏบิ ตั ิ ลูกเสอื อยู่ในทา่ ตรง มอื ขวาถอื ไมพ้ ลอง ใหโ้ คนพลองอยู่ประมาณโคนน้วิ กอ้ ย เท้าขวา ปลายพลองอยใู่ นร้องไหล่แนบชดิ ติดกับลาํ ตวั ยกแขนซา้ ยขนึ้ มาเสมอแนวไหล่ ศอกงอไป ขา้ งหนา้ ใหต้ ง้ั ฉากกบั ลําตวั ฝาู มอื แบควํ่า รวบนวิ้ หัวแมม่ อื กบั นว้ิ ก้อยจรดกนั นวิ้ ช้ี น้วิ กลาง นวิ้ นาง เหยียดชดิ ติดกนั ใหข้ อ้ แรกปลายน้วิ ชแ้ี ตะไม้พลองไว้ เมอ่ื ไดย้ นิ คําวา่ \" เรยี บ-อาวุธ \" ใหล้ ูกเสอื ลดแขนซ้ายลงมาอยู่ทเี่ ดมิ โดยเร็ว 64 คมู่ อื ส่งคเมู่ สอื รสิม่งแเสลระมิ พแฒัละนพาฒั กนิจากกรจิ รกมรรลมูกลเกู สเือสอืททกั ักษษะะชชีววี ติิตใในนสสถถาานนศศึกษกึ าษปาระลเกูภเทสลอื กู ตเสรือี สชานั้ มปญั รหะถลกัมสศตู กึ รษลูกาเปสทีอื ตี่ 4รี 57 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4
โอกาสแสดงความเคารพดังน้ี 1. แสดงความเคารพต่อธงสาํ คญั ๆ เชน่ ธงชาติ ธงคณะลกู เสือแหง่ ชาติ ธงลูกเสอื ประจําจงั หวัด ฯลฯ ในขณะทีเ่ ชญิ ธงขึน้ หรอื ลง หรอื มีผู้เชญิ ธงผ่านไป 2. แสดงความเคารพ เมอ่ื มกี ารบรรเลงเพลงชาติ และเพลงสรรเสรญิ พระบารมี เพลง มหาฤกษ์ เพลงมหาชยั 3. ถวายความเคารพแดอ่ งคพ์ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว สมเดจ็ พระบรมราชินีนาถ และพระ บรมวงศานุวงศ์ ผ้บู งั คับบัญชาลกู เสอื และบุคคลทีค่ วรเคารพ 4. แสดงความเคารพต่อลูกเสือดว้ ยกันในขณะท่ีพบกันเป็นครั้งแรกในวนั หนงึ่ ๆ การแสดงรหสั รหัส แปลวา่ เหตุลับหรือความลบั เปน็ เครอ่ื งหมายท่ีแสดงใหร้ ูใ้ ห้เข้าใจในพวกเดยี วกนั เปน็ การ แสดงกริ ยิ าท่าทาง เสยี ง หรอื เครอ่ื งหมายใดๆ กไ็ ด้ วิธแี สดงรหสั ของลูกเสอื มี 2 แบบ คอื 1. วธิ ีแสดงรหสั แบบอเมรกิ าโดยยืนอยใู่ นท่าตรง ยกแขนขวาเสมอไหล่ งอศอกตง้ั ฉากกับ ตน้ แขนหนั ฝาู มือไปขา้ งหนา้ น้วิ หวั แม่มอื งอกดปลายน้วิ ก้อยไว้ ทําเปน็ รูปวงกลม เหยยี ด น้วิ ช้ี นิ้วกลาง นิว้ นางตรง ช้ีขนึ้ ข้างบน 2. วิธีแสดงรหสั แบบองั กฤษเป็นวิธีที่ลกู เสือไทยใช้อยู่ โดยยืนอยู่ในท่าตรง งอพับข้อศอกขวา ขึน้ แนบขอ้ ศอกอยู่ขา้ งลําตวั หันฝูามือออก เหยียดน้ิวชี้ นิ้วกลาง น้ิวนาง ช้ีข้ึนข้างบน เอา นว้ิ หวั แมม่ อื งอกดปลายนิ้วกอ้ ยไว้ การแสดงรหัสของลกู เสือเป็นการแสดงเพื่อใหท้ ราบวา่ 1. เปน็ การแสดงเพื่อใหร้ บั รู้ และเข้าใจกันระหวา่ งพวก 2. เพอ่ื แสดงว่าเปน็ พวกเดยี วกัน 3. หมายถึงคาํ ปฏญิ าณของลูกเสอื 3 ข้อ การใช้และโอกาสท่จี ะใช้รหสั 1. ใชแ้ สดงเม่อื ลกู เสือกล่าวคาํ ปฏิญาณตอ่ ผู้กาํ กับลูกเสือในการเข้าประจํากอง และทบทวน คาํ ปฏิญาณ 2. เมอ่ื พบลูกเสอื ชาติเดียวกันหรอื ต่างชาติ เปน็ การรับรู้วา่ เป็นพวกเดียวกัน การจับมอื ของลูกเสอื การจับมือทกั ทายกนั ของลูกเสอื ใหจ้ ับดว้ ยมอื ซา้ ย เพอ่ื เตือนลกู เสอื ว่าเปน็ พวกเดยี วกันทว่ั โลก มีอดุ มคติ หมั่นประพฤตคิ วามดี เพอื่ จะไดเ้ ปน็ ประโยชน์ทงั้ ตอ่ ตนเองและผ้อู นื่ วิธกี ารจับมือของลกู เสอื มี 2 แบบ คอื 1. การจบั มอื แบบองั กฤษ โดยการยนื่ มอื ซา้ ยออกไปจับมือซา้ ยของอกี ฝูายหนึ่ง เหมอื นกบั การจบั มือขวาธรรมดา 58 ค่มูคมู่ืออื สส่ง่งเเสสริมแแลละะพพัฒฒั นนากาจิกกิจรกรรมรลมูกเลสูกอื เทสักอื ษทะักชวีษิตะใชนวี สติ ถาในศสึกถษาานปศรึกะษเภาทลลูกกู เสเสอื อืสตามรัญี ชหน้ั ลปกั รสะูตถรมลูกศเึกสือษตารปี ที ่ี 4 65 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4
2. การจับมอื แบบอเมรกิ า โดยการยืน่ มือซา้ ยออกไปจับ โดยใหน้ ้ิวก้อยแยกออกแล้วให้ นวิ้ ก้อยกบั นว้ิ หัวแม่มอื สอดเขา้ หากัน นวิ้ ช้ี น้วิ กลาง และนิ้วนางแนบประกบกนั )ในประเทศไทยนยิ มใช้แบบอังกฤษ( คติพจนข์ องลูกเสอื คตพิ จน์ คอื ถอ้ ยคําอนั เปน็ คติ ซงึ่ เป็นความจรงิ เปน็ แบบอย่างทด่ี ี ลกู เสอื พงึ รกั ษาและนาํ มาใช้ เพ่อื ยดึ ถือปฏบิ ตั ิ คติพจน์ของลูกเสอื ทัว่ ไปใช้คติพจนว์ ่า เสยี ชีพอยา่ เสียสตั ย์มีความหมายวา่ ใหล้ กู เสอื รกั ษา ความซอื่ สตั ย์ มสี ัจจะยงิ่ ชีวติ จะไม่ยอมละความสัตย์ ถึงแมจ้ ะถกู บบี บงั คับจนเป็นอันตรายถึงชีวิตก็ตาม กย็ อ่ มไมเ่ สียสจั จะ เพอื่ เกยี รตคิ ุณคาํ ปฏิญาณและคําม่ันสัญญาของลูกเสือ คตพิ จน์ของลูกเสอื สามัญใช้คติพจน์ว่า จงเตรยี มพร้อมหมายความว่า ลกู เสอื ต้องเปน็ ผู้ รอบคอบไมป่ ระมาท เตรยี มพรอ้ มอย่เู สมอทจ่ี ะปฏิบตั กิ ิจอันเปน็ ประโยชน์ เพอ่ื ช่วยเหลอื ผอู้ ืน่ เพ่ือ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมของลกู เสอื ดว้ ยความห่วงใย โดยไมป่ ระมาทและผดิ พลาดเสียหาย 66 ค่มู อื สง่คเู่มสอื รสิม่งแเสลระมิ พแฒัละนพาฒั กนิจากกริจรกมรรลมูกลเูกสเือสือททกั กั ษษะะชชีวีวิตติ ใในนสสถถาานนศศึกษึกาษปาระลเกูภเทสลอื กู ตเสรือี สชา้นั มปญั รหะถลักมสศตู กึ รษลกูาเปสทีือต่ี 4รี 59 ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4
แผนการจดั กิจกรรมลูกเสอื หลักสูตรลูกเสือสามัญ (ลกู เสือตร)ี ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 หน่วยที่ 3 ความรูเ้ กีย่ วกับขบวนการลูกเสือ เวลา 2 ช่วั โมง แผนการจัดกจิ กรรมที่ 8 เวลาในขวดแกว้ 1. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1.1 ลูกเสือสามารถทบทวนการใช้เวลาของตนเองในแต่ละวันได้ 1.2 ลกู เสือสามารถเรยี งลําดบั ความสําคญั ของกิจกรรมประจาํ วนั ได้ 1.3 ลกู เสือสามารถบอกวิธกี ารใชเ้ วลาอย่างคมุ้ คา่ ได้ 2. เนื้อหา การใช้เวลาอยา่ งคมุ้ คา่ 3. ส่ือการเรียนรู้ 3.1 แผนภมู ิเพลง 3.2 เกม 3.2 ใบงาน 3.3 วสั ดอุ ปุ กรณ์ ได้แก่ ขวดใสทรงสงู ไมน่ อ้ ยกว่า 24 ซม.จํานวนเทา่ กับจํานวนลกู เสอื , ไมบ้ รรทัด , กระดาษแข็งช้นิ ขนาดทาํ เป็นกรวยสําหรับกรอกเมด็ ทรายหรือเมลด็ พชื ลง ขวด , ทรายหรอื เมลด็ พชื ขนาดเลก็ หลากสี 3.4 เร่อื งสนั้ ทเี่ ปน็ ประโยชน์ 4. กจิ กรรม เตรยี มการกอ่ นวันกจิ กรรม โดยผ้กู าํ กบั ลกู เสือมอบหมายใหล้ กู เสอื จดบนั ทกึ เวลาทใ่ี ช้ในแตล่ ะ วันตลอด 1 สปั ดาห์ ตามตารางในใบกจิ กรรม 4.1 กจิ กรรมคร้งั ท่ี 1 1( พธิ เี ปดิ ประชมุ กอง )ชกั ธงขึ้น สวดมนต์ สงบน่ิง ตรวจ แยก( 2( เพลง หรอื เกม 3( กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ )1( ลูกเสือนั่งเป็นหมู่ ผู้กํากับลูกเสือแจกขวดใสทรงสูงขนาดความสูงไม่น้อยกว่า 24 ซม. ให้ลกู เสอื คนละ 1 ใบพร้อมกับไม้บรรทัดกระดาษแข็งที่ใช้ทําเป็นกรวย สาํ หรบั กรอกเม็ดทรายหรือเมลด็ พืช และทรายหรือเมล็ดพืชขนาดเลก็ หลายๆ สี )ควรจะมีทราย 6 สี หรอื เมลด็ พืช 6 ชนิด เช่น ถัว่ เขยี ว ถั่วเหลือง ถ่ัวดาํ ถ่ัวแดง เม็ดข้าวโพด เมลด็ ลูกเดอื ย เปน็ ตน้ ( )2( ให้ลูกเสอื แต่ละคนเตมิ ทรายหรอื เมลด็ พืชสตี ่าง ๆ ผ่านกรวยกระดาษลงขวดของ 60 คู่มคูม่ือือสสง่ ่งเเสสรริมมิ แแลละะพพัฒฒั นนากาจิกกิจรกรรมรลมูกเลสูกือเทสักือษทะกัชีวษิตะใชนวี สิตถาในนศสึกถษาานปศรึกะษเภาทลลูกกู เสเสอื ือสตามรัญี ชห้นั ลปักรสะตู ถรมลูกศเกึสือษตารปี ที ่ี 4 67 ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4
ตนเองเป็นชนั้ ๆ 6 ช้ัน สีละ 1 ชนั้ )เมลด็ พชื 6 ชนดิ ( แทนกิจกรรมท้ัง 6 อยา่ ง )นอน เวลาที่โรงเรียนรวมการเดนิ ทางไปกลบั ดหู นังสือที่บ้าน กิจวตั รประจําวนั ดูโทรทัศน์ และกีฬาและนันทนาการอน่ื นอกโรงเรยี น( แลว้ ใชไ้ มบ้ รรทดั วัด ค วามสงู ของทรายหรอื เมคลว็ดามพสืชงู ข1องซทมร.าเยทห่ารกอื บั เมเวลลด็ าพ1ชื ช1ั่วซโมง. เตทวั า่ อกยบั ่าเงวลเาช่น1 ชวั่ โมง ตวั อยา่ ง เชน่ -- นอน ทราย - เวลาทีโ่ รงเรยี นรวมการเดินทางไปกลับ เมล็ดลกู เดอื ย - ดหู นงั สอื ทบี่ า้ น - กจิ วัตรประจําวัน เมล็ดถ่ัวเขยี ว ขา้ วเปลือก - ดูโทรทัศน์ เมล็ดถั่วแดง - กฬี าและนนั ทนาการอน่ื นอกโรงเรยี น เมล็ดถวั่ เหลือง )3( ลูกเสอื เขยี นชอ่ื ตนเองลงกระดาษ ผกู เชือกคล้องปากขวดตั้งไว้ )4( ผูก้ ํากบั ลกู เสือ ให้ลูกเสือได้แลกเปลี่ยนกันดใู นหมู่ สมาชกิ ผลดั กันวจิ ารณ์ความ เหมาะสมในการใช้เวลาของตนเอง มผี ลดี/ผลเสยี อยา่ งไร คดิ ว่าจะปรบั ปรงุ การใช้ เวลาของตนเองอย่างไรจงึ จะเกดิ ประโยชน์มากขึน้ และตงั้ เปฺาหมายการใช้เวลาของ ตนเองใหม่ )5( ผ้กู ํากบั ลกู เสือ และลูกเสือรว่ มสรปุ ข้อคดิ ทไี่ ด้ 4( ผกู้ ํากบั ลูกเสอื เลา่ เร่ืองส้นั ทเ่ี ป็นประโยชน์ 5( พิธปี ดิ ประชุมกอง )นัดหมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชักธงลง เลิก( 4.2 กจิ กรรมคร้ังที่ 2 )ห่างจากครั้งแรก 4 สปั ดาห(์ 1( พิธีเปดิ ประชุมกอง )ชกั ธงขึ้น สวดมนต์ สงบนง่ิ ตรวจ แยก( 2( เพลง หรอื เกม 3( กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ )1( เตรียมการ ผูก้ าํ กับลูกเสือมอบหมายให้ลูกเสือเตรียมข้อมลู โดยจดบันทกึ เวลาท่ี ใช้ในแตล่ ะวนั ตลอด 1 สัปดาห์ ตามตารางในใบกิจกรรม )2( วนั กจิ กรรม ลกู เสอื น่งั เป็นหมู่ ให้ลกู เสอื แตล่ ะคน เติมทราย/เมล็ดพืชสตี ่าง ๆ แทนกจิ กรรมทั้ง 6 อยา่ ง ลงขวดใสทรงสูงขนาดความสงู ไม่น้อยกวา่ 24 ซม. เหมอื นใน กิจกรรมครงั้ ที่ 1 โดยใชไ้ มบ้ รรทดั วัดความสูงของทราย 1 ซม.เท่ากับ 1 ชัว่ โมง ใส่ผ่านกรวย เปน็ ชน้ั ๆ รวม 6 ชนั้ )3( ลูกเสอื เปรยี บเทียบขวดของตนเองทง้ั 2 คร้ัง เพ่อื ตดิ ตามผลการปรับปรุงตนเอง )4( ลกู เสอื แลกเปลย่ี นกนั ดใู นหมู่ และประเมนิ ตนเองวา่ บรรลุเปฺาหมายทตี่ ง้ั ไว้หรอื ไม่ )5( ผู้กาํ กบั ลูกเสอื และลูกเสือรว่ มกันสรุปบทเรยี น 4( ผ้กู ํากบั ลกู เสอื เล่าเรอ่ื งสน้ั ท่ีเป็นประโยชน์ 5( พธิ ปี ดิ ประชุมกอง )นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชกั ธงลง เลกิ ( 68 คมู่ อื สง่คเู่มสอื รสมิ ่งแเสลระิมพแฒัละนพาฒั กนิจากกรจิ รกมรรลมกู ลเูกสเือสือททกั ักษษะะชชวี วี ิติตใในนสสถถาานนศศกึ ษึกาษปาระลเกูภเทสลือูกตเสรือี สชาน้ั มปัญรหะถลกัมสศตู ึกรษลูกาเปสีทือต่ี 4รี 61 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4
