Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สารานุกรมลูกเสือ100ปี ลูกเสือไทยเล่ม 4

สารานุกรมลูกเสือ100ปี ลูกเสือไทยเล่ม 4

Published by ปริญญา, 2021-11-16 15:18:59

Description: สารานุกรมลูกเสือ100ปี ลูกเสือไทยเล่ม 4

Keywords: สารานุกรมลูกเสือ,ลูกเสือ

Search

Read the Text Version

การบันทกึ ขอ้ มลู ในบัตรประจ�ำตวั ลูกเสือส�ำรอง สมุดประจ�ำตัวลูกเสือเป็นสิ่งส�ำคัญของลูกเสือท่ีจะบอกให้ทราบว่า ลูกเสือมีคณุ สมบตั ิเช่นใด เนือ่ งจากในบตั รน้นั จะบง่ บอกถึงการปฏิบตั ิหนา้ ท่ีของลูกเสือท้ังการเรยี น การเข้าร่วมกิจกรรม ผลการเข้าร่วมกิจกรรม ตลอดจนบันทึกความดีความชอบของลูกเสือเสมือน สมดุ ความดีของลกู เสอื ส�ำรองดว้ ย ๒.๔.๒ บตั รลูกเสือสามญั (ลส.๑๖) สเี ขยี ว การบันทึกข้อมลู ในบตั รประจ�ำตัวลูกเสือสามัญ สมุดประจ�ำตัวลูกเสือเป็นส่ิงส�ำคัญของลูกเสือที่จะบอกให้ทราบว่า ลูกเสือสามัญมีคุณสมบัติเช่นใด เน่ืองจากในบัตรนั้นจะบ่งบอกถึงการปฏิบัติหน้าท่ีของลูกเสือทั้ง การเรียนการเข้าร่วมกิจกรรม ผลการเข้าร่วมกิจกรรม ตลอดจนบันทึกความดีความชอบของ ลูกเสือ เสมือนสมดุ ความดขี องลูกเสอื สามัญดว้ ย 84 สารานกุ รมลกู เสือ

๒.๔.๓ บัตรลูกเสอื สามัญรนุ่ ใหญ่ (ลส.๑๗) สเี ลอื ดหมู การบนั ทกึ ขอ้ มูลในบัตรประจ�ำตัวลูกเสอื สามัญรนุ่ ใหญ่ สมดุ ประจ�ำตวั ลกู เสอื เปน็ สงิ่ ส�ำคญั ของลกู เสอื ทจี่ ะบอกใหท้ ราบวา่ ลกู เสอื สามัญรุ่นใหญ่มีคุณสมบัติเช่นใด เนื่องจากในบัตรนั้นจะบ่งบอกถึงการปฏิบัติหน้าท่ีของลูกเสือ ทั้งการเรียน การเข้าร่วมกิจกรรม ผลการเข้าร่วมกิจกรรม ตลอดจนบันทึกความดีความชอบของ ลูกเสือเสมอื นสมดุ ความดขี องลูกเสือสามญั ร่นุ ใหญ่ดว้ ย ๒.๔.๔ บตั รลูกเสอื วิสามัญ (ลส.๑๘) สีฟา้ สารานกุ รมลูกเสอื 85

การบันทกึ ขอ้ มลู ในบตั รประจ�ำตัวลกู เสือวิสามญั สมุดประจ�ำตัวลูกเสือเป็นส่ิงส�ำคัญของลูกเสือท่ีจะบอกให้ทราบว่า ลูกเสือวิสามัญมีคุณสมบัติเช่นใด เนื่องจากในบัตรนั้นจะบ่งบอกถึงการปฏิบัติหน้าที่ของลูกเสือ ทั้งการเรียน การเข้าร่วมกิจกรรม ผลการเข้าร่วมกิจกรรม ตลอดจนบันทึกความดีความชอบของ ลูกเสือเสมอื นสมุดความดีของลูกเสอื วิสามญั ด้วย ๒.๕ การขอพระราชทานเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์ การยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เขม็ ลูกเสือ ลูกเสอื สดุดีชนั้ พิเศษ เขม็ ลกู เสือสมนาคณุ เข็มลูกเสอื บ�ำเพญ็ ประโยชน์ เหรียญลกู เสอื สรรเสริญ ชัน้ พเิ ศษ ช้ันท่ี ๑ ชั้นท่ี ๑ ชั้นที่ ๒ ชนั้ ท่ี ๑ ช้นั ท่ี ๒ ชั้นท่ี ๓ ชั้นท่ี ๒ ชน้ั ที่ ๓ ชัน้ ท่ี ๓ เหรยี ญลูกเสือสดุดี ช้นั ที่ ๑ ชน้ั ที่ ๒ ชน้ั ที่ ๓ เหรยี ญลกู เสือยั่งยืน ๒.๕.๑ การขอพระราชทานเครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณอ์ นั เปน็ สริ ยิ งิ่ รามกรี ติ ลกู เสอื สดดุ ชี นั้ พเิ ศษ เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณอ์ นั เปน็ สริ ยิ งิ่ รามกรี ติ ลกู เสอื สดดุ ชี นั้ พเิ ศษ : The Boy Scout Citation Medal, Special Class เปน็ เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณส์ �ำหรบั พระราชทานเปน็ บ�ำเหนจ็ ความชอบในราชการแผ่นดนิ ประเภทหนึ่งโดยนบั ว่า เป็นเคร่อื งราชอิสรยิ าภรณ์ของเหรียญลกู เสือ สดุดีชั้นพิเศษ มีเพียงชนิดเดียว เป็นดวงตรารูปกลมรี ผู้ออกแบบ คือ นายพินิจ สุวรรณะบุณย์ ทรงพระกรญุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งขน้ึ เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๓๐ ตามพระราชบญั ญตั เิ หรยี ญลกู เสอื (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๓๐ ในโอกาสครบรอบ ๗๕ ปที พี่ ระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระราชทานก�ำเนดิ ลกู เสอื ไทย เมอื่ พทุ ธศกั ราช ๒๔๕๕ และเพื่อเปน็ การเฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร มหาภูมิพลอดุลยเดช ในวโรกาสมหามงคลสมัยเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ อีกทั้งเพ่ือส่งเสริม ก�ำลงั ใจแกผ่ ู้อุทศิ ตนให้กจิ การลกู เสืออย่างแท้จรงิ 86 สารานุกรมลูกเสือ

ลักษณะของเครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ์อันเป็นสริ ยิ ่งิ รามกรี ติ ลูกเสอื สดุดีชัน้ พิเศษ การพระราชทาน ๑. พระราชทานแกผ่ ทู้ ไี่ ดร้ บั พระราชทานเหรยี ญลกู เสอื สดดุ ี ชนั้ ที่ ๑ และไดม้ ี อุปการคุณช่วยเหลือกิจการลูกเสืออย่างต่อเน่ืองมาแล้วไม่น้อยกว่า ๕ ปีนับต้ังแต่วันท่ีได้รับ พระราชทานเหรียญสดุดี ชั้นที่ ๑ ๒. เมอื่ คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาตพิ จิ ารณาเหน็ วา่ ผใู้ ดสมควรไดร้ บั พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีช้ันพิเศษ ให้น�ำความขึ้น กราบบงั คมทลู พระกรุณาขอพระราชทานต่อไป ๓. พระราชทานใหเ้ ปน็ กรรมสทิ ธเิ์ มอ่ื ผไู้ ดร้ บั พระราชทานวายชนมใ์ หแ้ กท่ ายาท ไวเ้ ปน็ ท่ีระลกึ ๒.๕.๒ การขอพระราชทานเหรียญลูกเสือสรรเสริญ และประวัติของเหรียญ ลกู เสอื สรรเสรญิ ต้นแบบของเหรียญลูกเสือสรรเสริญ มาจาก “เหรียญที่ระลึกลูกเสือ” ซึ่ง พระราชทานให้ลูกเสือท่ีออกจากประจ�ำการไปเป็นเสือป่า ต่อมาได้พัฒนาเป็นต้นเค้าของเหรียญ ลูกเสือสรรเสริญ ซึ่งมีสามช้ัน คือ ทอง นาค เงิน ก่อนที่มาสู่เหรียญลูกเสือสรรเสริญในปัจจุบัน ลูกเสือท่ีได้รับพระราชทานเหรียญลูกเสือสรรเสริญครั้งแรก เป็นเหรียญลูกเสือสรรเสริญ ช้ันท่ี ๒ (เหรยี ญเงนิ ) ได้แก่ ลูกเสอื ตรีเลก็ ซัน วเิ ศษรัตน์ เลขประจ�ำตวั ๘๘๗ สงั กัดกองลกู เสือเสนา จังหวัด หนองคายท่ี ๑ (หนองคายวิทยาคาร) ซึง่ ไดช้ ว่ ยเหลอื เดก็ หญิงอรรตพนธ์ สงกะศริ ิ ใหพ้ น้ อนั ตราย จากการจมน�้ำตายท่ีท่าวัดหายโศก อ�ำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย ประกาศ ณ วันที่ ๒๒ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๘๓ สารานุกรมลูกเสือ 87

