คมู ือการฝก อบรมหลักสตู ร ลูกเสอื ว�สามญั ชอสะอาด จดั ทำโดย สำนกั งานลกู เสอื แหงชาติ สำนกั การลูกเสอื ยุวกาชาดและกิจการนักเรย� น สำนักงานคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ร�ตแหง ชาติ
คมู อื การฝกอบรมหลกั สูตร ลูกเสือวส� ามัญชอ สะอาด
พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช พระประมุขคณะลกู เสอื แหงชาติ ๒
\"...ความซ่ือสัตย สจุ รติ เปนพน้ื ฐานของความดีทกุ อยาง เดก็ ๆ จงึ ตอ งฝกฝนอบรมใหเกิดมขี ึ้นในตนเอง เพือ่ จักไดเตบิ โตข้ึนเปน คนดี มปี ระโยชน และมีชีวติ ท่สี ะอาด ท่เี จรญิ มนั่ คง...\" พระบรมราโชวาท พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั พระราชทานเน่ืองในวนั เดก็ แหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๓๑ ๓
คาํ นาํ คูมือการฝกอบรมหลักสูตรลูกเสือชอสะอาด ไดจัดทําข้ึนสําหรับลูกเสือท้ัง 4 ประเภท คือ ลูกเสือ สํารอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุนใหญ และลูกเสือวิสามัญ เพ่ือใชเปนแนวทางประกอบการเรียนการสอน หลักสูตรลูกเสือชอสะอาดในสถานศึกษา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเสริมสรางจิตสํานึกการเปนพลเมืองดี มีความตระหนัก ความรู ความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับปญหาและภัยของการทุจริตที่มีตอประเทศ ปฏิบัติตน ดวยความซอ่ื สัตยส ุจริต มีจติ สาธารณะ มีสวนรวมสรางสรรคสังคมใหโปรงใส นํากระบวนการลูกเสือไปรณรงค เสริมสรางสังคมสุจริต เปนธรรม ชวยใหสังคมมีสันติสุข มีสวนรวมในการตอตานการทุจริต ตลอดจนสงเสริม ใหเหน็ คุณคา ของตนเองและผอู ื่น มพี ฤตกิ รรมในทางสรา งสรรค รวมถึงดําเนนิ ชีวติ ในสงั คมไดอ ยางมคี วามสขุ การจัดทําหลักสูตรลูกเสือชอสะอาด ไดรับความอนุเคราะหจากสํานักงานคณะกรรมการปองกันและ ปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (สํานักงาน ป.ป.ช.) สํานักงานลูกเสือแหงชาติ สํานักการลูกเสือ ยุวกาชาดและ กิจการนักเรียน สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีการแตงต้ังคณะบุคคลรวมกันดําเนินการ คือ คณะอนุกรรมการบริหารโครงการลูกเสือชอสะอาด และคณะทํางานจัดทําหลักสูตรและคูมือการฝกอบรม ลูกเสือชอสะอาด ตลอดจนไดรับความรวมมือจากกรรมการผูทรงคุณวุฒิของสภาลูกเสือไทย และผูเชี่ยวชาญ ทางดานการลูกเสือหลายทาน จนทําใหหลักสูตรลูกเสือชอสะอาดสําเร็จลุลวงไปดวยดี จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ คณะทาํ งาน กนั ยายน 2557 ๔ ก
ความเปน มา คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (คณะกรรมการ ป.ป.ช.) มีอํานาจหนาท่ี ในการปองกันการทุจริตและเสริมสรางทัศนคติคานิยมเก่ียวกับความซ่ือสัตยสุจริต ไดใหความสําคัญกับ สถาบันการศึกษาในการอบรมบมนิสัยใหความรู ความเขาใจท่ีถูกตอง การสรางนิสัย การประพฤติปฏิบัติตาม หลักคุณธรรม ซ่ึงหัวใจสําคัญของการศึกษา คือ การทําใหคนเปนคนดี เปนคนที่เปนประโยชนตอผูอ่ืน ท้ังตอ สังคมที่ตนอยูอาศัยและตอประเทศชาติ การสรางลักษณะนิสัยความซื่อสัตยสุจริตจึงเปนเร่ืองสําคัญท่ีตอง เอาใจใสด ูแลไมน อยกวา การทําใหผเู รียนมคี วามรู มีกิจกรรมเสริมสรางพัฒนาการทั้งทางกาย สติปญญา ศีลธรรม และการเปนพลเมืองท่ีดี โดยเห็นวาหลักสูตรลูกเสือและเนตรนารี สามารถปลูกฝงคานิยมความซื่อสัตยสุจริต และการทาํ ประโยชนเ พ่อื สวนรวม ซึ่งจะทําใหเยาวชนคนรุนใหมมีคานิยมความซ่ือสัตยสุจริต เห็นแกประโยชน สวนรวม จึงไดประสานความรวมมือกับสํานักงานลูกเสือแหงชาติ กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อสงเสริมใหมี การเรียนการสอนเร่ืองการปองกันและปราบปรามการทุจริตในหลักสูตรลูกเสือและเนตรนารีทุกระดับ เพอ่ื ปลูกฝงคา นยิ มความซือ่ สัตยสจุ ริต อันจะสงผลใหป ระเทศชาติมีการพฒั นาที่ย่ังยืนสบื ไป สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (สํานักงาน ป.ป.ช.) ดําเนินการ เพอ่ื ขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริตโดยใชกลไกทางการศึกษา เมื่อวันท่ี ๒๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ไดจัดทําบันทึกขอตกลงความรวมมือในการปองกันและปราบปรามการทุจริต ระหวา งสํานกั งาน ป.ป.ช. กบั กระทรวงศกึ ษาธิการ โดยสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยเห็นชอบรวมกันในการสงเสริม สนับสนุน เผยแพร และประสาน การเสริมสรางทัศนคติ คานิยมในความซ่ือสัตยสุจริต ใหหนวยงานและบุคลากรในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ตลอดจนบุคลากรที่เก่ียวของกับการจัดการศึกษาของประเทศทุกระดับ อันเปนการยกระดับใหกระทรวง ศกึ ษาธิการไทยใสสะอาด ปราศจากการทุจรติ ทกุ รูปแบบ และมีสวนรวมในการปองกันและปราบปรามการทุจริต กบั สาํ นักงาน ป.ป.ช. เพอื่ รวมขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตรชาติวาดวยการปองกันและปราบปรามการทจุ รติ สํานักงาน ป.ป.ช. ไดรับการอนุเคราะหเปนอยางดีย่ิงจากสํานักงานลูกเสือแหงชาติ และสํานัก การลูกเสอื ยุวกาชาดและกิจการนกั เรียน สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ ในการดําเนินการจัดทําหลักสูตร ลูกเสือชอสะอาด ทั้ง ๔ ประเภท ไดแก ลูกเสือสํารอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุนใหญ และลูกเสือวิสามัญ และสํานักงาน ป.ป.ช. ไดมอบหมายใหสํานักปองกันการทุจริตภาคการเมืองรับผิดชอบ “โครงการลูกเสือ ชอ สะอาด” ต้ังแตป พ.ศ. ๒๕๕๖ - พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยมีผลการดําเนนิ การ ดงั นี้ ๑. สํานักงานลูกเสือแหงชาติ เปนเจาภาพในการจัดพิธีลงนามในบันทึกขอตกลงความรวมมือ เรื่อง ความรว มมือในกิจการลูกเสือเพื่อการปองกันและปราบปรามการทุจริต ระหวางสํานักงาน ป.ป.ช. กับสํานักงาน ลูกเสือแหงชาติ ในพิธีมอบนโยบาย “การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมเยาวชนโดยกระบวนการลูกเสือ” เม่ือวันท่ี ๓๐ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ๒. จดั ทําตราสญั ลกั ษณ “ลกู เสอื ชอสะอาด” เพ่อื ใชใ นการดาํ เนนิ โครงการลูกเสือชอ สะอาด ๓. ประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือจัดทําหลักสูตรและคูมือการฝกอบรมลูกเสือชอสะอาด ท้ัง ๔ ประเภท ระหวางวนั ที่ ๗ - ๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ๕ ข
๔. ฝกอบรมผูกํากับลูกเสือ ขั้นความรูท่ัวไป เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรของสํานักงาน ป.ป.ช. เกี่ยวกบั กจิ การลกู เสือ เม่อื วนั ท่ี ๒๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ๕. ฝกอบรมผูบังคับบัญชาลูกเสือระดับผูนํา ข้ันความรูช้ันสูง เพ่ือเพิ่มพูนคุณวุฒิทางการลูกเสือใหกับ บุคลากรของสาํ นกั งาน ป.ป.ช. ระหวา งวนั ที่ ๑๒ - ๑๗ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ๖. ประกอบพิธีมอบวุฒิบัตรและเคร่ืองหมายวูดแบดจ บุคลากรทางการลูกเสือระดับผูนํา ขั้นความรู ชน้ั สูง รุนที่ ๖๖๙ ของสํานักงาน ป.ป.ช. เม่อื วันที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ๗. จดั ต้ังสโมสรลกู เสือ สาํ นักงาน ป.ป.ช. เม่ือวนั ท่ี ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ๘. ทดลองใชหลกั สูตรลกู เสอื ชอ สะอาด ท้ัง ๔ ประเภท ระหวางเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗ ๙. ประชมุ เชิงปฏิบัตกิ ารเพือ่ ทบทวนหลักสตู รลกู เสอื ชอสะอาด ในเดือนสงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เมื่อเสร็จสิ้นการดําเนินงานใน พ.ศ. ๒๕๕๗ จะมีการนําหลักสูตรลูกเสือชอสะอาดไปใชในสถานศึกษา ท่ัวประเทศ พรอมทง้ั ผลักดนั ใหเปนวชิ าพิเศษตอไป พิธลี งนามในบนั ทกึ ขอ ตกลงความรวมมือ ระหวางสํานกั งานคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาติ กับสาํ นักงานลกู เสอื แหง ชาติ ๖ ค
คําปณิธาน ลูกเสอื วสิ ามัญชอสะอาด ขาพเจา (ช่ือ - สกุล).......................................................................... ผูเขารับการฝกอบรม หลักสูตรลูกเสอื วิสามัญชอสะอาด รนุ ท่ี......../............ขอต้ังปณธิ านตอหนา สิง่ ศกั ดส์ิ ทิ ธ์ิท้งั หลายและพระบรมรูป ลนเกลา รัชกาลท่ี ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลาเจาอยหู ัว วา ขอ ๑ ขา พเจาจะยึดม่ันและปฏิบตั ติ ามคําปฏญิ าณของลูกเสอื ขอ ๒ ขาพเจาจะประพฤติตนและธํารงไวซ่ึงความซื่อสัตยสุจริต เปดเผย เปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ เคารพสิทธิของผูอื่น ยอมรับความคิดเห็นที่แตกตาง มีคุณธรรมความดี มีสวนรวมอยางมี ความสุข ขอ ๓ ขาพเจาจะมุงม่ันธํารงไวซึ่งเกียรติภูมิแหงลูกเสือ และจะทุมเทความรู ความสามารถ อุทิศตนใหแกกิจการที่เปนประโยชนตอสาธารณะอยางเต็มกําลัง ตลอดจนรักษาเอกลักษณของชาติและ ความเปน ไทยสืบไป ............................................... (.............................................) ผใู หค าํ ปณธิ าน ๗ ง
