แผนการจัดกจิ กรรมลูกเสือ หลกั สตู รลกู เสอื สามัญ (ลกู เสือตร)ี ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 หน่วยที่ 5 กิจกรรมกลางแจ้ง เวลา 1 ชวั่ โมง แผนการจัดกจิ กรรมที่ 24 เสริมสรา้ งสมรรถนะทางกาย 1. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ลกู เสอื สามารถเลอื กวธิ อี อกกาํ ลังกายตามวัยและความถนดั ของตนได้ 2. เน้ือหา การออกกําลงั กายทีส่ ร้างเสรมิ สขุ ภาพและสมรรถนะทางกาย 1438. ส่อื กคาู่มรอื เสรง่ียเนสรริมู้ และพัฒนากิจกรรมลูกเสือทักษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื ตรี ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4 3.1 แผนภูมิเพลง 3.2 เกม 3.2 เร่ืองสัน้ ทเี่ ปน็ ประโยชน์ 4. กิจกรรม 4.1 พิธีเปดิ ประชุมกอง )ชักธงขนึ้ สวดมนต์ สงบนิ่ง ตรวจ แยก( 4.2 เพลง หรอื เกม 4.3 กจิ กรรมตามจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1( หมลู่ กู เสอื นง่ั ลอ้ มวงพดู คยุ แลกเปลยี่ นกันในประเด็นตอ่ ไปน้ี และสรุปผลการพูดคุย สง่ ตัวแทนรายงานในกองลกู เสอื - ทาํ ไมลกู เสอื จงึ ตอ้ งเสรมิ สรา้ งสมรรถนะทางกายของตนเองให้แข็งแรงขน้ึ - การออกกําลงั กายมปี ระโยชน์ต่อสขุ ภาพของลกู เสืออย่างไร - สมาชิกแตล่ ะคนมคี วามสนใจในการออกกําลังกายชนดิ ใดบา้ งเพราะอะไร 2( สุ่มใหต้ วั แทนหมู่ลกู เสือรายงานหมลู่ ะ 1 ประเดน็ และใหห้ มู่อ่นื เพมิ่ เตมิ ผูก้ าํ กบั ลกู เสือ นาํ อภปิ รายซักถาม และสรุป 3( ผู้กํากบั ลูกเสอื รวบรวม จดั กลุ่มการออกกําลงั กายประเภทต่าง ๆ ท่ลี ูกเสือสนใจ และ ให้ลูกเสือได้เลือกออกกําลังกายตามท่ีตนเองทําได้จริง ๆ เหมาะสมกับวัยและ ปลอดภัย โดยมกี ารบันทึกสะสมแต้มการออกกําลังกาย ตามระยะเวลาท่ีกําหนด 4.4 ผกู้ ํากับลูกเสอื เลา่ เรื่องส้นั ท่ีเป็นประโยชน์ 4.5 พิธปี ิดประชุมกอง )นดั หมาย ตรวจเคร่ืองแบบ ชกั ธงลง เลกิ ( 5. การประเมินผล 5.1 ติดตามผลการออกกาํ ลังกายของลกู เสือตอ่ เน่ือง 5.2 บันทึกสะสมแตม้ การออกกาํ ลังกาย 6. องคป์ ระกอบทักษะชวี ติ สําคญั ทเ่ี กิดจากกิจกรรม 142 กคชาูม่ัน้รือคปสริดง่ะวเถสมิเรคศมิ ึกรแษาละาะปพหทีัฒ์ ่ีคน4วากาิจมกครริดมสลรกู า้เสงอื สทรักรษคะช์ ตวี ิตรใะนหสนถากั นรศถู้ ึกษงึ คา วปาระมเภสทาํ ลคกู ัญเสขอื สอางมกญั าหรอลักอสกตู กรลาํ ูกลเสงั อืกตารยี
4.4 ผู้กาํ กับลูกเสอื เล่าเรอื่ งส้นั ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ 4.5 พธิ ปี ดิ ประชุมกอง )นดั หมาย ตรวจเคร่ืองแบบ ชกั ธงลง เลิก( 5. การประเมินผล 5.1 ตดิ ตามผลการออกกําลังกายของลกู เสือตอ่ เนอื่ ง 5.2 บนั ทกึ สะสมแตม้ การออกกําลงั กาย 6. องคป์ ระกอบทักษะชีวิตสําคญั ท่เี กิดจากกิจกรรม การคิดวิเคราะห์ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ตระหนกั รถู้ ึงความสาํ คญั ของการออกกาํ ลังกาย ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมท่ี 24 เพลง ภาคผนวกประกอบแผออนกกกาาํ รลจังัดกกายจิ กรรมที่ 24 ออกกําลังด้วยการรอ้ งราํ ทาํ เพลง ให้ครื้นเครง เสียงเพลงบรรเลงจบั ใจ ค่มู ือสง่ เสริมรแาํ ลร้อะพงฒักันไาปกิจกไรมรม่ หีลูกมเน่สือหทมกั อษงะฤชทวี ัยิตในสถานศเึกพษราาะลเกู รเาสดอื ใีตจรี ชดัน้ ว้ ปยรกะาถรมรศ้อกึ งษราําปทีทาํ ี่เ4พลง 149 กระโดด กระโดด กระโดด กระโดด กระโดดใหพ้ ร้อมเพรยี งกนั กระโดด เพอื่ สรา้ งพลัง กาํ ลงั ใหก้ ับพวกเรา ลา ลน้ั ล่า ลาลน้ั ลา ล่า ลา ลา ล่า )ซา้ํ ( เกม เกมจบั ขา้ มแมน่ ้ํา ขดี เส้นขนาน 2 เสน้ บนพ้นื สนามห่างกันประมาณ 50 เซนติเมตร เส้น 2 เส้นน้ีเปรียบเสมือน สายน้าํ แต่ละด้านของเส้นขนาน 2 เส้นนี้ ขีดเส้นอีก 1 เส้น ขนานกัน ห่างกันประมาณ 5 เมตร ซ่ึง เปรียบเสมือนฝั่งน้ํา แบ่งลูกเสือออกเป็น 2 ทีมๆ ละเท่าๆ กัน หันหน้าเข้าหากัน ยืนเหยียบเส้นแม่นํ้า เมอื่ ได้รบั สัญญาณเร่ิมแขง่ ขัน ลกู เสอื แต่ละข้างต้องพยายามดึงและจับลูกเสือฝูายตรงข้ามให้ได้พร้อม ทง้ั ลากขน้ึ มาไวบ้ นฝงั่ แม่นา้ํ ของตนเอง ผู้ท่ีถูกจับไว้บนฝั่งตรงข้ามสามารถจะได้รับการช่วยเหลือจาก ฝาู ยของตนเอง โดยทฝี่ ูายของตนเองว่ายน้ํา ) วิ่ง ( ข้ามฝ่ังมาดึง ลูกเสืออีกฝูายหน่ึงก็ต้องปฺองกันไว้ และพยายามจับฝาู ยตรงข้ามให้ได้มากท่สี ุด เร่ืองสัน้ ที่เป็นประโยชน์ คู่มอื สง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมลกูคเสนอื ตทากั บษะอชดวี กติ ใบั นสลถูกาสนศนุ ึกขัษปา ป่าระเภทลูกเสือสามชัญ้นั ปหรละกั ถสมูตศรึกลษูกาเสปือที ต่ี 4รี 143
และพยายามจบั ฝาู ยตรงขา้ มให้ได้มากท่สี ุด เร่ืองสนั้ ที่เป็นประโยชน์ คนตาบอดกับลูกสนุ ัขป่า กาลครัง้ หนึ่ง นานมาแลว้ มีคนตาบอดอยากได้สุนขั ไวใ้ นการนําทาง มีคนนาํ ลูกสนุ ขั ปาู ตัวหนึง่ มามอบให้ คนตาบอดใช้มือลูกคลําสัมผัสไปท่ัวตัวแล้วจึงรําพึงว่า “เราไม่แน่ใจหรอกว่ามันเป็นลูกสุนัขบ้าน หรือลกู สุนขั ปาู แตม่ ่ันใจไดเ้ ลยวา่ ไมอ่ าจไวใ้ จมนั ได้ หากปลอ่ ยใหเ้ ข้าไปอยู่ในฝูงแกะ เรือ่ งนีส้ อนให้รู้ว่า คนไมด่ ียอ่ มแสดงธาตแุ ทอ้ อกมาถา้ ขาดการควบคมุ 15ป0ระเดน็ คกู่มาือรสว่งิเเสครริมาแะลหะค์ พุณฒั ธนรารกมิจทกรไ่ี รดม้ ลูกเสอื ทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา ลกู เสือตรี ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4 1. ความพอเพยี ง 2. ซือ่ สัตย์ สุจริต 3. ความรบั ผิดชอบ 4. อดุ มการณ์ คณุ ธรรม 144 ค่มู ือส่งเสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา ประเภทลกู เสือสามญั หลักสตู รลกู เสือตรี ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4
แผนการจัดกจิ กรรมลูกเสอื หลกั สูตรลกู เสอื สามญั (ลูกเสือตร)ี ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 หนว่ ยท่ี 5 กจิ กรรมกลางแจ้ง เวลา 2 ชั่วโมง แผนการจดั กิจกรรมท่ี 25 น้าํ ดืม่ สะอาดและปลอดภัย 1. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ลกู เสอื สามารถเลอื กดม่ื น้าํ ทส่ี ะอาด และปลอดภยั ได้ 2. เนอื้ หา น้ําดม่ื ทสี่ ะอาดและปลอดภยั 3. ส่ือ วัสดุอปุ กรณ์ 3.1 แผนภูมิเพลง 3.2 เกม 3.2 แบบงาน 3.3 ใบความรู้ 3.4 เรอ่ื งส้ันท่ีเปน็ ประโยชน์ 4. กจิ กรรม 4.1 กจิ กรรมครง้ั ที่ 1 1( พิธเี ปิดประชมุ กอง )ชักธงขน้ึ สวดมนต์ สงบนง่ิ ตรวจ แยก( 2( เพลง หรอื เกม 3( กิจกรรมตามจดุ ประสงค์การเรียนรู้ )1( ผ้กู ํากับลูกเสือแบง่ งานใหล้ ูกเสอื แตล่ ะหมู่ ออกสาํ รวจแหล่งนาํ้ ดม่ื ในโรงเรียน โดย ใช้แบบสาํ รวจ ดงั น้ี - ความสะอาดของแหลง่ นํ้าด่มื - ต้กู ดน้ําหรือตนู้ ้ําเหยยี บมีการทําความสะอาดบ่อยแค่ไหน - แหลง่ นาํ้ ดมื่ มเี พยี งพอหรือไม่ - ความสะอาดของแหลง่ นา้ํ ด่ืมและนํ้าด่มื ทรี่ า้ นค้าอาหารนาํ มาบริการ - มีการเกบ็ ตวั อย่างนาํ้ เพ่ือส่งตรวจคณุ ภาพนาํ้ ดมื่ หรือไม่ ฯลฯ )2( ผกู้ ํากบั ลกู เสือเรียกรวมกอง ตัวแทนหม่ลู ูกเสอื รายงานผลการสํารวจทลี ะหมู่ )3( ผ้กู ํากบั ลูกเสือและลูกเสอื รวบรวมผลการสาํ รวจ และวางแผนดาํ เนนิ การแกไ้ ขในส่วนท่ี ลูกเสือดําเนินการได้เอง และแจ้งผู้เก่ียวข้องดําเนินการในส่วนที่เหลือ เช่น การเก็บ 152 คมู่ ือสง่คเู่มสอื รสมิ ่งแเสลระมิ พแัฒละนพาฒั กนิจากกรจิ รกมรรลมูกลเกู สเอืสือททักกั ษษะะชชวี วี ิติตใในนสสถถาานนศศึกษกึ าษปาระลเกูภเทสลอื ูกตเสรือี สชาั้นมปญั รหะถลักมสศตู กึ รษลกูาเปสทีอื ต่ี 4รี 145 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4
ตัวอย่างน้ําส่งตรวจตามมาตรฐานของกรมอนามัย การแก้ไขแหล่งนํ้าด่ืมท่ีชํารุด เสยี หาย เปน็ ตน้ )4( ผูก้ าํ กบั ลกู เสือและลกู เสือร่วมกนั สรปุ ข้อคิดที่ได้ 4( ผกู้ ํากับลกู เสือเลา่ เรือ่ งสน้ั ที่เปน็ ประโยชน์ 5( พิธีปิดประชุมกอง )นดั หมาย ตรวจเครือ่ งแบบ ชักธงลง เลิก( 4.2 กิจกรรมครง้ั ท่ี 2 1( พธิ ีเปดิ ประชมุ กอง )ชักธงขน้ึ สวดมนต์ สงบนิง่ ตรวจ แยก( 2( เพลง หรอื เกม 3( กจิ กรรมตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ )1( ผู้กาํ กับลกู เสอื แบ่งงานใหล้ ูกเสือแตล่ ะหมู่ ดาํ เนินการแกไ้ ขในสว่ นท่ีลกู เสือ ดาํ เนนิ การไดเ้ อง เชน่ การทาํ ความสะอาดแหลง่ นาํ้ ดม่ื ถว้ ยนํ้าดืม่ การรณรงคใ์ ห้ ชว่ ยกันดแู ลรกั ษาความสะอาด เป็นตน้ )2( ผู้กาํ กับลูกเสอื และลกู เสือรว่ มกนั ติดตามผลการตรวจคุณภาพน้ําดมื่ และการแก้ไข จากหน่วยงานเกี่ยวขอ้ ง )3( ผกู้ ํากบั ลกู เสอื เรียกรวมกอง ผู้กํากบั ลูกเสอื และลกู เสือร่วมกนั สรุปขอ้ คิดทไ่ี ด้ 4( ผ้กู ํากบั ลูกเสือเลา่ เรอ่ื งสัน้ ทเี่ ปน็ ประโยชน์ 5( พธิ ปี ิดประชุมกอง )นัดหมาย ตรวจเครอื่ งแบบ ชกั ธงลง เลิก( 5. การประเมนิ ผล 5.1 สังเกตความรว่ มมอื ในการปฏิบัติกิจกรรม 5.2 สงั เกตกระบวนการคิดจากการอภปิ ราย 6.องค์ประกอบทกั ษะชีวิตสาํ คญั ที่เกดิ จากกิจกรรม การคดิ วิเคราะห์ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ตระหนกั รถู้ งึ ความสาํ คัญของนาํ้ ดื่มที่สะอาด และ ปลอดภัย 146 คู่มคู่มอื อื สส่ง่งเเสสรมิ แแลละะพพัฒัฒนนากาจิกกิจรกรรมรลมูกเลสูกือเทสกั อื ษทะักชวีษิตะใชนีวสิตถาในศสึกถษาานปศรกึ ะษเภาทลลกู กู เสเสือือสตามรัญี ชหั้นลปักรสะูตถรมลกูศเกึสอืษตารปี ที ี่ 4 153 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4
ภาคผนวกประกอบแผนการจดั กิจกรรมท่ี 25 เพลง นํ้า แสงแดดแผดร้อน น้าํ กลายเป็นไอ ลอยไปสทู่ อ้ งฟาฺ รวมกันเป็นเมฆา ตกมาเป็นฝนฉาํ่ ใจ ฮ้อื ฮือ ฮือ ฮือ ฝนพรมผืนปูา กลายมาเปน็ ลําธาร รวมกันเป็นแม่นา้ํ ไหลลงส่ทู ะเล ฮ้ือ ฮือ ฮอื ฮือ )รอ้ งซาํ้ ( จบ นา้ํ ดี นาํ้ ดๆี น้ันเรากม็ มี ากมาย ถา้ ไมร่ กั ษาไว้นา้ํ กเ็ สยี ไดเ้ สียดี น้�ำดม่ื ตอนน้ํานด้ีรืม่ าตคอาแนพนงี้รกาควา่ นแ้�ำพมงนักวา่ นาํ้ มัน ไปซอื้ กนิ ราคาก็แพงหูฉี่ ลูกเสือทกุ คนประหยัดเงนิ ทนั ที หากรู้วิธกี กั เกบ็ นาํ้ ฝน ทาํ ยากทําเยน็ แถมยังไมค่ อ่ ยสะอาดซิ เอานา้ํ เสียมาทาํ เปน็ นํา้ ดี .....เก็บกักรักษานํา้ ดเี อย......)จบ( เราต้องหาวธิ ี เร่ืองสนั้ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ แพะอยากกนิ น้ํา กาลคร้ังหนึง่ นานมาแลว้ มีแพะตัวหนึ่งเดนิ มาทีบ่ อ่ นํา้ เมื่อชะโงกหนา้ ลงไปก็เห็น สุนัขจ้ิงจอก ตัวหนึง่ อยูใ่ นบอ่ จึงเอ่ยถามวา่ “เพ่อื นเอย๋ บอ่ นนี้ า้ํ ลกึ มากหรือไม่” สุนขั จิง้ จอกซง่ึ พลดั ตกลงมาในบ่อ แล้วหาทางข้ึนไปไม่ได้ จึงโปปฺ ดออกไปด้วยความเจ้าเล่ห์ว่า “ไม่ลึกเลยเพื่อนเอ๋ย น้ําในบ่อนี้ก็ ใสและเย็นชื่นใจดีจริง ๆ เจ้าลงมากินน้ําเถิด” แพะไม่ทันคิดให้รอบคอบก็รีบกระโดดลงไปในบ่อทันที สนุ ัขจง้ิ จอกจงึ เหยียบเขาแพะแลว้ ปีนข้ึนมาทปี่ ากบ่อไดส้ าํ เร็จ แล้วกห็ นั มาหวั เราะเยาะในความโง่เขลา เบาปญั ญาของแพะ ก่อนจากไป เร่ืองนสี้ อนใหร้ ้วู ่า ก่อนทีจ่ ะเช่อื สิ่งใดหรือเชอ่ื ใคร ใหค้ ดิ พจิ ารณาให้รอบคอบกอ่ น 154 คู่มอื สง่คเมู่ สอื รสมิ ง่ แเสลระมิ พแฒัละนพาฒั กนิจากกริจรกมรรลมูกลเกู สเอืสอืททักักษษะะชชวี วี ิติตใในนสสถถาานนศศกึ ษกึ าษปาระลเกูภเทสลือกู ตเสรอื ี สชา้ันมปัญรหะถลักมสศูตกึ รษลูกาเปสทีือต่ี 4รี 147 ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 4
การดืม่ นาํ้ ด่ืมไดท้ ั้งนา้ํ เย็น นํา้ รอ้ น หรอื น้ําอณุ หภูมปิ กติ ไม่เป็นปัญหาอะไรท้ังส้ินหลักการง่ายๆ คือ น้ํา เย็น ควรดื่มเวลาออกกําลังกาย จะดูดซึมเร็ว แต่มีข้อห้ามในผู้หญิงท่ีมีประจําเดือน ไม่ควรด่ืมน้ําเย็น เพราะจะยิง่ ทาํ ให้ปวดทอ้ งมากขึ้น ส่วนนํ้าอุ่น ควรดื่มเพ่ือกระตุ้นลําไส้ ทําให้ลําไส้บีบตัวดี เช่น เวลาท้องเสีย เจ็บคอ เป็นหวัด สําหรับเรอ่ื งทห่ี ลายคนสงสยั ว่า การดม่ื น้ํามาก ๆ ไตจะทาํ งานหนักหรอื ไม่ คําตอบกค็ อื ต้องด่ืม มากเป็น 10 ลติ รตดิ ต่อกันจึงจะเปน็ พิษตอ่ ร่างกาย สว่ นคนท่วั ไปดมื่ น้าํ อยา่ งมากก็ได้แค่ 5 ลติ ร จงึ ไมม่ ี อนั ตรายแต่อย่างใด การดม่ื น้ํายงั ช่วยใหผ้ วิ หนังชมุ่ ช้ืน และช่วยทําใหส้ มองปลอดโปร่งอีกด้วย ในคนที่มีอาการคล้าย จะเป็นหวดั เช่น ปากแห้ง ตาแห้ง ควรดื่มนํ้ามาก ๆ จะช่วยให้หายเร็วข้ึนได้แต่ละวันเราควรด่ืมน้ํามาก น้อยแค่ไหน ? คําตอบคือ ควรดื่มนํ้าตามน้ําหนักตัว คือ ด่ืมน้ํา 1 ออนซ์ ต่อน้ําหนักตัว 1 กก. เช่น ถ้า น้ําหนักตวั 60 กก.ก็ต้องด่มื นา้ํ 60 ออนซโ์ ดยนาํ้ 1 ออนซ์กป็ ระมาณ 30 ซซี ี คนน้ําหนกั 60 กก.ก็ต้องดื่ม นํา้ ประมาณ 1,800 ซีซ.ี เป็นต้น เร่ืองนส้ี อนใหร้ วู้ ่า การดื่มนา้ํ เปน็ ประโยชน์ต่อรา่ งกาย ประเดน็ การวเิ คราะห์คณุ ธรรมทไ่ี ด้ 1. ความพอเพยี ง 2. ความรบั ผิดชอบ 3. กตญั ํู 4. อดุ มการณ์ คุณธรรม 148 คมู่คู่มอื อื สสง่ ง่ เเสสรมิ แแลละะพพัฒัฒนนากาจิกกิจรกรรมรลมูกเลสกู อื เทสักอื ษทะักชีวษิตะใชนีวสิตถาในศสึกถษาานปศรึกะษเภาทลลูกกู เสเสอื อืสตามรญั ี ชหน้ั ลปกั รสะตู ถรมลูกศเึกสือษตารปี ีที่ 4 155 ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงาน แบบสํารวจ หมู่ลกู เสอื ร่วมกนั สาํ รวจแหลง่ นา้ํ ดมื่ ตามท่ีไดร้ บั มอบหมาย โดยใช้แบบสาํ รวจด้านลา่ งนี้ 1. ตาํ แหน่งทส่ี าํ รวจ ....................................................................................................................................... 