ลักษณะของเหรยี ญ ช้ันที่ ๑ ชั้นท่ี ๒ ช้ันที่ ๓ ชั้นของเหรียญ เหรยี ญลกู เสอื สรรเสริญ มี ๓ ชน้ั คือ ๑. เหรยี ญลกู เสือสรรเสริญ ช้ันทหี่ นง่ึ จะพระราชทานใหแ้ ก่ ผูท้ ่ี มคี วามดคี วามชอบซงึ่ ไดท้ �ำการรกั ษาความปลอดภยั หรอื สนั ตสิ ขุ เพอ่ื ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ หรอื ได้ชว่ ยชวี ิตผทู้ ีต่ กอยใู่ นอนั ตราย ๒. เหรยี ญลกู เสอื สรรเสรญิ ชน้ั ทสี่ อง จะพระราชทานใหแ้ ก่ ผทู้ ไี่ ด้ ท�ำความดีความชอบซึ่งได้ช่วยชีวิตผู้ท่ีตกอยู่ในอันตราย โดยตนเองได้ประสบอันตราย หรือ ฝ่าอันตรายถงึ ขนาดที่จะถงึ แกช่ ีวติ ๓. เหรยี ญลกู เสอื สรรเสรญิ ชน้ั ทส่ี าม จะพระราชทานใหแ้ ก่ ผทู้ ไี่ ด้ ท�ำความดคี วามชอบ ซ่งึ ได้ชว่ ยชีวิตผทู้ ต่ี กอยใู่ นอันตรายแมเ้ พียงคร้งั เดียว รายละเอยี ดในการขอเหรยี ญลกู เสอื สรรเสรญิ ใหเ้ ปน็ ไปตามพระราชบญั ญตั ิ ลกู เสือ พ.ศ. ๒๕๕๑ การขอพระราชทานเหรยี ญลูกเสือสรรเสรญิ ๑. ใหผ้ ขู้ อรบั พระราชทานเหรยี ญลกู เสอื สรรเสรญิ รายงานตอ่ ผบู้ งั คบั บญั ชา เพ่ือด�ำเนินการขอรับพระราชทานเหรียญลกู เสือสรรเสริญ ภายใน ๓ เดือน นบั แต่วนั ที่เหตุเกิด เปน็ ตน้ ไป ๒. เมอื่ ผบู้ งั คบั บญั ชาไดร้ บั ทราบแลว้ ใหส้ ง่ เรอ่ื งไปใหพ้ นกั งานสอบสวน ด�ำเนินการสอบสวน ๓. เม่ือพนักงานสอบสวนท�ำการสอบสวนปากค�ำแล้ว ให้รีบส่ง ส�ำเนาการสอบสวนไปยงั ส�ำนักงานลูกเสอื แห่งชาติ ๔. หลักฐานเอกสารทจ่ี �ำเป็นเพื่อประกอบการพิจารณาดงั นี้ ๔.๑ บันทึกการให้ถอ้ ยค�ำของผูช้ ่วยเหลือ 88 สารานุกรมลูกเสือ

๔.๒ บันทกึ การให้ถอ้ ยค�ำของผูร้ บั การช่วยเหลอื ๔.๓ บันทึกการใหถ้ อ้ ยค�ำของพยานผู้รู้เห็นอยา่ งนอ้ ย ๒ คน ๔.๔ แผนท่ีสงั เขปแสดงสถานทเ่ี กดิ เหตุ ๒.๕.๓ เหรยี ญลกู เสือสดุดี เหรยี ญลกู เสอื สดดุ ี มชี อื่ เรยี กภาษาองั กฤษวา่ “The Boy Scout Citation Medal” เปน็ เหรยี ญส�ำหรบั พระราชทานเปน็ บ�ำเหนจ็ ความชอบในราชการ สรา้ งขน้ึ ตามพระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื พ.ศ. ๒๕๐๗ เช่นเดียวกันกับเหรียญลูกเสือสรรเสริญ ต่อมาใน พ.ศ. ๒๕๓๐ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันเป็น สริ ิยง่ิ รามกรี ติ ลูกเสือสดุดีชัน้ พิเศษ ขนึ้ อีกช้นั หนง่ึ เหรยี ญลกู เสอื สดดุ ี เปน็ เหรยี ญเงนิ ลกั ษณะกลมรี มขี นาดกวา้ ง ๒.๕ เซนตเิ มตร ยาว ๓.๒ เซนตเิ มตร เหรียญน้ใี ช้หอ้ ยกบั แพรแถบ ประดบั ทอ่ี กเสื้อเหนือปกกระเปา๋ เบื้องซ้าย การแบ่งชัน้ เหรยี ญลูกเสอื สดดุ แี บง่ เปน็ ๓ ชัน้ ดังนี้ ชั้นที่ ๑  มเี ขม็ วชริ ะ ท�ำดว้ ยโลหะเงนิ ประดบั แพรแถบตรงกง่ึ กลาง ในแนวทางดงิ่ ๑ เขม็ ชน้ั ท่ี ๒ ม ีเข็มหน้าเสือ ท�ำด้วยโลหะเงิน ประดับที่แพรแถบตรง กงึ่ กลางในแนวทางดงิ่ ๑ เข็ม ชนั้ ที่ ๓ ไมม่ เี ข็มวชริ ะ และเข็มหน้าเสอื ประดบั ท่ีแพรแถบ สารานกุ รมลูกเสอื 89

การพระราชทาน พระราชทานแกผ่ บู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ผตู้ รวจการลกู เสอื กรรมการ ลูกเสือ เจ้าหนา้ ทล่ี ูกเสือ และบุคคลอ่นื บรรดาที่มีอปุ การคณุ ตอ่ การลูกเสือถงึ ขนาด หรอื ท่ไี ด้อุทิศ ก�ำลงั กาย หรือ ก�ำลงั ความคดิ ในการประกอบกจิ ให้บงั เกิดคุณประโยชนแ์ ก่การลกู เสือ ตามเกณฑ์ ที่ก�ำหนดไว้ในพระราชบัญญตั ิลกู เสือที่เก่ยี วขอ้ ง ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสือทไ่ี ด้รบั พระราชทานเหรียญลกู เสอื สรรเสริญ ในงานวันคล้ายวนั สถาปนาคณะลกู เสอื แห่งชาติ เมือ่ วันท่ี ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ๒.๕.๔ เหรยี ญลูกเสอื ย่งั ยนื ลักษณะของเหรียญลูกเสือย่ังยืน เป็นเหรียญเงินรูปหกเหลี่ยม ตัวเหรียญหมนุ ได้ ขนาดเสน้ ผ่าศนู ย์กลาง ๓.๓ เซนติเมตร มีมุมแหลมอย่ดู า้ นบน ติดกบั ห่วงห้อย ร้อยแพรแถบมีขอบสองชนั้ การขอพระราชทาน พระราชทานเปน็ บ�ำเหนจ็ ความชอบในราชการใหแ้ กบ่ ุคลากรทาง การลกู เสอื ทปี่ ฏิบตั หิ นา้ ที่อยา่ งตอ่ เน่ือง เปน็ ระยะเวลาไมน่ อ้ ยกวา่ สบิ หา้ ปี ดว้ ยความวริ ิยะอุตสาหะ ท�ำงานด้วยความเรยี บรอ้ ย ไมเ่ กดิ ความเสยี หาย กอ่ ใหเ้ กดิ ผลดตี อ่ กจิ การลกู เสอื ตามหลกั เกณฑ์ ทค่ี ณะกรรมการบริหารลกู เสอื แหง่ ชาตกิ �ำหนด 90 สารานกุ รมลูกเสือ

๒.๕.๕ เข็มเชดิ ชูเกยี รติลูกเสอื ๒.๕.๕.๑ เขม็ ลูกเสือสมนาคุณ เข็มลูกเสือสมนาคุณ เป็นเข็มไว้ตอบแทนผู้มีจิตศรัทธาบริจาค ทรพั ยส์ นิ อยา่ งอน่ื เพื่อบ�ำรุงการลกู เสือ ลกั ษณะส�ำคัญของเข็มลูกเสอื สมนาคุณ มีลักษณะเปน็ รปู หน้าเสอื ประกอบวชริ ะ ตามแบบมี ๔ ชั้นดงั ต่อไปน้ี ๑. ชน้ั พิเศษ ท�ำด้วยทองประดับเพชร ๒. ชั้นท่ี ๑ ท�ำดว้ ยทอง ๓. ช้ันที่ ๒ ท�ำด้วยนาก ๔. ชน้ั ที่ ๓ ท�ำด้วยเงนิ เง่ือนไขการให้เข็มลูกเสือสมนาคุณให้เป็นไปตามข้อบังคับคณะ กรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ ชน้ั พิเศษ ชน้ั ที่ ๑ ชน้ั ที่ ๒ ชน้ั ที่ ๓ ๒.๕.๕.๒ เขม็ ลูกเสือบ�ำเพญ็ ประโยชน์ เป็นเข็มท่ีมอบให้เพ่ือส่งเสริมและยกย่องลูกเสือท่ีได้บ�ำเพ็ญ ประโยชน์อย่างดีเด่น ช้นั ท่ี ๑ ชน้ั ท่ี ๒ ชั้นท่ี ๓ ลกั ษณะของเข็มลูกเสือบ�ำเพ็ญประโยชน์ เข็มลูกเสือบ�ำเพ็ญประโยชน์มีลักษณะเป็นรูปส่ีเหล่ียมจัตุรัส ขนาด ๑.๗ ซม. ดา้ นบนมรี ปู เฟลอรเ์ ดอรล์ สี ์ สตี ามชน้ั ของเขม็ พน้ื สแี ดง มอี กั ษรสที องจารกึ “ลกู เสอื บ�ำเพญ็ ประโยชน”์ ประดับกับโบว์สนี ้�ำเงนิ ประดบั ที่อกเสอ้ื ขา้ งขวาเหนอื กระเป๋า สารานุกรมลกู เสือ 91

ชั้นของเข็มลูกเสือบ�ำเพ็ญประโยชน์ตามข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๔ เขม็ ลกู เสือบ�ำเพ็ญประโยชน์ มี ๓ ช้นั ดังนี้ คอื ช้นั ท่ี ๑ ท�ำด้วยโลหะสีทอง ชั้นท่ี ๒ ท�ำด้วยโลหะสีเงิน ช้นั ท่ี ๓ ท�ำด้วยโลหะสีทองแดง เง่ือนไขการให้เข็มลูกเสือบ�ำเพ็ญประโยชน์ให้เป็นไปตามข้อบังคับ คณะกรรมการบริหารลกู เสือแหง่ ชาติ ๒.๖ งานการเงนิ ของลูกเสือ ความหมาย การเงินของกลุ่มกองลกู เสอื ในสถานศึกษาหมายถึง ๑. รายไดอ้ นั เกดิ จากเงนิ บ�ำรงุ ลกู เสอื ทล่ี กู เสอื ช�ำระเปน็ คา่ บ�ำรงุ ประจ�ำปี ๒. รายไดจ้ ากการบรจิ าคเปน็ เงนิ สนบั สนนุ กจิ กรรมลกู เสอื ในสถานศกึ ษา ๓. รายไดอ้ น่ื ๆ ที่ไมข่ ดั ตอ่ วัตถุประสงคข์ องคณะลูกเสือแห่งชาติ วัตถปุ ระสงคข์ องการเก็บเงินบ�ำรงุ ลกู เสือ การเกบ็ เงนิ บ�ำรุงลกู เสือตามระเบียบการเก็บเงนิ บ�ำรงุ ลูกเสอื มีวตั ถปุ ระสงค์ ในการจดั เก็บดังต่อไปนี้ ๑. เพือ่ ใหไ้ ด้เงินมาใชจ้ ่ายในกจิ การของลูกเสอื ๒. เพื่อให้ลูกเสือ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ และเจ้าหน้าท่ีลูกเสือทนุบ�ำรุง องคก์ ารของตนดว้ ยความเสียสละ ๓. เพ่ือฝึกอบรมลูกเสือให้รู้จักท�ำงานเพ่ือให้ได้มาด้วยน้�ำพักน้�ำแรงของ ตนเองโดยสจุ ริต เงนิ ค่าบ�ำรุงลกู เสอื เงินบ�ำรุงลูกเสือในสถานศึกษาได้แก่เงินค่าบ�ำรุงลูกเสือประจ�ำปีท่ีเก็บ จากลูกเสือ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ และเจ้าหน้าที่ลูกเสือ การเก็บและการแบ่งเงินบ�ำรุงลูกเสือให้ เปน็ ไปตามข้อบังคบั ส�ำนักงานลกู เสอื แห่งชาติ การหารายไดข้ องกองลกู เสือ จากข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๙ ข้อ ๒๘ กลุ่มหรือ กองลูกเสือสามารถหารายได้โดยชอบด้วยกฎหมายในจังหวัดของตน โดยได้รับอนุญาตจาก เลขาธิการส�ำนกั งานลูกเสือแห่งชาติ ผอู้ �ำนวยการลูกเสือจงั หวดั แล้วแต่กรณี การสั่งจา่ ยและการควบคุมเงนิ ลกู เสือ ใหเ้ ปน็ ไปตามข้อบังคบั ฯ 92 สารานุกรมลูกเสอื