อารัมภบทลูกเสอื วสิ ามญั ชอสะอาด กิจการลูกเสือวิสามัญ (ROVER SCOUT) ไดกําเนิดข้ึนในประเทศไทยคร้ังแรกเม่ือวันท่ี ๑๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๖ โดยการรเิ รมิ่ ของรองประธานคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสือแหงชาติในสมัยนนั้ (นายอภยั จันทวิมล) ลูกเสือวิสามัญเปนลูกเสือสําหรับคนวัยหนุมสาว คนท่ีไดเคยเขารวมกิจกรรมลูกเสือ ไมวาจะเปน ลูกเสือสํารอง ลูกเสือสามัญ และลูกเสือสามัญรุนใหญก็จะทราบและเขาใจดีวา กิจการลูกเสือน้ันมี ความแตกตางจากองคกรเยาวชนอ่ืน ๆ อยางไร ส่ิงที่เยาวชนสนใจ ก็คือ กิจกรรมตาง ๆ ท่ีองคกรจัดข้ึนนั้น ตรงกับความชอบ ความตองการของพวกเขาหรือไม อยางไรกต็ าม กลาวไดวากิจกรรมของลูกเสือนั้นเปนกิจกรรม ท่ีสรางความสนใจและดึงดูดใจเยาวชนไดเปนอยางดียิ่ง ตั้งแตการเขารวมกิจกรรมของลูกเสือสํารองจนกระท่ัง ถึงระดบั สุดยอดของการลกู เสือ นั่นคือ ลกู เสือวิสามัญ กจิ กรรมที่สรา งความสนุกสนาน ต่นื เตน การผจญภยั ทําใหเกิดความเชื่อม่ันและความภาคภูมิใจใหกับ เยาวชน เชน การอยูคายพักแรม การเดินทางไกล การผจญภัย หรืองานอดิเรกตาง ๆ ก็ยังคงอยูในลูกเสือ วิสามัญ นอกจากนย้ี งั มีกจิ กรรมใหม ๆ ที่นาสนใจเพ่ิมเขามา เชน การเดินทางสํารวจซึ่งจะไดทําในสถานการณ จริงท่ีแตกตางกันไป การไปทัศนศึกษาในสถานที่แปลก ๆ ใหม ๆ ในรูปแบบของการทองเที่ยวและรวมพัฒนา ชมุ ชน ซ่งึ จะไดมโี อกาสไปพบปะ แลกเปล่ียนความรูและประสบการณ ไดทําความรูจักกับผูคนในทองถ่ินตาง ๆ เปนการสรางพ้ืนฐานและความพรอมใหกับเยาวชนที่จะกาวเขาสูโลกของผูใหญมากข้ึน และยังเนนใหลูกเสือ วิสามัญทุกคนไดเรียนรูเรื่องการจัดการและการวางแผนภายใตการดูแลอยางใกลชิดของผูบังคับบัญชา หรือ คณะกรรมการกลมุ ลูกเสอื วิสามัญ ลูกเสือวิสามัญมีกิจกรรมตาง ๆ ที่จะใหเยาวชนไดเลือกทําอยางมากมายและกวางขวาง ขึ้นอยูกับ ความตองการ ความปรารถนาและขอจํากัดสวนตัวของลูกเสือเอง กิจกรรมทุกอยางมีจุดมุงหมายที่จะชวยให ลกู เสอื วสิ ามัญมีความสุขสนุกสนาน มีความคิดสรางสรรค เปนตัวของตัวเองอยางมั่นใจ และมีความรับผิดชอบ ตอ คนอื่น ๆ ในสังคมอีกดวย การลูกเสือวิสามัญ เปนการฝกอบรมเด็กหนุมใหนิยมชีวิตกลางแจงและนิยมการบริการมากขึ้น ดวยความมุง หมาย ตอ ไปนี้ ๑. ฝกอบรมเด็กใหเปน พลเมืองดี สบื เนอ่ื งมาจากการเปนลูกเสือสาํ รอง ลูกเสือสามัญและลูกเสือสามัญ รุน ใหญตามลาํ ดับ แตม ขี อบขายกวางขวางยิ่งข้ึนใหเหมาะสมกบั วยั ลกู เสือวสิ ามญั ๒. สงเสริมใหม ีอาชีพและการบริการตอชุมชน การฝกอบรมลูกเสือวิสามัญเปนการฝกอบรมเด็กวัยรุน โดยพยายามชวยใหเด็กไดนาํ เอาอุดมการณข องคําปฏิญาณมาใชใ นชีวติ ประจําวัน ๓. สนับสนุนใหลูกเสือวิสามัญผานกระบวนการฝกอบรม สรางผลงานจนไดรับเคร่ืองหมายวิชาพิเศษ “เคร่ืองหมายลูกเสือชอสะอาด” ซึ่งแฝงไวดวยวัตถุประสงคของสํานักงานคณะกรรมการปองกันและ ปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาติ ๔. คุณสมบัติเดนเฉพาะของลูกเสือวิสามัญ คือ การไดชวยเหลือสังคมและตอตานการทุจริต คดโกง ประพฤติและปฏบิ ตั ิตวั เปน ตวั อยา งทด่ี ี ใหเ ปนทป่ี ระจักษตอสังคม ๘ จ
สารบัญ หนา ก คาํ นาํ ข ความเปน มา ง คาํ ปณธิ านลูกเสอื วสิ ามัญชอ สะอาด จ อารัมภบทลูกเสือวสิ ามัญชอสะอาด ฉ สารบัญ ๒ สว นที่ ๑ โครงสรา งหลักสูตร ๕ ๖ โครงสรา งหลักสูตรลกู เสอื วสิ ามัญชอสะอาด ๖ การดาํ เนินงานเพ่ือขอรับเครื่องหมายลกู เสอื วิสามัญชอ สะอาด ๖ วตั ถุประสงคของการฝก อบรม ๖ มาตรฐานของผผู านการฝกอบรม ๖ คณุ สมบตั ิของผเู ขา รบั การฝกอบรม ๖ ระยะเวลาในการฝก อบรม ๗ คําอธิบายหลักสตู ร ๗ กจิ กรรม/รายวชิ า ๗ วธิ กี ารฝกอบรม ๗ การประเมินผล ๘ เกณฑการผานหลกั สูตร ๙ สื่อการฝกอบรม ๑๒ ตารางการฝก อบรม ๑๘ กาํ หนดการฝกอบรม ๒๑ สว นท่ี ๒ กจิ กรรม/รายวชิ าและเนอ้ื หาสาระ ๒๘ คาํ แนะนําทัว่ ไป ๓๗ วตั ถปุ ระสงคของการฝก อบรม ๔๑ ปฐมนิเทศการฝก อบรม ๕๖ โครงการลกู เสือวสิ ามัญชอ สะอาด ๖๔ คําปฏิญาณและกฎของลูกเสือเพ่อื ความเปน พลเมอื งดแี ละจิตอาสา ๗๓ วนิ ัยและความเปนระเบียบเรียบรอยของลกู เสือวสิ ามญั ชอสะอาด ๗๗ กฎหมาย ป.ป.ช. และกฎหมายท่เี กีย่ วของ ๙๙ การชุมนมุ รอบกองไฟ/กลุมสัมพนั ธ การพูดในที่ชุมชนของลูกเสือวิสามญั ชอ สะอาด ๑๑๐ การทจุ รติ คอรร ปั ชนั ตอผลกระทบของชาติ ๑๑๗ ลกู เสอื วิสามัญชอสะอาดกบั การบริการชุมชน/การจดั ทําโครงการ ๑๒๘ ทกั ษะการเปน ผูนําของลกู เสือวิสามญั ชอ สะอาด ๑๔๗ การสรา งเครือขายลูกเสือวิสามัญชอสะอาด การเดินทางสูความสําเรจ็ ของลูกเสือวิสามญั ชอ สะอาด ฉ บทบาทหนาท่ีและความรบั ผิดชอบของลกู เสือวิสามัญชอ สะอาด ๙
สว นท่ี ๓ กิจกรรมเสนอแนะ หนา การประดบั เคร่อื งหมายลกู เสือวสิ ามญั ชอ สะอาด ๑๕๕ แนวทางการจัดตั้งกองลกู เสือวสิ ามัญในสถานศึกษา ๑๕๖ เกณฑการจัดต้งั ลูกเสือวสิ ามัญชอสะอาดในสถานศกึ ษา ๑๕๘ ปณิธานลูกเสือวิสามัญชอ สะอาด ๑๕๙ ๑๖๒ บรรณานกุ รม ๑๖๕ ภาคผนวก ๑๖๗ ๑๖๘ คาํ สงั่ แตงตั้งคณะอนกุ รรมการบริหารโครงการลกู เสือชอสะอาด ๑๗๐ คําสงั่ แตง ตง้ั คณะอนกุ รรมการบริหารโครงการลกู เสือชอสะอาด (เพ่มิ เติม) คําส่งั แตง ตง้ั คณะทํางานจดั ทําหลักสูตรและคูมอื การฝกอบรมลกู เสือชอสะอาด เพลงลกู เสือชอสะอาด ๑๐ ช
ส่วนท่ี ๑ โครงสรา้ งหลกั สตู ร
โครงสรา งหลกั สตู รลูกเสือวิสามญั ชอสะอาด ลําดับ ช่ือวิชา/กจิ กรรม รปู แบบของกจิ กรรม เวลา (นาที) วันที่ ๑ ของการฝก อบรม (วันที่......เดอื น.....................ป........) ๓๐ ๑ รายงานตวั ลงทะเบียนฯ ลงทะเบยี น ๓๐ ๖๐ ๒ แนะนาํ ทว่ั ไป/ปฐมนิเทศ บรรยาย ๔๕ ๓ พธิ เี ปดในหองประชมุ /กลางแจง / พิธกี าร เจา ของโครงการกลา วรายงาน ๖๐ พธิ ีรอบเสาธง ประธานกลาวใหโ อวาท กลาวเปด ๖๐ พิธีการรอบเสาธง ชกั ธง สวดมนต สงบนง่ิ ๗๕ ๔ ผอ. ฝก กลา วตอนรับ/ชแ้ี จง บรรยาย ๗๕ วตั ถปุ ระสงค/แนะนาํ วิทยากร ๙๐ ๕ โครงการลูกเสอื วิสามัญชอ สะอาด บรรยาย (ประวัติความเปน มา สญั ลกั ษณ ๖๐ ความหมาย) ๖๐ ๓๐ ๖ รบั ประทานอาหารกลางวนั ๑๒๐ ๗ คาํ ปฏิญาณและกฎของลูกเสือ บรรยาย อภิปรายกลุม และบทบาทสมมตุ ิ เพ่ือความเปนพลเมืองดีและจิตอาสา (ความหมาย กฎ และคําปฏิญาณมผี ลตอ การเปน พลเมืองท่ดี ีไดอยา งไร) ๘ วนิ ยั และความเปนระเบียบเรียบรอ ย บรรยาย ฝกภาคสนาม (ความหมาย ของลูกเสือวสิ ามัญชอ สะอาด ความสาํ คัญ องคประกอบของการออกคําสั่ง การปฏบิ ตั ิตามคําสงั่ ) ๙ กฎหมาย ป.ป.ช. และกฎหมาย บรรยาย (สาระสําคญั ของกฎหมาย ป.ป.ช. ทเ่ี ก่ียวของ และสว นที่เก่ียวของ) ๑๐ ประชมุ วทิ ยากร ประชุม รายงานผลประจาํ วัน เตรียมบทเรียนท่ีจะสอน ๑๑ ชกั ธงลง/รับประทานอาหารเย็น ๑๒ นนั ทนาการ เพลง เกม ๑๓ การชมุ นมุ รอบกองไฟ/กลมุ สมั พันธ ฝก ปฏิบตั ิ (การชมุ นุมรอบกองไฟ) ๑๔ สวดมนต ๑ 2
ลําดบั ชื่อวิชา/กจิ กรรม รูปแบบของกิจกรรม เวลา (นาที) วันที่ ๒ ของการฝก อบรม (วันที่......เดือน.....................ป........) ๓๐ ๑ ต่นื /ทําความสะอาดรางกาย ๖๐ ๓๐ ๒ การออกกาํ ลังกายเพ่ือสขุ ภาพ/ กายบริหาร ๔๕ ทบทวนระเบียบแถว/นัดหมาย ๑๕ ๖๐ ๓ ภารกิจสว นตัว ๗๕ ๔ รบั ประทานอาหารเชา ๙๐ ๖๐ ๕ ตรวจเยยี่ ม ตรวจเครอื่ งแบบและความเรียบรอย ๙๐ ๖ ประชมุ รอบเสาธง/เกม ๑๓๕ ๗ การพูดในทชี่ มุ ชนของลกู เสือวสิ ามัญ บรรยาย ชอสะอาด ๖๐ ๙๐ ๘ การทจุ รติ คอรรปั ชนั ตอ ผลกระทบ บรรยาย ๑๒๐ ของชาติ ๖๐ ๙ รับประทานอาหารกลางวัน ลูกเสอื วสิ ามัญชอสะอาดกบั บรรยาย ฝก ภาคสนาม ประชุมกลมุ (ลูกเสือ การบรกิ ารชมุ ชน/การจัดทําโครงการ วิสามัญกับความสัมพันธชุมชน การสาํ รวจ ๑๐ ชุมชน การมสี วนรว ม จติ อาสาพัฒนาสงั คม และชุมชน) ๑๑ ทกั ษะการเปน ผูนําของลูกเสอื วิสามญั กจิ กรรมตามฐาน (กจิ กรรมผูนาํ - ผตู าม ชอสะอาด (พัก ๑๕ นาที ในชว่ั โมง) ความสามคั คี ความเสียสละ ความโปรงใส การมสี วนรวม) ๑๒ ประชมุ วิทยากร ๑๓ ชกั ธงลง/รบั ประทานอาหารเยน็ ๑๔ พิธีปณธิ านตนลูกเสอื วิสามัญ พิธีการปลูกจิตสาํ นึก สรางความตระหนัก ชอ สะอาด และความรบั ผดิ ชอบตอชาติ ๑๕ เลือกผแู ทนรุน/สวดมนต ๒ 3
ลาํ ดบั ชื่อวิชา/กิจกรรม รูปแบบของกิจกรรม เวลา (นาที) วนั ท่ี ๓ ของการฝก อบรม (วันท่ี......เดอื น.....................ป........) ๓๐ ๑ ตนื่ /ทําความสะอาดรางกาย ๖๐ ๓๐ ๒ การออกกําลงั กายเพื่อสุขภาพ บรหิ ารกาย ๔๕ /นดั หมาย ๑๕ ๖๐ ๓ ภารกจิ สว นตัว ๗๕ ๖๐ ๔ รับประทานอาหารเชา ๖๐ ๕ ตรวจเย่ยี ม ตรวจเคร่ืองแบบและความเรียบรอย ๖๐ ๖ ประชมุ รอบเสาธง/เกม ๑๒๐ ๗ การสรางเครือขายลูกเสอื วิสามญั บรรยาย ประชุมกลมุ (ความหมาย วิธกี าร ๒,๔๓๐ ชอสะอาด ผลท่เี กดิ จากการสรางเครือขาย) ๘ การเดินทางสูความสาํ เรจ็ ของลกู เสอื บรรยาย ประชมุ กลมุ มอบหมายงาน และ วิสามัญชอ สะอาด รายงานหนาช้นั ๙ รับประทานอาหารกลางวัน บทบาทหนา ที่และความรบั ผดิ ชอบ ของลูกเสือวสิ ามญั ชอ สะอาด ๑๐ /การขอรบั เครื่องหมายลกู เสือวสิ ามญั บรรยาย ชอสะอาด • ซักถามปญหา • ประกาศผลการฝกอบรม ๑๑ • มอบวฒุ ิบตั ร • พิธปี ด รวมเวลา หมายเหตุ เวลาสามารถปรับเปลยี่ นไดตามความเหมาะสม ๓ 4
การดําเนินงานเพอื่ ขอรับเครอื่ งหมายลูกเสือวสิ ามัญชอ สะอาด แผนภมู กิ ารดาํ เนินงาน หลักสูตรลูกเสือวิสามัญชอสะอาด ดําเนนิ การฝก อบรม ๑. วตั ถุประสงคข องการฝก อบรม กจิ กรรมในสถานศึกษา ๒. ปฐมนิเทศการฝกอบรม ๓. โครงการลูกเสอื วสิ ามัญชอ สะอาด การนําหลกั ๔. คาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสือเพื่อความเปน พลเมืองดีและจติ อาสา ความซอื่ สัตยไปใช ๕. วนิ ยั และความเปนระเบียบเรยี บรอ ยของลูกเสือวสิ ามัญชอสะอาด ๖. กฎหมาย ป.ป.ช. และกฎหมายทีเ่ กี่ยวของ ๗. การชมุ นมุ รอบกองไฟ/กลมุ สัมพันธ ๘. การพูดในท่ีชุมชนของลกู เสือวสิ ามัญชอ สะอาด ๙. การทุจรติ คอรรัปชันตอผลกระทบของชาติ ๑๐. ลกู เสือวิสามญั ชอ สะอาดกับการบริการชมุ ชน/การจดั ทําโครงการ ๑๑. ทกั ษะการเปน ผูนาํ ของลูกเสอื วิสามญั ชอ สะอาด ๑๒. พิธีปณิธานตนลูกเสอื วสิ ามญั ชอสะอาด (พธิ ีการ) ๑๓. การสรางเครอื ขายลูกเสือวิสามัญชอ สะอาด ๑๔. การเดินทางสูค วามสาํ เร็จของลกู เสือวสิ ามัญชอ สะอาด ๑๕. บทบาทหนา ที่และความรับผิดชอบของลูกเสือวิสามญั ชอ สะอาด /การขอรบั เคร่ืองหมายลูกเสอื วสิ ามญั ชอสะอาด เคร่ืองหมายลูกเสือวสิ ามัญชอ สะอาด ปฏิบตั ิกิจกรรม อยางนอย ๓ กิจกรรม ผาน ภายใน ๓ เดือน ตนเอง เพอื่ น/ ครอบครัว/ เดอื น สถานศึกษา ชมุ ชน ประเมินผล ไมผ าน ๔ 5
