การบริหารกิจการลูกเสือตามพระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.๒๕๕๑ ซ่ึงก�ำหนดให้เร่ิม บังคับใช้ เมื่อวนั ที่ ๕ มนี าคม พ.ศ.๒๕๕๑ โดยก�ำหนดการบรหิ ารตามแผนผังการบรหิ าร ดงั นี้ โครงสรา้ งการบริหารกิจการลกู เสือตามพระราชบญั ญตั ิลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๑ เร่ิมบงั คบั ใชเ้ มือ่ วันท่ี ๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะลูกเสอื แห่งชาติ - พระมหากษัตริยท์ รงเปน็ พระประมุข สภาลกู เสือไทย - ประกอบด้วยบรรดาลกู เสือทง้ั ปวง และบุคลากรทางการลกู เสือ คณะกรรมการ - มี “นายกรฐั มนตร”ี เป็น สภานายก และรองนายกรฐั มนตรี เปน็ “อุปนายก” ลกู เสอื แหง่ ชาติ - มสี มาชิกทัง้ สิน้ ๑๘๐ คน (กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิฯ ทที่ รงโปรดเกล้าฯ ๘๐ คน แตง่ ต้งั ตามพระราชอัธยาศัย) ส�ำ นกั งานลูกเสอื แหง่ ชาติ - หน้าที่ส�ำ คญั คอื ก�ำ หนดนโยบายเพ่อื ความเจริญก้าวหนา้ ของคณะลกู เสือแห่งชาติ คณะกรรมการลกู เสอื จงั หวดั - รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปน็ ประธานกรรมการ ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ส�ำ นกั งานลกู เสอื จังหวดั และ ปลัดกระทรวงมหาดไทย เปน็ รองประธานกรรมการ คณะกรรมการลูกเสือเขตพื้นท่ี - มีสมาชิก ๒๙ คน สำ�นกั งานลกู เสอื เขตพนื้ ท่กี ารศึกษา - หน้าทีห่ ลักคือบริหารจัดการกิจการลกู เสือ - เลขาธกิ ารสำ�นกั งานลูกเสือแหง่ ชาตเิ ป็นกรรมการและเลขานุการ - เป็นหน่วยงานในกำ�กับของกระทรวงศึกษาธิการและเปน็ นติ บิ ุคคล - รัฐมนตรี แต่งตัง้ รองปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ คนหนึง่ เป็น “เลขาธกิ าร” - ห น้าที่หลัก คือ บริหารจัดการกิจการลูกเสือตามท่ีคณะกรรมการบริหารลูกเสือ แหง่ ชาติ มอบหมาย ส่งั การ - สามารถหารายไดจ้ ากการลงทนุ หรอื รว่ มทนุ กบั หนว่ ยงานอนื่ ได้ โดยไมต่ อ้ งน�ำ รายได้ ส่งคลัง - ผูว้ ่าราชการฯ เปน็ “ประธานกรรมการ”ปลัดจังหวัดเปน็ “รองประธานกรรมการ” - มีสมาชกิ ประมาณ ๔๐ คน - ห น้าท่ีหลัก คือ การบริหารจัดการกิจการลูกเสือภายในจังหวัดตามนโยบายของ กรรมการบรหิ ารลูกเสือแห่งชาติ - ผอ.ลส.เขตพืน้ ทฯี่ เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร - ผอ.ส�ำ นกั งานเขตฯ เปน็ “ประธานกรรมการ” - มสี มาชกิ ประมาณ ๒๐ คน - หนา้ ที่หลกั คอื บรหิ ารจัดการกิจการลกู เสอื ภายในเขตพืน้ ที่การศึกษา - รอง ผอ.ลส.เขตพื้นท่ีฯ ไดร้ บั มอบหมายเปน็ กรรมการและเลขานกุ าร 34 สารานุกรมลกู เสอื
แผนผังการบริหารกิจการลูกเสือขององค์กรตาม พ.ร.บ. ลกู เสอื พ.ศ. ๒๕๕๑ และองค์การท่ีเกี่ยวขอ้ งของกระทรวงศึกษาธิการ รฐั มนตรวี วา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร คณะกรรมการบริหารลูกเสอื แห่งชาติ ประธานคณะกรรมการบรหิ ารฯ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รองประธานคณะกรรมการบรหิ าร ลูกเสอื แหง่ ชาติ รองปลดั กระทรวงศึกษาธิการ สำ�นักงานลกู เสือแหง่ ชาติ เลขานุการกรรมการ บริหารลกู เสอื แหง่ ชาติ คณะกรรมการลกู เสอื จังหวดั สำ�นกั งานลูกเสอื จงั หวัด เลขาธกิ ารสำ�นักงานลูกเสอื แห่งชาติ สพฐ. คณะกรรมการลกู เสือเขตพ้นื ท่ี ส�ำ นักการลูกเสอื ยวุ กาชาด การศกึ ษา และกิจการนักเรียน สำ�นกั งานลูกเสือเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา ศนู ย์เสมารักษ์ สถานศึกษา ประจ�ำ ส�ำ นักงาน กลมุ่ สง่ เสรมิ และ ศึกษาธกิ ารภาค พฒั นาการลกู เสอื ๑ - ๑๒ หมายเหตุ ศูนย์เสมารักษ์ประจำ�สำ�นักงานศึกษาธิการภาค ๑-๑๒ มีหน้าท่ีประสานการปฏิบัติงานในฐานะ ผู้แทนสำ�นักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียนร่วมกับสำ�นักงานลูกเสือจังหวัดและ ส�ำ นักงานลกู เสอื เขตพนื้ ท่ีการศึกษาตามทไี่ ด้รับมอบหมาย สารานุกรมลูกเสอื 35
แผนผังการบริหารกจิ การลูกเสอื ขององค์กรทีเ่ กย่ี วข้องของกระทรวงศึกษาธกิ าร สำ�นักการลกู เสือ ยวุ กาชาดและกจิ การนักเรียน ผูเ้ ชยี่ วชาญเฉพาะดา้ นพัฒนาและสง่ เสรมิ การจดั การลูกเสือ ยวุ กาชาดและกิจการนกั เรยี น ฝา่ ยบริหารงานทวั่ ไป กลุ่มส่งเสริม กลมุ่ สง่ เสรมิ กลุม่ ส่งเสริมและพฒั นา และพัฒนาการลกู เสอื และพฒั นายวุ กาชาด ศกั ยภาพนักเรยี น งานบริหารและประชาสมั พันธ์ งานแผนงานงบประมาณและ งานพฒั นาวชิ าการ งานพัฒนาวิชาการ งานส่งเสรมิ พัฒนาวชิ าการ งานสง่ เสรมิ ความประพฤติ พฒั นาระบบบรหิ าร งานฝึกอบรมลูกเสอื งานฝกึ อบรมยวุ กาด งานบคุ ลากร นกั เรยี นและนักศึกษา งานสง่ เสรมิ กิจกรรม งานสง่ เสริมกิจกรรม งานชว่ ยอ�ำ นวยการ พสั ดแุ ละ งานสง่ เสรมิ กจิ กรรม ยานพาหนะ ศนู ยพ์ ฒั นาบคุ ลากรทางการ ศนู ย์พฒั นาบุคลากรทาง ลกู เสอื ยวุ กาชาดและกจิ กรรม การลูกเสอื ยุวกาชาดและ ศูนยเ์ สมารกั ษ์ กระทรวงศึกษาธกิ าร เยาวชน กจิ กรรมเยาวชน “ผนิ แจม่ วชิ าสอน” “กฐนิ กุยยกานนท”์ ศูนย์พัฒนาบุคลากรทาง ศนู ย์พัฒนาบุคลากรทาง การลูกเสือ ยวุ กาชาดและ การลกู เสอื ยวุ กาชาดและกจิ กรรม กจิ กรรมเยาวชน ประจำ� เยาวชนประจ�ำ จงั หวดั อบุ ลราชธานี ภาคเหนอื จงั หวัดเชยี งราย ศูนยเ์ สมารักษ์ ศูนย์เสมารักษ์ ศนู ยเ์ สมารักษ์ ศูนย์เสมารักษ์ บางแค มนี บรุ ี ดอนเมือง บางนา ศูนยเ์ สมารักษ์ ประจ�ำ ศูนยเ์ สมารกั ษ์ ประจำ� ศูนยเ์ สมารกั ษ์ ประจ�ำ ศูนย์เสมารกั ษ์ ประจ�ำ ส�ำ นกั งานศึกษาธกิ ารภาค ๑ สำ�นกั งานศึกษาธกิ ารภาค ๒ ส�ำ นกั งานศึกษาธิการภาค ๓ สำ�นกั งานศึกษาธิการภาค ๔ ศนู ยเ์ สมารักษ์ ประจำ� ศนู ย์เสมารกั ษ์ ประจ�ำ ศนู ย์เสมารักษ์ ประจำ� ศูนยเ์ สมารักษ์ ประจ�ำ สำ�นักงานศกึ ษาธิการภาค ๕ สำ�นักงานศกึ ษาธิการภาค ๖ สำ�นักงานศกึ ษาธกิ ารภาค ๗ สำ�นกั งานศึกษาธกิ ารภาค ๘ ศูนย์เสมารักษ์ ประจำ� ศนู ย์เสมารกั ษ์ ประจ�ำ ศูนย์เสมารักษ์ ประจ�ำ ศนู ยเ์ สมารกั ษ์ ประจำ� ส�ำ นักงานศกึ ษาธกิ ารภาค ๙ สำ�นกั งานศกึ ษาธิการภาค ๑๐ ส�ำ นกั งานศกึ ษาธิการภาค ๑๑ ส�ำ นักงานศกึ ษาธกิ ารภาค ๑๒ 36 สารานุกรมลูกเสอื
กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ ารในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าส่โู ลกยุคศตวรรษ ท่ี ๒๑ จึงประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมุ่งส่งเสริม ผู้เรียน ให้มีคุณธรรมรักความเป็นไทย มีทักษะการคิดวิเคราะห์ และคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ ดา้ นเทคโนโลยี สามารถท�ำงานและอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ น่ื ในสงั คมโลกไดอ้ ยา่ งสนั ติ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๕๑) ซ่ึงสอดคล้องกับแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔) ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้เป็นก�ำลังของชาติ เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลท้ังด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตส�ำนึกในความเป็นพลเมืองไทย และพลโลก ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้ และทักษะพ้ืนฐาน รวมทั้งเจตคติ ทจ่ี �ำเปน็ ตอ่ การศกึ ษา การประกอบอาชีพและการศกึ ษาตลอดชวี ติ โดยได้ก�ำหนดแนวทางการจัดการศกึ ษาซึ่งยดึ หลกั ผู้เรียนมีความส�ำคัญทีส่ ุด มกี ารเรยี นรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและ วฒั นธรรม สุขศกึ ษาและพลศึกษา ศลิ ปะ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ภาษาตา่ งประเทศ และ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นการบูรณาการองค์ความรู้ ทักษะและเจตคติท่ีเกิดจากการเรียนรู้ทั้ง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้และประสบการณ์ของผู้เรียนมาปฏิบัติ เพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะส�ำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ด้วยเหตุผลดังกล่าว กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จึงเป็น ส่วนช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองให้เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย และมีจิตส�ำนึก สาธารณะที่ดีงาม เป็นคนมีปัญญาในการใช้ทักษะชีวิต การคิด การส่ือสาร การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและเป็นคนมีความสุขในการด�ำเนินชีวิตอย่างพอเพียง โดยอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน ในสังคมได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ วสิ ัยทัศน์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นกิจกรรมที่จัดอย่างเป็นกระบวนการ ด้วยรูปแบบและวิธีการ ท่ีหลากหลาย ให้ได้รับประสบการณ์จากการปฏิบัติจริง มีความหมาย และมีคุณค่าในการพัฒนา ผู้เรียนทั้งทางร่างกายและจิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และสังคม มุ่งเสริมเจตคติ คุณค่าชีวิต ปลูกฝังคุณธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ ส่งเสริมให้รู้จักและเข้าใจตนเอง สร้างจิตส�ำนึกใน ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ปรับตัวและปฏิบัติตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ประเทศชาติและ ด�ำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข สารานุกรมลกู เสือ 37
พฒั นาผ้เู รียนทัง้ ทางรา่ งกายและจิตใจ ความหมาย กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นกิจกรรมท่ีจัดอย่างเป็นกระบวนการด้านรูปแบบ วิธีการท่ี หลากหลายในการพัฒนาผู้เรียนด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคม มุ่งส่งเสริม เจตคติคุณค่าชีวิต ปลูกฝังคุณธรรมและค่านิยมท่ีพึงประสงค์ ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จัก เรียนรู้และ เข้าใจตนเอง สร้างจิตส�ำนึกในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปรับตัวและปฏิบัติตนให้เป็นประโยชน์ ตอ่ สังคม ประเทศชาติ เปา้ หมาย การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมุ่งพัฒนาให้บุคคลรู้จักและเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อ่ืน มวี ฒุ ภิ าวะทางอารมณ์ มกี ระบวนการคิด มีทักษะในการด�ำเนนิ ชีวติ อยา่ งเหมาะสมและมีความสขุ มีจิตส�ำนึกในการรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว สังคมและประเทศชาติ โดยก�ำหนดเป้าหมาย ในการจัดกิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น ดังน้ี ๑. ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ที่หลากหลาย เกิดความรู้ ความช�ำนาญ ท้ังวิชาการ ดูแล วิชาชีพอยา่ งกว้างขวางมากย่ิงขนึ้ ๒. ผเู้ รยี นคน้ พบความสนใจ ความถนดั และพฒั นาความสามารถพเิ ศษเฉพาะตวั มองเหน็ ชอ่ งทางในการสรา้ งงานอาชีพในอนาคตไดเ้ หมาะสมกบั ตนเอง ๓. ผู้เรียนเห็นคุณค่าขององค์ความรู้ต่างๆ สามารถน�ำความรู้และประสบการณ์ไปใช้ใน การพัฒนาตนเองและประกอบอาชพี ๔. ผเู้ รยี นพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ เจตคติ คา่ นยิ มในการด�ำรงชวี ติ และสรา้ งศลี ธรรม จรยิ ธรรม ๕. ผู้เรียนมจี ิตส�ำนกึ และท�ำประโยชน์เพอ่ื สงั คมและประเทศชาติ 38 สารานุกรมลกู เสือ
คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ การจดั กจิ กรรมตามกรอบกจิ กรรมเปน็ การสง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นมคี ณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๘ ประการ ดงั นี้ ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒. ซอื่ สตั ย์สุจริต ๓. มวี นิ ยั ๔. ใฝเ่ รียนรู้ ๕. อยอู่ ยา่ งพอเพียง ๖. มงุ่ ม่นั ในการท�ำงาน ๗. รักความเปน็ ไทย ๘. มีจติ สาธารณะ จากคุณลักษณะอันพึงประสงค์ดังกล่าว จะเห็นได้ว่ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นกิจกรรม ทสี่ �ำคญั ในการเสรมิ สรา้ งใหเ้ ยาวชนเปน็ คนเกง่ คนดี มคี ณุ ธรรมและสมบรู ณท์ ง้ั รา่ งกายและจติ ใจ สถานศกึ ษาจะตอ้ งจัดกจิ กรรมดังกล่าวให้เกิดประสิทธภิ าพ กจิ กรรมหน่ึงทนี่ บั วา่ มคี วามส�ำคญั คอื กจิ กรรมลกู เสอื ซงึ่ ก�ำหนดไวเ้ ปน็ สว่ นหนง่ึ ในการประเมนิ คณุ ภาพสถานศกึ ษา ในการบรหิ ารการจดั กิจกรรมลูกเสือในสถานศกึ ษา จึงตอ้ งยดึ หลกั ส�ำคญั คือ ๑. พระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื พ.ศ.๒๕๕๑ ๒. ข้อบงั คบั คณะกรรมการบรหิ ารลูกเสือแหง่ ชาติ ๓. กฎกระทรวงตา่ งๆ ทกี่ �ำหนดใหเ้ ปน็ แนวปฏบิ ตั ขิ องหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั กจิ การลกู เสอื ๔. ระเบยี บ ค�ำสง่ั ตา่ งๆ ทกี่ �ำหนดโดยกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ และส�ำนกั งาน ลูกเสอื แหง่ ชาติ หลกั การ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนมหี ลักการส�ำคัญดงั น้ี ๑. มเี ป้าหมายของการจัดกิจกรรมท่ชี ดั เจนเปน็ รปู ธรรมและครอบคลุมผู้เรียนทุกคน ๒. เป็นกิจกรรมท่ีผู้เรยี นได้พฒั นาตนเองอย่างรอบด้านเต็มตามศักยภาพ ตามความ สนใจ ความถนัด ความตอ้ งการเหมาะสมกับวยั และวุฒิภาวะ ๓. เปน็ กิจกรรมที่ปลูกฝังและส่งเสริมจิตส�ำนึกในการบ�ำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อ สงั คมในลกั ษณะตา่ งๆ ทส่ี อดคลอ้ งกบั วถิ ชี วี ติ ประเพณี และวฒั นธรรมอยา่ งตอ่ เนอ่ื งและสมำ�่ เสมอ ๔. เป็นกิจกรรมที่ยึดหลักการมีส่วนร่วม โดยเปิดโอกาสให้ครู พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้น�ำชมุ ชน ปราชญ์ ชาวบา้ น องค์กร และหน่วยงานอื่นมสี ่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรม สารานุกรมลูกเสอื 39
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมุ่งส่งเสริม และพัฒนาให้ผู้เรียนใช้ความรู้ ทักษะ และ ประสบการณจ์ ากการเรยี นรไู้ ปพฒั นาตนเอง ใหเ้ กดิ สมรรถนะส�ำคญั ๕ ประการ ไดแ้ ก่ ความสามารถใน การสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ ทกั ษะชวี ติ และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียนตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ประกอบด้วยกจิ กรรม ๓ ลกั ษณะดังนี้ ๑. กิจกรรมแนะแนว เปน็ กจิ กรรมที่ส่งเสรมิ และพฒั นาผูเ้ รยี นใหร้ ู้จกั ตนเอง รรู้ ักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถ คดิ ตดั สนิ ใจ คดิ แกป้ ญั หา ก�ำหนดเปา้ หมายวางแผนชวี ติ ทงั้ ดา้ นการเรยี นและอาชพี สามารถปรบั ตน ได้อย่างเหมาะสม นอกจากน้ียังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ท้ังยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือ และใหค้ �ำปรึกษาแก่ผู้ปกครองในการมีสว่ นร่วมพฒั นาผู้เรียน กจิ กรรมแนะแนว ๒. กจิ กรรมนกั เรียน เปน็ กจิ กรรมทมี่ งุ่ พฒั นาความมรี ะเบยี บวนิ ยั ความเปน็ ผนู้ �ำ ผตู้ ามทดี่ ี ความรบั ผดิ ชอบ การท�ำงานรว่ มกนั การรจู้ กั แกป้ ญั หา การตดั สนิ ใจทเ่ี หมาะสม ความมเี หตผุ ล การชว่ ยเหลอื แบง่ ปนั เออ้ื อาทร และสมานฉนั ท์ โดยจดั ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความสามารถ ความถนดั และความสนใจของผเู้ รยี น ใหไ้ ด้ปฏบิ ัติดว้ ยตนเองในทกุ ขั้นตอน ได้แก่ การศกึ ษาวเิ คราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผนประเมิน และปรับปรุงการท�ำงาน เน้นการท�ำงานร่วมกันเป็นกลุ่มตามความเหมาะสม และสอดคล้องกับ วฒุ ิภาวะของผู้เรยี น และบริบทของสถานศึกษาและท้องถิ่น กจิ กรรมนักเรยี นประกอบดว้ ย ๒.๑ กจิ กรรมลกู เสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด ผบู้ �ำเพญ็ ประโยชน์ และนกั ศกึ ษาวชิ าทหาร ๒.๒ กิจกรรมชุมนุม ชมรม 40 สารานุกรมลกู เสอื
กิจกรรมลูกเสือ กจิ กรรมยวุ กาชาด ชมรมดนตรี ๓. กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ เปน็ กิจกรรมทีส่ ่งเสริมให้ผเู้ รียนบ�ำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ตอ่ สังคม ชมุ ชน และ ทอ้ งถน่ิ ตามความสนใจในลกั ษณะอาสาสมคั ร เพอ่ื แสดงถงึ ความรบั ผดิ ชอบ ความดงี าม ความเสยี สละ ต่อสงั คม และการมีจิตสาธารณะ เชน่ กิจกรรมอาสาพัฒนาต่างๆ กจิ กรรมสรา้ งสรรค์สงั คม บ�ำเพ็ญตนให้เปน็ ประโยชนต์ อ่ สังคม ชมุ ชน และท้องถ่นิ ความสมั พันธข์ องกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียนท้ัง ๓ ประเภทถึงแม้จะมีจุดมงุ่ หมายเฉพาะแตกต่างกนั แตก่ ารจดั กจิ กรรมทกุ ประเภทจะน�ำไปสเู่ ปา้ หมายเดยี วกนั ดงั นน้ั การจดั กจิ กรรมทห่ี ลากหลายจงึ เปน็ การเสรมิ เติมเต็ม ให้เกิดคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เช่น การจัดกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี หรือยุวกาชาด หรือผู้บ�ำเพ็ญประโยชน์จะตอ้ งปฏิบัติตามกรอบ หรือแนวทางทอ่ี งค์กรแต่ละประเภทก�ำหนด แตม่ ี จดุ รว่ มกนั คอื การสรา้ งความมรี ะเบยี บวนิ ยั คณุ ลกั ษณะส�ำคญั ของการอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คมประชาธปิ ไตย ซง่ึ จะชว่ ยเสริมจดุ ประสงค์ของการแนะแนว ในเรอ่ื งการจดั การกบั ชวี ิต การแก้ปญั หา การควบคมุ ตนเองของผเู้ รยี น บางครง้ั ครอู าจพบผเู้ รยี นทมี่ ปี ญั หาตอ้ งการชว่ ยเหลอื เปน็ กรณพี เิ ศษจากกจิ กรรม ก็สามารถส่งต่อให้ฝ่ายแนะแนวช่วยเหลือเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม ด้วยกระบวนการของ การแนะแนว ในทางกลบั กนั เมอ่ื อาจารยแ์ นะแนวพบวา่ ผเู้ รยี นบางคนมคี วามสนใจ หรอื ความถนดั ด้านกีฬา หรือดนตรี หรือศิลปะ ก็สามารถส่งไปเข้าร่วมกิจกรรมตามความสนใจ เพื่อฝึกทักษะ สารานกุ รมลูกเสอื 41
การเรียนรู้ จนสามารถค้นพบความสามารถพิเศษของผู้เรียนได้ ซ่ึงความสัมพันธ์ของกิจกรรม ท้ัง ๓ ประเภท เป้าหมายร่วมกันของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน คือการพัฒนาองค์รวมของความ เป็นมนษุ ย์ทสี่ มบรู ณ์ ทง้ั ทางดา้ นร่างกาย อารมณ์ สงั คม สติปญั ญา และมคี วามสมั พนั ธก์ ันดังรูป กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรยี น - ดา้ นการศกึ ษา เป้าหมาย - กจิ กรรมลกู เสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบ้ �ำเพญ็ ประโยชน์ - ดา้ นอาชพี กิจกรรมเพื่อสงั คม และนักศกึ ษาวชิ าทหาร และสาธารณประโยชน์ - กจิ กรรมชมุ นมุ ชมรม - ด้านสว่ นตวั และสงั คม - กิจกรรมจิตอาสา แนวการจดั กจิ กรรม สถานศึกษาจดั ใหผ้ ูเ้ รียนทุกคนเข้ารว่ มกิจกรรม โดยมีแนวการจดั กจิ กรรมดังน้ี ๑. ใหผ้ ู้เรียนปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตามความสนใจ ๒. ให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมผ่านประสบการณ์ที่หลากหลาย ฝึกการท�ำงาน ท่ีสอดคล้องกบั ชวี ติ จรงิ ตลอดจนสะท้อนความรู้ ทกั ษะ และประสบการณข์ องผเู้ รียน ๓. จัดกิจกรรมอย่างสมดุลท้ัง ๓ ลักษณะ คือ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ โดยจัดกิจกรรมรายบุคคล กิจกรรมกลุ่มทั้งในและ นอกสถานศึกษาอยา่ งสมำ่� เสมอและตอ่ เนื่อง ๔. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเป็นผู้ด�ำเนินการ โดยการศึกษา และใช้ข้อมูลประกอบ การวางแผนอยา่ งเป็นระบบ เนน้ การคดิ วิเคราะห์ และใชค้ วามคดิ สรา้ งสรรค์ในการด�ำเนนิ กิจกรรม ๕. ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม และการเรียนรู้แบบร่วมมือ มากกว่าเน้นการแข่งขัน บนพ้ืนฐานการปฏิบตั ิตามวิถปี ระชาธปิ ไตย ๖. จัดให้มีการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ และเผยแพร่กิจกรรม ขอบขา่ ยการจัดกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น สถานศกึ ษาต้องจัดกจิ กรรมใหค้ รบทง้ั ๓ ลกั ษณะ คือ กจิ กรรมแนะแนว กจิ กรรมนักเรยี น และกิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ โดยสามารถจัดกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี นได้หลากหลาย รปู แบบและวิธีการ โดยมขี อบขา่ ยดังนี้ 42 สารานุกรมลกู เสอื
๑. เป็นกจิ กรรมทสี่ ง่ เสรมิ การเรยี นรู้ ๘ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ใหก้ ว้างขวางลกึ ซึง้ ยง่ิ ข้นึ ใน ลักษณะเป็นกระบวนการเชิงบูรณาการ โดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนสามารถ ตก บารูาแแเปรณมนต็นดกะคาก�แตกำวเรน่านาาะงวร รมบนิ กระวแชะจิหนวีตกหว๒กิตร่ากวาร.งทา ่ตรมบ๑๒งดี่เน่เาุคชก.ป.ีงกังคิงจิเา็นเรบปลรกมะูร็นกเียรเปณหนกนิจตร็นิจ้นากวมลแกกกก่ารอแลิจราารงะนดกรรรบกมมรจะใจิโหรททุคแนดกม้ผ่ีส่ีนตคยเรทู้เ่งหรรยอวลเี่ตมสีย็นึดบอกรเนหแพเบสิมจิ เนลนอื่หสกกนัก้นสว็นนารอคังรทคอรกคงเุณุมณงราาคมคียธงนรคแววนใรกัใ่ลาานารรหขะมเมมู้กรอส๘ส้ผสยีางาจนู้เนวกรธนรรใิชาศลิยใจียรแาจุ่มึกธณคนคลสรษววปะารคเาาาหรมรกวมมตะะ็จินารกตถโอ่ กมู้ยคานลอชรรถแอัดุณาเนรนลรดชมแ์ีคยีพจะัดลเนน่ากพะแรสขแาคอ่ืู้ใลารหอลวสะมป้กางะกงัามวรวาคคร้าตะริชถมวง้อดกขบาาแงําอวคูมรกลเานณบาวตะงินรอลาสา้อขชึกกมาางอีวซาชธกริตงร้ึงาีพผู้าทยรรู้เอระิ่งี่ดรณขขหาียีง้ึนปาอวชนม่ารงีพใตงนะผตกาลโู้เลิมจแยรักอกคียชลษดรวนนณะจรา์นมมะ เห็นแนวท างใ๓นก. ารเศปึกน็ ษกาจิตก่อรแรลมะทกาปี่ รลปกูระฝกงั อแบลอะาชสพี ง่ เสรมิ จติ ส�ำนกึ การท�ำประโยชนต์ อ่ สงั คม ในลกั ษณะ ต่างๆ สนับสนุนค๓่า.นยิ มเปท็นดี่ กีงิจากมรรแมลทะี่ปเลสูกรฝมิ ังสแรล้าะงสค่งณุ เสลรกัิมษจิตณสะํานอึกนั กพางึรปทํารปะรสะงโคย์ชตนา์ตม่อหสังลคกั มสใตู นรลแักกษนณกะลตา่างๆ กาสรนศับึกสษนุนาขค่า้นั นพิยื้นมฐทาี่ดนีงาพมทุ แธลศะกั เสรราิมชสร๒้า๕งค๕ุณ๑ลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักร าช ๒๔๕.๕ ๑เป็นกิจกรรมท่ีฝึกการท�ำงาน และการให้บริการด้านต่างๆ ท้ังท่ีเป็นประโยชน์ ต่อตนเอง และต๔่อ.สว่เปนน็ รกวิจมกรเรพม่อืทเี่ฝสึกรกิมารสทรํา้างงาคนวแาลมะมกีนาร�ำ้ ใใหจ้บรคิกวาารมด้าเอน้ือต่าองาๆทรท้ังคทว่ีเปา็นมปเประน็ โพยชลนเ์มต่ออื ตงนดเีอแงลแะละ ควคตาร่อมอสบร่วคับนรรผัววดิแมลชะเอพสบงัื่อคตเสมอ่ รติมนสเรอ้างงคควราอมบมีนคํ้ารใวั จแคลวะาสมังเคอ้ือมอาทร ความเป็นพลเมืองดี และความรับผิดชอบต่อตนเอง กจิ กรรมนกักจิ เกรรยี รนมเนนัก้นเรกียานรเนต้นอกบาสรตนออบงสคนวอางมควสานมใสจนใคจว คา ว ม า ถมนถนัดัดแแลละควาามมตตอ้ อ้ งกงากราขรอขงอผ้เูงรผียูเ้นรยี น โครโคงรสงรสร้าโ้างคงกกราางรรสจจรัด้ดัากงกเจิ วจิ กลกรารรกมราพมรฒั พจันดฒั ากผินจเู้การรผียรนู้เมรพยี ัฒนนาผู้เรียนในแต่ละระดับช้ัน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขนั้ พื้นฐาโนคพรุทงธสศรกั ้ารงาเชวล๒า๕ก๕า๑รจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในแต่ละระดับช้ัน ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพน้ื ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กจิ กรรม ประถมศกึ ษา มธั ยมตอนตน้ มธั ยมตอนปลาย ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ม.๔ – ม.๖ กจิ กรรมแนะแนว กจิ กรรมนักเรยี น กิจกรรมเพือ่ สงั คม และ ๖๐ ชัว่ โมง ๔๕ ชว่ั โมง ๖๐ ชัว่ โมง สาธารณประโยชน์ ๔๑ รวม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๓๖๐ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กสําาหรนาดนโกุ ครรมงลสรกู ้าเสงเือวลาใ4นก3ารจัด กิจกรรมพฒั นาผู้เรียนในชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ถงึ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ปลี ะ ๑๒๐ ช่ัวโมง และชั้นมัธยมศึกษาปีที่