๓. การบริหารงานด้านการปกครองลกู เสอื ๓.๑ วินัยลกู เสือ วินัยลูกเสือ หมายถึง แบบธรรมเนียมของลูกเสือท่ีก�ำหนดข้ึนเพื่อให้บรรดาลูกเสือ ปฏบิ ัติ หากบรรดาลกู เสอื ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ผตู้ รวจการลกู เสอื กรรมการลกู เสอื และเจา้ หนา้ ที่ ลกู เสอื พึงปฏิบัติตามวินัยและแบบธรรมเนียมของลูกเสอื โทษผดิ วนิ ยั มี ๓ สถาน คือ ๑. การตกั เตอื น คอื การวา่ กลา่ วใหร้ สู้ กึ ผดิ และชอบ การนจ้ี ะบนั ทกึ รวมเรอื่ ง ไวด้ ว้ ยกไ็ ด้ ๒. การท�ำโทษ คอื การใหท้ �ำการอยา่ งหนงึ่ อยา่ งใดสมควรแกค่ วามผดิ และวยั ของผู้รับโทษ เฉพาะการปลูกนสิ ยั ทด่ี ี ในท่ีนจ้ี ะบันทกึ รวมไวก้ ็ได้ ๓. การคดั ชอ่ื ออกจากทะเบยี น คอื การสง่ั ขาดจากการเปน็ ลกู เสอื “คดั ชอ่ื ออกจากทะเบยี น” จะลงโทษแก่ลกู เสือผ้ปู ระพฤตชิ ั่วร้ายแรง ส�ำหรับโทษท่ีจะลงแก่ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ผู้ตรวจการลูกเสือ กรรมการลูกเสือ และเจา้ หน้าที่ลูกเสือสถานใด ใหผ้ ูบ้ งั คับบญั ชาพจิ ารณาตามความเหมาะสม ๓.๒ การปกครองลูกเสือในกรงุ เทพมหานคร ๓.๒.๑ กองลูกเสือโรงเรยี นส่วนกลาง กองลกู เสอื โรงเรยี นรฐั บาลและโรงเรยี นเอกชน ทสี่ งั กดั สว่ นกลาง ใหข้ นึ้ ตรงตอ่ ส�ำนกั งานลกู เสือแหง่ ชาติ ๓.๒.๒ กองลูกเสอื สงั กัดกรุงเทพมหานคร กองลกู เสือโรงเรยี นสังกัดกรุงเทพมหานครใหข้ ้ึนตรงตอ่ กรุงเทพมหานคร ๓.๓ ระบบหมูก่ บั การปกครองลูกเสือ ระบบหมู่ การปฏิบัติการเก่ียวกับแผนการฝึกอบรมท่ีประสบความส�ำเร็จโดยสมบูรณ์ และก่อให้เกิดพัฒนาการในด้านบุคคลเป็นรายบุคคลในกองลูกเสือได้โดยอิสระได้นั้น ต้องอาศัย “ระบบหมู่” ระบบหมใู่ หโ้ อกาสคนหนมุ่ ไดเ้ ลอื กปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตามทต่ี นตอ้ งการ แตล่ ะหมู่ จะมนี ายหมเู่ ปน็ ผู้น�ำ รับผดิ ชอบในการวางแผนฝกึ อบรม และประสานงานรบั ผดิ ชอบในการท�ำงาน ในหมู่ของเขา ท�ำให้ทุกคนภายในหมูม่ ีส่วนรว่ มในการพัฒนาตนเองดว้ ย สารานกุ รมลกู เสอื 93

เกี่ยวกับการท�ำงานในหมู่ทั้งหลายในกองลูกเสือ ด�ำเนินการโดยที่ประชุม นายหมู่เปรียบเสมือนกับ “แกนกลาง” และเป็นชีวิตของกองลูกเสือ ท�ำหน้าที่ในการวางแผน การฝึกการจัดระเบียบ - การส่งเสริม - การช่วยให้กองลูกเสือกลายเป็น “ชุมชน” ที่ร่าเริงและ ดงึ ดดู ใจส�ำหรบั คนหนมุ่ หนา้ ทส่ี �ำคญั ของผกู้ �ำกบั ลกู เสอื คอื ชว่ ยใหเ้ กดิ การปฏบิ ตั ใิ นระบบหมู่ สามารถ ทจ่ี ะสนบั สนนุ นายหมใู่ นการด�ำเนินงานทเ่ี ขากระท�ำอย่ไู ด้ หมลู่ กู เสอื เปน็ หนว่ ยทเ่ี ลก็ ทส่ี ดุ ในกองลกู เสอื ลกู เสอื ส�ำรอง มจี �ำนวน ๔ - ๖ คน ลกู เสอื สามญั และลูกเสอื สามัญรุ่นใหญ่ มจี �ำนวนไม่น้อยกวา่ ๖ คน และไม่เกิน ๘ คน ส�ำหรบั ลกู เสอื วสิ ามญั มจี �ำนวน ๔ - ๖ คนก�ำหนดหนา้ ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบภายในหมเู่ ปน็ การถาวร ประกอบดว้ ย นายหมู่ และรองนายหมู่ ส่วนต�ำแหน่งอ่ืนสามารถแต่งต้ังได้ตามความเหมาะสม เช่น พลาธิการ หวั หน้าคนครวั ผู้ชว่ ยคนครวั คนหานำ�้ คนหาฟืน และผู้ชว่ ยเหลอื ทัว่ ไป ความจ�ำเปน็ ในเรือ่ งระบบหมู่ จะเหน็ ไดจ้ ากการจดั ตงั้ กล่มุ “เฉพาะกิจ” ขนึ้ เพอ่ื ความมงุ่ ประสงคโ์ ดยเฉพาะในการทจี่ ะไดป้ ระสบกบั ความตอ้ งการอนั จ�ำเปน็ ในการทจี่ ะไดจ้ ดั ใหม้ ี การศกึ ษาเป็นกรณพี เิ ศษขนึ้ ในเร่อื งนน้ั ๆ “ระบบหม่”ู ของลูกเสอื จึงเปน็ ความส�ำคญั เช่นเดียวกบั กล่มุ “เฉพาะกลมุ่ ” และเปน็ รากฐานถาวร ทส่ี รา้ งกองลกู เสือใหเ้ ปน็ ปึกแผน่ โดยมีนายหมู่เปน็ ผู้น�ำ จงึ ได้ก�ำหนดหนา้ ทขี่ องนายหมไู่ ว้ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. เปน็ สมาชกิ ทป่ี ระชมุ นายหมู่ เพอื่ รว่ มกนั ประชมุ พจิ ารณาในการด�ำเนนิ งาน ของกองลกู เสอื ๒. ในการประชมุ ประจ�ำสปั ดาห์นายหมจู่ ะตอ้ งเรยี นรู้ทราบเคา้ โครงของก�ำหนดการ และมสี ว่ นรบั ผิดชอบดว้ ย รวมไปถึงความรบั ผดิ ชอบทมี่ ีตอ่ สมาชกิ ภายในหมู่ของตนเองด้วย ๓. มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ ก�ำหนดการฝกึ อบรมเกยี่ วกบั กจิ กรรมของหมนู่ อกเหนอื จากก�ำหนดการฝกึ อบรมของกอง เชน่ การเดนิ ทางส�ำรวจและการไปเยยี่ มเยยี นอน่ื ๆ ในวนั สดุ สปั ดาห์ และความก้าวหน้าเป็นรายบุคคลของ การบรหิ ารงานของหมใู่ ชก้ ารประชมุ ภายในหมู่ (Patrol in Council) เปน็ เครอ่ื งมือในการบรหิ ารงานของหมู่ ระบบหมเู่ ปน็ โครงสรา้ งทแี่ นน่ อน ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งทจ่ี ะเปลยี่ นแปลงไปตามเหตกุ ารณ์ และความเหมาะสมซึ่งไม่สามารถจะท�ำเช่นนั้นได้ นายหมู่ลูกเสือจะต้องปฏิบัติหน้าที่ในฐานะ ผู้อาวโุ ส และท�ำหน้าทีฝ่ กึ อบรมลกู เสอื ภายในหม่ขู องตนด้วย ๓.๔ ระบบหมู่ลกู เสอื กบั การปกครองนักเรียนในโรงเรียน เพอื่ ใหก้ ารพฒั นาระเบยี บวนิ ยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องเริ่มท่ีห้องเรียน ซึ่งนักเรียน 94 สารานุกรมลูกเสอื