5. การประเมินผล 5.1 สังเกตความร่วมมอื ในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม 5.2 ตรวจสอบการใช้เวลาในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมประจําวนั 6. องคป์ ระกอบทักษะชวี ติ สาํ คญั ที่เกิดจากกจิ กรรม คือ การคดิ วิเคราะหแ์ ละเกดิ ความตระหนกั รูถ้ งึ ความสาํ คัญของการใชเ้ วลาอยา่ งมคี ุณค่า ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมที่ 8 เพลง เวลาไมค่ อยใคร วันเวลานาทีมีราคา มากยิง่ กว่าสิ่งใดๆ หากว่าใครไมเ่ สยี ดายเวลา ปลอ่ ยเวลาให้เลยไป วนั เวลาเรยี กคนื มาไมไ่ ด้ เวลาสิ้นไปเพราะใครกนั ลกู เสือตรงเวลา ุุุุุุลกู เสือุุุุุุุุ. อยไู่ หน มวั ทาํ อะไรรบี มา อย่าไดช้ กั ช้าใหเ้ น่นิ นานไป พวกเราลกู เสอื ชาตเิ ชอื้ พนั ธ์เผา่ พงศ์ไทย ทาํ อะไรตรงเวลา ชิชชิ ะชะทาํ เป็นเดนิ อย่ามัวหลงเพลินชมพฤกษไ์ พร กม้ กม้ เงยเงยทําอะไร รู้ไหมเพือ่ นคอย เกม เกม “ข่มี ้าวงกลม” อุปกรณ์ 1. สนาม 2. นกหวีดหรอื สญั ญาณอืน่ วิธีเล่น 1. จดั ผเู้ ลน่ นัง่ เปน็ หมู่ เป็นรปู วงกลมทุกคนหันหนา้ ไปตามเขม็ นาฬกิ า 2. เม่ือสญั ญาณเร่ิม ให้รองนายหมวู่ ่ิงไปหานายหมูแ่ ล้วกระโดดขหี่ ลงั นายหมู่ นายหมู่แบกวง่ิ วนไปตามเขม็ นาฬกิ ารอบวงกลม 1 รอบจนถึงทีเ่ ดิม ) ทน่ี ายหมู่ ( 3. รองนายหม่ลู งจากหลงั นายหมู่ แลว้ ทําหนา้ ทีแ่ บกคนต่อไป ) คนที่อยหู่ ลังนายหมู่ ( วงิ่ วนไป 1 รอบ แล้วนํามาส่งทเี่ ดมิ รองนายหมนู่ ง่ั แทนคนที่ 2 4. คนท่ี 3 ทาํ หน้าทีแ่ บกคนท่ี 4 หมนุ เวียนกันไปตามลําดับจนหมด 5. ผกู้ ํากบั ตรวจความเรยี บรอ้ ยประกาศผล 62 คมู่คูม่ือือสส่ง่งเเสสรมิ แแลละะพพฒั ฒั นนากาจิกกจิ รกรรมรลมกู เลสกู อื เทสักือษทะกัชีวษติ ะใชนวี สติ ถาในศสึกถษาานปศรกึ ะษเภาทลลูกกู เสเสอื ือสตามรัญี ชหนั้ ลปักรสะูตถรมลูกศเึกสือษตารปี ีที่ 4 69 ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4
เกมนักโทษแหกคกุ แบง่ ลูกเสอื เป็น 2 ฝูาย ฝูายหนึ่งเป็นนักโทษที่หลบหนี อีกฝูายหนึ่งเป็นตํารวจ ขีดวงกลม ทําเป็นคกุ เร่ิมเล่นตํารวจไล่จับนักโทษมาเข้าคุก แล้วมีคนมาเฝฺา นักโทษก็สามารถมาช่วยเพ่ือนได้ โดยฉดุ ออกจากวงกลม การเลน่ ผลัดกัน ใครจับนกั โทษได้มากกว่ากันเปน็ ฝูายชนะ ตามกาํ หนดเวลา เรือ่ งสนั้ ทเ่ี ป็นประโยชน์ มดกบั ตก๊ั แตน ตั๊กแตนเจา้ สาํ ราญตัวหนึ่ง มีนิสัยเกียจคร้านชอบความสะดวกสบาย ตลอดช่วงฤดูร้อนที่สัตว์ อ่ืนๆพากันหาอาหารไปเก็บสะสมไวใ้ นรังมันมวั แตร่ ้องทําเพลงสนกุ สนานไปวนั ๆ คร้ันถึงฤดูหนาวหิมะตกหนัก ต๊ักแตนไม่สามารถหาอาหารกินได้ต้องทนหิวอยู่หลายวัน ใน ทส่ี ดุ ต้องซมซานมาท่ีรังมด ขอร้องมดว่า “ได้โปรดเถดิ เพ่ือน ขออาหารใหฉ้ ันประทงั ชีวิตสกั หนอ่ ย หลัง พ้นฤดูหนาวอันแสนทารณุ น้แี ล้ว ฉนั สัญญาวา่ จะหามาใชค้ นื ใหเ้ ปน็ เทา่ ตัวเลย ” แตม่ ดกลับย้อนถามมนั ว่า “อ้าวุกเ็ มือ่ ตอนฤดรู ้อนที่ใครๆเขาพากนั ทํามาหากนิ ตวั เป็นเกลียว เจ้ามัวทําอะไรอยู่ละ่ ” “ฉันไม่ได้อยู่เปล่าๆหรอกนะ ฉันร้องรําทําเพลงตลอดเวลาให้พวกเธอได้มีความสุข เมื่อตอนที่ เธอและเพือ่ นๆขนอาหารผ่านมาก็ได้ยนิ มิใช่หรอื ” เจา้ ตก๊ั แตนตอบ “ได้ยินซิ..ในเมือ่ เจา้ มัวแต่ร้องเพลงตลอดฤดรู อ้ น เมอ่ื ถงึ ฤดูหนาวก็จงเต้นรําให้สนุกเถิด”กล่าว จบมดกป็ ิดประตูรังทันที เรอ่ื งนส้ี อนใหร้ วู้ า่ ผ้ทู ่ีปลอ่ ยเวลาให้ผา่ นไปอย่างไรค้ ่า ชีวติ ยอ่ มพบแตค่ วามว่างเปล่า กวางกับเสอื กวางตัวหนึ่งออกเทีย่ วหากินอยู่ท่ีชายปาู ในขณะทีแ่ ละเลม็ หญ้ากนิ เพลินอยกู่ วางเหลือบไปเห็น นายพรานถือหน้าไม้เดินด้อมเข้ามาทางหมู่ไม้ก็ตกใจกลัวกระโดดหนีเข้าไปในปูานายพรานจึงสะกด รอยตามรกุ เข้าไปจนกวางจวนตัวจะหนไี ปไหนก็ไมร่ อดจึงวง่ิ เข้าไปซ่อนตัวอย่ใู นถ้าํ เสือ เ มื่ อ เ สื อ เหน็ กวางว่งิ เขา้ ไปในถํา้ เสือจึงหมอบฟุบลงที่ข้างก้อนหินใหญ่ไม่ให้กวางเห็น ปล่อยให้กวางวิ่งเข้าไป จนถึงก้นถาํ้ เปน็ ทางตันแล้วเสอื ก็กระโจนเข้างับคอกวางล้มตายอยู่ ณ ที่ซ่อนน้ันเอง กวางในเวลาจะ สิ้นใจก็รอ้ งข้ึนว่า “ดเู ถอะ อนั ตรายยอ่ มมีอยไู่ ม่วา่ ที่ไหนเราหนคี นพ้นแล้ว ก็ยังมาปะเสอื เข้าอกี ” เร่ืองนีส้ อนให้รูว้ ่า การทีห่ ลบหลีกอนั ตราย จงคดิ ดูเสยี ใหร้ อบคอบกอ่ นระวังอยา่ วง่ิ เขา้ ไปหาอันตราย อ่ืนๆ อีก 70 คู่มอื คสู่ม่งอืเสสร่งิมเสแรลมิ แะพละฒั พนัฒานกาจิกจิกกรรรรมมลลูกูกเเสสอื อื ททักักษษะชะชวี ิตีวใิตนใสนถสานถศากึนษศาึกปษราะเภลทกู ลเสกู เอื สตอื รสีาชมัญั้นปหรละักถสมตู ศรลกึ ูกษเสาือปตีทรี่ ี 4 63 ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4
ประเด็นการวเิ คราะห์คุณธรรมทไ่ี ด้ 1. ความพอเพียง 2. ซอ่ื สัตย์ สจุ ริต 3. กตัญํู 4. ความรบั ผดิ ชอบ 5. อดุ มการณ์คุณธรรม 64 คมู่ค่มูืออื สสง่ ่งเเสสริมแแลละะพพฒั ฒั นนากาิจกกิจรกรรมรลมกู เลสกู ือเทสกั อื ษทะกัชีวษติ ะใชนวี สิตถาในศสึกถษาานปศรกึ ะษเภาทลลูกกู เสเสืออืสตามรัญี ชห้ันลปักรสะูตถรมลกูศเึกสอืษตารปี ที ่ี 4 71 ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4
ใบงาน ใหล้ ูกเสอื แตล่ ะคนจดบันทกึ เวลาทต่ี นเองใชใ้ นแตล่ ะวนั ตลอด 1 สปั ดาห์ ใน 6 เรื่องตอ่ ไปน้ี และหาคา่ เฉลย่ี ใน 1 วันสาํ หรับแตล่ ะกิจกรรมเป็นจํานวนช่วั โมง ลงในตารางด้านลา่ ง 1. นอน 2. เวลาทโ่ี รงเรยี นรวมการเดนิ ทางไปกลบั 3. ดูหนังสือ/ทบทวนบทเรยี น/ทาํ การบา้ น)ที่บ้าน( 4. กิจวัตรประจําวนั เชน่ อาบน้าํ แปรงฟัน กินอาหาร ลา้ งจาน กวาดบา้ น ถูบา้ น ฯลฯ 5. ดู โทรทัศน์หรือภาพยนตร์ทบี่ า้ น 6. กฬี าและนนั ทนาการอนื่ ๆ นอกโรงเรยี น เชน่ เกม การออกกาํ ลงั กาย ไปดภู าพยนตร์ นอกบ้าน ไปเทยี่ ว อา่ นการต์ นู หนงั สอื อ่านเลน่ ฯลฯ วัน/เวลา จันทร์ อังคาร พธุ พฤหสั ศุกร์ เสาร์ อาทติ ย์ เฉล่ยี เวลา กจิ กรรม (ชั่วโมง) 1. นอน 2.เวลาท่โี รงเรียนรวม การเดนิ ทางไปและ กลบั 3. ดหู นังสอื /ทบทวน บทเรยี น/ทาํ การบ้าน )ทีบ่ ้าน( 4. กิจวัตรประจําวนั 5. ดูโทรทัศนห์ รอื ภาพยนตรท์ บี่ า้ น 6. กีฬาหรือ นันทนาการ 7. กิจกรรมอน่ื ๆ รวมเวลา 72 คูม่ อื ส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื ตรี ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 คมู่ อื สง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลกั สูตรลูกเสือตรี 65 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4