2. ข้อมูลที่สาํ รวจ หัวข้อการสํารวจ ผลการสํารวจ 2.1 สภาพของแหล่งน้ําดมื่ ทพ่ี บ และความสะอาด 2.2 ผู้รับผดิ ชอบทาํ ความสะอาด และความถีใ่ นการทําความ สะอาด 2.3 ความเพยี งพอของแหลง่ นํ้า ดื่ม 2.4 สัมภาษณค์ วามต้องการให้ ปรบั ปรงุ ของนกั เรยี นทม่ี าดื่มนาํ้ 2.5 เก็บตวั อย่างนํา้ สง่ ตรวจ คุณภาพหรอื ไม่ 2.6 หมายเหตุ 156 คมู่ อื คสมู่ง่ ือเสสร่งมิเสแรลมิ แะพละัฒพนัฒานกาิจกิจกกรรรรมมลลกููกเเสสอื อื ททกั ักษษะชะชีวติีวใิตนใสนถสานถศาึกนษศาึกปษราะเภลทกู ลเสูกเือสตือรสีาชมัญั้นปหรละักถสมตู ศรลึกูกษเสาอืปตที รี่ ี 4 149 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบความรู้ นํ้าดืม่ ชนดิ ของน้ําดม่ื 1) นา้ํ ประปาดมื่ ได้ ปัจจุบันนํ้าประปาของการประปานครหลวงผ่านการผลิตและควบคุมคุณภาพทุกขั้นตอน ตามมาตรฐานขององคก์ ารอนามยั โลก จงึ ดม่ื ไดอ้ ยา่ งปลอดภัยแตท่ ้งั น้ีข้นึ อย่กู บั ระบบเดินท่อประปา ท่อ เหล็กมีอายุใช้งานไมเ่ กิน 5 ปี ทปี่ ลอดภัยคอื ทอ่ พลาสตกิ เพราะไมเ่ ป็นสนิมการต้มนํ้าประปาจะช่วยฆ่า เช้ือโรค ลดความกระดา้ งและลดกลิ่นคลอรนี ได้ด้วย ส่วนการกรองจะข้ึนอยู่กับตัวกรองท่ีเลือกใช้ บาง บ้านอาจใช้ตัวกรองถ่าน)Activated carbon( และเรซิน )Resin( ซ่ึงก็สะอาดเพียงพอใกล้เคียงน้ําดื่ม บรรจขุ วดเวน้ แต่ไม่ได้ผ่านขั้นตอนการฆ่าเช้อื ดว้ ยรงั สีอุลตรา้ ไวโอเลตหรอื โอโซน แหลง่ น้ําประปาปลายทอ่ สาํ หรบั ดมื่ เชน่ ทอ่ ประปา ตอ้ งไมเ่ ปน็ สนมิ หรอื มรี อยแตกร่ัว เพราะสงิ่ สกปรกจะปนเปือ้ นงา่ ย นอกจากนค้ี วรตอ้ งรกั ษาความสะอาด ก๊อกนา้ํ ตกู้ ดนํ้า ตูน้ ํ้าพุถ้วยสาํ หรับดม่ื น้ํา และบรเิ วณโดยรอบอยูเ่ สมอ 2) นํ้าฝนท่ีกกั เกบ็ ไว้ตามบ่อหรือถังเก็บนาํ้ จาํ เปน็ ต้องตรวจสภาพแหล่งเกบ็ นาํ้ ฝนซึง่ อาจมฝี ุูนผงหรือใบไม้ปนเป้ือนลงไปได้ เช่น ฝา อาจปิดไม่สนิท แตกร้าว และท่อท่ีต่อออกมาสําหรับด่ืมไม่ควรเป็นสนิม ไม่แตกร้าว ถ้วยนํ้าดื่มและ สภาพแวดลอ้ มต้องสะอาดเช่นกัน 3) นํา้ ดืม่ บรรจุขวด ได้มาจากแหลง่ นา้ํ บาดาลและนํา้ ประปาผ่านการกรองชั้นถา่ นเพ่อื ดดู กลิน่ และผา่ นสาร เรซนิ เพอ่ื ลดความกระด้างขนั้ ตอนสุดท้ายคอื การฆา่ เช้ือจลุ ินทรีย์ทีอ่ าจปนเปื้อนในนํ้าด้วยการผ่านแสง อุลตร้าไวโอเลตหรือก๊าซโอโซน ที่เราเรียกกนั จนคุ้นเคยวา่ นํ้า UV หรอื นาํ้ โอโซนนนั่ เอง 4) น้ําธรรมชาติ ได้แก่ นา้ํ พุนา้ํ แรน่ ํ้าบอ่ และนํา้ พทุ ่เี จาะขน้ึ มาจากแหล่งใตด้ ิน ไม่รวมแหล่งนา้ํ สาธารณะและ นํ้าประปาในการผลติ นํา้ ธรรมชาตจิ ะกรองเศษฝุูนละอองและการฆ่าเชอื้ โรคเทา่ นนั้ ทําใหน้ ํา้ แรบ่ รรจุขวด มีความใกลเ้ คยี งกบั นา้ํ จากแหล่งกําเนดิ และมคี ณุ สมบัตแิ ตกต่างกนั ตามแหลง่ น้ําธรรมชาติท่ีใช้ผลิตจึง ตอ้ งมกี ารกําหนดค่าปรมิ าณเกลอื แร่ซึ่งอาจเกิดผลกระทบต่อสุขภาพของเด็กและสตรีมีครรภ์ท่ีมีระบบ ย่อยอาหารไม่ดีเท่าคนท่ัวไป เพราะนํ้าแร่จะออกฤทธิ์เป็นยาระบาย หากมีปริมาณซัลเฟตมากกว่า 600 มิลลิกรมั ต่อลิตร )ยกเวน้ แคลเซยี มซัลเฟต( ขวดใส่น้าํ ดื่ม ขวดทนี่ ยิ มใช้บรรจุนาํ้ ดืม่ มี 4 ชนดิ คอื ขวดแก้วใส ขวดพลาสตกิ ใสและแขง็ ขวดพลาสติกเพท ซึง่ มลี ักษณะใสและกรอบ และสดุ ท้าย ขวดพลาสตกิ ขาวขุ่น 150 คมู่คู่มอื อื สส่ง่งเเสสรมิ แแลละะพพัฒัฒนนากาจิกกิจรกรรมรลมูกเลสกู อื เทสักอื ษทะักชวีษิตะใชนีวสติ ถาในศสกึ ถษาานปศรึกะษเภาทลลูกกู เสเสอื อืสตามรัญี ชหน้ั ลปกั รสะูตถรมลกูศเึกสือษตารปี ที ี่ 4 157 ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4
ขวด 3 ชนิดแรกใชบ้ รรจุนํ้าดมื่ ได้ดีกว่าขวดพลาสติกสีขาวขุ่นเคยมีการทดลองนํานํ้าด่ืมบรรจุ ขวดสีขาวขุ่นไปต้งั กลางแดดนาน ๆจะมกี ล่นิ ของพลาสตกิ ปนมากบั น้ํา แม้ไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค แตก่ ท็ ําให้คุณภาพของน้ําลดลง ข้อเสียอกี ประการหน่ึงคือขวดขาวขุ่นไม่เหมาะที่จะนํามารีไซเคิลต่าง จากขวดอีกสามชนิดท่ีรีไซเคิลง่ายและใช้ได้ทนทานกว่าส่วนวันหมดอายุของน้ําด่ืมบรรจุขวดน้ันคือ ประมาณ 2 ปนี ับจากวนั ผลติ ท่ีระบไุ ว้บนฉลาก การเลือกซ้ือผลิตภัณฑ์นํา้ ดื่มในภาชนะบรรจุปดิ สนิท เพ่ือความปลอดภัยในการบริโภค แม้จะเป็นเพียงน้ําด่ืมธรรมดา ๆ ก็ควรอ่านฉลากก่อนซื้อ โดยสงั เกตรายละเอียด เช่นช่ือและท่ตี ้ังของผู้ผลิต ปริมาตรสุทธิ และต้องมีเคร่ืองหมาย อย.พร้อมเลข ทะเบียน 13 หลกั นอกจากน้คี วรให้ความสาํ คญั กับภาชนะท่ีบรรจุน้าํ ดม่ื ตอ้ งสะอาด ไมร่ ่ัวซึมฝาปดิ ผนึก ไมม่ รี อ่ งรอยการเปดิ ใช้ หากเปน็ นํา้ ชนิดถงั ขนาดใหญ่ )แกลลอน(ควรตรวจสอบฉลากพลาสติกท่รี ัดปาก ถังตามรายละเอียดทกี่ ลา่ วข้างต้น และควรสังเกตลักษณะของนา้ํ ต้องใสสะอาด ไม่มีตะกอน กล่ิน หรือ รสชาติทีผ่ ิดปกตอิ กี ดว้ ย อยา่ งไรกต็ าม หากพบเห็นการผลติ น้าํ ดืม่ ที่นา่ สงสัยว่าจะไม่มีคุณภาพมาตรฐาน หรือไม่ผ่าน การพิจารณาอนุญาตจาก อย. ควรแจ้งร้องเรียนท่ีหมายเลขโทรศัพท์ 0-2590-7354 – 5 หรือ ทาง จดหมายที่ ตู้ ปณ. 52 ปทจ. นนทบุรี 11000 สําหรับในส่วนภูมิภาคสามารถแจ้งได้ท่ีสํานักงาน สาธารณสขุ จงั หวัดน้ันหรือสาธารณสขุ อําเภอ และเบอรค์ มุ้ ครองผู้บรโิ ภค 158 คู่มอื สง่คเู่มสือรสมิ ่งแเสลระมิ พแฒัละนพาฒั กนจิ ากกริจรกมรรลมูกลเูกสเอืสือททักกั ษษะะชชีวีวิตติ ใในนสสถถาานนศศึกษกึ าษปาระลเกูภเทสลอื ูกตเสรอื ี สชา้ันมปัญรหะถลกัมสศตู ึกรษลกูาเปสีทือต่ี 4รี 151 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4
แผนการจัดกจิ กรรมลูกเสอื หลักสูตรลกู เสือสามัญ (ลกู เสอื ตร)ี ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 หน่วยท่ี 6 ประเมินผล เวลา 2 ช่ัวโมง แผนการจดั กิจกรรมที่ 26 การประเมนิ ผล 1. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1.1 เพ่ือใหล้ กู เสือเข้าใจการประเมนิ ผลเพ่อื การตดั สินผลการผ่าน ไม่ผ่านกจิ กรรม 1.2 เพอื่ ให้ลกู เสอื เข้าใจการประเมนิ พฤตกิ รรมทกั ษะชีวิตทล่ี ูกเสอื ไดร้ บั การพัฒนา 1.3 เตรยี มความพรอ้ มรบั การประเมนิ ตามวิธกี ารของผกู้ าํ กับกองลกู เสอื 2. เนอ้ื หา 2.1 เกณฑก์ ารตัดสินกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี นตามหลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 2.2 การประเมนิ พฤตกิ รรมทกั ษะชีวติ 3. ส่อื การเรียนรู้ 3.1 Flow Chart การประเมินเพอ่ื ตดั สินผลการเล่อื นชั้นของลกู เสอื และจบการศกึ ษา 3.2 แบบประเมินทักษะชวี ติ ของลูกเสอื รายบคุ คลหรือรายหมลู่ กู เสือ 3.3 แบบประเมนิ ตนเองของลูกเสอื ประจําปกี ารศึกษา 3.4 ใบความรู้ 4. กิจกรรม 4.1 ผู้กํากบั ลูกเสอื อธบิ ายหลักเกณฑ์ วธิ กี ารประเมนิ ผลการเรยี นรตู้ ามทหี่ ลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พ.ศ. 2551 กาํ หนดเพอ่ื ตดั สนิ การจบการศึกษา 4.2 ผู้กํากบั ลกู เสอื อธิบายถึงพฤตกิ รรมของลกู เสอื ท่ีได้รับการเสรมิ สร้างทกั ษะชีวิตผ่าน กิจกรรมลกู เสือ 4.3 ลูกเสอื ประเมนิ ความพรอ้ มของตนเองเพ่ือรบั การประเมนิ และวางแผนพัฒนาตนเองใน ส่วนทไี่ มม่ ่ันใจ 4.4 ผูก้ ํากับลูกเสอื และลูกเสือกําหนดขอ้ ตกลงรว่ มกนั ถึงชว่ งเวลาการประเมนิ 4.5 ผ้กู ํากับลกู เสอื นัดหมายและดําเนนิ การประเมนิ 5. การประเมินผล 5.1 จากผลการประเมนิ ตนเองของลูกเสือ 5.2 สงั เกตความม่ันใจและการยนื ยนั ความพรอ้ มของลกู เสอื 152 ค่มูคมู่ืออื สสง่ ง่ เเสสริมแแลละะพพฒั ัฒนนากาจิกกิจรกรรมรลมกู เลสกู อื เทสกั อื ษทะักชีวษิตะใชนวี สติ ถาในศสึกถษาานปศรกึ ะษเภาทลลกู กู เสเสือือสตามรัญี ชหน้ั ลปกั รสะตู ถรมลูกศเึกสอืษตารปี ีท่ี 4 159 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4
ภาคผนวกประกอบแผนการจัดกจิ กรรมท่ี 26 1. แนวทางการประเมนิ ผลตามเกณฑ์ของหลกั สูตรการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พ .ศ.2551 Flow Chart กระบวนการประเมินผลลูกเสือ จัดกจิ กรรม เกณฑก์ ารประเมนิ ตามคมู่ ือการจัดกจิ กรรมลูกเสือที่ 1. เวลาเข้าร่วมกิจกรรม 2. การปฏิบัติกิจกรรม เสรมิ สร้างทักษะชวี ิต 3. ผลงาน / ชน้ิ งาน ผู้กากับประเมินผลเรียนของ 4. พฤตกิ รรม/คุณลักษณะของ ลกู เสือ ลูกเสอื ท่รี ว่ มกจิ กรรม ผลการประเมนิ ไมผ่ า่ น - ซอ่ มเสรมิ - พฒั นาซ้า ผ่าน ผา่ น ตดั สินผลการเรียนร้ผู ่านเกณฑ์ รับเคร่ืองหมายชัน้ ลูกเสอื ตามประเภทลกู เสอื 160 คู่มอื ส่งคเู่มสือรสิมง่ แเสลระมิ พแัฒละนพาฒั กนิจากกริจรกมรรลมูกลเกู สเอืสอืททักกั ษษะะชชวี ีวติติ ใในนสสถถาานนศศึกษกึ าษปาระลเกูภเทสลือกู ตเสรือี สชา้นั มปัญรหะถลักมสศูตกึ รษลกูาเปสทีือต่ี 4รี 153 ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4
แบบประเมนิ ตนเองของลกู เสือประจาํ ปีการศกึ ษา...................................... ช่ือลกู เสือ................................................... ลูกเสือ................. ช้นั ................. ปีการศกึ ษา.............. การ รายการท่ีรับการประเมิน เกณฑ์ที่ การประเมนิ ตนเอง ขอ้ คิดเห็น ท่ี สถานศึกษา ครบ/ ไมค่ รบ/ การพฒั นา ผา่ น ไมผ่ า่ น กําหนด 1 1. เขา้ รว่ มกจิ กรรมลูกเสอื 1.1 รว่ มกิจกรรมการฝึกอบรม 30 ชวั่ โมง/ปี 1.2 ร่วมกิจกรรมวันสาํ คญั - วันสถาปนาลกู เสอื 1 ครัง้ / ปี - วันถวายราชสดดุ ี 1 คร้งั / ปี - วนั พ่อแหง่ ชาติ 1 ครัง้ / ปี - วนั แมแ่ ห่งชาติ 1 ครง้ั / ปี - วันต้านยาเสพตดิ 1 ครั้ง / ปี - กิจกรรมบาํ เพญ็ ประโยชนอ์ นื่ ๆ 1 คร้งั / ปี - กจิ กรรมวฒั นธรรม/ ประเพณี 2 ครั้ง / ปี 1.3 เดินทางไกล/ อยคู่ ่ายพักแรม 1 ครั้ง / ปี 2 2. มีผลงานช้นิ งานจากการเรยี นรู้ / กจิ กรรมลกู เสือ 2.1 ผลงานการบริการ 1 รายการ/ปี 2.2 ชิ้นงาน/ งานที่คดิ สรา้ งสรรค์ 1 รายการ/ปี 2.3 อ่ืน ๆ เชน่ รายงานฯ 1 รายการ/ปี 3 3. มีความพรอ้ มเขา้ รบั การทดสอบเพือ่ รับเครอื่ งหมายวชิ าพิเศษตามประเภท ของลกู เสอื 3.1............................................. 3.2............................................. 3.3............................................. 3.4............................................. 3.5ุุุุุุุุุุุุ.. ผา่ นและพรอ้ ม สรุปผลการประเมนิ ตนเอง ฉันพอจะมคี วามพรอ้ มรับประเมิน ฉนั มน่ั ใจว่าผ่านแนน่ อน ตอ้ งการความช่วยเหลือจากผกู้ าํ กับลูกเสอื ฉนั ยงั ไมพ่ รอ้ มรบั การประเมิน 154 ค่มูคู่มอื ือสส่ง่งเเสสริมแแลละะพพฒั ฒั นนากาจิกกจิ รกรรมรลมูกเลสูกือเทสักือษทะกัชวีษติ ะใชนวี สิตถาในศสึกถษาานปศรกึ ะษเภาทลลูกกู เสเสอื ือสตามรัญี ชหั้นลปกั รสะตู ถรมลูกศเึกสือษตารปี ที ี่ 4 161 ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4
แบบประเมินพฤตกิ รรมทกั ษะชีวิตของลกู เสอื สาํ หรบั ผกู้ ํากับลูกเสอื สามญั ชอื่ ลูกเสือ..แ..บ...บ..ป...ร..ะ..เ.ม...ิน...พ...ฤ..ต...ิก..ร..ร..ม...ท...กั ..ษ...ะ..ช. ีวลติูกขเสออื ง.ล..ูก...เ.ส...ือ..ส...าํ .ห. ชรั้นบ.ผ..กู้...ํา..ก..บั...ล..ูก..เปสกีือาสราศมกึ ญั ษา............. ชือ่ ลกู เสอื ................................................... ลกู เสอื ................. ช้นั ................. ปีการศกึ ษา............. พฤตกิ รรมลกู เสือสามัญที่คาดหวัง พฤตกิ รรมลกู เสือสามญั ที่คาดรหายวังการประเมนิ ใช่ ไมใ่ ช่ 1. ลูกเสือมีทกั ษะในการปฏิบตั ริกาจิ ยกกรรามรกปลราะงเแมจนิ ง้ ใช่ ไมใ่ ช่ 21. ลูกเสอื มรว่ ีทมกั กษจิ ะกใรนรกมาบรําปเฏพบิ ญ็ ตั ปกิ ริจะกโยรรชมนก์ ลางแจง้ 32. ลกู เสือชรว่ มยกตจินกเอรรงมแลบะําคเพรอ็ญบปครระัวโไยดช้ น์ 43. ลูกเสือไชม่วม่ยปีตนญั เหอางทแลนั ะตคสรขุ อภบาคพรวั ไไมดด่ ้ มื่ น้าํ อัดลม ขนมกรุบกรอบ ไม่ 4. ลรับกู ปเสรือะไทมาม่ นีปขัญนหมาหทวนั านตเสปขุ ็นภปารพะจไาํมด่ มื่ นาํ้ อัดลม ขนมกรบุ กรอบ ไม่ รับประทาน ขนมหวานเป็นประจํา 5. ลูกเสอื ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์และไมต่ ิดเกม 56. ลกู เสือใปชรเ้ ะวพลฤาวต่าติ งนใหเห้เปมน็าะปสรมะกโยับชเพน์แศลแะลไะมวต่ยั ิดมเที กักมษะการสรา้ งสมั พนั ธภาพ 6. ลแกูละเสกือาปรสรอ่ืะพสาฤรตไติมนก่ เา้ หวมร้าวะสรุนมแกรบั งเพศและวยั มีทกั ษะการสร้างสมั พนั ธภาพ 7. ลแูกละเสกอื าแรส่ือดสงอารอไกมถก่ ึง้าคววราา้ มวซรนุ่อื สแรัตงย์ รู้จักแก้ปญั หา หรอื ใหค้ วามช่วยเหลอื ผอู้ น่ื 87. ลกู เสือแมสีนดาํ้ หงอนอกั กแถลึงะคสวว่ านมสซูง่ือตสาตัมยเก์ รณจู้ ฑกั แม์ กา้ปตรัญฐหานา หรอื ใหค้ วามช่วยเหลอื ผูอ้ ่ืน 8. ลูกเสือมีนาํ้ หนกั และส่วนสูงตามเกณฑม์ าตรฐาน สรปุ แบบการประเมนิ ตนเอง สรปุ แบบการประเมินตนเอง เร่ือออยยงท่าา่มมพพงงฉ่ี ีีททรรรนั้้ออัักกอมมดดจษษเเปปะะะผผตชชลลชชออวีวี้อญญิิ ตติิดดงปภภยัยัรับปรุงจจะะมมีทีทแแัักกกพพษษไไ้้ ฤฤขขะะตตปปชชกกิิ ีีววรรรรบับัิิตตรรปปดดมมหหีีรรุงงุ าากกไไดด้้ ตอ้ งพัฒนาตนเอง ไมแ่ น่ใจชวี ิต ตอ้ งพบฒัางนเราอื่ ตงนเอง )มไีปมญั ่แหนาใ่ จแชลีว้ ตินะ( จงึ จะมบีทากั งษเระื่อชงวี ิตที่ดี )มีปญั หาแล้วนะ( จึงจ)ะเมสีย่ทงกั นษะะเชนีวย่ ติ (ท่ดี ี )เสย่ี งนะเนีย่ ( 1เร(ือ่ .ง..ท..ฉ่ี...ัน...จ..ะ..ต...้อ..ง..ป...ร..ับ..ป...ร..ุง................................................................................................................ 12( .................................................................................................................................................. 32( ................................................................................................................................................... 34( ................................................................................................................................................... 4( ................................................................................................................................................... 162 คมู่ อื สง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรมลูกเสือทกั ษะชีวิตในสถานศกึ ษา ลกู เสอื ตรี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 คู่มอื สง่คเมู่ สอื รสิม่งแเสลระมิ พแัฒละนพาัฒกนจิ ากกริจรกมรรลมกู ลเูกสเือสือททักกั ษษะะชชวี ีวติติ ใในนสสถถาานนศศกึ ษกึ าษปาระลเกูภเทสลือกู ตเสรือี สชานั้ มปญั รหะถลักมสศูตึกรษลกูาเปสีทอื ต่ี 4รี 162 ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4 155