แต่ละห้องมีจ�ำนวนมาก ถ้าจะท�ำให้การปฏิบัติกิจกรรมเป็นไปตามวิธีการปฏิบัติของระบบหมู่ คล้ายกันกับการบริหารงานปกครองลูกเสือ ท่ีใช้ระบบหมู่เป็นเครื่องมือ จ�ำเป็นต้องจัดนักเรียน เป็นระบบหมู่โดยการจัดท�ำคู่มือปฏิบัติกิจกรรมการปกครองนักเรียนด้วยระบบหมู่ มีแนวทาง ในการปฏบิ ตั ิ เชน่ แนวปฏบิ ตั กิ ารปรบั พฤตกิ รรมนกั เรยี นในหอ้ งเรยี น แนวปฏบิ ตั กิ ารปรบั พฤตกิ รรม นักเรียนท่ีมีพฤติกรรมการเสพสารเสพติด แนวปฏิบัติการปรับพฤติกรรมนักเรียนที่มีพฤติกรรม ชู้สาว แนวปฏิบัติการปรับพฤติกรรมนักเรียนท่ีมีพฤติกรรมการทะเลาะวิวาท และแนวปฏิบัติการ ปรบั พฤตกิ รรมนักเรยี นทีม่ พี ฤตกิ รรมการเสพสื่อลามก ๓.๔.๑ แนวปฏบิ ัติการปรบั พฤตกิ รรมนักเรียนในห้องเรยี น แนวปฏิบัตสิ �ำหรบั การปรบั พฤตกิ รรมลูกเสือในห้องเรยี น สมดุ บันทกึ พฤตกิ รรม ผกู้ �ำกบั กองลูกเสอื บนั ทกึ หวั หนา้ นายหม่ทู �ำสถิติ อ.ประจ�ำวิชาบนั ทึก ส่งฝ่ายปกครอง 09.00 น. หัวหน้านายหมนู่ �ำสง่ ผกู้ �ำกบั เวรประตู เวรประตู ผู้ก�ำกับกองพจิ ารณาแกป้ ัญหา บนั ทึกพฤติกรรม บันทกึ พฤติกรรม NO IF YES บันทึกขอ้ มลู ลง ผ้กู �ำกับกองรายงาน ลงโทษ รองผ้อู �ำนวยการ ลส. ผู้ก�ำกบั กลุ่มพิจารณาลงโทษ อบรมตักเตือน พจิ ารณาด�ำเนินการ NO IF YES ลงโทษ รายงานผลการ กรรมการกลมุ่ พิจารณา ราย ร้าย ไมร่ ้าย อบรมตักเตือน พิจารณาลง ลงโทษ เชญิ ผู้ปกครอง แจ้งผู้ปกครอง ด�ำเนนิ การตามแนวปฏิบตั ิ ของฝา่ ยปกครอง สารานกุ รมลกู เสอื 95

๓.๔.๒ แนวปฏิบัตกิ ารปรับพฤติกรรมนักเรยี นทม่ี ีพฤตกิ รรมการเสพสารเสพตดิ แนวปฏิบตั กิ ารปรบั พฤติกรรมลกู เสอื ทม่ี ีพฤติกรรมการเสพสารเสพติด ลูกเสอื คร-ู อาจารย์ทุกท่านท่พี บสอบสวน เชิญผปู้ กครองมารับทราบ บันทึกการพบผ้ปู กครอง YES IF NO ผกู้ �ำกับกองสอบสวน บนั ทกึ ยนื ยันความผิดของนกั เรียน YES IF NO รายงานผูก้ �ำกับกลุ่ม ผ้กู �ำกบั กลุ่มพจิ ารณา ลงโทษตามระเบยี บ YES IF NO รายงานผู้ก�ำกบั กลมุ่ บนั ทกึ ทะเบยี น บนั ทกึ ลง แนะแนวศกึ ษารายกรณี ผกู้ �ำกับกลุ่มพจิ ารณาผลจาก พฤตกิ รรม computer แนะแนว YES IF NO แจง้ ผู้ปกครองทราบ รายงานเพอื่ ทราบ สารวัตรนักเรียนสอบสวน รองผอู้ �ำนวยการ ลส. พจิ ารณา ผปู้ กครองรว่ มพจิ ารณา ผอู้ �ำนวยการ ลส. YES IF NO บนั ทกึ การพบผู้ปกครอง พิจารณาสัง่ การ รายงานการพจิ ารณา รองผูอ้ �ำนวยการ ลส. พจิ ารณา กรรมการกลุ่มพจิ ารณา น�ำเสนอเพ่อื โปรดพจิ ารณา YES IF รายงานเสนอ รองผ้อู �ำนวยการ ลส. NO 96 สารานุกรมลกู เสอื

๓.๔.๓ แนวปฏบิ ัตกิ ารปรับพฤตกิ รรมนกั เรยี นทม่ี ีพฤตกิ รรมชู้สาว แนวปฏบิ ัตกิ าารปรบั พฤติกรรมลูกเสอื ทีม่ ีพฤตกิ รรมการชู้สาว ลูกเสอื ครู-อาจารยท์ กุ ท่านท่ีพบสอบสวน เชญิ ผู้ปกครองมารับทราบ บนั ทกึ การพบผู้ปกครอง YES IF NO ผกู้ �ำกับกองสอบสวน บันทกึ ยนื ยนั ความผดิ ของนักเรยี น YES IF NO รายงานผกู้ �ำกบั กลุ่ม ผู้ก�ำกบั กลมุ่ พิจารณา ลงโทษตามระเบยี บ YES IF NO รายงานผู้ก�ำกับกลมุ่ บนั ทกึ ทะเบยี น บนั ทกึ ลง แนะแนวศึกษารายกรณี ผ้กู �ำกับกลมุ่ พจิ ารณาผลจาก พฤตกิ รรม computer แนะแนว YES IF NO แจ้งผู้ปกครองทราบ รายงานเพ่ือทราบ สารวตั รนกั เรียนสอบสวน รองผ้อู �ำนวยการ ลส. พจิ ารณา ผ้อู �ำนวยการ ลส. ผู้ปกครองร่วมพจิ ารณา บนั ทึกการพบผู้ปกครอง พจิ ารณาสง่ั การ YES IF NO น�ำเสนอเพือ่ โปรดพจิ ารณา รายงานการพจิ ารณา กรรมการกลุม่ พจิ ารณา YES IF รองผู้อ�ำนวยการ ลส. รองผ้อู �ำนวยการ ลส. พิจารณา รายงานเสนอ NO สารานกุ รมลกู เสอื 97

๓.๔.๔ แนวปฏบิ ัตกิ ารปรับพฤติกรรมนกั เรียนทีม่ ีพฤติกรรมการทะเลาะววิ าท แนวปฏบิ ัติกาารปรบั พฤตกิ รรมลกู เสือที่มพี ฤตกิ รรมการทะเลาะววิ าท ลกู เสอื คร-ู อาจารย์ทุกทา่ นทพี่ บสอบสวน เชญิ ผูป้ กครองมารับทราบ บันทึกการพบผูป้ กครอง YES IF NO ผกู้ �ำกบั กองสอบสวน บันทกึ ยืนยันความผิดของนักเรียน YES IF NO รายงานผูก้ �ำกบั กลมุ่ ผ้กู �ำกับกลมุ่ พจิ ารณา ลงโทษตามระเบยี บ YES IF NO รายงานผู้ก�ำกบั กลมุ่ บนั ทกึ ทะเบยี น บนั ทกึ ลง แนะแนวศกึ ษารายกรณี ผู้ก�ำกบั กลมุ่ พจิ ารณาผลจาก พฤตกิ รรม computer แนะแนว YES IF NO แจง้ ผ้ปู กครองทราบ รายงานเพอ่ื ทราบ ผ้อู �ำนวยการ ลส. สารวตั รนกั เรยี นสอบสวน รองผ้อู �ำนวยการ ลส. พจิ ารณา พิจารณาส่งั การ YES IF NO ผ้ปู กครองร่วมพจิ ารณา บนั ทึกการพบผ้ปู กครอง น�ำเสนอเพ่อื โปรดพิจารณา รายงานการพจิ ารณา กรรมการกลุ่มพจิ ารณา YES IF รองผู้อ�ำนวยการ ลส. รองผอู้ �ำนวยการ ลส. พจิ ารณา รายงานเสนอ NO 98 สารานกุ รมลกู เสอื

๓.๔.๕ แนวปฏบิ ัตกิ ารปรบั พฤตกิ รรมนกั เรยี นท่ีมีพฤตกิ รรมการเสพสอื่ ลามก แนวปฏบิ ตั กิ าารปรบั พฤตกิ รรมลูกเสือทม่ี ีพฤติกรรมการเสพสื่อลามก ลกู เสอื คร-ู อาจารย์ทุกท่านทพ่ี บสอบสวน เชิญผู้ปกครองมารับทราบ บนั ทึกการพบผปู้ กครอง YES IF NO ผกู้ �ำกับกองสอบสวน บนั ทึกยนื ยันความผิดของนกั เรียน YES IF NO รายงานผกู้ �ำกับกล่มุ ลงโทษตามระเบยี บ ผูก้ �ำกบั กลมุ่ พจิ ารณา YES IF NO รายงานผู้ก�ำกบั กลุ่ม บนั ทกึ ทะเบยี น บนั ทกึ ลง พฤตกิ รรม computer แจ้งผูป้ กครองทราบ แนะแนวศกึ ษารายกรณี ผู้ก�ำกับกลุ่มพจิ ารณาผลจาก แนะแนว YES IF NO รายงานเพอ่ื ทราบ ผอู้ �ำนวยการ ลส. สารวตั รนักเรยี นสอบสวน รองผู้อ�ำนวยการ ลส. พิจารณา พจิ ารณาส่ังการ YES IF NO ผูป้ กครองร่วมพจิ ารณา บันทึกการพบผปู้ กครอง น�ำเสนอเพ่อื โปรดพิจารณา รายงานการพจิ ารณา กรรมการกล่มุ พจิ ารณา รองผู้อ�ำนวยการ ลส. พิจารณา YES IF รองผอู้ �ำนวยการ ลส. รายงานเสนอ NO สารานกุ รมลกู เสอื 99

๓.๕ การแต่งกายของลูกเสือ ๓.๕.๑ เครื่องแบบลกู เสอื ส�ำรอง ๓.๕.๑.๑ เครอื่ งแบบลูกเสือส�ำรองเหลา่ เสนา ดาวดวงที่ ๑ ดาวดวงท่ี ๒ ดาวดวงท่ี ๓ หมวก ผ้าผกู คอ (ติดเคร่ืองหมายจังหวัด) เครอ่ื งหมายลกู เสอื สมั พันธ์ สายนกหวีด ช่อื กลุม่ /กอง เครื่องหมายประจ�ำการ เลขกลุ่ม/กอง เครื่องหมายหมู่ ป้ายชอ่ื เคร่อื งหมายลูกเสอื ส�ำรอง เครอ่ื งหมายวิชาพเิ ศษ เครือ่ งหมายนายหมู่/รอง เข็มขดั เสือ้ กางเกง นายหมู่และรองนายหมู่ ต้องมีสายนกหวดี สเี หลอื ง ถุงเทา้ รองเทา้ ตัวอยา่ งเคร่อื งหมายหมู่ 100 สารานุกรมลกู เสือ