แผนการจัดกิจกรรมลูกเสอื หลักสูตรลูกเสือสามัญ (ลกู เสอื ตร)ี ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 หนว่ ยที่ 3 ความรูเ้ กี่ยวกับขบวนการลูกเสือ เวลา 1 ชวั่ โมง แผนการจัดกจิ กรรมท่ี 9 นาทวี ิกฤต 1. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ลูกเสือฝึกการคดิ วเิ คราะห์ ตัดสนิ ใจและแก้ปัญหา ในสถานการณ์เฉพาะหน้าได้ 2. เน้ือหา การตดั สินใจ และแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ในสถานการณ์ “เห็นคนขโมยของในหา้ งสรรพสนิ คา้ ” 3. สอ่ื การเรยี นรู้ 3.1 แผนภูมเิ พลง 3.2 เกม 3.2 ใบงาน 3.3 ใบความรู้ 3.4 เร่อื งส้ันท่ีเปน็ ประโยชน์ 4. กิจกรรม 4.1 พธิ เี ปดิ ประชมุ กอง )ชกั ธงขึน้ สวดมนต์ สงบน่งิ ตรวจ แยก( 4.2 เพลง หรือเกม 4.3 กจิ กรรมตามจุดประสงค์การเรยี นรู้ 1( ผูก้ าํ กบั ลูกเสอื อธิบายขนั้ ตอนของการตดั สนิ ใจและแก้ปญั หา 2( มอบหมายใหล้ ูกเสือแต่ละหมู่ รว่ มกันแก้ปญั หาเฉพาะหนา้ กรณี “จะทําอย่างไรถ้าเห็น คนกาํ ลงั ขโมยของในห้างสรรพสินคา้ ”โดยวเิ คราะห์ตามขั้นตอนการแกป้ ญั หา เขยี นลง ตารางในใบกจิ กรรม แลว้ สง่ ตัวแทนนําเสนอในกองลูกเสือ 3( สุ่มตวั แทนหมู่ลกู เสือรายงาน ผู้กาํ กบั ลกู เสือนาํ อภปิ ราย วเิ คราะห์ข้อดี/ข้อเสียของ ทางเลอื ก ทีแ่ ต่ละหมูร่ ่วมกนั คดิ และเหตผุ ลในการเลือกทางออกของแตล่ ะหมู่ 4( ผู้กาํ กบั ลูกเสือนําอภปิ ราย สรปุ ขอ้ คดิ ท่ีได้ และการนําไปใช้ในชีวิตประจําวันของลกู เสอื 4.4 ผกู้ าํ กบั ลกู เสือเลา่ เรอ่ื งสัน้ ท่เี ปน็ ประโยชน์ 4.5 พธิ ปี ิดประชุมกอง )นดั หมาย ตรวจเครือ่ งแบบ ชกั ธงลง เลกิ ( 5.การประเมนิ ผล 5.1 สังเกตความรว่ มมือในการปฏิบัตกิ ิจกรรม 5.2 สังเกตกระบวนการคิดในการแก้ปัญหาของหมู่ลูกเสือ 6. องคป์ ระกอบทกั ษะชวี ิตสําคญั ท่เี กดิ จากกจิ กรรม การตดั สนิ ใจและการแกไ้ ขปัญหา คู่มือส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือตรี ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 73 66 คู่มอื ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสือทักษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามญั หลกั สูตรลกู เสอื ตรี ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4
การตัดสินใจและการแกไ้ ขปญั หา ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมท่ี 9 เพลง เพลงลูกเสือช่วยกัน ( พม่าราํ ขวาน ) เราเปน็ ลกู เสอื ตอ้ งชว่ ยเหลือกนั และกัน ทํางานอะไรตอ้ งเข้าไปช่วยกัน เพื่อความสมั พนั ธ์ น้ําใจไมตรี อย่าทาํ เมินเฉยน่งิ อยูเ่ ลยไมด่ ี ตอ้ งช่วยกนั ซี พน่ี อ้ งลกู เสอื ช่วยกนั เกม ยงิ เรือ วธิ ีเลน่ 1. ลกู เสือแต่ละหมูต่ งั้ ช่ือหมู่ของตนเองเปน็ ช่ือเรือต่างๆ เช่น เรือสําราญ เรือเดินสมุทร เรือ สนิ ค้า..เป็นตน้ และเลือกสมาชิก 3 คน เปน็ คนออกคาํ ส่งั โดยคนแรกส่ังบรรจุกระสนุ คนที่ 2 ส่งั เตรียม ยิง และคนที่ 3 ส่ังยงิ โดยรอ้ งว่า ยิงเรอื ...........)ชอ่ื เรอื ท่จี ะยงิ ( 2. ผูก้ าํ กับลกู เสือใหส้ ัญญาณเร่ิมเลน่ ทลี ะหมู่ ให้สมาชกิ ท่เี ป็นคนออกคาํ สงั่ สง่ั ในเรือของตนเอง ทุกคนในเรอื ตอ้ งช้ไี ปท่เี รอื ทเ่ี รยี กชอ่ื ลาํ เดียวกันและพรอ้ มกนั 3. หมใู่ ดพรอ้ มเพรยี ง และชไี้ ดถ้ กู ต้องทกุ คน ถอื วา่ ผ่าน เรื่องสนั้ ที่เป็นประโยชน์ มดง่ามกับนกพิราบ มดงา่ มตัวหนึ่งเหน็ นายพรานยกปืนขน้ึ มาเพอื่ สอ่ งยง่ิ นกพริ าบแต่มดง่ามไมอ่ ยากใหน้ กพิราบ ตอ้ งถูกลกู ปืนของนายพรานจึงไตข่ น้ึ ไปบนขาของนายพรานแล้วคอยทที นี่ ายพรานจะเหนย่ี วไกปนื มด งา่ มกก็ ดั ขาของนายพรานทําใหน้ ายพรานสะดงุ้ ยิงปืนพลาดไปถกู กง่ิ ไมน้ กพิราบจึงไม่ถกู ยิง ต่อมาไม่นานมดง่ามรสู้ ึกกระหายนาํ้ จงึ เดนิ ไปทบ่ี อ่ นํา้ แต่ขณะทจี่ ะกนิ นํ้าก็พลดั ตกลงไปในบอ่ นาํ้ มดงา่ มจงึ ตะโกนร้องขอความชว่ ยเหลอื นกพริ าบซง่ึ เกาะอยูก่ ิ่งไมใ้ กล้ๆไดย้ นิ เสยี งก็เลยเอาปากคาบ ใบไม้มาท้ิงไวใ้ กลม้ ดงา่ มมดงา่ มจึงรีบปนี ขนึ้ บนใบไม้ทันทที ําให้รอดตายไดใ้ นท่สี ดุ ส่วนนกพริ าบนน้ั กด็ ี ใจทไี่ ดม้ ีโอกาสตอบแทนบญุ คณุ ของมดง่าม 74 ค่มู ือส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื ตรี ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4 คมู่ อื สง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือสามัญ หลกั สตู รลูกเสือตรี 67 ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 4
เรือ่ งนส้ี อนใหร้ ูว้ า่ การชว่ ยเหลอื ผ้อู น่ื ยอ่ มกอ่ ใหเ้ กิดผลดีตอ่ ตนเองอยู่เสมอ ประเด็นการวเิ คราะห์คณุ ธรรมทไี่ ด้ 1. ความพอเพยี ง 2. ซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต 3. ความรบั ผดิ ชอบ 4. อุดมการณ์ คณุ ธรรม ใบงาน ใหล้ ูกเสือแต่ละหมู่ ร่วมกนั แกป้ ญั หาเฉพาะหนา้ กรณี “จะทาํ อยา่ งไรถา้ เห็นคนกําลังขโมยของ ในหา้ งสรรพสนิ คา้ ” โดยวเิ คราะห์ตามขั้นตอนการแก้ปัญหา เขียนลงในตารางข้างล่าง และส่งตัวแทน นาํ เสนอในกองลูกเสอื 1. ระบุปัญหา : จะทาํ อยา่ งไรถ้าเหน็ คนกาํ ลงั ขโมยของในหา้ งสรรพสินคา้ 2. วเิ คราะห์ทางเลอื ก : ลกู เสือมที างเลอื กดังนี้ 2.1 2.2 2.3 2.4 3. วเิ คราะหข์ อ้ ดแี ละขอ้ เสียของแต่ละทางเลอื ก ทางเลือก ขอ้ ดี ขอ้ เสีย 2.1 2.2 2.3 2.4 4. ตดั สนิ ใจเลือกทางเลอื กทม่ี ีขอ้ ดีมากทสี่ ดุ และขอ้ เสยี น้อยท่ีสดุ ลูกเสือตัดสินใจเลอื กทางเลอื กขอ้ ...................... 5. จะแก้ไขขอ้ เสยี ทีเ่ กิดจากทางเลอื กโดย ...................................................................................................... 68 คคู่มู่มืออื สส่งเง่ สเรสิมรแิมลแะลพะฒั พนฒั ากนิจากกรจิรมกลรูกรเมสลอื ทูกักเสษือะชทีวักติ ษในะชสถีวาิตนใศนกึ สษถาาปนรศะกึเภษทาลูกลเสกู อื เสาอื มตัญรี หชลน้ั ักปสูตรระลถูกมเสศอื กึ ตษราี ปีที่ 4 75 ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 4
ใบความรู้ การตัดสนิ ใจและการแกไ้ ขปญั หา การตัดสนิ ใจใชใ้ นสถานการณ์ทม่ี ที างเลือกอยแู่ ล้ว มี 4 ขนั้ ตอนคอื 1. กาํ หนดทางเลือกท่มี อี ยู่ 2. วเิ คราะห์ข้อดี และขอ้ เสียของแต่ละทางเลอื ก 3. เลือกทางเลอื กทมี่ ขี อ้ ดีมากท่สี ดุ และข้อเสยี นอ้ ยทสี่ ดุ 4. หาทางแกข้ อ้ เสยี ของทางเลอื กที่เลอื กไว้ และนาํ ทางเลอื กไปปฏบิ ัติ การแกไ้ ขปญั หา ใชใ้ นสถานการณท์ ีย่ งั ไมม่ ที างออกในการแกป้ ัญหา มี 5 ข้ันตอนคอื 1. ระบุวา่ อะไรคอื ปัญหา ถ้ามหี ลายปัญหาให้เลอื กปญั หาทสี่ าํ คญั และเรง่ ด่วนมาแกไ้ ขกอ่ น 2. วเิ คราะห์ว่ามที างเลือกอะไรบ้างท่ีนาํ มาแกไ้ ขปญั หานไี้ ด้ 2. วเิ คราะห์ข้อดี และขอ้ เสียของแต่ละทางเลือก 3. เลือกทางเลอื กทมี่ ขี ้อดีมากท่ีสดุ และข้อเสยี น้อยท่ีสดุ 4. หาทางแกข้ อ้ เสยี ของทางเลอื กที่เลอื กไว้ และนาํ ทางเลอื กไปปฏบิ ตั ิ 76 คู่มอื ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสอื ตรี ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 คูม่ อื สง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามญั หลักสตู รลกู เสอื ตรี 69 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
แผนการจดั กจิ กรรมลูกเสอื หลักสูตรลกู เสือสามญั (ลูกเสือตร)ี ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 หน่วยที่ 3 ความรู้เก่ียวกบั ขบวนการลูกเสือ เวลา 1 ชัว่ โมง แผนการจัดกิจกรรมท่ี 10 ส่งิ ดๆี ของฉนั 1. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ลกู เสอื สามารถอธิบายถึงคณุ คา่ ของตนเองและผู้อน่ื ได้ 2. เนอ้ื หา การเหน็ คณุ คา่ ของตนเองและผู้อื่น 3. สื่อการเรียนรู้ 3.1 แผนภมู ิเพลง 3.2 เกม 3.2 กระดาษ เอ 4 ชนิดแผน่ หนา ปากกาสีตา่ ง ๆ 3.3 เรอื่ งสน้ั ท่เี ป็นประโยชน์ 4. กิจกรรม 4.1 พิธเี ปดิ ประชมุ กอง )ชักธงขนึ้ สวดมนต์ สงบนงิ่ ตรวจ แยก( 4.2 เพลง หรอื เกม 4.3 กจิ กรรมตามจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1( หมลู่ ูกเสอื นง่ั ล้อมวงผูก้ ํากับลกู เสือแจกกระดาษ คนละ 1 แผ่น ลกู เสือทกุ คนเขยี นช่ือ ตนเอง และวางมือซ้ายทาบบนกระดาษ ใช้ปากกาหรือดินสอขีดตามรูปมือลงใน กระดาษ กระดาษ 2( ลกู เสือส่งกระดาษของตนใหเ้ พือ่ นที่น่ังอยดู่ ้านขวามือ เขียนความดีหรือสง่ิ ดี ๆ ของ เพ่อื นทมี่ ีช่ือในกระดาษนน้ั โดยไมต่ ้องลงชอ่ื เม่ือเขียนเสร็จให้ส่งตอ่ คนที่อยูท่ างขวามือ เขียนตอ่ เวียนกระดาษนั้นไปจนครบรอบถงึ เจา้ ของกระดาษ 3( ลกู เสอื เจ้าของกระดาษอ่านดงั ๆ ทลี ะคน พรอ้ มบอกความรู้สกึ วา่ ตรงกบั ที่ตนเองคดิ หรือไมอ่ ยา่ งไร จนครบทุกคน 4( ลกู เสอื กลา่ วขอบคุณทเี่ พอ่ื น ๆ เห็นสิ่งดี ๆ ในตวั เขา ซง่ึ บางเรื่องลูกเสือเองกไ็ ม่รตู้ ัว 5( รวมกอง ผูก้ าํ กบั ลกู เสอื นาํ อภปิ รายถามความรู้สกึ ตอ่ กิจกรรมและข้อคดิ ท่ีได้ 4.4 ผกู้ ํากบั ลกู เสือเลา่ เร่ืองสั้นท่เี ปน็ ประโยชน์ 4.5 พพิธธิ ปี ปี ดิ ิดปปรระะชชุมมุ กกอองง )(นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแแบบบบ ชชกักธธงงลลงงเเลลกิ กิ )( 5. การประเมินผล ค55..ู่ม12ือสสส่งังงั เเเสกกรตตมิ คกแวรละาะบพมฒัวร่วนนมกามกาิจรอื คกในริดรกจมาาลรกกู ปกเสฏาอืรบิ ทอัตักภกิ ษิปจิ ะรกชาวีรยิตรมในสถานศกึ ษา ลกู เสือตรี ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 77 6.7อ0งคป์ ครชคือะู่มั้นเกือขปสรอา้ ง่ะใบเถจสมทรตศมิ ักนึกแษษลเอาะะปพงชทีฒั แี่ีวน4ลติาะกสเิจหํากรน็ครคมัญลุณทูกคเเ่ีสก่าือตทดิ ักนจษเาะอกชงวี กิติจในกสรถารนมศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามัญ หลกั สตู รลูกเสือตรี