ใบความรู้ ผลการผ่านเกณฑ์ การประเมินกจิ กรรมลูกเสือ 1. การประเมินผลการเรียนรู้ตามแนวทางหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน 2551 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กําหนดให้กิจกรรมลูกเสือเป็นกิจกรรมท่ีมุ่งปลูกฝัง ระเบียบวนิ ยั และกฎเกณฑเ์ พ่อื การอยู่รว่ มกัน รู้จกั การเสียสละ บาํ เพ็ญประโยชน์แก่สังคมและดําเนิน วิถีชีวติ ในระบอบประชาธปิ ไตย ตลอดจนมที กั ษะชีวิตเป็นภูมคิ มุ้ กนั ปัญหาสงั คมตามชว่ งวยั ของลูกเสอื การจัดกิจกรรมลูกเสือ ยังต้องเป็นไปตามข้อบังคับของสํานักงานลูกเสือแห่งชาติ และ สอดคล้องกบั หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐานอีกด้วย 2. การประเมนิ ผลการตัดสนิ การผ่านกจิ กรรมลูกเสอื กจิ กรรมลูกเสือเปน็ กิจกรรมนักเรียนท่ีลูกเสอื ทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมลูกเสือ 40 ช่ัวโมงต่อ ปกี ารศึกษาในระดบั ประถมศกึ ษาและมัธยมศึกษา การประเมนิ การจดั กิจกรรมลกู เสือตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีประเด็นต้อง ประเมนิ ดงั น้ี 2.1 เวลาในการเข้าร่วมกิจกรรม ผ้เู รียนต้องมเี วลาเขา้ ร่วมกจิ กรรมตามทส่ี ถานศึกษากาํ หนด 2.2 การเรยี นรู้ผา่ นกจิ กรรมหรือการปฏบิ ัติกิจกรรมอย่างต่อเน่ือง มุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพ ของตนและการทาํ งานกลมุ่ 2.3 ผลงานที่ปรากฏจากการเรียนรู้ หรือคุณลักษณะของผู้เรียน/ พฤติกรรม/ ชิ้นงาน/ การ เปล่ียนแปลงตนเอง 3. การประเมนิ กจิ กรรมลูกเสือ มี 2 แนวทาง คือ 1) การประเมินกิจกรรมลกู เสอื รายกิจกรรมมีแนวปฏบิ ัติดงั น้ี 1.1( ตรวจสอบเวลาเข้าร่วมกจิ กรรมของลูกเสือให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศกึ ษากําหนด 1.2( ประเมินกิจกรรมการเรียนรู้จากการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน คุณลักษณะ / ช้ินงาน/ ของผเู้ รียนตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากําหนดไว้ ด้วยวิธกี ารทหี่ ลากหลาย เน้นการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ กิจกรรม 1.3( ลูกเสือที่มีเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม มีการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน / ช้นิ งาน / คณุ ลักษณะตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากําหนดเป็นผ้ผู ่านการประเมนิ รายกิจกรรมและนําผลการประเมินไป บนั ทึกในระเบียนแสดงผลการเรยี น 1.4( ลูกเสือท่ีมีผลการประเมินไม่ผ่านในเกณฑ์เวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ กิจกรรมและผลงาน คุณลักษณะตามท่ีสถานศึกษากําหนด ลูกเสือต้องดําเนินการซ่อมเสริมและ 156 คูม่คูม่ืออื สส่งง่ เเสสริมแแลละะพพัฒฒั นนากาิจกกิจรกรรมรลมกู เลสกู อื เทสกั ือษทะกัชวีษติ ะใชนวี สติ ถาในศสกึ ถษาานปศรึกะษเภาทลลูกกู เสเสือือสตามรัญี ชหน้ั ลปักรสะตู ถรมลูกศเกึสอืษตารปี ีท่ี 4 163 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4
ประเมินจนผ่าน ท้ังนี้ควรดําเนินการให้เสร็จสิ้นในปีการศึกษานั้น ๆ ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยู่ใน ดุลพนิ จิ ของสถานศกึ ษา 2) การประเมินกจิ กรรมลูกเสอื เพ่อื การตัดสินใจ การประเมินกิจกรรมลกู เสือเพอ่ื ตัดสินควรได้รบั เคร่อื งหมายและเลอ่ื นระดบั ทางลูกเสือและ จบการศกึ ษาเป็นการประเมนิ การผ่านกจิ กรรมลกู เสอื เปน็ รายปี เพอื่ สรุปผลการผา่ นในแตล่ ะ/ รายภาค/ สรุปผลรวมเพื่อเลื่อนชั้นระดับลูกเสือและกิจกรรม สรุปผลรวมเพ่ือสรุปผลการผ่านในแต่ละกิจกรรม ประมวลผลรวมในปีสุดท้ายเพ่ือการจบแต่ละระดับการศึกษา โดยการดําเนินงานดังกล่าว มีแนวทาง ปฏิบตั ิดังนี้ 2.1( กาํ หนดให้มผี ู้รบั ผิดชอบในการรวบรวมขอ้ มูลเก่ียวกับการเข้าร่วมกจิ กรรมลูกเสือของ ลกู เสอื ทกุ คนตลอดระดบั การศึกษา 2.2( ผู้รับผิดชอบสรุปและตัดสินใจผลการร่วมกิจกรรมลูกเสือของลูกเสือเป็นรายบุคคล รายหมู่ ตามเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากําหนด 164 คมู่ อื สง่คเู่มสือรสิม่งแเสลระมิ พแฒัละนพาัฒกนจิ ากกริจรกมรรลมูกลเูกสเือสือททกั กั ษษะะชชีวีวิติตใในนสสถถาานนศศกึ ษึกาษปาระลเกูภเทสลอื กู ตเสรือี สชา้ันมปัญรหะถลักมสศูตกึ รษลกูาเปสีทือต่ี 4รี 157 ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4
Flow chart ขนั้ ตอน แนวทางการประเมนิ ผลการเรียนร้กู ิจกรรมลกู เสอื แผนการจัดกิจกรรมลกู เสอื จดั กจิ กรรมลกู เสอื เกณฑ์การประเมนิ ตามค่มู ือการจดั กิจการลูกเสอื ที่ 1. เวลาเข้าร่วมกิจกรรม 2. การปฏบิ ัติกิจกรรม เสริมสร้างทกั ษะชีวติ 3. ผลงาน / ช้นิ งาน 4. คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ ประเมนิ ผลการเรียนรู้ ผลการประเมนิ ไมผ่ ่าน ซ่อมเสริม ผ่าน ผ่าน สรปุ ผลการประเมนิ / ตดั สนิ ผลการเรียนรู้ รายงาน / สารสนเทศ จดั พธิ ปี ระดบั เครื่องหมายลูกเสือ ตามประเภทลกู เสือ 158 คู่มคู่มืออื สส่งง่ เเสสรมิ แแลละะพพฒั ัฒนนากาจิกกิจรกรรมรลมูกเลสกู อื เทสักือษทะักชวีษิตะใชนีวสติ ถาในศสกึ ถษาานปศรึกะษเภาทลลกู กู เสเสืออืสตามรัญี ชหน้ั ลปักรสะูตถรมลูกศเกึสอืษตารปี ีท่ี 4 165 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4
4. เกณฑก์ ารตัดสิน 4.1 กําหนดเกณฑก์ ารประเมินตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานกําหนดไว้ 2 ระดับ คือผา่ น และ ไมผ่ ่าน 4.2 เกณฑก์ ารตัดสินผลการประเมนิ รายกจิ กรรม ผ่าน หมายถึง ลูกเสือมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมครบตามเกณฑ์ ปฏิบัติกิจกรรมและมี ผลงาน / คณุ ลักษณะตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากําหนด/ ชิ้นงาน ไมผ่ า่ น หมายถงึ ลกู เสอื มเี วลาเขา้ รว่ มกิจกรรมไมค่ รบตามเกณฑ์ ไมผ่ า่ นการปฏิบัติ 4.3 เกณฑ์การตัดสนิ ผลการประเมินกิจกรรมลกู เสอื รายปี / รายภาค ผ่าน หมายถึง ลูกเสือมีผลการประเมินระดับ “ผ่าน” ในกิจกรรมสําคัญตามหลักสูตร ลูกเสือแตล่ ะประเภทกาํ หนดรวมถงึ หลักสูตรลูกเสือทักษะชวี ติ ไม่ผา่ น หมายถึง ลูกเสือมีผลการประเมินระดับ “ไม่ผ่าน” ในกิจกรรมสําคัญที่หลักสูตร ลกู เสือแตล่ ะประเภทกาํ หนดและลกู เสอื ทักษะชีวิต 4.4 เกณฑก์ ารตดั สนิ ผลการประเมนิ กิจกรรมลูกเสือเพื่อจบหลักสูตรลูกเสอื แตล่ ะประเภทเปน็ รายชนั้ ปี ผ่าน หมายถึง ลูกเสือมีผลการประเมินระดับ ”ผ่าน“ทุกชั้นปีในระดับการศึกษาน้ัน ไมผ่ า่ น หมายถงึ ลูกเสอื มีผลการประเมินระดับ “ไมผ่ า่ น” บางชนั้ ปใี นระดับการศึกษานน้ั )หมายเหตุ การประเมนิ ผลอาจเขียนแยกการประเมินผลแตล่ ะกจิ กรรม หรอื เขยี นรวมการ ประเมินรวบยอดกจิ กรรมลูกเสือทม่ี พี ฤติกรรมต่อเน่อื งหรือเม่อื สิน้ สุดกิจกรรมรายปี( เอกสารอ้างอิง กระทรวงศกึ ษาธิการ. หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จํากดั . 2551. 166 คมู่ อื สง่คเ่มู สือรสิม่งแเสลระิมพแฒัละนพาฒั กนจิ ากกรจิ รกมรรลมกู ลเกู สเอืสือททกั ักษษะะชชีววี ิตติ ใในนสสถถาานนศศึกษึกาษปาระลเกูภเทสลือกู ตเสรือี สชาัน้ มปัญรหะถลักมสศตู ึกรษลกูาเปสทีือต่ี 4รี 159 ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4
2. การประเมนิ พฤตกิ รรมทกั ษะชีวติ และคณุ ลกั ษณะทางลกู เสอื 2.1 ความสามารถทีค่ าดหวังใหเ้ กิดขึ้นกบั ลูกเสอื โดยรวม คอื 1( ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ 2( ความสามารถในการคดิ สรา้ งสรรค์ 3( ความสามารถในการเหน็ ใจผู้อื่น 4( เห็นคุณคา่ ตนเอง 5( รบั ผิดชอบต่อสังคม 6( ความสามารถในการสอ่ื สารเพอื่ สรา้ งสัมพนั ธภาพ 7( ความสามารถในการตัดสนิ ใจ 8( ความสามารถในการจดั การแกไ้ ขปัญหา 9( ความสามารถในการจัดการกับอารมณ์ 10( ความสามารถในการจัดการกับความเครยี ด 2.2 พฤติกรรมทค่ี าดหวงั ให้เกดิ ข้นึ กบั ลูกเสือแตล่ ะชน้ั ปี 1) ลูกเสือสํารอง )1( มที กั ษะในการสังเกตและจดจํา )2( พึ่งตนเอง ดูแลตนเองได้ )3( รู้จกั รกั ษาสิง่ แวดลอ้ ม )4( ไม่เจบ็ ปูวยดว้ ยโรคติดตอ่ ตามฤดกู าล )5( ปฏเิ สธส่ิงเสพติดทุกชนดิ )6( พูดจาสอื่ สารเชิงบวก ไมก่ า้ วรา้ วรนุ แรง )7( แกป้ ัญหาเฉพาะหน้าได้ )8( ให้ความช่วยเหลอื เพ่ือนในภาวะวิกฤติ 2) ลูกเสอื สามัญ )1( มีทักษะในการปฏบิ ัติกจิ กรรมกลางแจ้ง )2( รว่ มกจิ กรรมบาํ เพญ็ ประโยชนด์ ว้ ยจิตอาสา )3( พึง่ ตนเองและชว่ ยเหลอื ครอบครวั )4( ไม่ดมื่ นา้ํ อัดลม )5( ไมร่ ับประทานขนมหวานและขนมกรุบกรอบ )6( ใชเ้ วลาว่างให้เป็นประโยชน์ )7( รู้จักพูดเชงิ บวก ไมพ่ ดู กา้ วร้าวรุนแรง )8( มคี วามซอ่ื สัตย์ ไมโ่ กหก )9( รู้จกั แก้ปญั หาด้วยสนั ติวธิ ี )10( มนี ํา้ หนกั สว่ นสงู ตามเกณฑม์ าตรฐาน 160 คมู่คู่มืออื สสง่ ่งเเสสรมิ แแลละะพพัฒฒั นนากาิจกกจิ รกรรมรลมกู เลสูกอื เทสักอื ษทะักชีวษิตะใชนีวสิตถาในศสกึ ถษาานปศรึกะษเภาทลลกู กู เสเสอื ือสตามรัญี ชหน้ั ลปกั รสะูตถรมลูกศเกึสอืษตารปี ีท่ี 4 167 ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4
3) ลูกเสอื สามัญรนุ่ ใหญ่ )1( มที ักษะในการทํากจิ กรรมตามความสนใจ )2( มีจติ อาสาทาํ ประโยชน/์ ไมก่ ่อความเดอื ดรอ้ น ใหก้ บั ครอบครัว สถานศกึ ษา ชมุ ชน สงั คม )3( ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์ )4( ร่วมกิจกรรมส่งเสรมิ อนุรักษป์ ระเพณี ศิลปวัฒนธรรมไทย )5( มีทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ การยบั ย้ังไม่เปน็ ทาสของส่อื โฆษณา )6( มที ักษะการใช้ประโยชน์จาก Internet )7( มีผลงาน/ โครงการการประหยัดพลงั งาน/ ทรัพยากร )8( มกี ารออมหรอื ทาํ บัญชีรายรบั รายจ่ายของตนเองอยา่ งตอ่ เน่อื ง )9( มีทักษะการหลกี เล่ียง ลอดพ้นและไมเ่ กิดอบุ ตั ิเหตจุ ากการใช้ยานพาหนะ )10( ไมเ่ ก่ยี วขอ้ งกับสง่ิ เสพตดิ ทุกประเภท 4) ลกู เสือวสิ ามญั )1( มผี ลงาน/ โครงการเฉพาะท่เี ป็นประโยชน์ตอ่ ตวั เอง/ สงั คม )2( มจี ิตอาสาและบริการ )3( รูว้ ิธีปฺองกัน/ และหลีกเล่ียงความเสยี่ งทางเพศ )4( ใชเ้ วลากบั สอ่ื IT อยา่ งเหมาะสม ไมเ่ กดิ ความเสียหายตอ่ วถิ ชี วี ิตปกตขิ อง ตนเอง )5( ไมเ่ กี่ยวขอ้ งกับสิ่งเสพติด )6( มีค่านยิ มดา้ นสุขภาพอยา่ งเหมาะสม ไม่เกดิ ผลเสียตามมา )7( มคี า่ นิยมดา้ นการรบั ประทานอาหารทเ่ี หมาะสม ไมเ่ กดิ ผลเสียหายตามมา )8( มคี ่านยิ มดา้ นความงามท่เี หมาะสมไมเ่ กิดผลเสยี หายตามมา )9( ไมม่ พี ฤติกรรมก้าวร้าวและกอ่ เหตุรนุ แรง อา้ งองิ จาก คมู่ อื การเทยี บระดับ )Benchmarking( กจิ กรรมลกู เสือเสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ติ 2558 168 คู่มือส่งคเู่มสอื รสมิ ง่ แเสลระิมพแฒัละนพาัฒกนิจากกรจิ รกมรรลมูกลเูกสเอืสอืททกั กั ษษะะชชีวีวติิตใในนสสถถาานนศศกึ ษกึ าษปาระลเกูภเทสลอื กู ตเสรือี สชาั้นมปญั รหะถลกัมสศูตกึ รษลกูาเปสีทือต่ี 4รี 161 ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 4