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้ก�ำหนดโครงสร้าง เวลาในการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ปีละ ๑๒๐ ช่วั โมง และช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๔-๖ จ�ำนวน ๓๖๐ ชวั่ โมง เป็นเวลาส�ำหรบั ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม แนะแนว กจิ กรรมนกั เรยี น และกจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ส�ำหรบั กจิ กรรมเพอื่ สงั คม และสาธารณประโยชน์ ให้สถานศกึ ษาจดั เวลาให้ผเู้ รยี นได้ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมดงั น้ี ระดบั ประถมศึกษา (ป.๑-๖) รวม ๖ ปี จ�ำนวน ๖๐ ชว่ั โมง ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น (ม.๑-๓) รวม ๓ ปี จ�ำนวน ๔๕ ชั่วโมง ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-๖) รวม ๓ ปี จ�ำนวน ๖๐ ชัว่ โมง การจัดสรรเวลาของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ให้ข้ึนกับการบริหารจัดการของสถานศึกษา ทง้ั นใ้ี หเ้ ปน็ ไปตามโครงสรา้ งเวลาของหลกั สตู ร และผเู้ รยี นตอ้ งไดร้ บั การพฒั นาและฝกึ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ทงั้ ๓ ลกั ษณะ อยา่ งสมำ�่ เสมอและตอ่ เนอ่ื งทกุ ปี จนจบการศกึ ษาตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา ข้นั พืน้ ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ผู้เรียนตอ้ งได้รบั การพัฒนาและฝกึ ปฏิบัติกิจกรรมอย่างสม่�ำเสมอและตอ่ เนือ่ ง การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน การประเมินการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ เป็นการประเมนิ โดยผู้เรียนตอ้ งมเี วลาเข้าร่วมกิจกรรม ปฏิบตั กิ ิจกรรม และมี ผลงาน/ชนิ้ งาน/คุณลักษณะผ่านการประเมินตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษาก�ำหนด หลกั การ การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ เปน็ การประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมหรอื ผลงาน/ชน้ิ งาน/คณุ ลกั ษณะของผเู้ รยี น เปน็ ระยะอยา่ งตอ่ เนอื่ ง มงุ่ เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นคน้ หาศกั ยภาพของตน สะทอ้ นแนวคดิ จากการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม การท�ำงานกลุ่ม และการมจี ิตสาธารณะโดยให้ทกุ ฝ่ายท่ีเก่ียวข้องมสี ว่ นรว่ มในการประเมนิ 44 สารานุกรมลูกเสอื
แนวทางการประเมิน การประเมินกิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี นมแี นวทางในการประเมนิ ตามแผนภาพดังน้ี กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียน กจิ กรรมเพื่อสังคม และสาธารณประโยชน์ ซ่อม ประเมนิ เกณฑก์ ารประเมนิ ไมผ่ า่ น - เวลาเขา้ ร่วมกิจกรรม - การปฏิบัตกิ จิ กรรม - ผลงาน/ช้นิ งาน คุณลกั ษณะของผเู้ รยี น ไมผ่ ่านเกณฑ์ ตามเกณฑ์ ผ่าน ผลการจดั กิจกรรม โครงสร้างการบริหารงานกิจกรรม พฒั นาผูเ้ รียน ผู้อำ�นวยการสถานศึกษา รอง รอง รอง รอง ผ้อู ำ�นวยการ ผอู้ ำ�นวยการ ผอู้ �ำ นวยการ ผู้อำ�นวยการ กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น กจิ กรรม กิจกรรมนักเรียน กิจกรรม แนะแนว กิจกรรมลกู เสือ เพ่อื สงั คมและ ยุวกาชาด สาธารณะ ผบู้ ำ�เพญ็ ประโยชน์ ประโยชน์ กจิ กรรมชุมนมุ /ชมรม การประเมนิ ผล สารานกุ รมลูกเสือ 45
แนวการจดั กจิ กรรมนกั เรียน การจัดกจิ กรรมนักเรียน ๑. เพื่อพฒั นาผ้เู รียนให้มีระเบียบวนิ ัย ➡ เป็นกิจกรรมทีส่ ่งเสรมิ ให้ผูเ้ รียน มีความเป็นผนู้ �ำ ผูต้ ามทด่ี ี มีความ ได้เข้าร่วมกิจกรรมตามความถนดั และ หลกั การ ความสนใจ โดยเน้นเรื่องคุณธรรม รบั ผดิ ชอบ วตั ถปุ ระสงค์ จรยิ ธรรม การไมเ่ ห็นแกต่ ัว ความมี ๒. เพอื่ พัฒนาผู้เรียนใหม้ ที กั ษะการท�ำ งาน ระเบียบวินัย ความเป็นผู้นำ�ผตู้ ามที่ดี ขอบขา่ ย ความรบั ผดิ ชอบ การท�ำ งานรว่ มกนั ร่วมกนั รจู้ ักแก้ปัญหา มีเหตุผล การรูจ้ ักแก้ปญั หา การตัดสินใจ มีการตดั สนิ ใจทีเ่ หมาะสม ชว่ ยเหลือ ความมเี หตุผล การชว่ ยเหลอื แบ่งปัน แบง่ ปัน เอื้ออาทรและสมานฉนั ท์ และความเออื้ อาทรและสมานฉนั ท์ ๓. ส ่งเสรมิ สนับสนุนใหผ้ เู้ รียนมีคณุ ธรรม กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี/ จรยิ ธรรม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ กิจกรรมยุวกาชาด/ ๔. ส ง่ เสรมิ และสนบั สนุนให้ผู้เรยี นได้ กิจกรรมผูบ้ �ำ เพ็ญประโยชน์/ ปฏบิ ัติกจิ กรรมตามความถนัดและ กิจกรรมนักศกึ ษาวิชาทหาร ความสนใจ กิจกรรมชุมนมุ ชมรม ร่วมกจิ กรรม ซ่อมเสรมิ ประเมิน เกณฑ์การประเมนิ ไม่ผ่าน ๑. เวลาเข้าร่วมกิจกรรม ไมต่ ามเกณฑ์ ตามเกณฑ์ ๒. การปฏบิ ัตกิ จิ กรรม ผา่ น ๓. ผลงาน/ชิ้นงาน/คณุ ลักษณะ ของผเู้ รียน สง่ ผลการประเมนิ 46 สารานกุ รมลกู เสือ
การบรหิ ารงานกิจกรรมลูกเสอื กิจกรรมลูกเสือเป็นขบวนการอาสาสมัคร ท่ีให้การศึกษาแก่เยาวชนโดยถ้วนหน้า ไม่มี การแบ่งแยกและกีดกันในเร่ืองเช้ือชาติ ผิวพรรณ วรรณะ ตลอดจนลัทธิทางศาสนาใดๆ ทั้งสิ้น ไม่อยู่ภายใต้อิทธิพลของการเมืองและยึดม่ันปฏิบัติตามอุดมการณ์ของผู้ให้ก�ำเนิดลูกเสือโลก คือ ท่าน ลอร์ด เบเดน-โพเอลล์ อย่างแน่วแน่และม่ันคง วงการศึกษาท่ัวโลกถือว่า การลูกเสือเป็น ขบวนการท่ีให้การศึกษาแก่เด็กและเยาวชนในรูปแบบนอกระบบ ส�ำหรับประเทศไทยยึดม่ันตาม พระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอย่หู ัว พระผพู้ ระราชทานก�ำเนิดลูกเสอื ไทย การบริหารงานลูกเสือในสถานศึกษาจึงมีความส�ำคัญ เนื่องจากเป็นกิจกรรมบังคับท่ีมี ผลต่อการผา่ นช่วงชัน้ ของผ้เู รยี น จงึ ได้ก�ำหนดการบริหารตามแนวทางดงั ต่อไปนี้ คือ ๑. การบริหารงานด้านบคุ ลากร บคุ ลากรมคี วามส�ำคญั ในการบรหิ ารงานลกู เสอื ในโรงเรยี น ดงั นนั้ โรงเรยี นจงึ ตอ้ งมบี คุ ลากร ที่เหมาะสม ทั้งปริมาณและคุณภาพ ดังนั้น ต�ำแหน่งผู้บังคับบัญชาลูกเสือที่ปรากฏตามพระราช บญั ญตั ลิ กู เสอื ในส่วนที่เกี่ยวขอ้ งกับสถานศึกษา ผู้บังคับบญั ชาลกู เสือ ตามพระราชบัญญตั ิลูกเสือ ทจี่ ะเข้ามาด�ำรงต�ำแหนง่ ในสถานศกึ ษาจะตอ้ งไดร้ บั การแตง่ ตัง้ ตามข้อบังคบั คณะกรรมการบริหาร ลูกเสือแห่งชาติ ตามประเภทและเหล่าของลูกเสือ โดยจะต้องมีคุณสมบัติท่ีเหมาะสมกับต�ำแหน่ง และมปี รมิ าณพอเพยี งกบั จ�ำนวนลกู เสอื ในโรงเรยี น ซงึ่ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา จะตอ้ งศกึ ษารายละเอยี ด ในดา้ นคุณสมบัติของผบู้ งั คับบัญชาแตล่ ะต�ำแหนง่ ก่อนการแตง่ ตง้ั ตอ่ ไป ผบู้ งั คบั บญั ชาลูกเสือในโรงเรียน ผูบ้ ังคบั บัญชาลูกเสือในโรงเรยี นประกอบด้วย ๑. ผอู้ �ำนวยการลกู เสอื โรงเรียน ๒. รองผู้อ�ำนวยการลกู เสอื โรงเรยี น ๓. ผกู้ �ำกับกลุม่ ลูกเสอื ๔. รองผู้ก�ำกับกลุ่มลกู เสอื ๕. ผูก้ �ำกบั ลกู เสอื ๖. รองผ้กู �ำกับลูกเสือ ๗. หวั หน้านายหมู่ ๘. นายหมู่ลกู เสอื ๙. รองนายหมูล่ กู เสือ สารานุกรมลกู เสือ 47
ตัวอยา่ ง การบรหิ ารกจิ การลกู เสอื ในสถานศกึ ษาดา้ นบุคลากร นายบรรณเชาวน์ ต้นโพธิ์ ผู้อ�ำนวยการลกู เสือโรงเรียน นายสุวฒั นชยั ตาหลา้ นายประวทิ ย์ ดรหลกั ค�ำ รอง ผอ.ลส.รร. รอง ผอ.ลส.รร. นายอดิศักดิ์ จนั ชลุ ี นายปรชี า มีทองหลาง นายปรีชา สงั ฆะวรรณา น.ส.วทิ ตั ตา ธรุ ะพนั ธ์ ผู้ก�ำกับ กลุ่ม ลส.รร. รองผูก้ �ำกบั กลมุ่ ลส.รร. ผกู้ �ำกบั กอง ลส. รองผู้ก�ำกับกอง ลส.รร. แผนผงั บางส่วนของบคุ ลากรในกองลูกเสือโรงเรียนพระยนื วิทยาคาร อ�ำเภอพระยนื จงั หวัดขอนแกน่ ซึ่งมีอยู่จ�ำนวน ๑๒ กอง 48 สารานกุ รมลูกเสือ
ขอบขา่ ยและหน้าท่ีผู้บังคับบญั ชาลูกเสอื ในโรงเรียน ผบู้ งั คับบญั ชาลูกเสือ ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื หมายถงึ ผอู้ �ำนวยการลกู เสอื โรงเรยี น รองผอู้ �ำนวยการลกู เสอื โรงเรยี น ผกู้ �ำกบั กลมุ่ ลกู เสอื รองผกู้ �ำกบั กลมุ่ ลกู เสอื ผกู้ �ำกบั กองลกู เสอื รองผกู้ �ำกบั กองลกู เสอื หวั หนา้ นายหมลู่ กู เสือ นายหม่ลู ูกเสอื และรองนายหมลู่ ูกเสอื ผบู้ ังคบั บญั ชาลูกเสอื คุณสมบัติทว่ั ไปของผู้บังคบั บัญชาลกู เสอื มดี ังตอ่ ไปน้ี ๑. เป็นผสู้ ภุ าพเรยี บร้อย มคี วามประพฤติดี สมควรเปน็ แบบอย่างท่ดี ีแกเ่ ดก็ ๒. เปน็ ผมู้ ศี าสนา ๓. เปน็ ผไู้ ม่มีโรคซง่ึ เปน็ ทีร่ งั เกียจแกส่ ังคม ๔. เป็นผู้มีสัญชาติไทย หรือถ้าไม่มีสัญชาติไทยต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ บรหิ ารลูกเสือแห่งชาติ ๕. เปน็ ผมู้ ีความเขา้ ใจในวตั ถุประสงค์ หลักการและวธิ กี ารของลูกเสือ ๖. เปน็ ผมู้ อี าชพี เปน็ หลกั ฐานไมข่ ดั ตอ่ ศลี ธรรมอนั ดี มอี ายแุ ละผา่ นการอบรมตามระดบั ประเภทและเหล่าของผู้บงั คับบัญชาลกู เสือ การแต่งตั้งผูบ้ ังคับบัญชาลกู เสอื ๑. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือล�ำดับที่ ๑-๖ ในส่วนกลาง ให้เลขาธิการส�ำนักงานลูกเสือ แหง่ ชาติ เป็นผู้แต่งต้ัง โดยใหผ้ อู้ �ำนวยการลูกเสือเขตพืน้ ที่การศึกษานัน้ เปน็ ผเู้ สนอชอื่ ๒. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือล�ำดับที่ ๑-๖ ในส่วนภูมิภาค ให้ผู้อ�ำนวยการลูกเสือ เขตพื้นท่ีการศกึ ษานั้นเป็นผเู้ สนอชอ่ื ให้ผ้อู �ำนวยการลกู เสือจังหวดั แตง่ ต้ัง ๓. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือล�ำดับที่ ๑-๖ ในสังกัดกรุงเทพมหานคร ให้ผู้อ�ำนวยการ ลูกเสือกรงุ เทพมหานครเป็นผู้แต่งต้งั และรายงานต่อเลขาธกิ ารส�ำนกั งานลกู เสือแห่งชาติ สารานกุ รมลูกเสอื 49
๔. ผบู้ งั คบั บญั ชาลูกเสือล�ำดับที่ ๗ (หัวหน้านายหมู่ลูกเสือ) ผู้ก�ำกบั กองเป็นผู้แตง่ ตัง้ โดยหารือนายหมู่ของกองนน้ั ๕. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือล�ำดับท่ี ๘ (นายหมู่ลูกเสือ) ผู้ก�ำกับกองเป็นผู้แต่งตั้ง โดย หารือลูกเสือในหมนู่ น้ั ๖. ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ล�ำดบั ท่ี ๙ (รองนายหมลู่ กู เสอื ) ผกู้ �ำกบั กองเปน็ ผแู้ ตง่ ตงั้ โดย หารือนายหม่ขู องหมู่นัน้ ผอู้ �ำนวยการลกู เสือโรงเรยี น และรองผอู้ �ำนวยการลูกเสอื โรงเรียน การแต่งตั้งผู้อ�ำนวยการลูกเสือโรงเรียนและรองผู้อ�ำนวยการลูกเสือโรงเรียน ต้อง ไดร้ บั การอนมุ ตั แิ ต่งต้งั จากคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสอื แหง่ ชาติ คณุ สมบัติของผู้อ�ำนวยการลกู เสอื โรงเรยี น และรองผ้อู �ำนวยการลกู เสือโรงเรียน ๑. ผู้อ�ำนวยการสถานศึกษาต้องเป็นผู้อ�ำนวยการลูกเสือโรงเรียนน้ัน และ รองผูอ้ �ำนวยการสถานศึกษาต้องเปน็ รองผอู้ �ำนวยการลูกเสอื โรงเรียนน้ัน ๒. เป็นผู้สุภาพเรียบร้อย มีความประพฤติดี สมควรเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เด็ก เป็นผู้มีศาสนา เป็นผู้ไม่มีโรคซึ่งเป็นที่รังเกียจแก่สังคม เป็นผู้มีสัญชาติไทย หรือถ้าไม่มีสัญชาติ ไทยต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ เป็นผู้มีความเข้าใจในวัตถุประสงค์ หลักการและวธิ กี ารของลูกเสือเปน็ ผู้มีอาชพี เป็นหลกั ฐานไม่ขดั ตอ่ ศลี ธรรมอนั ดี ๓. ตอ้ งไดร้ บั เครอ่ื งหมายวดู แบดจ์ ในกรณที ผ่ี อู้ �ำนวยการสถานศกึ ษาทยี่ งั ไมไ่ ดร้ บั เครอื่ งหมายวดู แบดจ์ให้รกั ษาการผู้อ�ำนวยการลูกเสอื โรงเรียนไปก่อน และตอ้ งเขา้ รับการฝกึ อบรม เพอื่ ใหไ้ ดร้ บั เครือ่ งหมายวูดแบดจ์ภายในหนึ่งปี นับแต่วันที่ด�ำรงต�ำแหนง่ ผู้อ�ำนวยการสถานศึกษา หน้าท่ผี อู้ �ำนวยการลกู เสือโรงเรยี น ผู้อ�ำนวยการลูกเสือโรงเรียนมีหน้าท่ีอ�ำนวยการในการด�ำเนินการจัดกิจกรรม ลูกเสอื ในโรงเรยี น หน้าท่ีรองผอู้ �ำนวยการลกู เสือโรงเรยี น รองผอู้ �ำนวยการลกู เสอื โรงเรยี นมหี นา้ ทเี่ ปน็ ผชู้ ว่ ยและท�ำหนา้ ทแ่ี ทนผอู้ �ำนวยการ ลกู เสือโรงเรยี นในกรณที ีผ่ อู้ �ำนวยการลกู เสือโรงเรยี นไมส่ ามารถปฏบิ ัติหนา้ ทไ่ี ด้ กลมุ่ ลูกเสือ กลุ่มลูกเสือประกอบด้วยกองลูกเสือ ๔ ประเภท คือ กองลูกเสือส�ำรอง กองลูกเสือ สามญั กองลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ และกองลกู เสอื วสิ ามญั รวมกนั ประเภทละ ๑ กอง เปน็ อยา่ งนอ้ ย หรอื ประกอบด้วยลูกเสอื ประเภทเดยี วตง้ั แต่ ๔ กองขนึ้ ไป หรอื ถา้ มีลกู เสอื ๒–๓ ประเภท ตอ้ งมี ประเภทละ ๒ กองขึ้นไป 50 สารานกุ รมลกู เสือ