5. การประเมนิ ผล 5.1 สังเกตความร่วมมือในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 5.2 สังเกตกระบวนการคิดจากการอภปิ ราย 6. องค์ประกอบทักษะชวี ติ สาํ คัญท่ีเกดิ จากกจิ กรรม คือเขา้ ใจตนเอง และเหน็ คณุ ค่าตนเอง ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมที่ 10 เพลง สุขฤทัย สุขฤทัยเพลนิ ใจเพลินตา สุขอุราเพลนิ ตาเพลินใจ โอ้ละเนอ้ โอล้ ะเน้อ ฉนั ไดเ้ จอเพอื่ นใจ เพอ่ื นใจ )ซา้ํ ( ฉนั คอื คนเกง่ (ทาํ นอง Holiday…ของ Bony M) ฉันกเ็ กง่ เธอก็เก่ง เราก็เจ๋ง ลกู เสือสามญั เราน้องพ่ี มคี วามฝัน ลูกเสือสามญั คนดี คนเกง่ ฉนั มีดี มือของฉนั น้นั สะอาดดี เสอ้ื ของฉันนัน้ กส็ วยดี กระโปรง/กางเกง ของฉนั สวมใสพ่ อดี ดู ดู ซี ฉนั งามไหมเอ่ย เกม เกมแขง่ ห่นุ วิธเี ลน่ ทีส่ นามมีเสน้ เรมิ่ และเสน้ ชยั ห่างกนั 30 เมตร ผ้เู ลน่ ทกุ คนยนื พรอ้ มท่เี สน้ เริ่ม เลอื กผเู้ ลน่ คนหนง่ึ เป็นผูน้ าํ หลับตาพร้อมกันนบั 1 - 8 ผเู้ ลน่ ทุกคนวิ่งไปทีเ่ สน้ ชยั ทนั ที เมือ่ ผู้นํานับถึง 8 จะลืม ตาข้นึ ผเู้ ลน่ ทกุ คนจะตอ้ งหยดุ ว่งิ และอย่ใู นลกั ษณะนั้นคล้ายห่นุ ถา้ ผนู้ าํ เหน็ ผู้เลน่ คนใดขยบั ตัว ผเู้ ลน่ คนนั้นต้องออกจากการแข่งขัน ผู้นําหลับตาใหม่และนับ 7 – 8 ใหม่ ผู้เล่นก็วิ่งต่อไป ทําเช่นน้ี 78 จนกครู่มะือทส่ังผเสู้เรลิม่นแถลึงะเพสฒั น้ นชาัยกิจกรรมลูกเสือทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือตรี ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 การตัดสนิ ผ้ทู ่ีว่ิงถงึ เสน้ ชัยกอ่ นเปน็ ผู้ชนะ เรอื่ งสนั้ ท่ีเปน็ ประโยชน์ )เร่อื งนผี้ กู้ าํ กบั ลกู เสืออาจพจิ ารณาหาตวั อย่างตัวอยา่ งบคุ คลอืน่ ได้ตามความเหมาะสม( คูม่ ือส่งเสริมและพัฒนากสจิ มกรศรมักลดกู ิ์เเสหือทมักรษัญะชวี นิตกัในกสถตี าานรศกึม์ ษอื าเปดรยีะเวภทลูกเสอื สามญั หลักสูตรลกู เสือตรี 71 ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4
คนนั้นต้องออกจากการแข่งขัน ผู้นําหลับตาใหม่และนับ 7 – 8 ใหม่ ผู้เล่นก็ว่ิงต่อไป ทําเช่นน้ี จนกระทงั่ ผเู้ ล่นถงึ เส้นชัย การตดั สนิ ผูท้ ีว่ ง่ิ ถงึ เสน้ ชัยก่อนเปน็ ผชู้ นะ เรื่องส้นั ท่ีเปน็ ประโยชน์ )เรอื่ งนี้ผู้กาํ กับลกู เสอื อาจพิจารณาหาตวั อย่างตวั อย่างบคุ คลอืน่ ไดต้ ามความเหมาะสม( สมศักด์ิ เหมรัญ นกั กีตาร์มือเดียว สมศกั ดิ์ เล่าวา่ เขาชอบเลน่ ดนตรีมาก โดยเฉพาะกีตาร์ แม้จะอ่านตัวโน้ตไม่ออกแต่ก็ฝึกเล่น ดนตรีดว้ ยใจรกั ต่อมาเขาประสบอบุ ตั เิ หตุจนต้องใช้ชีวติ อย่ดู ้วยแขนเพียงข้างเดียวทําให้เขารู้สึกท้อแท้ ใจเปน็ อยา่ งมากทีไ่ มส่ ามารถเลน่ ดนตรไี ด้ดังใจฝนั จนเมื่อผ่านเหตุการณ์อันเลวร้ายครั้งน้ันไปได้หนึ่งปีประกอบกับได้กําลังใจอันเต็มเป่ียมจาก พชี่ าย กท็ ําให้ สมศกั ด์ิ เหมรัญกล้าลุกข้ึนสู้อีกครั้ง ต้ังแต่นั้นมาเขาก็เพียรฝึกเล่นกีตาร์มือเดียวมา ตลอดจนคล่องแคลว่ และเมื่อสมศักดิ์ ทราบข่าวว่ารายการ Thailand's Got Talentเปิดรับสมัครประกวดผู้ท่ีมี ความสามารถ สมศักดิ์ เหมรัญ จึงไม่รอช้ารีบยื่นใบสมัครทันที โดยหวังจะโชว์ความสามารถพิเศษที่ เกิดจากความตัง้ ใจ และทมุ่ เทเพ่อื สง่ ผา่ นความหวัง และกาํ ลังใจต่อไปยงั เพ่อื นร่วมโลกคนอ่นื ๆที่กําลัง ทอ้ แทใ้ นชีวิต ให้ดูชีวิตและความม่งุ มนั่ ของเขาเป็นตัวอย่าง เรอื่ งนสี้ อนใหร้ วู้ ่า ความหวงั และกําลงั ใจเป็นพลังสร้างความสาํ เรจ็ ประเดน็ การวิเคราะหค์ ณุ ธรรมท่ไี ด้ 79 1. ความพอเพียง 2. ซื่อสัตย์ สจุ รติ 3. กตญั ํู 4ค.ู่มคือสว่งาเมสรับมิ แผลดิ ะชพอัฒบนากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื ตรี ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4 5. อดุ มการณ์ คุณธรรม แผนการจดั กิจกรรมลูกเสอื หลักสตู รลกู เสือสามัญ (ลกู เสือตร)ี ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4 แหผ7น2น่วยกทารี่ 4จคชูม่ัดั้นอืปคกสรําิจง่ะเถปกสมรฏรศมิ รึกญิแษมลาาะทปณพทีี่ัฒ1แ่ี น41ลากะจิคกกิดฎรรเลมชลกู ิงกู เบเสสวอือื ทกสักาษมะชัญวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามัญ หลักสตู รลูกเสอื ตรี เวลา 1 ช่ัวโมง
3. กตญั ํู 4. ความรบั ผิดชอบ 5. อดุ มการณ์ คุณธรรม แผนการจดั กจิ กรรมลูกเสอื หลักสูตรลกู เสือสามญั (ลูกเสือตร)ี ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 หน่วยที่ 4 คาํ ปฏิญาณและกฎลูกเสอื สามัญ เวลา 1 ชว่ั โมง แผนการจดั กจิ กรรมที่ 11 คิดเชิงบวก 1. จุดประสงค์การเรยี นรู้ ลูกเสอื สามารถอธบิ ายความหมายและประโยชนข์ องการคดิ เชงิ บวกได้ 2. เนือ้ หา ประโยชน์ และวิธีการคดิ เชิงบวก 3. ส่อื การเรยี นรู้ 3.1 แผนภมู เิ พลง เกม 3.2 เกม 3.2 ใบงาน 3.3 เรือ่ งสัน้ ท่เี ปน็ ประโยชน์ 4. กจิ กรรม 4.1 พิธีเปิดประชุมกอง )ชักธงขึ้น สวดมนต์ สงบน่ิง ตรวจ แยก( 4.2 เพลง หรือเกม 4.3 กจิ กรรมตามจุดประสงค์การเรียนรู้ 1( ผูก้ าํ กับลกู เสอื นําสนทนา ถงึ การเล่นเกม “ทําตรงกนั ข้าม” ทลี่ กู เสอื เพง่ิ เล่นไป และ ต้ังคําถามวา่ “ทําไมลูกเสอื จงึ เผลอทาํ ตามผู้นํา หรือทําได้ชา้ เปน็ เพราะอะไร” )เพราะคนเรามกั จะคดิ และทาตามความเคยชินแบบเดมิ เมื่อตอ้ งฝนื ทาตรงกนั ข้ามจงึ ทา ไดช้ ้า) ไดช้ า้ ) 2( ผู้กาํ กบั ลกู เสือใหล้ ูกเสือแตล่ ะหมู่ทํากจิ กรรม “คิดลบคดิ บวก” ใหห้ ลากหลายมากทส่ี ดุ ตามใบกจิ กรรม เพอ่ื ใหล้ ูกเสอื ได้ฝึกฝนการคิดทีห่ ลากหลาย ซ่ึงเปน็ รากฐานสาํ คัญ ในการหาทางออกเพ่ือการแก้ปัญหาในชีวิตประจําวัน และส่งตัวแทนรายงานในกอง ลกู เสือ ลกู เสอื 3( สุ่มตัวแทนหมู่ลูกเสอื รายงานหม่ลู ะ 1 ขอ้ ผู้กาํ กับลูกเสือนาํ อภิปรายใหห้ มอู่ ื่นเพมิ่ เติม และสรุปวา่ วธิ ีการคดิ เชงิ บวกคือการคดิ ท่ีนาํ ความสุขมาสตู่ นเอง มีทางออกใน การแก้ปัญหา และไม่ทาํ ให้คนอน่ื เดือดรอ้ น 80 คมู่ ือสง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสือทักษะชวี ิตในสถานศึกษา ลกู เสอื ตรี ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 คมู่ อื สง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือสามญั หลกั สูตรลกู เสือตรี 73 ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4
4( ผ้กู ํากับลกู เสอื ต้งั คาํ ถามให้ลกู เสอื ช่วยกนั ตอบในประเดน็ )1( ความคดิ ทางลบมีประโยชน์ตอ่ ลกู เสืออยา่ งไรบา้ ง 4( )ผ2ู้ก(าํ คกวับาลมกู คเิดสทอื าตง้ังบควาํ กถมามปี ใรหะ้ลโยกู ชเสนอื ์ตช่อว่ ลยกู กเสนั อืตอยบา่ ใงนไปรบระ้าเงดน็ 45( ผผ)1ูก้ ูก้ (าํ ําคกกวับบั าลลมูกกู คเเสิดสอืทอื นาตงําั้งลอคบภาํ มถปิ ปีารมารยใะหโสยล้รชุปูกนเขสต์อ้ อื อ่คชลิด่วกูทยเไี่กสดือนั ้จอตายอก่าบกงใจิไนรกปบรร้าะมงเด(ค็นวามคดิ ทางลบนาไปสู่ ความร้สู กึ )12( ความคิดทางลบบวกมมีปีประรโะยโยชชนนต์ ์ต่อลอ่ กูลกูเสเือสอื ยอย่างา่ ไงรไบรบ้าง้าง 5( ผ)แ2ู้กล(ําะคกพวับฤาลตมกู ิกคเรสดิ รอืทมนาตงําอบอบภวสกิปนมรอาปี งยรทสะาโรงยุปลชขบน้อต์คในอ่ดิ ขลทณกู ไี่ เดะส้จทอื าี่คอกวยกา่ ิจมงกไคริดบรทมา้ าง(งคบววากมนคาดิ ไทปาสงู่คลวบานมารไูส้ ปึกสทู่ ่ีดแี ละ ความร้สู กึ 5)( ผพ้กู ฤํา�ำตกกกิ บั ับรลรลกูมูกเทสเสาอื งือนบนาํ วอ�ำกภอทภปิ าริปใารหยาไ้สยมรสเ่ปุ สรขยีุปอ้ สขคัม้อิดพคทันิดไ่ี ธดทภจ้ ่ีไาดพก้จกทาิจด่ีกกกี กรับิจรผมกูอ้ ร(ืน่รคมวแาลม(ะคคตวดิั าทสมานิ คงใลิดจบแทกนาป้างไลญั ปบหสนาู่ �ไำดไป้ สู่ ความร ู้สกึ คแเหวลมาะมพาะรฤสู้ ตมกึ กิ กแรลวระ่ามพคตวฤอาตบมกิ สครนดิรมอทงตาทงอลาบงบสล)นบอใงนทขาณงละบท่ีคในวาขมณคะิดททค่ี าวงาบมวคกดิ นบาวไกปนส�ำู่คไวปาสมคู่ รวู้สากึ มทรี่ดสู้ กีแึ ลทะด่ี ี 4.4 ผูก้ าํแพกลฤับะตพลพกิ ูกฤรฤเตรสตมกิ อื ิกทรเรลาม่ารงเตบมรอวท่ื บกงาสงท้นั บาทอใวหงีเ่ กปทไ้ น็มางทป่เสล�รำยีบะใสโหใยมั น้ไชพขมนันณ่เ์ ธสะภียทาสี่คพัมวทาพมดี่ ันคีกธิดับภทผาู้อง่นืพบทแวล่ีกดะนีกตาับดั ไผปสินู้สอ่คูใืนจวแาแกมลป้ ระู้สัญตึกหทัดาด่ีสไดีแินล้ ใะจ 4.5 พธิ แีปพเหกดิฤมป้ปตาัญรกิ ะะหรสชรมามุ ไกกดทวเอ้า่หงคมบว)านวาะกดัมสหคมทมดิกาทาวใหยา่ คไง้ ตมลวราบ่เวสม)จยีคเสดิคัมทรพือ่างนั ลแธบภ)บาพชทกั ด่ีธงีกลับงผเู้อลื่นิก(และตัดสินใจแกป้ ัญหาได้ 5. การป4ร.4ะเมผู้กนิ ําเผหกลมับาละูกสเมสอืกเวลา่ ่าคเวรือ่ามงสค้นั ิดทเี่าปง็นลบป)ระโยชน์ 54.145 สผพงั กู้ิธเกาํีปตกิดคบั ปวลรากูะมชเสรมุ ว่อื กมเลอมา่งือเร)ใน่ือดังกสหาัน้รมปทาฏยเ่ี ปบิ ตน็ ัตรปิกวรจิ ะกเโครยรชื่อมนงแ์ บบ ชักธงลง เลิก( 5. การป45ร.52ะเสมพงั ินธเกปีผตดิลกปรระะบชวมุ นกกอางรค)นิดดั จหากมกายารตอรภวปิ จรเาคยรื่องแบบ ชักธงลง เลกิ ( 5. การป5ร.1ะเสมังินเกผตลความรว่ มมอื ในการปฏิบัตกิ จิ กรรม 5.12 สงั เกตคกวระาบมวร่วนมกมารอื คในิดกจากรปกฏาริบอัตภกิ ิปจิ รการยรม 6. องค5ป์ .ร2ะสกังอเกบตทกกั รษะบะชวนีวกติ าสราํ คคิดัญจาทกี่เกกาดิ รจอาภกปิ กริจายกรรม การคดิ วิเคราะห์ ความคดิ สรา้ งสรรค์ และเข้าใจตนเอง 6. องค์ประกอบทักษะชีวิตสําคัญทเ่ี กิดจากกจิ กรรม 6. องคกป์ ารระคกิดอวบเิ คทรักาษะหะ์ชคีววิตามสคาํ คิดสัญรทา้ ง่ีเกสริดรจคา์ แกลกะจิ เกข้ารใรจมตนเอง การคดิ วิเคราะห์ ความคดิ สร้างสรรค์ และเข้าใจตนเอง คูม่ ือส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือตรี ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4 81 คู่มอื ส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสือทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสือตรี ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4 81 81 74 คู่มคมู่ืออื สส่งง่ เเสสริมแแลละะพพัฒฒั นนากาิจกกิจรกรรมรลมกู เลสูกือเทสกั ือษทะกัชีวษิตะใชนวี สิตถาในศสกึ ถษาานปศรกึ ะษเภาทลลูกกู เสเสืออืสตามรัญี ชห้นั ลปักรสะูตถรมลกูศเกึสอืษตารปี ีท่ี 4 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4
ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมที่ 11 เพลง อยไู่ หนก็สุข อยู่ทน่ี ่ี มสี ขุ อย่ทู นี่ น่ั มีสขุ อยทู่ ไ่ี หนๆ ๆ ก็มสี ุขทกุ เวลา ...... ซ้ํา( ลา ลา( ดสี ซีนี ดสี ซนี ซี าฟงั ดสิ ซานาซานงั ดสิ มานา มานา ฮาติกซู านัง ซํ้า( ลา ลา( เกม ทําตรงกันขา้ ม วิธีเลน่ เลือกผู้นาํ มา 1 คน โดยให้ผู้นาํ ทําทา่ ทางต่าง ๆ ผเู้ ลน่ คนอ่ืนนน้ั จะต้องทําตรงกนั ข้ามกับท่ผี ้นู าํ ทํา เชน่ ผูน้ ําหัวเราะ – ลูกเสอื ทกุ คนต้องรอ้ งไห้ ผู้นาํ นงั่ ลง – ลกู เสือตอ้ งยืนขึน้ ผ้นู ํากา้ วเทา้ ซา้ ย – ลูกเสอื กา้ วเท้าขวา ฯลฯ การทาํ จะเรว็ ขน้ึ ไปเรอื่ ย ๆ การตัดสิน ลกู เสอื ท่ที าํ ตามผู้นาํ ไมท่ ําตรงข้าม หรือทําช้า จะต้องออกจากการแขง่ ขนั หรือเปลยี่ นมาเปน็ ผูน้ ํา 82 คมู่ อื สง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสือทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื ตรี ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 คมู่ อื ส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลูกเสอื ทักษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสือสามัญ หลกั สูตรลกู เสอื ตรี 75 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4
เรอ่ื งสัน้ ทีเ่ ป็นประโยชน์ คนเล้ยี งแพะ วนั หน่ึงขณะเกิดพายุแรงมาก คนเลี้ยงแพะจึงพาฝูงแพะของตนไปหลบพายุในถ้ํา เมื่อเข้าไป แล้วเขากพ็ บฝูงแพะปาู ฝูงใหญ่หลบอย่ใู นถ้ําดว้ ยเชน่ กัน จึงรําพงึ กบั ตัวเองวา่ \"ฝูงแพะปูานมี้ จี ํานวนแพะ มากกว่าฝูงแพะของเราหลายเทา่ นักเราน่าจะเอาแพะปูาฝูงใหญ่นี้ไปเล้ียงเเทนฝูงเดิมคงจะดีกว่า\"เม่ือ คนเล้ยี งแพะคดิ ได้ดงั น้นั จึงนาํ เอาใบไม้ทเ่ี ตรียมมาไวใ้ ห้ฝูงแพะเดิมของตน ไปให้ฝูงแพะปูากินจนหมด เม่ือพายสุ งบลงฝงู แพะปาู กพ็ ากันวิ่งออกจากถา้ํ เข้าปาู ไปอยา่ งรวดเร็ว ส่วนฝูงแพะเดิมของตน ก็ค่อยๆ ตายไปจนหมดเพราะอดอาหาร คนเลยี้ งแพะจงึ ได้แตน่ ง่ั รอ้ งไห้ให้เพื่อนบ้านหัวเราะเยาะต่อไป เร่ืองนส้ี อนให้รู้ว่า เหน็ แก่มติ รใหม่จนทอดทง้ิ มติ รเกา่ ในท่สี ุดก็จะไม่เหลอื ใครเลย ประเด็นการวิเคราะหค์ ณุ ธรรมทไ่ี ด้ 1. ความพอเพียง 2. ซ่อื สัตย์ สจุ ริต 3. ความรบั ผดิ ชอบ 4. กตัญํู คู่มือสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสือตรี ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 83 76 คู่มือส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลกู เสอื สามัญ หลกั สูตรลกู เสือตรี ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงาน ให้ลูกเสอื แต่ละหม่รู ะดมสมองความคดิ ทางลบ และความคดิ ทางบวก ทม่ี ตี อ่ ข้อความแตล่ ะขอ้ ใหไ้ ดห้ ลากหลายมากทสี่ ุด เขยี นลงในตาราง และสง่ ตวั แทนรายงานในกองลกู เสอื ขอ้ ความ ความคิดทางลบ ความคิดทางบวก ทาํ ถุงขนมตกพนื้ ขนมหลน่ ออกจากถงุ ตกพน้ื ไปคร่งึ หนง่ึ เพ่ือนยมื หนังสอื ไปอ่านแล้วทําขาด อยากได้เกมกด แตแ่ มไ่ มซ่ อื้ ให้ 84 คู่มอื ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ลกู เสอื ตรี ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 คูม่ อื ส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือสามญั หลกั สตู รลกู เสือตรี 77 ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4
แผนการจัดกิจกรรมลูกเสือ หลักสตู รลูกเสือสามญั (ลูกเสือตรี) ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 หนว่ ยที่ 4 คาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสือสามัญ เวลา 1 ช่วั โมง แผนการจดั กิจกรรมท่ี 12 ความซอื่ สตั ย์ 1. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ลูกเสอื สามารถอธบิ ายพฤตกิ รรมท่แี สดงออกถงึ ความซอื่ สตั ย์ได้ 2. เน้ือหา พฤติกรรมของความซอ่ื สัตย์ ซ่งึ เป็นผูม้ เี กยี รติ เชือ่ ถือได้ 3. สื่อการเรียนรู้ 3.1 แผนภมู เิ พลง 3.2 เกม 3.2 บตั รคาํ 3.3 ใบความรู้ 3.4 เรอ่ื งส้ันท่เี ป็นประโยชน์ 4. กจิ กรรม 4.1 พิธเี ปดิ ประชมุ กอง )ชักธงข้ึน สวดมนต์ สงบน่งิ ตรวจ แยก( 4.2 เพลงหรือเกม 4.3 กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1( ผู้กํากับลกู เสือใหล้ กู เสือแตล่ ะหม่เู รยี งคาํ ในบตั รคําที่ได้รบั วิเคราะหค์ วามหมายของ ข้อความทเี่ รียงได้ และยกตัวอยา่ งบคุ คลในประวตั ิศาสตร์ / ละคร / นิทาน 1 ตวั อยา่ ง สง่ ตวั แทนรายงานในกองลกู เสือ 2( ตัวแทนหม่ลู กู เสอื รายงานทีละหมู่ ผู้กาํ กับลูกเสือและลูกเสอื หมู่อน่ื ร่วมกันซักถาม เพ่ือความเข้าใจ ผ้กู าํ กบั ลูกเสอื ช่วยสรุป จนครบทกุ หมู่ 3( ผู้กํากับลูกเสือต้ังคําถาม “เพราะเหตุใดบุคคลท่ีมีความซ่ือสัตย์ จึงเป็นผู้มีเกียรติ เ ชื่อถอื ได้” เชอ่ื ถอื ได”้ (บุคคลท่ีมีความซื่อสัตย์ เป็นบุคคลท่ีคนท่ัวไปยกย่อง สรรเสริญ จึงเป็นผู้มีเกียรติ เช่ือถอื ได้) เชอื่ ถอื ได)้ 4( ผู้กาํ กับลูกเสอื นําอภปิ ราย สรุป และเพิ่มเติมตามใบความรู้ 4.4 ผ้กู าํ กบั ลูกเสือเลา่ เรอ่ื งส้ันทีเ่ ปน็ ประโยชน์ 4.5 พิธีปิดประชมุ กอง )นัดหมาย ตรวจเครือ่ งแบบ ชักธงลง เลกิ ( คู่มือสง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสือตรี ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 85 78 ค่มู อื สง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามัญ หลักสตู รลูกเสือตรี ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 4
5.การประเมินผล 5.1 สังเกตความรว่ มมือในการปฏบิ ัติกจิ กรรม 5.2 สงั เกตกระบวนการคิดจากการอภปิ ราย 6. องค์ประกอบทักษะชีวติ สาํ คัญที่เกดิ จากกจิ กรรม การคดิ วเิ คราะห์ ความคิดสรา้ งสรรค์ และตระหนักถึงความสาํ คญั ของความซื่อสัตย์ ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมท่ี 12 เพลง ความซอื่ สัตย์ เป็นสมบัตขิ องคนดี ความซือ่ สตั ย์ หากว่าใครไมม่ ี ชาตนิ ี้เอาดไี มไ่ ด้ มีความรทู้ ่วมหัว เอาตวั ไม่รอดถมไป คดโกงแล้วใคร จะรบั ไวใ้ หร้ ว่ มทาํ งาน บัตรคาํ เสยี ชพี อยา่ เสีย สัตย์ ซ่ือ กิน ไม่ หมด คด กิน ไม่ นาน มี เกยี รติ เชอื่ ถอื ได้ ถ้า ซ่ือ สัตย์ ผู้ สูญ เสีย ความ ซื่อ สตั ย์ เหมอื น สูญ เสยี แล้ว ทกุ ส่ิง ทกุ อย่าง 8เ6ร่อื งสค้นั มู่ ทอื ส่เี ง่ปเส็นรมิปแรละพโยัฒชนนาก์ ิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสือตรี ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 ปกู บั งู ปูกับคง่มู ูเือปสน็ ง่ เเสพรมิ่ือแนลทะพ่ีคัฒบนหากาิจกกนั รรมมาลนกู เาสนอื ทปักษูนะัน้ ชซีวติ ่ือใตนสรถงาตนอ่ ศงึกูไษมา ่เปครยะเทภทรลยูกศเสหือักสาหมชลญั ั้นังปหตรละรกั ถงสมกตู ศรนั ึกลษขกู าเา้ สปมอืีทตก่ี 4รับี งซู ง่ึ ม79กั
สญู เสีย แลว้ ทกุ ส่ิง ทุก อย่าง เรอ่ื งสนั้ ทท่ีเ่เี ปป็นน็ ปปรระะโโยยชชนน์ ์ ปูกับงู ปกู ับงเู ปน็ เพอื่ นทค่ี บหากนั มานาน ปูนั้นซือ่ ตรงต่องูไม่เคยทรยศหักหลัง ตรงกันข้ามกบั งซู ึง่ มกั ไม่ซื่อตรง ทาํ ให้ปไู ด้รับความเดือดร้อนอยู่เสมอ แม้จะพยายามตักเตือนอย่างไรแต่งูก็ไม่ยอมกลับตัว จนในทีส่ ดุ ปหู มดความอดทนจึงใชก้ ้ามหนบี งูจนตาย “ถ้าจติ ใจของเจ้าซื่อตรงเหมอื นร่างของเจา้ ที่นอนยาวเหยยี ดอย่เู ชน่ นี้ เจ้าก็คงไม่ต้องพบจุดจบ ในวนั นี้” ปูกลา่ วกบั งูกอ่ นที่จะกลับลงรขู องมันไปตามลําพัง เรอ่ื งนีส้ อนใหร้ ูว้ ่า คนเลวไรค้ วามซื่อสตั ย์ ยากท่ีจะสาํ นึกตวั ได้แม้เมอ่ื ตายจากโลกนี้ไปแลว้ ประเดน็ การวเิ คราะห์คุณธรรมทไี่ ด้ 1. ซ่อื สัตย์ สจุ รติ 2. ความรับผิดชอบ 3. กตัญํู 4. อุดมการณ์ คณุ ธรรม คู่มือส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ลกู เสือตรี ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 87 80 คู่มือส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามญั หลกั สตู รลูกเสอื ตรี ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4