แผนการจดั กจิ กรรมลูกเสอื หลกั สตู รลกู เสอื สามญั (ลกู เสอื ตร)ี ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 หนว่ ยท่ี 7 พิธีการ แผนการจดั กจิ กรรมที่ 27 พิธเี ขา้ ประจำ�ํากกอองงลลกู ูกเเสสอื อื สสาามมญั ญั และการประดบั เครอ่ื งหมายลกู เสอื ตรี และการประดบั เคร่ืองหมายลูกเสือตรี จาํ นวน 1 ช่วั โมง 1. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เพื่อรบั รองลกู เสือสาํ รองไว้เปน็ ลกู เสือสามัญอยา่ งสมบรู ณ์ 2. เน้อื หา พิธีเขา้ ประจํากองลกู เสอื สามัญ 3. สื่อการเรียนรู้ 3.1 โต๊ะหมู่บูชา )กรณีลูกเสือนับถือศาสนาพุทธทั้งกอง( )ไม่จําเป็นต้องมีโต๊ะหมู่บูชาก็ได้ เพราะในพิธีการไม่มีพธิ ีทางศาสนา อ้างอิงตามหลกั สตู รการฝึกอบรมผู้กาํ กับลูกเสือสามัญ ข้ันความรู้ เบื้องต้นในบทเรียนท่ี 4 เรื่องพิธีการลูกเสือสามัญ( 3.2 ลกู เสอื เกา่ และลูกเสอื ใหม่ 3.3 เครอื่ งหมายลกู เสือตรี เทา่ จาํ นวนลูกเสอื ใหม่ 4. กิจกรรม 4.1 จัดเตรยี มสถานทใ่ี นห้องประชมุ หรือสนามกลางแจ้งทเี่ ป็นสถานทีท่ ่เี หมาะสม 4.2 ผูก้ ํากับและลูกเสอื พร้อมกันในห้องประชุม 4.3 ผ้กู ํากับเปน็ ประธานจดุ ธูปเทียนบูชาพระรตั นตรยั และถวายสักการแดพ่ ระรูปรัชกาลท่ี 6 ผู้กาํ กบั และลูกเสอื รว่ มกันถวายราชสดดุ ี )ในพธิ กี ารที่อา้ งองิ ไมม่ ขี น้ั ตอนนี้ จงึ ควรตดั ออก( 4.4 ผกู้ าํ กับกลา่ วถงึ การไดร้ ับอนุมตั กิ ารผา่ นกจิ กรรมตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากําหนดไว้ และ ตอ้ นรับใหเ้ ขา้ ประจํากองลูกเสอื พร้อมทงั้ ประดบั เครื่องหมายลกู เสอื ตรี 4.5 ดาํ เนินกจิ กรรม/พธิ กี ารเข้าประจาํ กองลูกเสอื สามัญและมอบเครื่องหมายลกู เสอื ตรใี ห้กบั ลกู เสอื ทกุ คน 4.6 ผกู้ าํ กับลกู เสอื และผู้บังคับบญั ชาลูกเสอื ตลอดจนลกู เสือรนุ่ พแ่ี สดงความชื่นชม )ด้วยการ สัมผสั มอื แบบลูกเสือ( ยนิ ดีกับลกู เสือตรที กุ นาย 5. การประเมนิ ผล จัดทาํ สารสนเทศลกู เสอื ทกุ คน 162 ค่มูคมู่ืออื สส่งง่ เเสสรมิ แแลละะพพัฒัฒนนากาิจกกจิ รกรรมรลมกู เลสูกือเทสกั อื ษทะกัชวีษติ ะใชนวี สติ ถาในศสกึ ถษาานปศรึกะษเภาทลลูกกู เสเสืออืสตามรญั ี ชหัน้ ลปกั รสะตู ถรมลูกศเกึสอืษตารปี ีท่ี 4 169 ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 4
กจิ กรรมพธิ ีเข้าประจํากองลูกเสอื สามญั เม่ือลูกเสือสอบได้วิชาลูกเสือตรีแล้ว กองลูกเสือแต่ละกองต้องจัดทําพิธีปฏิญาณตัวขึ้นเพ่ือ รบั รองลูกเสือไวเ้ ปน็ ลกู เสอื อยา่ งสมบูรณ์ อันมีหลักปฏบิ ตั ิดงั ตอ่ ไปนี้ พิธเี ข้าประจํากองลูกเสือสามัญ พิธเี ขา้ ประจํากองลูกเสือ หรือเรียกว่าพิธีปฏิญาณตนน้ี ให้เป็นหน้าที่ของกองลูกเสือต่างกอง ตา่ งจัดทาํ และให้ปฏิบัติดงั นี้ 1. จัดลูกเสือเก่า )คือลูกเสือที่ได้ปฏิญาณตนแล้ว( อย่างน้อย 6 คน เป็นผู้แทนคณะลูกเสือ แห่งชาติ เข้าแถวหน้ากระดานและลูกเสือใหม่ )คือลูกเสือที่จะปฏิญาณตน( เข้าแถวหน้ากระดาน เหมือนกันอยหู่ ลังลูกเสือเกา่ )ลูกเสือเกา่ และลกู เสอื ใหม่มพี ลอง( 2. ผกู้ าํ กบั ยนื อยู่หน้าแถว มรี องผกู้ ํากับ 2 คน ยนื อยู่ด้านขวามือของผูก้ ํากับ เพือ่ รับฝากพลอง กับหมวกของลูกเสือใหม่ 3. ผู้กํากับเรียกลูกเสือใหม่ )สมมุติว่าลูกเสือใหม่ช่ือนายแดง รักไทย( ว่า “นายแดง รักไทย มาแล้วหรือยัง” )ถ้านายแดง รักไทย เคยเป็นลูกเสือสํารองมาก่อน ก็ให้เรียกว่า “ลูกเสือแดง รักไทย” นายหมู่ที่อยู่หัวแถวลูกเสือผู้นั้น ก้าวออกมาข้างหน้า 1 ก้าว ทําวันทยาวุธ พร้อมกับขานว่า “มาแล้ว” และให้นายหมู่เรียกช่ือซ้ําอีกว่า นายแดง รักไทย นายแดง รักไทย ขานรับว่า “อยู่” แล้ววิ่งออกมามอบ พลองกับหมวกไว้ทีร่ องผูก้ ํากับ )เวลาวิ่งให้ว่ิงไปด้านซ้ายของแถว( แล้วไปยืนหน้าผู้กํากับเป็นแถวหน้า กระดานทลี ะคนจนหมดหมู่ )คร้ังหน่ึงๆ ไม่ควรเกิน 8 คน( เมื่อหมดคนในหมู่แล้วให้นายหมู่ว่ิงไปอยู่หัว แถว )นายหมู่วิ่งตรงไปหนา้ ผกู้ ํากบั เลย( 4. ผู้กาํ กบั เริม่ ทําการสอบถาม ดังน้ี ผู้กาํ กับ “เขา้ ใจหรือไม่ว่า คาํ มัน่ สัญญาของเจ้าคอื อะไร” ลกู เสอื ใหม่ “ขา้ เขา้ ใจวา่ คอื ข้าสัญญาวา่ จะทาํ อยา่ งไรแล้ว ต้องทําเหมือนปากพดู ทุกอย่าง” ผูก้ ํากับ “ถ้าเชน่ นน้ั จะให้เชือ่ ไดห้ รือไม่ว่า” “ขอ้ 1. เจา้ จะจงรกั ภกั ดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์” “ขอ้ 2. เจา้ จะชว่ ยเหลือผอู้ ืน่ ทกุ เมอื่ ” “ข้อ 3. เจ้าจะปฏิบัติตามกฎของลกู เสือ” ลกู เสือใหมแ่ สดงรหสั แลว้ กลา่ วว่า “ดว้ ยเกียรติของขา้ ข้าสัญญาวา่ ” “ข้อ 1. ข้าจะจงรกั ภักดตี อ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์” “ข้อ 2. ขา้ จะชว่ ยเหลอื ผู้อนื่ ทกุ เมอ่ื ” “ข้อ 3. ข้าจะปฏบิ ัติตามกฎของลกู เสือ” )ขณะที่ลกู เสือใหมก่ ล่าวคําปฏิญาณตนน้ี ลูกเสือเก่าและลูกเสือใหม่ท่ีออกมาปฏิญาณตนแล้ว ใหย้ กพลองมาวางไว้กงึ่ กลางระหว่างเท้าทั้งสอง พลองส่วนบนพิงแขนซ้ายซึ่งงอเป็นมุมฉากรอรับอยู่ แล้วแสดงรหัส ผูบ้ งั คับบัญชาลกู เสือ และลกู เสือท่อี ยู่ในบรเิ วณนั้น แสดงรหสั ด้วย( 170 คมู่ อื ส่งคเู่มสือรสมิ ง่ แเสลระิมพแฒัละนพาฒั กนจิ ากกรจิ รกมรรลมูกลเกู สเือสือททกั กั ษษะะชชีวีวิติตใในนสสถถาานนศศึกษึกาษปาระลเกูภเทสลือูกตเสรือี สชา้นั มปญั รหะถลักมสศูตึกรษลูกาเปสทีือต่ี 4รี 163 ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4
ผ้กู าํ กบั “เจ้าจงรักษาคําม่นั สญั ญาของเจา้ ไว้ให้มั่นต่อไป บัดน้ีเจ้าได้เข้าเป็นลูกเสือสามัญและ เปน็ สมาชกิ ผหู้ นึง่ ของคณะพ่ีนอ้ งลกู เสือแห่งโลกอนั ยิ่งใหญแ่ ล้ว” 5. เม่ือสิ้นคําผู้กํากับใน ข้อ 4. ให้รองผู้กํากับทั้งสองคนนําพลองและหมวกไปมอบให้ลูกเสือ ใหม่ 6. เมื่อลูกเสือใหม่รับพลองและหมวกเรียบร้อยแล้ว นายหมู่สั่งว่า “ลูกเสือใหม่กลับหลังหัน” ลูกเสือใหม่รวมทั้งนายหมู่ทาํ กลับหลังหัน แล้วนายหมู่ส่ังต่อ “ลูกเสือใหม่ ทําความเคารพลูกเสือเก่า วันทยาวุธ” ทั้งลูกเสือใหม่และลูกเสือเก่าทาํ วันทยาวุธพร้อมกัน นายหมู่สั่ง “เรียบอาวุธ” เมื่อทุกคน เรียบอาวุธแล้ว 7. ผกู้ ํากบั ส่งั วา่ “ลกู เสอื ใหม่ เขา้ ประจําหมู่ – วิ่ง” ให้นายหมู่พาลูกเสือใหม่ว่ิงเข้าประจําที่ )ท่ี เดมิ ( 8. เมื่อทุกคนไดท้ ําพิธีปฏญิ าณตนหมดแลว้ ผกู้ าํ กับจัดใหแ้ ถวหนั หน้าไปทางกรุงเทพฯ ถ้าเป็น กรุงเทพฯ ให้หันหน้าไปทางพระบรมมหาราชวัง ผู้กํากับวิ่งไปอยู่หน้าแถว แล้วสั่งว่า “ลูกเสือถวาย ความเคารพแดพ่ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัววันทยา-วุธ” ลกู เสอื ทกุ คนทาํ วนั ทยาวธุ ผ้กู าํ กบั กล่าวนําว่า “พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ทรงพระเจรญิ ” ให้ลูกเสอื ทกุ คนในทนี่ ้นั รบั “ไชโย” พร้อมกัน 3 คร้ัง แล้วจึง สั่ง “เรียบ-อาวุธ” และสัง่ แถวลกู เสอื หันกลับที่เดมิ แลว้ จึงส่งั เลิกแถว ประเดน็ การวเิ คราะห์คณุ ธรรมท่ีได้ 1. ซ่ือสัตย์ สจุ รติ 2. กตญั ํู 3. ความรับผิดชอบ 4. อดุ มการณ์ คณุ ธรรม 164 คู่มคู่มอื ือสส่งง่ เเสสรมิ แแลละะพพฒั ัฒนนากาิจกกจิ รกรรมรลมูกเลสูกอื เทสกั ือษทะกัชวีษติ ะใชนวี สิตถาในศสกึ ถษาานปศรึกะษเภาทลลูกกู เสเสอื ือสตามรัญี ชห้ันลปกั รสะูตถรมลกูศเกึสือษตารปี ที ี่ 4 171 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4
ภาคผนวก 172 คู่มอื สง่ เสรมิ และพฒั นากิจกรรมลกู เสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสอื ตรี ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4
ภาคผนวก ก แนวคิดเรอ่ื งทักษะชวี ิต ความหมายและองคป์ ระกอบทักษะชีวติ ทกั ษะชีวติ เปน็ ความสามารถของบุคคล ทจี่ ําเป็นตอ่ การปรบั ตัวในการเผชญิ ปญั หาตา่ ง ๆ และสามารถดําเนนิ ชวี ิตท่ามกลางสภาพสงั คมที่มกี ารเปล่ียนแปลงทง้ั ในปัจจบุ นั และเตรียมพร้อม สาํ หรับการเผชิญปัญหาในอนาคต องค์ประกอบทักษะชีวิต มี 12 องค์ประกอบ จัดเป็น 6 คู่ โดยแบ่งตามพฤติกรรมการเรียนรู้ 3 ดา้ น ดังนี้ อhงghคjh์ปgรfgะjjกhgอffบjhทhgักffษdsะdsชdีวsิต6 คู่ 3 ด้าน ความตระหนัก การสรา้ ง รใู้ นตน สมั พนั ธภาพและ การสอื่ สาร ความเหน็ ใจ ความคดิ การ ทกั ษะพสิ ยั ผู้อ่ืน สรา้ งสรรค์ ตัดสนิ ใจ พทุ ธพิ ิสัย จติ พสิ ัย และแกไ้ ข ความ ความคิดวิเคราะห์ ปัญหา ภาคภมู ใิ จ วิจารณ์ ในตัวเอง ความ การจดั การกบั อารมณแ์ ละ รบั ผดิ ชอบ ความเครียด ต่อสงั คม แผนภาพท่ี 1 องคป์ ระกอบของทักษะชีวติ 1. ด้านพุทธิพิสัย จัดไว้ตรงกลางของแผนภาพ เพราะเป็นองคป์ ระกอบรว่ มและเป็นพน้ื ฐาน ของทกุ องคป์ ระกอบ ได้แก่ - ความคิดวิเคราะหว์ จิ ารณ์ เปน็ ความสามารถที่จะวเิ คราะห์ สังเคราะห์ ประเมนิ ข้อมูล ข่าวสาร ปญั หา และสถานการณ์ตา่ ง ๆ รอบตวั - ความคิดสร้างสรรค์ เปน็ ความสามารถในการคิดออกไปอยา่ งกวา้ งขวางโดยไมย่ ึด ติดอยู่ในกรอบ และการสร้างสรรค์สง่ิ ใหม่ คมู่ ือสคูม่งเือสสร่งมิเสแรลมิ ะแพละัฒพนัฒานกาิจกกิจกรรรมมลลกู ูกเสืออททกั กั ษษะะชชวี ิตีวใิตนใสนถสาถนาศนกึ ษศาึกปษราะเลภกทู ลเสูกอืเสตอื รสี าชม้นัญปหรละักถสมตู ศรึกลกูษเาสปือตีทรี่ ี4 116773 ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4
2. ด้านจติ พสิ ยั หรอื เจตคติ มี 2 คู่ คอื คทู่ ่ี 1 ความตระหนักรใู้ นตนเอง และ ความเข้าใจ/เหน็ ใจผอู้ น่ื คู่ท่ี 2 เหน็ คุณค่า/ภมู ใิ จตนเอง และ ความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม - ความตระหนกั รใู้ นตนเอง เป็นความสามารถในการค้นหาและเขา้ ใจในจุดดีจุดด้อย ของตนเอง ยอมรบั ความแตกตา่ งของตนเองกับบุคคลอ่ืน ไม่ว่าจะในแง่ความสามารถ เพศ วัย อาชีพ ระดบั การศกึ ษา ฐานะทางเศรษฐกิจ ฐานะทางสงั คม ศาสนา สีผิว ท้องถิ่น สุขภาพ ฯลฯ - ความเข้าใจ/เหน็ ใจผู้อื่น เป็นความสามารถในการเข้าใจความรู้สึกของผู้อ่ืน เห็นอก เห็นใจและยอมรับตัวตนของบุคคลอ่ืนที่แตกต่างกับเรา ไม่ว่าจะในแง่ความสามารถ เพศ วัย อาชีพ ระดับการศึกษา ฐานะทางเศรษฐกิจ ฐานะทางสงั คม ศาสนา สีผวิ ท้องถ่นิ สุขภาพ ฯลฯ - เห็นคุณค่า/ภูมิใจตนเอง เป็นการค้นพบ คุณสมบัติเฉพาะตัวของตนเอง รู้สึกว่า ตนเองมีคุณคา่ เช่น เป็นคนมนี า้ํ ใจ ซื่อสตั ย์ ยุตธิ รรม และภูมิใจในความสามารถด้านต่าง ๆ ของตนเอง เชน่ ด้านสังคม ดนตรี กีฬา ศิลปะ การเรียน ฯลฯ - ความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นความรู้สึกว่าตนเองเป็นส่วนหน่ึงของสังคมและมี สว่ นรบั ผดิ ชอบในความเจรญิ หรือเสื่อมของสังคมนั้น คนที่เห็นคุณค่าตนเองจะมีแรงจูงใจท่ีจะทําดีกับ ผูอ้ ่ืนและสงั คมส่วนรวมมากขึ้น จงึ จัดเข้าคกู่ บั ความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม 3. ดา้ นทักษะพสิ ัยหรอื ทักษะ ประกอบด้วย 3 คู่ คอื คู่ท่ี 1 การสอื่ สารและการสร้างสมั พันธภาพ คู่ที่ 2 การตดั สนิ ใจและการแก้ไขปญั หา คทู่ ่ี 3 การจดั การกบั อารมณ์และความเครยี ด - ทกั ษะการการสอ่ื สารและการสรา้ งสัมพันธภาพ เป็นความสามารถในการใช้ คําพูดและภาษาท่าทาง เพือ่ สื่อสารความร้สู กึ นกึ คิดของตนเอง และสามารถรับรู้ความรสู้ กึ นกึ คิด ความ ต้องการ ของอีกฝูายหน่ึง มีการตอบสนองอยา่ งเหมาะสมและเกิดสมั พันธภาพทด่ี ตี อ่ กนั - ทกั ษะการตัดสินใจและการแก้ไขปญั หา การตัดสินใจใช้ในกรณีทม่ี ที างเลือกอยู่ แลว้ จึงเร่ิมจตงึ เ้นรดิม่ ้ตวยน้ กดาว้ รยวกิเาครรวาิเคะหรา์ขะ้อหด์ขีขอ้ ้อดเขี สอ้ ียเสขียอขงอแงตแ่ลตะล่ ทะาทงาเงลเือลกอื กเพเพ่ืออื่หหาาททาางงเเลลือือกกท่ีดีท่ีสุดและะนนาํ �ำไไปป ปฏิบตั ิ สว่ นการแกไ้ ขปัญหาเปน็ ความสามารถในการรบั รู้ปัญหาและสาเหตุของปัญหา หาทางเลือก ไดห้ ลากหลาย วิเคราะหข์ อ้ ดขี ้อเสยี ของแต่ละทางเลอื ก ตดั สนิ ใจเลอื กทางเลอื กในการแกป้ ัญหาที่ เหมาะสมท่ีสดุ และนําไปปฏบิ ตั ิ - ทักษะการจัดการกับอารมณ์และความเครียด เปน็ ความสามารถในการรบั รู้ อารมณ์ตนเอง ประเมนิ และรู้เทา่ ทนั วา่ อารมณจ์ ะมีอทิ ธพิ ลต่อพฤตกิ รรมของตนอยา่ งไร และเลอื กใช้วิธี จัดการกับอารมณ์ที่เกดิ ขนึ้ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ส่วนการจดั การความเครยี ดเปน็ ความสามารถในการรับรู้ ระดบั ความเครียดของตนเอง รสู้ าเหตุ หาทางแกไ้ ข และมีวิธผี ่อนคลายความเครยี ดของตนเองอย่าง เหมาะสม 174168 คมู่ อืคูม่สอืง่ สเส่งเรสมิ รแมิ แลละะพพัฒัฒนนาากกจิจิ กกรรรรมมลลกู ูกเสเอืสทือักทษกั ะษชีวะติชใวี นิตสใถนานสศถกึาษนาศปึกรษะาเภทลลกู กู เสเสอื ือตสรามี ัญชัน้ หปลรกั ะสถูตมรศลกูึกเษสือาตปรที ี ่ี 4 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4
ความแตกต่างระหวา่ งทกั ษะชวี ิตทัว่ ไปและทกั ษะชีวิตเฉพาะ ทักษะชีวิตทั่วไป เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม สําหรับปัญหาทั่ว ๆ ไปใน ชีวิตประจาํ วนั ด้วยทักษะชวี ติ 12 องคป์ ระกอบ ใหก้ บั เดก็ ทุกคน ทักษะชีวิตเฉพาะ เป็นการประยุกต์ใช้ทักษะชีวิต 12 องค์ประกอบ ที่มีเนื้อหา เก่ียวกับการปฺองกันปญั หาเฉพาะเรอื่ งสําหรับเดก็ กลุ่มเสีย่ ง โดยมคี รูที่ปรึกษาและระบบดูแลช่วยเหลือ นกั เรยี นรองรบั ทกั ษะชีวิตกับการพฒั นาเยาวชน เมื่อแบ่งเยาวชนออกเป็น 3 กลุ่ม คือเดก็ ปกติ เด็กกลมุ่ เสย่ี ง และเดก็ ที่มีปัญหา ทักษะ ชีวติ จะเปน็ กลยุทธส์ าํ คัญในการส่งเสริมภูมิคุ้มกนั ทางสังคม ใหก้ ับเดก็ ปกติ และเด็กทุกคน สําหรับเด็ก กลุ่มเสี่ยงต้องมีการสอนทักษะชีวิตเฉพาะในแต่ละปัญหา มีครูท่ีปรึกษาและระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนรองรับ ส่วนเด็กท่ีมีปัญหาแล้วใช้การดูแลใกล้ชิดเพ่ือหาทางแก้ปัญหา ท่ีเหมาะสมเป็น รายบุคคล และมีระบบสง่ ตอ่ ยังวิชาชีพเฉพาะทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ค่มู ือสคู่มงเอื สสรง่ ิมเสแรลมิ ะแพละฒั พนฒั านกาจิกกจิ กรรรมมลลูกกู เสืออททกั ักษษะะชชีวิตวี ใติ นใสนถสาถนาศนกึ ษศาึกปษราะเลภกทู ลเสกู ือเสตอื รสี าชม้นัญปหรละักถสมูตศรึกลกูษเาสปอื ตที ร่ี ี4 116795 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4
ตัวอยา่ งทกั ษะชวี ติ เฉพาะ 176170 คมู่ ือคู่มสอืง่ สเสง่ เรสมิ รแมิ แลละะพพฒั ัฒนนาากกิจิจกกรรรรมมลลูกูกเสเอืสทือักทษักะษชีวะติชใวี นติ สใถนานสศถึกาษนาศปกึ รษะาเภทลลกู ูกเสเสืออื ตสรามี ัญช้นั หปลรกั ะสถูตมรศลกูึกเษสอืาตปรที ี ี่ 4 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4