๓.๕.๒ เคร่อื งแบบลกู เสือสามญั ๓.๕.๒.๑ เคร่อื งแบบลกู เสอื สามัญเหล่าเสนา ชอ่ื กลมุ่ /กอง หมวก เลขกลมุ่ /กอง ผ้าผกู คอ (ติดเครื่องหมายจังหวดั ) สายนกหวดี (เฉพาะนายหม่แู ละรองนายหม่)ู เครอื่ งหมายวิชาพิเศษ เครือ่ งหมายประจ�ำการ ป้ายช่ือ เครอ่ื งหมายหมู่ เข็มขัด เครื่องหมายลูกเสอื โท/เอก (กวา้ ง ๓ ซ.ม.) เครื่องหมายนายหมู่/รอง เครอ่ื งหมายลกู เสอื ตรี ถงุ เทา้ เสือ้ กางเกง นายหมูแ่ ละรองนายหมู่ ตอ้ งมีสายนกหวีดสีเหลือง รองเท้า ตัวอยา่ งเครื่องหมายหม ู่ ตวั อย่างธงประจ�ำหมู่ หมู่จระเข ้ หมู่คา้ งคาว หมูห่ มี หมู่นกกระยาง หมู่เหยี่ยวชวา หม่วู วั กระทิง สารานกุ รมลูกเสือ 101

๓.๕.๒.๒ เครือ่ งแบบลูกเสอื สามัญเหลา่ สมทุ ร (เครื่องแบบสกี ากี) ชื่อกลุ่ม/กอง หมวก เลขกลุ่ม/กอง ผ้าผกู คอ ป้ายช่ือ สายนกหวดี (เฉพาะนายหมู่ และรองนายหม)ู่ เคร่ืองหมายวิชาพเิ ศษ เครื่องหมายประจ�ำการ เครอ่ื งหมายหมู่ เครอ่ื งหมายลกู เสอื โท/เอก เขม็ ขัด เคร่อื งหมายลูกเสอื ตรี (กวา้ ง ๓ ซ.ม.) เครื่องหมายนายหมู่/รอง เสอื้ ถงุ เทา้ กางเกง รองเท้า นายหม่แู ละรองนายหมู่ ต้องมสี ายนกหวดี สีเหลอื ง ตัวอย่างเคร่ืองหมายหม ู่ ตวั อย่างธงประจ�ำหมู่ หมู่ ร.ล.ศรวรุณ หมู่ ร.ล. ขจรชลธี หมู่ ร.ล.ตะเวนวาร ี หมู่ ร.ล.เทียวอทุ ก 102 สารานกุ รมลูกเสือ

เคร่ืองแบบลกู เสือสามัญเหลา่ สมทุ ร (เครือ่ งแบบสีขาว) ชอ่ื กล่มุ /กอง หมวก ผา้ ผกู คอ เลขกลมุ่ /กอง สายนกหวดี (เฉพาะนายหมู่ และรองนายหม)ู่ เคร่ืองหมายประจ�ำการ ป้ายชอื่ เคร่อื งหมายหมู่ เครือ่ งหมายวชิ าพิเศษ เครอ่ื งหมายลกู เสือโท/เอก เครื่องหมายลกู เสือตรี เครื่องหมายนายหม/ู่ รอง เข็มขัด เสือ้ (กวา้ ง ๓ ซ.ม.) กางเกง ถงุ เทา้ รองเท้า นายหมู่และรองนายหมู่ ตอ้ งมีสายนกหวีดสขี าว ตัวอย่างธงประจ�ำหมู่ ตัวอย่างเคร่อื งหมายหม ู่ หมู่ ร.ล.ศรวรุณ หมู่ ร.ล. ขจรชลธ ี หมู่ ร.ล.ตะเวนวารี หมู่ ร.ล.เทียวอทุ ก สารานุกรมลกู เสอื 103

๓.๕.๒.๓ เคร่อื งแบบลูกเสือสามญั เหลา่ อากาศ ชื่อกลมุ่ /กอง หมวก เลขกลุ่ม/กอง ผา้ ผูกคอ (ตดิ เครอ่ื งหมายจังหวดั ) เครอื่ งหมายวิชาพเิ ศษ สายนกหวดี (เฉพาะนายหมแู่ ละรองนายหม)ู่ ปา้ ยช่อื เครอื่ งหมายหมู่ (ใช้ในปัจจบุ ัน) เขม็ ขัด เครือ่ งหมายประจ�ำการ (กว้าง ๓ ซ.ม.) เครอื่ งหมายลูกเสือโท/เอก เครือ่ งหมายลูกเสือตรี เคร่ืองหมายนายหมู่/รอง เส้อื กางเกง นายหม่แู ละรองนายหมู่ ตอ้ งมสี ายนกหวีดสีเหลือง ถุงเทา้ รองเท้า ตัวอยา่ งเครื่องหมายหมู่ ตัวอย่างธงประจ�ำหมู่ หมอู่ าทติ ย ์ หมู่ดวงจันทร์ หมดู่ าวอังคาร หม่ดู าวพุธ 104 สารานกุ รมลูกเสือ

๓.๕.๓ เคร่ืองแบบลกู เสือสามญั รนุ่ ใหญ่ ๓.๕.๓.๑ เคร่ืองแบบลกู เสือสามัญรุ่นใหญเ่ หลา่ เสนา อินทรธนสู เี ลอื ดหมู หมวก ผา้ ผกู คอ (ติดเครือ่ งหมายจงั หวดั ) ช่อื กลมุ่ /กอง สายนกหวดี (เฉพาะนายหมแู่ ละรองนายหม)ู่ เคร่ืองหมายหมู่ เลขกลมุ่ /กอง เคร่อื งหมายประจ�ำการ เคร่อื งหมายลกู เสือโลก เครอื่ งหมายภาษาตา่ งประเทศ เครอื่ งหมายนายหม/ู่ รอง เคร่อื งหมายวิชาพเิ ศษ เสื้อ กางเกง ป้ายชอ่ื นายหมแู่ ละรองนายหมู่ เขม็ ขัด ตอ้ งมีสายนกหวดี สเี หลือง (กวา้ ง ๓ ซ.ม.) ตัวอยา่ งธงประจ�ำหมู่ พสู่ เี ลอื ดหมู ถุงเท้า รองเท้า ตัวอยา่ งเคร่ืองหมายหมู่ หม่ศู รีอินทราทติ ย์ หมรู่ ามค�ำ แหง หมอู่ ทู่ อง หมู่บรมไตรโลกนาถ หมูศ่ รีอนิ ทราทติ ย์ หม่รู ามค�ำ แหง สารานุกรมลูกเสือ 105

๓.๕.๓.๒ เครอื่ งแบบลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญเ่ หลา่ สมทุ ร (เครอื่ งแบบสกี าก)ี ชอ่ื กลมุ่ /กอง หมวก เลขกล่มุ /กอง ผ้าผกู คอ ปา้ ยช่ือ สายนกหวดี (เฉพาะนายหมแู่ ละรองนายหม)ู่ เครือ่ งหมายหมู่ เคร่อื งหมายวิชาพเิ ศษ เครอ่ื งหมายประจ�ำการ เครือ่ งหมายลูกเสือโลก เข็มขัด เคร่ืองหมายนายหมู่/รอง (กว้าง ๓ ซ.ม.) เสือ้ กางเกง พูส่ ีเลอื ดหมู นายหมูแ่ ละรองนายหมู่ ถงุ เทา้ ตอ้ งมีสายนกหวีดสเี หลอื ง รองเท้า ตัวอย่างธงประจ�ำหมู่ ตวั อย่างเครอ่ื งหมายหม ู่ หมู่ ร.ล.สุโขทัย หมู่ ร.ล.ศรีอยุธยา หมู่ ร.ล.ธนบุรี หมู่ ร.ล.รัตนโกสินทร์ 106 สารานกุ รมลูกเสอื

เครื่องแบบลูกเสอื สามัญรุ่นใหญ่เหลา่ สมทุ ร (เครื่องแบบสีขาว) ชื่อกลุ่ม/กอง หมวก เลขกลุม่ /กอง ผา้ ผกู คอ ปา้ ยชอื่ เครอ่ื งหมายวชิ าพิเศษ สายนกหวดี (เฉพาะนายหมแู่ ละรองนายหม)ู่ เคร่ืองหมายหมู่ เขม็ ขัด เครอื่ งหมายประจ�ำการ (กว้าง ๓ ซ.ม.) เคร่อื งหมายลกู เสือโลก เครือ่ งหมายนายหมู่/รอง เสอื้ กางเกง พ่สู เี ลือดหมู นายหมแู่ ละรองนายหมู่ ต้องมสี ายนกหวดี สขี าว ถุงเท้า ตวั อยา่ งธงประจ�ำหมู่ รองเท้า ตัวอย่างเคร่ืองหมายหมู่ หมู่ ร.ล.สุโขทัย หมู่ ร.ล.ศรีอยธุ ยา หมู่ ร.ล.ธนบรุ ี หมู่ ร.ล.รัตนโกสนิ ทร์ สารานกุ รมลูกเสือ 107

๓.๕.๓.๓ เครื่องแบบลกู เสอื สามัญรนุ่ ใหญเ่ หล่าอากาศ อนิ ทรธนูสีเลือดหม ู หมวก ผ้าผกู คอ (ตดิ เครื่องหมายจงั หวดั ) มอี ักษร *ล.ญ* สายนกหวีด (เฉพาะนายหม่แู ละรองนายหม)ู่ เครื่องหมายหมู่ ชอื่ กลุ่ม/กอง เครอื่ งหมายประจ�ำการ เลขกลุ่ม/กอง เครอ่ื งหมายลกู เสือโลก เครอ่ื งหมายภาษาตา่ งประเทศ เครื่องหมายนายหมู/่ รอง เครือ่ งหมายวิชาพเิ ศษ เครือ่ งหมายลูกเสอื ช้นั พเิ ศษ/ลูกเสือหลวง เสือ้ ปา้ ยชอ่ื กางเกง เข็มขัด นายหมแู่ ละรองนายหมู่ (กวา้ ง ๓ ซ.ม.) ต้องมีสายนกหวีดสเี หลือง พ่สู เี ลอื ดหมู ตวั อย่างธงประจ�ำหมู่ ถงุ เทา้ รองเท้า ตวั อยา่ งเครอ่ื งหมายหม ู่ หมเู่ บรเกต์ บ.ท.๑ หมนู่ เิ ออรป์ อรต์ บ.ข.๑ หมสู่ ปดั บ.ข.๓ หมแู่ ฟนทอม หมฟู่ รดี อมไฟเตอร์ 108 สารานุกรมลูกเสอื