ใบความรู้ ความซอ่ื สัตย์ ความซอ่ื สตั ย์ หมายถึง การประพฤติปฏิบัติที่ตรงต่อความเป็นจริงมีความจริงใจ และถูกต้อง ตามทาํ นองคลองธรรมทงั้ กายวาจาใจท้งั ต่อตนเองผอู้ นื่ หน้าท่กี ารงานและคาํ มน่ั สัญญารวมไปถึงการไม่ คดิ คดทรยศไม่คดโกงและไมห่ ลอกลวง ตัวอยา่ ง - ซื่อตรงต่อเวลา งาน การนัดหมาย คํามนั่ สญั ญาระเบียบประเพณี กฎหมาย - ปฏิบัติหน้าที่การงานของตนเองด้วยความรับผิดชอบและด้วยความซ่ือสัตย์ไม่แสวงหา ผลประโยชนใ์ ห้แกต่ นเองและพวกพ้องโดยการใชอ้ าํ นาจหน้าทโ่ี ดยมชิ อบ - ประกอบสัมมาชพี ทําหนา้ ทข่ี องตนเองใหส้ าํ เร็จลลุ ่วงดว้ ยความระมดั ระวัง และเกดิ ผลดีต่อ ตนเองและสังคม - ไมพ่ ดู ปด ฉ้อฉล สับปลับ กลบั กลอก ไมค่ ดโกงไมใ่ หร้ ้ายผอู้ ่ืนกลา้ ท่ีจะรับความจรงิ เรามกั ใชค้ าพูดรวม ๆ ว่า “ความซอ่ื สัตย์สุจริต” ซ่ือสัตยต์ ่อหนา้ ที่ คือ ทาํ หนา้ ท่ีของตนอยา่ งดแี ละเหมาะสม ไมห่ ลกี เลี่ยงหรอื บดิ พล้ิว ซือ่ สัตยต์ ่อการงาน คอื ทํางานอะไรกต็ ้งั ใจทําใหจ้ ริงใหส้ ําเร็จประโยชน์ ซ่ือสตั ย์ต่อเวลา คอื เปน็ คนรักษาคาํ มั่นสัญญา ตรงตามเวลาทน่ี ดั หมาย ซ่ือสัตยต์ อ่ บุคคล คอื มคี วามจริงใจตอ่ มิตร ตอ่ คูค่ รอง ต่อผมู้ พี ระคุณ เปน็ ต้น ซอ่ื สตั ย์ต่อความดี คือ ยึดมั่นอยู่ในทางดี ทง้ั ต่อหนา้ และลับหลังผอู้ ื่น สว่ นคาํ ว่า \"สุจรติ \" หมายถงึ การประพฤติชอบซ่ึงจะแสดงออกให้เหน็ ทางพฤตกิ รรม 3 ทาง คอื ประพฤติชอบทางกาย เรียกวา่ กายสุจริต ได้แก่การไมเ่ บียดเบียนผอู้ น่ื ทงั้ ชีวิต/รา่ งกาย/ ทรัพย์สิน/กรรมสทิ ธิ์ และไม่เบียดเบยี นผ้อู น่ื ทางด้านคู่ครอง และการไม่นอกใจคคู่ รอง ประพฤติชอบทางวาจา เรยี กวา่ วจีสจุ ริต ไดแ้ กก่ ารไม่กล่าวใหร้ ้ายผอู้ น่ื ด้วยการพดู คําเทจ็ ไม่กลา่ วให้ร้ายผอู้ นื่ ดว้ ยการพดู ยยุ งใหแ้ ตกสามคั คกี นั ไม่กลา่ วใหร้ า้ ยผอู้ ื่นดว้ ยการพดู คาํ หยาบและไม่ กล่าวใหร้ ้ายผอู้ ื่นด้วยการพดู เหลวไหล ประพฤตชิ อบทางใจ เรยี กว่า มโนสจุ ริต อนั ได้แก่ การไม่โลภ อยากได้ของคนอ่ืนในทางทผ่ี ิด การไม่คิดปองร้ายคนอ่ืนและการเห็นชอบตามหลักแห่งเหตุและผล เช่น เห็นว่าทําดีได้ดี ทําชั่วได้ช่ัว เป็นต้น 88 คู่มือส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลกู เสอื ทักษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสือตรี ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ค่มู ือสง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลกั สูตรลกู เสือตรี 81 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4
แผนการจัดกจิ กรรมลูกเสอื หลักสูตรลกู เสือสามัญ (ลกู เสือตร)ี ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4 หนว่ ยท่ี 4 คาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสือสามญั เวลา 1 ช่ัวโมง แผนการจัดกิจกรรมท่ี 13 สิทธิส่วนบุคคล 1. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ลูกเสือสามารถอธบิ ายถึงผลเสยี ท่เี กดิ ข้นึ จากการลว่ งละเมิดสิทธขิ องผอู้ น่ื ได้ 2. เนือ้ หา สทิ ธิส่วนบคุ คลท่ไี มค่ วรลว่ งละเมดิ 3. ส่ือการเรยี นรู้ 3.1 แผนภมู ิเพลง 3.2 เกม 3.2 ใบความรู้ 3.3 เร่ืองสน้ั ที่เปน็ ประโยชน์ 4. กิจกรรม 4.1 พธิ เี ปิดประชุมกอง )ชกั ธงขนึ้ สวดมนต์ สงบน่งิ ตรวจ แยก( 4.2 เพลง หรือเกม 4.3 กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1( ผกู้ ํากบั ลกู เสอื นาํ สนทนา เกยี่ วกับสิทธสิ ว่ นบคุ คล และการเคารพสทิ ธขิ องผู้อนื่ และ แจกใบความรู้ 2( มอบหมายให้หมลู่ กู เสอื แสดงบทบาทสมมติ หมู่ละ 1 กรณี ดงั นี้ หมู่ที่ 1 ไมเ่ คารพสทิ ธิทางกาย หมู่ที่ 2 ไมเ่ คารพสิทธิทางวาจา หมู่ท่ี 3 ไมเ่ คารพสทิ ธขิ องคนทม่ี ากอ่ น/หลัง หมทู่ ่ี 4 ไมเ่ คารพสิทธใิ นความคิดเห็นของผ้อู น่ื โดยกําหนดให้แสดงบทบาทสมมติ 2 รอบ รอบแรกเป็น “การไม่เคารพสิทธิผู้อื่น” รอบที่ 2 แกไ้ ขในกรณีเดยี วกันให้เป็น “การเคารพสทิ ธผิ อู้ น่ื ” แลว้ นาํ เสนอในกองลกู เสอื (ตัวอยา่ งเชน่ กรณีหยิบ ยางลบของเพื่อนไปใช้ รอบแรก หยิบไปใช้โดยไม่ขออนุญาต และรอบ 2 ขออนุญาตก่อนเมื่อได้รับ อนญุ าตแลว้ จึงนายางลบของเพื่อนไปใช้ และรบี นามาคืน) 3( ลูกเสือแต่ละหม่แู สดงบทบาทสมมติ ประกอบคําอธบิ าย เม่ือแสดงบทบาทสมมตจิ บ คูม่ ือส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ลกู เสือตรี ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 89 82 คมู่ อื สง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสือสามัญ หลักสูตรลกู เสอื ตรี ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4
ผกู้ ํากับลูกเสือนาํ อภิปรายให้หม่อู น่ื แสดงความคดิ เหน็ จนครบทกุ หมู่ 4( ผกู้ ํากับลูกเสือและลูกเสอื ร่วมกนั สรปุ ขอ้ คดิ ทไ่ี ดจ้ ากการทํากิจกรรม 4.4 ผูก้ าํ กับลกู เสอื เล่าเรื่องสั้นท่ีเปน็ ประโยชน์ 4.5 พธิ ีปดิ ประชมุ กอง )นดั หมาย ตรวจเคร่ืองแบบ ชกั ธงลง เลิก( 5. การประเมนิ ผล 5.1 สังเกตความรว่ มมอื ในการปฏิบตั ิกจิ กรรม 5.2 สงั เกตกระบวนการคดิ จากการอภปิ ราย 6. องคป์ ระกอบทกั ษะชวี ติ สาํ คัญท่ีเกดิ จากกจิ กรรม การเข้าใจตนเอง เหน็ ใจผู้อื่น และความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กจิ กรรมท่ี 13 เพลง ขอโทษ เน้ือเพลง ท่าทางประกอบเพลง เพ่ือนจา๋ เพ่ือนจา๋ สวมกอดหรอื จบั มือหรอื สะกดิ แขนของเพื่อน โกรธหรอื ไร ไมย่ ิ้มเลย ยิม้ มองหนา้ แล้วเอยี งคอพรอ้ มยกนว้ิ กอ้ ยให้เพอื่ น ขอโทษเถอะเพอ่ื นเอย๋ ยกมอื ไหว้ เราเคยเล่นดว้ ยกนั จบั มอื แลว้ ก้าวเท้าสไลดไ์ ปขา้ งหน้า พล้งั ไปอภยั โดยพลัน ทงั้ สองคนยกนว้ิ มาเกย่ี วกอ้ ยกนั ยกโทษใหฉ้ นั เถดิ เอย ทงั้ คตู่ า่ งยกมอื ไหว้และรับไหวซ้ ึ่งกนั และกนั เรอ่ื งส้นั ที่เปน็ ประโยชน์ อฐู กบั เทพเจา้ ในสมัยที่สัตว์ท้ังหลายยังสามารถพูดจาติดต่อกับเทพเจ้าได้ ยังมีอูฐตัวหน่ึงได้ร้องเรียนต่อ เทพเจ้าผยู้ ิง่ ใหญว่ า่ “ไม่ยุตธิ รรมเลย ทําไมทา่ นจึงสร้างตัวขา้ ขึ้นมาไมเ่ หมอื นกบั สตั วอ์ ่ืนๆ ขา้ ไม่มแี มแ้ ต่ เขาไว้ปฺองกนั ตวั ไรเ้ ขยี้ วอนั แหลมคม อุง้ เลบ็ ทที่ รงพลงั หรือส่ิงอันใดที่พอที่จะปกปฺองตัวเองจากศัตรูก็ ไมม่ เี ลย ขอให้ทา่ นโปรดมอบส่งิ เหล่านีแ้ กข่ า้ ด้วยเถิด” เทพเจ้าได้ยนิ ดงั นน้ั ก็พิโรธ ดว้ ยเหน็ อูฐมอี วยั วะหลายอยา่ งท่ดี กี ว่าสัตว์อื่นอยู่แล้ว เช่น ขายาว มจี มูกทส่ี ามารถเปิดปดิ ปอฺ งกันทรายได้ ส่วนตาน้ันกม็ ีสองช้นั เม่ือปิดเปลอื กตาชน้ั แรกปฺองกันฝูุนทราย 90 คมู่ อื คส่มู่งือเสสรง่ มิเสแรลิมแะพละัฒพนฒั านกาิจกิจกกรรรรมมลลูกกู เเสสอื ือททกั กั ษษะชะชีวิตวี ใิตนใสนถสานถศากึนษศาึกปษราะเภลทกู ลเสูกเือสตอื รสีาชมัญน้ั ปหรละักถสมตู ศรลึกกู ษเสาอืปตที รี่ ี 4 83 ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4
ก็ยงั มองเหน็ ทาง นอกจากนน้ั กระเพาะยังจุนํ้าได้มาก ทําให้สามารถเดินทางในทะเลทรายโดยไม่ต้อง กินน้ําไดเ้ ป็นเวลานานหลายๆวนั แตอ่ ฐู กย็ งั ไมพ่ อใจในส่ิงท่ีตนเองมีอยู่ ด้วยเหตุนี้เทพเจ้าจึงสาปให้หู ของมนั เลก็ ลงไปกว่าเดิมเพ่อื เปน็ การลงโทษ เรอ่ื งนีส้ อนใหร้ วู้ ่า จงพอใจในส่งิ ท่ตี นมี และเปน็ อยู่ ประเดน็ การวิเคราะห์คณุ ธรรมทไี่ ด้ 1. ซอื่ สตั ย์ สจุ รติ 2. ความรับผดิ ชอบ 3. อุดมการณ์ คณุ ธรรม ใบความรู้ สิทธิสว่ นบุคคล และการเคารพสทิ ธขิ องผ้อู ื่น บคุ คลย่อมมสี ทิ ธิอนั ชอบธรรมซง่ึ เป็นทย่ี อมรบั ตามธรรมชาติ และตามกฎหมาย การเคารพสทิ ธขิ องผอู้ น่ื จึงหมายถึง การไม่ลว่ งละเมิดสิทธขิ องผอู้ น่ื ในทกุ ดา้ น ซงึ่ จัดเป็นวิถี ชวี ิตประชาธิปไตยทเ่ี ปน็ พ้นื ฐาน ได้แก่ 1. การเคารพสิทธทิ างกาย ได้แก่ - การตอ้ นรบั ทกั ทาย - การให้เกยี รติผู้อน่ื - การแสดงความเคารพแก่บคุ คลซง่ึ อาวโุ สกว่า - การแสดงความเออื้ เฟอื้ ซง่ึ กนั และกัน 2. การเคารพสทิ ธิทางวาจา ไดแ้ ก่ - การพูดใหเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ - การใชค้ าํ พดู เหมาะสมตามฐานะของบคุ คล - การพดู จาสุภาพไมก่ า้ วร้าว สอ่ เสียด ไมพ่ ดู ในสง่ิ ทีจ่ ะทําใหผ้ ูอ้ น่ื เกดิ ความเดือดรอ้ น - ไม่นาํ ความลบั ของบุคคลอื่นไปเปดิ เผย - ไม่พดู นนิ ทาหรอื โกหกหลอกลวง 3. การร้จู ักเคารพในสทิ ธขิ องคนทม่ี ากอ่ นหลัง เช่นการเขา้ คิว 4. การเคารพในความเป็นเจา้ ของส่งิ ของเคร่ืองใช้ 5. การร้จู ักขออนุญาต เมื่อล่วงลํา้ เขา้ ไปในท่อี ยูอ่ าศยั ของบคุ คลอื่น 6. เคารพในความคิดเหน็ ของผู้อนื่ การยอมรบั ฟงั ความคิดเห็นของผอู้ นื่ เมื่อมผี ูพ้ ดู เสนอความ คิดเหน็ ควรฟงั ด้วยความต้ังใจและใคร่ครวญด้วยวิจารญาณ หากเห็นวา่ เปน็ การเสนอแนวความคิดที่ ดมี ปี ระโยชน์มากกว่าความคดิ เห็นของตนเองก็ควรยอมรับและปฏิบตั ิตาม 84 คู่มคมู่ือือสสง่ ง่ เเสสรมิ แแลละะพพัฒฒั นนากาิจกกิจรกรรมรลมูกเลสูกอื เทสักอื ษทะกัชีวษิตะใชนีวสติ ถาในศสกึ ถษาานปศรกึ ะษเภาทลลกู กู เสเสืออืสตามรญั ี ชห้นั ลปกั รสะตู ถรมลูกศเกึสอืษตารปี ีที่ 4 91 ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4