กลุ่มลกู เสือทป่ี ระกอบดว้ ยลกู เสือ ๔ ประเภท เรียกวา่ “กลุ่มลกู เสือท่สี มบูรณ์” การต้ังกลุ่มลูกเสือ ต้องได้รับอนุญาตจากเลขาธิการส�ำนักงานลูกเสือแห่งชาติ หรือ ผู้อ�ำนวยการลกู เสือจังหวัดแล้วแต่กรณี ในระยะแรกหากจดั ตง้ั กลุ่มลูกเสือไม่ได้ ให้จดั ตง้ั เป็นกองลูกเสือ กลมุ่ ลกู เสือสมบูรณ์ โครงสรา้ งกลมุ่ ลกู เสอื ทส่ี มบูรณ์ ผูก้ �ำกับลูกเสือ รองผ้กู �ำกบั กลุ่มลูกเสอื ผกู้ �ำกบั กอง ผ้กู �ำกบั กอง ผกู้ �ำกบั กอง ผู้ก�ำกบั กอง ลูกเสือส�ำรอง ลูกเสอื สามญั ลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ ลกู เสอื วสิ ามัญ รองผ้กู �ำกบั กอง รองผกู้ �ำกบั กอง รองผู้ก�ำกบั กอง รองผู้ก�ำกับกอง ลูกเสือส�ำรอง ลกู เสอื สามญั ลกู เสอื สามัญรุ่นใหญ่ ลกู เสือวสิ ามญั นายหมู่ลกู เสอื นายหมลู่ กู เสอื นายหมลู่ ูกเสอื นายหมู่ลกู เสือ รองนายหมลู่ ูกเสือ รองนายหมู่ลูกเสอื รองนายหมูล่ ูกเสือ รองนายหมู่ลูกเสอื ผกู้ �ำกับกลุ่มลูกเสือ และรองผกู้ �ำกับกลมุ่ ลูกเสือ คุณสมบัตขิ องผ้กู �ำกบั กลุ่มลกู เสือ และรองผกู้ �ำกบั กลุม่ ลกู เสือเสนา มีดงั ต่อไปน้ี ๑. เป็นผูส้ ภุ าพเรียบรอ้ ย มคี วามประพฤตดิ ี สมควรเปน็ แบบอยา่ งท่ดี แี กเ่ ด็ก ๒. เปน็ ผมู้ ีศาสนา เปน็ ผู้ไมม่ ีโรคซึ่งเปน็ ท่ีรังเกยี จแก่สังคม ๓. เปน็ ผมู้ สี ญั ชาตไิ ทย หรอื ถา้ ไมม่ สี ญั ชาตไิ ทยตอ้ งไดร้ บั อนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการ บริหารลกู เสอื แห่งชาติ สารานุกรมลูกเสือ 51
๔. เปน็ ผู้มคี วามเข้าใจในวตั ถุประสงค์ หลกั การและวธิ ีการของลกู เสอื ๕. เปน็ ผู้มอี าชพี เป็นหลักฐานไม่ขัดตอ่ ศีลธรรมอนั ดี ๖. มอี ายแุ ละผา่ นการฝึกอบรมตามก�ำหนด ๖.๑ ผู้ก�ำกับกลุ่มลูกเสือมีอายุไม่น้อยกว่ายี่สิบแปดปีบริบูรณ์และต้องได้รับ เครอ่ื งหมายวูดแบดจ์ ๖.๒ รองผกู้ �ำกบั กลมุ่ ลกู เสอื มอี ายไุ มน่ อ้ ยกวา่ ยส่ี บิ หา้ ปบี รบิ รู ณแ์ ละตอ้ งไดร้ บั เคร่ืองหมายวดู แบดจ์ คณุ สมบัตเิ ฉพาะผกู้ �ำกับกลุ่มลูกเสือเหลา่ สมุทร ผกู้ �ำกบั กลุ่มลกู เสือเหลา่ สมทุ รมคี ุณสมบัตเิ ฉพาะเหลา่ เพิ่มเติมดงั นี้ ๑. มีความรู้เกยี่ วกบั หนังสอื การลกู เสอื สมทุ รส�ำหรบั เด็กชาย ๒. ต้องผ่านการฝึกอบรมและรับวุฒิบัตรการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ เหลา่ สมุทรชน้ั ตน้ เป็นอยา่ งน้อยมาแลว้ คณุ สมบัตเิ ฉพาะผกู้ �ำกับกลุ่มลูกเสือเหลา่ อากาศ ผูก้ �ำกบั กลุม่ ลกู เสอื เหล่าอากาศมคี ณุ สมบัติเฉพาะเหล่าเพิ่มเติมดังน้ี ๑. มคี วามร้เู กย่ี วกับลกู เสอื อากาศ ๒. ต้องผ่านการฝึกอบรมและรับวุฒิบัตรการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ เหลา่ อากาศช้นั ตน้ เปน็ อยา่ งน้อยมาแลว้ หนา้ ที่ผูก้ �ำกบั กลุ่มลูกเสอื มดี ังตอ่ ไปนี้ ๑. ปรับปรุงกลุ่มลูกเสือให้เป็นกลุ่มลูกเสือที่มีความสมบูรณ์และมีคุณภาพ เพยี บพร้อมด้วยระเบียบวินัย ๒. ดแู ลแนะน�ำและประสานงานของลกู เสอื ทุกประเภทในกลุ่ม ๓. ท�ำหน้าที่เปน็ ประธานในการประชมุ กลุ่มลกู เสอื ๔. เสนอแตง่ ตั้งกรรมการกล่มุ และตนเองเป็นกรรมการรว่ มดว้ ย หน้าที่รองผ้กู �ำกับกลุ่มลูกเสอื รองผู้ก�ำกบั กลมุ่ ลูกเสือทกุ เหล่ามีหนา้ ทเี่ ปน็ ผชู้ ่วยและ ท�ำหน้าทแี่ ทนเมือ่ ผ้กู �ำกับกล่มุ ลูกเสือไม่สามารถปฏบิ ัตหิ น้าทีไ่ ด้ กรรมการกลมุ่ ลูกเสือ ประกอบดว้ ย ๑. บคุ คลภายนอกท่สี นใจการลกู เสือ ๒. ลกู เสอื เกา่ ๓. ผูป้ กครองลูกเสอื ๔. ประธานกรรมการกลมุ่ ลกู เสือเป็นประธาน 52 สารานุกรมลูกเสอื
หนา้ ท่ีกรรมการกลุ่มลกู เสอื มีดังนี้ ๑. ช่วยจดั หาอุปกรณ์ในการฝกึ อบรม ๒. ดแู ลเร่อื งการเงินของกลมุ่ ๓. ดแู ลเรอ่ื งการโฆษณาประชาสมั พนั ธ์ ๔. ดแู ลทรพั ย์สินของกลุม่ ๕. ดูแลกิจการอ่นื ๆ ท่ีเปน็ ประโยชน์ของกลมุ่ ลูกเสือ ผูก้ �ำกบั กองลกู เสอื กองลูกเสือทุกประเภทและทุกเหล่าจะต้องมีผู้บังคับบัญชารองจากผู้ก�ำกับกลุ่มที่มี ความใกล้ชิดกับลูกเสือ ดูแลการปกครองลูกเสือในกองของตน ผู้ก�ำกับกองลูกเสือแต่ละประเภท แต่ละเหล่าต่างมีคุณสมบัติท่ีแตกต่างกัน ตามประเภทและเหล่า และเป็นไปตามหลักเกณฑ์ การแต่งตั้งของส�ำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ซึ่งเป็นไปตามพระราชบัญญัติ และข้อบังคับของ คณะลูกเสือแหง่ ชาต ิ โดยก�ำหนดเปน็ โครงสรา้ ง เพือ่ ให้สถานศกึ ษาไดศ้ ึกษาและน�ำไปด�ำเนินการ ในกองลกู เสอื ในสถานศึกษาทร่ี ับผิดชอบ ดงั ตอ่ ไปน้ี คุณสมบัตขิ องผูก้ �ำกบั และรองผู้ก�ำกบั กองลกู เสอื ทุกประเภท มีดงั ต่อไปนี้ ๑. อายุและวุฒิ ประเภท อายุ วุฒิ ลูกเสอื สํารอง ไม่น้อยกวา่ ๒๐ ปบี รบิ ูรณ์ ได้รบั เครอ่ื งหมายวดู แบดจส์ าํ รอง ผู้กํากบั ไมน่ ้อยกวา่ ๑๘ ปีบริบูรณ์ ขน้ั ความรเู้ บอื้ งตน้ สํารอง รองผู้กาํ กับ ไม่นอ้ ยกวา่ ๒๐ ปบี รบิ ูรณ์ ได้รับเครอื่ งหมายวดู แบดจส์ ามญั ลูกเสอื สามญั ไม่นอ้ ยกวา่ ๑๘ ปบี รบิ รู ณ์ ขั้นความรู้เบอื้ งต้นสามญั ผู้กํากบั รองผ้กู ํากับ ไมน่ อ้ ยกว่า ๒๓ ปบี รบิ ูรณ์ ไดร้ บั เครอื่ งหมายวดู แบดจส์ ามัญรุ่นใหญ่ ไมน่ ้อยกว่า ๒๑ ปบี รบิ รู ณ์ ขัน้ ความรู้เบื้องตน้ สามัญรุน่ ใหญ่ ลูกเสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ ผกู้ ํากับ ไม่นอ้ ยกวา่ ๒๕ ปบี ริบูรณ์ ไดร้ บั เครอ่ื งหมายวูดแบดจ์วสิ ามัญ รองผู้กํากับ หากใหเ้ หมาะสมไมน่ อ้ ยกว่า ๓๐ ปี ขั้นความรเู้ บอ้ื งต้นวิสามญั ไม่นอ้ ยกวา่ ๑๘ ปบี รบิ ูรณ์ ลูกเสอื วิสามัญ หากให้เหมาะสมไม่นอ้ ยกวา่ ๒๕ ปี ผู้กาํ กับ รองผกู้ ํากบั ลูกเสอื แหง่ ชาติ ๒. เป็นผสู้ ุภาพเรียบร้อย มีความประพฤติดี สมควรเปน็ แบบอยา่ งทด่ี แี ก่เด็ก ๓. เป็นผมู้ ศี าสนา เป็นผู้ไมม่ โี รคซง่ึ เปน็ ทรี่ งั เกยี จแก่สังคม ๔. เปน็ ผ้มู สี ญั ชาติไทย หรอื ถา้ ไม่มสี ญั ชาตไิ ทยตอ้ งได้รับอนมุ ตั ิจสาากรคาณนุกะรกมรรลมกู กเาสรือบริหา5ร 3
๒. เปน็ ผสู้ ภุ าพเรยี บร้อย มคี วามประพฤติดี สมควรเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ีแก่เดก็ ๓. เป็นผู้มศี าสนา เป็นผไู้ มม่ ีโรคซงึ่ เป็นท่ีรงั เกยี จแกส่ ังคม ๔. เปน็ ผมู้ สี ญั ชาตไิ ทย หรอื ถา้ ไมม่ สี ญั ชาตไิ ทยตอ้ งไดร้ บั อนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการ บริหารลกู เสือแหง่ ชาติ ๕. เปน็ ผมู้ คี วามเข้าใจในวตั ถปุ ระสงค์ หลกั การและวธิ ีการของลกู เสอื ๖. เป็นผมู้ ีอาชีพเป็นหลกั ฐานไมข่ ัดตอ่ ศีลธรรมอันดี คณุ สมบัติเฉพาะผู้ก�ำกับ และรองผ้กู �ำกบั กองลกู เสอื เหลา่ สมุทรทุกประเภท ผกู้ �ำกบั รองผกู้ �ำกบั กองลกู เสอื เหลา่ สมทุ รทกุ ประเภท มคี ณุ สมบตั พิ เิ ศษเฉพาะเหลา่ ดังตอ่ ไปน้ี ๑. มีความรู้เก่ียวกบั ลกู เสอื เหลา่ สมุทรประเภทนน้ั ๆ ๒. ต้องผ่านการฝึกอบรมและรับวุฒิบัตรการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ เหลา่ สมุทรช้นั ต้นเปน็ อย่างนอ้ ยมาแลว้ คณุ สมบตั ิเฉพาะผูก้ �ำกับ และรองผ้กู �ำกบั กองลูกเสอื เหลา่ อากาศทุกประเภท ผกู้ �ำกบั รองผกู้ �ำกบั กองลกู เสอื เหลา่ อากาศทกุ ประเภท มคี ณุ สมบตั พิ เิ ศษเฉพาะเหลา่ ดงั ต่อไปน้ี ๑. มคี วามรเู้ กย่ี วกบั กองลูกเสือเหลา่ อากาศ ประเภทน้ันๆ ๒. ต้องผ่านการฝึกอบรมและรับวุฒิบัตรการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ เหลา่ อากาศช้ันต้นเปน็ อย่างน้อยมาแลว้ หน้าทผ่ี ู้ก�ำกบั และรองผกู้ �ำกบั กองลูกเสอื ทกุ ประเภท ผู้ก�ำกบั กองลูกเสือทกุ ประเภท มีหน้าทดี่ งั ตอ่ นี้ ๑. บังคับบัญชา ฝึกอบรมและรับผิดชอบกิจกรรมในกองลูกเสือของตน ทงั้ ตอ้ งปฏิบัตติ ามค�ำแนะน�ำของผ้กู �ำกับกลุ่มลูกเสือ ๒. เปน็ ทป่ี รกึ ษาในการประชมุ นายหมลู่ กู เสอื รบั ผดิ ชอบในเรอื่ งเกยี่ วกบั วนิ ยั ของลูกเสอื ๓. รับผดิ ชอบในการรับ - จ่ายเงินของกองลกู เสอื ที่ตนรับผดิ ชอบ ๔. ฝกึ อบรมนายหมู่ แต่งตงั้ หวั หน้านายหม่แู ละนายหมูล่ กู เสอื รองผกู้ �ำกบั กองลกู เสอื ทกุ เหลา่ ทกุ ประเภท ท�ำหนา้ ทเ่ี ปน็ ผชู้ ว่ ย หรอื ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ แทนเมอื่ ผู้ก�ำกับกองลูกเสือนัน้ ไมส่ ามารถปฏิบัตหิ นา้ ท่ีได้ กองลูกเสือทุกเหล่า ทุกประเภท ให้มีผู้ก�ำกับลูกเสือ ๑ คน เป็นหัวหน้าและมี รองผู้ก�ำกบั ลกู เสือ ๑ คนหรอื หลายคนกไ็ ด้ เปน็ ผูช้ ว่ ย 54 สารานุกรมลกู เสือ
หม่ลู ูกเสอื หมูล่ ูกเสอื ส�ำรอง หมลู่ กู เสอื ส�ำรองประกอบดว้ ยลกู เสอื ส�ำรอง ๔- ๖ คน รวมทง้ั นายหมู่ ๑ คน และ รองนายหมู่ ๑ คน นายหมแู่ ละรองนายหมลู่ ูกเสือส�ำรอง ผู้ก�ำกับลูกเสือส�ำรองเป็นผู้แต่งตั้งนายหมู่ลูกเสือเพ่ือท�ำหน้าที่หัวหน้านายหมู่ สว่ นรองนายหม่ลู ูกเสอื ให้ผูก้ �ำกบั แตง่ ต้ังโดยหารือนายหมู่ลูกเสือของหมูน่ นั้ รองนายหมทู่ �ำหนา้ ทช่ี ว่ ยเหลอื นายหมลู่ กู เสอื และท�ำหนา้ ทแ่ี ทนเมอ่ื นายหมลู่ กู เสอื ไมส่ ามารถปฏิบตั ิหน้าท่ไี ด้ หมู่ลกู เสือสามัญ หมูล่ กู เสือสามัญทกุ เหล่าประกอบด้วยลูกเสอื สามัญ จ�ำนวน ๖ - ๘ คน รวมทง้ั นายหมู่ ๑ คน รองนายหมู่ ๑ คน ในกองลูกเสือสามัญทุกเหล่า ผู้ก�ำกับอาจแต่งตั้งหัวหน้านายหมู่ ๑ คนท�ำหน้าที่ เป็นผชู้ ่วย ทัง้ นตี้ ้องหารือจากทีป่ ระชุมนายหมู่ หวั หน้านายหมลู่ กู เสอื สามญั ผกู้ �ำกบั ประชมุ นายหมลู่ กู เสอื ในกองของตนเพอ่ื หารอื เลอื กหวั หนา้ นายหมู่ เมอื่ ได้ บคุ คลทีเ่ หมาะสมแลว้ แตง่ ต้ังเป็นหวั หน้านายหมู่ หวั หน้านายหมลู่ ูกเสือสามญั ทกุ เหล่า มคี ุณสมบัติดังตอ่ ไปนี้ ๑. มีความสามารถเปน็ ผู้น�ำ ๒. อายสุ �ำหรบั หวั หนา้ นายหมคู่ วรมอี ายทุ เ่ี หมาะสมกบั ชนั้ ของลกู เสอื สามญั เหลา่ นน้ั ๓. เคยเป็นนายหมูล่ ูกเสอื เหลา่ นนั้ มาแลว้ ไม่น้อยกวา่ ๖ เดอื น ๔. มคี วามรูแ้ ละทักษะเกี่ยวกับลูกเสือเหลา่ น้ัน หนา้ ที่หัวหนา้ นายหม่สู ามัญทกุ เหล่า มหี นา้ ทด่ี งั น้ี ๑. วางแผนปฏบิ ตั กิ ิจกรรมของกองลูกเสือ ๒. เปน็ ผนู้ �ำในการน�ำกองลกู เสอื เขา้ รว่ มกจิ กรรมตา่ งๆ เชน่ การเดนิ ทางไกลและ อยคู่ า่ ยพกั แรม ๓. เป็นผ้แู ทนกองลกู เสือสามญั ในการเข้ารว่ มประชมุ รว่ มกนั ของลูกเสือสามัญ ๔. เป็นผชู้ ว่ ยผกู้ �ำกบั กองลกู เสอื ทีต่ นสังกดั ๕. เป็นประธานในท่ีประชมุ สารานกุ รมลกู เสอื 55