๑. วัตถปุ ระสงคข องการฝกอบรม ๑.๑ เพ่ือใหลูกเสือวิสามัญมีความเขาใจในเรอื่ งการสรางประชาธปิ ไตยของชาติ ๑.๒ เพื่อใหลูกเสือวิสามัญมจี ติ สาธารณะ ชว ยเหลอื และสรางสรรคส งั คมใหสันตสิ ุข ๑.๓ เพอ่ื ใหลูกเสือวสิ ามญั มสี วนรวมสรา งสรรคสังคมใหโ ปรง ใส ๑.๔ เพื่อใหลูกเสือวิสามัญนํากระบวนการลูกเสือไปเผยแพรและรณรงคเสริมสรางสังคมใหสุจริต เปนธรรม ๑.๕ เพ่ือใหล ูกเสอื วิสามญั มีความรู ความเขา ใจในเร่อื งกฎหมาย ป.ป.ช. และกฎหมายทเี่ กี่ยวขอ ง ๒. มาตรฐานของผผู า นการฝกอบรม ผทู ผี่ านการฝก อบบรม ๑. มีคณุ สมบตั ิตามที่กําหนด หรือผูอ าํ นวยการฝกอนุญาตใหเขารบั การฝกอบรม ๒. มีความเขาใจในเน้ือหาตามหลักสูตรและผานการประเมิน ๓. คณะวิทยากรผูฝ ก อบรมเห็นควรใหผา นการอบรม ๓. คณุ สมบัติของผเู ขา รับการฝก อบรม เปนลกู เสอื เนตรนารี ยุวกาชาด สมาชกิ ผบู าํ เพ็ญประโยชนและอาสาสมัครที่มีอายุระหวาง ๑๖ - ๒๕ ป หรือศึกษาอยใู นระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย อาชวี ศกึ ษาหรอื อดุ มศึกษา ๔. ระยะเวลาในการฝก อบรม จาํ นวน ๓ วนั ๒ คืน ๕. คาํ อธิบายหลักสตู ร เปนการเรยี นรเู กยี่ วกับหลกั การสําคัญในเร่ืองความซื่อสัตยสุจริต และในการปองกันการทุจริต ท่ีทําให เกิดความรับผิดชอบ มีความเขาใจในหนาท่ี และมีการกระทําท่ีเปดเผยและมีความสุข โดยเคารพสิทธิของ ตนเองและผูอ่ืน ยึดหลักคุณธรรมและปฏิบัติตนดวยความซื่อสัตย ทั้งตอตนเอง ผูอ่ืนและประเทศชาติ รวมถึง ยอมรับความคิดเห็นหรือความแตกตางท่ีเกิดข้ึน สรางการมีสวนรวมในการปองกันการทุจริต นําไปสูกระทํา การบาํ เพ็ญประโยชนตอ สงั คมและตอ ประเทศชาติ ๖. กจิ กรรม/รายวิชา ๖.๑ วัตถปุ ระสงคข องการฝก อบรมหลกั สูตรลูกเสอื วิสามญั ชอสะอาด ๖.๒ ปฐมนิเทศการฝก อบรมหลักสูตรลูกเสอื วสิ ามัญชอสะอาด ๖.๓ โครงการลูกเสือวิสามญั ชอ สะอาด ๖.๔ คาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื เพอื่ ความเปนพลเมืองดีและจติ อาสา ๖.๕ วนิ ยั และความเปน ระเบียบเรียบรอยของลกู เสือวสิ ามัญชอ สะอาด ๖.๖ กฎหมาย ป.ป.ช. และกฎหมายทีเ่ กย่ี วของ ๖.๗ การชมุ นุมรอบกองไฟ/กลมุ สมั พนั ธ ๖.๘ การพดู ในทีช่ มุ ชนของลกู เสือวิสามญั ชอสะอาด ๖.๙ การทุจรติ คอรร ัปชันตอ ผลกระทบของชาติ ๖.๑๐ ลูกเสือวิสามัญชอสะอาดกบั การบริการชมุ ชน/การจัดทําโครงการ ๖.๑๑ ทกั ษะการเปนผูนาํ ของลกู เสือวิสามญั ชอสะอาด ๖.๑๒ พิธีปณิธานตนลกู เสือวิสามญั ชอ สะอาด (พธิ ีการ) ๕ 6
๖.๑๓ การสรา งเครือขา ยลูกเสือวสิ ามญั ชอสะอาด ๖.๑๔ การเดินทางสคู วามสําเร็จของลกู เสือวิสามัญชอ สะอาด ๖.๑๕ บทบาทหนาท่ีและความรับผิดชอบของลูกเสือวิสามัญชอสะอาด/การขอรับเครื่องหมายลูกเสือ วิสามัญชอสะอาด ๗. วธิ ีการฝก อบรม ๗.๑ การบรรยาย ๗.๒ งานกลมุ ๗.๓ การระดมสมอง ๗.๔ บทบาทสมมติ ๗.๕ เกม ๗.๖ ฐานกิจกรรม ๗.๗ กิจกรรมกลุมสมั พันธ ๗.๘ การถาม - ตอบ ๗.๙ กจิ กรรมชุมนมุ รอบกองไฟ ๗.๑๐ กิจกรรมบาํ เพญ็ ประโยชน ๘. การประเมินผล ๘.๑ ประเมินผลตามสภาพจรงิ ตามรายบุคคล สงั เกตพฤตกิ รรมและภาคปฏิบตั ิ ๘.๒ ประเมินผลงานตามท่ีไดรับมอบหมาย ๘.๓ ผา นเกณฑรอยละ ๘๐ ๙. เกณฑการผา นหลักสตู ร ๙.๑ เวลาเขารวมการฝก อบรมไมนอยกวา รอ ยละ ๘๐ ๙.๒ ผานเกณฑการประเมินตามรายวชิ าท่ีกําหนด ๙.๓ ปฏบิ ัติกิจกรรมตามที่หลกั สตู รลูกเสือวิสามัญชอ สะอาดกําหนด ๑๐. สอื่ การฝกอบรม ๑๐.๑ สือ่ โสตทศั นปู กรณ เชน เครื่องฉายโปรเจคเตอร คอมพิวเตอร เคร่ืองเสยี ง คลปิ วีดิทศั น ๑๐.๒ วสั ดสุ ํานกั งาน เชน กระดาษ A4 ปากกาเคมี กระดาษ flipchart ๑๐.๓ แผน ภาพ ใบความรู ใบงาน ใบกิจกรรม แผนภมู ิ รปู ภาพ เพลง เกม ๑๐.๔ เครื่องแตงกายประกอบการแสดง ๑๐.๕ เคร่ืองดนตรี เชน กลอง ฉง่ิ ฉาบ ฯลฯ ๖ 7
8 ตารางการฝกอบรมหลักสูตรลูกเสือวิสามัญชอ สะอาด เวลา ๐๕.๐๐ - ๐๙.๐๐ น. ๐๙.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ - ๑๙.๓๐ น. ๑๙.๓๐ - ๒๐.๓๐ - วนั ที่ ๐๘.๐๐ - ๐๘.๓๐ น. ๑๓.๐๐ น. ๒๐.๓๐ น. ๒๑.๓๐ น. วันที่ ๑ ๑๓.๐๐ - ๑๔.๐๐ - ๑๕.๓๐ - ๑๘.๐๐ - ของการ • รายงานตัว ๐๘.๓๐ - ๑๑.๐๐ น. ๑๑.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. ๑๔.๐๐ น. ๑๕.๑๕ น. ๑๗.๐๐ น. ๑๙.๓๐ น. ฝก อบรม • ลงทะเบียน • จดั กลุม • ปฐมนิเทศ โครงการลูกเสือ พัก/ ัรบประทานอาหารกลางวัน ันดหมายการ ุชม ุนมรอบกองไฟ (วันแรก) กฎหมาย ัพก/ ัรบประทานอาหารเย็น การชุมนุมรอบกองไฟ วนั ท่ี ๒ • พธิ เี ปดการฝก อบรม วสิ ามญั ชอ สะอาด บทเรียนรูจัก ึ่ซงกันและกัน ป.ป.ช. และ และนันทนาการ /กลุมสัมพนั ธ ของการ • กิจกรรมกายบริหาร • พิธีถวายราชสดุดี ํคาป ิฏญาณและกฎของ กฎหมาย ฝก อบรม • รับประทานอาหาร • พิธเี ปดรอบเสาธง ูลกเ ืสอเพื่อความเปน ทีเ่ กี่ยวขอ ง • พิธรี อบเสาธง • ผอ. ฝก กลาวตอ นรับ พลเ ืมอง ีดและจิตอาสา • กิจกรรมสรา ง วินัยและความเปน /ชีแ้ จง/แนะนาํ ระเบียบเ ีรยบ รอยของ ความสัมพนั ธ วิทยากร ูลกเ ืสอวิสา ัมญ ชอสะอาด การพูดในทช่ี ุมชน การทจุ ริตคอรรัปชนั ลูกเสือวสิ ามัญ ทกั ษะการเปน ผูนําของ พัก/ ัรบประทาน พธิ ีปณิธานตนลูกเสอื วสิ ามัญ ของลูกเสือวสิ ามญั ตอผลกระทบของชาติ ชอ สะอาดกับ ลูกเสือวสิ ามัญชอสะอาด อาหารเย็นและ ชอ สะอาด (พธิ กี าร) ชอ สะอาด การบริการชุมชน/ นันทนาการ การจัดทําโครงการ วนั ที่ ๓ •กิจกรรมกายบริหาร การสรา งเครือขา ย การเดนิ ทางสู บทบาทหนา ทแ่ี ละ • ซกั ถามปญหา ของการ •รบั ประทานอาหาร ลกู เสอื วิสามญั ความสาํ เร็จของ ความรบั ผิดชอบ • ประกาศผล ฝก อบรม •พิธรี อบเสาธง ชอสะอาด ลกู เสอื วิสามญั ของลูกเสอื วสิ ามัญ • มอบวุฒิบตั ร •กิจกรรมสราง ชอ สะอาด ชอ สะอาด/ • พธิ ีปด ความสมั พันธ การขอรับ • เดนิ ทางกลบั •การทดสอบ เครอื่ งหมาย ลกู เสอื วิสามญั หลังการฝก อบรม ชอสะอาด หมายเหตุ ๑. ตารางการฝกอบรมอาจเปล่ียนแปลงไดตามความเหมาะสม ๒. คําวา “ลกู เสอื ” หมายรวมถึง ลูกเสือวสิ ามัญ เนตรนารีวิสามัญ ยุวกาชาด สมาชิกผบู ําเพญ็ ประโยชน และอาสาสมคั ร ๓. การนัดหมายกิจกรรมชุมนุมรอบกองไฟใหพิธีกรประจาํ วนั แรกทาํ หนา ท่ี ๔. พกั รบั ประทานอาหารวา งและเคร่ืองด่มื ประมาณชวงเวลา ๑๐.๐๐ - ๑๐.๑๕ น. และ ๑๔.๓๐ - ๑๔.๔๕ น. (อาจเปลยี่ นแปลงไดต ามความเหมาะสมของแตละวัน) 7
กาํ หนดการฝกอบรมหลกั สตู รลูกเสือวิสามัญชอ สะอาด (เขา คายพักแรม ๓ วนั ๒ คนื ) ณ คา ย/ศูนย................................................. วันที่ ๑ ของการฝกอบรม (วันที่......เดอื น.....................ป............) ๐๘.๐๐ - ๐๘.๓๐ น. รายงานตัว/ลงทะเบยี น ๐๘.๓๐ - ๐๙.๐๐ น. แนะนําทั่วไป/ปฐมนเิ ทศ ๐๙.๐๐ - ๑๐.๐๐ น. พิธีเปด ในหอ งประชมุ /กลางแจง/พิธีรอบเสาธง ๑๐.๐๐ - ๑๐.๑๕ น. อาหารวา ง ๑๐.๑๕ - ๑๑.๐๐ น. ผอ. ฝก กลา วตอ นรบั /ชี้แจงวตั ถปุ ระสงค/แนะนาํ วิทยากร ๑๑.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. โครงการลกู เสือวิสามัญชอสะอาด ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวนั /บทเรยี นรูจกั ซ่งึ กันและกัน ๑๓.๐๐ - ๑๔.๑๕ น. คาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสือเพื่อความเปนพลเมอื งดีและ จิตอาสา ๑๔.๑๕ - ๑๕.๑๕ น. วินยั และความเปน ระเบยี บเรียบรอยของลูกเสือวิสามัญ ชอ สะอาด ๑๕.๑๕ - ๑๕.๓๐ น. อาหารวา ง ๑๕.๓๐ - ๑๗.๐๐ น. กฎหมาย ป.ป.ช. และกฎหมายทเ่ี กี่ยวของ ๑๗.๐๐ - ๑๘.๐๐ น. ประชมุ วิทยากร ๑๘.๐๐ - ๑๙.๐๐ น. ชักธงลง/รับประทานอาหารเย็น ๑๙.๐๐ - ๑๙.๓๐ น. นันทนาการ ๑๙.๓๐ - ๒๑.๓๐ น. การชุมนมุ รอบกองไฟ/กลุมสมั พนั ธ ๒๑.๓๐ - ๒๒.๐๐ น. สวดมนต วันที่ ๒ ของการฝก อบรม (วันท่ี......เดอื น.....................ป............) ๐๕.๐๐ - ๐๕.๓๐ น. ต่ืน/ทาํ ความสะอาดรางกาย ๐๕.๓๐ - ๐๖.๓๐ น. การออกกาํ ลังกายเพ่ือสขุ ภาพ/ทบทวนระเบยี บแถว/นัดหมาย ๐๖.๓๐ - ๐๗.๐๐ น. ภารกจิ สว นตัว ๐๗.๐๐ - ๐๗.๔๕ น. รับประทานอาหารเชา ๐๗.๔๕ - ๐๘.๐๐ น. ตรวจเยย่ี ม ๐๘.๐๐ - ๐๙.๐๐ น. ประชมุ รอบเสาธง/เกม ๐๙.๐๐ - ๑๐.๑๕ น. การพูดในทช่ี ุมชนของลกู เสือวิสามญั ชอ สะอาด ๑๐.๑๕ - ๑๐.๓๐ น. อาหารวา ง ๑๐.๓๐ - ๑๒.๐๐ น. การทจุ ริตคอรร ปั ชันตอ ผลกระทบของชาติ ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวนั ๑๓.๐๐ - ๑๔.๓๐ น. ลกู เสอื วิสามัญชอสะอาดกับการบริการชุมชน/การจัดทํา โครงการ ๑๔.๓๐ - ๑๔.๔๕ น. อาหารวา ง ๑๔.๔๕ - ๑๗.๐๐ น. ทักษะการเปนผนู าํ ของลกู เสือวสิ ามัญชอสะอาด ๘ 9
๑๗.๐๐ - ๑๘.๐๐ น. ประชุมวิทยากร ๑๘.๐๐ - ๑๙.๓๐ น. ชกั ธงลง/รบั ประทานอาหารเยน็ ๑๙.๓๐ - ๒๑.๓๐ น. พิธีปณิธานตนลกู เสอื วิสามัญชอ สะอาด (พธิ กี าร) ๒๑.๓๐ - ๒๒.๓๐ น. เลอื กผแู ทนรนุ /สอบฯ/สวดมนต วันที่ ๓ ของการฝก อบรม (วันที่......เดือน.....................ป............) ๐๕.๐๐ - ๐๕.๓๐ น. ต่นื /ทาํ ความสะอาด ๐๕.๓๐ - ๐๖.๓๐ น. การออกกาํ ลงั กายเพื่อสขุ ภาพ/นดั หมาย ๐๖.๓๐ - ๐๗.๐๐ น. ภารกิจสวนตัว ๐๗.๐๐ - ๐๗.๔๕ น. รบั ประทานอาหารเชา ๐๗.๔๕ - ๐๘.๐๐ น. ตรวจเย่ยี ม ๐๘.๐๐ - ๐๙.๐๐ น. ประชุมรอบเสาธง/เกม ๐๙.๐๐ - ๑๐.๓๐ น. การสรางเครือขายลกู เสือวสิ ามัญชอ สะอาด ๑๐.๔๕ - ๑๑.๐๐ น. อาหารวา ง ๑๑.๐๐ - ๑๒.๐๐ น. การเดนิ ทางสูความสําเรจ็ ของลูกเสอื วิสามญั ชอ สะอาด ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. รบั ประทานอาหารกลางวนั ๑๓.๐๐ - ๑๔.๓๐ น. บทบาทหนาที่และความรับผดิ ชอบของลกู เสือวสิ ามัญ ชอ สะอาด/การขอรับเครอื่ งหมายลูกเสอื วิสามญั ชอสะอาด ๑๔.๓๐ - ๑๖.๐๐ น. • ซกั ถามปญหา • ประกาศผลการฝก อบรม • มอบวุฒบิ ัตร/พธิ ปี ด ๑๖.๐๐ - ๑๗.๐๐ น. เดินทางกลบั บาน หมายเหตุ ๑. ตารางการฝกอบรมอาจเปลย่ี นแปลงไดตามความเหมาะสม ๒. คําวา “ลูกเสือ” หมายรวมถึง ลูกเสือวิสามัญ เนตรนารีวิสามัญ ยุวกาชาด สมาชิกผูบําเพ็ญ ประโยชน และอาสาสมัครที่อยใู นระดับเดียวกนั ๙ 10
สว่ นที่ ๒ กจิ กรรม/รายวชิ า และเนื้อหาสาระ
คําแนะนําทว่ั ไป การบูชาพระรตั นตรยั การฝกอบรมผูบังคับบัญชาลูกเสือ การฝกอบรมลูกเสือ - เนตรนารีของไทยเราน้ัน มักจะมีพิธีทาง ศาสนาพุทธเขามาเกีย่ วของอยดู วยเสมอ เชน พธิ ีเปด การฝก อบรม พธิ ฟี งพระธรรมเทศนา กอนเดินทางไกล พิธี เขาประจํากองลูกเสือ ดังนนั้ เพ่ือเปน แนวทางในแนวเดียวกัน จึงมีขอเสนอแนะในดา นตาง ๆ ดังน้ี ๑. การจัดโตะ หมูบ ูชา การจัดโตะหมูบูชามีจุดประสงคเพื่อเปนท่ีประดิษฐานพระพุทธรูปพรอมเคร่ืองบูชาตามคตินิยมของ ชาวพุทธ ศาสนพิธีตาง ๆ ทางพระพุทธศาสนานิยมอัญเชิญพระพุทธรูปมาประดิษฐานไวในพิธีดวย เพ่ือให พระรัตนตรัยครบสมบูรณ การอัญเชิญพระพุทธรูปมาประดิษฐานน้ัน ควรทําสถานท่ีประดิษฐานใหเหมาะสม ในปจจุบันถือเปนเอกลักษณของชาติไทย พรอมทั้งเปนวัฒนธรรมประเพณีท่ีสําคัญกลายเปนมรดกของชาติ สวนหน่ึง การจดั โตะหมบู ชู า โตะหมูมจี ํานวนโตะแตกตางกนั คือ หมู ๔ หมู ๕ หมู ๖ หมู ๗ หมู ๙ แตที่นิยมใช กันคือ หมู ๕ หมู ๗ หมู ๙ การใชโตะ หมขู นาดใดขนึ้ อยกู บั พน้ื ท่ี และอุปกรณท ี่มีอยเู ปน สําคญั เคร่ืองบูชาท่ีใชในการตั้งโตะหมูบูชา คือ พานพุมหรือพานดอกไม แจกันดอกไม กระถางธูป เชิงเทียน โดยมีปริมาณที่มากนอยแตกตางกนั ไปตามจํานวนของโตะหมูที่ใช โดยมีหลักเกณฑการจัดท่ีสําคัญ คือ การจัดต้ัง เครอื่ งบชู าทกุ ชนดิ จะตอ งไมสงู กวาพระพทุ ธรปู ที่ประดษิ ฐานที่โตะหมบู ชู า การจัดโตะหมูบูชาในพิธีของราชการ (ท่ีไมใชเก่ียวกับนานาชาติ) มักนิยมตั้งธงชาติ และพระบรมฉายาลักษณหรือพระบรมฉายาทิสลักษณของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รวมกับโตะหมูบูชาเพ่ือใหครบทั้ง ๓ สถาบัน คือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย มีหลกั ในการจดั คือ ต้ังโตะหมูบูชาไวตรงกลาง ต้ังธงชาติทางดานขวาของโตะหมู และตั้งพระบรมฉายาลักษณ หรือพระบรมฉายาทิสลกั ษณไวทางดานซา ยของโตะหมู การจดั โตะหมบู ูชา ๒. การแสดงความเคารพของผเู ปน ประธาน ณ ท่บี ูชาและผรู วมพิธี เม่ือประธานในพิธีลุกจากที่นั่งเพื่อไปบูชาพระรัตนตรัย ผูรวมพิธียืนข้ึน เม่ือประธานเร่ิมจุดเทียนธูป ผูรวมพิธีประนมมือเสมออก ประธานในพิธีจะรับเทียนชนวนและจุดเทียนเลมทางซายมือของประธานกอน จึงจุดเทียนเลมขวามือ เม่ือจุดเทียน ๒ เลมแลว จึงจุดธูป เม่ือประธานในพิธีจุดธูปเสร็จแลว จะลงนั่งคุกเขา และเตรยี มกราบแบบเบญจางคประดษิ ฐ ชาย นั่งคุกเขา ปลายเทาต้งั น่งั บนสน เทา มอื ทั้งสองวางบนหนา ขาท้งั สองขา ง (ทาเทพบุตร) หญิง นง่ั คกุ เขาปลายเทาราบ นัง่ บนสน เทา มือทงั้ สองวางบนหนาขาทง้ั สองขาง (ทาเทพธดิ า) ๑๐ 12