แผนการจัดกิจกรรมลกู เสอื หลักสูตรลกู เสือสามญั (ลกู เสือตรี) ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 หนว่ ยที่ 4 คําปฏิญาณและกฎของลกู เสือสามญั เวลา 2 ชว่ั โมง แผนการจัดกิจกรรมท่ี 14 ตน้ ตระกลู ไทย 1. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ลกู เสือสามารถบอกถงึ ความสําคัญของสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ 2. เน้ือหา ประวัติบุคคลสําคญั หรอื วีรบรุ ษุ ผูป้ กปอฺ งชาตไิ ทยในอดตี 3. สอื่ การเรยี นรู้ 3.1 แผนภูมิเพลง 3.2 เกม 3.2 ใบความรู้ 3.3 เรอ่ื งสั้นที่เป็นประโยชน์ 4. กิจกรรม 4.1 กิจกรรมครง้ั ท่ี 1 1( พธิ เี ปดิ ประชมุ กอง )ชักธงขนึ้ สวดมนต์ สงบน่งิ ตรวจ แยก( 2( เพลง หรอื เกม 3( กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ )1( ผูก้ าํ กับลกู เสอื นําสนทนาในกองลกู เสอื ถึงวีรบรุ ุษท่ปี กปฺองชาตไิ ทยใหค้ นไทยไดอ้ ยู่ อาศัยอยา่ งมคี วามสขุ มาจนถึงปจั จุบัน )2( ผกู้ ํากบั ลูกเสือและลกู เสอื รว่ มกนั ขับรอ้ งเพลง “ต้นตระกูลไทย” )3( หมู่ลกู เสอื ร่วมกันวเิ คราะหค์ วามหมายของเพลงและวีรบุรุษที่กลา่ วถึงในบทเพลงว่า มคี วามสาํ คัญอย่างไรในประวัตศิ าสตร์ไทย และระดมสมองว่านอกจากนย้ี ังมบี ุคคล สาํ คญั คนไหนอกี บา้ งท่ลี ูกเสอื เคยรู้ หรือ เคยได้ยนิ และบคุ คลนน้ั มคี วามสาํ คญั ตอ่ ชาตไิ ทยอย่างไร )4( รวมกอง ผกู้ าํ กับลกู เสอื รวบรวมช่ือบคุ คล/กลุ่มบคุ คล ทห่ี มู่ลกู เสือได้ระดมสมองเพมิ่ เตมิ )5( ให้ลูกเสือแตล่ ะหมู่เลอื กทาํ ตาํ นานประวัติบุคคลสาํ คัญ หมลู่ ะ 1 เรอ่ื งทีไ่ ม่ซา้ํ กัน มาเล่าใหเ้ พื่อนฟังในกองลกู เสอื โดยจะมีการแขง่ ขนั กันว่า ลกู เสอื หม่ใู ดเล่าได้ สนกุ สนานและนา่ สนใจมากท่สี ุด 4( ผกู้ าํ กบั ลูกเสอื เล่าเร่อื งสัน้ ทีเ่ ป็นประโยชน์ 92 คู่มอื สง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื ตรี ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 คู่มอื สง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสือสามญั หลักสตู รลูกเสอื ตรี 85 ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4
5( พิธีปดิ ประชุมกอง )นดั หมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชกั ธงลง เลกิ ( 4.2 5ก(ิจกพรธิ รปี มดิ คปรัง้ะทชมุ่ี 2กอง )นัดหมาย ตรวจเครอ่ื งแบบ ชกั ธงลง เลกิ ( 4.2 ก1จิ( กพริธรเีมปคดิ รปัง้ รทะช่ี 2ุมกอง )ชักธงข้ึน สวดมนต์ สงบน่ิง ตรวจ แยก( 21( พเพธิ ลีเปง ดิ หปรรอื ะเกชมุ กอง )ชักธงข้นึ สวดมนต์ สงบน่ิง ตรวจ แยก( 32( เกพจิ ลกงรรหมรตอื าเกมมจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3( ก)1จิ (กรตรัวมแตทานมหจดุมปูล่ ูกระเสอืงคเลก์ า่ าใรหเเ้รพีย่อืนนรู้ฟังทีละหมู่ ผูก้ ํากับลูกเสอื และลูกเสอื หมอู่ ่นื รว่ มกนั )1( ซตกั ัวถแาทมนเหพมอื่ ูล่คกูวเาสมอื เเขลา้ ่าใใจหจ้เพนื่อคนรบฟทังทกุ หลี ะมหู่ มู่ ผกู้ าํ กบั ลูกเสอื และลูกเสอื หมอู่ น่ื ร่วมกนั )2( ซกกั อถงลามูกเพสอื่ รค่ววมากมนัเขโา้หใวจตจวน่าชคอรบทเรกุ อื่ หงใมดู่ มากท่สี ุด ผกู้ าํ กบั ลูกเสอื ชมเชย ความสามารถ )2( กองลกู เสอื รว่ มกนั โหวตว่าชอบเรอ่ื งใดมากท่ีสดุ ผกู้ ํากบั ลกู เสอื ชมเชยความสามารถ ความสามารถ ของทุกหมู่ )3( ขหอมงูล่ ทกู ุกเหสอืมรู่ ่วมกนั เขียนคําขวญั รณรงค์ให้รกั ชาติ ปฏิบัตติ นตามหลักศาสนา )3( แหลมะู่ลจูกงเรสักอื ภรกั่วดมตีกอ่นั พเขรียะนมคหาํ ขกวษัญตั ริยรณ์ หรมงู่ลคะ์ให1ร้ ขกั อ้ชคาวตาิ มปฏนิบาํ ไตั ปติ ตนิดตบาอมรหด์ ลักศาสนา 4( ผู้กาํ กแับลละกู จเงสรอื ักเภลา่ักเดรตี่ือง่อสพน้ั รทะมี่เปห็นาปกรษะัตโรยยิ ช์ นห์ มลู่ ะ 1 ขอ้ ความ นาํ ไปติดบอรด์ 45( ผพกู้ิธาํปี กดิ ับปลรูกะชเสุมอื กเลอ่างเ)รนอื่ ดังสหั้นมทายเี่ ปตน็ รปวรจะเโคยรชอื่ นงแ์ บบ ชกั ธงลง เลิก( 5( พธิ ีปดิ ประชุมกอง )นัดหมาย ตรวจเครื่องแบบ ชักธงลง เลกิ ( 5.การประเมินผล 5.การปร5ะ.1เมสินังเผกลตความรว่ มมอื ในการปฏบิ ตั ิกิจกรรม 5.12 สงั เกตคกวระาบมวรว่นมกมารือคในดิ กจารกปกฏารบิ อัตภกิ ิปิจรการยรม 5.2 สังเกตกระบวนการคดิ จากการอภิปราย 6. องค์ประกอบทกั ษะชีวติ สาํ คัญท่เี กดิ จากกิจกรรม 6. องคป์ กราะรกคอิดบวิเทคกั ราษะะหช์ ีวคติวาสมําคคดิ ญั สทร้า่เี งกสิดรจราคก์ ตกริจะกหรนรกั มและมจี ิตสํานกึ รกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ การคิดวเิ คราะห์ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ตระหนกั และมีจิตสํานกึ รกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ คมู่ อื ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทักษะชีวิตในสถานศึกษา ลกู เสอื ตรี ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 93 93 86 ค่มูคูม่อื ือสสง่ ง่ เเสสริมแแลละะพพัฒฒั นนากาจิกกจิ รกรรมรลมูกเลสูกอื เทสักอื ษทะกัชีวษิตะใชนวี สติ ถาในศสกึ ถษาานปศรกึ ะษเภาทลลกู กู เสเสอื ือสตามรัญี ชหัน้ ลปักรสะูตถรมลูกศเกึสอืษตารปี ีที่ 4 ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4
ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมท่ี 14 เพลง สยามานุสติ หากสยามยังอยู่ ยงั้ ยืนยง เราก็เหมือนอยคู่ ง ชีพด้วย หากสยามพนิ าศลง ไทยอยู่ได้ฤๅ เราก็เหมือนมอดม้วย หมดสน้ิ สกุลไทย ใครรานใครรุกดา้ วแดนไทย ไทยรบจนสดุ ใจ ขาดดิ้น ยอมสละสนิ้ แล เสียเนื้อเลอื ดหลงั่ ไหล กอ้ งเกยี รติงาม เสยี ชีพไปู เสยี สน้ิ ชื่อ รกั เมอื งไทย * รกั เมอื งไทย ชูชาตไิ ทย ทะนุบาํ รงุ ให้รุ่งเรอื งสมเป็นเมอื งของไทย * รกั เมอื งไทย ชูชาตไิ ทย ทะนบุ ํารงุ ใหร้ ุ่งเรอื งสมเปน็ เมอื งของไทย เราชาวไทยเกิดเป็นไทยตายเพือ่ ไทย )ซ้ํา( ไมเ่ คยออ่ นนอ้ มเราไม่ยอมแพใ้ คร )ซา้ํ ( ศัตรูใจกลา้ มาแตท่ ิศใดถา้ ข่มเหงไทยคงได้เหน็ ดี )ซํา้ *( เราชาวไทยเกิดเป็นไทยตายเพือ่ ไทย )ซาํ้ ( เรารกั เพื่อนบา้ นเราไม่รานรกุ ใคร )ซ้ํา( แตร่ ักษาสทิ ธอิ ิสระของไทยใครทาํ ช้าํ ใจไทยจะไมถ่ อยเลย )ซาํ้ *( เราชาวไทยเกดิ เป็นไทยตายเพอื่ ไทย )ซาํ้ ( ถา้ ถกู ข่มเหง แล้วไม่เกรงผใู้ ด )ซ้ํา( ด่ังงตู วั นดิ มีพษิ เหลือใจเรารักเมอื งไทยยงิ่ ชีพเราเอย )ซ้าํ *( ตน้ ตระกลู ไทย )สรอ้ ย( ตน้ ตระกูลไทยใจทา่ นเหย้ี มหาญ รักษาดินแดนไทยไว้ให้ลูกหลาน สู้จนสูญเสยี แมช้ ีวติ ของท่าน เพอ่ื ถนอมบา้ นเมอื งไวใ้ หเ้ รา ลกุ ขนึ้ เถดิ พีน่ อ้ งไทย อยา่ ให้ชวี ิตสญู เปล่า รกั ชาติยงิ่ ชีพของเรา เหมอื นดงั พงศเ์ ผา่ ตน้ ตระกลู ไทย ทา่ นพระยารามผมู้ ีความแขง็ ขนั สูร้ บปอฺ งกนั มไิ ดย้ อมแพพ้ ่าย 94 คมู่ อื สง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือตรี ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 ค่มู ือส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลกู เสอื สามัญ หลักสตู รลกู เสือตรี 87 ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4