ความแตกตา่ งระหว่างทักษะชวี ิต และทกั ษะการดาํ รงชวี ติ ทกั ษะชีวติ (Life Skills) เป็นความสามารถทางจติ สงั คม อนั ประกอบ ดว้ ย ความรู้ เจตคติ และทกั ษะ ทจี่ าํ เปน็ ในการดาํ เนนิ ชีวิตท่ามกลางสภาพสังคมท่ีเปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเร็วในปจั จบุ ัน และ เตรียมพร้อมสําหรับการเผชิญปญั หาในอนาคต มี 6 คู่ 12 องคป์ ระกอบ ทกั ษะการดาํ รงชีวติ (Living Skills) เปน็ ทักษะที่ใช้ในกิจวัตรประจาํ วนั ในเรอ่ื งพ้ืนฐานของ ชีวติ มักเป็นทักษะทางกายภาพ เชน่ อาบนํ้า แตง่ ตัว ซกั เส้ือผ้า ปรุงอาหาร ข่ีจกั รยาน วา่ ยนํ้า ผกู เงอ่ื นเชือก การจดั กระเปา๋ เดินทาง การใชแ้ ผนทีเ่ ขม็ ทศิ ฯลฯ ความเชื่อมโยงระหว่างทกั ษะชีวติ และทกั ษะการดาํ รงชวี ติ ทกั ษะชีวติ และทกั ษะการดํารงชวี ิต มกั ถกู ใช้ผสมผสาน เช่อื มโยงกนั ทั้งในกิจวตั รประจาํ วัน ปกติ และในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ท่เี กิดขน้ึ ไม่แยกสว่ น โดยทกั ษะชีวติ จะเป็นตัวช่วยในการเลอื กและใช้ ทกั ษะการดาํ รงชีวติ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ถกู ที่ ถกู เวลา และเกดิ ผลลพั ธท์ ด่ี ี สถานการณท์ างจติ สังคม มักใช้ทกั ษะชวี ติ เป็นหลกั ตัวอยา่ ง เช่น การจดั การกับอารมณโ์ กรธ ความขดั แยง้ และ ความรนุ แรง ตระหนักรู้และหลกี เลย่ี งพฤตกิ รรมเสยี่ งตา่ ง ๆ รวมถงึ การปฺองกนั อบุ ัตเิ หตุ การช่วยเหลอื ผอู้ น่ื และรับผดิ ชอบตอ่ ส่วนรวม การสือ่ สารเชงิ บวกและสร้างสมั พันธภาพทดี่ ี กิจวัตรทท่ี ําเปน็ ประจํา ใช้ทักษะการดาํ รงชีวิตเป็นหลัก เช่น อาบน้าํ แต่งตัว แปรงฟนั ซกั เส้อื ผ้า ปรุงอาหาร ขี่จกั รยาน วา่ ยน้ํา ผูกเงื่อนเชอื ก ใชแ้ ผนท่ีเขม็ ทศิ ฯลฯ คูม่ อื สคู่มงเือสสรง่ ิมเสแรลิมะแพละฒั พนฒั านกาิจกกิจกรรรมมลลูกกู เสืออททกั ักษษะะชชีวติวี ใิตนใสนถสาถนาศนึกษศากึ ปษราะเลภกทู ลเสูกือเสตอื รสี าชมนั้ญปหรละกัถสมตู ศรกึลกูษเาสปือตที ร่ี ี4 117717 ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4
ทักษะชีวิตสร้างไดอ้ ย่างไร สรา้ งดว้ ย 2 วธิ ีการใหญ่ ๆ คือ 1. เรยี นรู้เองตามธรรมชาติ ซึง่ ขนึ้ กบั ประสบการณแ์ ละการมีแบบอย่างที่ดี จงึ ไมม่ ีทิศทางที่ แนน่ อน และกวา่ จะเรยี นรกู้ อ็ าจช้าเกินไป 2. สร้างโดยกระบวนการเรียนการสอนทย่ี ดึ ผู้เรยี นเปน็ ศูนยก์ ลาง ใหเ้ ดก็ เรียนรู้รว่ มกันในกลุ่ม ผ่านกจิ กรรมรูปแบบต่าง ๆ ทเ่ี ด็กตอ้ งมสี ว่ นรว่ มทัง้ ทางร่างกายคอื ลงมอื ปฏิบัติ และทางความคิดคอื การอภิปรายแลกเปลีย่ นความคิดและประสบการณ์ เพ่ือสรา้ งองคค์ วามรู้ใหมร่ ่วมกนั การสอนทย่ี ดึ ผเู้ รยี นเป็ นศนู ยก์ ลาง • สรา้ งความรู้ (Construction) กจิ กรรมทใ่ี หผ้ เู ้ รยี นมสี ว่ นรว่ มทาง สตปิ ัญญา คน้ พบความรดู ้ ว้ ยตนเอง • ปฏสิ มั พนั ธ์ (Interaction) กจิ กรรมตอ้ งสง่ เสรมิ ปฏสิ มั พันธก์ บั ผอู ้ นื่ และแหลง่ ความรทู ้ ห่ี ลากหลาย • เป็ นกระบวนการ (Process Learning) • มสี ว่ นรว่ ม (Physical Participation) มสี ว่ นรว่ มดา้ นรา่ งกาย ลง มอื กระทากจิ กรรมในลกั ษณะตา่ ง ๆ • มกี ารประยกุ ตใ์ ช้ (Application) การมสี ่วนร่วมทางสติปญั ญาทําใหเ้ กิดทกั ษะชีวติ 2 องค์ประกอบแกนหลกั คือความคดิ วิเคราะห์ และความคดิ วจิ ารณ์ ปฏสิ ัมพนั ธ์ในกลมุ่ เพื่อทาํ กจิ กรรมรว่ มกนั ทาํ ให้เดก็ ได้ฝกึ องค์ประกอบทักษะชีวติ ด้านทกั ษะทงั้ 3 คู่ คือการสรา้ งสัมพันธภาพและการสื่อสาร การตดั สินใจและการแกไ้ ขปัญหา การจัดการอารมณ์และ ความเครยี ด การรับฟังความคิดเหน็ ของคนอืน่ ทําใหเ้ กดิ ความเข้าใจคนอน่ื มากขึน้ ขณะเดียวกันก็เกดิ การ ไตร่ตรองทาํ ความเขา้ ใจและตรวจสอบตนเอง จัดเป็นองค์ประกอบทักษะชีวิตด้านเจตคติคือ การเขา้ ใจ ตนเอง และเข้าใจ/เหน็ ใจผอู้ ืน่ การได้รับการยอมรับจากกลุ่ม การทํางานสําเร็จได้รับคําชม ทําให้เกิดความภูมิใจและเห็น คุณคา่ ตนเอง นาํ ไปส่คู วามรบั ผิดชอบมากขน้ึ ทง้ั ต่อตนเองและสังคม กระบวนการและการมีส่วนร่วม ช่วยให้กิจกรรมสนุกสนานน่าสนใจ และนําไปสู่จุดประสงค์ ทต่ี ้งั ไว้ รวมทงั้ การประยกุ ตใ์ ช้เปน็ การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เชื่อมองค์ความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้นเข้าสู่ชีวิต จรงิ วา่ ไดเ้ กิดการเรยี นร้อู ะไรและนาํ ไปใชใ้ นชวี ติ ประจาํ วันอย่างไร 178172 คมู่ อืคมู่สอื่งสเส่งเรสิมรแมิ แลละะพพฒั ฒั นนาากกิจิจกกรรรรมมลลกู กูเสเอืสทอื ักทษักะษชวีะิตชใีวนติ สใถนานสศถกึาษนาศปกึ รษะาเภทลลกู ูกเสเสอื ือตสรามี ัญชัน้ หปลรกั ะสถตู มรศลูกกึ เษสือาตปรที ี ี่ 4 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4
88 ความหมายของกระบวนการลูกเสือ (Scout movement) ตามคาํ นยิ ามขขอองงลลกู ูกเเสสือือโโลลกกหหมมาายยถถึงึงกกระรบะบววนนกการาเรรเียรียนนรู้แรลู้แะลพะพัฒัฒนนาตานตนเอเงอองยอ่ายง่าตง่อตเ่อนเ่ือนง่ือง สาํ หรรับับเเยยาาววชชนนเพเพอ่ื ่ือสสรา้รง้าเงยเายวาชวนชทนี่มทจี ่ีมิตีจใิตจเใสจยีเสียลสะลระับผรับิดชผอิดบชอแบละแอลทุ ะศิ อตุทนิศแตกนส่ แังคกม่สังดค้วมยวดิธ้วกี ยาวริธลีกู าเสรอื ลกู เสอื ตามแนวทางการจดั กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น 2522 )สพฐ.( หมายถึงกระบวนการทางการศึกษา ส่วนหนึ่ง ตซาึ่งมแุ่งพนัวฒทนาางสกมารรรจถัดภกาิจพกขรอรงมบพุคัฒคนลาทผั้งู้เทรียางนสม25อ2ง2ร่าง(กสาพยฐ.จ)ิตหใจมาแยลถะึศงกีลรธะรบรมวนเพกา่ือรใหท้เาปง็น บกุคารคศลึกทษ่มี าคี สว่วานมปหรนะ่ึงพซฤ่ึงตมิดุ่งี พามัฒไนมา่กสรมะรทราํ ถตภนาเพปน็ขอปงัญบหุคาคสลงั คทมั้งทแลางะดสมาํ รองงชีวร่ิาตงอกยา่ายงมจีคิตวใาจมแหลมะาศยีลธแรลระมสุข สเพบื่อายให้เป็นบุคคลที่มีความประพฤติดีงาม ไม่กระทําตนเป็นปัญหาสังคม และดํารงชีวิตอย่างมี หควลากั มกหมารายลูกแลเสะสอื ุขส(Sบcาoยut principle) หลกั การหลลูกักกเสารอื ลกู(Sเสcือoโuลtกpเนr้นinทcหี่ ipนlา้ eท)หี่ ลกั 3 ประการ คือ 1ห.ลหักนก้าาทรต่ี ล่อกู พเสรือะโเจลา้ก/เศนาน้ สทนหี่านไา้ดท้แห่ีกล่ กัการ3แปสรวะงกหาารแลคะือดาํ เนินชวี ติ อย่างมีคณุ คา่ และความหมาย สคิง่วแาวมดหลม้อา2ม1ย..หหนน้า้าทที่ตี่ต่อ่อผพู้อร่ืนะเไจด้า้แ/ศก่ากสานราเคไาดร้แพกใ่ หก้เากรียแรสตวิ งชห่วายแเหลละือดผําู้อเนื่นินรชวีวมิตถอึงยก่าางรมดีูแคลุณสคัง่าคแมลแะละ จสติง่ิ แววญิ ดญลา้อณ32ม..หหนน้า้าทที่ต่ีต่อ่อผตู้อนื่นเอไดง้แไกด่ ้แกากร่ เพคัฒารนพาตใหน้เเกอียงรทตั้งิ ชด่ว้ายนเรห่าลงือกผาู้อยื่นจริตวใมจถึงอกาารรมดณูแล์ สสัังงคคมมแลแะละ จติ วญิ ญาณห3.ลหกั นก้าาทร่ีตล่อูกตเสนือเไอทงยไมดี้แ5กข่ ้อพคัฒือนาตนเองท้ังด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ 1. มีศาสนาเป็นหลกั ยึดทางใจ คมู่ ือส่งเสริมและพฒั นากจิ กรรมลูกเสอื ทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสือสารอง ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 2 179127 คู่มอื สง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมลกู เสือทกั ษะชวี ติ ในสถานศึกษา ลกู เสือตรี ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 คมู่ ือส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสือทกั ษะชีวติ ในสถานศกึ ษา ประเภทลูกเสอื สามัญ หลักสตู รลกู เสอื ตรี 173 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4
2. จงรักภักดีต่อพระมหากษตั รยิ ์และประเทศชาติ 3. เข้าร่วมพัฒนาสังคม ยอมรับ เคารพในเกียรติและศักดิ์ศรีผู้อื่นและเพ่ือนมนุษย์ทุกคน รวมทง้ั ธรรมชาติ และสรรพส่งิ ทั้งหลายในโลก 4. รับผดิ ชอบตอ่ การพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนือ่ ง 5. ยดึ มน่ั ในคาํ ปฏิญาณและกฎของลกู เสือ วิธกี ารลกู เสอื (Scout method) วิธีการลกู เสอื โลก มี 8 องค์ประกอบ โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลมุ่ ที่ 1 ผูใ้ หญ่มหี น้าทีช่ ว่ ยเหลอื และสง่ เสรมิ เยาวชนให้เกดิ การเรยี นรูใ้ นกลุ่ม กล่มุ ที่ 2 มกี ิจกรรมทบ่ี รรลวุ ัตถุประสงคใ์ นการพัฒนาเยาวชนอย่างต่อเนอ่ื งและเป็นระบบ กลุ่มที่ 3 เปน็ ลักษณะกจิ กรรมท่ใี ช้ มี 6 องคป์ ระกอบ 1. ยึดม่ันในคาํ ปฏิญาณและกฎของลกู เสอื 2. ใชร้ ะบบสญั ลกั ษณ์เป็นแรงกระต้นุ ไปส่เู ปฺาหมายในการพัฒนาตนเอง 3. ระบบหมู่ )กลุม่ เรียนรูร้ ว่ มกัน( 4. เรียนรูใ้ กล้ชิดธรรมชาติ 5. เรยี นรจู้ ากการลงมอื ปฏิบัติ / เกม 6. เรียนรู้จากการบริการผู้อน่ื วธิ ีการลูกเสอื ไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 2551 มี 7 องคป์ ระกอบ คอื 1. ความก้าวหน้าในการเขา้ รว่ มกจิ กรรม 2. การสนับสนนุ โดยผใู้ หญ่ 3. ยึดมัน่ ในคําปฏิญาณและกฎ 4. การใช้สญั ลกั ษณ์รว่ มกนั 5. ระบบหมู่ 6. การศึกษาธรรมชาติ 7. เรยี นร้จู ากการกระทํา วิธกี ารลกู เสอื สรา้ งทกั ษะชวี ิตไดอ้ ยา่ งไร วิธกี ารลกู เสอื มอี งค์ประกอบครบท้ัง 5 ประการ ของกระบวนการเรียนการสอนท่ียึดผู้เรียน เป็นศนู ยก์ ลาง การสรา้ งทกั ษะชีวิตท้ัง 12 องค์ประกอบ เกิดข้ึนด้วยกจิ กรรมดังตารางต่อไปนี้ 180174 คู่มอืค่มูสอืง่ สเส่งเรสมิ รแมิ แลละะพพฒั ัฒนนาากกิจจิ กกรรรรมมลลกู ูกเสเอืสทือักทษักะษชีวะติชใวี นติ สใถนานสศถึกาษนาศปกึ รษะาเภทลลกู กู เสเสืออื ตสรามี ัญชัน้ หปลรกั ะสถตู มรศลูกึกเษสอืาตปรีที ่ี 4 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4
วธิ กี ารลกู เสอื มอี งค์ประกอบครบทั้ง 5 ประการ ของกระบวนการเรยี นการสอนท่ียึดผู้เรียน เป็นศนู ยก์ ลาง การสร้างทกั ษะชวี ิตท้ัง 12 องคป์ ระกอบ เกดิ ขน้ึ ด้วยกิจกรรมดงั ตารางตอ่ ไปนี้ รสวหรสหวับับงขุัตตัลลบผผถถแกัักสดิิดลปุุปสสขุชชะอรรอตูตูคแเเบบะะพพวรรล4352112453สสาะ่ืลล่ื..........ออแแมคงงใใใใใใใใใใพกูลพกูลหหหหหหหหหหมวคคะะัฒัเเฒา่ันร้้รร้ซ้ม้ซ้้้้รรรม้ชชค์์คสสมู้จู้้จูจจูู้้จู้จนีนคีนอื่อ่ืน่วว่ ือือณณกัักกัักกกััมยสยสงสิิสาาทบรรทบเเน่ัขัตตัสสัลยยัละะสสักกั าํําําําอครูยยรกชชูลกลษษเเกรรก้าง้าง์สส์า่่าพพเเกููกงปิมมิาาขาางสงงจุจุสญ็ญ็สรรแแสอสรสเเือรรสสือฝฝรสสลละรงังงัิตติตตทรรรทเีมีมระะปเเืออืนนทคกกั้งคสา้สา้มม้ัือืองรแแเเศส์ทตต่ง่งงง์สทีระรีพพแแงัเชเหหะเททะาังสสาจือ่จือ่ทคลลเเาคง่งง่งรักรักบบดดสสมะตะศกมมิชิมชกาจฝจาฝียียษษชิใาใจจตธธหาํําาาาบกึบกึาหยะะาาาายาตต้เฝตฝววเเ้เรชรชรกรมชชินนิกินนสิิีตีตณณิดตสแีววี()อ่ือื่ิยัดัยใใตปพพปคนาตปปฟฟติิตหหแแคิปรรมรรววิปรร้ท้ทังังลละะวะะัญาแทะะัะเะเญําาํารรแแมโโนพพาเเกกาาญมยยลลหหสญงวชณชณจิจิสชชะะดาา็น็นทบบกกาพพานนีีมังออาววญัญัาาจมต์์่งึึง่คังกกจัฒัฒรริตัคตตด่อญญคิตตเเตนนในนหคหไังีา่า่ตัตัใจแปตธธีเเน็น็งงจิลลิออแลรรนอ่ใใแูกูกงๆงลๆระรจจไแ้ีลมมมเเะปผผสลสตตะมคี ้อูนู้ออือืแะแศาาีควื่นืน่ี้ลศลมมีลาพพวะะีลคคธมาค..คธศศววรมเววจาราร..เาารมมจมร22มมิญรมเเ55มหหมิญใ55กห่ันน่ัมมใ11้ากห้คเคาาว้ามมปะะ้หเงงวาาปสส็นขขนหตตมม็อนอพา้นรรงงพลาา้าปทปเล88ร้ังรมทเะน)(ะือม้ัเงเเ้ีททงนืพอศดศี้เงื่อพชีชดคมา่ืาอีวีตตคมคาิิวีวคมาาวสมมางบม หทสหอีส่ลลดักักอคดสสลตููตค้อรรลแแงอ้ หหกลลงลลับะะกักกัววปับชิชิสสญัปาาูตตู ัญชชหรรพีพีลลหาตูกูกพพาาเเติเิเสสมศศาืออื วมษษเเัยวสสลลแัยรรูกกู ลิมิมแเเะสสลสสพอือืะรรพสสัฒา้้างงาํําัฒนททรรนาออักักกงงาษษกาสสะะราชชาาดรมมีวีวด้าิติญัตญั น้าไไนตดดสสต่าใ้า้าใ่างชชมมง้ข้ขๆัญญั อ้ๆ้อรรบขบ่นุนุ่ขงัอังใใอคงคหหงบัลับญญลูกคคกู ่่เณแแณเสสลละือะือละะลววโูกโูกดิสิสเดสเยาายสมอืมจือจแญััญัดัดแหหหหเเ่งนปป่งนช่วชน็น็า่วยาตหหยกตวิลลกิจิวา่ักักิจดก่ากดแว้แรรลรย้วลรมะยกะมเเตกาพตพราาาิ่มป่ิมมรมเปกเทนทนคกี่ร้ือ้ื่ีอรระคหะหอบรบางาุอใุนทงี่ หลกั สูตรคขู่มออืงสลง่กู เเสสรอืมิ แแลตะล่ พะัฒปนระาเกภจิ ทกรดรมังนลกู้นั เสชือ่ือทหักนษว่ะชยีวกิติจใกนรสรถมานแศลึกะษจาําลนกู วเนสหือสนา่วรยอกง จิ ชกน้ั รปรรมะขถอมงศลกึ ูกษเาสปอื ที แี่ 2ต่ละ 129 ประเภทจงึ แตกตา่ งกัน แผนการจัดกิจกรรมลูกเสือเสริมสร้างทักษะชีวิตในคู่มือชุดน้ี ได้ออกแบบโดยบูรณาการ กิจกรรมที่เสรมิ สรา้ งทักษะชีวิตเข้ากับวิธีการลูกเสือ คือการใช้ระบบหมู่หรือกลุ่มย่อย โดยให้เด็กเป็น ค่มู ือสคมู่งเอื สสรง่ ิมเสแรลิมะแพละัฒพนัฒานกาจิกกิจกรรรมมลลกู ูกเสืออททกั ักษษะะชชีวิตีวใิตนใสนถสาถนาศนกึ ษศากึ ปษราะเลภกทู ลเสูกอืเสตือรสี าชม้ันญปหรละกัถสมตู ศรกึลกูษเาสปอื ตที ร่ี ี4 117851 ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4