การกราบแบบเบญจางคประดษิ ฐ จังหวะที่ ๑ (อญั ชลี) ยกมือข้ึนประนมระหวา งอก ปลายน้ิวชิดกนั ตั้งขน้ึ แนบตัว ไมกางศอก จังหวะท่ี ๒ (วันทา) ยกมอื ข้ึนพรอ มกับกมศรี ษะ โดยใหปลายน้วิ ช้ีจรดปลายหนา ผาก จงั หวะที่ ๓ (อภวิ าท) ทอดมือลงกราบ ใหมือและแขนทงั้ สองขางลงพรอมกัน มือควํ่า หางกันเล็กนอย พอใหหนาผากจรดพื้นระหวางมือได ชายและหญงิ กราบแบบเบญจางคประดิษฐ ทําสามจังหวะใหครบสามครั้ง แลวยกมือขึ้นจบโดยใหนิ้วช้ีจรดหนาผาก แลวปลอยมือลง การกราบ ไมควรใหช าหรอื เร็วเกนิ ไป เม่ือประธานกราบ ผูรวมพิธียกมือที่ประนมมือขึ้นใหน้ิวช้ีจรดหนาผาก พรอมทั้งกมศีรษะเล็กนอย การจดั ทบี่ ูชาพระรตั นตรัยสําหรับประธานในพิธีที่เปนสามัญ ไมนิยมตั้งแทนสําหรับกราบพระ แตอาจใชพรมปู กับพนื้ ที่หนา โตะ หมบู ูชาสําหรบั ประธานเทาน้ัน เมอื่ ประธานบูชาพระรัตนตรัยเสรจ็ แลว จะยนื ข้นึ ถอยหลัง ๑ กาว ยืนตรง คอมศีรษะ คารวะคร้ังเดียว ตรงโตะหมูบูชา ซ่ึงถือวาเคารพตอธงชาติและพระบรมฉายาลักษณไปพรอมกัน แลวใหประธานปฏิบัติ เชน เดยี วกนั น้ที งั้ ชายและหญงิ ทั้งทีอ่ ยใู นและนอกเครอ่ื งแบบ การกราบแบบเบญจางคประดิษฐ ๑๑ 13
การถวายราชสดดุ ีพระบรมรูปรัชกาลท่ี ๖ ในพธิ เี ปดการฝก อบรมหลกั สตู รลกู เสือชอสะอาด ๑. เคร่ืองบูชา จัดต้ังไวหนาพระบรมรูป ควรมีเคร่ืองทองนอยและพานสําหรับวางพวงมาลัยหรือ ชอ ดอกไม ถาไมม ีเครอื่ งทองนอยใหจ ดั เคร่ืองบชู า ดังน้ี ๑.๑ ธูป ๑ ดอก ๑.๒ เทียน ๑ เลม ๑.๓ พานสําหรับวางพวงมาลัย หรอื ชอ ดอกไม ๒. พิธีกร พิธีกรเชิญประธานในพิธีจุดเทียน จุดธูปถวายราชสักการะ ภายหลังที่ประธานไดจุดเทียน จุดธปู บูชาพระรัตนตรัยแลว ๓. ประธานในพิธี ๓.๑ เดินไปยงั หนา พระบรมรูป ถวายคาํ นบั (ตามระเบยี บสาํ นกั พระราชวัง) รับพวงมาลัยหรือ ชอดอกไมจ ากเจาหนาทถ่ี วายไวบนพานทีห่ นา พระบรมรูป แลว จุดเทยี น จุดธูปตามลําดบั ๓.๒ เสรจ็ แลว ลงนงั่ คกุ เขา ประนมมือ ถวายบงั คม ๓ คร้ัง แลว ลุกข้นึ ยืนถวายคํานับอีกคร้งั หนึง่ ๓.๓ ถอยออกมาน่ังเตรียมถวายราชสดุดี กาวเทาซายไปขางหนาหน่ึงกาว คุกเขาลง ต้ังเขา ซายน่งั ลงบนสนเทาขวา มือขวาแบคว่ําวางลงบนเขาขวา แขนซายวางพาดบนเขาซายเอียงไปทางขวาเล็กนอย เมอื่ รองเพลงราชสดุดี ใหกมหนาเล็กนอยและใหเงยหนาข้ึนตามเดิมเมื่อจบเพลง (ถาถือหมวกอยูดวยใหปฏิบัติ ตามคูม ือระเบียบแถวของสาํ นักงานคณะกรรมการบริหารลกู เสอื แหงชาติ) ๔. ผูเขารบั การฝก อบรม และแขกผรู ับเชญิ อนื่ ๆ ปฏิบตั ิดงั นี้ ๔.๑ เม่ือประธานเดนิ ไปจดุ เทยี น จุดธปู บูชาพระบรมรูป ทุกคนยนื อยใู นทา ตรง ๔.๒ เมอื่ ประธานลงน่ังคกุ เขาถวายบงั คมใหท กุ คนน่งั ลงในทาเตรียมถวายราชสดดุ ี ๔.๓ เม่ือประธานถอยมาน่ังในทาเตรียมถวายราชสดุดี พิธีกรจะนําถวายราชสดุดี ใหทุกคน รองตามพรอ มกนั ๕. เมื่อจบบทถวายราชสดุดีแลว พิธีกรจะส่ังใหทุกคน “ลุก” ทุกคนลุกข้ึนยืน เม่ือประธานเดินไปนั่ง ยังท่แี ลว ใหทกุ คนนง่ั ลง หมายเหตุ • สาํ หรับประธานในพธิ ีและผูเขารับการฝกอบรมท่ีเปนสตรี เมื่อเวลาถวายราชสดุดี เพื่อความเหมาะสม ใหนัง่ คุกเขาท้งั สองขาง มือทั้งสองวางขนานกนั ไวบนเขา ท้ังคู • พธิ ีกรข้นึ เพลงราชสดุดี ควรมีนา้ํ เสยี ง จังหวะท่ีถูกตอง นุม นวล การจดั โตะหมแู ละพระบรมรปู ประธานบชู าพระรตั นตรัย ประธานถวายราชสดดุ ีพระบรมรปู ร.๖ ๑๒ 14
พธิ รี อบเสาธงในตอนเชา ระหวางการฝก อบรม (มีอาวธุ ประจาํ กาย) การประชุมรอบเสาธง สําหรับการฝกอบรมหลักสูตรลูกเสือวิสามัญชอสะอาด ใหมีพิธีกรคนหนึ่ง ซึ่งไดรับมอบหมายจากผูอํานวยการฝกเปนผูดําเนินการ และใหมีการปฏิบัติในการชักธงชาติข้ึนสูยอดเสา ตามลําดับ ดังนี้ ๑. ใหพ ิธกี รยนื อยหู นา เสาธง หนั หลงั ใหเ สาธง หา งประมาณ ๓ กา ว ๒. ใหคาํ ส่งั เรยี ก “กอง” ใชส ัญญาณมอื เรียกแถวรปู ครงึ่ วงกลม ๓. ใหหมูแรกอยูทางซายมือของผูเรียกเสมอ ทุกคนจะตองจัดแถวโดยการสะบัดหนาไปทางขวามือ ระยะเคียงระหวางบุคคลภายในหมู ๑ ชวงศอก โดยใหมือซายทาบสะเอว และดันศอกซายใหเปนแนวเดียวกับ ลําตวั ระยะเคยี งระหวา งหมู ๑ ชวงแขน โดยใหร องนายหมยู กแขนซา ยขึ้นวดั ระยะแลวเอาลง ๔. ใหหมูถัดไปเขาแถวจัดระยะเคียงตอจากหมูแรกเรียงกันไปตามลําดับจนครบทุกหมู เปนรูป ครึ่งวงกลม ใหหมูสุดทายอยูทางขวามือของผูเรียกตรงกับหมูแรก คือ รองนายหมูของหมูสุดทายจะตองยืน ตรงกับนายหมขู องหมูแรก ๕. เม่ือพิธีกรเห็นวาจัดรูปแถวเรียบรอยแลวจะส่ัง “น่ิง” ทุกคนสะบัดหนากลับ และคนท่ียกศอกซาย มือทาบสะโพกก็ลดมอื ซา ยลง ยนื อยูใ นทา ตรง ระวังอยาใหวงกวางเกนิ ไปนัก จะทําใหไ ดยินเสียงพูดไมชดั เจน ๖. เมื่อทุกคนพรอม พิธีกรส่ัง “ตามระเบียบ - พัก” แลวส่ังกองอยูในทาตรงเสียกอน จึงสั่งใหหมู บริการเขาไปเริ่มพิธีการชักธงชาติ ในขณะเดียวกันพิธีกรกลับไปเขาแถวกับวิทยากรอ่ืนท่ีเขาแถวอยูหลังเสาธง เม่ือจะออกคาํ สงั่ ทกุ ครง้ั ใหก าวไปขางหนา ๑ กาว ส่ังเสรจ็ ใหกลับเขาแถวตามเดมิ ๗. นายหมูบริการหรือลูกเสือในหมูบริการรวม ๒ คน ฝากไมงามไวกับคนถัดไป แลววิ่งออกไปยืนหาง จากเสาธงชาติ ประมาณ ๓ กา ว ๘. ทั้งสองคนทําวันทยหัตถพรอมกัน คนทางขวามือเดินเขาไป ๒ กาว ยืนเทาชิด แกเชือกผูกเสาธง ถอยหลังกลับไปอยูท่ีเดิม แยกเชือกธงเสนท่ีจะชักขึ้น ใหคนอยูทางซายมือถือไว สวนธงชาติอยูท่ีคนขางขวา อยา ใหเ สนเชือกหยอน ยืนเตรียมพรอม แลว พธิ กี รส่ัง “กองเคารพธงชาติ วนั ทยา - วุธ” ๙. ลูกเสือตามที่กําหนดในหมูบริการนํารองเพลงชาติ ลูกเสือทุกคนรองเพลงชาติ พอเริ่มรองเพลง ใหผ ูช ักธงคนทางซา ยคอย ๆ สาวสายเชือกใหธงขึ้นสูยอดเสาชา ๆ ใหสายเชือกตึง สวนคนขางขวาผอนสายเชือก ใหธงคอย ๆ ข้ึนไป และคุมสายเชือกใหตึงเสมอกัน ผูชักธงจะตองกะระยะวา พอเพลงชาติจะจบ กะใหระยะ ธงชาติหางจากปลายเสาประมาณ ๕๐ เซนติเมตร พอเพลงชาติจบ จึงกระตุกเชือกใหธงชาติถึงปลายเสาพอดี เสรจ็ แลว คนทางขวาไปผกู เชอื กใหเรียบรอ ย แลวถอยหลังกลับมา ๑๐. ผูชกั ธงชาตทิ ําวันทยหตั ถพรอมกัน แลวกลับหลังหันว่ิงไปเขาแถวตามเดิม และรับไมงามมาจากท่ี ฝากไวท ําวนั ทยาวุธ พิธีกรสงั่ “เรียบ - อาวุธ” ๑๑. พิธีกรส่ัง “หมูบริการนําสวดมนต” แลวส่ัง “สงบน่ิง” ลูกเสือทุกคนรวมท้ังวิทยากรยืนสงบนิ่ง ๑ นาที แลวเงยหนาขึน้ (ตามคูมอื การฝกระเบียบแถวฯ) ๑๒. พิธีกรส่ัง “กองตามระเบียบ - พัก” แลวพิธกี รเชญิ ผูอํานวยการฝก ๑๓. ขณะทผ่ี อู าํ นวยการฝกเดนิ ออกไปหนาเสาธง พิธีกรส่ัง “กอง - ตรง”“วันทยา - วุธ” ผูอํานวยการฝก ทําวันทยหัตถตอบ พธิ กี รสั่ง “เรยี บอาวุธ - ตามระเบียบพกั ” ๑๓ 15
๑๔. ผูอํานวยการฝกกลาวปราศรัย และกลาวเปดการฝกอบรม สวนพิธีรอบเสาธงเวลาเชาระหวาง การฝกอบรม ใหดําเนินการเกี่ยวกับกิจวัตรประจําวัน เชน การรายงานการตรวจ ใหโอวาทตามข้ันตอน จบแลว พิธีกรสั่ง “กอง - ตรง” “วันทยา - วุธ” ผูอํานวยการฝกทําวันทยหัตถตอบ พิธีกรส่ัง “เรียบ - อาวุธ” “ตาม ระเบียบ - พัก” ๑๕. พธิ กี รนดั หมายแลว สัง่ “กอง - ตรง” “กอง - แยก” หมายเหตุ ๑. กรณที ไี่ มมพี ลอง ไมต อ งสั่ง “วนั ทยาวธุ ” ๒. กรณีท่ีนายหมูมีอาวธุ คนเดียวไมต องส่ังวนั ทยาวุธ แตตวั นายหมูต องทาํ วนั ทยาวธุ พธิ รี อบเสาธงในตอนเชา ระหวา งการฝก อบรม (ไมม ีอาวุธประจํากาย) การประชมุ รอบเสาธง สําหรับการฝกอบรมผบู งั คบั บัญชาลูกเสือหรือลูกเสือ ใหมีพิธีกรคนหน่ึงซึ่งไดรับ มอบหมายจากผูอํานวยการฝกเปนผูดําเนินการ และใหมีการปฏิบัติในการชักธงชาติข้ึนสูยอดเสาตามลําดับ ดังน้ี ๑. ใหพ ิธีกรยนื อยูห นา เสาธง หนั หลงั ใหเสาธง หางประมาณ ๓ กา ว ๒. ใหค ําสงั่ เรยี ก “กอง” ใชส ญั ญาณมือเรียกแถวรปู ครึ่งวงกลม ๓. ใหหมูแรกอยูทางซายมือของผูเรียกเสมอ ทุกคนจะตองจัดแถวโดยการสะบัดหนาไปทางขวามือ ระยะเคียงระหวางบุคคลภายในหมู ๑ ชวงศอก โดยใหมือซายทาบสะเอวและดันศอกซายใหเปนแนวเดียวกับ ลาํ ตัว ระยะเคยี งระหวา งหมู ๑ ชว งแขน โดยใหรองนายหมยู กแขนซายขน้ึ วัดระยะแลวเอาลง ๔. ใหหมูถัดไปเขาแถวจัดระยะเคียงตอจากหมูแรกเรียงกันไปตามลําดับจนครบทุกหมูเปนรูปครึ่ง วงกลม ใหหมูสุดทายอยูทางขวามือของผูเรียกตรงกับหมูแรก คือ รองนายหมูของหมูสุดทายจะตองยืนตรงกับ นายหมขู องหมูแรก ๕. เมื่อพิธีกรเห็นวาจัดรูปแถวเรียบรอยแลวจะสั่ง “น่ิง” ทุกคนสะบัดหนากลับ และคนท่ียกศอกซาย มือทาบสะโพกกล็ ดมือซายลง ยืนอยูใ นทาตรง ระวงั อยา ใหวงกวางเกินไปนักจะทําใหไดยินเสียงพูดไมชัดเจน ๖. เมื่อทุกคนพรอม พิธีกรสั่ง “ตามระเบียบ - พัก” แลวส่ังกองอยูในทาตรงเสียกอน จึงส่ังใหหมู บริการเขาไปเริ่มพิธีการชักธงชาติ ในขณะเดียวกันพิธีกรกลับไปเขาแถวกับวิทยากรอ่ืนท่ีเขาแถวอยูหลังเสาธง เมือ่ จะออกคําส่งั ทุกครัง้ ใหกา วไปขางหนา ๑ กา ว ส่งั เสร็จใหกลับเขาแถวตามเดิม ๗. นายหมูบรกิ ารหรอื ลกู เสอื ในหมูบริการรวม ๒ คน วงิ่ ออกไปยืนหา งจากเสาธงชาติ ประมาณ ๓ กาว ๘. ท้ังสองคนทําวันทยหัตถพรอมกัน คนทางขวามือเดินเขาไป ๒ กาว ยืนเทาชิดแกเชือกผูกเสาธง ถอยหลังกลับไปอยูที่เดิม แยกเชือกธงเสนท่ีจะชักขึ้นใหคนอยูทางซายมือถือไว สวนธงชาติอยูที่คนขางขวา อยา ใหเ สนเชือกหยอ น ยืนเตรียมพรอ ม แลวพิธีกรสง่ั “กองเคารพธงชาติ” ๙. ลูกเสือตามที่กําหนดในหมูบริการนํารองเพลงชาติ ลูกเสือทุกคนรองเพลงชาติ พอเร่ิมรองเพลง ใหผูชักธงคนทางซายคอย ๆ สาวสายเชือกใหธงขึ้นสูยอดเสาชา ๆ ใหสายเชือกตึง สวนคนขางขวาผอนสาย เชือกใหธงคอย ๆ ขึ้นไป และคุมสายเชือกใหตึงเสมอกัน ผูชักธงจะตองกะระยะวา พอเพลงชาติจะจบ กะให ระยะธงชาติหางจากปลายเสาประมาณ ๕๐ เซนติเมตร พอเพลงชาติจบ จึงกระตุกเชือกใหธงชาติถึงปลายเสา พอดเี สร็จ แลวคนทางขวาไปผูกเชือกใหเ รยี บรอ ย แลวถอยหลังกลับมา ๑๔ 16