พระราชมนทู หารสมยั กชู้ าติ แสดงความสามารถ ไดช้ ยั ชนะมากหลาย เจ้าพระยาโกษาเหลก็ ทา่ นเปน็ แมท่ พั ชน้ั เอก ของสมเด็จพระนารายณ์ สหี ราชเดโช ผจญสงครามใหญโ่ ต ต่อตีสศัตรูแพพ้ า่ ย เจา้ คณุ พิชัยดาบหัก ผกู้ ล้าหาญยิ่งนกั ล้วนเป็นต้นตระกูลไทย หมู่บคุ คลสาํ คญั หวั หน้าชาวบางระจัน ท่เี ราหาชื่อได้ นายแทน่ นายดอก นายอนิ นนาายยเเมมืออื ง ขุนสรรพนั เรือง นายทองแสงใหญ่ นายโชติ นายทองเหม็น ท่านเหลา่ น้ลี ว้ นเปน็ ผกู้ ลา้ หาญชาญชยั นายจันหนวดเขย้ี วกบั นายทองแกว้ ทาํ ชอื่ เสยี งเพรดิ แพร้ว ไวล้ ายเลือดไทย ชาวบางระจนั สําคัญยง่ิ ใหญ่ เป็นตน้ ตระกลู ของไทย ทีค่ วรระลกึ ตลอดกาล องค์พระสรุ โิ ยทัย ยอดย่งิ หญิงไทย สละพระองค์เพื่อชาติ ท้าวเทพสตรี ทา้ วศรสี ุนทร ปอฺ งกนั ถลางนคร ไวด้ ้วยความสามารถ ท้าวสรุ นารี ผเู้ ป็นนกั รบสตรี กลา้ หาญองอาจ ปอฺ งกนั อสิ านตา้ นสศตั รูของชาติ ล้วนเป็นสตรสี ามารถ ต้นตระกลู ของไทย เรอื่ งสัน้ ท่เี ป็นประโยชน์ หมกี ับผงึ้ กาลครง้ั หนึ่ง นานมาแลว้ มีหมีตวั หน่งึ กาํ ลงั หิวโซเดินเข้าไปในสวน มันได้พบกับรังผ้ึงรังใหญ่ มากอยทู่ ่ีก่ิงไม้ใหญ่ มันจึงจับมาฉีกกินอย่างเอร็ดอร่อย โดยเฉพาะนํ้าผ้ึงเป็นสิ่งที่หมีโปรดปรานท่ีสุด พวกผึง้ พยายามชว่ ยกนั ต่อสู้โดยใชเ้ หลก็ ในเปน็ อาวุธ แต่ไมส่ ามารถเจาะทะลุขนอนั หนาและปกปุยของ หมีได้ แต่ในเวลาไม่นาน พวกผ้ึงก็คิดหาหนทางใหม่ด้วยการพร้อมใจกันบินเข้าไปต่อยตรงบริเวณ หน้าและตาของหมี เมือ่ หมีไดร้ บั ความเจ็บปวดไม่สามารถทนอยู่ไดจ้ งึ ว่งิ หนีเขา้ ปาู ไป เรื่องนส้ี อนใหร้ ู้ว่า ผู้ทาํ รา้ ยผอู้ น่ื ยอ่ มไดร้ ับการลงโทษและความสามัคคียอ่ มนํามาซง่ึ ความสาํ เร็จ ประเด็นการวเิ คราะห์คณุ ธรรมทไี่ ด้ 1. ความพอเพยี ง 2. ซื่อสตั ย์ สจุ ริต 3. กตัญํู 4. ความรับผิดชอบ 5. อดุ มการณ์ คณุ ธรรม 88 คูม่ค่มูอื อื สสง่ ่งเเสสริมแแลละะพพัฒฒั นนากาจิกกิจรกรรมรลมูกเลสูกือเทสกั ือษทะกัชวีษติ ะใชนวี สติ ถาในศสึกถษาานปศรึกะษเภาทลลูกกู เสเสือือสตามรญั ี ชหัน้ ลปักรสะูตถรมลกูศเกึสือษตารปี ีท่ี 4 95 ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4
ใบความรู้ ตาํ นาน บ้านบางระจัน ในปี พ.ศ.2308 พมา่ ได้ส่งกองทัพมาตกี รงุ ศรอี ยุธยา เมื่อยกทพั ถงึ เมอื งวิเศษชัยชาญ มีคนไทย กลุ่มหนงึ่ ได้ชว่ ยกันต่อสู้กับทพั พมา่ ฆา่ พมา่ ตายไป 20 คน แล้วหนีมาที่บ้านบางระจนั คนกลุ่มนี้ได้เข้าร่วมกับชาวบ้านบางระจัน ซ่ึงรวมตัวกันได้ประมาณ 400 คน มีขุนสรรค์ พัน เรือง นายทองเหมน็ นายจันทรห์ นวดเขี้ยว และนายทองแสงใหญ่ เปน็ แกนนํา นิมนตพ์ ระอาจารย์ธรรม โชติ )วดั เขานางบวช( ทําการปลุกเสกคาถาอาคมให้หนงั เหนยี วมกี าํ ลงั ใจสศู้ กึ กบั พมา่ พมา่ ยก ทพั มาตี ถงึ 7 ครั้ง กม็ ิอาจเอาชนะชาวบา้ นบางระจนั ได้ ทพั พม่าจึงยกกาํ ลังมาเสริม โดยมอี าวุธสาํ คัญคอื ปนื ใหญ่ ชาวบ้านบางระจันรบั ศกึ ไมไ่ หวจึงส่ง นายเมอื ง นายอิน เดินทางไปกรุงศรีอยุธยา เพื่อขอปืนใหญ่แต่ได้รับการปฏิเสธ ชาวบ้านจึงรวบรวม ทรัพย์สินท่ีมที ้ังหมด ทําการหล่อปนื ใหญใ่ ชเ้ องแต่ก็ร้าวใชก้ ารไม่ได้ ยามนั้นพม่าไดแ้ ต่งตงั้ นายกองคนใหม่นามว่า สุกี้ เข้าตีบ้านบางระจัน ทัพสุกี้คร้ังน้ีมีกองปืน ใหญม่ าดว้ ย ชาวบ้านบางระจนั เอาปนื ใหญ่เข้าสู้ ทั้ง ๆ ท่ีร้าวอยา่ งไม่มที างเลือก โดยทุกคนต่างรู้ชะตา กรรมว่านค่ี งเปน็ คร้งั สุดท้ายของบ้านบางระจนั แล้ว แตท่ กุ คนก็สูจ้ นตัวตายไม่เสยี ดายชีวติ ชาวบา้ นบางระจัน ประวตั ศิ าสตร์ จารกึ บนั ทกึ ไว้ มเี หล่าไทย ทเี่ ป็นไท ในไพศาล จารึกชอ่ื เลอื ดเนอื้ ตา้ นภยั พาล เรอื่ งเล่าขาน ตาํ นาน บางระจนั ไม่อดสู สละชีพ เพื่อลกู หลาน แผ่นดนิ นี้ กเู กดิ กตู อ้ งสู้ ถกู สงั หาร สนิ้ แลว้ บางระจัน โดยไม่รู้ ความตาย จะแผ้วพาน ผู้ยงั มี ลมหายใจ อยา่ งสขุ สนั ต์ ถึงลูกหลาน เลือดเนื้อ ณ วนั น้ี ควรยึดมนั่ บางระจนั เป็นบทเรียน รหู้ รือไม่ อยไู่ ด้ เพราะใครกนั ฤาลมื ได้ฤกาาลรมืสไญู ดเ้สกยี ารทสกุ ูญแเหสง่ ียหนทุกแหง่ หน ฤาลมื แลลว้ว ววรีีรกกรรรรมมททท่ี ท่ี ำ� าํ ไไวว ้ ้ ไทยทกุ คไนทคยวทรกุ ตครนะหคนวกั รตจรกั ะเหขาน้ ใกั จ จกั เข้าใจ บางระจนัน เเปป็น็นเเพพยี ยี งงหหนน่ึงึง่ ททท่ี ่ที กุ กุ ขขท์ ์ทนน ประพนั ธโ์ ดย : ธรรมรฐั 96 คมู่ อื สง่คเ่มู สือรสิมง่ แเสลระิมพแัฒละนพาฒั กนิจากกริจรกมรรลมูกลเูกสเือสือททกั กั ษษะะชชวี ีวิติตใในนสสถถาานนศศกึ ษกึ าษปาระลเกูภเทสลอื ูกตเสรือี สชา้ันมปัญรหะถลักมสศูตกึ รษลูกาเปสีทือตี่ 4รี 89 ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4
ประพันธ์โดย : ธรรมรฐั แผนการจดั กจิ กรรมลูกเสอื หลักสูตรลกู เสอื สามัญ (ลูกเสือตรี) ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 หนว่ ยที่ 4 คาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื สามัญ เวลา 1 ช่วั โมง แผนการจดั กิจกรรมที่ 15 ความเปน็ สภุ าพบุรษุ กุลสตรี 1. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1.1 ลกู เสือสามารถบอกความหมายของคําวา่ สภุ าพบุรุษและกุลสตรีได้ 1.2 ลกู เสือสามารถบอกคณุ ค่าของการปฏบิ ตั ิตัวใหเ้ ปน็ สุภาพบุรุษและกลุ สตรีได้ 2. เนื้อหา การท่ีลูกเสอื มคี วามเข้าใจความหมายและเห็นคณุ คา่ ของการปฏิบัตติ ัวใหเ้ ปน็ สภุ าพบรุ ุษและ กุลสตรี จะช่วยสรา้ งภาพลกั ษณท์ ี่ดขี องลกู เสอื ต่อคนทั่วไปและส่งเสรมิ บรรยากาศการอยู่ร่วมกันอยา่ ง มคี วามสุข 3. สอ่ื การเรยี นรู้ 3.1 แผนภูมเิ พลง 3.2 เกม 3.2 ใบความรู้ 3.3 กระดาษปรฟู๊ ปากกาเคมี 3.4 เรือ่ งส้นั ท่เี ปน็ ประโยชน์ 4. กจิ กรรม 4.1 พธิ เี ปดิ ประชุมกอง )ชกั ธงขน้ึ สวดมนต์ สงบนิ่ง ตรวจ แยก( 4.2 เพลง หรอื เกม 4.3 กจิ กรรมตามจุดประสงค์การเรียนรู้ 1( หมลู่ กู เสอื วาดโครงรา่ งภาพคนในกระดาษปรู๊ฟ ครง่ึ ด้านซา้ ยแตง่ ใหเ้ ปน็ หญงิ และครงึ่ ดา้ นขวาแต่งให้เปน็ ชาย จากน้นั ช่วยกนั เขยี นคณุ สมบตั ิของกลุ สตรแี ละสภุ าพบรุ ษุ ตามความคิดของหมู่ ลงท่ีด้านข้างของภาพแตล่ ะดา้ น ใหไ้ ดม้ ากท่สี ดุ 2( ผกู้ ํากับลูกเสอื เดนิ ดตู ามหมู่ เมอ่ื ทุกหมู่ทาํ เสรจ็ ให้ช่วยกนั คดิ และเลอื กเฉพาะ คุณสมบตั ทิ ่ีจาํ เป็นจริงๆ เพศละ 5 ข้อ 3( ผกู้ ํากับลกู เสอื เดินดูตามหมู่ เมอื่ ทุกหมทู่ ําเสร็จ ขอให้ชว่ ยกันตัดเหลือคณุ สมบตั ิ ทีส่ ําคัญที่สดุ เพียง 3 ขอ้ พร้อมบอกเหตผุ ล และสง่ ตวั แทนรายงานในกองลกู เสอื 4( ลูกเสือรายงานทลี ะหมู่จนครบ 5( ผูก้ ํากบั ลูกเสือและลกู เสือรว่ มกันสรุปคุณสมบัตทิ ี่สําคญั ของสภุ าพบรุ ษุ และกลุ สตรี คมู่ อื ส่งเสริมและพฒั นากิจกรรมลกู เสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื ตรี ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 97 90 คู่มอื สง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสอื ทักษะชีวติ ในสถานศึกษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลกั สูตรลูกเสอื ตรี ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4
และเพม่ิ เตมิ วา่ ในคณุ สมบัตทิ ค่ี วรมที ้ังหมด เมือ่ พจิ ารณาแลว้ ก็ยังมีคุณสมบตั ิบางประการ ท่ีสําคัญและจทําส่ี เำป� ค็นญั กแวล่าคะจณุ ำ� เสปม็นบกัตวิอา่ นื่คณุ ๆสมบตั อิ น่ื ๆ 6) 6ผ(ู้ก�ำผกู้กับําลกูกบั เลสกู ือเสชอืวชนวคนิดควดิ ่าว่าลูกลเูกสเือสไือดไ้ขด้อข้อคคิดิดออะะไไรรบบ้า้างง แแลละะจจะะนน�ำําไไปปใใช้ในชีวิตปรระะจจํา�ำววันัน อย่าง ไร อยา่ งไร 4.4 ผกู้ ํากบั ลูกเสอื เลา่ เรือ่ งส้นั ที่เปน็ ประโยชน์ 4.5 พิธีปดิ ประชมุ กอง )นดั หมาย ตรวจเครื่องแบบ ชกั ธงลง เลกิ ( 5. การประเมินผล 5.1 สงั เกตความร่วมมือในการปฏิบตั กิ ิจกรรม 5.2 สงั เกตกระบวนการคิดจากการอภปิ ราย 6. องค์ประกอบทักษะชีวติ สําคญั ทเี่ กดิ จากกจิ กรรม ความตระหนกั และเห็นคุณคา่ ของการเป็นสภุ าพบรุ ษุ และกลุ สตรี ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมที่ 15 เพลง เกียรตศิ ักดล์ิ กู เสือ ลกู เสือ ลูกเสอื ไว้ศักดิ์ลกู ผู้ชาย ลูกเสอื ลูกเสือ ไวล้ ายซิลกู เสือไทย รกั เกยี รติ รกั วนิ ัย แขง็ แรงและอดทน เราจะบาํ เพญ็ ตนใหเ้ ปน็ ประโยชน์ตอ่ ผูอ้ ่นื แม้ลาํ บากตรากตราํ ก็ต้องทาํ ให้สาํ เรจ็ ทาํ ทาํ ทาํ ข้าสัญญาว่าจะทาํ “เสียชพี อยา่ เสยี สตั ย์” รักชาตใิ หม้ ั่นไวด้ ังนามอนั เกรียงไกร พระมงกฎุ ทรงประทาน เกม เกมไหวพริบ แบง่ ผ้เู ลน่ ออกกเปเปน็ ็น22 ทมี ๆ ละเทา่ ๆ กัน ผ้เู ลน่ ทัง้ สองทมี เขา้ แถวเปน็ วงกลม แล้วจะยืนหรือน่ังก็ ได้ ผู้เล่นแต่ละคนของแต่ละทีมจะมีเบอร์ของตัวเอง ดังนั้นผู้เล่นท้ังสองทีมจะมีเบอร์เหมือนกันนําลูก วอลเลย์บอลวางไวต้ รงกลางวงกลม การเล่นกโ็ ดยใหผ้ นู้ ําเรยี กหมายเลขหน่ึงขน้ึ มา ผู้เล่นที่มีหมายเลข ประจาํ ตัวของแตล่ ะทมี รบี วง่ิ มาแยง่ ลกู บอลตรงกลางสนาม เมอื่ ผใู้ ดแย่งลูกบอลไดจ้ ากจดุ ที่แย่ง ก็ให้ปา ลกู บอลไปยังผู้ทแ่ี ย่งลูกบอลไมไ่ ด้ ผู้เล่นทจี่ ะถูกปาต้องหลบใหด้ ีอยู่ในวงกลม การตัดสนิ 1. ใชเ้ วลา 3 นาที 2. ทมี ใดแย่งลกู บอลได้มากคร้ังทส่ี ดุ เปน็ ฝูายชนะ อุปกรณ์ ลูกวอลเลยบ์ อล 1 ลกู 98 คู่มือส่งคเู่มสือรสิมง่ แเสลระมิ พแฒัละนพาัฒกนิจากกรจิ รกมรรลมูกลเกู สเอืสือททกั ักษษะะชชีววี ิติตใในนสสถถาานนศศกึ ษึกาษปาระลเกูภเทสลือูกตเสรือี สชา้นั มปัญรหะถลักมสศูตกึ รษลูกาเปสีทอื ตี่ 4รี 91 ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214