นายหมู่ รองนายหม่ลู ูกเสือสามัญทุกเหลา่ ผกู้ �ำกบั ลกู เสอื สามญั เปน็ ผแู้ ตง่ ตงั้ นายหมู่ โดยหารอื ลกู เสอื ในหมนู่ นั้ ๆ หรอื ผกู้ �ำกบั ลกู เสือเลือกนายหมดู่ ้วยตนเองกไ็ ด้ ผู้ก�ำกับเป็นผู้แต่งตั้งรองนายหมู่ โดยหารือกับนายหมู่ของหมู่นั้น ในกรณีท่ีตั้ง กองใหมย่ งั ไม่มีท่ปี ระชมุ นายหมู ่ ใหผ้ ู้ก�ำกับหารอื ลูกเสอื ในหมนู่ น้ั เพ่ือแต่งต้งั นายหม่ขู นึ้ คณุ สมบตั ิของนายหมู่ และรองนายหมลู่ กู เสอื สามญั ทุกเหล่า นายหมู่ และรองนายหม่ลู ูกเสือสามญั ทกุ เหลา่ มคี ณุ สมบตั ิดังนี้ ๑. ความเปน็ ผู้น�ำ ๒. มีความร้แู ละทักษะลูกเสือสามญั เหล่าน้นั ๆ ๓. ไดร้ ับการสนบั สนุนจากสมาชิกในหมใู่ หเ้ ปน็ ผนู้ �ำ หนา้ ทน่ี ายหมู่ และรองนายหมลู่ กู เสือสามญั นายหมู่ และรองนายหมูล่ ูกเสอื สามัญ มีหน้าท่ดี ังน้ี ๑. วางแผนปฏบิ ัตกิ จิ กรรมของหมู่ ๒. เป็นผู้น�ำในการน�ำหม่เู ขา้ ร่วมกิจกรรมตา่ งๆ เชน่ การไปอยคู่ า่ ยพักแรม ๓. เป็นผแู้ ทนหมู่ในการเขา้ รว่ มประชมุ นายหมลู่ กู เสอื หมู่ลกู เสือสามัญรุ่นใหญ่ หมู่ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ประกอบด้วยลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ จ�ำนวน ๖ – ๘ คน รวมทง้ั นายหมู่ ๑ คน รองนายหมู่ ๑ คน ในกองลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ ผกู้ �ำกบั อาจแตง่ ตงั้ หวั หนา้ นายหมู่ ๑ คนท�ำหนา้ ทเ่ี ปน็ ผชู้ ว่ ย ท้ังน้ีต้องหารือจากท่ีประชมุ นายหมู่ หัวหนา้ นายหมู่ลูกเสือสามัญรนุ่ ใหญ่ ผู้ก�ำกับประชุมนายหมู่ลูกเสือในกองของตนเพ่ือหารือ เลือกหัวหน้านายหมู่ เม่อื ไดบ้ ุคคลทเ่ี หมาะสมแล้วแตง่ ตง้ั เปน็ หวั หน้านายหมู่ หัวหน้านายหมลู่ กู เสอื สามัญรนุ่ ใหญท่ ุกเหลา่ มีคณุ สมบตั ิดงั ต่อไปน้ี ๑. มคี วามสามารถเปน็ ผนู้ �ำ ๒. อายสุ �ำหรบั หวั หนา้ นายหมู่ควรมอี ายทุ เี่ หมาะสมกับชน้ั ของลกู เสอื สามัญ รุ่นใหญ่เหลา่ นั้นๆ ๓. เคยเปน็ นายหม่มู าแลว้ ไม่น้อยกวา่ ๖ เดือน ๔. มคี วามรแู้ ละทกั ษะเกี่ยวกบั ลกู เสอื สามัญรุ่นใหญเ่ หล่าน้นั ๆ ตามสมควร 56 สารานุกรมลูกเสือ
หัวหน้านายหมู่ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เหล่าสมุทร มีคุณสมบัติเพ่ิมเติมเฉพาะเหล่า คอื ไดร้ บั การฝึกอบรมและรบั เครื่องหมายนายทา้ ยเรือเลก็ หวั หน้านายหมู่ลกู เสือสามัญรนุ่ ใหญเ่ หลา่ อากาศ มคี ณุ สมบตั ิเพม่ิ เติมเฉพาะเหล่า คอื ได้รบั การฝึกอบรมและรบั เครื่องหมายการบืน หน้าทหี่ ัวหนา้ นายหมลู่ ูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ หัวหน้านายหมู่ลกู เสือสามญั รุ่นใหญ่ มหี น้าที่ดังน้ี ๑. วางแผนปฏิบัตกิ ิจกรรมของกองลกู เสือเหลา่ น้นั ๆ ๒. เป็นผู้น�ำในการน�ำกองลูกเสือเหล่าน้ันๆ เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ เช่น การเดนิ ทางไกลและอยคู่ า่ ยพักแรม ๓. เปน็ ผ้แู ทนกองลกู เสอื เหลา่ นนั้ ๆ ในการเขา้ รว่ มประชมุ รว่ มกนั ของลกู เสือ สามญั รุน่ ใหญ่ ๔. เป็นผ้ชู ่วยผ้กู �ำกบั กองลกู เสือท่ตี นสงั กดั ๕. เปน็ ประธานในทปี่ ระชมุ นายหมู่ และรองนายหมู่ลูกเสือสามัญรนุ่ ใหญ่ ผกู้ �ำกบั ลกู เสอื สามญั สามญั รนุ่ ใหญเ่ ปน็ ผแู้ ตง่ ตง้ั นายหมู่ โดยหารอื ลกู เสอื ในหมนู่ นั้ ๆ หรอื ผู้ก�ำกบั ลูกเลือเลือกนายหมูด่ ้วยตนเองก็ได้ ผู้ก�ำกบั แตง่ ตั้งรองนายหมู่ โดยหารือกบั นายหมู่ของหมนู่ ้ัน ในกรณีที่ต้ังกองใหม่ยังไม่มีที่ประชุมนายหมู่ ให้ผู้ก�ำกับหารือลูกเสือในหมู่น้ัน เพือ่ แต่งต้ังนายหมูข่ ึ้น คุณสมบัตขิ องนายหมู่ และรองนายหมลู่ ูกเสือสามญั สามญั รนุ่ ใหญ่ทกุ เหล่า นายหมู่ และรองนายหมลู่ กู เสอื สามญั รุ่นใหญ่ทกุ เหลา่ มคี ุณสมบัตดิ งั นี้ ๑. มีความเป็นผู้น�ำ ๒. มคี วามร้แู ละทกั ษะลูกเสอื สามญั รนุ่ ใหญ่เหลา่ นัน้ ๆ พอสมควร ๓. ได้รับการสนบั สนนุ จากสมาชกิ ในหมใู่ ห้เปน็ ผู้น�ำ คุณสมบตั ิของนายหมู่ และรองนายหมูล่ กู เสือสามัญร่นุ ใหญ่เหล่าสมุทร นายหมู่ และรองนายหมู่ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เหล่าสมุทร มีคุณสมบัติเพิ่มเติม เฉพาะ คอื ผ่านการอบรมและไดร้ ับเคร่ืองหมายนายท้ายเรอื เล็กมาแล้ว คุณสมบัตขิ องนายหมู่ และรองนายหมลู่ ูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เหล่าอากาศ นายหมู่ และรองนายหมู่ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เหล่าอากาศ มีคุณสมบัติเพิ่มเติม เฉพาะ คือ ผา่ นการอบรมและไดร้ ับเครือ่ งหมายการบินมาแลว้ สารานกุ รมลกู เสือ 57
หนา้ ท่นี ายหมู่ และรองนายหมู่ลกู เสอื สามัญรุ่นใหญ่ นายหมู่ และรองนายหมลู่ ูกเสอื สามัญรุ่นใหญ่ มีหน้าทด่ี งั น้ี ๑. วางแผนปฏิบตั ิกิจกรรมของหมู่ ๒. เป็นผ้นู �ำในการน�ำหมูเ่ ข้ารว่ มกิจกรรมต่างๆ เชน่ การไปอยูค่ ่ายพักแรม ๓. เป็นผู้แทนหมู่ในการเข้ารว่ มประชุมนายหมลู่ ูกเสือ หมู่ลกู เสอื วสิ ามัญ หมู่ลกู เสือวสิ ามญั ประกอบด้วยลูกเสือวสิ ามญั ๖ - ๘ คน รวมทั้งนายหมู่ ๑ คน และรองนายหมู่ ๑ คน นายหมู่ รองนายหมลู่ กู เสอื วสิ ามญั คอื ผทู้ ไี่ ดร้ บั เลอื กจากลกู เสอื ในกองนนั้ ในแตล่ ะปี ด้วยความเห็นชอบจากผ้กู �ำกับลูกเสอื ในกองลูกเสือวิสามัญ ผู้ก�ำกับอาจแต่งตั้งหัวหน้านายหมู่ ๑ คน ท�ำหน้าที่เป็น ผู้ช่วย ทัง้ นี้ตอ้ งหารือจากทป่ี ระชมุ นายหมู่ หัวหนา้ นายหม่ลู ูกเสือวสิ ามัญ ผู้ก�ำกับประชุมนายหมู่ลูกเสือในกองของตนเพ่ือหารือ เลือกหัวหน้านายหมู่ เมอ่ื ได้บคุ คลที่เหมาะสมแล้วแตง่ ต้งั เป็นหัวหนา้ นายหมู่ หวั หนา้ นายหมู่ลูกเสือวสิ ามัญทุกเหลา่ มคี ุณสมบัติดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. มีความสามารถเปน็ ผู้น�ำ ๒. อายสุ �ำหรบั หวั หนา้ นายหมคู่ วรมอี ายทุ เี่ หมาะสมกบั ชน้ั ของลกู เสอื วสิ ามญั เหลา่ นนั้ ๆ ๓. เคยเป็นนายหมมู่ าแลว้ ไมน่ อ้ ยกว่า ๖ เดือน ๔. มคี วามรูแ้ ละทกั ษะเกย่ี วกับลกู เสอื วิสามญั เหลา่ นั้นๆ ตามสมควร หวั หนา้ นายหม่ลู กู เสอื วสิ ามญั เหลา่ สมทุ ร มคี ณุ สมบตั เิ พม่ิ เติมเฉพาะเหลา่ คือ ได้รบั การฝกึ อบรมและรบั เครื่องหมายชาวเรือ หวั หนา้ นายหมลู่ กู เสอื วสิ ามญั เหลา่ อากาศ มคี ณุ สมบตั เิ พมิ่ เตมิ เฉพาะเหลา่ คอื ไดร้ บั การฝกึ อบรมและรบั เครื่องหมายการบืน หนา้ ทห่ี วั หน้านายหม่ลู กู เสอื วสิ ามัญ หวั หน้านายหมลู่ กู เสือวิสามัญ มหี นา้ ทด่ี ังนี้ ๑. วางแผนปฏบิ ตั ิกจิ กรรมของกองลูกเสอื เหลา่ นน้ั ๆ ๒. เป็นผู้น�ำในการน�ำกองลูกเสือเหล่านั้นๆ เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ เช่น การเดินทางไกลและอยู่คา่ ยพกั แรม 58 สารานกุ รมลูกเสอื
๓. เปน็ ผแู้ ทนกองลกู เสอื เหลา่ นน้ั ๆ ในการเขา้ รว่ มประชมุ รว่ มกนั ของลกู เสอื วสิ ามญั ๔. เป็นผชู้ ่วยผกู้ �ำกบั กองลูกเสือที่ตนสังกดั ๕. เป็นประธานในทป่ี ระชุม คุณสมบตั ขิ องนายหมู่ และรองนายหมูล่ ูกเสือวสิ ามญั ทุกเหล่า นายหมู่ และรองนายหมู่ลกู เสอื วสิ ามญั ทุกเหลา่ มคี ณุ สมบตั ดิ ังนี้ ๑. ความเป็นผ้นู �ำในการบรกิ าร ๒. มีความรแู้ ละทักษะลกู เสอื วสิ ามัญเหล่าน้ันๆ ๓. ผา่ นการฝกึ อบรมและรบั เครอื่ งหมายสายยงยศระดบั ลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ มาแลว้ ๔. ไดร้ บั การสนบั สนุนจากสมาชกิ ในหม่ใู หเ้ ป็นผ้นู �ำ คุณสมบตั ขิ องนายหมู่ และรองนายหมลู่ ูกเสือวสิ ามัญเหลา่ สมทุ ร นายหมู่ และรองนายหมลู่ กู เสอื วสิ ามญั เหลา่ สมทุ รมคี ณุ สมบตั เิ พม่ิ เตมิ เฉพาะเหลา่ คอื ผา่ นการอบรมและได้รับเคร่ืองหมายชาวเรือระดบั ลกู เสือสามญั รุน่ ใหญ่มาแลว้ คณุ สมบตั ิของนายหมู่ และรองนายหมลู่ กู เสอื วสิ ามัญเหลา่ อากาศ นายหมู่ และรองนายหมลู่ กู เสอื วสิ ามญั เหลา่ อากาศมคี ณุ สมบตั เิ พมิ่ เตมิ เฉพาะเหลา่ คอื ผา่ นการฝึกอบรมและไดร้ บั เครื่องหมายการบนิ ระดบั ลกู เสอื สามญั รุ่นใหญม่ าแลว้ กรรมการประจ�ำกองลูกเสอื วิสามัญ กรรมการประจ�ำกองลูกเสือวิสามัญอาจมีข้ึน เน่ืองด้วยกองลูกเสือวิสามัญน้ัน มสี มาชิกจ�ำนวนมาก ควรตั้งกรรมการประจ�ำกองลูกเสอื ข้ึนโดยประกอบดว้ ย ๑. ผกู้ �ำกบั ลกู เสอื วสิ ามญั ๒. นายหม่ลู กู เสอื วิสามญั ๓. ลูกเสือวิสามัญท่ีได้รับเลือกเข้ามาเป็นกรรมการกองทั้งน้ีให้เป็นไปตาม ค�ำแนะน�ำของผ้กู �ำกับกล่มุ หนา้ ที่กรรมการประจ�ำกลมุ่ ลกู เสือวิสามัญ มีดงั นี้ ๑. พจิ ารณารักษาเกียรติของกองลกู เสือ ๒. พิจารณาบรหิ ารภายในกองลูกเสอื วิสามัญ ๓. พิจารณาจดั กจิ กรรมของกองลกู เสือวิสามญั ๔. ควบคุมการรบั จ่ายของกองลกู เสอื ท่ปี ระชมุ นายหมู่ ที่ประชุมนายหมู่ลูกเสือ ประกอบด้วยบรรดานายหมู่ลูกเสือและผู้บังคับบัญชา ในกองลกู เสือนนั้ บางกรณีอาจเชญิ รองนายหมูล่ กู เสือเขา้ รว่ มประชุมด้วยกไ็ ด้ สารานุกรมลูกเสอื 59
หน้าทท่ี ่ปี ระชมุ นายหมู่ ที่ประชุมนายหมู่มีหน้าที่พิจารณาข้อคิดเห็นในการด�ำเนินงานภายในกองลูกเสือ ของตน โดยมผี ู้ก�ำกับเป็นผูช้ ข้ี าด เจ้าหนา้ ที่ลกู เสือโรงเรยี น คุณสมบัตขิ องเจา้ หนา้ ที่ลกู เสอื โรงเรียน มคี ณุ สมบัติดงั นี้ ๑. ผ่านการฝกึ อบรมวิชาผ้กู �ำกับลูกเสือตามประเภทและเหลา่ ของลูกเสอื ใน โรงเรียนอย่างน้อย ข้ันความรู้เบ้ืองต้นส�ำหรับลูกเสือเหล่านั้นๆ ขั้นความรู้ช้ันต้น ส�ำหรับลูกเสือ เหลา่ สมทุ รและลูกเสอื เหลา่ อากาศ ๒. ได้รับการแต่งตั้งตามข้อบังคับของคณะลูกเสือแห่งชาติ ตามท่ีผู้บริหาร สถานศกึ ษาเสนอ ๓. มคี วามรแู้ ละทกั ษะการบรหิ ารกิจกรรมลูกเสอื ในสถานศกึ ษา หน้าท่ีความรับผิดชอบ ๑. ท�ำหนา้ ที่ประสานงานทั่วไป ๒. ร่วมวางแผนและจัดรายการกจิ กรรมของกลมุ่ และกองลูกเสือ ๓. ควบคุมดูแลให้กองลูกเสือปฏิบัติตามระเบียบการวัดและประเมินผล ตาม ระเบยี บการวดั และประเมนิ ผลของหลกั สตู รกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น และขอ้ บงั คบั คณะลกู เสอื แหง่ ชาติ ๔. ควบคุมให้ด�ำเนินการจัดต้ังกลุ่ม กอง ผู้บังคับบัญชาลูกเสือให้เป็นไปตาม ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ๕. ปฏบิ ตั ติ นใหเ้ ปน็ แบบอย่างทด่ี ไี ด้ ๖. ปฏบิ ัติงานอ่ืนๆ ตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ๒. การบรหิ ารงานดา้ นธุรการในกองลูกเสอื ๒.๑ งานธุรการ งานธรุ การของลกู เสอื เปน็ งานทเี่ กย่ี วกบั การด�ำเนนิ การตงั้ กองกลมุ่ ลกู เสอื การจดั ท�ำ ทะเบยี นและบตั รประจ�ำตวั ของลกู เสอื เปน็ งานของเจา้ หนา้ ทล่ี กู เสอื โรงเรยี นทจี่ ะตอ้ งด�ำเนนิ การให้ เปน็ ไปตามระเบยี บหรอื ขอ้ บงั คบั ของคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ ประกอบดว้ ย งานเอกสาร แบบพมิ พ์ท่ใี ช้ในกองลกู เสอื งานการจดั หน่วยลกู เสอื งานทะเบียนกองลกู เสอื งานบัตรประจ�ำตัว ลกู เสือ งานขอพระราชทานเหรียญลูกเสอื และงานการเงนิ 60 สารานกุ รมลกู เสือ
งานธรุ การในกองลกู เสอื เจ้าหน้าทล่ี ูกเสอื งานเอกสาร งานจดั หน่วยลกู เสอื งานทะเบียน งานบัตรประจ�ำตัว งานขอเหรยี ญฯ งานการเงิน คมู่ อื ลกู เสอื การตง้ั กลุม่ กอง ลส.๖ ลส.๑๕ แบบพิมพ์ ลส.๑ ลส.๗ ลส.๑๖ เข็มสมนาคณุ การเกบ็ เงนิ การตัง้ ลส.๘ ลส.๑๗ เหรยี ญลูกเสือ การจ่ายเงิน พ.ร.บ. ผู้บังคับบญั ชา ลส.๙ ลส.๑๘ การรักษาเงิน ขอ้ บังคบั ลส.๒ สดุดี ใบเสร็จรบั เงิน การรายงาน การสมัคร ประจ�ำปี เปน็ ลกู เสือ เหรยี ญลูกเสอื ลส.๑๙ ลส.๓ สรรเสรญิ รายงานการเงิน ลส.๕ การจัดหนว่ ย เข็มลกู เสือ บ�ำเพ็ญ ลส.๑๐ ประโยชน์ เหรยี ญลกู เสอื ยั่งยืน ๒.๑.๑ งานเอกสารแบบพมิ พ์ที่ใชใ้ นกองลูกเสอื งานธรุ การในกองลกู เสอื จะตอ้ งมแี บบพมิ พส์ �ำหรบั งานธรุ การ เพอ่ื ด�ำเนนิ การ ในการจัดต้ังกองและกลุ่มลูกเสือและการจัดท�ำรายงานต่างๆ ที่เก่ียวข้องกับงานลูกเสือ ดังน้ัน งานธรุ การกองลกู เสอื จงึ ตอ้ งจดั เตรยี มแบบพมิ พต์ า่ งๆ (ลส.) ไวส้ �ำหรบั การบรหิ ารงานในกองลกู เสอื ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ลส.๑ ค�ำร้องขอต้ังกลุ่มลูกเสือหรือกองลูกเสือ ลส.๒ ใบสมัคร ขอเป็นผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ผู้ตรวจการลูกเสือ และเจ้าหน้าท่ีลูกเสือประเภทต่างๆ และเอกสาร ประกอบการฝึกอบรมทกั ษะลูกเสือ ประกอบดว้ ย ๑. ลส.๑ ค�ำร้องขอตั้งกลุม่ ลกู เสือหรอื กองลกู เสือ ๒. ลส.๒ ใบสมคั รขอเปน็ ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ผตู้ รวจการลกู เสอื และเจา้ หนา้ ท่ี ลกู เสอื ๓. ลส.๓ ใบสมคั รเข้าเป็นลูกเสือ ๔. ลส.๔ ใบโอนกองลกู เสือ ๕. ล.ส.๕ รายงานการลกู เสอื ประจ�ำปี ๖. ลส.๖ ทะเบียนลกู เสือส�ำรอง ๗. ลส.๗ ทะเบียนลูกเสอื สามญั สารานุกรมลูกเสอื 61
๘. ลส.๘ ทะเบียนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ๙. ลส.๙ ทะเบียนลูกเสอื วิสามัญ ๑๐. ลส.๑๐ รายงานการเงินลกู เสือ ๑๑. ลส.๑๑ ใบตัง้ กล่มุ ลกู เสอื ๑๒. ลส.๑๒ ใบต้งั กองลกู เสอื ๑๓. ลส.๑๓ ใบตั้งผูบ้ ังคบั บญั ชา ผตู้ รวจการ กรรมการลกู เสือ ๑๔. ลส.๑๔ ใบส�ำคญั คู่กับเข็มลกู เสือสมนาคณุ ๑๕. ลส.๑๕ บตั รประจ�ำตวั ลูกเสอื ส�ำรอง ๑๖. ลส.๑๖ บัตรประจ�ำตวั ลูกเสือสามญั ๑๗. ลส.๑๗ บัตรประจ�ำตวั ลูกเสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ ๑๘. ลส.๑๘ บัตรประจ�ำตวั ลกู เสือวสิ ามญั ๑๙. ลส.๑๙ ใบเสร็จรบั เงินค่าบ�ำรุงลกู เสอื ๒๐. ลส.๒๐ ใบของอนญุ าตจดั ตง้ั ค่ายลกู เสือ นอกจากแบบพมิ พต์ า่ งๆ ของลกู เสอื กองลกู เสอื จะตอ้ งมเี อกสารทจี่ �ำเปน็ ในการบรหิ ารงาน คอื ๑. พระราชบัญญัติลกู เสอื ๒. ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติว่าด้วยการปกครองหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๐๙ ๓. ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติว่าด้วยการปกครองหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ วสิ ามัญ ๔. ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติว่าด้วยการปกครองหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ สามญั รุ่นใหญ่ ๕. ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติว่าด้วยการปกครองหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ สามญั ๖. ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติว่าด้วยการปกครองหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ ส�ำรอง ๗. ค่มู ือระเบียบแถว ๘. แผนการจดั กจิ กรรมลกู เสอื ๙. เอกสารเกี่ยวกับลูกเสือต่างๆ เช่น คู่มือการฝึกอบรมเงื่อนเชือก คู่มืองาน บุกเบกิ ฯลฯ 62 สารานกุ รมลูกเสือ
ข้อบังคบั ฯ และเอกสารลกู เสอื ๒.๒ งานการจัดหน่วยลกู เสอื ลูกเสือส�ำรอง กองลกู เสอื ส�ำรอง (Pack) ลูกเสือ ๒-๖ หมู่ ผกู้ �ำกับ รองผู้ก�ำกบั (Cub Master) (Assistant Cub Master) ผกู้ �ำกบั (Cub Master) นายหมู่ รองนายหมู่ (Siver) (Second) สารานกุ รมลกู เสอื 63
๒.๒.๑ การจดั หนว่ ยลูกเสือส�ำรอง คณุ สมบัติลกู เสอื ส�ำรอง เด็กชายจะสมัครเข้าเป็นลูกเสือส�ำรอง ได้เม่ือมีอายุต้ังแต่ ๘ ปี และ ไมเ่ กนิ ๑๑ ปบี รบิ รู ณ์ แตถ่ า้ ลกู เสอื ส�ำรองมอี ายคุ รบ ๑๑ ปบี รบิ รู ณแ์ ลว้ จะตอ้ งออกจากกองลกู เสอื ส�ำรอง แตถ่ า้ ผูก้ �ำกับพจิ ารณาแลว้ เด็กยังมีรา่ งกายทไี่ ม่สมบรู ณ์พอ อาจใหอ้ ยู่ตอ่ ในกองลูกเสือส�ำรองไดอ้ กี แต่ตอ้ งไมเ่ กิน ๖ เดอื นนบั แต่เมอื่ อายุครบ ๑๑ ปบี ริบูรณ์ ลูกเสอื ส�ำรองโรงเรียนพิมลวิทย์ ๒.๒.๑.๑ การเขา้ เป็นลกู เสือส�ำรอง เด็กชายจะสมัครเข้าเป็นลูกเสือส�ำรอง ได้เม่ือมีอายุตั้งแต่ ๘ ปี และไม่เกิน ๑๑ ปีบริบูรณ์ แต่ถ้าลูกเสือส�ำรองมีอายุครบ ๑๑ ปี บริบูรณ์แล้วจะต้องออกจาก กองลกู เสอื ส�ำรอง แตถ่ า้ ผกู้ �ำกบั พจิ ารณาแลว้ เดก็ ยงั มรี า่ งกายทไี่ มส่ มบรู ณพ์ อ อาจใหอ้ ยตู่ อ่ ในกองลกู เสอื ส�ำรองไดอ้ กี แตต่ อ้ งไม่เกนิ ๖ เดอื นนบั แตเ่ มื่ออายคุ รบ ๑๑ ปีบรบิ รู ณ์ ๒.๒.๑.๒ หมู่ลูกเสอื ส�ำรอง หมู่ล ูกเสือหสมํารู่ลอูกงเเสรือียสก�ำรSอixงเรียกปรSะiกxอปบดระ้วยกลอูกบเดส้วือยล๔ูก–เส๖ือ ค น๔รว–มท๖ั้งนคานยหมู่ ลกู เสือ รองรนวามยทหัง้ มนู่ลากูยเหสมอื ูล่ดูก้วเยสือ รองนายหมู่ลกู เสอื ดว้ ย หม่ลู ูกเสอื หสมาํ รูล่ อูกงเสอื ทสาํ �เำรปอน็ งร ปู สทา�ำมเปเหน็ ลรยี่ ูปมสสาีตมา่ เงหลๆ่ยี เมชสน่ ีตา่ งๆ เช่น ๒.๑ .๓ กอง๒ล.กู๒เ.ส๑ือ.๓สํา รกอองงลูกเสอื ส�ำรอง กอง ลกู เสือกสอาํงรลอกู งเสเรอื ียสก�วำร่าอPงเaรcยี kกวปา่ ระPกaอckบดป้วรยะหกอมบู่ลดูกว้เสยือหอมยลู่ ่ากู งเนส้ออื ยอย๒า่ งนหอ้มยู่ และ ไม่เกนิ ๖ ห๒มู่หมู่ และไม่เกิน ๖ หมู่ 64 สารานุกรมลกู เสือ
กองลูกเสอื ส�ำรอง ๒.๒.๑.๔ กลุ่มลูกเสอื ส�ำรอง กลมุ่ ลกู เสอื ส�ำรองประกอบดว้ ยลกู เสอื ส�ำรอง จ�ำนวน ๔ กองขนึ้ ไป ๒.๒.๑.๕ การเรียกชือ่ กลุม่ ลูกเสอื ส�ำรอง การเรียกช่ือกลุ่มลูกเสือส�ำรอง ให้เรียกตามชื่อโรงเรียน หรือ สถานศกึ ษาทต่ี งั้ กลมุ่ ลกู เสอื นนั้ เชน่ “กลมุ่ ลกู เสอื โรงเรยี น………………” ถา้ โรงเรยี นใดมมี ากกวา่ ๑ กลมุ่ กใ็ หใ้ ชห้ มายเลขก�ำกบั ตอ่ ทา้ ย เชน่ “กลมุ่ ลกู เสอื โรงเรยี น…………………กลมุ่ ที่ ๑” โดยเรยี งตามล�ำดบั ๑, ๒, ๓, ๔ ฯ ๒.๒.๑.๖ การต้ังกองและกลมุ่ ลูกเสือ การตงั้ กองและกลมุ่ ลกู เสอื ตอ้ งไดร้ บั อนญุ าตจากเลขาธกิ ารส�ำนกั งาน ลูกเสือแห่งชาติ หรือผู้อ�ำนวยการลูกเสือจังหวัดแล้วแต่กรณี เมื่อต้ังกองลูกเสือแล้ว ถ้ามีลูกเสือ เป็นจ�ำนวนมากสามารถต้ังเป็นกลมุ่ ลูกเสือได้ จึงให้จัดตงั้ เป็นกลุม่ ตอ่ ไป โดยมีขั้นตอนดงั ต่อไปน้ี ๑. ผกู้ �ำกบั ลกู เสอื รวบรวมใบสมคั รของลกู เสอื ส�ำรอง ทสี่ มคั รเปน็ ลูกเสืออย่างน้อย ๒ หมู่ (ลส.๓) แล้วน�ำชื่อลกู เสือบันทึกลงในทะเบียนลูกเสอื ส�ำรอง (ลส. ๖) ๒. ผกู้ �ำกบั ลูกเสือ และรองผู้ก�ำกับลูกเสือ เขยี นใบสมัคร สมคั ร เปน็ บงั คับบัญชาลกู เสอื (ลส.๒) ๓. ผกู้ �ำกบั เขยี นใบสมคั ร (ลส.๑) สมคั รขอตงั้ กองหรอื กลมุ่ ลกู เสอื ๔. เสนอผบู้ รหิ าร เพอื่ น�ำสง่ ถงึ ส�ำนกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ หรอื จงั หวดั แล้วแต่กรณี โดยแนบใบตั้งกองหรอื กล่มุ (ลส.๑) และใบสมคั รผู้บังคบั บญั ชาลูกเสือ (ลส.๒) ไปดว้ ย ๕. เมอ่ื ส�ำนกั งานคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาตหิ รอื จงั หวดั อนมุ ตั ใิ หจ้ ัดตง้ั กองลูกเสอื หรือกลมุ่ ลกู เสือได้ ส�ำนักงานฯ กจ็ ะส่งใบตง้ั กองลกู เสือ (ลส.๑๒) และ ใบแต่งต้ังผู้บังคับบัญชาลูกเสือ (ลส.๑๓) มาให้แก่โรงเรียนเพ่ือเป็นหลักฐานการต้ังกองลูกเสือ ท่ีถูกต้องตอ่ ไป สารานุกรมลูกเสือ 65
๒.๒.๒ การจดั หน่วยลกู เสอื สามัญ กล่มุ ลูกเสอื ผ้กู �ำกบั กลุ่ม สามัญ รองผู้ก�ำกับ กองลูกเสือ กลุม่ ฯ สามัญ (Troop) ผ้กู �ำกบั หมู่ลกู เสือ กองลูกเสอื สามญั (Patrol) นายหมู่ รองนายหมู่ พลาธกิ าร หวั หนา้ คนครัว ผชู้ ว่ ยคนครวั คนหานำ�้ คนหาฟนื ลกู เสือ เนตรนารสี ามัญ ๒.๒.๒.๑ การเขา้ เปน็ ลูกเสือสามญั การเขา้ มาอยู่ในกองลูกเสือสามญั อาจมาจากการเลื่อนข้ึนมาจาก ลูกเสือส�ำรองหรือจากการสมัครเข้าเป็นลูกเสือสามัญ โดยแสดงความจ�ำนงเป็นลายลักษณ์อักษร ตามแบบเอกสารการสมัครเข้าเป็นลูกเสือและยื่นต่อผู้ก�ำกับกองลูกเสือสามัญ เมื่อผู้ก�ำกับลูกเสือ ไดพ้ จิ ารณาใบสมคั ร เหน็ สมควรและเปน็ ไปตามระเบยี บใหร้ บั เขา้ เปน็ ลกู เสอื โดยพจิ ารณาคณุ สมบตั ิ ดงั น้ี 66 สารานกุ รมลกู เสือ
๑. ผู้สมัครเป็นลูกเสือสามัญต้องมีอายุ ๑๑ และไม่เกิน ๑๗ ปบี ริบูรณ์ ๒. การรับสมัครเข้าเป็นลูกเสือสามัญอาจกระท�ำก่อนท่ีเด็ก จะมอี ายุ ๑๑ ปีก็ได้ แต่ต้องไมน่ อ้ ยกว่า ๑๐ ปี ๖ เดือน ให้อยู่ในดลุ ยพนิ ิจของผู้ก�ำกบั จะพจิ ารณา ๓. ลูกเสือสามัญท่ีมีอายุ ๑๕ ปี ต้องได้รับการฝึกอบรม ทเี่ หมาะสม ๔. ในกลุ่มลูกเสือไม่มีกองหรือหมู่ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ อาจจัดลูกเสือสามัญที่มีอายุ ๑๕ ปี แต่ไม่เกิน ๑๗ ปีให้เป็นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ได้ โดยสังกัด ในกองลูกเสอื สามญั ๕. ลูกเสือสามัญ ควรออกจากกองลูกเสือเม่ือมีอายุครบ ๑๗ ปีบรบิ ูรณ์ เวน้ แต่ไดร้ ับอนญุ าตจากผกู้ �ำกับแตต่ ้องไม่เกนิ ๑๘ ปีบริบูรณ์ ๒.๒.๒.๒ หมลู่ ูกเสอื สามญั หมู่ลูกเสือเป็นหน่วยท่ีเล็กท่ีสุดในการจัดกิจกรรม โดยมีสมาชิก ๖ – ๘ คน รวมทั้งนายหมู่ด้วย ในการจัดกิจกรรมต่างๆ จะต้องด�ำเนินการตามที่กรรมการ กองลกู เสอื เปน็ ผ้กู �ำหนด ในกรณที มี่ กี ิจกรรมพิเศษ อาจจดั ลกู เสอื เป็นชดุ หรือหน่วยพเิ ศษก็ได้ ระบบหมเู่ ปน็ เรอ่ื งส�ำคญั และจ�ำเปน็ ตอ่ การฝกึ อบรม เพราะเปน็ การฝกึ ความเปน็ ผนู้ �ำ การวางแผนและการประกอบกจิ กรรมตา่ งๆ ของหมู่ โดยถอื หลกั พงึ่ ตนเองเปน็ ส�ำคญั ความส�ำเร็จของการฝึกอบรมลูกเสืออยู่ที่การฝึกอบรมนายหมู่ และต้องเปิดโอกาสให้นายหมู่ทุกคนในกองได้มีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ในการประกอบกิจกรรมต่างๆ ของกอง โดยมีการปรึกษาหารอื กนั ในทปี่ ระชมุ นายหมู่ ๒.๒.๒.๓ การเรียกชื่อหมูล่ ูกเสอื สามญั เหลา่ เสนา การก�ำหนดชอื่ หมขู่ องลกู เสอื สามัญ ใชช้ ่อื สัตว์ ๒.๒.๒.๔ การเรียกชือ่ หมูล่ ูกเสอื สามญั เหลา่ สมุทร การก�ำหนดช่ือหมู่ของลูกเสือสามัญเหล่าสมุทร ใช้ชื่อเรือรบ ประเภทชนิดตา่ งๆ บัญญตั ิไวใ้ นกฎกระทรวง ๒.๒.๒.๕ การเรยี กช่ือหมู่ลูกเสอื สามญั เหลา่ อากาศ การก�ำหนดชื่อหมู่ของลูกเสอื สามัญ ใช้ชือ่ เครื่องบนิ ประเภทชนิด ต่างๆ บัญญตั ไิ วใ้ นกฎกระทรวง ๒.๒.๒.๖ กองลกู เสอื สามญั กองลูกเสือสามญั ประกอบดว้ ยลกู เสืออยา่ งน้อย ๒ หม่ไู มเ่ กิน ๖ หมู่ มีลูกเสือหมู่ละ ๔ – ๘ คน การเรยี กช่ือใหเ้ รียกตามประเภทของลกู เสือ และหมายเลขประจ�ำ กองแล้วตามด้วยชือ่ โรงเรียนนัน้ ๆ เชน่ “กองลูกเสือสามญั ที่ ๑ โรงเรียนเทพศิรนิ ทร์” สารานกุ รมลูกเสือ 67
กองลกู เสือสามัญ ๒.๒.๒.๗ กลุม่ ลูกเสอื สามัญ กลมุ่ ลกู เสอื สามญั ประกอบดว้ ยลกู เสอื สามญั จ�ำนวน ๔ กองขน้ึ ไป ๒.๒.๒.๘ การเรียกช่อื กลมุ่ ลกู เสอื สามัญ การเรียกชื่อกลุ่มลูกเสือสามัญให้เรียกตามช่ือโรงเรียน หรือ สถานศึกษาท่ีต้ังกลุ่มลูกเสือน้ัน เช่น กลุ่มลูกเสือโรงเรียนเทพศิรินทร์” ถ้าโรงเรียนใดมีมากกว่า ๑ กลุ่มก็ให้ใช้หมายเลขก�ำกับต่อท้าย เช่น “กลุ่มลูกเสือโรงเรียนเทพศิรินทร์ กลุ่มที่ ๑” โดยเรียงตามล�ำดบั ๑, ๒, ๓, ๔ ฯ ๒.๒.๒.๙ การตงั้ กองและกลุม่ ลกู เสือ การต้ังกองและกลุ่มลูกเสือ ต้องได้รับอนุญาตจากเลขาธิการ ส�ำนักงานลูกเสือแห่งชาติ หรือผู้อ�ำนวยการลูกเสือจังหวัดแล้วแต่กรณี เม่ือต้ังกองลูกเสือแล้ว ถ้ามีลูกเสือเป็นจ�ำนวนมากสามารถตั้งเป็นกลุ่มลูกเสือได้ จึงให้จัดต้ังเป็นกลุ่มต่อไป โดยมีข้ันตอน ดังต่อไปน้ี ๑. ผกู้ �ำกบั ลกู เสอื รวบรวมใบสมคั รของลกู เสอื ทส่ี มคั รเปน็ ลกู เสอื อยา่ งน้อย ๒ หมู่ (ลส.๓) แลว้ น�ำช่ือลูกเสือบนั ทกึ ลงในทะเบียนลกู เสอื สามญั (ลส.๗) ๒. ผู้ก�ำกับลูกเสือ และรองผู้ก�ำกับลูกเสือ เขียนใบสมัคร สมัครเปน็ ผู้บังคับบัญชาลกู เสือ (ลส.๒) ๓. ผกู้ �ำกบั เขยี นใบสมคั ร (ลส.๑) สมคั รขอตงั้ กองหรอื กลมุ่ ลกู เสอื ๔. เสนอผบู้ รหิ าร เพอ่ื น�ำสง่ ถงึ ส�ำนกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ หรอื จังหวดั แลว้ แต่กรณี โดยแนบใบตงั้ กองหรือกล่มุ (ลส.๑) และใบสมคั รผู้บังคับบญั ชาลูกเสอื (ลส.๒) ไปด้วย ๕. ผเู้ มอ่ื ส�ำนกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ หรอื จงั หวดั อนมุ ตั ใิ หจ้ ดั ตง้ั กองลูกเสือหรือกลุ่มลูกเสือได้ ส�ำนักงานฯ ก็จะส่งใบต้ังกองลูกเสือ (ลส.๑๒) และใบแต่งตั้ง ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื (ลส.๑๓) มาใหแ้ กโ่ รงเรยี นเพอื่ เปน็ หลกั ฐานการตง้ั กองลกู เสอื ทถ่ี กู ตอ้ งตอ่ ไป 68 สารานกุ รมลูกเสือ
หลกั เกณฑก์ ารต้ังกองลกู เสอื สามญั เหล่าสมทุ ร หลักเกณฑ์การตั้งกองลูกเสือสามัญเหล่าสมุทรให้ด�ำเนินการ ตามเกณฑต์ อ่ ไปนี้ ๑. มกี องลกู เสอื ประเภทสามญั ทถ่ี กู ตอ้ งตามขอ้ บงั คบั อยแู่ ลว้ ๒. ผู้สมัครทีจ่ ะเป็นลูกเสอื สามญั เหลา่ สมทุ รด�ำเนินการตาม ขนั้ ตอนและวธิ กี ารสมคั รเขา้ เปน็ ลกู เสอื โดยเขยี นใบสมคั ร (ลส.๓) อยา่ งนอ้ ย ๒ หมู่ และบนั ทกึ ลงใน ทะเบยี นลกู เสอื ๓. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือซึ่งผ่านการฝึกอบรมวิชาผู้ก�ำกับ ลกู เสอื เหลา่ สมทุ รเขยี นใบสมัคร (ลส.๒) เขา้ เป็นผูก้ �ำกับลูกเสือสามัญเหล่าสมุทร ๔. สถานท่ีตั้งกองลูกเสือสามัญเหล่าสมุทร จะต้องต้ังอยู่ใน จงั หวัดชายทะเลหรือรมิ แม่น้�ำใหญ่ หรอื ใกล้แหลง่ น�้ำใหญท่ ่ีสะดวกตอ่ การฝึกอบรมกจิ กรรมทางน�้ำ ๕. กองลกู เสอื สามญั เหลา่ สมทุ รทตี่ งั้ ขนึ้ นต้ี อ้ งเปน็ กองลกู เสอื ที่กองทัพเรือยินดีให้การสนับสนุน และให้ความช่วยเหลอื ในการฝกึ อบรม ๖. ต้องได้รับการอนุมัติการตั้งกองลูกเสือสามัญเหล่าสมุทร จากคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ กองลกู เสอื สามัญเหล่าสมุทร หลักเกณฑ์การตั้งกองลกู เสือสามัญเหล่าอากาศ หลักเกณฑ์การต้ังกองลูกเสือสามัญเหล่าอากาศให้ด�ำเนินการ ตามเกณฑต์ ่อไปนี้ ๑. มกี องลกู เสอื ประเภทสามญั ทถี่ กู ตอ้ งตามขอ้ บงั คบั อยแู่ ลว้ ๒. ผู้สมัครที่จะเป็นลูกเสือสามัญเหล่าอากาศด�ำเนินการ ตามขัน้ ตอนและวิธีการสมคั รเขา้ เปน็ ลกู เสอื โดยเขยี นใบสมคั ร (ลส.๓) อยา่ งน้อย ๒ หมู่ และบันทึก ลงในทะเบยี นลกู เสือ สารานุกรมลกู เสือ 69
๓. ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ซงึ่ ผา่ นการฝกึ อบรมวชิ าผกู้ �ำกบั ลกู เสอื เหลา่ อากาศเขยี นใบสมคั ร (ลส.๒) เข้าเป็นผกู้ �ำกบั ลกู เสือสามญั เหลา่ อากาศ ๔. สถานทตี่ ัง้ กองลูกเสอื สามัญเหลา่ อากาศ จะต้องต้งั อย่ใู น จังหวัดท่มี หี น่วยงานของกองทัพอากาศตั้งอยูห่ รือกองทัพอากาศเห็นชอบ ๕. กองลกู เสอื สามญั เหลา่ อากาศทตี่ ง้ั ขนึ้ นตี้ อ้ งเปน็ กองลกู เสอื ทก่ี องทพั อากาศยินดีใหก้ ารสนับสนุนและให้ความช่วยเหลอื ในการฝึกอบรม ๖. ตอ้ งไดร้ บั การอนมุ ตั กิ ารตง้ั กองลกู เสอื สามญั เหลา่ อากาศ จากคณะกรรมการบริหารลกู เสือแหง่ ชาติ กองลูกเสือสามัญเหลา่ อากาศโรงเรยี นฤทธยิ ะวรรณาลัย ๒ ๒.๒.๒.๑๐ การโอนทะเบียน เมื่อลูกเสือคนใดจะย้ายจากกองหน่ึงไปเข้าอีกกองหน่ึง ให้กอง ลกู เสอื เดมิ ลงรายการในใบโอนแลว้ มอบใหแ้ กล่ กู เสอื ผนู้ นั้ น�ำไปยงั กองใหม่ พรอ้ มกบั บตั รประจ�ำตวั ลูกเสือ ๒.๒.๓ การจดั หนว่ ยลกู เสอื สามัญรนุ่ ใหญ่ กองลูกเสอื สามัญรนุ่ ใหญ่ 70 สารานุกรมลูกเสือ
กลุ่มลูกเสอื สามัญรนุ่ ใหญ่ ผ้กู �ำกบั กลุ่มฯ (Group) รองผูก้ �ำกับกลุ่ม (๔ กองขึ้นไป) ผกู้ �ำกบั กองลูกเสอื รองผูก้ �ำกับกองลกู เสอื กองลกู เสอื สามัญรุ่นใหญ่ (Troop) นายหมู่ (๒-๖ หมู่) รองนายหมู่ พลาธกิ าร หม่ลู ูกเสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ หวั หน้าคนครวั (Patrol) ผชู้ ว่ ยคนครวั (๔-๘ คน) คนหาน้�ำ คนหาฟนื ลกู เสอื สามญั รุ่นใหญเ่ ดนิ สวนสนามเน่ืองในวนั คลา้ ยวันสถาปนาคณะลูกเสอื แหง่ ชาติ ๒.๒.๓.๑ การเข้าเป็นลูกเสือสามัญรุน่ ใหญ่ เดก็ ชายผสู้ มคั รเขา้ เปน็ ลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ ตอ้ งแสดงความจ�ำนง เปน็ ลายลกั ษณ์อักษรตามแบบเอกสารการสมคั รเขา้ เป็นลกู เสอื และย่นื ต่อผู้ก�ำกับกองลกู เสือสามัญ รุน่ ใหญ่ เมื่อผ้กู �ำกบั ลูกเสอื ได้พิจารณาใบสมัคร เห็นสมควรและเปน็ ไปตามระเบยี บ ใหร้ บั เข้าเปน็ ลกู เสือ โดยพจิ ารณาคุณสมบัตดิ ังนี้ ๑. สมคั รเป็นลูกเสือสามญั รนุ่ ใหญ่ตอ้ งมอี ายุ ๑๔ – ๑๘ ปี หรือก�ำลังเรยี นอยู่ในชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ สารานกุ รมลกู เสอื 71
๒. ผู้สมัครเข้าเป็นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ จะเคยเป็นลูกเสือ หรอื ไม่เคยเปน็ ลูกเสือมาก่อนก็ได้ ๓. ส�ำหรับลูกเสือหญิงให้สมัครเป็นเนตรนารีสามัญรุ่นใหญ่ และในข้อบังคับทุกค�ำที่มีค�ำว่าลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ให้หมายความรวมถึงเนตรนารีสามัญ รนุ่ ใหญ่ด้วย ๒.๒.๓.๒ หมลู่ ูกเสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ หมู่ลูกเสือเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดในการจัดกิจกรรม โดยมีสมาชิก ๔ - ๘ คน รวมทง้ั นายหมดู่ ว้ ย ในการจดั กจิ กรรมตา่ งๆ จะตอ้ งด�ำเนนิ การตามทกี่ รรมการกองลกู เสอื เปน็ ผกู้ �ำหนด ในกรณีทม่ี กี ิจกรรมพเิ ศษ อาจจดั ลกู เสือเปน็ ชดุ หรอื หน่วยพเิ ศษกไ็ ด้ ๒.๒.๓.๓ การเรียกชือ่ หมู่ การก�ำหนดช่ือหมู่ของลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ใช้ชื่อบุคคลส�ำคัญ ในประวตั ศิ าสตร์บญั ญตั ไิ ว้ในกฎกระทรวง ช่ือหมู่ลูกเสือเหลา่ สมุทร การก�ำหนดช่ือหมู่ของลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เหล่าสมุทร ใช้ช่ือ เรอื รบ ประเภทเรือใช้ในการสู้รบในประวตั ิศาสตรบ์ ัญญตั ไิ วใ้ นกฎกระทรวง ช่ือหมู่ลูกเสือเหลา่ อากาศ การก�ำหนดชื่อหมู่ของลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เหล่าอากาศ ใช้ชื่อ เครอ่ื งบนิ ในประวตั ศิ าสตร์บัญญตั ิไว้ในกฎกระทรวง ๒.๒.๓.๔ กองลกู เสอื สามญั ร่นุ ใหญ่ กองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ประกอบด้วยลูกเสืออย่างน้อย ๒ หมู่ ไม่เกนิ ๖ หมู่ มลี กู เสือหม่ลู ะ ๔ – ๘ คน การเรียกชือ่ ให้เรยี กตามประเภทของลูกเสือ และหมายเลข ประจ�ำกองแลว้ ตามดว้ ยชอ่ื โรงเรยี นนน้ั ๆ เชน่ “กองลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญท่ ่ี ๑ โรงเรยี นเทพศริ นิ ทร”์ กองลูกเสอื เนตรนารีสามญั รุ่นใหญ่ 72 สารานกุ รมลูกเสือ
๒.๒.๓.๕ กลุม่ ลกู เสือสามญั รุ่นใหญ่ กลุ่มลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ประกอบด้วยลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ จ�ำนวน ๔ กอง ๒.๒.๓.๖ การเรียกช่อื กลุ่มลูกเสอื สามัญรุ่นใหญ่ การเรยี กชอ่ื กลมุ่ ลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญใ่ หเ้ รยี กตามชอื่ โรงเรยี น หรอื สถานศึกษาท่ีตั้งกลุ่มลูกเสือนั้น เช่น กลุ่มลูกเสือโรงเรียนเทพศิรินทร์” ถ้าโรงเรียนใดมีมากกว่า ๑ กลุ่มก็ให้ใช้หมายเลขก�ำกับต่อท้าย เช่น “กลุ่มลูกเสือโรงเรียนเทพศิรินทร์ กลุ่มที่ ๑” โดย เรียงตามล�ำดับ ๑, ๒, ๓, ๔ ฯ ๒.๒.๓.๗ การต้ังกองและกลุ่มลูกเสือ การต้ังกองและกลุ่มลูกเสือ ต้องได้รับอนุญาตจากเลขาธิการ ส�ำนักงานลกู เสือแห่งชาติ หรือผ้อู �ำนวยการลกู เสือจงั หวัดแล้วแตก่ รณี เมือ่ ตงั้ กองลกู เสอื แลว้ ถ้ามี ลูกเสือเป็นจ�ำนวนมากสามารถต้ังเป็นกลุ่มลูกเสือได้ จึงให้จัดตั้งเป็นกลุ่มต่อไป โดยมีขั้นตอน ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. ผู้ก�ำกับลูกเสือรวบรวมใบสมัครของลูกเสือ ท่ีสมัครเป็น ลูกเสือสามัญรนุ่ ใหญ่ อยา่ งนอ้ ย ๒ หมู่ (ลส.๓) แลว้ น�ำชอ่ื ลกู เสอื บนั ทกึ ลงในทะเบยี นลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ (ลส.๘) ๒. ผู้ก�ำกับลูกเสือ และรองผู้ก�ำกับลูกเสือ เขียนใบสมัคร สมัครเป็นบังคับบญั ชาลกู เสือ (ลส.๒) ๓. ผู้ก�ำกับเขียนใบสมัคร (ลส.๑) สมัครขอตั้งกองหรือกลุ่ม ลูกเสอื ๔. เสนอผบู้ รหิ าร เพอื่ น�ำสง่ ถงึ ส�ำนกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ หรอื จังหวัดแล้วแต่กรณี โดยแนบใบต้ังกองหรือกลุ่ม (ลส.๑) และใบสมัครผู้บังคับบัญชาลูกเสือ (ลส.๒) ไปด้วย ๕. เมอื่ ส�ำนกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ หรอื จงั หวดั อนมุ ตั ใิ หจ้ ดั ตงั้ กองลูกเสือหรือกลุ่มลูกเสือได้ ส�ำนักงานฯ ก็จะส่งใบต้ังกองลูกเสือ (ลส.๑๒) และใบแต่งตั้ง ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื (ลส.๑๓) มาใหแ้ กโ่ รงเรียนเพ่อื เป็นหลกั ฐานการต้งั กองลูกเสอื ท่ีถกู ต้องตอ่ ไป ๒.๒.๓.๘ การตงั้ กองลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญเ่ หลา่ สมทุ รและกองลกู เสอื สามญั ร่นุ ใหญ่เหล่าอากาศ การประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ ครงั้ ที่ ๑๐/๒๕๒๔ เมื่อวันที่ ๑๙ พ.ศ. ตุลาคม ๒๕๒๔ ที่ประชุมมีมติให้แก้ไขปรับปรุงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการตั้ง กองลูกเสือเหลา่ สมทุ รและกองลกู เสือเหลา่ อากาศ ดงั ตอ่ ไปนี้ สารานุกรมลกู เสอื 73
หลกั เกณฑ์การต้ังกองลกู เสอื สามญั รุ่นใหญเ่ หลา่ สมุทร หลักเกณฑ์การต้ังกองลูกเสือเหล่าสมุทรให้ด�ำเนินการตาม เกณฑต์ อ่ ไปน้ี ๑. มีกองลูกเสือประเภทสามัญรุ่นใหญ่ที่ถูกต้องตาม ขอ้ บงั คบั อยแู่ ลว้ ๒. ผู้สมัครท่ีจะเป็นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เหล่าสมุทร ด�ำเนินการตามข้นั ตอนและวธิ กี ารสมัครเข้าเปน็ ลูกเสอื โดยเขยี นใบสมัคร (ลส.๓) อย่างน้อย ๒ หมู่ และบันทึกลงในทะเบียนลกู เสือ ๓. ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ซง่ึ ผา่ นการฝกึ อบรมวชิ าผกู้ �ำกบั ลูกเสอื เหล่าสมทุ รเขียนใบสมคั ร (ลส.๒) เขา้ เปน็ ผกู้ �ำกับลกู เสือเหลา่ สมทุ ร ๔. สถานที่ต้ังกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เหล่าสมุทร จะตอ้ งตง้ั อยใู่ นจังหวัดชายทะเลหรือรมิ แม่น้�ำใหญ่ หรอื ใกล้แหล่งน้ำ� ใหญ่ทีส่ ะดวกตอ่ การฝึกอบรม กจิ กรรมทางน้ำ� ๕. กองลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญเ่ หลา่ สมทุ รทตี่ งั้ ขน้ึ นตี้ อ้ งเปน็ กองลกู เสือทกี่ องทพั เรอื ยนิ ดีให้การสนับสนุน และใหค้ วามช่วยเหลือในการฝึกอบรม ๖. ต้องไดร้ ับการอนมุ ัติการตั้งกองลูกเสอื สามัญรุน่ ใหญ่ เหลา่ สมทุ ร จากคณะกรรมการบริหารลกู เสอื แห่งชาติ กองลกู เสือ เนตรนารีสามัญรุ่นใหญ่เหล่าสมุทร หลักเกณฑ์การตงั้ กองลูกเสือสามัญรุ่นใหญเ่ หล่าอากาศ หลักเกณฑ์การตั้งกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เหล่าอากาศให้ ด�ำเนนิ การตามเกณฑต์ ่อไปน้ี 74 สารานุกรมลูกเสือ
๑. มีกองลูกเสือประเภทสามัญรุ่นใหญ่ที่ถูกต้องตาม ขอ้ บงั คบั อยแู่ ลว้ ๒. ผู้สมัครท่ีจะเป็นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เหล่าอากาศ ด�ำเนินการตามขั้นตอนและวิธกี ารสมัครเขา้ เป็นลกู เสอื โดยเขยี นใบสมคั ร (ลส.๓) อย่างน้อย ๒ หมู่ และบันทกึ ลงในทะเบยี นลูกเสือ ๓. ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ซงึ่ ผา่ นการฝกึ อบรมวชิ าผกู้ �ำกบั ลกู เสอื เหลา่ อากาศ เขียนใบสมคั ร (ลส.๒) เขา้ เป็นผกู้ �ำกบั ลูกเสือเหล่าอากาศ ๔. สถานท่ีตั้งกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เหล่าอากาศ จะตอ้ งต้งั อยใู่ นจังหวดั ทม่ี หี นว่ ยงานของกองทพั อากาศตั้งอยู่ ๕. กองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เหล่าอากาศที่ต้ังขึ้นน้ี ตอ้ งเป็นกองลกู เสือที่กองทัพอากาศยนิ ดีใหก้ ารสนบั สนนุ และให้ความช่วยเหลือในการฝกึ อบรม ๖. ตอ้ งไดร้ บั การอนุมัติการต้งั กองลูกเสอื สามญั ร่นุ ใหญ่ เหล่าอากาศ จากคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสือแห่งชาติ กองลูกเสือ เนตรนารีสามัญรุ่นใหญ่เหล่าอากาศ ๒.๒.๓.๙ การโอนทะเบียน เม่ือลูกเสือคนใดจะย้ายจากกองหนึ่งไปเข้าอีกกองหน่ึง ให้ กองลูกเสือเดิมลงรายการในใบโอนแล้วมอบให้แก่ลูกเสือผู้นั้นน�ำไปยังกองใหม่ พร้อมกับบัตร ประจ�ำตัวลูกเสอื สารานุกรมลูกเสอื 75
๒.๒.๔ การจดั หนว่ ยลูกเสอื วสิ ามญั กล่มุ ลกู เสือวิสามัญ (Group) ผูก้ �ำกับกล่มุ ฯ (๔ กองขนึ้ ไป) รองผูก้ �ำกับกลมุ่ ฯ กองลกู เสือวสิ ามญั (Troop) ผกู้ �ำกบั กองลูกเสอื (๑๐-๖๐ คน) รองผู้ก�ำกบั กองลกู เสือ หมเู่ สือวิสามญั (Patrol) นายหมู่ (๔-๖ คน) รองนายหมู่ พลาธกิ าร หัวหนา้ คนครวั ผชู้ ว่ ย คนครัว คนหาน�ำ้ คนหาฟืน ลกู เสือ เนตรนารีวสิ ามญั ๒.๒.๔.๑ ความหมาย ลกู เสือวสิ ามญั คอื การอบรมเด็กหนมุ่ ให้นยิ มชวี ติ กลางแจง้ และ นิยมการบรกิ ารมากข้ึน ดว้ ยความมุ่งหมายตอ่ ไปน้ี ๑. ฝึกอบรมเด็กใหเ้ ป็นพลเมืองดี สืบเนอื่ งมากจากการเป็น ลกู เสือส�ำรอง ลูกเสือสามญั และลูกเสอื สามญั ร่นุ ใหญต่ ามล�ำดบั แต่มีขอบขา่ ยกว้างขวางยง่ิ ขึน้ ให้ เหมาะสมกบั ลูกเสือวิสามัญ 76 สารานุกรมลกู เสือ
๒. ส่งเสริมให้มีอาชีพและบริการต่อชุมชน การฝึกอบรม ลกู เสอื วสิ ามญั เปน็ การฝกึ อบรมเดก็ วยั รนุ่ โดยพยายามชว่ ยใหเ้ ดก็ ไดน้ �ำเอาอดุ มการณข์ องค�ำปฏญิ าณ มาใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำวนั ๒.๒.๔.๒ หลักการ งานหลักของกองลูกเสือวิสามัญ คอื ๑. ฝึกอบรมจิตใจเตรียมลูกเสือวิสามัญ เพื่อเข้าประจ�ำกอง และฝกึ อบรมให้มีความรู้วิชาลูกเสือตามที่ก�ำหนดไว้ในหลักสูตร ๒. ฝึกอบรมลกู เสือวิสามัญตามท่กี �ำหนดไวใ้ นหลกั สูตร ๒.๒.๔.๓ การเขา้ เป็นลกู เสือวิสามัญ เด็กชายผู้สมัครเข้าเป็นลูกเสือวิสามัญ ต้องแสดงความจ�ำนงเป็น ลายลักษณ์อักษรตามแบบเอกสารการสมัครเข้าเป็นลูกเสือและยื่นต่อผู้ก�ำกับกองลูกเสือวิสามัญ เมอื่ ผกู้ �ำกบั ลกู เสอื ไดพ้ จิ ารณาใบสมคั ร เหน็ สมควรและเปน็ ไปตามระเบยี บ ใหร้ บั เขา้ เปน็ ลกู เสอื โดย พิจารณาคณุ สมบัตดิ งั น้ี ๑. สมคั รเปน็ ลกู เสอื วสิ ามญั ตอ้ งมอี ายุ ๑๗ - ปี หรอื ก�ำลงั เรยี น อยใู่ นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔ ๒. ผสู้ มคั รเขา้ เปน็ ลกู เสอื วสิ ามญั จะเคยเปน็ ลกู เสอื หรอื ไมเ่ คย เปน็ ลกู เสือมากอ่ นกไ็ ด้ ๓. ส�ำหรับลูกเสือหญิงให้สมัครเป็นเนตรนารีวิสามัญ และ ในข้อบงั คบั ทกุ ค�ำท่มี ีค�ำวา่ ลกู เสอื วิสามัญ ใหห้ มายความรวมถงึ เนตรนารีวิสามญั ด้วย ๒.๒.๔.๔ หมู่ลูกเสอื วิสามญั หมู่ลูกเสือเปน็ หนว่ ยท่ีเล็กที่สุดในการจัดกิจกรรม โดยมีสมาชิก ๔ - ๖ คน รวมทง้ั นายหมดู่ ว้ ย ในการจดั กจิ กรรมตา่ งๆ จะตอ้ งด�ำเนนิ การตามทกี่ รรมการกองลกู เสอื เป็นผกู้ �ำหนด ในกรณีท่มี ีกิจกรรมพเิ ศษ อาจจดั ลูกเสอื เป็นชดุ หรือหนว่ ยพิเศษก็ได้ ๒.๒.๔.๕ การเรยี กช่ือหมู่ การก�ำหนดชื่อหมู่ของลกู เสือวิสามญั ใหใ้ ช้เลขเปน็ ช่ือหมู่ ส�ำหรบั ลูกเสอื เสนาส�ำหรบั ลกู เสือสมทุ รและลูกเสืออากาศให้เป็นไปตามรปู แบบของแต่ละเหลา่ การเรยี กชอ่ื หมู่ลกู เสอื วิสามญั เหลา่ สมุทร การก�ำหนดชื่อหมู่ของลูกเสือวิสามัญ ให้ใช้ชื่อเรือรบประเภท บรกิ าร เคร่อื งหมายหมูเ่ ป็นธง การเรยี กชอ่ื หมูล่ กู เสอื วสิ ามญั เหลา่ อากาศ การก�ำหนดชอื่ หมขู่ องลกู เสอื วสิ ามญั ใหใ้ ชช้ อ่ื เครอ่ื งบนิ ประเภท บรกิ าร เครอ่ื งหมายหมูเ่ ป็นธง สารานกุ รมลูกเสือ 77
๒.๒.๔.๖ กองลูกเสือวิสามัญ กองลูกเสือวิสามัญประกอบด้วยลูกเสือวิสามัญ มีจ�ำนวนต้ังแต่ ๑๐ - ๖๐ คน ตามปรกติเพียง ๒๐ - ๓๐ คน กองลูกเสือวิสามัญจะแบ่งออกเป็นชุดหรือหมู่ตามความจ�ำเป็น และความต้องการกไ็ ด้ และควรมีนายหมู่ ๑ คน รองนายหมู่ ๑ คน ต่อลูกเสือ ๔ - ๖ คน หมลู่ กู เสอื เปน็ หนว่ ยในการจดั กจิ กรรมทงั้ ปวง ในกรณที ม่ี กี จิ กรรม พเิ ศษ จะจัดลูกเสอื ขนึ้ เป็นชดุ ใหม่เพือ่ การนัน้ กไ็ ด้ กองลกู เสือวสิ ามัญเดนิ สวนสนามในวันคลา้ ยวนั สถาปนาคณะลูกเสอื แหง่ ชาติ การขออนุญาตตงั้ กองลกู เสือวสิ ามญั ๑. มีผู้ก�ำกับลกู เสอื ๒. มีสถานทีท่ ่ีเหมาะสมเพอื่ การฝึกอบรมลกู เสือ ๒.๒.๔.๗ กลมุ่ ลกู เสือวสิ ามญั กลุ่มลูกเสือวิสามัญประกอบด้วยลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่จ�ำนวน ๔ กอง ๒.๒.๔.๘ การเรียกชอ่ื กลมุ่ ลูกเสือวสิ ามญั การเรียกชื่อกลุ่มลูกเสือวิสามัญ ให้เรียกตามชื่อโรงเรียน หรือ สถานศึกษาท่ีต้ังกลุ่มลูกเสือนั้น เช่น กลุ่มลูกเสือโรงเรียนเทพศิรินทร์” ถ้าโรงเรียนใดมีมากกว่า ๑ กลุ่มก็ให้ใช้หมายเลขก�ำกบั ตอ่ ทา้ ย เชน่ “กลมุ่ ลกู เสอื โรงเรยี นเทพศริ นิ ทร์ กลมุ่ ที่ ๑” โดยเรยี ง ตามล�ำดบั ๑, ๒, ๓, ๔ ฯ ๒.๒.๔.๙ การตงั้ กองและกล่มุ ลกู เสอื การต้ังกองและกลุ่มลูกเสือ ต้องได้รับอนุญาตจากเลขาธิการ ส�ำนักงานลูกเสือแห่งชาติ หรือผู้อ�ำนวยการลูกเสือจังหวัดแล้วแต่กรณี เม่ือต้ังกองลูกเสือแล้ว ถา้ มลี กู เสอื เป็นจ�ำนวนมากสามารถตั้งเป็นกลุ่มลูกเสือได้ จึงให้จัดตั้งเป็นกลุ่มต่อไป โดยมีข้ันตอน ดงั ตอ่ ไปนี้ 78 สารานกุ รมลูกเสอื
๑. ผกู้ �ำกบั ลกู เสอื รวบรวมใบสมคั รของลกู เสอื ทสี่ มคั รเปน็ ลกู เสอื อยา่ งนอ้ ย ๒ หมู่ (ลส.๓) แลว้ น�ำชอื่ ลกู เสอื บนั ทกึ ลงในทะเบยี นลกู เสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ (ลส.๘) ๒. ผู้ก�ำกับลูกเสือ และรองผู้ก�ำกับลูกเสือ เขียนใบสมัคร สมัครเป็นผู้บงั คบั บญั ชาลูกเสือ ผกู้ �ำกับเขยี นใบสมคั ร (ลส.๑) สมัครของตัง้ กองหรอื กลุม่ ลูกเสอื ๓. เสนอผบู้ รหิ าร เพอ่ื น�ำสง่ ถงึ ส�ำนกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ หรอื จงั หวดั แลว้ แตก่ รณี โดยแนบใบตง้ั กองหรอื กลมุ่ (ลส.๑) และใบสมคั รผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื (ลส.๒) ไปดว้ ย ๔. เมอื่ ส�ำนกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ หรอื จงั หวดั อนมุ ตั ใิ หจ้ ดั ตงั้ กองลูกเสอื หรือกลุ่มลกู เสอื ได้ ส�ำนักงานฯ ก็จะสง่ ใบตง้ั กองลูกเสือ (ลส.๑๒) และใบแต่งตง้ั ผบู้ ังคบั บญั ชาลูกเสอื (ลส.๑๓) มาให้แก่โรงเรยี นเพ่ือเป็นหลกั ฐานการตงั้ กองลกู เสือท่ีถูกต้องตอ่ ไป ๒.๒.๔.๑๐ การต้ังกองลูกเสือวิสามัญเหล่าสมุทรและกองลูกเสือวิสามัญ เหลา่ อากาศ การประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แหง่ ชาติ ครงั้ ท่ี ๑๐/๒๕๒๔ เม่ือวนั ท่ี ๑๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๔ ที่ประชุมมีมติให้แก้ไขปรับปรุงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการตั้ง กองลูกเสือเหลา่ สมทุ รและลกู เสอื เหลา่ อากาศ ดงั ตอ่ ไปน้ี หลกั เกณฑ์การตงั้ กองลกู เสอื วิสามญั เหล่าสมุทร หลักเกณฑ์การตั้งกองลูกเสือวิสามัญเหล่าสมุทรให้ ด�ำเนนิ การตามเกณฑต์ อ่ ไปนี้ ๑. มีกองลูกเสือประเภทวิสามัญที่ถูกต้องตามข้อบังคับ อยู่แล้ว ๒. ผสู้ มคั รทจี่ ะเปน็ ลกู เสอื วสิ ามญั เหลา่ สมทุ รด�ำเนนิ การ ตามขั้นตอนและวธิ กี ารสมคั รเขา้ เปน็ ลกู เสอื โดยเขยี นใบสมคั ร (ลส.๓) อยา่ งนอ้ ย ๒ หมู่ และบนั ทกึ ลงในทะเบยี นลกู เสอื ๓. ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ซง่ึ ผา่ นการฝกึ อบรมวชิ าผกู้ �ำกบั ลกู เสอื เหล่าสมุทรเขยี นใบสมคั ร (ลส.๒) เขา้ เปน็ ผกู้ �ำกบั ลกู เสือเหลา่ สมุทร ๔. สถานที่ต้ังกองลูกเสือวิสามัญเหล่าสมุทร จะต้อง ต้ังอยู่ในจังหวัดชายทะเลหรือริมแม่น�้ำใหญ่ หรือใกล้แหล่งน�้ำใหญ่ท่ีสะดวกต่อการฝึกอบรม กจิ กรรมทางนำ้� ๕. กองลูกเสือวิสามัญเหล่าสมุทรที่ตั้งข้ึนนี้ต้องเป็น กองลกู เสือท่ีกองทพั เรือยนิ ดีใหก้ ารสนับสนุน และใหค้ วามช่วยเหลือในการฝกึ อบรม ๖. ต้องได้รับการอนุมัติการตั้งกองลูกเสือวิสามัญ เหลา่ สมุทรจากคณะกรรมการบริหารลูกเสือแหง่ ชาติ สารานุกรมลกู เสือ 79
ลูกเสอื เนตรนารีวสิ ามญั เหลา่ สมทุ ร หลกั เกณฑก์ ารตง้ั กองลูกเสือวสิ ามัญเหล่าอากาศ หลกั เกณฑก์ ารตง้ั กองลกู เสอื วสิ ามญั เหลา่ อากาศใหด้ �ำเนนิ การ ตามเกณฑ์ต่อไปนี้ ๑. มีกองลูกเสือประเภทวิสามัญท่ีถูกต้องตามข้อบังคับ อยู่แล้ว ๒. ผสู้ มคั รทจ่ี ะเปน็ ลกู เสอื วสิ ามญั เหลา่ อากาศด�ำเนนิ การ ตามข้ันตอน และวธิ ีการสมคั รเขา้ เป็นลูกเสือโดยเขยี นใบสมคั ร (ลส.๓) อยา่ งนอ้ ย ๒ หมู่ และบันทกึ ลงในทะเบยี นลูกเสือ ๓. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือซึ่งผ่านการฝึกอบรมวิชาผู้ก�ำกับ ลกู เสอื เหลา่ อากาศ เขียนใบสมคั ร (ลส.๒) เข้าเป็นผกู้ �ำกบั ลกู เสอื เหลา่ อากาศ ๔. สถานทต่ี งั้ กองลกู เสอื เหลา่ อากาศ จะตอ้ งตงั้ อยใู่ นจงั หวดั ที่มหี นว่ ยงานของกองทัพอากาศตงั้ อยู่ ๕. กองลูกเสือเหล่าอากาศที่ตั้งขึ้นน้ีต้องเป็นกองลูกเสือท่ี กองทพั อากาศยนิ ดีให้การสนับสนุน และให้ความช่วยเหลือในการฝึกอบรม ๖. ต้องได้รับการอนุมัติการต้ังกองลูกเสือเหล่าอากาศจาก คณะกรรมการบรหิ ารลกู เสือแห่งชาติ กองลกู เสือวสิ ามญั เหล่าอากาศ 80 สารานกุ รมลูกเสือ
๒.๒.๔.๑๑ การโอนทะเบยี น เม่ือลูกเสือคนใดจะย้ายจากกองหน่ึงไปเข้าอีกกองหนึ่ง ให้ กองลูกเสือเดิมลงรายการในใบโอนแล้วมอบให้แก่ลูกเสือผู้น้ันน�ำไปยังกองใหม่ พร้อมกับบัตร ประจ�ำตัวลกู เสือ ๒.๓ งานทะเบียนกองลูกเสอื เมอ่ื ลกู เสอื สมคั รเขา้ มาเปน็ ลกู เสอื แลว้ เจา้ หนา้ ทล่ี กู เสอื โรงเรยี นจะตอ้ งน�ำรายชอื่ บนั ทกึ ลงในทะเบยี นของลกู เสอื ตามประเภทและเหลา่ ของลกู เสอื กอ่ นจะจดั ท�ำเอกสารขอตงั้ กลมุ่ และกองของลูกเสือนั้นๆ ซึ่งทะเบียนลูกเสือถือว่าเป็นแหล่งท่ีรวมประวัติของลูกเสือทุกคนใน กองลกู เสอื มที ง้ั การเขา้ เปน็ ลกู เสอื สงั กดั ของลกู เสอื ความดคี วามชอบของลกู เสอื การเรยี นการสอบ วชิ าพิเศษลกู เสือ ทะเบียนการเงินของลูกเสอื ทะเบยี นวสั ดุ ครุภณั ฑข์ องลูกเสอื ซึง่ จะต้องบนั ทกึ อย่างต่อเน่ืองเป็นปัจจุบัน ส�ำหรับกองลูกเสือทุกกอง ทุกประเภท และทุกเหล่าของลูกเสือ โดย แบ่งออกเปน็ ๔ ประเภท ดงั นี้ ๒.๓.๑ ทะเบยี นลกู เสือส�ำรอง (ลส.๖) การบนั ทกึ ขอ้ มลู ลงทะเบยี นลกู เสอื ส�ำรอง การบนั ทกึ ทะเบยี นลกู เสอื ส�ำรอง ด�ำเนนิ การบนั ทกึ หลงั จากไดใ้ บสมคั ร ของลกู เสอื และจัดลูกเสอื เข้ากองแล้วจึงน�ำรายชอื่ มาบันทกึ ในทะเบียบลกู เสือ (ลส.๖) สารานกุ รมลกู เสือ 81
๒.๓.๒ ทะเบยี นลูกเสือสามญั (ลส.๗) การบันทกึ ข้อมูลลงทะเบยี นลูกเสือสามญั การบนั ทกึ ทะเบยี นลกู เสอื สามญั ด�ำเนนิ การบนั ทกึ หลงั จากไดใ้ บสมคั ร ของลูกเสือและจัดลกู เสอื เข้ากองแลว้ จงึ น�ำรายชื่อมาบันทกึ ในทะเบียบลูกเสือ (ลส.๗) ๒.๓.๓ ทะเบยี นลูกเสือสามัญร่นุ ใหญ่ (ลส.๘) การบันทึกขอ้ มูลลงทะเบียนลกู เสือสามัญรุ่นใหญ่ การบันทกึ ทะเบยี นลกู เสอื สามัญรนุ่ ใหญ่ ด�ำเนินการบนั ทึกหลงั จากได้ ใบสมคั รของลูกเสือและจดั ลกู เสือเข้ากองแล้วจึงน�ำรายชอื่ มาบนั ทึกในทะเบียนลูกเสือ (ลส.๘) 82 สารานกุ รมลกู เสอื
๒.๓.๔ ทะเบยี นลูกเสือวสิ ามญั (ลส.๙) การบันทึกข้อมูลลงทะเบยี นลูกเสือวสิ ามญั การบนั ทกึ ทะเบยี นลกู เสอื วสิ ามญั ด�ำเนนิ การบนั ทกึ หลงั จากไดใ้ บสมคั ร ของลกู เสือและจัดลูกเสือเข้ากองแล้วจึงน�ำรายชื่อมาบันทกึ ในทะเบียนลูกเสือ (ลส.๙) ๒.๔ งานบัตรประจ�ำตวั ลูกเสือ บตั รประจ�ำตวั ลกู เสอื เปน็ สงิ่ ส�ำคญั ของลกู เสอื ทจี่ ะบอกใหท้ ราบวา่ ลกู เสอื มคี ณุ สมบตั ิ เชน่ ใด เนอื่ งจากในบตั รนน้ั จะบง่ บอกถงึ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทข่ี องลกู เสอื ทง้ั การเรยี น การเขา้ รว่ มกจิ กรรม ผลการเข้าร่วมกิจกรรม ตลอดจนบันทึกความดีความชอบของลูกเสือ เสมือนสมุดความดีของ ลูกเสอื ด้วย ส�ำหรบั บัตรประจ�ำตวั ลกู เสอื มี ๔ ประเภท คือ ๒.๔.๑ บตั รลกู เสอื ส�ำรอง (ลส.๑๕) สีเหลอื ง สารานุกรมลูกเสือ 83
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177