๓.๕.๔ เครอื่ งแบบลูกเสอื วสิ ามัญ ๓.๕.๔.๑ เคร่อื งแบบลูกเสือวิสามัญเหล่าเสนา อนิ ทรธนูสีเขียว หมวก ผา้ ผูกคอ (ตดิ เครือ่ งหมายจงั หวัด) มอี ักษร *ล.ว.* เคร่อื งหมายวิชาพิเศษ สายนกหวดี (เฉพาะนายหมู่และรองนายหมู)่ ชือ่ กลมุ่ /กอง เครอ่ื งหมายชั้น เลขกลุ่ม/กอง เครอ่ื งหมายประจ�ำการ เคร่อื งหมายวชิ าพเิ ศษ เครอ่ื งหมายลกู เสือโลก เครื่องหมายนายหม่/ู รอง ปา้ ยช่อื เส้อื เขม็ ขัด กางเกง (กว้าง ๓ ซ.ม.) พสู่ แี ดง นายหมู่และรองนายหมู่ ตอ้ งมสี ายนกหวดี สเี หลือง ถุงเทา้ ตวั อย่างธงประจ�ำหมู่ รองเทา้ ลกู เสอื วิสามัญเหล่าเสนาไม่มีเครอ่ื งหมายหมู่ แต่ใช้การเรยี กชอื่ หมู่ เชน่ “หมู่ ๑” “หมู่ ๒” สารานุกรมลกู เสอื 109

๓.๕.๔.๒ เครือ่ งแบบลกู เสอื วิสามญั เหล่าสมุทร (เครอ่ื งแบบสกี าก)ี สายนกหวดี หมวก (เฉพาะนายหมแู่ ละรองนายหมู)่ ผา้ ผกู คอ เครอ่ื งหมายประจ�ำการ ชื่อกลุ่ม/กอง เครื่องหมายชน้ั เลขกลมุ่ /กอง เคร่ืองหมายลูกเสอื โลก ปา้ ยช่อื เคร่ืองหมายนายหม่/ู รอง เส้ือ กางเกง เขม็ ขดั (กว้าง ๓ ซ.ม.) นายหมู่และรองนายหมู่ ตอ้ งมสี ายนกหวดี สเี หลือง พู่สีแดง ตัวอย่างธงประจ�ำหมู่ ถงุ เท้า ร องเทา้ ตวั อย่างเครือ่ งหมายหม ู่ หมู่ ร.ล.เจนทะเล หมู่ ร.ล.ทนทะเล หมู่ ร.ล.ลิว่ ทะเล 110 สารานุกรมลูกเสอื

เครื่องแบบลูกเสือวสิ ามัญเหล่าสมุทร (เคร่อื งแบบสีขาว) สายนกหวดี หมวก ผา้ ผกู คอ (เฉพาะนายหมแู่ ละรองนายหม)ู่ เครื่องหมายประจ�ำการ เครอ่ื งหมายชั้น ชอ่ื กลุ่ม/กอง เครอ่ื งหมายลกู เสอื โลก เลขกลมุ่ /กอง เคร่ืองหมายนายหมู/่ รอง ป้ายชือ่ เสือ้ กางเกง เขม็ ขัด นายหมแู่ ละรองนายหมู่ (กวา้ ง ๓ ซ.ม.) ตอ้ งมีสายนกหวีดสขี าว พู่สแี ดง ตัวอยา่ งธงประจ�ำหมู่ ถงุ เทา้ รองเทา้ ตัวอย่างเครื่องหมายหมู่ หมู่ ร.ล.เจนทะเล หมู่ ร.ล.ทนทะเล หมู่ ร.ล.ลิ่วทะเล สารานุกรมลูกเสอื 111

๓.๕.๔.๓ เครื่องแบบลูกเสอื วิสามัญเหลา่ อากาศ อินทรธนูสเี ขยี ว หมวก ผ้าผกู คอ (ตดิ เครื่องหมายจังหวัด) มอี ักษร *ล.ญ* สายนกหวีด (เฉพาะนายหมู่และรองนายหม่)ู เครอ่ื งหมายชั้น ช่ือกลุ่ม/กอง เครอื่ งหมายประจ�ำการ เลขกลมุ่ /กอง เครื่องหมายลูกเสอื โลก เคร่อื งหมายนายหม/ู่ รอง เคร่อื งหมายวิชาพิเศษ เสอ้ื ปา้ ยชื่อ กางเกง เขม็ ขัด นายหมู่และรองนายหมู่ (กว้าง ๓ ซ.ม.) ต้องมสี ายนกหวดี สีเหลอื ง พ่สู แี ดง ตัวอย่างธงประจ�ำหมู่ ถงุ เท้า รองเท้า ตวั อย่างเครอื่ งหมายหมู่ หมู่ชิปมนั ต ์ หม่มู าเกตต ี้ หมู่แอรเ์ ทรนเนอร์ 112 สารานกุ รมลกู เสอื

๓.๕.๕ เครอ่ื งแบบผบู้ ังคับบญั ชาลกู เสือส�ำรอง ๓.๕.๕.๑ เคร่ืองแบบผู้บงั คบั บญั ชาลกู เสือส�ำรองเหลา่ เสนา (ชาย) ชื่อกลมุ่ /กอง หมวก เลขกลุ่ม/กอง (ทรงออ่ น หรอื หมวกปีกกวา้ ง) ผา้ ผูกคอ (ตดิ เคร่อื งหมายจงั หวดั ) ป้ายชื่อ สายนกหวีด เครอื่ งหมายต�ำแหนง่ เขม็ ขดั เส้อื (กว้าง ๔ ซ.ม.) กางเกง พ่สู ีเขียว เครื่องหมายต�ำแหนง่ มอี กั ษร ล ร ผกู้ �ำกับพื้นสีเขียว รองผ้กู �ำกับพ้นื สีแแดง ถุงเท้า รองเท้า สารานกุ รมลูกเสือ 113

๓.๕.๕.๒ เครื่องแบบผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ส�ำรองเหลา่ เสนา (หญิง) ช่อื กล่มุ /กอง หมวก เลขกลุ่ม/กอง (ทรงออ่ น หรือหมวกปีกกวา้ ง) ผา้ ผกู คอ (ตดิ เคร่อื งหมายจังหวัด) ปา้ ยชือ่ สายนกหวีด เครื่องหมายต�ำแหนง่ เส้อื เขม็ ขัด (กว้าง ๓ ซ.ม.) กระโปรง เคร่อื งหมายต�ำแหนง่ มีอกั ษร ล ร ผกู้ �ำกบั พื้นสีเขยี ว รองผ้กู �ำกบั พื้นสีแแดง ถงุ เท้า รองเทา้ 114 สารานกุ รมลกู เสือ

๓.๕.๖ เครือ่ งแบบผู้บังคับบญั ชาลูกเสอื สามญั ๓.๕.๖.๑ เครอ่ื งแบบผูบ้ ังคบั บัญชาลกู เสือสามัญเหลา่ เสนา (ชาย) ชอื่ กลมุ่ /กอง หมวก เลขกลุ่ม/กอง (ทรงอ่อน หรอื หมวกปกี กว้าง) ผา้ ผกู คอ (ตดิ เครือ่ งหมายจงั หวดั ) ป้ายชือ่ สายนกหวดี เคร่ืองหมายต�ำแหน่ง เข็มขดั เสือ้ (กว้าง ๔ ซ.ม.) กางเกง พู่สเี ขียว เคร่อื งหมายต�ำแหน่ง ผกู้ �ำกบั พ้ืนสีเขียว รองผู้ก�ำกับพื้นสีแแดง ถงุ เท้า รองเท้า สารานกุ รมลกู เสอื 115

๓.๕.๖.๒ เคร่อื งแบบผบู้ ังคบั บัญชาลูกเสือสามญั เหลา่ เสนา (หญงิ ) ชอ่ื กลมุ่ /กอง หมวก เลขกลุ่ม/กอง (ทรงอ่อน หรือหมวกปีกกว้าง) ป้ายช่ือ ผา้ ผกู คอ (ติดเครือ่ งหมายจงั หวัด) เคร่อื งหมายต�ำแหน่ง สายนกหวีด เขม็ ขัด เส้อื (กวา้ ง ๓ ซ.ม.) กระโปรง ถุงเทา้ เคร่ืองหมายต�ำแหนง่ ผ้กู �ำกบั พ้นื สีเขยี ว รองเท้า รองผกู้ �ำกบั พน้ื สแี แดง 116 สารานุกรมลูกเสอื

๓.๕.๖.๓ เคร่ืองแบบผูบ้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื สามญั เหลา่ สมทุ ร (ชาย) เคร่ืองแบบสกี ากี ช่ือกลมุ่ /กอง หมวก เลขกลุ่ม/กอง (ทรงหมอ้ ตาล) เครอ่ื งหมายจงั หวดั สายนกหวีด ปา้ ยช่อื เสอ้ื เครอื่ งหมายต�ำแหน่ง กางเกง เขม็ ขัด เคร่อื งหมายต�ำแหนง่ (กวา้ ง ๔ ซ.ม.) ผกู้ �ำกบั พน้ื สีเขยี ว รองผู้ก�ำกับพืน้ สแี แดง พสู่ เี ขียว ถงุ เท้า รองเท้า สารานุกรมลกู เสือ 117

๓.๕.๖.๔ เครื่องแบบผูบ้ ังคับบัญชาลูกเสอื สามญั เหลา่ สมุทร (ชาย) เครื่องแบบสขี าว ชือ่ กลมุ่ /กอง หมวก เลขกล่มุ /กอง (ทรงหมอ้ ตาล) เครื่องหมายจังหวัด สายนกหวดี ป้ายช่อื เส้อื เครอ่ื งหมายต�ำแหน่ง กางเกง เข็มขดั (กวา้ ง ๔ ซ.ม.) เคร่อื งหมายต�ำแหนง่ ผกู้ �ำกับพื้นสีเขยี ว พสู่ ีเขยี ว รองผกู้ �ำกับพืน้ สีแแดง ถุงเทา้ รองเทา้ 118 สารานกุ รมลูกเสอื