๑๐. ผูเชิญธงชาติทําวันทยหัตถพรอมกัน แลวกลับหลังหันวิ่งไปเขาแถวตามเดิม และรับไมพลอง มาจากท่ีฝากไวทาํ วันทยาวธุ ๑๑. พิธีกรสั่ง “หมูบริการนําสวดมนต” แลวสั่ง “สงบน่ิง” ลูกเสือทุกคนรวมทั้งวิทยากรยืนสงบนิ่ง ๑ นาที แลวเงยหนาขนึ้ (ตามคูมือการฝก ระเบียบแถวฯ ) ๑๒. พิธีกรสั่ง “กองตามระเบยี บ - พัก” แลวพธิ ีกรเชญิ ผูอ ํานวยการฝก ๑๓. ขณะท่ีผูอํานวยการฝกเดินออกไปหนาเสาธง พิธีกรสั่ง “กอง - ตรง” ผูอํานวยการฝกทํา วนั ทยหตั ถตอบ พิธกี รส่งั “ตามระเบียบพกั ” ๑๔. ผูอํานวยการฝกกลาวปราศรัย ดําเนินการเกี่ยวกับกิจวัตรประจําวัน เชน การรายงานการตรวจ ใหโอวาทตามขั้นตอน จบแลวพิธีกรสั่ง “กอง - ตรง” ผูอํานวยการฝกทําวันทยหัตถตอบ พิธีกรสั่ง “ตาม ระเบยี บ - พกั ” ๑๕. พธิ กี รนดั หมายแลว สั่ง “กอง - ตรง” “กอง - แยก” พธิ รี อบเสาธงในตอนเชา ระหวา งการฝก อบรม การใชค ําบอกกอ นการรอ งเพลงสรรเสริญพระบารมี ในการฝกอบรมผูบังคับบัญชาลูกเสือและลูกเสือ ในการฝกอบรมลูกเสือหรือผูบังคับบัญชาลูกเสือ จะมีการรองเพลงสรรเสริญพระบารมีอยูเสมอ กอ นจะมกี ารรองเพลงสรรเสริญพระบารมนี น้ั ควรใชค าํ บอกตา งกนั ดังตอไปนี้ ๑. ในกรณีที่มีพระบรมรูปหรือพระบรมฉายาลักษณอยูในท่ีชุมนุมน้ันดวย ใหใชคําบอกวา “กองตรง ถวายคํานับ” ครนั้ แลว ใหห มูบ ริการนาํ ข้ึนรอ งเพลงสรรเสรญิ พระบารมี ๒. ในกรณีท่ีไมมีพระบรมรูปหรือพระบรมฉายาลักษณอยูในท่ีชุมนุมน้ัน ใหใชคําบอกวา “ทุกคน หันหนาไปทางทิศ…….(ที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวกําลังประทับอยู)” “กองตรง ถวายคํานับ” คร้ันแลวให หมูบรกิ ารนําข้ึนเพลงสรรเสริญพระบารมี ๓. ในกรณีผูบังคับบัญชาลูกเสือและลูกเสือมีอาวุธอยู ใหใชคําบอกวา “กองตรง วันทยาวุธ” แลวหมู บรกิ ารนาํ ขน้ึ รองเพลงสรรเสรญิ พระบารมี เมอื่ จบเพลงแลวใหใชคาํ บอกวา “กอง เรียบอาวุธ” “เลิกแถว” หรือ แลวแตก รณี ๑๕ 17
ช่ือวิชา วัตถุประสงคของการฝกอบรมหลักสตู รลูกเสอื วสิ ามัญชอสะอาด บทเรียนที่ ๑ เวลา ๔๕ นาที ขอบขายวิชา ผูอํานวยการฝกอบรมกลาวตอนรับอยางเปนกันเองและอบอุน แนะนําใหรูจักคณะผูใหการฝกอบรม อธบิ ายถงึ วิธกี ารตอ นรับของคณะวิทยากร การดําเนินงาน พรอ มท้ังระบวุ ตั ถุประสงคของการฝกอบรมหลักสูตร ลูกเสอื วิสามญั ชอสะอาดอยา งชดั เจน จดุ หมาย เพอื่ ใหลกู เสือวสิ ามญั รู เขา ใจ ปฏิบัติตามวตั ถุประสงคและวิธีการฝกอบรม นําความรู แนวคิด ทัศนคติ การอยูรวมกันในสังคมไปปฏิบัติในชีวติ ประจําวนั อยา งมีความสุข เกิดคุณธรรมความดี ความซ่ือสัตยสุจริต และ มคี วามรสู ึกท่ดี ีตอ การฝกอบรมหลกั สตู รลกู เสอื วสิ ามญั ชอสะอาด วตั ถุประสงค เมื่อจบบทเรียนนี้แลว ลกู เสือวสิ ามญั สามารถ ๑. อธิบายถึงความอบอุน มีความรูสึกท่ีดีตอการตอนรับจากคณะวิทยากรและพบกับวิทยากรประจํา หมูได ๒. บรรยายวัตถุประสงคของการฝก อบรมหลกั สูตรลูกเสือวสิ ามัญชอสะอาดได ๓. บรรยายถงึ วิธกี ารจัดฝก อบรมหลกั สตู รลกู เสือวสิ ามัญชอสะอาดได วิธีสอน/กจิ กรรม บรรยายประกอบ ส่อื ภาพน่งิ เกี่ยวกบั วตั ถุประสงคข องการฝกอบรมหลักสตู รลูกเสอื วิสามญั ชอสะอาด สื่อการสอน ส่ือ ภาพน่งิ ประกอบการบรรยายวัตถุประสงคหลักสตู รลูกเสือวิสามัญชอสะอาด การประเมนิ ผล ๑. วธิ กี ารวัดผล : สงั เกตพฤติกรรมในการฟงบรรยาย ๒. เคร่ืองมอื วดั ผล : แบบสงั เกตพฤตกิ รรมในการฟง บรรยาย ๓. เกณฑก ารประเมนิ ผล : ระดบั คณุ ภาพดี หมายถงึ ผา น เน้ือหา ความประทับใจคร้ังแรกเปนเรื่องสําคัญ ทุกสิ่งทุกอยางควรเตรียมใหพรอมเสร็จ เพ่ือวาคณะผูให การฝก อบรมจะไดว างทําการตอนรบั ลกู เสอื วิสามญั ทจี่ ะเขา รบั การฝก อบรม เม่ือลูกเสือวิสามัญมาถึง ควรไปลงทะเบียนรายงานตัว รับเอกสาร แตงเครื่องแบบลูกเสือใหเรียบรอย จัดแบงออกเปนหมู วิทยากรประจําหมูควรแนะนําใหสมาชิกในหมูทุกคนไดรูจักเม่ือมาถึง ถาสมาชิกแตละคน ในหมไู ดรูจกั กันโดยเร็วทส่ี ดุ แลว จะชวยใหลดความประหมา ความไมคุนเคยจะหมดไป วิทยากรควรอธิบายถึง สถานท่ีที่ใชในการฝกอบรมตาง ๆ ใหสมาชิกทราบดวย วิทยากรประจําหมูอาจแนะนําใหดูหนังสือ คูมือ แผนภมู ิ ฯลฯ ทีแ่ สดงไว ๑๖ 18
จงเรมิ่ งานใหต รงเวลาท่ีกาํ หนดไว ผอู าํ นวยการฝกอบรมควรทาํ ดังน้ี ๑. กลาวคําปราศรัยตอนรับ ๒. แนะนาํ คณะวิทยากร ๓. ชแ้ี จงวัตถปุ ระสงคของการฝก อบรม ๔. อธิบายวิธีการทจ่ี ะใชใ นการฝกอบรม ๕. อธบิ ายวธิ ีการบริหารจัดการในการฝกอบรม ๖. อธิบายถึงวธิ กี ารประเมนิ ผลในการฝก อบรม การกลาวตอ นรับแสดงความรสู ึกอยางจรงิ ใจ เปรยี บเสมอื นลูกเสอื วิสามัญและคณะวิทยากรอยูรวมกัน เหมอื นญาตพิ ี่นอ ง เหมอื นเพ่ือนสนิท ทําใหการอยรู ว มกันระหวา งการฝก อบรมมคี วามสขุ ผูอํานวยการฝกอบรมควรกลาวดวยวา ลูกเสือวิสามัญแตละคนมีความรู มีทักษะและประสบการณ ท่ีจะไดรับจากการฝกอบรมคร้ังนี้ดวย ฉะนั้น ขอใหลูกเสือวิสามัญทุกคนเห็นวาการฝกอบรมครั้งนี้ เปนการแลกเปลยี่ นความรู และประสบการณซ ง่ึ กันและกนั การฝกอบรมหลักสูตรลูกเสือวิสามัญชอสะอาดอาจประสบปญหาความยุงยากบาง เพราะวาลูกเสือ วิสามัญยังมิไดรูจักคุนเคยกัน จึงเสนอแนะใหใชเวลาเล็กนอยกอนเร่ิมบทเรียน เพ่ือวิทยากรประจําหมูจะได แนะนําสมาชกิ ไดรจู ักกันและกัน ผูอาํ นวยการฝกอบรมและผูรับผดิ ชอบโครงการอธบิ ายเกย่ี วกับวตั ถปุ ระสงคของการฝก อบรม ๑๗ 19
แบบสังเกตพฤติกรรมการฟงบรรยาย หมู............................... ลาํ ดบั พฤตกิ รรม คณุ ภาพการปฏบิ ตั ิ ๓๒๑ ๑ มคี วามกระตือรือรนใหความสนใจในการฟง บรรยาย ๒ มีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น รวม ลงชอื่ ..............................................ผูประเมิน (...............................................) เกณฑการใหคะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมอยางสมํ่าเสมอ เทากับ ดี ให ๓ คะแนน ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบอยครงั้ เทากับ พอใช ให ๒ คะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครั้งหรอื นอยครง้ั เทากับ ปรับปรุง ให ๑ คะแนน เกณฑก ารตดั สินคุณภาพ ชว งคะแนน ระดับคุณภาพ ๕ - ๖ ดี ๓ - ๔ พอใช ๒ ปรบั ปรงุ ๑๘ 20
ชอื่ วิชา ปฐมนิเทศการฝกอบรมหลกั สูตรลูกเสือวิสามัญชอ สะอาด บทเรียนท่ี ๒ เวลา ๓๐ นาที ขอบขา ยวิชา ๑. มอบหบี อุปกรณ/การแตง กาย ๒. การใชสมดุ จดรายวชิ า ๓. แนะนําสถานที่ ๔. หมูและการเปล่ยี นหนา ทภี่ ายในหมู ๕. หนา ทีข่ องหมูบรกิ าร ๖. แนวปฏบิ ัตอิ ่นื ๆ ที่จะตองปฏิบตั ริ วมกัน จดุ หมาย เพือ่ ใหลูกเสอื วิสามญั ไดท ราบรายละเอยี ดและแนวปฏบิ ตั ิ ใหเ ปนไปในแนวทางเดยี วกัน วัตถุประสงค เม่อื จบบทเรียนน้ีแลว ลกู เสือวิสามัญสามารถ ๑. ปฏิบตั ติ ามขอตกลงรวมกนั ได ๒. รบั ผิดชอบงานประจําวันท่ีไดรับมอบหมายได ๓. บอกรายละเอียดและขั้นตอนของพิธเี ปด การฝกอบรมได วธิ สี อน/กจิ กรรม บรรยายประกอบการสาธิต หรือนําชมสถานที่ สอื่ การสอน ๑. เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ ๒. อุปกรณส วนบุคคล ๓. Power Point, วดี ิทศั น การประเมินผล ๑. วธิ ีการวัดผล : สังเกตพฤติกรรมในการฟง บรรยาย สาธติ และปฏบิ ัติ ๒. เคร่ืองมือวดั ผล : แบบสงั เกตพฤติกรรมในการฟงบรรยาย สาธติ และปฏิบตั ิ ๓. เกณฑการประเมนิ ผล : ระดับคุณภาพดี หมายถงึ ผาน เนือ้ หาวิชา การปฏิบัติตนของลูกเสือวิสามัญ เพื่อท่ีจะใหการฝกอบรมเปนไปตามความตองการของคณะผูให การฝกอบรมไดอยางดนี น้ั ขนึ้ อยกู ับการชีแ้ จง แนะนําไดละเอียดมากนอ ยเพยี งใด วิทยากรผูท่ีจะทําหนาท่ีชี้แจง นั้น จะตองเปนผูมีบุคลิกลักษณะที่นาเลื่อมใสพอสมควร มีความรูและทักษะในการบริหารงานฝกอบรม เปนอยางดี พรอ มกนั นจี้ ะตอ งรูจักสถานที่ทั้งหมดภายในคายฝกอบรมดวย จึงจะทําใหลูกเสือวิสามัญปฏิบัติตน ไดถูกตองครบถวน ตามความมุงหมายของคณะผูใหการฝกอบรม นั่นก็คือ “การปฐมนิเทศ” การปฐมนิเทศจะ ไดผ ลดเี พยี งใดนน้ั จะทราบผลไดในการปฏิบตั จิ ากลกู เสือวิสามญั ท่เี ขา รับการฝกอบรมน่นั เอง ๑๙ 21
ผทู จ่ี ะทาํ หนาทป่ี ฐมนเิ ทศนน้ั ควรจะตองมีความรู ความเขา ใจและทักษะตาง ๆ ดงั นี้ คือ • การใชส มดุ จดวิชา • การจัดหมู • การปฏบิ ัติของผูเขา รบั การฝก อบรมในระหวา งการฝกอบรม • การจดั เตรยี มสถานท่ี • การรักษาเวลา • ขอ หา มตาง ๆ ในการฝกอบรม • การรกั ษาพยาบาล • วธิ ดี าํ เนินการฝกอบรม • หนา ท่หี มบู ริการ • การวัดผลหรือการประเมนิ ผล • ฯลฯ ๑. การจัดหบี อุปกรณ หีบอุปกรณเปนเคร่ืองมือท่ีสําคัญของหมูท่ีจะชวยใหการฝกอบรมบรรลุวัตถุประสงค ท่ีกลอง/หีบ ดานนอกเขียนชื่อหมูของลูกเสือวิสามัญชอสะอาด ท่ีกลอง/หีบดานในติดรายการอุปกรณ อุปกรณควรมี สงิ่ เหลา น้ี จดั ไวล ว งหนา กอนเปดการฝกอบรม ดังนี้ • ผา ผกู คอ • เครือ่ งหมายหมู • เครื่องหมายตําแหนงนายหมู และรองนายหมู • เคร่ืองหมายตาํ แหนง พลาธกิ าร • ปายช่อื • เข็มกลัดซอนปลาย • เข็มเยบ็ ผาพรอมดาย • ไมบรรทัด • สีเมจิก • สมดุ จดบนั ทึกของผูเขารับการฝก อบรม • กรรไกร • คัตเตอร • อุปกรณใชฝก อบรมอืน่ สาํ หรบั การฝก อบรม ๒๐ 22
๒. การแตง กายในการฝก อบรมหลักสูตรลูกเสอื วิสามัญชอสะอาด ผเู ขารบั การฝกอบรม ๒.๑ แตง เครื่องแบบลูกเสอื ตามประเภทลูกเสือสาํ หรบั การฝก อบรม ๒.๒ ผาผกู คอ ใชผา ผูกคอสําหรบั การฝกอบรม ๒.๓ หมวก การฝก อบรมหลกั สตู รลกู เสือวิสามัญชอ สะอาด สวมหมวกทรงออน ๒.๔ ปายชื่อ ผูเขารับการฝกอบรมทุกคนตองติดปายช่ือท่ีเหนือกระเปาขางขวา ปา ยชอ่ื เปน กระดาษแข็งสีอะไรก็ได ใหมีขนาดกวางประมาณ ๔ - ๕ ซม. ยาว ๘ - ๙ ซม. เขียนช่ือตัว ชือ่ สกุล ไวบรรทัดบน ช่ือหมู/กลุม ที่บรรทัดลางดวยขนาดที่มองเห็นชัดเจน หุมดวยพลาสติกแข็ง ใชต ดิ ท่หี นา อก เหนอื กระเปาเส้ือขา งขวา ๒.๕ เคร่ืองหมายหมู ใชอนุโลมตามเครื่องแบบลูกเสือตามกฎกระทรวง ติดแขนซาย ประเภทวิสามญั ใชร ิบบ้นิ สีเปนแถบยาว ๒.๖ เครอื่ งหมายนายหมู ลกู เสือวิสามัญชอสะอาดใชแถบผาสีขาว กวาง ๑.๕ ซม. นายหมูใช ๒ แถบ ยาวตามกระเปา รูปสเี่ หล่ยี มผืนผา ๒.๗ เคร่ืองหมายรองนายหมู ใชแถบผาสีขาว กวาง ๑.๕ ซม. รองนายหมูใช ๑ แถบ ยาวตาม กระเปา รูปส่ีเหลย่ี มผนื ผา ๓. โอกาสในการแตง กาย ผเู ขา รับการฝกอบรมแตง เคร่อื งแบบครบ คอื ก. ในพธิ เี ปด - ปด การฝกอบรม ข. ในพธิ ปี ระชุมรอบเสาธง (ตอนเชา ) ค. เม่อื ไดรบั อนญุ าตใหออกไปนอกบริเวณคายฝกอบรม (เพื่อธุรกิจท่จี าํ เปน ) ง. เม่อื ผอู ํานวยการฝกอบรมจะนดั หมายเปน กรณีพิเศษ การแตง กายอยา งอืน่ ๑. แตง กายลาํ ลอง คอื การแตงกายสภุ าพ ใชเ สื้อมีแขน ประกอบดวยหมวก ผาผูกคอ เครื่องหมายหมู เคร่อื งหมายนายหมู รองนายหมู พลาธกิ าร และปายชื่อ (หา มสวมรองเทา แตะ) ๒. แตงกายตามสบาย คือ การแตงกายสุภาพ (ใชเส้ือมีแขน - หามสวมรองเทาแตะ แตไมตองมีหมวก ผาผูกคอ สวนเคร่ืองหมายอ่ืน ๆ ควรติดไวเพ่ือจะไดทราบหมู และหนาท่ี โอกาสท่ีจะแตงกายตามสบาย เปนการเรียนตอนกลางคนื หรือเมือ่ เลิกจากฝก อบรมประจําวันแลว ๔. การใชส มดุ จดวิชา บอกใหทราบถงึ การฝก อบรม เปน ตนวา หนาท่ี ๑ การฝกอบรมหลกั สูตรลูกเสือวิสามญั ชอสะอาด รนุ ท่ี……………… ระหวางวนั ท่ี………………… หนาท่ี ๒ ณ คา ย…………………………………….. หนาท่ี ๓ รายชื่อคณะผูใหการฝกอบรม เขียนเย้ืองไปทางซายเพ่ือจะเหลือดานขวาของ หนา ท่ี ๔ หนากระดาษไวส ําหรบั ขอลายเซ็น รายชื่อผูเขา รับการฝกอบรมในหมู ปฏิบตั ิเชนเดยี วกับหนาท่ี ๒ ขอความสาํ คญั ของประธานผูกลา วเปด หรือผรู ายงานท่เี ปนใจความสําคัญ ๒๑ 23
หนาท่ี ๕ ตารางการฝกอบรม หนาท่ี ๖ เปนหนาที่ของผูเขารับการฝกอบรมจะตองบันทึกเกี่ยวกับคําบรรยายของผูบรรยาย แตละวชิ า ควรจะมีรปู แบบ ดังนี้ หวั ขอบรรยาย • ผบู รรยายคอื ใคร • วัน/เดือน/ป ท่ีบรรยาย ควรเขยี นที่มุมทางซายแตละหนา ตอจากนั้นแตละบรรทัดควรมีหัวขอยอย ลงไปตามลาํ ดบั • สมุดโนตวิชาเหมือนกระจกเงาของแตละคน วันสุดทายวิทยากรประจําหมู มีหนาท่ีตรวจและให ขอ คิดเห็นในสมดุ ของผเู ขารับการฝก อบรม • ปกหลังดานในสมุดของผูเขารับการฝกอบรม กําหนดใหมีการสอบในเร่ืองคําปฏิญาณและกฎของ ลกู เสอื การสเกตภาพประจาํ วนั ขอ ควรจาํ ของผูเ ขา รับการฝกอบรม หรือสิง่ ทคี่ วรนําไปปฏบิ ตั ิ ๕. การจัดหมู ผูเขารับการฝกอบรมทุกคน ใชผาผูกคอของการฝกอบรมตามที่กําหนดและติดเคร่ืองหมายประจําหมู นอกจากน้ี ผอู าํ นวยการฝกอบรมจะเปนผูกาํ หนดใหม ีการแตง กายแบบลาํ ลองตามโอกาสอนั สมควร อัตรากําลังของหมูเปนไปตามขอบังคับคณะลูกเสือแหงชาติวาดวยการปกครอง หลักสูตรและวิชา พิเศษ เวลา ๑๒.๐๐ น. เปลี่ยนหนาที่ภายในหมู เพื่อทุกคนจะเรียนรูความรับผิดชอบภายในหมูระหวาง การฝกอบรม ๖. การปฏบิ ัตขิ องผเู ขา รับการฝก อบรมในระหวางการฝก อบรม เวลา ๐๕.๓๐ น. ต่นื ทําภารกิจสวนตัว ออกกาํ ลังกาย เวลา ๐๗.๐๐ น. รับประทานอาหาร เวลา ๐๗.๓๐ น. รบั การตรวจ เวลา ๐๘.๐๐ น. ประชมุ รอบเสาธง รบั ฟงรายงานการตรวจ การเลน เพ่ือสุขภาพ เวลา ๐๙.๐๐ น. การฝกอบรม/กจิ กรรม เวลา ๑๒.๐๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน เวลา ๑๓.๐๐ น. การฝกอบรม/กจิ กรรม เวลา ๑๘.๐๐ น. ชกั ธงลง รับประทานอาหารเย็น เวลา ๑๙.๐๐ น. การฝกอบรม/กจิ กรรม เวลา ๒๑.๓๐ น. สวดมนต ดับไฟ นอน ๗. การเตรยี มจดั สถานท่ีกนิ อยหู ลับนอน เปน ไปตามที่ผูอาํ นวยการฝก กําหนด ๘. ขอไมค วรปฏิบัติ ไมสูบบุหรี่ระหวางเวลาการบรรยายและการปฏิบัติกิจกรรม ไมดื่มของเมาในระหวางการฝกอบรม ไมมีการนําอาวธุ หรือของผดิ กฎหมายเขา มาในสถานทฝ่ี กอบรม ๙. การตรงตอ เวลาและการรกั ษาความสะอาด เปน ไปตามตารางการฝก อบรมและขอกําหนด ๒๒ 24
๑๐. การรกั ษาพยาบาล เปนหนาท่ีของผูเขารับการฝกอบรมจะตองปฏิบัติและรักษาตนเอง และคายฝกอบรมจะตองจัด เจา หนาที่ฝา ยบรกิ ารและใหค วามสะดวกตลอดเวลาการฝก อบรม เพ่ือใหเกิดความปลอดภัยและสบายใจ ๑๑. หนาท่หี มูบริการ ใหเปนไปตามขอกําหนดเพ่ือความเหมาะสม แตละสถานท่ีในการฝกอบรม โดยจะกําหนดหมูบริการ ประจาํ วัน และหนา ท่ีของหมบู ริการแตล ะวันจะส้ินสุดเวลา ๑๘.๐๐ น. หมบู รกิ ารมีหนา ท่ใี นการปฏิบัติ ดงั ตอ ไปนี้ ๑๑.๑ การเตรยี มและชกั ธงชาตขิ นึ้ สยู อดเสาในตอนเชา เวลา ๐๘.๐๐ น. และชักธงลงเวลา ๑๘.๐๐ น. การชกั ธงขึน้ และชกั ธงลง ใหปฏบิ ัตติ ามขอ บังคับคณะลกู เสอื แหงชาติ ๑๑.๒ การทําความสะอาดสถานทท่ี ใี่ ชร ว มกนั เชน หองนา้ํ หองสวม หองเรยี น บรเิ วณรอบเสาธง ๑๑.๓ การจัดสถานทช่ี มุ นุมรอบกองไฟ การเตรยี มสถานที่ ทาํ พวงมาลัย แจกนั ปา การทําความสะอาด หลงั การชมุ นุมรอบกองไฟ ๑๑.๔ การชว ยเหลอื จดั อปุ กรณ เตรียมอปุ กรณท ่ีจะใชใ นการฝกอบรมตามทวี่ ิทยากรกําหนด ๑๑.๕ หนาทีอ่ ่ืนใดทไี่ ดรบั มอบหมาย ๑๒. แนวปฏิบตั ิเม่อื วิทยากรเขา - ออก ในการใหค วามรู ๑๒.๑ เมื่อวิทยากรเขาบรรยายแตละวิชา ใหผูเขารับการฝกอบรมยืนตรง แสดงความเคารพ (วันทยหัตถ) พรอ มกลาวคําวา “สวสั ดคี รับ/คะ ” เอามอื ลง และน่ังลงทเ่ี ดมิ ๑๒.๒ เม่ือวิทยากรจบคําบรรยายแตละรายวิชา ใหผูเขารับการฝกอบรมยืนตรง แสดงความเคารพ (วนั ทยหตั ถ) พรอ มกลา วคําวา “ขอบคุณครับ/คะ” เอามือลงและนัง่ ลงที่เดมิ ผเู ขา รับการฝกอบรมแสดงความเคารพ ๑๓. การรกั ษาส่งิ ของมีคา ใหแตละหมูนําไปฝากไวท่ีวิทยากรประจําหมู และ/หรือ หากคายฝกอบรมใดมีสถานที่รับฝากของมีคา ที่ปลอดภัย ใหนําไปฝากไว ณ ท่ีน้ัน ทั้งน้ี เม่ือเกิดการสูญหาย เพื่อนสมาชิกผูเขารับการฝกอบรมจะเกิด ความไมสบายใจ ๑๔. กิจกรรมยามวาง (SPARE TIME ACTIVITY) เปน ที่ยอมรับกันวา กิจกรรมยามวา งเปนอุปกรณในการฝก อบรมอยางไดผ ลดี เพราะวา ๑๔.๑ กิจกรรมยามวางชวยใหผูอํานวยการฝกอบรมสามารถประเมินผลความสามารถของผูเขารับ การฝก อบรมไดร บั ความรมู ากนอ ยเพยี งไร หากวา ยังมีอะไรบกพรอง ควรจะสอนอะไรเพ่มิ เติมให ๒๓ 25
๑๔.๒ ฝายผูเขารับการฝกอบรมเอง ก็ปรารถนาจะทดสอบความรูของตนวาไดรับความรูไปมากนอย เพียงไร และมโี อกาสทีจ่ ะเสาะหาความรู ความเขาใจจากวทิ ยากรในประเดน็ ทต่ี นเองยังไมเขาใจ ๑๔.๓ กิจกรรมยามวาง เปนกิจกรรมหนึ่งท่ีจะทําใหคณะผูใหการฝกอบรมและผูเขารับการฝกอบรม ปรับตัวเขาหากัน มีสัมพันธภาพที่ดีตอกัน มีการหารือในการแกปญหาอื่น ๆ ทําใหเกิดความสนิทสนมกัน มากยง่ิ ขนึ้ ขอควรระลึกถึงมีวา เม่ือใดใหกิจกรรมยามวางแกผูเขารับการฝกอบรมไปทําแลว ควรใหมีระยะเวลา เพียงพอที่ทุกคนจะศึกษาหาความรู ทําความเขาใจกับกิจกรรมยามวางที่ใหไปกอน แลวจึงนัดหมายใหมาทํา การทดสอบ การทํากิจกรรมยามวางน้ัน เปนเรื่องของผูเขารับการฝกอบรมแตละคนที่จะไปศึกษาหาความชํานาญ เพมิ่ เติม ถา สงสัย จะถามหรอื ขอคาํ แนะนําจากเพ่ือนสมาชกิ หรอื วิทยากร กจิ กรรมยามวาง อาจจดั ใหมีในเรือ่ ง ตอไปนี้ ๑. คาํ ปฏิญาณและกฎของลูกเสือ ๒. การสเกตภาพ ๓. กิจกรรมหรือทกั ษะอยา งอืน่ ที่ผอู าํ นวยการฝก จะเห็นสมควร ๑๕. การวดั ผลหรือประเมนิ ผลในระหวา งการฝกอบรม ผทู เ่ี ขา รับการฝกอบรมผา นหรอื ไมผ านการฝก อบรม พิจารณาจากสง่ิ ตอไปน้ี ๑๕.๑ ผูเขารับการฝกอบรมจะขาดการฝกอบรมไมเกิน ๓ ชั่วโมง และตองไดรับอนุญาตจาก ผูอํานวยการฝกอบรมเปนผูพิจารณาเปนราย ๆ โดยจัดทําบันทึกขออนุญาตเปนลายลักษณอักษรผานวิทยากร ประจําหมู ๑๕.๒ ระบบหมู ๑๕.๓ ความตัง้ ใจและสนใจในการเขารวมกิจกรรมในระหวา งการฝกอบรม ๑๕.๔ การสอบกจิ กรรมยามวาง ๑๕.๕ สมุดจดรายวิชา ๑๕.๖ ผูอํานวยการฝกอบรม เปนผูประเมินจากการสังเกตพิจารณาของวิทยากรประจําหมู และ วทิ ยากรอืน่ ๆ ความตง้ั ใจและสนใจในการเขารวมกิจกรรม ๒๔ 26
แบบสังเกตพฤตกิ รรมการฟงบรรยาย หมู............................... ลาํ ดบั พฤตกิ รรม คุณภาพการปฏบิ ัติ ๓๒๑ ๑ มีความกระตือรอื รน ใหความสนใจในการฟงบรรยาย ๒ มีสว นรวมในการสาธติ และปฏิบตั ิ รวม ลงชอื่ ..............................................ผปู ระเมนิ (...............................................) เกณฑก ารใหค ะแนน ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมอยางสม่ําเสมอ เทา กบั ดี ให ๓ คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอยคร้งั เทากับ พอใช ให ๒ คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ หรือนอยครงั้ เทากับ ปรับปรงุ ให ๑ คะแนน เกณฑการตัดสนิ คณุ ภาพ ชว งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ๕ - ๖ ดี ๓ - ๔ พอใช ๒ ปรบั ปรุง ๒๕ 27
ชอ่ื วิชา โครงการลูกเสอื วิสามัญชอสะอาด บทเรยี นที่ ๓ เวลา ๖๐ นาที ขอบขา ยวิชา ๑. ประวตั ิความเปนมาของลูกเสือวสิ ามญั ชอสะอาด ๒. การสรา งทศั นคตทิ ด่ี ีตอโครงการลูกเสอื วิสามัญชอ สะอาด จุดหมาย เพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจ โดยสามารถนําสาระสําคัญของการลูกเสือวิสามัญชอสะอาดไปประยุกต เพอื่ การปลูกจิตสํานกึ ที่ดใี นการใชชวี ิตประจําวนั วตั ถปุ ระสงค เมือ่ จบบทเรียนนี้แลว ลูกเสือวิสามญั สามารถ ๑. อธบิ ายประวตั ิความเปนมาของโครงการลูกเสือวิสามัญชอสะอาดได ๒. ระบุภารกจิ ของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทจุ ริตแหงชาติได ๓. อธิบายวา กิจการลูกเสือวสิ ามัญสนบั สนนุ โครงการลกู เสือชอสะอาดได ๔. อธิบายสัญลกั ษณข องลูกเสือวิสามญั ชอสะอาดได วธิ ีสอน ๕ นาที ๑. นาํ เขา สูบทเรยี นและช้แี จงวัตถุประสงค (เพลงความซื่อสตั ย) ๒๐ นาที ๒. บรรยายความเปน มา ๑๕ นาที ๓. อภิปรายกลุม ๑๕ นาที ๔. นําเสนอ ๕ นาที ๕. สรปุ บทเรยี น ซักถาม สื่อการสอน ๑. ภาพนิ่งหรอื วดี ิทัศน ๒. เอกสารประกอบการเรยี น ประเมนิ ผลงาน ๑. สังเกตความรวมมือในการทาํ งานรวมกนั ๒. การรายงานของทป่ี ระชุมกลุม ๓. อภปิ ราย ซักถาม เนือ้ หา ภมู หิ ลงั การทุจริตไมซื่อตรง หาผลประโยชนใหตนเองและพวกพอง ปจจุบันมีสูงมาก ไมมีแนวโนมที่จะหยุด หรือลดลง การจัดอันดับภาพลักษณปญหาทุจริตในเชิงปริมาณของโลกประจําป ๒๕๕๕ จาก ๑๗๖ ประเทศ ทั่วโลก ประเทศไทยอยูในอันดับ ๘๘ และอยูในอันดับ ๑๑ จาก ๒๑ ประเทศในเขตภูมิภาคเอเชีย สวนความ รุนแรงของปญหาทุจริตในเชิงคุณภาพน้ัน คานิยมของสังคมไทยมีแนวโนมเปล่ียนไปในทิศทางตรงขามกับ คุณธรรม จริยธรรม จนทําใหการทุจริตเปนการยอมรับจากสังคมไทยในบางระดับแลว เชน ยอมใหเกิด การทุจริตในสังคมเพ่ือแลกกับผลประโยชนที่มากกวาหลายเทา แนวความคิดเชนน้ีทําใหความม่ันคงทาง ๒๖ 28
คุณธรรมจริยธรรมของสังคมไทยลมเหลวโดยส้ินเชิง และในปจจุบันการทุจริตมีรูปแบบซับซอนมาก เชน การทุจริตเชิงนโยบาย การมีผลประโยชนทับซอนและการแสวงหาคาเชาทางเศรษฐกิจ ฯลฯ ซึ่งรูปแบบ การทุจริตเปนการทุจริตท่ีผสมกลมกลืนกับการทุจริตแบบเกา เปนการขยายตัวการทุจริตพรอมกับ สภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมท่ีเปล่ียนแปลงไปจากเดิม เปนเรื่องที่ภาครัฐ สังคมและ หนวยงานท่ีเกี่ยวของ จะตองแสวงหาแนวทางใหมเพื่อแกไขปญหารวมกันอยางเปนระบบ ดวยการสงเสริม คุณธรรมและจริยธรรมใหเปนเกราะคุมกันสังคมในการปองกันทุจริต นอกจากน้ัน การสงเสริมระบบการศึกษา ใหเ กิดกระบวนการเรยี นรู สรางทัศนคติ คานิยมเกี่ยวกบั คุณธรรม จรยิ ธรรม ความซ่อื สตั ยสุจริตใหเกิดกับคนใน สังคม ท้งั ดานมติ ิทางสงั คมวัฒนธรรม มิติทางเศรษฐกิจ และมิติทางดานสถาบัน ก็จะทําใหการตอตานการทุจริต มีความรดั กุมรอบดา นมากขึ้น กาํ เนดิ ป.ป.ช. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มีเจตนารมณคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน และสนับสนุน การมีสวนรวมของประชาชน จึงกําหนดการพัฒนาระบบตรวจสอบ โดยกําหนดรูปแบบและโครงสรางของ องคกรอิสระ เพ่ือเปนกลไกในการปฏิบัติงานซึ่งเรียกวา คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต แหงชาติ หรอื เรยี กโดยทั่วไปวา คณะกรรมการ ป.ป.ช. ซึ่งเปนกลไกที่มีอํานาจโดยตรงในการปองปรามการทุจริต ตามรัฐธรรมนูญและพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึง่ มอี าํ นาจหนาที่ ๑. ดา นปอ งกนั การทจุ รติ ดา นตัวระบบ และดา นตวั บุคคล ๒. ดานตรวจสอบทรัพยสนิ เชน กรณีร่ํารวยผิดปกติของเจาหนา ที่รัฐ หรอื ผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ๓. ดานปราบปรามการทุจริต มีอํานาจในการไตสวนถอดถอนออกจากตําแหนง หรือเพื่อดําเนินคดี ทางอาญา สูภมู ภิ าค การท่ีประเทศไทยประสบปญหาการทุจริตเปนอยางมาก แมวาจะมีการบัญญัติต้ังคณะกรรมการ ป.ป.ช. แลวก็ตาม แตเนื่องจากประเทศไทยมีขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมท่ีหลากหลาย จึงตอง มีการจัดต้ังคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริตประจําจังหวัด (กรรมการ ป.ป.จ.) ขึ้นเพื่อทําหนาท่ี หลักในการสงเสริมการปองกันและปราบปรามทุจริต โดยประสานความรวมมือกับประชาชนและสวนราชการ เพื่อเผยแพรความรูใหแกประชาชนทุกระดับตระหนักถึงผลเสียจากการทุจริต และเสริมสรางทัศนคติ คานิยม เก่ียวกับความซอ่ื สตั ยในการปองกันและปราบปรามการทุจริต ๒๗ 29
ตราสัญลกั ษณส าํ นกั งาน ป.ป.ช. ลักษณะและความหมายของตราสัญลกั ษณหรือเคร่ืองหมายสํานกั งาน ป.ป.ช. เปนดวงตรารูปทรงดอกบัวตูมหรือหยดน้ําและมีขนาดกวาง ๒ ใน ๓ ของความสูง ประกอบดวยอุณาโลม และรัศมีโดยรอบ ดานลา งเปน โล และแบงพ้นื ท่ีเปน ๓ สวน คือ สวนบน เปนพานรัฐธรรมนูญ สว นท่สี อง อยูดานลางขวาของโล เปนรูปตุลแขวนอยูบนดามพระขรรค มีธรรมจักร ประกอบอยูดา นหนา สว นทส่ี าม อยูดานลางซายของโลเปนรูปกงจักร และมีลูกศรกับสายฟาไขวสอดใน กงจักร เบือ้ งลางของโลเปน รบิ บ้ิน หรอื โบรองอยดู านลาง และบนแถบโบจะมชี อชัยพฤกษผ ูกวางไวบ นรบิ บ้ิน ความหมายของสญั ลักษณ อณุ าโลม หมายถึง มหาบุรษุ ความยง่ิ ใหญ รศั มี รศั มี หมายถึง การแผไพศาล โล หมายถงึ การปองกันอันเปนหนา ที่พเิ ศษของงาน ป.ป.ช. ซึ่งเปน การปองกันมิใหม ผี ูกระทาํ การทุจรติ ๒๘ 30
ในโลด งั กลาวไดแ บงพื้นท่อี อกเปน ๓ สวน คือ ๑. พานรัฐธรรมนญู หมายถึง กฎหมายสูงสุดของประเทศเปน ศูนยอํานาจรัฐ และกอใหเกดิ มคี ณะกรรมการ ป.ป.ช. ข้นึ ๒. ตุลหรอื ตาชั่งและธรรมจกั ร หมายถึง ความยุตธิ รรมและคณุ ธรรม ๓. กงจักร สายฟาและลกู ศร หมายถึง ความรวดเรว็ ในการปราบปรามการทจุ รติ โบและชอชยั พฤกษ หมายถึง ความมีชัยชนะที่ม่ังคง ตามแนวปณิธานแหง ความต้ังใจท่ีแนวแนและแข็งแกรงของ ป.ป.ช. ทอดตัววางอยูบนความออนโยนท่ีนุมนวลของ พน้ื ฐานองคกร ความหมายของสที ี่ใชป ระกอบในตราสญั ลกั ษณ สมี ว ง ใชประกอบเปนสีพ้ืนของโล หมายถึง วันท่ีรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ อันเปนการกอกําเนิดของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และสํานักงาน ป.ป.ช. ประกาศใช ซ่ึงเปน วนั เสาร สเี ขียว ใชประกอบเปนสีของริบบ้ิน หมายถึง วันที่พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวย การปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ. ๒๕๔๒ ประกาศใช ซึ่งเปนวันพุธ สีทอง ใชประกอบเปนสีสําหรับองคประกอบของสัญลักษณ หมายถึง ความเปนมงคล ความรงุ เรือง ศักดิศ์ รแี ละความสงา งาม ๒๙ 31
สัญลกั ษณสงเสริมคุณธรรมความดี “ชอ สะอาด” คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีภารกิจในการเสริมสรางทัศนคติคานิยมในความซ่ือสัตยสุจริตใหเกิดขึ้นใน สังคม เพ่ืออํานวยตอการปองกันและปราบปรามการทุจริต การปลูกจิตสํานึกและสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม โดยเฉพาะในดา นความซ่ือสตั ยสุจริต จึงเปน แนวทางหนึง่ ทีต่ องดําเนนิ การ ดวยเหตุผลดังกลาว สํานักงาน ป.ป.ช. จงึ จดั ใหมกี ารประกวดสัญลักษณขึ้นเพื่อใชส่ือถึงคุณงามความดี โดยผลงานที่ชนะการประกวด คือ \"ชอสะอาด\" ของนายกิตติบดี บัวหลวงงาม ส่ือถึงความบริสุทธ์ิและจริงใจ สะทอนใหเห็นถึงความซื่อสัตยสุจริต ซึ่งไดนําเผยแพรและขอความรวมมือจากองคกร หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนท่ัวไป ใหนําไปใชในการจัดกิจกรรมจูงใจใหประพฤติปฏิบัติในส่ิงที่ดีงาม เพ่ือสราง พลังแหง ความซอ่ื สตั ย บริสทุ ธิ์ และจรงิ ใจ ใหเ กิดข้ึนเปน เครือขา ยอยางยงั่ ยนื ในชาตบิ า นเมอื ง สัญลักษณ “ชอสะอาด” มีแนวคิดมาจากชอดอกไม ซึ่งเปนของขวัญที่นิยมมอบใหกันในวาระสําคัญ และครงั้ นเ้ี ปนโอกาสที่จะรวมมอบของขวญั อนั ยิง่ ใหญแดผ ูต ัง้ ม่ันและดํารงตนในความซื่อสัตยสุจริต ดวยการทํา ความดี ไมโกง ไมทุจริตตอตนเอง ตอผูอื่น ตอชุมชน สังคม ศาสนา สถาบันพระมหากษัตริย และประเทศชาติ โดยผานสัญลักษณสงเสริมคุณธรรมความดี ซึ่งไดรวบรวมทุกลานมือขาวใสสะอาดของคนบนแผนดินไทย ทั้งในและนอกราชอาณาจักร โดยไมจํากัดเพศ วัย เช้ือชาติ ศาสนาใด ๆ ท้ังสิ้น รวมเขาไวเปนหนึ่งเดียวกัน ผกู ดว ยโบสธี งชาติไทย แสดงถึงการรวมพลงั ไทยทําดีทกุ คนไวด วยกนั มื อ สี ข า ว ส ะ อ า ด ป ร า ก ฏ รั ศ มี สี ฟ า ก ร ะ จ า ย โบสีธงชาติ ทผี่ กู ชอ เอาไว ออกมาโดยรอบ หลากหลายขนาดและรูปแบบ แทนการรวมเปนหน่ึงเดียวกันของ ผูกมัดรวมเปน ชอ เดยี วกันดว ยโบสธี งชาตไิ ทย ทุก ๆ ความดี และนําพลังสะอาด แทนคนทั้งประเทศ ทุกเพศ วัย เช้ือชาติ เหลาน้ีมอบเปนของขวัญตอบแทน ศาสนา ที่รวมกันทําความดี โดยเฉพาะในเรื่อง ประเทศชาติ ความซอ่ื สัตยสุจริต ผลลัพธที่ได คือ พลังพิเศษ ทเ่ี ปลงออกมาสคู นรอบขาง คําวา \"ชอสะอาด\" เขียนในรูปแบบลายมือ แสดงใหเห็นถึง ความมีชีวิตและอิสระ ส่ือถึงความบริสุทธิ์และ คณะรัฐมนตรีรับทราบและใหหนวยงานภาครัฐ นําสัญลักษณสงเสริมคุณธรรมความดี “ชอสะอาด” ใชใ นกิจกรรมการสง เสรมิ คณุ ธรรมความดี ตามท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. เสนอ เม่ือวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๒ ๓๐ 32
เครือ่ งหมาย “ลกู เสือชอสะอาด” คําอธบิ ายตราสญั ลกั ษณลูกเสือชอสะอาด สญั ลกั ษณ “ชอสะอาด” เปน สญั ลกั ษณส งเสรมิ คณุ งามความดี ซ่ึงไดรวบรวมทุกลานมือขาวใสสะอาด ของคนบนแผนดินไทย ทั้งในและนอกราชอาณาจักร โดยไมจํากัดเพศ วัย เช้ือชาติ และศาสนาใด ๆ ทั้งส้ิน รวมเขา ไวเปนหนึ่งเดียวกนั ผกู ดวยโบสธี งชาตไิ ทย แสดงถึงการรวมพลังไทยทําดที กุ คนเขา ไวด วยกนั สัญลักษณ “วงเชือกผูกเง่ือนพิรอด” หมายถึง ความสามัคคีและความเปนพี่นองกันของขบวนการ ลูกเสือโลก สัญลักษณ “ลูกเสือ” ประกอบดวย สัญลักษณลูกเสือโลก คือ รูปเฟอรเดอลีส (Fleur-de-lis) ประกอบกบั รปู หนาเสือ มอี ักษรจารกึ ดา นลางวา “เสยี ชีพอยาเสียสตั ย” ซงึ่ หมายถงึ ๑. เคร่ืองหมายลูกศรของเข็มทิศท่ีอยูตรงกลาง หมายความวา ลูกเสือสามารถช้ีแนวทางที่ ถูกตองของชวี ิต เปรียบไดดังเข็มทศิ ทส่ี ามารถชีบ้ อกทิศทาง ๒. ปลายยอด ๓ แฉก สวนบนของเคร่ืองหมายเปรียบเหมือนรหัสของลูกเสือ อันหมายถึง คําปฏิญาณ ๓ ขอ ท่ลี กู เสือตอ งยดึ ถอื ซึ่งมคี วามหมาย ดังน้ี ขอ ๑ ขา จะจงรกั ภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ลูกเสือจะตองมีความศรัทธา เชื่อมัน่ ในชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริยของตน เคารพเทิดทนู ท้งั ๓ สถาบนั ดว ยความซ่ือสัตย ขอ ๒ ขาจะชวยเหลือผูอื่นทุกเม่ือ ลูกเสือจะตองประพฤติปฏิบัติตนใหเปน ประโยชนต อผอู ื่นในทกุ โอกาส ทุกสถานการณ เทาท่จี ะทาํ ได โดยเริม่ ตัง้ แตค รอบครวั จนถงึ สงั คมภายนอก ขอ ๓ ขาจะปฏิบัติตามกฎของลูกเสือ ลูกเสือตองปฏิบัติตนตามกฎ ๑๐ ขอ ของลูกเสอื ซึ่งเปนหลักยึดเหนยี่ วใหล กู เสือปฏบิ ตั ิแตสง่ิ ดงี าม ๓. ดาว ๕ แฉก ๒ ดวง รวมทั้งหมด ๑๐ แฉก อยูที่กลีบซายขวาของ “Fleur-de-lis” นั้น หมายถงึ คุณธรรม ๑๐ ประการของลกู เสือ ดวงดาวทางซา ย คอื คณุ ธรรมขอ ที่ ๑ - ๕ ซ่ึงลูกเสือพึงปฏบิ ัติตอผูอืน่ ดวยดี คอื ๑. ลูกเสอื ตอ งมีเกียรตเิ ชอ่ื ถือได (Honorable) ๒. ลูกเสอื ตอ งมีใจจงรักภักดี (Loyal) ๓. ลูกเสือตองเปนมิตรกบั บคุ คลท่วั ไป (Friendly) ๔. ลกู เสอื ตอ งมสี ัมมาคารวะ (Courteous) ๕. ลกู เสือตอ งบําเพ็ญตนใหเ ปนประโยชนตอ ผูอ น่ื (Helpful) ๓๑ 33
ดวงดาวทางขวา หมายถงึ คณุ ธรรมขอ ท่ี ๖ - ๑๐ ซ่งึ วาดวยกฎขอ บังคับโดยตรง คือ ๖. ลกู เสอื ตอ งมใี จเมตตากรณุ าเอือ้ เฟอเผื่อแผ (Kind) ๗. ลูกเสอื ตอ งเชอ่ื ฟงคําสง่ั สอน (Obedient) ๘. ลูกเสือตองมีหนาตายิ้มแยมแจมใสเบิกบาน แมในยามลําบาก หรือเผชิญ อันตราย (Cheerful) ๙. ลกู เสือตองมธั ยสั ถ (Thrifty) ๑๐. ลกู เสอื ตองมีกาย วาจา ใจสะอาดบริสทุ ธิ์ (Clean) พนื้ สีขาว แสดงถงึ ความบริสทุ ธคิ์ วามซ่ือสัตยส ุจรติ เชือกสีมวง แสดงถึง ความเปนผูนําและการชวยเหลือผูอื่น และเปนสีของวันท่ีมีการประกาศใช รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ ซ่งึ เปนวันเสาร คําขวัญ “เสียชีพอยาเสียสัตย” ส่ือถึง ความภูมิใจในลูกเสือไทย มีจิตสํานึกในการทําความดี และ ความมคี ุณธรรมจริยธรรมของลูกเสอื โครงการลกู เสือชอสะอาด เปนโครงการท่ีไปในทิศทางเดียวกับขบวนการระหวางประเทศ ซ่ึงกําหนด โดยสหประชาชาติ ถือกาํ เนิดขน้ึ หลงั จากที่ประชุมใหญสมชั ชาสหประชาชาติ (United Nation) มมี ตเิ ห็นชอบ อนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการตอตานการทุจริต ค.ศ. ๒๐๐๓ (United Nations Convention against Corruption - UNCAC, 2003) อยางเปนเอกฉันทเม่ือวันท่ี ๓๑ ตุลาคม ๒๕๔๖ จากน้ันประเทศภาคี สมาชิกสหประชาชาติ ๑๙๑ ประเทศรวมทั้งประเทศไทย เขารวมลงนามในอนุสัญญาฯ ระหวางวันที่ ๙ - ๑๑ ธันวาคม ๒๕๔๖ ณ เมอื งเมอรดิ า ประเทศเมก็ ซิโก ดงั น้ัน สหประชาชาติจึงประกาศใหวันท่ี ๙ ธันวาคมของทุกป เปน วนั ตอ ตา นคอรรัปชันสากล (International Anti - Corruption Day) การเปนภาคีจะเกิดประโยชนแกประเทศไทยอยางมาก เน่ืองจากหัวใจสําคัญของอนุสัญญา สหประชาชาติวาดวยการตอตานการทุจริต ค.ศ. ๒๐๐๓ กําหนดประเด็นความรวมมือที่สําคัญของภาคี ๓ ประการ ดงั นี้ ๑. ดานมาตรการเชงิ ปอ งกนั : ทกุ ประเทศตอ งมงุ ปอ งกนั ปญ หาการทจุ รติ เปนอนั ดบั แรก ๒. ดานการบัญญัติความผิดทางอาญา : ทุกประเทศตองถือวาการทุจริตทุกรูปแบบ คือ อาชญากรรม ๓. ดา นความรวมมอื ระหวางประเทศ : ทุกประเทศตองใหความรวมมือในการทําใหอนุสัญญา มผี ลในทางปฏบิ ตั ไิ ดจ รงิ การรณรงค \"คอรัป 'ฉัน' ไมขอรับ\" (Your NO Counts) เปนขบวนการระหวางประเทศ ซึ่งโครงการพัฒนาสหประชาชาติ (United Nations Development Programme) และสํานักงานวาดวย ยาเสพติดและอาชญากรรมแหงสหประชาชาติ (United Nations Office on Drugs and Crime) รวมกันจัดขึ้น ในวนั ตอตา นการทุจริตสากล เพื่อสรา งความตระหนัก รถู ึงการทจุ ริต และวิธตี อตา นการทุจรติ การรณรงคนี้มีเปาหมายแสดงใหเ หน็ วา การทุจริตเปนที่กีดขวางความรวมมือในอันที่จะบรรลุ เปาหมายการพัฒนาสหัสวรรษเชนไร บอนทําลายประชาธิปไตยและหลักนิติธรรมเชนไร กับทั้งชักนําไปสู การละเมิดสิทธมิ นษุ ยชน บิดเบือนการตลาด พาความวินาศมาสูคณุ ภาพชีวติ รวมถึงสง ผลใหเกิดความผิดอาญา ซึง่ กระทํากนั เปน องคก าร การกอการรา ย และภยันตรายอ่ืนตอความมั่นคงของมนุษยเชนไร ๓๒ 34
กิจการลูกเสอื วิสามัญกับโครงการลูกเสอื วสิ ามัญชอสะอาด กจิ การลูกวสิ ามัญ สามารถพัฒนาการของเยาวชนท่ีมีอายุระหวาง ๑๗ - ๑๘ ป ทั้งทางดานรางกาย สติปญญา จิตใจ สังคมและศลี ธรรม ตามอุดมการณข องเยาวชนนัน้ ควรประกอบดวย ๑. เปนท่ดี งึ ดดู ใจและสนองความตอ งการและความสามารถของมวลสมาชกิ ๒. เปนการชว ยเหลือใหเ ยาวชนไดม ีเพ่ือนและสงั คมที่ดี ๓. จดั ใหมีประสบการณในการทํางานรว มกันเปน หมูคณะอยา งมคี วามหมาย ๔. เปดโอกาสใหเยาวชนไดทําการฝก และพัฒนาทักษะความสามารถในการเปนผูน ําที่ดี คติพจนของลูกเสือวิสามัญชอสะอาด คือ “บริการ” ถือเปนสวนหนึ่งของคําปฏิญาณและกฎของ ลกู เสือทว่ี า “ขา ฯ จะชว ยเหลอื ผอู ืน่ ทุกเม่ือ” กิจการลูกเสือวิสามัญชอสะอาด มุงเนนในการตอบสนองความตองการของเยาวชน เพ่ือใหทําหนาท่ี ในการบริการชวยเหลือผูอื่นและสังคมท่ีเขาอยูอาศัย เปนการสรางนิสัยใหเยาวชนไมเปนคนเห็นแกตัวและ พรอมท่ีจะเสียสละประโยชนสวนตัวเพื่อใหบริการแกบุคคลและสังคม ทั้งนี้ เพ่ือเยาวชนไดเจริญเติบโต เปน ผูใ หญจ ะสามารถดาํ รงชวี ติ อยใู นสงั คมอยา งมีความสขุ การลูกเสือวิสามัญชอสะอาด พยายามจะชวยใหคนวัยหนุมท้ังหลายเปนตัวของตัวเองจะชวยให สามารถดําเนินชวี ิตของตนเอง เปน ผมู คี วามรับผิดชอบตามหนา ทขี่ องตน จดุ มงุ หมายของกิจการลกู เสือวสิ ามัญชอสะอาด ๑. สงเสรมิ การเปนพลเมืองดีของเยาวชน ๒. การใหบรกิ ารแกช มุ ชนแกคณะลูกเสอื แหงชาติ ๓. จัดประสบการณตาง ๆ ท่ีมีประโยชนและทาทายความสามารถ เพื่อเปดโอกาสใหเยาวชนพัฒนา ศกั ยภาพของตนเอง ๔. ชวยใหเยาวชนสามารถดาํ รงชีวติ ไดอยางมีความสขุ ในสังคมและมปี ระสิทธิภาพ ๕. ชวยใหเยาวชนไดมีสวนรวมอยางจริงจังในการพัฒนาชุมชน สังคม ประเทศชาติตามอุดมการณ ของคณะลกู เสอื แหงชาติ โครงการลกู เสือชอ สะอาด จัดต้ังขึ้นเพื่อสนับสนุนใหลูกเสือวิสามัญไดรับการฝกอบรม โดยการเรียนรู ตามหลกั สูตรวิสามัญชอสะอาดท้ังในและนอกสถานศึกษา ในการสรางทัศนคติท่ีดี ปลูกจิตสํานึกของการปองกัน การทุจริต ประพฤติมชิ อบ สรา งความซ่อื สตั ย โปรงใสใหกับสงั คม ชมุ ชน และประเทศชาติ รว มกนั แสดงความคิดเห็นและรายงาน ๓๓ 35
ใบงาน วชิ า ลกู เสือวสิ ามญั กับโครงการลูกเสอื ชอสะอาด ๑. ใหหมูของทานสงผูแทนหมูขับเสภา ประกอบความเปนมาของโครงการลูกเสือชอ สะอาด (๓ นาที) ๒. ใหห มขู องทานอภิปรายหัวขอ “ความสุจริตมีความสําคัญตอชีวิตประจําวันอยางไร” แลวสรุปสง ผูแทนหมรู ายงานผลตอท่ปี ระชุมใหญ (๓ นาที) ๓. ใหหมูของทานอภิปราย หัวขอ “โครงการชอสะอาด สามารถปองกันปราบปรามทุจริตไดดี เพียงใด” แลว สรปุ สง ผูแทนหมรู ายงานตอที่ประชมุ ใหญ (๓ นาที) ๔. ใหหมูของทานนําเสนอประสบการณการพบเห็นการทุจริตสวนบุคคล ซ่ึงอาจนําไปสูการเสียหาย อยางยงิ่ สาํ หรบั สังคม ๓ เร่อื ง แลวสง ผแู ทนนําเสนอตอทปี่ ระชุมใหญ (๓ นาที) ๕. ใหหมูของทานเขียนคํากลอนบรรยาย “วิธีการพัฒนา โครงการลูกเสือสะอาด” แลวสงผูแทนหมู รายงานตอ ทป่ี ระชุม (๓ นาที) ใหแตละหมูรวมกันทํากิจกรรมตามหัวขอกิจกรรมขางตน โดยใชเวลา ๑๕ นาที แลวสงผูแทนหมู นําเสนอตอ ทป่ี ระชุมใหญ (กลุมละ ๓ นาที) • หมูที่ ๑ ทาํ ขอ ๑ • หมูที่ ๒ ทาํ ขอ ๒ • หมทู ี่ ๓ ทาํ ขอ ๓ • หมทู ่ี ๔ ทําขอ ๔ • หมทู ่ี ๕ ทาํ ขอ ๕ ๓๔ 36
ชื่อวิชา คาํ ปฏญิ าณและกฎของลกู เสือเพอื่ ความเปนพลเมืองดีและจติ อาสา บทเรียนท่ี ๔ เวลา ๗๕ นาที ขอบขา ยรายวิชา ๑. ความหมาย ความสําคญั และประโยชนข องคําปฏญิ าณและกฎของลูกเสือวสิ ามัญ ๒. การแปลความหมายของคาํ ปฏญิ าณและของลูกเสือวิสามัญ ๓. นาํ คาํ ปฏิญาณและกฎของลูกเสอื วสิ ามัญไปปฏบิ ตั ใิ นชวี ิตประจําวัน จุดหมาย เพ่อื ใหลูกเสือวิสามัญไดด าํ เนินการจัดกิจกรรมจิตอาสาและการเปนพลเมืองดี ตามกฎและคําปฏิญาณ ของลกู เสือ นาํ มาประยุกตใชในชวี ิตประจาํ วันได วัตถุประสงค เมือ่ จบบทเรยี นนี้แลว ลกู เสอื วิสามญั สามารถ ๑. อธบิ ายความหมาย ความสําคัญของการเปน พลเมืองที่ดีได ๒. อธิบายความหมาย ความสําคัญของจติ อาสาได ๓. สามารถแปลความหมายของกฎและคําปฏิญาณของลกู เสือได ๔. นํากิจกรรมจิตอาสาและการเปนพลเมืองดีมาประยุกตกับกฎและคําปฏิญาณ มาใชในชีวิต ประจําวันได วิธีสอน/กจิ กรรม ๑. เตรียมความพรอ ม รองเพลงกฎของลกู เสือ ๒. ใหลูกเสือศึกษา เรื่อง คําปฏิญาณและกฎของลูกเสือวิสามัญจากใบความรูที่ ๓ เร่ือง คําปฏิญาณ และกฎของลูกเสือวสิ ามญั ๓. ใหลกู เสอื แตล ะหมปู ฏบิ ัตติ ามใบงานท่ี ๓ ส่อื การสอน ๑. เพลง ๒. ใบความรทู ี่ ๓ เรือ่ ง คําปฏิญาณและกฎของลูกเสอื วิสามัญ ๓. ใบงานท่ี ๓ เรื่อง ลูกเสือวิสามัญกับคําปฏญิ าณและกฎของลูกเสือ ๔. เอกสารประกอบการเรียนการสอน การประเมนิ ผล ๑. วิธีการวดั ผล : ประเมินการปฏิบัติกจิ กรรมกลุม ๒. เคร่อื งมอื วดั ผล : การทองคาํ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสือวสิ ามญั ๓. เกณฑก ารประเมินผล : ตารางบันทกึ ผลการทดสอบทอ งคาํ ปฏิญาณและกฎของลกู เสือวสิ ามัญ ๓๕ 37
ใบความรูที่ ๓ เรอ่ื ง คําปฏิญาณและกฎของลกู เสือวิสามัญ ความหมายของคําปฏญิ าณของลูกเสอื คือ คํามั่นสัญญาที่ลูกเสือไดใหไวดวยความสุจริตใจแกผูบังคับบัญชาตอหนาแถวหรือในพิธีการทาง ลูกเสือ เปนหลักสากลที่ลูกเสือทุกคนตองปฏิบัติเชนเดียวกันหมด ลูกเสือจะตองจดจําคําปฏิญาณใหได และ ตองพยายามปฏิบตั ิตนตามคําปฏิญาณอยา งเต็มความสามารถ หรือใหด ีทีส่ ุด คาํ ปฏญิ าณของลูกเสือวสิ ามัญ มี ๓ ขอ ดงั นี้ ดว ยเกยี รตขิ องขา ขาสญั ญาวา ขอ ๑ ขาจะจงรักภกั ดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ หมายถึง ลูกเสือตองเคารพ ยกยองบูชาเทิดทูนชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริยไว ดว ยความซอ่ื สัตยสุจริต ขอ ๒ ขาจะชวยเหลือผอู น่ื ทุกเมอื่ หมายถึง ลูกเสือเปนผูมีจิตใจโอบออมอารี มีจิตเมตตากรุณาตอสัตว ตอคนทั่วไป ยอมสละความสุขสวนตัวและมีจิตอาสา ขอ ๓ ขา จะปฏิบตั ิตามกฎของลกู เสือ หมายถึง ใหลูกเสือปฏิบัติตามกฎของลูกเสือทั้ง ๑๐ ขอ อยางเครงครัด และปฏิบัติ อยางสมํา่ เสมอ ไมห ลีกเลีย่ ง ทุกครัง้ ที่กลาวคาํ ปฏญิ าณลูกเสือทุกคนตองแสดงรหัส ลูกเสือไทยนิยมแสดงรหัสแบบอังกฤษ คือยืนใน ทา ตรง ยกมือขวาข้ึนเสมอไหล ขอศอกชิดลําตัว หันฝามือไปขางหนา น้ิวหัวแมมือกดปลายน้ิวกอยไว อีกสามน้ิว ท่ีเหลอื เรยี งชิดติดกันและเหยยี ดตรงข้นึ ไป น้วิ ท้งั สามท่ีเหยยี ดขึ้นไปน้ัน มีความหมายถึง คําปฏิญาณของลูกเสือ ทั้ง ๓ ขอ กฎของลูกเสอื สามัญ ลกู เสือสามญั รุน ใหญ ลกู เสือวสิ ามญั และบคุ ลากรทางการลกู เสือ กฎของลูกเสือ หมายถึง ขอปฏิบัติท่ีลูกเสือตองยึดถือเปนแนวทางการประพฤติปฏิบัติตนและปฏิบัติ หนาที่ใหเปนคนดีของครอบครัว สังคม และประเทศชาติ มีระเบียบวินัย มีความรักสามัคคีและมีความซื่อสัตย สจุ ริต ดังตอไปน้ี ขอ ๑ ลกู เสอื มเี กียรตเิ ชื่อถือได ขอ ๒ ลูกเสือมีความจงรกั ภักดตี อ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และซ่ือตรงตอผูมพี ระคุณ ขอ ๓ ลูกเสือมีหนา ทก่ี ระทําตนใหเปนประโยชนแ ละชว ยเหลอื ผอู นื่ ขอ ๔ ลกู เสือเปน มติ รของคนทุกคนและเปน พี่นองกบั ลกู เสืออนื่ ท่วั โลก ขอ ๕ ลกู เสอื เปนผสู ุภาพเรียบรอ ย ขอ ๖ ลกู เสอื มีความเมตตากรุณาตอสตั ว ขอ ๗ ลูกเสือเชอื่ ฟงคาํ สงั่ ของบิดามารดา และผูบังคับบัญชาดวยความเคารพ ขอ ๘ ลูกเสือมีใจราเรงิ และไมย อทอตอความยากลาํ บาก ขอ ๙ ลกู เสือเปน ผูมัธยัสถ ขอ ๑๐ ลกู เสอื ประพฤติชอบดวยกาย วาจา ใจ ๓๖ 38
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184