ศูนยก์ ลาง และมผี ู้ใหญ่ทําหน้าท่ชี ่วยเหลอื และส่งเสรมิ ให้เกดิ กระบวนการเรยี นรใู้ นกลุม่ แนะนาํ ส่ังสอน และฝึกอบรมให้สามารถพึ่งตนเองได้ มีจิตอาสา รับผิดชอบต่อส่วนรวม ยึดม่ันในคําปฏิญาณและกฎ ของลูกเสือ เสริมสร้างคุณค่าในตนเอง รวมท้ังใช้ระบบเคร่ืองหมายหรือสัญลักษณ์ทางลูกเสือและ เครอ่ื งหมายวชิ าพเิ ศษ เป็นแรงกระตุ้นไปสเู่ ปฺาหมายในการพัฒนาตนเอง องค์ประกอบในการประชุมกอง เน้นการใช้ชีวิตกลางแจ้ง นอกห้องเรียน ใกล้ชิดธรรมชาติ เรียนรู้จากการลงมอื ปฏบิ ัติด้วยตนเอง เกม และการบรกิ ารผูอ้ ื่น ซงึ่ ถอื เปน็ หวั ใจของกิจกรรมลูกเสือทุก ประเภท โดยกิจกรรมทใี่ ช้ แบง่ ออกเป็น 5 ประเภท คอื การแสดงออก การรายงานและการสาํ รวจ การ วิเคราะห์และการประเมิน เกมและการแข่งขัน การบําเพ็ญประโยชน์ การออกแบบกิจกรรมเพื่อให้ ลูกเสือใชก้ ระบวนการกลุ่มในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ แลกเปล่ียนความคิดความเชื่อ สร้างองค์ ความรูแ้ ละสรปุ ความคดิ รวบยอด รวมทงั้ เปดิ โอกาสใหล้ ูกเสือได้ประยกุ ตใ์ ชส้ ิ่งที่ไดเ้ รยี นรูอ้ ีกด้วย เนอ้ื หาสาระในแผนการจดั กิจกรรมแบง่ ออกได้เปน็ 3 กลุ่ม ประกอบด้วย 1.กจิ กรรมตามขอ้ บังคับของคณะลูกเสือแหง่ ชาติ )ไมร่ วมกิจกรรมทดสอบเพ่อื รบั เครื่องหมาย หรอื สญั ลักษณท์ างลูกเสือและเครือ่ งหมายวิชาพิเศษ( 2. กิจกรรมตามข้อบังคับของคณะลูกเสือแห่งชาติท่ีช่วยเสริมสร้างทักษะชีวิตด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ความภาคภูมใิ จในตนเอง ความรบั ผิดชอบต่อสว่ นรวม 3.กิจกรรมเสรมิ สรา้ งทักษะชีวติ เพอ่ื สร้างภูมคิ ุ้มกนั ทางสังคมต่อเหตุการณ์และสภาพปัญหา ของเดก็ แต่ละวยั สําหรับกิจกรรมลูกเสือตามข้อบังคับ เพ่ือการขอรับเคร่ืองหมายลูกเสือช้ันพิเศษ และ เครือ่ งหมายลกู เสือหลวง ไม่ได้นาํ มารวบรวมไว้ในคูม่ อื การจัดกจิ กรรมลกู เสือชุดนี้ คู่มือมีจํานวน 11 เล่ม ตามช้ันปีของลูกเสือ 4 ประเภท แต่ละเล่ม ได้จัดทําตารางหน่วย กิจกรรม และแผนการจัดกิจกรรมครบ 40 ชั่วโมง เพื่อให้เห็นภาพรวมของการจัดกิจกรรมลูกเสือ เสรมิ สร้างทักษะชีวิตของลูกเสอื ในแตล่ ะระดับช้ัน และมีหมายเหตุบอกไว้ในตารางช่องขวาสุด ว่าเป็น แผนการจัดกจิ กรรมเสริมสรา้ งทกั ษะชวี ติ แผนการจัดกจิ กรรมประกอบดว้ ย จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เนอ้ื หา ส่อื การเรียนรู้ กิจกรรม การ ประเมินผล องค์ประกอบทักษะชีวิตสําคัญที่เกิดจากกิจกรรม และภาคผนวกประกอบแผนการจัด กิจกรรม )เพลง เกม ใบงาน ใบความรู้ เรื่องที่เป็นประโยชน์( ภาพรวมการพฒั นาหลกั สูตรลกู เสือเสรมิ สรา้ งทักษะชีวิต 1. เร่ิมจากการศกึ ษาเอกสาร งานวจิ ัย หลกั สูตรลูกเสอื ไทยและตา่ งประเทศ รวมทง้ั สัมภาษณ์ ผเู้ ช่ยี วชาญดา้ นลกู เสือ 2. สัมมนาครู ผู้ปกครอง นักพัฒนาเยาวชน และผู้เช่ียวชาญด้านกิจกรรมเด็กและเยาวชน เพื่อรว่ มกนั ค้นหาปญั หาจรงิ ของเด็กแตล่ ะวัย และออกแบบกิจกรรมที่เหมาะสม 182176 คู่มือคมู่สือ่งสเส่งเรสิมรแิมแลละะพพฒั ัฒนนาากกจิจิ กกรรรรมมลลกู ูกเสเือสทอื ักทษกั ะษชีวะิตชใวี นิตสใถนานสศถึกาษนาศปกึ รษะาเภทลลกู ูกเสเสือือตสรามี ญัชน้ั หปลรกั ะสถตู มรศลูกึกเษสอืาตปรที ี ี่ 4 ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4
3. จัดทําคู่มือการจัดกิจกรรมลูกเสือเสริมสร้างทักษะชีวิต 4 ประเภท ได้แก่ ลูกเสือสํารอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่และลูกเสือวิสามัญ รวมท้ังส้ิน 11 เล่ม โดยผ่านการประเมิน ปรบั ปรุงและพัฒนา จนเป็นท่ียอมรับและนาํ ไปใช้ในสถานศกึ ษาจาํ นวนมาก 4. จดั ทาํ หลักสูตรการฝึกอบรมผกู้ าํ กับลกู เสอื สํารอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่และ ลูกเสือวิสามัญ ขั้นความรู้เบ้ืองต้น และข้ันความรู้ช้ันสูง รวม 8 ประเภท โดยได้รับการอนุมัติจาก คณะกรรมการบริหารลกู เสอื แห่งชาติ ในการประชุม ครั้งท่ี 2/2557 เม่ือวันท่ี 22 กันยายน 2557 ให้ใช้ เป็นหลักสตู รการฝกึ อบรมผกู้ ํากบั ลูกเสือของสาํ นกั งานลูกเสือแห่งชาติ 5. จัดทํา คู่มือฝึกอบรมวิทยากรลูกเสือเสริมสร้างทักษะชีวิต เพ่ือขยายผลในการสร้าง วทิ ยากรและฝกึ อบรมผู้กํากบั ลกู เสอื ในสถานศึกษาทวั่ ประเทศ ค่มู ือสค่มูงเอื สสรง่ ิมเสแรลิมะแพละัฒพนฒั านกาิจกกจิ กรรรมมลลกู กู เสืออททักักษษะะชชีวติีวใติ นใสนถสาถนาศนึกษศากึ ปษราะเลภกทู ลเสกู ือเสตือรสี าชมัน้ญปหรละกัถสมูตศรึกลูกษเาสปือตที รี่ ี4 117873 ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 4
ภาคผนวก ข กิจกรรมลูกเสือเสริมสร้างทกั ษะชีวิต การจัดกิจกรรมลูกเสือเสริมสร้างทักษะชีวิตน้ัน ยังคงหลักการ และวิธีการของลูกเสือไว้ ทุก ประการ แต่เน้นการสอดแทรกการเรียนรทู้ ักษะชวี ิตเพม่ิ เขา้ ไปด้วยเพอ่ื ตอบสนองวตั ถุประสงค์ท่รี อบดา้ น และครอบคลมุ การดํารงชวี ิตในปัจจุบัน คุณคา่ ของสือ่ การเรียนการสอนประเภทกจิ กรรม ส่ือการเรียนการสอนประเภทกิจกรรม เป็นกระบวนการเรียนการสอนท่ีให้ผู้เรียนได้ มีโอกาส เรียนรู้ประสบการณ์ตา่ งๆ ดว้ ยตนเอง ผ่านการทํากิจกรรมรว่ มกนั ผ้เู รยี นได้เรยี นรูจ้ ากประสบการณ์ของ เพอ่ื นในกลมุ่ ทําใหส้ ามารถเรยี นรู้ได้มากขึ้นโดยใช้เวลาน้อยลง การออกแบบกิจกรรมจะต้องกระตุ้นให้ ผเู้ รยี นเกดิ ความสนใจ และร่วมมือในการทํากิจกรรมทีก่ ําหนดให้อยา่ งเต็มท่ี จงึ จะ เกดิ การเรียนรู้ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ผลที่เกิดขึน้ ตอ่ ผูเ้ รยี นมีดังน้ี 1. สง่ เสริมใหผ้ เู้ รยี นกลา้ แสดงออกและทํางานร่วมกับผอู้ ่ืนได้ 2. เกิดความสนุกสนานเพลดิ เพลนิ ซงึ่ เปน็ ลักษณะเฉพาะของสือ่ การสอนประเภทกิจกรรม 3. เปดิ โอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนรว่ มในการกําหนดขอบขา่ ย เนื้อหา และวตั ถปุ ระสงค์ 4. ผู้เรยี นไดฝ้ กึ ฝน พฤติกรรมการเรียนร้ทู ง้ั ทางดา้ นความรู้ เจตคติ และทักษะ รวมท้ังความคิด สรา้ งสรรค์ และจินตนาการด้วย ประเภทของกจิ กรรมลกู เสอื เสริมสรา้ งทักษะชวี ิต เมอ่ื จัดประเภทตามทกั ษะ/ความสามารถ ในการปฏิบัติกจิ กรรม แบ่งออกได้เปน็ 5 ประเภท คอื 1. กจิ กรรมการแสดงออก เป็นกิจกรรมทเี่ ปิดโอกาสใหล้ กู เสือได้ใช้ความสามารถในการแสดงออก แสดงความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการในรูปแบบต่าง ๆ ซึ่งมักจะเป็นการจําลองประสบการณ์ต่าง ๆ มา เพื่อการเรียนรไู้ ด้ง่ายและสะดวกขนึ้ หรือเปน็ สิ่งทใี่ ชแ้ ทนประสบการณ์จรงิ เพราะศาสตร์ต่างๆ ในโลก มี มากเกนิ กว่าทจี่ ะเรยี นรไู้ ดห้ มดส้นิ จากประสบการณต์ รงในชีวติ และบางกรณีกอ็ ย่ใู นอดตี หรอื ซับซ้อนเร้น ลับหรือเป็นอันตราย ไม่สะดวกตอ่ การเรยี นรู้จากประสบการณ์จรงิ ตวั อย่างกิจกรรม เชน่ 1.1 สถานการณ์จําลอง เป็นการจัดสภาพแวดล้อมให้ใกล้เคียงกับสภาพความเป็นจริงมากที่สุด เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนได้ฝกึ ฝน แก้ปัญหาและตัดสินใจจากสภาพการณ์ที่กําลังเผชิญอยู่นั้นแล้วนําประสบการณ์ แหง่ ความสาํ เรจ็ ไปเป็นแนวทางในการแก้ปัญหา 1.2 การสาธิต กระบวนการท่ีผู้สอนช่วยให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ โดยการ แสดงหรือกระทําใหด้ ูเปน็ ตัวอยา่ ง ใหค้ วามสาํ คัญกบั กระบวนการทงั้ หมดท่ผี ู้เรียนจะตอ้ งเฝาฺ สังเกตอยู่โดย ตลอด 1.3 เล่านิทาน 184178 คมู่ ือคู่มสอืง่ สเสง่ เรสิมรแิมแลละะพพัฒฒั นนาากกจิจิ กกรรรรมมลลกู กูเสเือสทอื กั ทษกั ะษชีวะติชใวี นติ สใถนานสศถึกาษนาศปึกรษะาเภทลลกู ูกเสเสอื อื ตสรามี ัญช้นั หปลรักะสถตู มรศลูกกึ เษสือาตปรีที ี่ 4 ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4
1.4 ละคร หุน่ จําลอง 1.5 เพลง ดนตรี การเคล่อื นไหวตามจงั หวะดนตรี หมายถงึ กิจกรรมที่เน้นการใช้ดนตรีเป็นสื่อใน การเรยี นรู้ทั้งในแง่เนอื้ หาและความบนั เทงิ ผ่อนคลาย และเขา้ ถึงวัฒนธรรมตา่ ง ๆ 1.6 ศิลปะ แขนงอ่นื ๆ เชน่ การวาดรปู การปน้ั ดินเหนียว งานหัตถกรรม การร้อยดอกไม้ 1.7 การโตว้ าที ฯลฯ 2. กจิ กรรมการการสํารวจและการรายงาน เป็นกิจกรรมที่เน้นให้ลูกเสือได้เรียนรู้จากความเป็น จริง /เหตุการณ์จริง ในชีวิตประจําวัน ผ่านประสบการณ์ตรงด้วยตนเอง ซึ่งเป็นรากฐานสําคัญของ การศกึ ษา เชน่ การทาํ แผนที่ การสาํ รวจ หมายถึง การเรียนร้ผู า่ นสถานการณจ์ ริงดว้ ยการลงพื้นที่สํารวจ และจาํ ลองสงิ่ ท่ไี ด้เรยี นรู้สู่แผนที่ ภาพ หรอื สัญลกั ษณ์ เพื่อแสดงความคิดรวบยอดของสิง่ ท่ีไดเ้ รยี นรนู้ ั้น ตวั อย่างกิจกรรม เชน่ การสัมภาษณ์ การเป็นผู้สอ่ื ข่าว การทําสารคดี การศึกษานอกสถานท่ี ชุมชนศึกษา การผลิตส่ือ การทํา ปมู ชวี ิตบุคคลตวั อย่าง การจัดนิทรรศการ การสอดแนม การสํารวจ การทําแผนที่ การเขียนเรยี งความการ เลา่ เรอ่ื ง ฯลฯ 3. กิจกรรมการวิเคราะห์และการประเมิน เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากการแลกเปล่ียนความคิดเห็น และร่วมกนั วเิ คราะห์/ประเมิน ส่ิงตา่ งๆทเ่ี กิดข้นึ ตวั อยา่ งกจิ กรรม เชน่ การเปรียบเทยี บคุณค่า การประเมินความเสยี่ ง การทําแผนท่ีความคดิ ฯลฯ 4. การเลน่ เกมและการแขง่ ขนั 4.1 เกม เปน็ กจิ กรรมท่ีมีกฎกตกิ า และลําดับขนั้ ตอน ทเี่ อ้อื ใหล้ กู เสือเกิดการเรยี นร้ผู ่าน การเล่นเกม ใหข้ ้อคิดทส่ี อดคล้องกบั ผลการเรียนรทู้ ีต่ ้องการ เชน่ เกมกระซบิ เป็นตน้ 4.2 การแขง่ ขนั เป็นกิจกรรมทมี่ ีกตกิ าในการแขง่ ขนั และมกี ารตัดสินหาผู้ชนะ เช่น การ ตอบปัญหาในเร่อื งต่าง ๆ เพอ่ื กระตุ้นให้เกดิ ความสนใจใฝรู มู้ ากขึ้น ฯลฯ 5. กจิ กรรมบาํ เพญ็ ประโยชน์ เปน็ กจิ กรรมสรา้ งสรรคท์ ่เี น้นการฝึกความเสียสละของลกู เสือ ไดแ้ ก่ การจัดกจิ กรรมการกุศล การซ่อมของเล่นใหน้ อ้ ง การดแู ลทาํ ความสะอาดสถานท่ี การปลูกและดแู ลต้นไม้ การเกบ็ ผักจากแปลงไปประกอบอาหารเล้ียงน้อง ฯลฯ หลกั การออกแบบกิจกรรม 1. การเลอื กประเภทของกจิ กรรม ต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรูท้ ี่ตอ้ งการ เช่น ผลการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย มักเลือกใช้ กิจกรรมการวิเคราะห์และการประเมิน การรายงาน และการแขง่ ขันตอบปญั หาในเรือ่ งเนื้อหาที่ตอ้ งการให้เรียนรู้ เป็นตน้ ผลการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย มักเลือกกิจกรรมที่สร้างความรู้สึกที่สอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที่ ต้องการ เช่น กจิ กรรมการแสดงออก เกม กจิ กรรมบาํ เพ็ญประโยชน์ เปน็ ต้น ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ถ้าเป็นทักษะทางสติปัญญานิยมใช้กิจกรรมการวิเคราะห์ และ ประเมนิ สว่ นทักษะทางกายภาพ เลือกได้เกอื บทกุ ประเภท คมู่ ือสค่มูงเือสสร่งิมเสแรลิมะแพละฒั พนฒั านกาิจกกจิ กรรรมมลลูกกู เสืออททักกั ษษะะชชีวติวี ใิตนใสนถสาถนาศนึกษศากึ ปษราะเลภกทู ลเสูกือเสตือรสี าชมน้ัญปหรละักถสมูตศรึกลูกษเาสปือตที ร่ี ี4 117895 ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4
2. การตั้งประเด็นอภิปราย เพื่อให้ลูกเสือได้ร่วมอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น ในเรื่องที่ สอดคลอ้ งกบั ผลการเรียนรทู้ ต่ี อ้ งการ เช่น ผลการเรยี นรู้ด้านพทุ ธิพิสัย ตัง้ ประเดน็ ให้ วเิ คราะห์ /สังเคราะห์ /ประเมิน เนือ้ หาที่ต้องการให้ ผเู้ รียนเกิดความเขา้ ใจอยา่ งถ่องแท้ เกดิ ความคดิ รวบยอดที่ชัดเจน และสามารถนําไปประยกุ ตใ์ ช้ได้จรงิ ผลการเรียนรดู้ า้ นจติ พสิ ยั ต้งั ประเด็นให้เกิดการโต้แย้งกันด้วยเหตุผลในเร่ืองความคิดความ เชอ่ื ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับเจตคติทต่ี ้องการ เพ่ือให้สมาชิกแต่ละคนได้มีโอกาสตรวจสอบความคิดความเชื่อของ ตนเอง ท่ีแตกต่างจากคนอนื่ ทําใหเ้ กดิ การปรับเปลี่ยนความคดิ ความเชือ่ จากการโต้แยง้ กันดว้ ยเหตุผลใน กระบวนการกลมุ่ ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ต้ังประเด็นให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในข้ันตอนการทํา ทักษะ น้ัน ๆ เช่นการวิเคราะหค์ วามครบถว้ นในการทําตามขนั้ ตอนของทกั ษะ การวเิ คราะหจ์ ุดอ่อน ท่ี มกั จะทาํ ทกั ษะนน้ั ๆ ไมส่ าํ เรจ็ เปน็ ตน้ 3. การสรุปความคิดรวบยอดและประยกุ ตใ์ ช้ ทุกกิจกรรมควรมีการสรปุ ความคดิ รวบยอดท่เี กดิ ขึ้น ใหช้ ดั เจน และเปิดโอกาสให้ได้ลองประยกุ ตใ์ ช้ ได้แก่ ผลการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัย ความคิดรวบยอดคือเน้ือหา องค์ความรู้ท่ีต้องการให้เกิดขึ้น ประยุกตใ์ ชโ้ ดยผลติ ซา้ํ ความคิดรวบยอดในรูปแบบทต่ี ่างจากเดิม เช่น การทาํ รายงาน ทําสรปุ ยอ่ ฯลฯ ผลการเรยี นร้ดู ้านจติ พิสัย ความคิดรวบยอดไม่มเี น้อื หา แต่เป็นความรู้สึกและความคิดความ เชื่อทเี่ กดิ ขนึ้ ภายในตัวผ้เู รียน ประยกุ ตโ์ ดยการแสดงออกที่สอดคลอ้ งกับเจตคติท่ีเกิด เช่น การกระทําท่ี แสดงออกถงึ ความซ่อื สัตย์ การกระทาํ ท่แี สดงออกถึงความเปน็ สุภาพบรุ ุษ สภุ าพสตรี เปน็ ตน้ ผลการเรียนร้ดู า้ นทกั ษะพสิ ยั ความคิดรวบยอดท่เี กดิ คือ ความเข้าใจขั้นตอนและทําทักษะนั้น ๆ ได้ ประยกุ ตโ์ ดยการฝึกฝนทกั ษะนน้ั จนชาํ นาญ 186180 คู่มือคมู่สอื่งสเส่งเรสมิ รแิมแลละะพพัฒัฒนนาากกจิจิ กกรรรรมมลลกู กูเสเอืสทือกั ทษักะษชวีะิตชใีวนิตสใถนานสศถกึาษนาศปกึ รษะาเภทลลกู กู เสเสืออื ตสรามี ญัชั้นหปลรักะสถตู มรศลูกกึ เษสอืาตปรที ี ่ี 4 ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4
ภาคผนวก ค แนวปฏบิ ตั ิการสอบวชิ าพิเศษ ใหโ้ รงเรยี นดําเนินการแตง่ ตัง้ กรรมการ เพอ่ื ดาํ เนินการสอนและสอบวชิ าพิเศษ โดยออกคําสง่ั ในนามโรงเรยี น เม่ือทาํ การสอนแล้วใหจ้ ดั สอบภาคทฤษฎี และ ภาคปฏิบตั ิ จากน้นั ใหท้ าํ เรอ่ื งขอ อนุมัตผิ ลการสอบ และขอประดบั เคร่อื งหมายวชิ าพิเศษ ไปยงั เลขาธิการคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสือ แหง่ ชาติ หรอื ผูอ้ าํ นวยการลูกเสอื จงั หวดั แลว้ แต่กรณี ดังนี้ 1. รายชอ่ื ผู้เข้าสอบ 2. ผบู้ ังคบั บญั ชาลกู เสอื ขออนุญาตสอบวชิ าพเิ ศษต่อผู้อํานวยการลกู เสือโรงเรียน 3. โรงเรียนออกคาํ สงั่ แตง่ ต้ังคณะกรรมการดาํ เนินการสอบ 4. สอบภาคทฤษฎี 5. สอบภาคปฏบิ ตั ิ 6. รายช่อื ลกู เสอื ทีส่ อบได้ - ตก แตล่ ะรายวิชา 7. หนังสอื ขออนุมตั ผิ ลการสอบและขอประดับเครอ่ื งหมายวชิ าพิเศษ สง่ ไปยังสํานกั งาน ลกู เสือเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาเพือ่ อนมุ ตั ิ 8. โรงเรยี นออกหนงั สือรับรองใหก้ ับลูกเสอื ตามรายวิชาที่สอบได้ คู่มอื สคู่มงเอื สสรง่ มิเสแรลิมะแพละัฒพนัฒานกาจิกกจิ กรรรมมลลูกูกเสืออททักกั ษษะะชชวี ติวี ใติ นใสนถสาถนาศนึกษศาึกปษราะเลภกทู ลเสูกือเสตือรสี าชมน้ัญปหรละักถสมตู ศรกึลกูษเาสปอื ตีทรี่ ี4 118817 ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4
หนงั สอื ขออนุมัตผิ ลการสอบวิชาพิเศษลกู เสอื – เนตรนารี สามัญ ที่ ุุุุ../ุุุุุุุ. โรงเรยี นุุุุุุุุุุุุ วันท่ีุุ..เดือนุุุุุุุุุ.พ.ศุุุุ เรือ่ ง ขออนมุ ัตผิ ลการสอบวิชาพเิ ศษลูกเสือ – เนตรนารสี ามญั และประดับเครอื่ งหมายวิชาพเิ ศษ เรยี น เลขาธิการคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสือแหง่ ชาติ / ผ้อู ํานวยการลูกเสอื จงั หวัด ุุุุุ.. สงิ่ ที่สง่ มาด้วย 1. คาํ สงั่ แตง่ ตั้งคณะกรรมการสอบวิชาพเิ ศษ 2. รายช่ือลูกเสือ – เนตรนารี ท่สี อบวชิ าพเิ ศษ 3. ขอ้ สอบภาคทฤษฎี 4. ขอ้ สอบภาคปฏิบัติ 5. โครงการ )ถ้ามี( ดว้ ยโรงเรียนุุุุุุุุุุุได้ทาํ การอบรมและสอบวิชาพเิ ศษ ลกู เสือ – เนตรนารี สามญั ให้แก่ลูกเสอื สามญั จาํ นวน ุุุคน เนตรนารสี ามัญ จาํ นวนุุ..คน รวมท้งั สิน้ ุุุุคน ต้ังแต่วันท่ีุุุุ.เดือนุุุุุุุุพ.ศ. ุุุุุ.ถึง วันท่ีุ.. เดือนุุุุุุุุพ.ศุุุุุ.. โดยทาํ การสอบวชิ าพเิ ศษ จํานวนุุุุ.วชิ า ดงั น้ี 1. วชิ าุุุุุุุุุุ.. 2. วิชาุุุุุุุุุุ.. 3. วชิ าุุุุุุุุุุ.. บัดนี้ คณะกรรมการได้ดาํ เนนิ การสอบวชิ าพิเศษ ลูกเสอื – เนตรนารีสามัญ เป็นท่เี รียบรอ้ ย แลว้ ดังรายละเอียดที่สง่ มาพรอ้ มนี้ จงึ เรยี นมาเพอื่ ขอได้โปรดพจิ ารณาอนมุ ัติดว้ ย จะเปน็ พระคุณย่งิ ขอแสดงความนับถอื ) ุุุุุุุุุุุุุุ. ( ผอู้ ํานวยการโรงเรียนุุุุุุุุุุุุ. 188182 คู่มอืคู่มสือ่งสเส่งเรสมิ รแมิ แลละะพพฒั ัฒนนาากกจิจิ กกรรรรมมลลูกกูเสเอืสทือักทษกั ะษชวีะติชใวี นติ สใถนานสศถกึาษนาศปกึ รษะาเภทลลกู กู เสเสอื อื ตสรามี ัญช้นั หปลรักะสถตู มรศลกูกึ เษสือาตปรีที ่ี 4 ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4
คู่มือสคู่มงเอื สสร่งิมเสแรลิมะแพละฒั พนัฒานกาิจกกจิ กรรรมมลลูกกู เสืออททักักษษะะชชวี ิตวี ใิตนใสนถสาถนาศนกึ ษศากึ ปษราะเลภกทู ลเสูกอืเสตือรสี าชม้ันญปหรละักถสมตู ศรกึลูกษเาสปือตที ร่ี ี4 ุุุุุุุุุ. โรงเรยี นุุุุุุุุุุุุุุ. ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 4 )ุุุุุุุุุ..( รายชอื่ ลกู เสอื – เนตรนารีสามัญท่สี อบวชิ าพิเศษ กรรมการ ลําดับ ชื่อ –นามสกลุ ุุุุุุุุุุ วชิ าุุุุุ.ุุ )ุุุุุุุุุุ.( ุวิชุาุุุุุุุุุุ.ุุ ุุวิชุุาุ.ุ.ุุุุุุุุุุุุุ.ุุุุ ประธานกรรมการ ุุุุุุุุุุุุววววววชิชชิชิิชิิชุุุุุุุุุุุุาาาาาาุุุุุุุ.ุ.ุ.ุุ...ุุุุุุุ......ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ......ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ............ ุุุุุ.ุ.ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ.. 118839 ุุุุุุุุุ.. ุุุ..ุุุุุุุุุุุุุุ.. )ุุุุุุุุุ..( ุุุุุุุุุุ.. กรรมการ
คาํ สัง่ โรงเรยี นุุุุุุุุุุุุ.. ทีุุุุุุุ่./ุุุุุุุ. เรื่อง แตง่ ตัง้ คณะกรรมการสอบวิชาพเิ ศษลกู เสอื – เนตรนารีสามญั ********************************************** เพ่อื ใหก้ ารสอบวิชาพเิ ศษลูกเสือ – เนตรนารี สามญั รุน่ ใหญ่ จาํ นวนุุุุุุวิชา ของ โรงเรยี นุุุุุุุุุุุุุุุุ.ซึ่งดําเนินการสอบ ณุุุุุุุุุุุุ ระหว่างวันทีุุุ่.เดือนุุุุุุุ.พ.ศ. ถึง วันท่ีุุุเดอื นุุุุุุุพ.ศุุุ เป็นไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย และไดผ้ ลสมความม่งุ หมายทกุ ประการ จึงแต่งตง้ั ให้ผมู้ นี ามตอ่ ไปน้ี เป็น คณะกรรมการ คอื 1. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ. ประธานกรรมการ 2. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ. รองประธานกรรมการ 3. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ. กรรมการสอบวชิ าุุุุุุ 4. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ. กรรมการสอบวชิ าุุุุุุ 5. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ. กรรมการสอบวชิ าุุุุุุ 6. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ. กรรมการสอบวชิ าุุุุุุ 7. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ. กรรมการสอบวิชาุุุุุุ 8. ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ. กรรมการและเลขานกุ าร ทง้ั นตี้ ัง้ แตบ่ ัดนีเ้ ปน็ ต้นไป สั่ง ณ วันท่ี ุุุ. เดือน ุุุุุุุุุุุุุุ..พ.ศุุุุุุ. )ลงชอื่ ( ุุุุุุุุุุุุุุุุ.. )ุุุุุุุุุุุุุุุ...( ผู้อํานวยการลกู เสอื โรงเรยี นุุุุุุุุุุ. 190184 คูม่ อืคู่มสือ่งสเส่งเรสิมรแิมแลละะพพฒั ัฒนนาากกจิจิ กกรรรรมมลลูกกูเสเือสทือกั ทษกั ะษชีวะติชใีวนติ สใถนานสศถึกาษนาศปึกรษะาเภทลลกู ูกเสเสอื ือตสรามี ญัชัน้ หปลรักะสถูตมรศลกูึกเษสอืาตปรที ี ี่ 4 ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4
หนังสือรับรองผลการสอบวชิ าพิเศษลกู เสอื สามญั ท่ี ุุุุุุ./ุุุุุุุุ. โรงเรียนุุุุุุุุุุุุ วนั ทีุุุุ่เดือนุุุุุุ..พ.ศุุ... ขอรับรองวา่ ุุุุุุุุุุุุุุ.เปน็ ลกู เสือโรงเรยี นุุุุุุุุุุุ สอบได้วิชาพเิ ศษลกู เสอื สามัญรนุ่ ใหญโ่ ดยการอนุมัตผิ ลการสอบของสํานกั งานคณะกรรมการบรหิ าร ลูกเสือแหง่ ชาติ ที่ ุุุุุุ./ุุุุุ.ลงวนั ท่ี ุุุุุุุุุุุุุุุุุุุ และไดแ้ นบสําเนาหนงั สอื อนมุ ตั ผิ ลมาดว้ ยแลว้ โดยสอบไดว้ ชิ าพิเศษ ดังน้ี 1. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ 2. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ 3. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ 4. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ 5. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ 6. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ 7. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ 8. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ 9. ุุุุุุุุุุุุุุุุุ )ลงชอ่ื (ุุุุุุุุุุุุุุ. )ุุุุุุุุุุุุุ( ุุุุุุุุุุุุุุุุุุ คู่มอื สคูม่งเือสสร่งมิเสแรลิมะแพละัฒพนัฒานกาจิกกจิ กรรรมมลลูกกู เสืออททกั ักษษะะชชวี ิตีวใิตนใสนถสาถนาศนึกษศาึกปษราะเลภกทู ลเสกู ือเสตือรสี าชมั้นญปหรละกัถสมูตศรึกลกูษเาสปือตีทรี่ ี4 118951 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4
การประชมุ กองลูกเสือสามญั (1) พธิ ีเปิดประชมุ กอง 1. การชกั ธงข้ึน 1.1 ผู้กาํ กับยนื ตรงหนา้ เสาธง ห่างจากเสาธงประมาณ 3 กา้ ว รองผู้กาํ กับลกู เสอื ยนื หลังเสาธง หา่ งประมาณ 1 ก้าว 1.2 ผู้กาํ กบั เรยี กแถว \"กอง\" พร้อมกบั ใช้สญั ญาณมอื เรียกแถวรปู คร่งึ วงกลม )มอื แบทั้งสองขา้ งเหยียดตรงลงข้างลา่ ง คว่าํ ฝาู มือเขา้ หาลําตวั แกว่งประสานกนั ด้านหนา้ ช้า ๆ เป็นรปู ครง่ึ วงกลม( 1.3 ลกู เสอื ทุกคนรบี ว่ิงมาเข้าแถวรูปครึ่งวงกลม )ลูกเสือหมู่แรกยืนด้านซ้ายมือ ของ ผู้กํากับ ฯ โดยนายหมู่หมู่แรกยืนเป็นแนวเดียวกับผู้กํากับ ฯ หมู่ที่ 2 และหมู่ต่อ ๆ ไปอยู่ ทางด้านซ้ายมือของหมู่แรกตามลําดับ รองนายหมู่ของหมู่สุดท้ายยืนอยู่เป็นเส้นตรงแนวเดียวกับ ผูก้ าํ กบั ฯ และนายหมหู่ มูแ่ รก โดยถอื ว่าผู้กํากับ ฯ เป็นจุดศูนย์กลาง ทุกคนอยู่ในท่าจัดแถว โดยการ ยกขอ้ ศอกซา้ ยข้นึ มือทาบสะโพก นิว้ ทงั้ หา้ เรยี งชิดตดิ กันชลี้ งลา่ ง และสะบัดหน้าทางขวา ยกเว้นรอง นายหมู่หมู่สดุ ท้ายไม่ต้องยกขอ้ ศอกซา้ ย( 1.4 ผ้กู ํากับส่งั \"นิ่ง\" ลกู เสือทกุ คนลดแขนลงพร้อมกบั สะบัดหน้ามาอยู่ในท่าตรง ระยะเคียงระหวา่ งบุคคล 1 ชว่ งศอก ระยะเคยี งระหว่างหมู่ 1 ช่วงแขน 1.5 ผกู้ ํากับสั่ง \"ตามระเบยี บ, พัก\" )ลกู เสือทุกคนแยกเท้าซ้ายออกไปทางข้าง ประมาณ 30 เซนตเิ มตร หรือประมาณเกือบครง่ึ ก้าวปกตอิ ยา่ งแขง็ แรงและองอาจ มือขวาทถ่ี อื ไม้พลอง ใหเ้ ลอ่ื น ข้นึ มาเสมอเอว แล้วดันไม้พลองไปข้างหน้า เฉียงไปข้างขวาประมาณ 45 องศา มือซ้ายไพล่ หลงั โดยมือแบตามธรรมชาตนิ วิ้ เรยี งชดิ ติดกัน( 1.6 ผกู้ าํ กับสัง่ \"กอง, ตรง\" และผู้กาํ กบั กา้ วถอยหลังมายืนทางซ้ายหรือขวามือ และหนั หนา้ เขา้ หาเสาธง ลูกเสอื ทกุ คนดึงไม้พลองเขาหาลาํ ตวั มอื ขวาอยู่ระดับเอว แล้วเลื่อนมือลงมา อยูใ่ นท่าตรง พรอ้ มกับยกเท้ามาชดิ เทา้ ขวา 1.7 ผู้กํากับสง่ั \"หมู่บริการชักธงข้ึน\" หม่บู รกิ ารฝากไม้พลองไว้กบั คนข้างเคียง แล้ว วงิ่ ออกไปพร้อมกัน )ลูกเสือออกว่งิ ด้วยเทา้ ซา้ ยก่อน วางปลายเทา้ ลงบนพื้น พร้อมกันนั้นยกมือ ขึ้นเสมอราวนมกาํ มอื และหันฝูามอื เขา้ หาตัว ยดื อกและศีรษะตัง้ ตรง ขณะว่ิงแกว่งแขนที่งอตามจังหวะ ก้าวไดพ้ อสมควร 1.8 ลูกเสือผู้ชักธงชาติทั้งสองวิ่งออกไปพร้อมกัน และหยุดยืนตรงหน้าเสาธง ประมาณ 3 กา้ ว วนั ทยหตั ถแ์ ละลดมอื ลงพร้อมกนั ลูกเสือคนทางขวามอื กา้ วไปขา้ งหน้า 2 ก้าวและชิด เท้า แกเ้ ชือกธง แล้วกา้ วถอยหลัง 2 ก้าวกลับมายืนทีเ่ ดมิ และชดิ เท้ายืนตรง แยกเชอื กส่งให้ลูกเสือคน ทางซ้ายมอื )ธงชาติอยู่ทางขวามือของคนชักธงชาติเสมอ อย่าให้ส่วนหน่ึงส่วนใดของธงชาติแตะพื้น เป็นอันขาด( คนทางซ้ายมอื เปน็ คนชกั ธงชาติ คนทางขวามือเป็นคนปล่อยเชือก ลูกเสือท้ังสองคนยืน ตรง ในขณะทช่ี กั ธงชาติเชือกทงั้ สองด้านตึงตลอดเวลา จนกว่าธงชาตจิ ะขน้ึ สู่ยอดเสา 192186 คูม่ อืค่มูสอืง่ สเสง่ เรสมิ รแมิ แลละะพพัฒฒั นนาากกจิิจกกรรรรมมลลูกกูเสเือสทือกั ทษักะษชีวะติชใวี นติ สใถนานสศถึกาษนาศปึกรษะาเภทลลกู กู เสเสอื อื ตสรามี ัญชนั้ หปลรกั ะสถตู มรศลูกกึ เษสือาตปรีที ่ี 4 ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4
1.9 ผู้กํากับส่ัง \"กอง, วันทยา-วุธ\" ผู้กํากับและรองผู้กํากับลูกเสือทุกคน วันทยหัตถ์ ลูกเสือทกุ คนวนั ทยาวุธ )ลูกเสอื ทําจังหวะเดียว โดยยกแขนซ้ายขนึ้ มาเสมอไหล่ ศอกงอไป ข้างหนา้ ใหต้ ั้งฉากกับลําตวั ฝูามอื แบคว่ํา รวบนิว้ หวั แมม่ ือกดทบั นว้ิ ก้อยไว้ คงเหลือนิ้วชี้ นวิ้ กลาง และ นวิ้ นาง เหยยี ดตรงและชดิ กัน ใหข้ อ้ แรกของนว้ิ ชแ้ี ตะไม้พลองในร่องไหล่ขวา 1.10 ลูกเสือหมู่บริการคนหนึ่งนําร้องเพลงชาติ \"ประเทศไทยรวมเลือดเน้ือ ชาติเชื้อไทย\" ผู้บังคับบัญชาลูกเสือและลูกเสือทุกคนร้องเพลงพร้อมกัน \"เป็นประชารัฐ ผไทของ ไทยทุกส่วน…..\" จนจบเพลง พอเร่ิมร้องเพลงชาติให้ลูกเสือคนทางซ้ายมือดึงเชือกให้ธงชาติข้ึนสู่ ยอดเสาอย่างช้า ๆ ให้เชือกตึง ส่วนคนทางขวามือค่อย ๆ ผ่อนเชือกให้ธงชาติข้ึนและเชือกตึง เช่นเดียวกัน ผู้ชักธงชาติจะต้องกะระยะว่าพอเพลงชาติจบ ให้ธงชาติถึงปลายเสาพอดี เม่ือเสร็จ เรยี บรอ้ ยแลว้ ลกู เสอื คนทางขวามอื รบั เชือกจากลูกเสือทางซ้ายมือมารวมกัน แล้วกา้ วออกไปขา้ งหนา้ 2 กา้ ว และชิดเท้ายนื ตรงผกู เชือกธง ก้าวถอยหลัง 2 กา้ ว และชดิ เท้ากลบั มายนื ตรงทเี่ ดมิ ลูกเสือทงั้ สอง ยืนตรงวันทยหัตถ์และลดมอื ลงพร้อมกนั )ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ทกุ คนลดมือลง( ลกู เสือท้งั สองกลับหลัง หัน วง่ิ กลบั มาเข้าแถวในหมู่ของตน และรีบนําไม้พลองท่ีฝากมาทําท่าวันทยาวุธอย่าง แข็งแรงและ องอาจเช่นเดยี วกับลกู เสอื ในกอง )การก้าวเขา้ ไปผูกและแกเ้ ชือกธง เร่มิ ต้นด้วยเท้าซ้าย( 1.11 ผู้กํากับส่ัง \"เรียบ-อาวุธ\" ลูกเสือทุกคนลดแขนซ้ายลงมาอยู่ในท่าตรง โดยเรว็ 2. สวดมนต์ 2.1 ผ้กู าํ กับส่ัง ”ถอดหมวก“ 2.2 ผู้กํากับส่ัง \"หมู่บริการนําสวดมนต์\" ลูกเสือนําไม้พลองมาไว้ระหว่างปลาย เท้าทั้งสอง แล้วพงิ ทอ่ นบนไว้กับแขนซา้ ยดา้ นในซึง่ งอตรงศอกเสร็จแลว้ ใช้มือขวาจับที่หมวกด้านหน้า แลว้ ถอดหมวก พร้อมกบั ยกมือซ้ายขึ้นมาประกบกับมือขวาในท่าพนมมือ ให้ด้านในของหมวกหันไป ทางซา้ ย หนา้ หมวกหันเข้าหาตัว ใหห้ มวกอยรู่ ะหวา่ งฝูามือทั้งสองและหนบี หมวกไว้ ผูบ้ งั คับบญั ชาทกุ คนถอดหมวกดว้ ย 2.2 ลูกเสือหมู่บริการคนหน่ึงท่ีได้รับมอบหมาย นําสวดมนต์ย่อ ผู้บังคับบัญชา ลกู เสือและลูกเสอื ทกุ คนสวดมนตต์ ามพร้อมกนั )สวดนํา( \"อรห สมมา สมพุทโธ ภควา\" )สวดตาม( \"อรห สมมา สมพุทโธ ภควา\" สวดนาํ และสวดตามจนจบ 3. สงบนง่ิ 3.1 ผู้กาํ กับส่ัง \"สงบน่ิง\" )ลูกเสอื ลดมอื ขวาทถี่ อื หมวกไปอยู่ก่ึงกลางลําตัว แขน เหยียดตรง พร้อมกบั วางฝาู มอื ซ้ายทับลงบนหลงั มือขวา ก้มหนา้ เล็กนอ้ ย( สงบนง่ิ ประมาณ 1 นาที 3.2 ผู้กาํ กับสั่ง \"สวมหมวก\" ลูกเสอื เงยหน้าขน้ึ สวมหมวก แล้วใช้มือขวาจับไม้ พลอง มาอยใู่ นทา่ ตรง 3.3 ผูก้ าํ กับสงั่ \"กอง, ตามระเบียบ, พัก\" ผู้กํากับก้าวเดินไปยืนตรงที่หน้าเสา ธงเชน่ เดมิ คมู่ อื สคู่มงเอื สสร่งมิเสแรลิมะแพละัฒพนัฒานกาิจกกจิ กรรรมมลลกู ูกเสอือททักกั ษษะะชชวี ิตีวใิตนใสนถสาถนาศนกึ ษศากึ ปษราะเลภกทู ลเสูกือเสตอื รสี าชมัน้ญปหรละักถสมูตศรึกลกูษเาสปือตีทรี่ ี4 118973 ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 4
4. ตรวจ การตรวจมี 2 ประเภท คือ รองผู้กํากบั ตรวจและนายหมู่ตรวจ โดยมีขอ้ เสนอแนะ ในการตรวจ ดังนี้ ก. ถ้าเป็นการตรวจในตอนเปิดประชุมกอง จะตรวจในเร่ืองความสะอาด สุขภาพของร่างกาย อปุ กรณ์ท่ีผกู้ ํากบั ส่ังใหเ้ อามาในการเรียนการสอน ข. ถา้ เป็นการตรวจในตอนปิดประชมุ กอง จะตรวจเครอื่ งแบบเครื่องแต่งกาย เพราะลูกเสือจะตอ้ งเดนิ ผา่ นชุมชน ตลาด หากแตง่ ตัวไม่เรียบร้อยอาจจะ ถกู ตําหนิแก่คนพบเห็นได้ 4.1 รองผูก้ ํากบั 4.1.1 ผู้กํากับส่ัง \"รองผู้กากับตรวจ เชือก \" รองผู้กํากับทุกคนวิ่ง ออกไปหาผกู้ ํากบั วันทยหัตถแ์ ละลดมือลง ผกู้ ํากบั รับการเคารพดว้ ยวนั ทยหัตถ์และลดมือลงเมื่อรองผู้ กาํ กับลดมอื ลง )รองผ้กู ํากบั วง่ิ ไปทาํ ความเคารพผู้กาํ กับก่อนตรวจนั้น จะตอ้ งพิจารณาจังหวะใหด้ ี อย่า ทําความเคารพพร้อมกนั ( รองผ้กู าํ กับวงิ่ ไปตรวจหมลู่ กู เสือทนั ที 4.1.2 รองผกู้ าํ กบั หยุดยืนตรงข้ามนายหมู่ ห่างจากนายหมู่ประมาณ 3 ก้าว นายหมู่ส่งั \"หม่…ู ..ตรง, วนั ทยา-วธุ \" ลกู เสือทุกคนวันทยาวธุ นายหมเู่ รยี บอาวุธ ก้าวออกไป 1 ก้าว วันทยาวุธ พร้อมกับกล่าวรายงาน \"หมู่…..พร้อมที่จะรับการตรวจแล้วครับ\" )รองผู้กํากับรับการ เคารพด้วยวนั ทยหตั ถ์เม่ือนายหมู่รายงาน และลดมือลงเม่ือรายงานจบ( นายหมู่เรียบอาวุธ ก้าวถอย หลงั 1 กา้ วและชิดเท้ามายนื ตรงทเ่ี ดมิ นายหมวู่ นั ทยาวุธและส่งั ลูกเสือในหมู่ตอ่ ไป \"เรยี บ-อาวุธ\" 4.1.3 รองผู้กํากับก้าวออกไปข้างหน้า 1 ก้าว และชิดเท้า ตรวจนายหมู่ เป็นคนแรก 4.1.4 รองผู้กํากับสั่งนายหมู่ \"เดินตามข้าพเจ้า\" ตรวจลูกเสือคนแรกและ คน ตอ่ ๆ ไป การเดินตรวจ รองผ้กู ํากับก้าวเทา้ ขวาไปทางข้างขวา 1 กา้ ว แลว้ ชักเท้าซ้ายไปชดิ อย่าง แข็งแรง ก่อนนายหมูก่ า้ วไปทางข้างขวา ให้ยกไม้พลองข้นึ ประมาณ 1 คบื กา้ วเทา้ ขวาไปทางข้างขวา 1 ก้าว แล้วชักเท้าซ้ายไปชิดอย่างแข็งแรง แล้วตั้งไม้พลองลงกับพ้ืน ยืนในแนวเดียวกับรองผู้กํากับ ก้าว 1 ก้าวตรวจลูกเสือ 1 คน เมื่อตรวจลูกเสือถึงคนสุดท้ายแล้ว ให้นายหมู่ลูกเสือและรองผู้กํากับ ลูกเสือเดินย้อนกลับที่เดิมเหมือนตอนแรก นายหมู่ยืนตรงส่ัง \"วันทยา-วุธ\" และกล่าวว่า \"ขอบคุณ ครับ\" )ยืนอยูก่ ับท่ไี มต่ อ้ งกา้ วออกไป( รองผู้กํากับรับการเคารพด้วยวันทยหัตถ์และลดมือลง นายหมู่ ส่งั ต่อไป \"เรียบ-อาวธุ , ตามระเบยี บ, พกั \" 4.2 นายหม่ตู รวจ ในการประชุมกองลูกเสือ บางคร้ังรองผู้กํากับไม่มาจําเป็นต้องให้นายหมู่ ตรวจแทน แนวปฏิบัติ คือ ผู้กํากับสั่ง \"นายหมู่ตรวจ\" นายหมู่ทุกคนก้าวออกไปข้างหน้าหมู่ของ 194188 คู่มอืคมู่สือง่ สเส่งเรสิมรแมิ แลละะพพฒั ฒั นนาากกจิิจกกรรรรมมลลูกูกเสเือสทือักทษกั ะษชีวะิตชใวี นติ สใถนานสศถึกาษนาศปึกรษะาเภทลลกู กู เสเสอื ือตสรามี ญัช้นั หปลรักะสถตู มรศลูกึกเษสือาตปรที ี ี่ 4 ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4
ตนเอง 3 ก้าว รองนายหมวู่ ิง่ ออ้ มหลังหมู่มายืนแทนท่ีนายหมู่ และทําหน้าที่นายหมู่ และทําการตรวจ แบบรองผู้กาํ กบั ในขอ้ 4.1.4 โดยทาํ เหมือนกับรองผกู้ ํากับทกุ ประการ 4.3 การรายงานการตรวจ 4.3.1 รองผกู้ าํ กับรายงาน เมื่อนายหมู่ลูกเสือขอบงคุณรองผู้กํากับ ภายหลังการตรวจเรียบร้อย แล้ว รองผู้กํากับกลับหลังหันทําวันทยหัตถ์ พร้อมกับกล่าวรายงานต่อผู้กํากับว่า \"ข้าพเจ้าได้รับ มอบหมายจากผ้กู ากบั ใหไ้ ปตรวจ เชอื ก หมู่ ปรากฎว่า และได้ตักเตือนแล้ว, ครับ\" เสร็จ แลว้ ว่ิงกลบั มาดา้ นหลังเสาธง รองผู้กํากบั คนตอ่ ไปก็รายงานต่อ ๆ ไป )รองผู้กํากับเมื่อตรวจเสร็จ แล้วให้รายงานผลการตรวจได้เลย ไมต่ อ้ งรอให้เสร็จทุกหมกู่ อ่ นจึงคอ่ ยรายงาน( 4.3.2 นายหมู่ลูกเสือรายงาน เมื่อนายหมู่ลกู เสือคนใดตรวจเสร็จแล้ว ให้ยืนตรงหน้าหมู่ของตนเอง โดยหันหน้าไปหาผู้กํากับ และรอให้นายหมู่ลูกเสือทุกหมู่ตรวจเสร็จเรียบร้อยเสียก่อน เมื่อนายหมู่ ลกู เสือตรวจเสร็จเรียบร้อยทุกหมู่แล้ว นายหมู่ลูกเสือทุกคนวิ่งออกไปเข้าแถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว ตรงขา้ มผ้กู ํากบั พรอ้ มกนั ห่างจากผ้กู ํากับประมาณ 3 ก้าว นายหมลู่ ูกเสือหมบู่ ริการยนื หัวแถว นายหมู่ ลกู เสอื หมอู่ ื่น ๆ เรียงไปตามลําดับ โดยอยู่ในท่าตามระเบียบพกั ผกู้ าํ กบั ยืนก่ึงกลางของแถว ผกู้ าํ กบั ส่งั \"นายหมรู่ ายงาน\" นายหมลู่ กู เสือหมู่บริการรายงานผลการตรวจเป็นคนแรก นายหมู่ลูกเสือยืนตรง, วันทยาวุธและเรียบอาวุธ ก้าวออกไปข้างหน้า 1 ก้าว หันหน้าไปหาผู้กํากับ วันทยาวุธ พร้อมกับกล่าวรายงาน \"ขา้ พเจา้ ได้รับมอบหมายจากผู้กากับให้ไปตรวจ เชือก หมู่ ปรากฎว่า และได้แนะนาให้ปรับปรุงแก้ไขแล้ว, ครับ\" เมื่อจบการรายงาน นายหมู่เรียบอาวุธ ถอยกลับเข้าที่ แล้วทําวันทยาวุธ แล้วเรียบอาวุธ, ตามระเบียบพัก นายหมู่คนอ่ืน ๆ ให้ปฏิบัติ เชน่ เดียวกัน จนกระท่ังการรายงานผลการตรวจเสร็จเรียบร้อย ผู้กํากับสั่ง \"กลับที่เดิม-วิ่ง\" นายหมู่ ทุกคนทาํ วนั ทยาวุธและเรียบอาวุธพร้อมกัน กลับหลังหันมายืนในหมู่ของตนเองในตําแหน่งเดิม รอง นายหมวู่ ิ่งอ้อมหลงั หมกู่ ลบั มายนื ทําหนา้ ที่รองนายหมูต่ ามเดมิ 5. แยก ผู้กํากับส่ัง \"กอง-ตรง, กอง-แยก\" ลูกเสือทุกคนขวาหันแล้วแยกไปปฏิบัติ กจิ กรรมอนื่ ต่อไป (2) เกม-เพลง เกมหรอื การเล่นของลูกเสอื เป็นอุปกรณท์ ่สี ําคญั ทีส่ ดุ อย่างหนึ่งในการฝึกอบรมลูกเสอื ทกุ ประเภท ท้ังในทางจิตใจและในการบริหารร่างกาย เกมช่วยพัฒนาเด็กในเรื่องนิสัยใจคอ อารมณ์ดี น้ําใจ นักกีฬา การรักหมู่คณะ ความอดทน ระเบียบวินัย และความไม่เห็นแก่ตัว ทุกคร้ังที่ มีการ ประชมุ กองจะต้องมกี ารจัดการให้เดก็ เลน่ เกมเพอ่ื บริหารรา่ งกายเปน็ การฝกึ อบรมเดก็ ในทางจิตใจไปใน ตวั เกมทใ่ี ชจ้ ะต้องเลอื กเกมที่เหมาะสมต่อวยั ของเดก็ ด้วย หรอื การร้องเพลงเพ่อื เปน็ การปลุกใจ คลาย คูม่ ือสค่มูงเอื สสรง่ มิเสแรลมิ ะแพละฒั พนฒั านกาจิกกิจกรรรมมลลกู ูกเสอือททกั กั ษษะะชชวี ิตวี ใิตนใสนถสาถนาศนึกษศาึกปษราะเลภกทู ลเสกู ือเสตอื รสี าชม้นัญปหรละกัถสมตู ศรกึลูกษเาสปือตีทร่ี ี4 118995 ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4
อารมณ์ ก่อให้เกดิ ความร่าเริงบันเทิงใจ และการร้องเพลงเป็นเพลงหมู่หรือร้องพร้อม ๆ กัน เพื่อเป็น การสง่ เสริมความสามัคคี (3) การสอนตามเน้ือหา ผู้กาํ กบั ลูกเสือจะกาํ หนดเน้ือหาตามหลักสตู ร ซึง่ เขยี นเป็นแผนการสอนหรอื โครงการ สอน ในแตล่ ะคาบจะกําหนดเน้อื หาสาํ หรับเขยี นไว้ในการประชมุ กอง การสอนอาจจะสอนเป็นฐาน แล้ว มีการเปล่ียนฐาน โดยกําหนดเวลาให้ อาจจะมี 1 ฐานหรือมากกว่าก็ได้ ขึ้นอยู่กับลูกเสือและความ เหมาะสมตา่ ง ๆ ส่วนเทคนิคการสอนอาจจะเปน็ แบบบรรยาย อภิปราย สาธิต หรือปฏิบัติจริง แล้วแต่ เนือ้ หาท่กี ําหนด หรืออาจจะใหน้ ายหม่สู อนภายในหมูต่ นเองกไ็ ด้ การรายงานเพอ่ื เขา้ ฝกึ ตามฐาน การฝึกลูกเสือตามฐานต่าง ๆ น้ัน ให้จัดฐานแต่ละฐานเป็นวงกลมหรือรูปเหลี่ยมมี ศูนย์กลาง ระยะทางระหวา่ งฐานควรเท่ากนั เสน้ ทางการเดินทางให้สะดวก บางฐานอาจมเี สน้ ทางเข้าสู่ ฐานไม่ต้องตรงอ้อมส่ิงปลูกสร้าง พุ่มไม้ หรือบ่อนํ้า ก็จงคํานึงถึงเวลาเดินทางให้เท่ากับฐานอ่ืน ๆ มิฉะนั้นแล้ว ลูกเสือจะเสียเวลาเดินทางมาก ไมไ่ ดร้ ับความร้ใู นฐานนัน้ เต็มท่ี การเคล่อื นท่เี ขา้ ฐานนิยมเคลอื่ นโดยเวียนขวา คือ ไปตามเข็มนาฬิกา ฉะน้ัน ผู้อยู่ประจํา ฐาน )วทิ ยากร( จะต้องหนั หน้าเขา้ สู่จดุ ศนู ยก์ ลางของวงใหญ่ เม่ือลูกเสือฝึกครบเวลามีสัญญาณปล่อย ตัวแลว้ จะเขา้ เแขถ้าแวหถนวห้ากนรา้ ะกดราะนดาทนำ� ขทวาํ าขหวนั าหแันลว้ แเคลลว้ อ่ืเคนลทือ่ ต่ี นาทมี่ตนามยหนมายไู่ ดหเ้มลไู่ยดเ้ ลย การเขา้ ฐานคร้ังละหลายหมู่ แต่ละหมู่น้ันนายหมู่ต้องรายงานเองทุกหมู่ แต่รายงานทีละ หมู่ มิบงั ควรทจี่ ะใหห้ มใู่ ดหมูห่ นึง่ รายงานรวมหนเดียว เพราะนายหมู่จะสั่งการได้เฉพาะลูกหมู่ตนเอง เทา่ นนั้ หากมกี ารเขา้ ฐานมากหม่จู นเกินไปจะเสยี เวลามาก กเ็ ปลี่ยนการเข้าฐานแบบวิทยากรเคลื่อนที่ ไปหาลูกเสอื ซงึ่ แบบนีจ้ ะสามารถมผี แู้ ทนส่ังเคารพคนเดยี วได้เสมอื นครูเขา้ หอ้ งสอน 1. การรายงานกรณีทุกคนมอี าวุธ เมอื่ นายหมนู่ ําลูกหมู่ไปถึง ผู้ประจําฐานให้เข้าแถวหน้ากระดาน โดยนายหมู่ยืน ตรงหนา้ ผู้ประจําฐาน นายหมูน่สงั่ \"หมู่…..ตรง, วันทยา-วุธ\" เฉพาะนายหมู่เรียบอาวุธ ก้าวเข้าไป หาผู้ประจําฐาน 1 ก้าว ทําวันทยาวุธ แล้วรายงานว่า \"หมู่…..พร้อมท่ีจะรับการฝึกแล้วครับ\" รายงานเสร็จทําเรียบอาวธุ แลว้ ถอยหลงั 1 ก้าวเข้ามาในแถว ทําวันทยาวุธไว้ให้เหมือนลูกหมู่ แล้วส่ัง \"เรยี บ-อาวธุ \" และสงั่ \"ตามระเบียบ-พกั \" )ชว่ งนีว้ ทิ ยากรประจําฐานควรสง่ั \"พักแถว\" ก่อนกไ็ ด้( จากน้ันผู้ประจําฐานจะเริ่มสอนหรือฝึก ทางที่ดีผู้ประจําฐานควรจะสั่ง \"ตรง\" และส่ัง \"พักแถว\" ก่อนจงึ เริ่มสอนก็จะเป็นการเหมาะสมมาก เพราะการสอนน้ันลูกเสือย่อมอยู่ในท่าพักตาม ระเบียบไม่ได้ สาํ หรบั ผู้ประจําฐานเมื่อนายหมู่สั่ง \"วันทยา-วุธ\" ก็รับการเคารพด้วยวันทยหัตถ์ และก็ คา้ งอยอู่ ย่างนั้นจนกว่านายหมู่จะกา้ วออกมาและรายงานจบ เม่อื นายหมูร่ ายงานจบเรียบอาวธุ ผู้กาํ กับ จะลดมอื ลงพรอ้ มกนั ตอนนี้ )มิใชค่ อยลดมือลงพร้อมลูกเสือในแถว( 196190 คู่มอืคมู่สอื่งสเส่งเรสิมรแมิ แลละะพพัฒัฒนนาากกจิิจกกรรรรมมลลูกกูเสเือสทือักทษกั ะษชวีะิตชใีวนติ สใถนานสศถึกาษนาศปึกรษะาเภทลลกู กู เสเสอื อื ตสรามี ญัชน้ั หปลรักะสถตู มรศลูกึกเษสือาตปรที ี ี่ 4 ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4
2. การรายงานกรณีมีอาวธุ เฉพาะนายหมู่ การเข้าเรยี นตามฐานบางกรณีน้ัน เพ่ือความสะดวกผ้กู าํ กับหรือผู้สอนวิชาอาจส่ัง ให้ ลกู เสือรวมอาวธุ ไว้ ใหน้ ําติดตัวไปเฉพาะนายหมู่ก็ได้ หรือการเข้าค่ายพักแรมกรณีที่นําอาวุธไป เฉพาะนายหมู่ เพราะไมส่ ามารถนําพลอง ไม้พลอง จํานวนหลายรอ้ ยอันไปได้ กรณนี ี้นายหมูส่ ัง่ \"หม่…ู ..ตรง\" สําหรับตัวนายหมู่นั้นเม่ือตรงแล้วให้ทําวันทยาวุธ-เรียบ อาวุธ กา้ วเข้าไปหาผู้ประจําฐาน 1 กา้ ว แล้วทาํ วนั ทยาวุธอีก รายงาน เมื่อรายงานจบเรียบอาวุธ แล้ว ถอยหลังเข้าท่ีในแถวอยู่ในท่าตรงเหมือนลูกหมู่ แล้วสั่ง \"ตามระเบียบ-พัก\" ท้ังนี้ ไม่ต้องทํา วันทยาวุธอีกครั้ง เพราะขณะนนั้ อยูใ่ น ทา่ ตรงเหมือนลกู หมู่แล้ว สาํ หรบั ผูป้ ระจําฐาน ให้รับการเคารพด้วยวันทยหัตถ์ พร้อมกับลูกเสือในแถวเคารพด้วย ท่าตรง และวันทยหัตถ์ค้างอยู่จนกว่านายหมู่จะรายงานจบ จึงเอามือลงพร้อมกับนายหมู่เรียบอาวุ ธ ตอนรายงานจบ 3. การรายงานกรณไี มม่ ีอาวธุ ท้งั หมด นายหมู่จะส่ัง \"หมู่…..ตรง\" เฉพาะนายหมู่นายหมู่เมื่อตรงแล้วก็ทําวันทยหัตถ์ ลดมอื ลง กา้ วเข้าไปรายงาน ขณะรายงานก็ทําวันทยหัตถ์ รายงานว่า \"หมู่…..พร้อมที่จะรับการฝึก แล้วครับ\" รายงานแล้วลดมือลงถอยหลังเข้าไปในแถว อยู่ในท่าตรงเหมือนลูกหมู่ แล้วสั่ง \"ตาม ระเบียบ-พกั \" )ถอยเข้าไปในแถวแลว้ ไม่ตอ้ งทําวันทยหัตถอ์ ีก( สาํ หรบั ผ้ปู ระจาํ ฐานให้รับการเคารพด้วยวันทยหัตถ์ ตอนท่ีลูกเสือเคารพด้วยท่า ตรง ทาํ วนั ทยหัตถค์ า้ งไวจ้ นกวา่ นายหม่จู ะรายงานจบและลดมอื ลง จึงลดมือลงพรอ้ มกับนายหมู่ 4. การเขา้ ฐานกรณผี ู้ประจําฐานเคลอื่ นทเี่ อง การสอนแบบนี้เหมาะสําหรับมีลูกเสือจํานวนมาก เมื่อแบ่งฐานแล้วจะได้ฐานละ หลายหมู่ หากจะให้ลูกเสือเคล่อื นที่จะเสยี เวลามาก จงึ ควรจดั ใหล้ ูกเสอื อยเู่ ป็นกลมุ่ กลุ่มละหลาย ๆ หมู่ กรณีนี้ไม่ต้องมีการรายงาน ให้ทําเหมือนครูเดินเข้าห้องสอน เม่ือผู้ประจําฐานเข้าไป ลูกเสือก็ทําความเคารพ โดยผู้กํากับจะแต่งตั้งหัวหน้านายหมู่ชั่วคราวไว้เป็นผู้สั่งเคารพ โดยส่ังว่า \"ลกู เสือ-ตรง, วันทยา-วุธ, เรยี บ-อาวธุ , ตามระเบยี บ-พัก\" แตถ่ ้าในสนามมีอาวธุ เฉพาะนายหมู่ )หลายหมู่( กส็ ่งั ว่า \"ลูกเสอื -ตรง\" เฉย ๆ แต่นายหมู่ ทุกคนท่ีมอี าวุธอยแู่ ลว้ เมอื่ ตรงแลว้ กท็ าํ วันทยาวธุ เรียบอาวุธเองโดยไม่มใี ครสง่ั สาํ หรับผปู้ ระจาํ ฐาน เม่ือเขา้ ไปเขาสัง่ เคารพก็รับการเคารพตามธรรมดา )วันทยหัตถ์ ลด มือลงเลย เพราะไม่มกี ารรายงาน( จะเหมือนกบั ครเู ข้าสอนในห้องเรียน 5. การลาฐานเมอ่ื หมดเวลา นายหมู่เป็นผู้ส่ัง โดยออกคําส่ังว่า \"หมู่…..ตรง, วันทยา-วุธ )นายหมู่คนเดียว กลา่ วว่า \"ขอบคณุ -ครับ\"( เรยี บ-อาวธุ , ขวา-หนั , ตามข้าพเจา้ \" แตห่ ากมีอาวุธเฉพาะนายหมู่ ก็เพยี งส่ัง \"หมู่…..ตรง )ตนเองทําวันทยาวุธ แล้วกล่าวว่า \"ขอบคณุ ครับ, เรยี บอาวุธ\"( ขวาหัน, ตามขา้ พเจา้ \" ค่มู ือสคู่มงเือสสรง่ ิมเสแรลมิ ะแพละัฒพนัฒานกาจิกกิจกรรรมมลลกู กู เสอือททักกั ษษะะชชวี ติวี ใติ นใสนถสาถนาศนึกษศาึกปษราะเลภกทู ลเสกู อืเสตือรสี าชม้นัญปหรละกัถสมตู ศรกึลกูษเาสปอื ตีทร่ี ี4 119917 ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214