๓.๕.๖.๕ เครอื่ งแบบผูบ้ งั คับบัญชาลูกเสอื สามญั เหลา่ อากาศ (ชาย) เครื่องหมายแสดงคุณวฒุ ิ หมวก เหล่าอากาศ (ทรงออ่ น) ผ้าผกู คอ (ติดเครอื่ งหมายจงั หวดั ) ช่ือกลมุ่ /กอง สายนกหวีด เลขกลมุ่ /กอง เส้ือ ป้ายชอ่ื เครอ่ื งหมายต�ำแหนง่ กางเกง เขม็ ขัด (กวา้ ง ๔ ซ.ม.) เคร่ืองหมายต�ำแหน่ง ผู้ก�ำกบั พืน้ สีเขยี ว พสู่ ีเขียว รองผู้ก�ำกบั พ้นื สีแแดง ถงุ เทา้ รองเทา้ สารานุกรมลกู เสือ 119

๓.๕.๗ เคร่อื งแบบผ้บู ังคบั บญั ชาลกู เสอื สามัญรนุ่ ใหญ่ ๓.๕.๗.๑ ผบู้ ังคับบญั ชาลูกเสือสามญั รนุ่ ใหญเ่ หลา่ เสนา (ชาย) อนิ ทรธนูสเี ลอื ดหมู หมวก ช่ือกลมุ่ /กอง (ทรงอ่อน) เลขกลมุ่ /กอง ผ้าผูกคอ (ตดิ เครอ่ื งหมายจังหวดั ) สายนกหวีด ปา้ ยชือ่ เส้ือ เคร่ืองหมายต�ำแหน่ง (กว้าง ๔เขซ็ม.มข.ัด) กางเกง พู่สเี ลอื ดหมู เครือ่ งหมายต�ำแหน่ง ถงุ เทา้ มีอกั ษร ล ญ รองเทา้ ผกู้ �ำกบั พ้ืนสีเขยี ว รองผกู้ �ำกบั พืน้ สแี แดง 120 สารานุกรมลูกเสอื

๓.๕.๗.๒ ผ้บู งั คบั บญั ชาลูกเสอื สามญั รนุ่ ใหญ่เหล่าเสนา (หญิง) อินทรธนูสเี ลือดหมู หมวก ชอื่ กลุ่ม/กอง (ทรงอ่อน) เลขกลุม่ /กอง ผา้ ผกู คอ (ตดิ เครอื่ งหมายจังหวัด) สายนกหวีด ปา้ ยชือ่ เสือ้ เครอ่ื งหมายต�ำแหนง่ (กวา้ ง ๓ เขซม็ .มข.ัด) กระโปรง เครื่องหมายต�ำแหนง่ มอี กั ษร ล ญ ถงุ เทา้ ผูก้ �ำกบั พน้ื สเี ขียว รองเท้า รองผกู้ �ำกับพืน้ สแี แดง สารานุกรมลกู เสอื 121

๓.๕.๗.๓ ผบู้ ังคบั บญั ชาลกู เสอื สามัญรุน่ ใหญเ่ หล่าสมทุ ร เครอ่ื งแบบสกี ากี ชอ่ื กลมุ่ /กอง หมวก เลขกล่มุ /กอง (ทรงหม้อตาล) เครื่องหมายจังหวัด สายนกหวดี ปา้ ยชอ่ื เสอ้ื เคร่ืองหมายต�ำแหน่ง กางเกง เข็มขดั เครอ่ื งหมายต�ำแหนง่ (กวา้ ง ๔ ซ.ม.) มอี ักษร ล ญ ผ้กู �ำกบั พ้ืนสีเขียว พสู่ เี ลอื ดหมู รองผกู้ �ำกบั พ้นื สีแแดง ถุงเท้า รองเทา้ 122 สารานกุ รมลูกเสอื

๓.๕.๗.๔ ผู้บังคบั บญั ชาลกู เสือสามญั รุ่นใหญเ่ หลา่ สมทุ ร (เคร่ืองแบบสขี าว) ช่ือกลมุ่ /กอง หมวก เลขกลุม่ /กอง (ทรงหม้อตาล) เครื่องหมายจังหวัด สายนกหวดี ปา้ ยชอ่ื เส้ือ เครื่องหมายต�ำแหน่ง กางเกง เขม็ ขัด เครื่องหมายต�ำแหนง่ (กว้าง ๔ ซ.ม.) มอี ักษร ล ญ ผูก้ �ำกบั พนื้ สเี ขยี ว พู่สเี ลือดหมู รองผกู้ �ำกบั พื้นสแี แดง ถงุ เท้า รองเทา้ สารานุกรมลูกเสอื 123

๓.๕.๗.๕ ผู้บงั คับบัญชาลูกเสือสามญั รนุ่ ใหญ่เหล่าอากาศ อินทรธนูสเี ลือดหมู หมวก เคร่ืองหมายแสดงคุณวฒุ ิ (ทรงออ่ น) ชเห่อื ลก่าลอุม่ า/กกาอศง ผา้ ผูกคอ (ตดิ เคร่อื งหมายจังหวัด) เลขกลุ่ม/กอง สายนกหวดี ปา้ ยชอ่ื เคร่ืองหมายต�ำแหน่ง เสื้อ เขม็ ขัด กางเกง (กวา้ ง ๔ ซ.ม.) เครอ่ื งหมายต�ำแหน่ง มอี กั ษร ล ญ ผู้ก�ำกบั พ้ืนสีเขยี ว พูส่ ีเลือดหมู รองผู้ก�ำกับพน้ื สแี แดง ถุงเท้า รองเทา้ 124 สารานุกรมลกู เสือ

๓.๕.๘ เครอ่ื งแบบผู้บงั คบั บญั ชาลูกเสอื วสิ ามญั ๓.๕.๘.๑ เคร่ืองแบบผู้บงั คบั บญั ชาลูกเสือวิสามัญเหลา่ เสนา (ชาย) อินทรธนสู ีเขยี ว หมวก ช่อื กลมุ่ /กอง (ทรงอ่อน) เลขกลุ่ม/กอง ผ้าผกู คอ (ติดเคร่อื งหมายจงั หวัด) ป้ายชอื่ สายนกหวีด เครอื่ งหมายต�ำแหนง่ เสอื้ เข็มขดั กางเกง (กวา้ ง ๔ ซ.ม.) เครือ่ งหมายต�ำแหนง่ มีอกั ษร ล ว ผกู้ �ำกบั พ้ืนสเี ขยี ว พสู่ ีเลอื ดแดง รองผ้กู �ำกบั พน้ื สีแแดง ถงุ เท้า รองเท้า สารานุกรมลูกเสือ 125

๓.๕.๘.๒ เครอื่ งแบบผูบ้ ังคบั บญั ชาลกู เสอื วสิ ามัญเหล่าเสนา (หญงิ ) อินทรธนสู เี ขยี ว หมวก ช่ือกลุ่ม/กอง (ทรงออ่ น) เลขกลุ่ม/กอง ผา้ ผกู คอ (ติดเครอื่ งหมายจังหวัด) สายนกหวดี ปา้ ยช่อื เสอ้ื เคร่ืองหมายต�ำแหน่ง กระโปรง เข็มขัด เครือ่ งหมายต�ำแหน่ง (กวา้ ง ๓ ซ.ม.) มอี กั ษร ล ว ผู้ก�ำกับพ้นื สีเขยี ว รองผู้ก�ำกบั พ้ืนสแี แดง ถงุ เทา้ รองเท้า 126 สารานุกรมลกู เสือ

๓.๕.๘.๓ เครื่องแบบผู้บงั คบั บญั ชาลกู เสือวิสามญั เหล่าสมุทร (เคร่อื งแบบสีกากี) หมวก (ทรงหมอ้ ตาล) ชือ่ กลุ่ม/กอง สายนกหวดี เลขกลมุ่ /กอง เสื้อ เคร่อื งหมายจังหวัด ป้ายชอื่ กางเกง เครื่องหมายต�ำแหน่ง เครื่องหมายต�ำแหน่ง เข็มขัด มอี กั ษร ล ว (กวา้ ง ๔ ซ.ม.) ผู้ก�ำกับพน้ื สีเขียว รองผู้ก�ำกับพน้ื สีแแดง พู่สแี ดง ถงุ เท้า รองเทา้ สารานกุ รมลูกเสือ 127

๓.๕.๘.๔ เคร่ืองแบบผู้บงั คับบัญชาลูกเสือวิสามัญเหล่าสมุทร (เครื่องแบบสขี าว) ช่อื กลุม่ /กอง หมวก เลขกลุ่ม/กอง (ทรงหม้อตาล) เคร่อื งหมายจงั หวัด ป้ายชื่อ สายนกหวีด เครอื่ งหมายต�ำแหน่ง เส้อื เข็มขัด (กว้าง ๔ ซ.ม.) กางเกง เครื่องหมายต�ำแหนง่ พู่สแี ดง มีอักษร ล ว ผูก้ �ำกับพน้ื สีเขยี ว ถงุ เท้า รองผู้ก�ำกบั พน้ื สแี แดง รองเท้า 128 สารานุกรมลกู เสือ

๓.๕.๘.๕ เครอื่ งแบบผู้บังคบั บญั ชาลูกเสอื วสิ ามญั เหลา่ อากาศ อินทรธนสู ีเขยี ว หมวก เครื่องหมายแสดงคุณวฒุ ิ (ทรงออ่ น) เหลา่ อากาศ ผ้าผกู คอ (ตดิ เคร่ืองหมายจงั หวัด) สายนกหวีด ช่ือกลุ่ม/กอง เลขกลุม่ /กอง เสือ้ ป้ายชอ่ื กางเกง เครอ่ื งหมายต�ำแหน่ง เครอื่ งหมายต�ำแหน่ง เข็มขัด มอี ักษร ล ว (กวา้ ง ๔ ซ.ม.) ผูก้ �ำกับพ้นื สีเขยี ว รองผกู้ �ำกับพน้ื สีแแดง พ่สู ีแดง ถงุ เท้า รองเทา้ สารานุกรมลูกเสือ 129

ผ้าผกู คอกลิ เวลล์ คือ ผ้าผกู คอส�ำหรบั ผผู้ ่านการฝึกอบรมวชิ าผู้ก�ำกบั ลูกเสือ ผทู้ ่ีมสี ทิ ธิ์ สวมผ้าผูกคอกิลเวลล์ ต้องผ่านการฝึกอบรมวิชาผู้ก�ำกับลูกเสือ ข้ันความรู้ชั้นสูง และต้องผ่าน การประเมนิ ตรวจขัน้ ที่ ๕ ตามระเบียบของส�ำนกั งานคณะลกู เสอื แห่งชาติ วธิ ีปฏิบัติในการใชผ้ า้ ผูกคอกลิ เวลล์ ๑. ผา้ ผูกคอกลิ เวลล์ ตามหมวด ๔ ขอ้ ๒๕ (หน้า ๓๐) นนั้ ถือเป็นผ้าผูกคอพเิ ศษไม่ใช้ เป็นผ้าผูกคอที่ระบุในการแต่งเครื่องแบบลูกเสือของผู้บังคับบัญชาลูกเสือท่ีสังกัดจังหวัด ดังนั้น ในกรณที ผี่ บู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื แตง่ เครอ่ื งแบบลกู เสอื แลว้ ไมอ่ ยใู่ นฐานะผใู้ หก้ ารฝกึ อบรมลกู เสอื หรอื เปน็ วทิ ยากร เมอื่ แตง่ เครอื่ งแบบลกู เสอื จงึ ตอ้ งใชผ้ า้ ผกู คอสงั กดั จงั หวดั เชน่ กรณเี ขา้ รบั พระราชทาน เหรียญลูกเสือสดุดี ในกรณีมาร่วมงานวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ วันที่ ๑ กรกฎาคม และ หรือวนั ท่รี ะลึกมหาวชริ าวธุ านุสรณ์ ๒๕ พฤศจกิ ายน ๒. ถ้าผู้บังคับบัญชาลูกเสือท่ีได้รับแต่งต้ังให้ด�ำรงต�ำแหน่งในส�ำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ก็ให้ใช้ผ้าผูกคอของคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติในต�ำแหน่งต่างๆ ตามท่ีก�ำหนดไว้ใน กฎกระทรวงฯ ขอ้ ๑๑ (หน้า ๑๕) แตใ่ นกรณีท่ไี ด้รบั แตง่ ต้ังให้เป็นวิทยากรให้การฝกึ อบรม ต้อง เปลีย่ นผ้าผูกคอเปน็ ผา้ ผกู คอกลิ เวลล์ ๓. ในกรณที ปี่ ระกอบพธิ กี ารทางลกู เสอื เชน่ พธิ สี ง่ ลกู เสอื ใหไ้ ปสปู่ ระเภททส่ี งู ขนึ้ ประกอบพธิ ี เข้าประจ�ำกองลูกเสือ พิธีมอบเคร่ืองหมายวูดแบดจ์แก่ผู้บังคับบัญญชาท่ีมีคุณวุฒิสูงข้ึน ต้องใช้ ผา้ ผูกคอกิลเวลล์ ส�ำหรบั ผทู้ ไี่ ดร้ ับเครอื่ งหมายวูดแบดจ์ ๒ ท่อนแลว้ เท่าน้นั ผา้ ลายสก๊อตของตระกลู แมคคาเรน ผา้ ผกู คอส�ำหรับผผู้ ่านการฝึกอบรมวิชาผู้ก�ำกับลกู เสอื หรือผ้าผกู คอกลิ เวลล์ 130 สารานกุ รมลกู เสอื

กจิ กรรมลูกเสอื ทจ่ี ดั ข้นึ ในโรงเรยี น กจิ กรรมลูกเสือท่ีจดั ขึ้นในโรงเรียน ประกอบด้วย ๑. การปฐมนเิ ทศ การปฐมนิเทศ จัดขึ้นเพ่ือให้ลูกเสือได้ทราบว่า จะต้องเตรียมตัวอย่างไร ใครเป็น ผู้อ�ำนวยการลูกเสือโรงเรียน ใครเป็นรองผู้อ�ำนวยการลูกเสือโรงเรียน ใครเป็นผู้ก�ำกับกลุ่ม ใครเป็นรองผู้ก�ำกับกลุ่ม ใครเป็นผู้ก�ำกับกอง ใครเป็นรองผู้ก�ำกับกอง และตนเองอยู่ในกองไหน และมีหน้าที่อย่างไร ๒. การกรอกใบสมคั ร (ลส.๓) ผ้ทู ี่จะเขา้ เป็นลูกเสอื จะต้องกรอกใบสมคั รดว้ ยความสมัครใจ โดยมผี ูป้ กครองอนญุ าต และใหผ้ ู้ก�ำกับน�ำชือ่ ลงทะเบียน จดั เข้าหมู่ แต่งต้งั นายหมู่ และรองนายหมู่ ๓. การเรียนการสอน ผู้ก�ำกับและรองผู้ก�ำกับ จะด�ำเนินการสอนลูกเสือในความรับผิดชอบตามที่หลักสูตร ก�ำหนดไว้ รวมทงั้ วชิ าพิเศษของลกู เสอื แต่ละประเภทดว้ ย ๔. การเปดิ – ปิดประชมุ กอง การประชมุ กองของลกู เสอื ปกตจิ ะกระท�ำทกุ ครงั้ ทมี่ กี ารเรยี นการสอนกจิ กรรมลกู เสอื โดยเริ่มจากผู้ก�ำกับยืนหน้าเสาธงเรียก “กอง” ให้สัญญาณรูปคร่ึงวงกลม ลูกเสือทั้งกองเข้าแถว คร่ึงวงกลม ผู้ก�ำกับสั่ง “นิ่ง” “ตามระเบียบพัก” สั่ง “กองตรง” หมู่บริการชักธงขึ้น สวดมนต์ สงบน่ิง ตรวจ แยกเล่นเกม หรือร้องเพลง เรียนวชิ าการ เกมทดสอบ ผ้กู �ำกบั เลา่ เรื่องสน้ั ท่ีเป็นคติ การปดิ ประชุมกอง เรมิ่ ด้วยการนดั หมาย ตรวจเคร่อื งแบบ ชกั ธงลง เลิก การเปิดประชุมกองลกู เสอื ๕. การประชมุ นายหมู่ การประชมุ นายหมคู่ วรจดั อยา่ งนอ้ ย ๒ สปั ดาหต์ อ่ ๑ ครงั้ ทปี่ ระชมุ นายหมปู่ ระกอบดว้ ย นายหมู่ของทุกหมู่ภายในกอง มีประธาน ๑ คน เลขา ๑ คน ที่ได้รับเลือกจากที่ประชุมนายหมู่ สารานกุ รมลกู เสือ 131

มผี กู้ �ำกบั ๑ คน เขา้ รว่ มประชมุ เพอ่ื ท�ำหนา้ ทเ่ี ปน็ ทป่ี รกึ ษา ภายในหอ้ งประชมุ ประกอบดว้ ย ธงชาติ สัญลักษณ์ของศาสนา พระบรมฉายาลักษณ์ โต๊ะเก้าอ้ีส�ำหรับนั่งประชุม ควรมีค�ำปฏิญาณ กฎ คติพจนข์ องลูกเสอื ค�ำขวญั และรปู ภาพลกู เสอื ท่ีสรา้ งชื่อเสยี งมาส่กู อง การประชมุ นายหมู่ลกู เสือ - เนตรนารสี ามัญรุ่นใหญข่ องโรงเรยี นเซนต์หลยุ ส์ ๖. พธิ เี ขา้ ประจ�ำกอง เปน็ พธิ กี ารทกี่ องลกู เสอื จะจดั ใหก้ บั ลกู เสอื ใหมท่ ยี่ งั ไมไ่ ดผ้ า่ นการท�ำพธิ เี ขา้ ประจ�ำกอง โดยใหล้ กู เสอื เรยี นจบหลักสตู รที่ก�ำหนดใหแ้ ล้ว ท�ำพธิ ีเข้าประจ�ำกองโดยเลือกเวลาปลายภาคเรียน ท่ี ๑ หรอื ตน้ ภาคเรยี นท่ี ๒ พิธีเข้าประจ�ำกองลูกเสอื สามัญรุ่นใหญ่ การด�ำเนินการในกองลกู เสอื กิจกรรมที่จัดข้ึนในกองลูกเสือโรงเรียน ในรอบปีหนึ่งๆ ที่ส�ำคัญๆ แบ่งออกเป็น ๓ ประเภท คอื ๑. กจิ กรรมในวนั ส�ำคญั ๒. กิจกรรมทางลูกเสอื ๓. กิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ 132 สารานุกรมลูกเสือ

๑. กิจกรรมวันส�ำคญั ในรอบปีหนึ่งๆ มีวันส�ำคัญอยู่หลายวันที่กองลูกเสือโรงเรียนจะต้องจัดให้ลูกเสือ ได้เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อแสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และ แผ่นดินท่ีตนอาศัยอยู่ รู้จักบ�ำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ สร้างสรรค์ สงั คมให้ดีขึน้ เพอื่ ใหล้ กู เสือเปน็ ผู้มีวนิ ยั ในตนเองและประเทศชาติ วันส�ำคัญที่กองลกู เสอื จดั กจิ กรรมคือ ๑.๑ วันท่ี ๑ กรกฎาคมของทุกปี วนั คลา้ ยวนั สถาปนาคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ จัดให้ลกู เสอื ทุกประเภท ได้เขา้ ร่วมสวนสนามและแสดงกิจกรรม ณ สนามกฬี าแหง่ ชาติ โดยมีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวหรือผู้แทนพระองค์ เสด็จเป็นองค์ประธานในการสวนสนาม อน่ึง ในสว่ นของจงั หวดั กม็ กี ารจดั งานวนั คล้ายวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาตเิ ช่นกัน พิธสี วนสนามและปฏิญาณตนเนอื่ งในวนั คลา้ ยวันสถาปนาคณะลูกเสอื แหง่ ชาติ ๑.๒ วันท่ี ๕ สงิ หาคม วนั ท่ี ๕ สงิ หาคมของทกุ ปี ซง่ึ เปน็ วันคล้ายวนั กอ่ ตงั้ กองลูกเสือส�ำรอง ในวันนี้กองลูกเสือส�ำรองจะจัดให้ลูกเสือส�ำรองภายในกองได้ถวายราชสดุดี และกระท�ำกิจกรรม ท่เี ป็นประโยชนต์ อ่ ส่วนรวม วนั คล้ายวันกอ่ ต้งั กองลูกเสือส�ำรอง และกระท�ำกิจกรรมบ�ำเพญ็ ประโยชน์ สารานุกรมลกู เสือ 133


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook