Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การตรวจและออกเอกสารรับรองสุขาภิบาลเรือ

การตรวจและออกเอกสารรับรองสุขาภิบาลเรือ

Published by icdc_gcd, 2022-11-23 03:15:17

Description: การตรวจและออกเอกสารรับรองสุขาภิบาลเรือ

Search

Read the Text Version

คมู่ อื กรมควบคุมโรค Department of Disease Control การตรวจและการออกเอกสาร รบั รองสขุ าภบิ าลเรอื Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates กรมควบคุมโรค ISBN : 978-616-11-4777-8 กระทรวงสาธารณสุข

ISBN : 978-616-11-4777-8 คู่มอื การตรวจและการออก เอกสารรับรองสขุ าภบิ าลเรอื Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates กองด่านควบคมุ โรคตดิ ต่อระหวา่ งประเทศและกกั กนั โรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ

คณะผูจ้ ัดท�ำ ท่ปี รึกษา นายแพทยโ์ สภณ เอีย่ มศริ ถิ าวร รองอธบิ ดกี รมควบคมุ โรค นายแพทย์สวุ ิช ธรรมปาโล ผอู้ ำ� นวยการกองดา่ นควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศและกกั กนั โรค กรมควบคุมโรค กปั ตนั จักรวาล กนษิ ฐบตุ ร กองมาตรฐานคนประจ�ำเรือ กรมเจา้ ท่า กัปตันพงษทร คงลือชา บริษทั โทรีเซน (กรุงเทพ) คณะบรรณาธิการ 1. นายพรชยั เกิดศริ ิ กองดา่ นควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศและกกั กนั โรค กรมควบคมุ โรค 2. นางสาวมนจริ า ถมังรกั ษ์สัตว ์ กองดา่ นควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศและกกั กนั โรค กรมควบคมุ โรค 3. นางนภิ า น้อยเลศิ กองดา่ นควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศและกกั กนั โรค กรมควบคมุ โรค 4. นายเขมรตั น์ พรมพทิ กั ษ ์ กองดา่ นควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศและกกั กนั โรค กรมควบคมุ โรค ผแู้ ปล 1. รศ.ดร.สริ มิ า มงคลสัมฤทธิ์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ 2. ผศ.ดร.ก�ำพล นันทพงษ ์ คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ 3. ผศ.ดร.นติ ย์ตะยา ผาสกุ พนั ธ ์ุ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4. ผศ.ดร.นำ้� ฝน เอกตาแสง คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 5. อ.ชวินทร มยั ยะภกั ดี คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 6. อ.ดร.บษุ ราคัม ฐิตานุวฒั น ์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ 7. อ.ดร.มนพร วงศส์ ุนทรชยั คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ 8. อ.ดร.ญาณสินี สมุ า คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 9. นายพรชยั เกดิ ศิร ิ กองดา่ นควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศและกกั กนั โรค กรมควบคมุ โรค จำ� นวนพมิ พ์ 200 เลม่ พมิ พท์ ี่ โรงพิมพช์ มุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ� กดั 145,147 ถนนเล่ยี งเมืองนนทบรุ ี ต�ำบลตลาดขวัญ อำ� เภอเมือง จงั หวดั นนทบุรี หน่วยงานจัดพิมพ์ ด่านควบคุมโรคตดิ ต่อระหวา่ งประเทศท่าเรอื กรงุ เทพ กองดา่ นควบคุมโรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศและกักกนั โรค กรมควบคมุ โรค

ค�ำน�ำ กฎอนามัยระหว่างประเทศ ค.ศ. 2005 ก�ำหนดให้ประเทศสมาชิกท่าเรือจะต้องมีสมรรถนะในการ พัฒนาบุคลากรให้มีความสามารถในการประเมินความเส่ียงด้านสาธารณสุขของยานพาหนะเรือท่ีเข้ามาใน ราชอาณาจกั ร และออกเอกสารการตรวจและรบั รองสขุ าภบิ าลเรอื เพอ่ื ทดแทนเอกสารรบั รองการกำ� จดั หน/ู เอกสาร รบั รองยกเว้นการกำ� จดั หนู ต้งั แต่ 15 มถิ นุ ายน ค.ศ. 2550 เปน็ ต้นมา โดยเอกสารการตรวจและการออกเอกสาร รบั รองสขุ าภบิ าลเรือ ดังกลา่ ว ระบุอยใู่ นกฎอนามัยระหว่างประเทศ ค.ศ. 2005 ภาคผนวก 3 ตามความจำ� เปน็ ดงั กลา่ ว ขา้ งตน้ ดา่ นควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศทา่ เรอื กรงุ เทพ กองดา่ นควบคมุ โรคติดต่อระหว่างประเทศและกักกันโรค กรมควบคุมโรค จึงเห็นความจ�ำเป็นในการแปลเอกสารขององค์การ อนามยั โลก เร่ือง Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates ใหเ้ ป็นเอกสารภาษาไทยโดยใชช้ ่อื ว่า คู่มือการตรวจและการออกเอกสารรบั รองสขุ าภิบาลเรือ ซ่ึงมีคณะอาจารย์ จากคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นผู้แปลหลัก ได้รับความกรุณาจาก นพ.โสภณ เอยี่ มศริ ถิ าวร รองอธบิ ดกี รมควบคมุ โรค นพ.สวุ ชิ ธรรมปาโล ผอู้ ำ� นวยการกองดา่ นควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศ และกกั กนั โรค กรมควบคมุ โรค กปั ตนั จกั รวาล กนษิ ฐบตุ ร กองมาตรฐานคนประจำ� เรอื กรมเจา้ ทา่ และกปั ตนั พงษทร คงลือชา บริษัทโทรีเซน (กรุงเทพ) เป็นที่ปรึกษาในการแปลเอกสารนี้ โดยมีเจ้าหน้าท่ีผู้ท่ีปฏิบัติงานประเมิน ความเสย่ี งดา้ นสาธารณสขุ ของยานพาหนะเรอื ของสำ� นกั งานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคที่ 6 และ 12 รว่ มใหข้ อ้ มลู ทเ่ี ปน็ ประโยชนเ์ ป็นอยา่ งมาก หน่วยงานที่จัดพิมพ์ขอขอบพระคณุ ทกุ ท่าน ณ โอกาสนี้ คณะผจู้ ดั ทำ� หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ เอกสารการตรวจและการออกเอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรอื ฉบบั ภาษาไทย นี้จะเป็นประโยชน์ต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจ�ำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศและผู้สนใจ เอกสารแปลฉบบั น้ีได้เผยแพรไ่ ปยงั ด่านควบคุมโรคติดต่อระหวา่ งประเทศทางนำ�้ 18 แหง่ ทว่ั ประเทศ เพอ่ื ใช้เป็น คู่มือส�ำหรบั การปฏิบตั ิงานต่อไป หากทา่ นมขี อ้ เสนอแนะทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ การปรบั ปรงุ เนอ้ื หาในเอกสารคมู่ อื สขุ าภบิ าลเรอื ฉบบั ภาษาไทย โปรดเสนอแนะมายังด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ท่าเรือกรุงเทพ ซ่ึงคณะผู้จัดท�ำจะน�ำข้อเสนอแนะ ทกุ ความเห็นมาพิจารณา เพ่ือปรบั ปรุงโดยเอกสารดังกลา่ วน้ี ตอ่ ไป คณะผู้จดั ท�ำ ธนั วาคม 2564 ค่มู ือการตรวจและการออกเอกสารรับรองสุขาภิบาลเรือ 3 Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

World Health Organization 2011 (องค์การอนามยั โลก พ.ศ. 2554) เอกสารฉบบั นไ้ี มไ่ ดเ้ จตนาจะสอื่ ความคดิ เหน็ ของสว่ นใดสว่ นหนงึ่ ขององคก์ ารอนามยั โลกทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั กฎหมายของ ประเทศ เขตแดน เมอื ง หรอื พนื้ ทท่ี อ่ี ยใู่ นอำ� นาจของประเทศใดๆ หรอื ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ขอบเขตชายแดนของประเทศ สมาชิก เส้นประบนแผนท่ีแสดงให้เห็นเส้นขอบเขตโดยประมาณเมื่อเส้นเหล่าน้ันยังไม่ได้ตกลงกันอย่างสมบูรณ์ การกล่าวถึงบริษัทเฉพาะบางบริษัทหรือกล่าวถึงผลิตภัณฑ์จากผู้ผลิตบางรายไม่ได้ต้ังใจจะแสดงว่า ผลิตภัณฑ์ เหลา่ นน้ั ไดร้ บั การรบั รองหรอื แนะนำ� โดยองคก์ ารอนามยั โลกมากกวา่ ผลติ ภณั ฑอ์ นื่ ๆ ทม่ี คี ณุ ลกั ษณะคลา้ ยกนั แต่ ไมไ่ ดร้ บั การกลา่ วถงึ การยกเวน้ ขอ้ ผดิ พลาดและการละเลย ชอ่ื ของผถู้ อื สทิ ธใิ นผลติ ภณั ฑจ์ ะใชอ้ กั ษรตวั ใหญ่ องคก์ ารอนามยั โลกนอ้ มรบั คำ� เตอื น และคำ� แนะนำ� ตา่ งๆ ทม่ี เี หตผุ ลเพอื่ ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู ทอ่ี ยใู่ น การเผยแพร่และในการเตรียมบทสรุปนี้ อยา่ งไรก็ดี เอกสารเผยแพรฉ่ บับน้ี แจกจ่ายโดยไม่รับประกนั การแสดง ความรบั ผดิ ชอบในการตคี วาม ดงั นน้ั การใชเ้ อกสารนอี้ ยบู่ นพนื้ ฐานการตคี วามของผอู้ า่ น ไมม่ เี หตกุ ารณใ์ ดทแ่ี สดง ใหเ้ ห็นวา่ องคก์ ารอนามัยโลกจะผลักดนั ให้เกดิ ความเสียหายจากการใชเ้ อกสารฉบบั น้ี ดังนนั้ การอา้ งอิงถงึ หรือเนื้อหาทร่ี วมเข้ากับการออกกฎหมาย ระเบียบ หรือในทางกฎหมายบางประการของรฐั การจดั การหรือใช้เครอ่ื งมอื ในการด�ำเนนิ การ หรือข้อสรุป หรือบทคัดย่อ จะไมใ่ ชก่ ารยนื ยันรบั รองเครอ่ื งมอื หรือ ข้อสรุปเหลา่ น้ัน แตเ่ สนอเป็นข้อมลู เทา่ นนั้ ขอ้ ความในฉบับภาษาท่ีถกู ตีพิมพ์อย่างเปน็ ทางการโดยรัฐบาลจะได้ รบั การพจิ ารณาวา่ นา่ เชอ่ื ถอื ได้ สง่ิ ทรี่ วมเขา้ กบั เครอื ขา่ ยทเี่ ชอ่ื มโยงไปยงั เวบ็ ไซตภ์ ายนอกไมไ่ ดป้ ระสงคจ์ ะรบั รอง เวบไซต์เหลา่ นน้ั โดย WHO แตใ่ ห้ไว้ดว้ ยดว้ ยเจตนาทจ่ี ะแสดงข้อมลู ใหท้ ราบเพียงอย่างเดียว WHO ไม่รับผิดชอบ ใดๆ เรอื่ งความถกู ต้องหรอื ความแมน่ ยำ� ในเนอื้ หาของเวบไซต์ เหลา่ น้ัน ฉบับภาษาองั กฤษพมิ พใ์ นฝร่งั เศส WHO/HSE/LYO/2011.3 ออกแบบโดย เครยองบลู ลอี อง ฝรง่ั เศส บรรณาธิการ: บรษิ ทั ไบโอเทก็ ซ์ ออสเตรเลยี ฉบบั ภาษาไทยจดั พิมพโ์ ดย ด่านควบคุมโรคตดิ ตอ่ ระหว่างประเทศทา่ เรอื กรุงเทพ กองด่านควบคุมโรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศและกกั กนั โรค กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข ISBN : 978-616-11-4777-8 4 ค่มู ือการตรวจและการออกเอกสารรับรองสขุ าภิบาลเรอื Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

สารบญั หน้า ค�ำนำ� ...................................................................................................................................................................3 เกรนิ่ นำ� ..................................................................................................................................................................7 กติ ตกิ รรมประกาศ...............................................................................................................................................9 อภธิ านศพั ท์........................................................................................................................................................11 คำ� ยอ่ .....................................................................................................................................................................17 คำ� นำ� ตน้ ฉบบั .....................................................................................................................................................18 ขอบเขต..............................................................................................................................................................19 ภาค ก. ส่งิ ท่รี ะบบการตรวจเรอื ต้องมี 1. ภาพรวมหลักกฎหมาย กรอบแนวคิด และนโยบาย ................................................................................22 2. บทบาทและความรบั ผดิ ชอบ .....................................................................................................................23 2.1 บทบาทของเจา้ หนา้ ทผ่ี มู้ อี �ำนาจ............................................................................................................24 2.2 บทบาทของผปู้ ระกอบการเดนิ เรอื .........................................................................................................25 2.3 บทบาทของเจา้ หน้าท่ผี ู้ตรวจเรอื ..........................................................................................................25 3. การวางแผนกอ่ นการตรวจและการบรหิ ารจดั การเพอ่ื ออกเอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรอื ..............................26 3.1 การเตรยี มการและการบรหิ ารจดั การสำ� หรบั การตรวจเรอื และการออกเอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรอื .........26 3.2 การวางแผนการตรวจ...........................................................................................................................27 4. มาตรการและขนั้ ตอนการดำ� เนนิ การตรวจเรือและออกเอกสารรับรองสขุ าภบิ าลเรือ..............................27 4.1 การทบทวนเอกสาร...............................................................................................................................28 4.2 การดำ� เนินการตรวจ.............................................................................................................................29 4.3 การเกบ็ ตวั อยา่ ง.........................................................................................................................................30 4.4 การออกเอกสารรบั รอง..........................................................................................................................30 5. มาตรการควบคมุ .........................................................................................................................................34 6. เครอ่ื งมอื และขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศทเ่ี กย่ี วขอ้ ง........................................................................................34 ภาค ข. บัญชรี ายการในการตรวจสอบเรือ...............................................................................................36 พืน้ ท ี่ 1 ท่ีพักอาศัย.............................................................................................................................................37 พื้นท ่ี 2 ห้องครวั หอ้ งเตรียมอาหาร และห้องรับประทานอาหาร.......................................................................43 พนื้ ท ี่ 3 หอ้ งเกบ็ เสบยี ง........................................................................................................................................60 พน้ื ที ่ 4 พ้ืนทดี่ แู ลเด็ก.........................................................................................................................................66 พน้ื ท่ี 5 หน่วยบรกิ ารทางการแพทย์...................................................................................................................70 พื้นท ่ี 6 สระวา่ ยนำ้� และสปา................................................................................................................................78 คูม่ อื การตรวจและการออกเอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรือ 5 Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

หนา้ พน้ื ที ่ 7 ขยะทวั่ ไปและของเสยี ทางการแพทย์..................................................................................................85 พน้ื ท ่ี 8 หอ้ งเคร่ือง...........................................................................................................................................97 พืน้ ที่ 9 นำ�้ บรโิ ภค............................................................................................................................................100 พน้ื ที่ 10 น�้ำโสโครก.........................................................................................................................................120 พื้นที่ 11 นำ�้ อบั เฉาเรอื ......................................................................................................................................129 พืน้ ท ่ี 12 ระวางบรรทกุ สนิ คา้ ............................................................................................................................135 พน้ื ท ี่ 13 พนื้ ทแี่ ละระบบอน่ื ๆ..........................................................................................................................139 ภาคผนวก 1 : รปู แบบ เอกสารรับรองการยกเวน้ การควบคมุ สขุ าภิบาลเรอื (SSCEC)/ เอกสารรับรองการควบคุมสขุ าภิบาลเรือ (SSCC)..................................................................145 ภาคผนวก 2 : ผงั ขน้ั ตอนการออกเอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรอื การตรวจซำ�้ และเรอื ทไี่ ดร้ บั ผลกระทบ........148 ภาคผนวก 3 : ขนั้ ตอนการตรวจพนื้ ทต่ี ามลำ� ดบั กอ่ นหลงั ..............................................................................149 ภาคผนวก 4 : บญั ชรี ายการอปุ กรณป์ อ้ งกนั ภยั เฉพาะบคุ คลสำ� หรบั ผตู้ รวจและเจา้ หนา้ ทบี่ นเรอื .....................150 ภาคผนวก 5 : บัญชี รายการอุปกรณใ์ นการตรวจเรอื ...................................................................................151 ภาคผนวก 6 : ตวั อยา่ งบัญชรี ายการเอกสารส�ำหรับการตรวจเรอื ................................................................153 ภาคผนวก 7 : แบบฟอร์มรายงานหลกั ฐานทตี่ รวจพบ..................................................................................155 ภาคผนวก 8 : คำ� แนะนำ� การกรอกแบบฟอรม์ รายงานหลกั ฐานทตี่ รวจพบ....................................................156 เอกสารอา้ งองิ และแหลง่ ขอ้ มลู .........................................................................................................................157 6 คู่มอื การตรวจและการออกเอกสารรับรองสุขาภิบาลเรอื Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

เกร่ินนำ� เมื่อ 23 พฤษภาคม 2548 ที่ประชมุ สมัชชาองค์การอนามัยโลกครง้ั ท่ี 58 ไดม้ มี ตริ บั รองใหป้ ฏบิ ตั ิตาม กฎอนามัยระหว่างประเทศ 2005 และทดแทนเอกสารรับรองการก�ำจัดหน/ู เอกสารรับรองยกเว้นการก�ำจัดหนู ดว้ ยเอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรอื ซง่ึ ครอบคลมุ มากกวา่ และมผี ลบงั คบั ใชต้ งั้ แตว่ นั ที่ 15 มถิ นุ ายน 2550 กฎอนามยั ระหว่างประเทศ 2005 ระบุให้ประเทศสมาชิกก�ำหนดท่าเรือให้มีอ�ำนาจออกเอกสารการควบคุมสุขาภิบาลเรือ การต่ออายพุ รอ้ มบริการท่ีเก่ียวขอ้ งตา่ งๆ ตามภาคผนวก 1 ของกฎอนามยั ฯ ทา่ เรือท่ไี ด้รับมอบอ�ำนาจจะต้องมี สมรรถนะ บุคลากรทไ่ี ดร้ ับการอบรมเพ่ือขนึ้ ตรวจเรือและค้นหาความเสี่ยงด้านสาธารณสขุ เพ่ือด�ำเนนิ มาตรการ ควบคมุ ดงั นนั้ จงึ เกดิ ความจำ� เปน็ ในการกำ� หนดมาตรฐานขน้ั ตอนการตรวจเรอื หลงั กฎอนามยั ฯมผี ลบงั คบั ใชเ้ มอื่ มิถุนายน 2550 ส�ำนักงานสิ่งแวดลอ้ มและความมน่ั คงดา้ นสุขภาพ องค์การอนามัยโลก (ท่าเรอื ทา่ อากาศยาน และช่องผ่านทางเข้าออกประเทศทางบกของกฎอนามัยระหว่างประเทศ 2005) ได้จัดท�ำ ค�ำแนะน�ำเฉพาะกิจ เพอื่ ตรวจเรอื และออกเอกสารรับรองสุขาภิบาลเรอื ซ่ึงเป็นค�ำแนะนำ� ดา้ นเทคนคิ เพอ่ื ชว่ ยประเทศสมาชกิ ในการ ตรวจและออกเอกสาร ตีพมิ พเ์ มื่อ สิงหาคม 2550 ส�ำหรับเอกสารฉบับนี้ คู่มือตรวจและออกเอกสารรับรองสุขาภิบาลเรือจะใช้แทนค�ำแนะน�ำเฉพาะกิจ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื อธบิ ายขอบเขตและความจำ� เปน็ ของการตรวจเรอื และออกเอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรอื ทใี่ ชก้ นั ทวั่ โลก ถอื วา่ เปน็ เครอ่ื งมอื สำ� คญั ในการปอ้ งกนั และควบคมุ ความเสยี่ งดา้ นสาธารณสขุ ทไี่ มใ่ ชแ่ ตส่ ตั วฟ์ นั แทะเชน่ หนเู ทา่ น้ัน ยังเปน็ วิธกี ารสือ่ สารและบนั ทึกเหตกุ ารณ์ มาตรการควบคมุ บนเรือ เอกสารฉบบั นีจ้ ะช่วยใหผ้ คู้ วบคมุ เรือเกิดความตระหนักและเห็นความส�ำคัญในการตอบสนองกับความเส่ียงทางสาธารณสุข และต้องมีการตรวจ สภาพสขุ าภบิ าลบนเรืออยา่ งนอ้ ยปลี ะ 2 ครั้ง คู่มอื ฉบบั นีจ้ ะต้องใชร้ ว่ มกบั คูม่ อื สุขาภิบาลเรอื (องคก์ ารอนามัยโลก 2554) Guide to ship sanitation (WHO, 2011) และคู่มือการแพทย์บนเรือระหว่างประเทศ International medical guide for ships (WHO, 2007), ในการใหบ้ ริการดา้ นการรกั ษาพยาบาลและการป้องกนั โรคบนเรอื การพฒั นาเอกสารฉบบั นด้ี ำ� เนนิ การมาหลายครง้ั ดว้ ยการประชมุ เพอ่ื รา่ งเอกสารและสง่ ใหผ้ เู้ ชย่ี วชาญรว่ ม อาชพี ไดว้ จิ ารณแ์ ละใหค้ วามเหน็ การประชมุ ตา่ งๆ ของคณะผเู้ ชย่ี วชาญดงั ตอ่ ไปนจ้ี ดั ขน้ึ เพอ่ื ตรวจสอบคมู่ อื ฉบบั นี้ • Informal Transportation Working Group Meeting for Ship Sanitation Certificates, Lyon, France, 6–8 November 2007; • Informal Transportation Draft Working Group Meeting on procedures for inspection and issuance of ship sanitation certificates, Lyon, France, 17–19 December 2007; • Informal consultation for Draft on procedure for inspection and issuance of Ship Sanitation certificates, Lyon, France, 14–16 April 2008; • Meeting on recommended procedure for inspection and issuance of Ship Sanitation certificates, Lyon, France, 14–15 April 2009; • Informal consultation meeting for the Ship Sanitation guidelines, Lyon, France, 12-16 October 2009 คู่มือการตรวจและการออกเอกสารรบั รองสุขาภิบาลเรอื 7 Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

มีการขอค�ำปรึกษาผ่านทางเวบไซท์ขององค์การอนามัยโลกเม่ือ พฤษภาคม 2553 ผู้เช่ียวชาญของ คณะประชมุ ผวู้ จิ ารณ์ รว่ มอาชพี เปน็ ผเู้ ชยี่ วชาญแขนงตา่ งๆ จาก ผปู้ ระกอบการเรอื โดยสารสำ� ราญ สมาคมผปู้ ฏบิ ตั ิ งานทที่ า่ เรอื สมาชกิ ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นกฎอนามยั ระหวา่ งประเทศของประเทศสมาชกิ การทา่ เรอื เจา้ หนา้ ทคี่ วบคมุ โรค ประจำ� ทา่ เรอื หนว่ ยงานรฐั ผดู้ แู ลกฎหมายตา่ งๆ และมรี ายชอ่ื ขอบคณุ ในสว่ นกติ ตกิ รรมประกาศ ตงั้ แต่ พ.ศ. 2551- 2553 มกี ารจดั ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารและการปฏบิ ตั ภิ าคสนามระหวา่ งประเทศหลายครง้ั ในภมู ภิ าคและภมู ภิ าคยอ่ ย ผู้เช่ียวชาญ เจ้าหน้าที่ผู้มีอ�ำนาจจากทุกภูมิภาคขององค์การอนามัยโลกที่เข้าร่วมประชุมช่วยกันแก้ไข ปรับปรุง ค�ำแนะน�ำทางเทคนิคและทดลองใช้คู่มือด้วยแบบฝึกหัดทดสอบบนเรือ โดยองค์การอนามัยโลกเป็นผู้สนับสนุน ตามเมอื ง ประเทศต่างๆ ดังต่อไปน้ี Sines, Portugal (2552); Santos (2551), Fortaleza(2553), Brazil; Palma de Majorca (2551), Cartagena (2552), Las Palmas de Gran Canaria(2553), Spain; Amsterdam, the Netherlands (2550); Hamburg, Germany (2551); Miami,United States of America (2551); Bridgetown, Barbados (2551); 8 คูม่ ือการตรวจและการออกเอกสารรับรองสุขาภบิ าลเรือ Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

กติ ติกรรมประกาศ Manila, the Philippines(2551); Colombo, Sri Lanka (2553); และ Paris, France (2551). 9 แบบร่างของเอกสารนี้พัฒนาขึ้นจากการหารือกับผู้เช่ียวชาญจากประเทศที่พัฒนาแล้วและกำ�ลังพัฒนา และเป็นผลจากการดำ�เนินงานที่อยู่ภายใต้การหารือทางเทคนิคอย่างไม่เป็นทางการในการประชุมท่ีประเทศ แคนาดา ใน พ.ศ. 2549 WHO/ลีออง ระหวา่ ง พ.ศ. 2550 - 2552 องคก์ ารอนามยั โลกขอขอบคุณความช่วยเหลอื ของผเู้ ชยี่ วชาญดังตอ่ ไปน้ี ในการแนะนำ�ขัน้ ตอนการเนิน งานสำ�หรบั การตรวจพสิ ูจนแ์ ละออกเอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรอื ดงั ต่อไปน้ี Jaret T. Ames, Vessel Sanitation Program, Centers for Disease Control and Prevention, Atlanta, United States of America James Barrow, Division of Global Migration and Quarantine, National Center for Preparedness, Detection, and Control of Infectious Diseases, Centers for Disease Control and Prevention, Atlanta, United States of America Marie Baville, Environment Health Officer, Department of Emergency Response and Preparedness,General Directorate of Health, Ministry of Health, Paris, France Priagung Adhi Bawono, Quarantine Sub-directorate, Directorate General Disease Control and Environmental Health, Ministry of Health, Jakarta,Indonesia David Bennitz, Public Health Bureau, Health Canada, Ottawa, Canada Colin Browne, Pan American Health Organization/Eastern Caribbean Countries, Bridgetown, Barbados, World Health Organization Luiz Alves Campos, National Health Surveillance Agency (Anvisa), Brasilia,Brazil Susan Courage, Environmental Health Bureau, Safe Environments ]\\Directorate Health Canada, Canada Yves Chartier, WHO, Geneva, Switzerland Frederic Douchin, Departmental Directorate of Health and Social Affairs of the Seine Maritime, France Zhiqiang Fang, Department of Health Quarantine of General Administration of Quality Supervision, Inspection and Quarantine, Beijing, China Milhar Fuazudeen, Maritime Training and Human Element Section, Maritime Safety Division,International Maritime Organization, London,United Kingdom Christos Hadjichristodoulou, University of Thessaly, Larissa, Greece Daniel Lins Menucci, WHO, Lyon, France Hameed Gh H Mohammad, Ports and Borders Health Division, Rumaithiya,State of Kuwait Rosemarie Neipp, General Directorate for Public Health and Foreign Health คู่มือการตรวจและการออกเอกสารรับรองสขุ าภิบาลเรือ Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

Affairs, Ministry of Health and Social Policy, Spain Ma Lixin, Department of Health Quarantine of General Administration of Quality Supervision,Inspection and Quarantine, Beijing, China Henry Kong, Port Health Office, Hong Kong Special Administrative Region,China Jenny Kremastinou, National School of Public Health, Athens, Greece Maike Lamshoft, Hamburg Port Health Center, Central Institute for Occupational Medicine and Maritime Medicine, Hamburg, Germany Fabio Miranda da Rocha, National Health Surveillance Agency (Anvisa),Brasilia, Brazil Mohamed Moussif, Mohamed V International Airport, Casablanca,Morocco Barbara Mouchtouri, University of Thessaly, Larissa, Greece Matthijs Plemp, National Institute of Public Health and the Environment,The Netherlands Thierry Paux, Department of Alert, Response and Preparedness, Ministry of Health, Paris,France Tobias Riemer, Hamburg Port Health Center, Central Institute for Occupational Medicine and Maritime Medicine, Germany Clara Schlaich, Hamburg Port Health Center, Central Institute for Occupational Medicine and Maritime Medicine, Hamburg, Germany Christoph Sevenich, Institute for Occupational and Maritime Medicine, Hamburg Port Health Center, Germany Natalie Shaw, International Shipping Federation, London, United Kingdom Mel Skipp, Carnival UK, Cruise Lines International Association, London, United Kingdom Maria Dulce Maia Trindade, Macao International Airport/Port Health Authority, Centre for Prevention and Control of Disease/ Health Bur eau, Government of Macao Special Administrative Region, China Stephane Veyrat, Department of Emergency Response and Preparedness, General Directorate of Health, Ministry of Health, Paris, France Mario Vilar, Ministerio de Salud Publica, Direccion General de la Salud, Montevideo, Uruguay Ninglan Wang, WHO, Lyon, France Sandra Westacott, Port Health Services, Southampton City Council, Southampton, United Kingdom Ruth Anderson, Agnieszka Riviere ฝ่ายเลขานุการและบรหิ ารช่วยสนับสนุนการประชมุ ในระหว่างการพฒั นาคมู่ อื Daniel Lins Menucci, Christos Hadjichristodoulou, Barbara Mouchtouri, Bruce Plotkin, Clara Schlaich, Christoph Sevenich และ Ninglan Wang 10 คู่มอื การตรวจและการออกเอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรอื Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

ชว่ ยกนั รา่ งและเขยี นแกไ้ ขคมู่ อื การจดั เตรยี มคมู่ อื การตรวจและออกเอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรอื จะเกดิ ขนึ้ ไมไ่ ด้ เลยถา้ ขาดความรว่ มมือสนับสนนุ จากหลายหนว่ ยงาน ไดแ้ ก่ กระทรวงสาธารณสขุ ฝรัง่ เศส ศนู ยค์ วบคมุ โรคดา่ น เมืองฮัมบรูก เยอรมนั นี ศูนย์ควบคมุ และปอ้ งกันโรค สหรัฐอเมรกิ า มหาวทิ ยาลยั เธซาลี กรีซ องค์การเฝา้ ระวงั สขุ ภาพแหง่ ชาติ (แอนวซิ า) บราซลิ ฝา่ ยอำ� นวยการนเิ ทศงานคณุ ภาพ การตรวจและการกกั โรค (AQSIQ) ประเทศจนี กระทรวงสาธารณสุขสเปน กระทรวงสาธารณสขุ โปตุเกส กระทรวงสาธารณสขุ คานาดา อภิธานศพั ท์ วัสดุ กนั หนูทีย่ อมรับ/Acceptable non-rat-proof material วัสดุท่ีมีพื้นผิวที่ทนทานต่อการกัดแทะของหนูเมื่อขอบท่ีต้องสัมผัสการกัดแทะมีแผ่นคลุมปิด กลายเป็นขอบกัด แทะแต่เน้อื วสั ดเุ องอาจไมท่ นการถูกกัดแทะถ้าขอบไมไ่ ด้คลมุ ปดิ เข้าถึงได้/Accessible บรเิ วณทจี่ ะเขา้ ถงึ ไดเ้ พอื่ ทำ� ความสะอาดและตรวจตราโดยใชเ้ ครอื่ งมอื งา่ ยๆ เชน่ ไขควง คมี หรอื ประแจปากตาย ไดร้ ับผลกระทบ/Affected ผคู้ น กระเป๋าเดนิ ทาง สินคา้ ตู้บรรทกุ สินคา้ เรอื เดินสมุทร ไปรษณียภ์ ัณฑ์ หรือ ศพ ทตี่ ดิ เชื้อหรือปนเปอื้ น หรอื นำ� พาแหล่งรังโรคหรอื การปนเปอื้ น ทที่ ำ� ให้เกิดความเสี่ยงตอ่ สุขภาพอนามัย พื้นทท่ี ่ไี ดร้ ับผลกระทบ/Affected area ตำ� แหนง่ ทางภมู ศิ าสตรจ์ ำ� เพาะทอี่ งคก์ ารอนามยั โลกแนะนำ� ใหใ้ ชม้ าตรการทางสขุ อนามยั ภายใตก้ ฎอนามยั ระหวา่ ง ประเทศ 2005 (พ.ศ. 2548) ชอ่ งวา่ งอากาศ/Airbreak การเตรียมท่อส�ำหรับของเหลวไหลออกมาจากอุปกรณ์ยึดจับ เคร่ืองใช้ไม้สอย หรืออุปกรณ์ท่ีต่อเข้าอุปกรณ์ยึด จับภาชนะรองรับ หรอื ส่งิ กีดขวางลงมาสู่จุดทีต่ �่ำกวา่ ระดับที่ของเหลวจะทว่ มถึง ช่องว่างอากาศ/Airgap ชว่ งหา่ งตามแนวดง่ิ และไมถ่ กู ปดิ กนั้ นบั จากชอ่ งเปดิ ตำ�่ สดุ ของทอ่ หรอื หวั กอ๊ กจา่ ยนำ้� ไปสถู่ งั เกบ็ นำ�้ อปุ กรณป์ ระปา ส�ำหรบั จบั ยึดในการติดท่อน�้ำ หรืออุปกรณอ์ ืน่ ๆ กับระดับท่วมขอบของสงิ่ รองรับน้ำ� รปู แบบทว่ั ๆ ไปของช่องวา่ ง อากาศควรมขี นาดเปน็ สองเทา่ ของเส้นผา่ ศนู ยก์ ลางของทอ่ สง่ หรอื หัวกอ๊ ก หรืออย่างนอ้ ยประมาน 25 มม. การไหลย้อนกลับ/Backflow การไหลของนำ�้ หรือของเหลวอืน่ สว่ นผสม หรอื สารอน่ื ๆ เขา้ ส่ทู ่อแจกจา่ ยของแหล่งน้ำ� บรโิ ภคจากแหล่งนำ�้ อื่นท่ี ไม่ใช่แหล่งนำ�้ บรโิ ภค รปู แบบหนงึ่ ของการไหลย้อนกลบั คือ กาลกั นำ�้ ไหลยอ้ นกลบั (Back-siphonage) ตัวปอ้ งกนั การไหลยอ้ นกลับ /Backflow preventer อปุ กรณก์ ลไกทตี่ ดิ ตงั้ อยใู่ นเสน้ ทางนำ้� ดหี รอื นำ้� ทงิ้ เพอื่ ปอ้ งกนั กระแสนำ�้ ไมใ่ หไ้ หลยอ้ นภายใตส้ ภาพทม่ี แี รงดนั กลบั อปุ กรณป์ ระปาปอ้ งกนั การไหลยอ้ นกลบั ทไ่ี ดร้ บั การรบั รองปกตจิ ะตดิ ตง้ั กบั ระบบสง่ นำ�้ บรโิ ภคทอี่ าจมกี ารเชอื่ มตอ่ โดยตรงหรอื อาจเดนิ ทอ่ ผา่ นแหลง่ จา่ ยของเหลว สารผสม หรอื สารประกอบอนื่ ๆ อปุ กรณบ์ างชนิ้ ถกู ออกแบบมา เพอื่ ใชก้ บั แรงดนั นำ�้ ตอ่ เนอ่ื ง แตบ่ างแบบอาจไมใ่ ชแ้ รงดนั ในระบบเชค็ วาลว์ (check-valve) ทมี่ ลี น้ิ เปดิ เมอื่ นำ้� ไหล และปดิ เมอ่ื นำ้� หยดุ ไหล ไมใ่ หน้ ำ้� ไหลยอ้ น คูม่ ือการตรวจและการออกเอกสารรบั รองสุขาภบิ าลเรอื 11 Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

กาลักนำ้� ไหลย้อนกลบั /Back-siphonage การไหลยอ้ นกลบั ของนำ�้ ทใ่ี ชแ้ ลว้ นำ้� ทป่ี นเปอ้ื น นำ้� ทม่ี มี ลพษิ จากอปุ กรณต์ ดิ ตง้ั ในระบบจา่ ยนำ�้ หรอื ทอ่ หรอื แหลง่ อนื่ ๆ เขา้ สแู่ หลง่ จา่ ยนำ�้ บรโิ ภคอนั เปน็ ผลมาจากแรงดนั ในทอ่ ตดิ ลบ นำ�้ ดำ� หรอื น้ำ� เสยี /Black water น�ำ้ ทง้ิ จากห้องน�้ำ โถปัสสาวะ หรือจากห้องพยาบาล ถงุ บรรจชุ ีวภาพอนั ตราย/Biohazard bag ถงุ ทใ่ี ชเ้ กบ็ กกั ของเสยี ซง่ึ เปน็ ชวี ภาพอนั ตรายทตี่ อ้ งฆา่ เชอื้ กอ่ น (microbiological inactivation) ตามกระบวนการ ทร่ี ับรองเพ่ือการก�ำจัดในข้นั ตอนสดุ ท้าย ถงุ จะต้องใชแ้ ล้วทง้ิ กนั ช้นื และมคี วามเหนียวแนน่ แข็งแรงเพียงพอทจี่ ะ ไมใ่ ห้เกิดนำ�้ หยดหรือปรแิ ตกในสภาพแวดล้อมการใช้งานปกติ สง่ิ อำ� นวยความสะดวกในการดแู ลเดก็ /Child care facility สิ่งอ�ำนวยความสะดวกเพื่อกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเด็กเล็กท่ียังสวมผ้าอ้อมโดยใช้ ห้องน้�ำ และการดูแลเอาใจใส่ โดยเจา้ หน้าท่ขี องเรือ การทำ� ความสะอาด/Cleaning การกำ� จดั สงิ่ สกปรกทมี่ องเหน็ ดว้ ยตาเปลา่ หรอื อนภุ าคดว้ ยกลไกทางกายภาพ การลดมลภาวะจากจลุ ชพี ในสภาพ แวดลอ้ มด้วยการใช้สารเคมี เชด็ ถหู รอื ใชค้ วามรอ้ นในระยะเวลาทก่ี �ำหนด ข้อต่อ ตะเขบ็ และ รอยแยกทอี่ ดุ แลว้ Closed joints, seams and crevices รอยแตก รอยต่อ ที่ใดก็ตามท่ีวัสดุที่ใช้จะกระชับเข้าด้วยกันอย่างพอเหมาะพอดี ถ้ามีร่อง รอยต่อ รอยแยก ตอ้ งยาร่อง ยาแนว และรอยแตกดว้ ยวสั ดทุ เ่ี หมาะสม โรคติดต่อ /Communicable disease ความเจบ็ ปว่ ยซงึ่ เกดิ จากส่ิงมีชวี ิตขนาดเลก็ จ�ำพวกจลุ ชีพ เชน่ แบคทีเรยี ไวรสั รา และปรสติ ทส่ี ามารถสง่ ต่อ ได้โดยตรงหรือโดยทางอ้อมจากผู้ติดเช้ือไปยังผู้อ่ืน บางครั้งความเจ็บป่วยอาจไม่ได้เกิดมาจากจุลชีพนั้นโดยตรง แตอ่ าจมาจากพิษที่จลุ ชีพนั้นสรา้ งขนึ้ มาหลังจากทม่ี ันเข้าสู่รา่ งกายมนุษยแ์ ล้ว เจา้ หนา้ ท่ผี ู้มอี ำ� นาจ/Competent authority หมายถงึ เจา้ หนา้ ทผ่ี ทู้ รี่ บั ผดิ ชอบตอ่ การนำ� มาตรการทางสขุ ภาพไปปฏบิ ตั ใิ ชภ้ ายใตก้ ฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ 2005 (พ.ศ. 2548) ทนการกัดกรอ่ น/Corrosion-resistant ความสามารถในการรักษาคุณลักษณะของสภาพพ้ืนผิวด้ังเดิมในสภาพการใช้งานที่ยาวนาน ไม่ว่าจะเป็นการ สัมผัสอาหาร การใช้น�้ำยาและสารเคมีท�ำความสะอาดและ/หรือสารละลายฆ่าเชื้อที่คาดว่าจะน�ำมาใช้ วัสดุ ดงั กล่าวจะต้องไมม่ พี ษิ ส่วนเวา้ /Coved พืน้ ผิว หรือสิง่ ที่ถกู ท�ำให้เวา้ เข้าข้างใน หรือการออกแบบอ่ืนๆ ทเ่ี อามมุ ของพื้นผิวลดลงนอ้ ยกว่าเกา้ สิบองศา การเชอ่ื มต่อขา้ มระบบ/Cross-connection การเชือ่ มต่อทีไ่ มไ่ ดร้ บั การป้องกัน ในโครงสร้างระหว่างระบบนำ�้ บรโิ ภคกบั ระบบจ่ายน�้ำสาธารณะ กับแหลง่ อืน่ หรอื ผา่ นสรู่ ะบบอ่ืน ของน�ำ้ ใช้งานตา่ งๆ ของเหลวอุตสาหกรรม แกส๊ หรอื สารประกอบอ่ืนๆ การเบ่ยี งผ่าน การ เช่ือมต่อจัมพ์เปอร์ (ขดสายขนาดเล็กเพ่ือปิดรอยต่อหรือตัดส่วนของวงจร) ส่วนตัดท่ีถูกน�ำออก เดือยสับหรือ 12 คู่มือการตรวจและการออกเอกสารรับรองสุขาภบิ าลเรอื Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

อุปกรณ์สลับและอุปกรณ์ช่ัวคราวหรืออุปกรณ์ถาวรซ่ึงสามารถท�ำให้เกิดการไหลย้อนหรือเพราะสิ่งน้ันท�ำให้เกิด 13 การไหลยอ้ นขน้ึ ส่ิงต่างๆ เหล่านจ้ี ะถกู พจิ ารณาว่าเปน็ การเช่อื มตอ่ ข้ามระบบ การฆ่าเช้อื /Disinfection กระบวนการทน่ี ำ� มาใชเ้ พอ่ื ควบคมุ หรอื ฆา่ เชอ้ื บนรา่ งกายมนษุ ยห์ รอื สตั ว์ บนพนื้ ผวิ หรอื ใน หรอื บนผวิ กระเปา๋ เดนิ ทาง สนิ คา้ ตบู้ รรทกุ สนิ คา้ เรือ สินค้าและไปรษณียภัณฑโ์ ดยการสัมผสั โดยตรงกบั ตวั ยาทางเคมีหรอื ทางกายภาพ ท�ำความสะอาดงา่ ย/Easily cleanable สร้างข้ึนมาด้วยวัสดุ หรือวัสดุตกแต่ง และการออกแบบท่ีท�ำความสะอาดได้ง่ายและทั่วถึงด้วยวิธีการและวัสดุ ท�ำความสะอาดตามปกติ แผ่นมงุ ข้อต่อ/Flashing ฝาครอบหรอื สว่ นปกปดิ มมุ บรเิ วณ และขอบขา้ งอนื่ ๆ ทเ่ี ปดิ ออกสมั ผสั กบั วสั ดกุ นั หนทู ยี่ อมรบั ได้ ในบรเิ วณกนั หนู โดยทว่ั ไปแถบของแผน่ มงุ ขอบควรเปน็ วสั ดกุ นั หนู กวา้ งพอทจี่ ะปกคลมุ ขอบกดั แทะและมดั ตดิ อยอู่ ยา่ งแนน่ หนา พน้ื ผิวสัมผัสอาหาร/Food contact surfaces พื้นผิวของเครื่องใช้และภาชนะท่ีมักมีอาหารมาสัมผัสภายในและพ้ืนผิวจากสิ่งท่ีอาหารอาจไหล หยด หรือ กระเดน็ กลบั มาอยบู่ นพนื้ ผวิ ทปี่ กตจิ ะสมั ผสั อาหาร สงิ่ นร้ี วมถงึ พนื้ ทบ่ี รเิ วณเครอื่ งทำ� นำ�้ แขง็ เหนอื รางนำ้� แขง็ ไปยงั ถังใส่น�ำ้ แขง็ พน้ื ที่วางอาหาร/Food display areas พน้ื ที่ใดก็ตามทว่ี างอาหารแสดงไว้เพือ่ การบริโภคของผู้โดยสาร และ/หรอื ลกู เรือ พ้ืนที่จับตอ้ งอาหาร/Food handling areas พื้นทใ่ี ดกต็ ามทีม่ ไี วจ้ ดั เกบ็ อาหาร ด�ำเนนิ การ เตรยี มการ หรือเสรฟิ อาหาร พน้ื ที่เตรียมอาหาร/Food preparation areas พื้นที่ใดกต็ ามทอ่ี าหารถกู ด�ำเนินการ ปรงุ หรือ เตรยี มส�ำหรับการบรกิ าร พื้นท่ีใหบ้ ริการอาหาร/Food service areas พื้นท่ใี ดกต็ ามทอ่ี าหารถกู น�ำออกใหบ้ รกิ ารแก่ผูโ้ ดยสารหรอื ลกู เรือ (ไมร่ วมการบริการภายในหอ้ งผ้โู ดยสาร) พื้นทเ่ี ก็บอาหาร/Food storage areas พน้ื ที่ใดกต็ ามทอ่ี าหารหรอื ผลติ ภณั ฑ์อาหารถกู เก็บเอาไว้ การอนญุ าตให้เรือเข้าเทยี บท่า/Free pratique ความยนิ ยอมใหเ้ รอื เขา้ เทยี บทา่ ทอดสมอ หรอื ถอนสมอ เอาสนิ คา้ ลงหรอื รบั สนิ คา้ ขน้ึ บรรทกุ หรอื จดั เกบ็ นำ้� สเี ทา/Grey water นำ�้ ใชแ้ ลว้ ทกุ ประเภท รวมทง้ั ทรี่ ะบายออกจากครวั เครอ่ื งลา้ งจาน ฝกั บวั เครอื่ งซกั ผา้ อา่ งอาบนำ�้ และจากอา่ งลา้ งหนา้ นำ�้ ประเภทนไี้ มร่ วม นำ้� ดำ� หรอื นำ้� สกปรกจากทอ้ งเรอื จากพนื้ ทว่ี า่ งของเครอื่ งจกั รกล การใส่ เตมิ แฮโลเจน/Halogenation ในบรบิ ทน้ี หมายถงึ การใชส้ ารเคมปี ระเภทแฮโลเจน เชน่ คลอรนี โบรไมน์ หรือ ไอโอดีน ฆา่ เชือ้ ในน้�ำท่ีใช้ใน กิจกรรมนนั ทนาการหรอื น�ำ้ ด่ืมเพอื่ ลดความหนาแน่นของจุลชวี ะที่เปน็ ตวั ท�ำให้เกิดโรค ผูป้ ระสานงานกฎอนามัยระหว่างประเทศแหง่ ชาติ/National IHR Focal Point ผปู้ ระสานงานกฎอนามยั ระหวา่ งประเทศแหง่ ชาตถิ กู กำ� หนดโดยรฐั ซง่ึ สามารถสอ่ื สารกบั ผปู้ ระสานงานกฎอนามยั ระหว่างประเทศขององคก์ ารอนามัยโลก ไดท้ ุกเวลา คมู่ ือการตรวจและการออกเอกสารรับรองสขุ าภิบาลเรอื Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

วัสดทุ ่ีไมม่ ีคุณสมบัติดูดซบั /Non-absorbent materials อะไรกต็ ามที่พน้ื ผิวของตัวมนั เองตา้ นทานการแทรกผ่านของความชืน้ พนื้ ผิวท่ีไม่สมั ผัสอาหาร/Non-food contact surfaces พื้นผิวอะไรก็ตามที่ไม่ได้สัมผัสอาหารหรือท่ีน�้ำกระเด็นถึง ซ่ึงเป็นพ้ืนผิวของเคร่ืองใช้ท่ีอยู่ในพ้ืนท่ีจัดเก็บอาหาร การเตรียมการ และในพ้ืนทบี่ ริการ อาหารที่บูดเนา่ เสียได้/Potenially perished food อาหารจากธรรมชาตหิ รอื อาหารสังเคราะหท์ ่ีตอ้ งควบคุมอณุ หภูมเิ น่อื งจากเป็นอาหารทอ่ี าจจะ • ท�ำให้จลุ ชีพสรา้ งพิษท่ีปนเปือ้ นอยเู่ จรญิ เติบโตและสร้างพิษ • ท�ำให้เชื้อ Clostridium botulinum เติบโตและสร้างพิษ หรือเช้ือ Salmonella enteritidis บนเปลอื กไข่ดบิ เตบิ โตจนท�ำใหผ้ ้บู รโิ ภคเจบ็ ป่วยเปน็ โรค เครื่องปอ้ งกนั ตวั ส่วนบคุ คล/Personal protective equipment (PPE) เครอื่ งป้องกนั ตัวสว่ นบุคคล/ใชเ้ พอื่ ป้องกัน คนทำ� งานจากสิง่ ที่มีอันตรายในสถานทที่ ำ� งาน ทางเข้าออกประเทศ/Point of entry ชอ่ งทางสำ� หรบั ผเู้ ดนิ ทาง กระเปา๋ เดนิ ทาง สมั ภาระ ตบู้ รรทกุ สนิ คา้ เรอื สนิ คา้ ตา่ งๆ และไปรษณยี ภณั ฑ์ นานาชาติ ผ่านเขา้ หรอื ออก เคลื่อนย้ายได/้ Portable ลกั ษณะของเครอ่ื งใชท้ พ่ี รอ้ มจะถกู นำ� ออกหรอื ตดิ เขา้ กบั ลกู กลง้ิ ใตข้ าโตะ๊ ตวั เลอ่ื น หรอื ลอ้ เลอื่ น ทใ่ี หม้ ากบั เครอื่ ง มือทางจักรกลเพอ่ื ใหเ้ อยี งหรือตะแคงอยา่ งปลอดภัยเมื่อทำ� ความสะอาด หรอื พร้อมทจี่ ะเคล่อื นย้ายไปไดด้ ว้ ย นำ้� บริโภค/Potable water นำ้� จืดท่ีมีไวเ้ พอื่ การบรโิ ภคของมนษุ ย์ เช่น น้�ำด่ืม น�้ำล้างหน้าแปรงฟัน นำ�้ อาบ หรอื น้ำ� ฝักบัว เพอ่ื ใชใ้ นระบบของ นนั ทนาการทางนำ�้ เพอ่ื ใชใ้ นโรงพยาบาลบนเรอื เพอ่ื จดั การ เตรยี มการ หรอื ปรงุ อาหาร และเพอื่ ทำ� ความสะอาด การเก็บอาหาร รวมไปถึงการเตรียมพื้นที่ เตรียมภาชนะและเคร่ืองใช้ น้�ำด่ืมที่มีการจ�ำกัดความไว้ใน “WHO Guidelines for Drinking-water Quality 2008” ถงั หรอื แท้งค์บรรจุน�้ำบริโภค/Potable water tanks ถงั หรือแทง้ คท์ กุ แบบท่ีกกั เก็บน้ำ� บรโิ ภคหลังส่งขึน้ เรอื หรอื จากการผลติ เพ่อื แจกจา่ ยและใช้เพอ่ื การบริโภค กระทรวงสาธารณสขุ /Public health authority หน่วยงานราชการทรี่ บั ผดิ ชอบการคมุ้ ครองและสร้างเสริมสขุ ภาพของประชาชน ผา่ นทางชมุ ชนในวงกว้าง เหตฉุ ุกเฉนิ ด้านสาธารณสุขที่มีแนวโนม้ ลุกลามขา้ มประเทศ/Public health event of international concern เหตุการณ์ด้านสาธารณสขุ ทีผ่ ดิ ปกติ ตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ 2005 (พ.ศ. 2548) • ท�ำใหเ้ กิดความเสย่ี งทางสาธารณสุขกับประเทศอื่นเพราะอาจแพร่ระบาดข้ามประเทศ และ • ต้องอาศัยความร่วมมอื จากนานาชาติในการตอบสนองเหตฉุ ุกเฉนิ ความเส่ยี งทางสาธารณสุข/Public health risk ความเปน็ ไปไดข้ องเหตกุ ารณใ์ ดทอี่ าจมผี ลกระทบตอ่ สขุ ภาพของประชากร โดยเนน้ ความเสย่ี งทอี่ าจแพรก่ ระจาย ออกไปสปู่ ระเทศอืน่ ๆ หรือเป็นความเสี่ยงอนั ตรายรนุ แรง 14 คู่มอื การตรวจและการออกเอกสารรับรองสุขาภิบาลเรือ Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

พร้อมถอดออกหรอื เคล่ือนยา้ ยได้ทันที/Readily removable 15 ความสามารถในการปลดออกจากหนว่ ยหลักโดยไมต่ ้องมีการใชเ้ ครื่องมือ ถอดออกหรือเคลือ่ นยา้ ยออกได้/Removable สามารถปลดออกจากหนว่ ยหลักโดยใชเ้ ครอื่ งมืองา่ ยๆ เช่น ไขควง คมี หรือประแจปากตาย SSCC เอกสารรับรองการควบคุมสุขาภบิ าลเรอื (Ship Sanitation Control Certificate: SSCC) SSCEC เอกสารรบั รองการยกเวน้ การควบคมุ สขุ าภบิ าลเรอื (Ship Sanitation Control Exemption Certificate : SSCEC) SSC เอกสารรบั รองสุขาภบิ าลเรือ (Ship Sanitation Certificate(s): SSC) ชอ่ งระบายนำ้� ขา้ งเรอื /Scupper ทางน้ำ� หรอื แอ่งนำ้� ที่นำ�้ ในแตล่ ะทอ่ สง่ มาเพอื่ ใหไ้ หลระบายออก พ้นื ที่วา่ งซง่ึ ถูกผนึก/Sealed spaces พืน้ ทใ่ี ดก็ตามทถี่ กู ปิด อดุ ไวอ้ ยา่ งมิดชดิ ทกุ ข้อต่อ ตะเขบ็ และ รอยร้าวที่ แมลง หนู การรั่วซมึ การซมึ เปอื้ น และ เศษอาหาร หรอื เศษตะกอน ไม่สามารถผ่านได้ ตะเขบ็ /Seam จดุ เปดิ ทีเ่ ชื่อมต่อระหว่างวัสดทุ ่ีไม่เหมือนกัน จดุ ประสานท่ีถูกเชอ่ื มต่อกนั ดว้ ยการหลอมโลหะ พื้น สว่ นการเกล่ีย ด้วยการขดั เงาไมน่ ับเป็นตะเขบ็ ส่ิงโสโครก/Sewage มีค�ำจ�ำกัดความที่ยอมรับจากนานาชาติในการประชุมเกี่ยวกับการป้องกันมลพิษจากเรือโดยองค์การการเรือเดิน สมทุ รระหว่างประเทศ (MARPOL 73/78) ดังน้ี • สง่ิ ทถ่ี กู ระบายออกและการทง้ิ ของเสยี จากหอ้ งสขุ าทกุ รปู แบบ โถปสั สาวะและ ชอ่ งระบายนำ้� ของหอ้ งนำ้� • ส่ิงท่ีถูกระบายออกจากห้องพยาบาล (เช่น ท่ีจ่ายยา ห้องตรวจโรคบนเรือ) จากการใช้อ่างล้างมือ อ่างอาบน�้ำ และช่องระบายน้ำ� ท่ีอยใู่ นสถานท่ีต่างๆ • สิง่ ที่ถกู ระบายออกจากพืน้ ทีซ่ ึ่งมสี ัตวท์ ีม่ ชี วี ิตปศุสัตวอ์ าศยั อยู่ เช่น กระบวนการล�ำเลยี งสตั ว์ หรือ น้ำ� ทิง้ อื่นๆ ไดแ้ ก่ นำ้� เทา/grey water จากฝักบวั เมือ่ ผสมกับสิ่งทีถ่ ูกระบายออกที่ระบไุ วข้ า้ งตน้ การบ�ำบดั สง่ิ โสโครก/Sewage treatment การบำ� บดั สงิ่ โสโครก คอื กระบวนการกำ� จดั การปนเปอ้ื นจากสงิ่ โสโครกเพอื่ บำ� บดั สงิ่ ขบั ถา่ ยทงั้ เหลวและ แขง็ ใหเ้ หมาะสมกอ่ นทง้ิ ออกสสู่ ง่ิ แวดลอ้ ม หรอื เพอื่ นำ� กลบั มาใชใ้ หม่ เปน็ รปู แบบหนง่ึ ในการจดั การของเสยี ไดแ้ ก่ การใชถ้ ังบรรจุส่ิงตดิ เชอ้ื หรือระบบการบำ� บัดน�ำ้ เสยี อน่ื ๆ เช่น ตวั กรองจุลชีพ น�ำมาใช้เพือ่ บ�ำบดั สง่ิ โสโครกทีอ่ ยู่ ใกล้กบั จุดทีถ่ ูกสร้างใหเ้ กดิ ขน้ึ วธิ กี ารธรรมดาในการบำ� บัดสิ่งโสโครก คอื การเทน�้ำให้ท่วมส่งิ โสโครกแลว้ ให้ไหล ทะลักออกจากห้องน�้ำผ่านระบบทอ่ เขา้ ถังกัก (holding tank) ท�ำให้สง่ิ โสโครกลอยแขวนละเอยี ด ค่อยๆ รนิ น�ำ้ ใสส่วนบนออก แล้วให้แบคทีเรียย่อยสลายด้วยออกซิเจนตามธรรมชาติแล้วท�ำให้ปราศจากเชื้อก่อนถ่ายท้ิงลง ทะเล นับเป็นเรื่องส�ำคัญท่ีจะพิจารณาว่าการใช้ตัวท�ำความสะอาดและตัวฆ่าเชื้อมากเกินไปกับระบบก�ำจัดส่ิง โสโครกอาจทำ� ลายแบคทีเรียตามธรรมชาติในพ้ืนท่ีบ�ำบัดฯ (treatment plant) กระบวนการการดำ� รงชวี ติ ด้วย ออกซิเจนต้องการออกซเิ จน ดังน้นั จงึ ตอ้ งมีเครอ่ื งอดั อากาศเข้าในถัง ซง่ึ อาจเกิดแกส๊ พิษข้นึ ได้ ค่มู อื การตรวจและการออกเอกสารรับรองสุขาภิบาลเรือ Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

เรือ/Ship เรอื ขนสง่ ขนาดใหญท่ เี่ ดนิ ทางในทะเลหลวงหรอื เสน้ ทางนำ�้ ระหวา่ งประเทศในทวปี ในการเดนิ ทางระหวา่ งประเทศ ระบบนำ้� ในเรอื /Ship water system ระบบสาธารณูปโภคในการบ�ำบัดน�้ำบนเรือ อุปกรณ์ ถังบรรจุน้�ำ และวัสดุอุปกรณ์ในระบบท่อแจกจ่ายน้�ำและ อุปกรณ์ยดึ จับทอ่ บนเรอื ทงั้ หมด เรียบ/Smooth • พื้นผิวสัมผัสอาหารที่ปราศจากปุ่มปมและท�ำความสะอาดง่ายใช้วัสดุเทียบเท่าโลหะสเตนเลส (100 grit) เบอร์ 3 หรอื ดีกว่า • พื้นผวิ ท่ีไมส่ ัมผัสอาหารเทียบเทา่ เหล็กรดี ร้อนเกรดทางการคา้ และไมม่ รี อยขูดขีด • ดาดฟ้า ส่วนก้ัน หรอื บริเวณหัวดาดฟา้ เรอื ท่รี าบเรยี บหรอื พน้ื ผิวทไ่ี ม่ขรุขระและไม่มีส่วนยนื่ จน ทำ� ความสะอาดไมไ่ ด้ การเฝ้าระวงั / Surveillance การจัดเก็บเพ่ือรวบรวม การเปรียบเทียบและวิเคราะห์ข้อมูลอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบเพ่ือจุดประสงค์ทาง ดา้ นสาธารณสขุ และมกี ารเผยแพรข่ อ้ มลู ทางสาธารณสขุ เปน็ ระยะๆ เพอ่ื การประเมนิ และการตอบสนองทจ่ี ำ� เปน็ รฐั ภาคี / State Party ภายใต้ กฎอนามัยระหวา่ งประเทศ (international health regulations/IHR) “รฐั ภาค”ี คือ รัฐหรือประเทศ ต่างๆ ท่ยี อมรับปฏบิ ัตติ ามกฎอนามัยระหวา่ งประเทศฉบบั ปรับปรงุ แก้ไข ผูเ้ ดนิ ทาง/Traveler ผูค้ นท่เี ดนิ ทางไปมาระหวา่ งประเทศตามปกติ ขนุ่ /Turbidity ของเหลวทเี่ ตม็ ไปดว้ ยตะกอน กอ้ นหรอื ไมใ่ สเพราะมสี ารประกอบหรอื อนภุ าคแขวนลอยอยู่ โดยทวั่ ไปแลว้ วดั จาก หนว่ ยวัดความขนุ่ ในเครอื่ งวดั การเกิดตะกอน (nephelometric turbidity units: NTU.) พาหะน�ำโรค/Vector แมลงหรือสัตว์ใดๆ ซ่งึ นำ� พาเชอื้ โรคทีท่ �ำใหเ้ กดิ โรคซงึ่ เป็นสาเหตขุ องความเสยี่ งทางสาธารณสุข การตรวจสอบยืนยันรับรอง/Verification การพิสูจนผ์ ลขน้ั สดุ ท้ายเพอ่ื ประกนั ความมน่ั ใจว่าระบบโดยองค์รวมท�ำงานอย่างปลอดภยั การยนื ยันรบั รองอาจ ด�ำเนินการโดยผู้ให้บริการ (supplier) โดยองค์กรอิสระที่มีอ�ำนาจหรือร่วมกันของฝ่ายต่างๆ เหล่าน้ี ข้ึนอยู่กับ ระบบของประเทศ โดยท่ัวไปมที งั้ การตรวจสอบตวั บง่ ช้ีจลุ ชีพในอจุ จาระและสารเคมอี นั ตราย 16 คู่มือการตรวจและการออกเอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรือ Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

คำ� ยอ่ ACRONYMS BWMP ballast-water management plan แผนการจัดการน้ำ� อับเฉา CAC Codex Alimentarius Commission (คณะกรรมาธกิ ารมาตรฐานอาหารระหวา่ งประเทศ) FAO Food and Agriculture Organization of the United Nations องคก์ ารอาหารและเกษตร แห่งสหประชาชาติ FSP food safety plan or food safety program แผนอาหารปลอดภยั หรอื โปรแกรมอาหารปลอดภยั GDWQ Guidelines for drinking-water quality (World Health Organization) คมู่ ือคุณภาพน้�ำดื่ม HACCP hazard analysis critical control point (การวิเคราะห์อันตรายและจดุ วิกฤตทต่ี อ้ งควบคุมใน การผลิตอาหาร) HPC heterotrophic plate count การตรวจนบั จ�ำนวนจุลินทรกี ล่มุ เฮเทอโรโทรฟิค IHR International Health Regulations กฎอนามยั ระหว่างประเทศ ILO International Labour Organization องค์การแรงงานระหวา่ งประเทศ IMGS International medical guide for ships (International Labour Organization, International Maritime Organization, World Health Organization) แนวทางการรักษาพยาบาลเบ้อื งต้นบนเรือ IMO International Maritime Organization องค์การทางทะเลระหวา่ งประเทศ ISM manual International Safety Management manual ระบบมาตรฐานความปลอดภัยสากล ISO International Organization of Standardization องค์การมาตรฐานสากล ISPP certificate International Sewage Pollution Prevention certificate เอกสารรับรองการปอ้ งกันมลพษิ จากส่ิงปฏิกลู ตามอนุสญั ญาระหว่างประเทศ MEPC Marine Environment Protection Committee คณะกรรมการคมุ้ ครองสง่ิ แวดลอ้ มทางทะเล MFAG Medical first aid guide for use in accidents involving dangerous goods (International Maritime Organization) แนวทางการชว่ ยเหลือทางการแพทย์ข้นั พน้ื ฐาน PPE Personal protective equipment เครอื่ งปอ้ งกนั ตัวส่วนบคุ คล SSC Ship Sanitation Certificate(s) เอกสารรบั รองสุขาภิบาลเรอื SSCC Ship Sanitation Control Certificate เอกสารรบั รองการควบคมุ สุขาภบิ าลเรอื SSECC Ship Sanitation Control Exemption Certificate เอกสารรับรองการยกเว้นการควบคุม สขุ าภบิ าลเรอื UV ultraviolet รังสอี ลั ตราไวโอเลต รังสีเหนือสมี ่วง WHO World Health Organization องคก์ ารอนามยั โลก คมู่ อื การตรวจและการออกเอกสารรบั รองสุขาภบิ าลเรอื 17 Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

ค�ำนำ� ตน้ ฉบับ กฎสุขาภิบาลระหว่างประเทศ (International Sanitary Regulations) ถูกน�ำมาใช้เป็นคร้ังแรกใน พ.ศ. 2494 (ค.ศ. 1951) (ทบทวนแกไ้ ข พ.ศ. 2498 – 2499 (1955-1956) พ.ศ. 2503 (1960) พ.ศ. 2506 (1963) พ.ศ. 2508 (1965)) และไดร้ ับการเปลยี่ นช่ือใน พ.ศ. 2512 เปน็ กฎอนามัยระหว่างประเทศ (International Health Regulations) (ดงั ต่อไปน้จี ึงเปน็ “IHR” หรือ “กฎอนามยั ระหว่างประเทศ”) (ทบทวนแก้ไข พ.ศ. 2516 (1973) 2524 (1981) และ พ.ศ. 2548 (2005)) กฎอนามยั ระหวา่ งประเทศใน พ.ศ. 2494 (ค.ศ. 1951) ในเบอื้ งตน้ มเี จตนาจะใหเ้ หน็ ภาพและการควบคมุ โรคตดิ เช้ือรุนแรงหกชนดิ ได้แก่ อหิวาตกโรค กาฬโรค ไข้เหลอื ง ฝดี าษ โรคไขก้ ลบั ซ�ำ้ (relapsing fever) และไข้ รากสาด (typhus) ตอ่ มาภายหลงั ในฉบบั ทบทวนแก้ไข พ.ศ. 2516 (1973) และ2524 (1981) ความสนใจของ กฎอนามัยระหวา่ งประเทศดงั กล่าวถูกจ�ำกัดวงเข้าสโู่ รคอหวิ าตกโรค กาฬโรค และไขเ้ หลืองในฐานะทเ่ี ปน็ โรคที่ ตอ้ งแจง้ ใหเ้ จา้ หนา้ ทสี่ าธารณสขุ ทราบ ซง่ึ มคี วามหมายวา่ รฐั ภาคขี องกฎอนามยั ระหวา่ งประเทศถกู รอ้ งขอใหแ้ จง้ องค์การอนามัยโลก ถา้ เกิดโรคตา่ งๆ ดังกลา่ วเกิดขนึ้ ในเขตแดนของตวั เอง การท่ีโรคระบาดที่คิดว่าสงบเงียบไปแล้วกลับคืนมาระบาดใหม่อย่างกว้างขวางในตอนต้นทศวรรษ 1990 (ช่วง พ.ศ. 2533) เชน่ โรคอหวิ าตกโรคในบางส่วนของอเมริกาใต้ กาฬโรค ในอินเดยี และการอบุ ตั ใิ หม่ ของเชื้อโรคแปลกๆ เช่น โรคไข้เลือดออกอิโบลา ส่งผลให้การประชุมสมัชชาอนามัยโลก (World Health Assembly) ครงั้ ที่ 48 ใน พ.ศ. 2538 (1995) เรยี กร้องใหม้ กี ารทบทวนกฎอนามยั ระหว่างประเทศ ตอ่ มา 10 สมัชชาอนามัยโลกจึงนำ� กฎอนามยั ระหวา่ งประเทศทที่ บทวนใหมม่ าประกาศใชเ้ มอ่ื 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 ดว้ ยแนวทางการแก้ปญั หา WHA58.3 ซ่งึ มีผลบงั คบั ใชเ้ ม่ือ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2550 จากการเริ่มต้นด้วยกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2494 (1951) เอกสารรับรองการก�ำจัดหนู/การ ยกเวน้ การกำ� จัดหนู (Deratting Certificate/Deratting Exemption Certificate) เป็นเอกสารการควบคมุ ดา้ น สาธารณสขุ ระหวา่ งประเทศใชก้ บั เรอื ทเี่ ขา้ เทยี บทา่ เอกสารรบั รองฯ นช้ี ว่ ยลดการแพรก่ ระจายของโรคทเ่ี กดิ จาก สตั วฟ์ นั แทะจำ� พวกหนู โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ กาฬโรค เรอื ทกุ ลำ� ทเี่ ดนิ ทางระหวา่ งประเทศตอ้ งทำ� เอกสารรบั รองฯ น้ี ใหมท่ กุ หกเดอื น และการทำ� เอกสารใหมน่ นั้ ทกุ พนื้ ทบ่ี นเรอื ตอ้ งไดร้ บั การตรวจทง้ั ลำ� เอกสารรบั รองการกำ� จดั หนู /การยกเวน้ การก�ำจัดหนู (Deratting Certificate/Deratting Exemption Certificate) ถกู แทนทด่ี ว้ ยเอกสาร รบั รองสขุ าภิบาลเรอื ท่ีมขี อบเขตกวา้ งขวางมากขน้ึ ในกฎอนามยั ระหว่างประเทศ (IHR) ฉบบั 2548 และยกเลิก หมดไม่มีการใช้อกี ตอ่ ไปหลงั วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2550 (2007) เอกสารฉบบั นม้ี จี ดุ มงุ่ หมายเพอ่ื ใหเ้ จา้ พนกั งานสาธารณสขุ ประจำ� ดา่ นควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศ ณ ท่าเรือและผู้ท�ำงานด้านสาธารณสุขอื่นๆ มีความรับผิดชอบต่อการน�ำวิธีการตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR) มาใชท้ ท่ี า่ เรอื และบนเรอื เอกสารนมี้ พี น้ื ฐานตามขอ้ กำ� หนดของกฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ (IHR) ในเรอ่ื งของ การตรวจเรือและการออกเอกสารรับรองสขุ าภิบาลเรอื ) (Ship Sanitation Certificate/SSC) และใหค้ �ำแนะน�ำ ในการเตรยี มการและการปฏบิ ตั ริ ะหวา่ งการตรวจ การออกเอกสารรบั รองฯ ใหส้ มบรู ณแ์ ละการนำ� มาตรการทาง สาธารณสุขมาใชภ้ ายใตก้ รอบแนวทางของกฎอนามัยระหวา่ งประเทศ (IHR.)1 ค�ำแนะน�ำนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงขอบเขตของการน�ำเอกสารรับรองสุขาภิบาลเรือไปใช้ท่ัวโลก นบั เปน็ เครอ่ื งมอื ทม่ี คี วามสำ� คญั ในการปอ้ งกนั และควบคมุ ความเสย่ี งทร่ี จู้ กั กนั ทางสาธารณสขุ (ไมใ่ ชแ่ คเ่ ฉพาะแต่ หน)ู และวิธีการง่ายๆ ทจี่ ะลงทะเบยี นและสื่อสารเหตกุ ารณ์ที่เกิดขนึ้ บนเรือกับมาตรการตา่ งๆ จุดมงุ่ หมายเพอ่ื 18 คมู่ ือการตรวจและการออกเอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรือ Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

สร้างความต่ืนตัวของผู้ควบคุมเรือ และตอบสนองต่อเหตุการณ์ด้านสาธารณสุขและให้โอกาสการรับรองแผนที่ ใชป้ ระจ�ำเก่ียวกบั สถานะทางสุขภาพบนเรอื อย่างน้อยสองครั้งต่อปี เอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรอื ( Sanitation Certificate/SSC )มคี วามสำ� คญั เปน็ พเิ ศษเพอ่ื ปอ้ งกนั และ ควบคมุ ความเสยี่ งทางสาธารณสขุ บนเรอื เดนิ ทางระหวา่ งประเทศเนอ่ื งจากเปน็ เอกสารทจี่ ำ� แนกสภาพสขุ าภบิ าล ของเรือในขณะที่ลดความถ่ีในการตรวจเรือ ระหว่างช่วงเวลาท่ีเอกสารยังไม่หมดอายุ มีการติดตามไปยังท่าเรือ กอ่ นหนา้ หรอื ถา้ มเี หตอุ นั ควรทจ่ี ะสงสยั หรอื ตรวจพบหลกั ฐานของความเสยี่ งทางสาธารณสขุ ทมี่ อี ยกู่ อ่ นเอกสาร สขุ อนามยั เรอื จะหมดอายุ หรอื เปน็ สว่ นหนงึ่ ของการตรวจตราควบคมุ ทางสาธารณสขุ และการประเมนิ ความเสย่ี ง ทางสาธารณสุขของประเทศ ขอบเขต เอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรือ (Ship Sanitation Certificate/ SSC) ใช้เพื่อชล้ี ักษณะเฉพาะและบันทึก บริเวณท่ีมีความเสี่ยงทางสาธารณสุขบนเรือ (ไม่เฉพาะหนู) และเป็นเอกสารที่มีความครอบคลุมรายละเอียดใน กระบวนการตรวจสอบทมี่ ากข้ึน รวมถงึ เทคนิคทีน่ ำ� ไปใช้โดยบุคลากรทถ่ี ูกฝกึ ฝนทางดา้ นการสาธารณสขุ (กฎอนามัยระหว่างประเทศ มาตรา 20 (22-25) (27-28) (30-37) (39-45) และ ภาคผนวก 3 และ 1) เอกสารรับรองสขุ าภิบาลเรือ (Ship Sanitation Certificate/SSC) เน้นย้�ำเกณฑ์ชี้วัดที่จะน�ำมาพิจารณาในระหว่างการตรวจพ้ืนท่ี ของเรอื และใหเ้ ครอ่ื งมอื ทจี่ ะนำ� ไปใชใ้ นการตดั สนิ ใจสงั่ ใชม้ าตรการทางสาธารณสขุ เพอื่ ปอ้ งกนั และควบคมุ ความ เสีย่ งทางสาธารณสขุ บนเรือ ป้องกนั การแพรก่ ระจายโรคระหวา่ งประเทศ เม่ือการตรวจเสร็จสมบูรณ์แล้ว ดา่ น ควบคุมโรคฯ จะออกเอกสารรับรองสขุ าภิบาลเรือ (Ship Sanitation Certificate/SSC) ใหไ้ มว่ ่าจะเปน็ เอกสาร รบั รองการยกเวน้ การควบคมุ สขุ าภิบาลเรือ (Ship Sanitation Control Exemption Certificate/SSCEC) หรอื เอกสารรบั รองการควบคมุ สุขาภบิ าลเรอื (Ship Sanitation Control Certificate/SSCC) ตามผลของการตรวจ ถา้ การตรวจไมส่ ามารถทำ� ใหส้ ำ� เรจ็ ไดใ้ นทา่ เรอื ตามรายชอื่ ทา่ เรอื ทก่ี ำ� หนดใหอ้ อกเอกสารรบั รองฯ ได้ (authorized port) (มรี ายช่อื บนเว็บไซต์ขององคก์ ารอนามยั โลก) ดา่ นควบคุมโรคฯ ทีท่ ่าเรอื จะออกเอกสารรบั รองฯ หรอื ตอ่ อายุเอกสารรบั รองเก่าไดไ้ มเ่ กนิ 1 เดือน วธิ ีการตรวจเพื่อออกเอกสารรบั รองฯ ตา่ งๆ ดงั กล่าวไมว่ า่ จะออกจาก ท่าเรือใดกต็ ามจะไมม่ คี วามแตกต่างในเร่ือง ขนาด แบบ หรอื สญั ชาติเรอื 1 ระเบยี บการกฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ (IHR) มวี ตั ถปุ ระสงค์และขอบเขต คอื “เพอื่ ป้องกนั ปกปอ้ ง ควบคมุ และให้การตอบสนองด้านสาธารณสุข ตอ่ การแพรก่ ระจายของโรคระหวา่ งประเทศตามแนวทางทไี่ ดส้ ดั สว่ นกบั ความเสยี่ งทางสาธารณสขุ ทถ่ี กู จำ� กดั วง และหลกี เลยี่ งการแทรกแซงทไี่ มจ่ ำ� เปน็ กับการสัญจรและคา้ ขายระหว่างประเทศ” คูม่ อื การตรวจและการออกเอกสารรับรองสขุ าภบิ าลเรอื 19 Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

สว่ น ก. สิ่งท่ีระบบการตรวจเรอื ตอ้ งมี 20 คูม่ ือการตรวจและการออกเอกสารรับรองสขุ าภบิ าลเรอื Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

ภาค ก. ของเอกสารนเ้ี ปน็ การอา้ งองิ ถงึ การวางแผนกอ่ นการตรวจและการจดั การเพอ่ื ออกเอกสารรบั รอง การยกเว้นการควบคมุ สขุ าภิบาลเรือ (Ship Sanitation Control Exemption Certificate/SSCEC)/เอกสาร รบั รองการควบคมุ สขุ าภบิ าลเรอื (Ship Sanitation Control Certificate/SSCC) (นบั จากนจี้ ะใชค้ ำ� วา่ “เอกสาร รับรองสุขาภบิ าลเรือ/SSC” หรือ “เอกสารรบั รองการยกเวน้ การควบคุมฯ/SSCEC” หรอื “เอกสารรับรองการ ควบคมุ ฯ /SSCC” แลว้ แตล่ ะชนดิ ) และบรรยายกจิ กรรมตา่ งๆ ทอี่ นมุ านวา่ เจา้ พนกั งานควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ประจำ� ดา่ นฯ ทา่ เรอื กระทรวงสาธารณสุข หรอื ผรู้ บั มอบอ�ำนาจจะตอ้ งรักษามาตรฐานในการตรวจเรอื และออกเอกสาร รบั รองสขุ าภบิ าลเรือฯ (Ship Sanitation Certificate/SSC) ภาค ข. ของเอกสารนี้เป็นแม่แบบ (template) ในการตรวจเรือเพื่อออกเอกสารรับรองสุขาภิบาล เรอื (SSC) และอธบิ ายพน้ื ทแี่ ละมาตรฐานทจ่ี ะตอ้ งตรวจ ตวั อยา่ งทต่ี อ้ งเกบ็ สง่ ตรวจทเี่ ปน็ ไปได/้ ผลจากการตรวจ ตวั อยา่ ง/มาตรการการแกไ้ ขในภาค ข. อาจถกู นำ� มาใชเ้ ปน็ เอกสารอา้ งองิ สำ� หรบั ผคู้ วบคมุ ผเู้ ดนิ เรอื และผตู้ อ่ เรอื และเป็นรายการตรวจสอบท�ำความเข้าใจและประเมินผลกระทบทางสาธารณสุขท่ีเกิดขึ้นจากการออกแบบเรือ แม่แบบน้ีท�ำตามตัวอย่างของเอกสารรับรองสุขาภิบาลเรือ (SSC) ที่อธิบายไว้ในภาคผนวกท่ี 3 ของกฎอนามัย ระหวา่ งประเทศ เอกสารน้ีแสดงพื้นท่ีท�ำงานด้านสุขภาพหรือเหตุการณ์อื่นท่ีมีความส�ำคัญทางด้านสาธารณสุขสำ� หรับ ลูกเรือและการตอบสนองตอ่ เหตกุ ารณต์ ่างๆ ตามกฎอนามัยระหวา่ งประเทศ ประเดน็ สงิ่ แวดลอ้ ม เชน่ สงิ่ โสโครกทถี่ กู ขบั ออกมาจากเรอื นำ�้ เสยี และนำ้� อบั เฉาเรอื ซงึ่ อาจเปน็ ความ เสยี่ งทางสาธารณสขุ จะกลา่ วไวภ้ ายในเอกสารน้ี การปนเปอ้ื นทสี่ ง่ ผลรา้ ยอน่ื ๆ นอกจากการปนเปอ้ื นทางจลุ ชวี ะ เช่น จากแหลง่ รังสีนวิ เคลียร์ สามารถพบไดบ้ นเรอื เช่นกนั แตอ่ ยู่นอกขอบเขตของการแนะน�ำของเอกสารฉบบั น้ี โดยสรปุ เอกสารการแนะนำ� (ภาค ก. และ ข.) ออกแบบมาเพอื่ ชว่ ยเจา้ หนา้ ทผี่ มู้ อี ำ� นาจดา้ นสาธารณสขุ ท่ที ่าเรือในการตดั สินใจเร่ืองเหล่าน้ี • เปน็ คำ� แนะนำ� เจ้าหน้าทผี่ ู้มีอ�ำนาจในการตรวจเรือเพอื่ ออกเอกสารรับรองสุขาภิบาลเรอื ฯ (SSC) • แนะนำ� การบรหิ ารจดั การในการวางแผนการตรวจเรือและออกเอกสารรบั รองสุขาภบิ าลเรือฯ (SSC) • แสดงวธิ กี ารใหเ้ หน็ ลกั ษณะเฉพาะ มาตรการและการควบคมุ ความเสย่ี งทางสาธารณสขุ ทส่ี มั พนั ธก์ บั เรอื ผู้เดนิ ทาง สนิ คา้ หรอื สง่ิ ขบั ถา่ ย • แสดงขน้ั ตอนการดำ� เนนิ การท่ีสมั พนั ธก์ ับการปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายของโรคระหว่างประเทศ • การบนั ทกึ ขอ้ มลู ทต่ี รวจพบในเอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรอื (SSC) สำ� หรบั เรอื เพอื่ การปฏบิ ตั ใิ นขน้ั ตอ่ ไปและ/หรอื เจา้ หน้าที่ผมู้ อี ำ� นาจ ซง่ึ อยทู่ ่ีท่าเรอื ท่ีตอ้ งจอดแวะพกั ลำ� ดบั ตอ่ ไปในอนาคต • ส่ือสารและตอบสนองข้อเรียกร้องต่อเหตุการณ์ทางสาธารณสุข รวมทั้งภาวะฉุกเฉินและเหตุการณ์ ฉกุ เฉินบนเรอื คูม่ อื การตรวจและการออกเอกสารรบั รองสุขาภิบาลเรือ 21 Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

ภาค ก. สง่ิ ทร่ี ะบบตรวจเรอื ตอ้ งมี 1. ภาพรวมหลกั กฎหมาย กรอบแนวคดิ และนโยบาย (Overview of legal and policy framework) ต้ังแตท่ ่กี ฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ (IHR 2005) มผี ลบังคับใช้เม่อื วันท่ี 15 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2548 (2005) กำ� หนดใหเ้ จา้ หนา้ ทผ่ี มู้ อี ำ� นาจตอ้ งตรวจสอบเอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรอื (SSC) (IHR ภาคผนวก 3) ซง่ึ ครอบคลมุ ความเส่ียงทางด้านสาธารณสุขบนเรือที่จ�ำเป็นต้องตรวจสอบและควบคุมตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR 2005) เจา้ หนา้ ทผี่ มู้ อี ำ� นาจตอ้ งใชร้ ปู แบบเครอื่ งมอื ตามภาคผนวก 3 ของการออกเอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรอื (SSC) ในการระบุและบันทึกหลักฐานท้ังหมดของการปนเปื้อนหรือการติดเช้ือ ความเส่ียงอื่นๆ ที่มีผลต่อสุขภาพของ คนในพื้นที่ต่างๆ รวมท้ังอุปกรณ์และสิ่งอ�ำนวยความสะดวกของระบบ ซึ่งจะต้องมีมาตรการการตรวจสอบและ ประยกุ ตใ์ ชส้ ำ� หรบั การควบคมุ ความเสยี่ งทางสาธารณสขุ เรอื ทกุ ลำ� ตอ้ งแสดงเอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรอื (SSC) ทง้ั เรอื เดนิ ทะเลหรอื เรอื ชายฝง่ั รวมทง้ั ทแ่ี วะพกั ทที่ า่ เรอื ของรฐั ภาคี (State Party) ตามกฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ (IHR 2005) ภายใตก้ ฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR 2005) รัฐภาคีมีอ�ำนาจใหท้ า่ เรือท่ีก�ำหนด ตรวจสอบและ ออกเอกสารรับรองสขุ าภิบาลเรอื (SSC) ตอ่ อายุ รวมทั้งให้บรกิ ารทอ่ี ้างไวใ้ นมาตรา 20.3 และ ภาคผนวก 1 ของ กฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR 2005) เจา้ หน้าทผี่ ู้มอี �ำนาจ ณ ทา่ เรือ ทีอ่ อกเอกสารรับรองสุขาภิบาลเรอื (SSC) จะต้องมีความสามารถในการตรวจและน�ำมาตรการในการควบคุมที่จ�ำเป็นไปใช้ปฏิบัติ (หรือแนะน�ำให้ปฏิบัติ) ทง้ั นร้ี ฐั ภาคมี อี ำ� นาจสามารถออกเอกสารรบั รองการยกเวน้ การควบคมุ สขุ าภบิ าลเรอื (Ship Sanitation Control Exemption Certificate: SSCEC) ด้วยเช่นกนั หรอื สามารถอนญุ าตตอ่ อายไุ ปอกี 1 เดอื น ใหผ้ ปู้ ระกอบการเรอื นัน้ หากไม่สามารถด�ำเนินการตามมาตรการที่จ�ำเปน็ ตามทท่ี ่าเรอื ก�ำหนด กฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR 2005) กำ� หนดใหร้ ัฐภาคจี ำ� เป็นต้องตรวจสอบการออกเอกสารรับรอง สขุ าภบิ าลเรือ (SSC) น้ัน ใหเ้ ป็นไปตาม กฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR 2005) มาตรา 39 และภาคผนวก 3 รัฐภาคีจะตอ้ งส่งบญั ชรี ายช่ือทา่ เรอื ของตน ทีม่ ีอำ� นาจดำ� เนินการ ดังต่อไปน้ี ไปยงั องค์การอนามัยโลก (WHO) - ออกเอกสารรับรองการควบคุมสุขาภิบาลเรือ (SSCCs) และมีบริการท่ีอ้างอิงถึงตาม ภาคผนวก 3 (ส่ิงจ�ำเป็นส�ำหรับเอกสารรับรองสุขาภิบาลเรือ) และ ภาคผนวก 1 ข. (สมรรถนะหลักส�ำหรับท่าเรือท่ีก�ำหนด) ในกฎอนามยั ระหว่างประเทศ (IHR 2005) - ออกเอกสารเฉพาะเอกสารรบั รองการยกเวน้ การควบคมุ สขุ าภบิ าลเรอื (SSCECs) และตอ่ อายเุ อกสาร รับรองการยกเว้นการควบคุมสุขาภิบาลเรือ (SSCECs) หรือเอกสารรับรองการควบคุมสุขาภิบาลเรือ (SSCCs) เปน็ เวลา 1 เดอื น จนกระทง่ั เรอื มาถงึ ทา่ เรอื ซงึ่ สามารถออกใบรบั รองได้ รฐั ภาคแี ตล่ ะแหง่ ตอ้ งแจง้ เกยี่ วกบั การ เปลยี่ นแปลงสถานภาพของทา่ เรอื ตอ่ องคก์ ารอนามยั โลก (WHO) เพอื่ องคก์ ารอนามยั โลกจะไดป้ รบั ปรงุ และเผยแพร่ รายชอ่ื ทา่ เรอื จากขอ้ มลู ทไ่ี ดร้ บั บนเวบ็ ไซตข์ ององคก์ ารอนามยั โลก (http://www.who.int/ihr/ports_airport/en) ตามกฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ (IHR 2005) ก�ำหนดว่า เอกสารรับรองสขุ าภิบาลเรือ (SSCs) ของแตล่ ะ รัฐภาคีจะต้องเป็นไปตามรูปแบบเอกสารรับรองสุขาภิบาลเรือ (SSC) ในภาคผนวก 3 ของกฎอนามัยระหว่าง ประเทศ (IHR 2005) ผทู้ ใ่ี ชร้ ปู แบบเอกสารรบั รองนจ้ี ะมคี วามสะดวกมากขน้ึ ในการตรวจสอบการเดนิ เรอื ระหวา่ ง ประเทศ ลดความล่าชา้ ในสว่ นที่ไม่จำ� เป็น ชว่ ยให้เป็นมาตรฐานในการตรวจสอบและเปน็ รปู แบบเดยี วกัน ทำ� ให้ งา่ ยตอ่ การนำ� ไปใชแ้ ละการสื่อสารความเส่ียง เอกสารรับรองฯ จะตอ้ งไดร้ ับการตรวจสอบท้งั เน้ือหาและการจดั รูปแบบเฉพาะตามกฎอนามัยระหว่าง ประเทศ (IHR 2005) ต้องไม่ออกจากเจ้าหน้าที่ที่ไม่มีอ�ำนาจ หรือไม่มีอ�ำนาจตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ 22 คู่มือการตรวจและการออกเอกสารรบั รองสุขาภบิ าลเรือ Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

(IHR 2005) ใช้รูปแบบท่ีไม่บังคับเป็นข้อผูกมัดต่างๆ กับเรือนอกเหนือไปจากที่ก�ำหนดไว้ในกฎอนามัยระหว่าง ประเทศ (IHR 2005) เอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรอื (SSCs) เปน็ เอกสารสากลทอ่ี อกใหโ้ ดยเจา้ หนา้ ทผ่ี มู้ อี ำ� นาจในภมู ภิ าคทแี่ ตก ตา่ งกนั ดงั นน้ั รฐั ภาคคี วรออกเอกสารรบั รองฯ และเอกสารอนื่ ๆ ทเี่ ปน็ ขอ้ งกนั เปน็ ภาษาองั กฤษ หรอื ภาษาฝรง่ั เศส ตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR 2005) “ความเส่ียงทางสาธารณสุข” หมายถึง “ความเป็นไปได้ของ เหตกุ ารณท์ อี่ าจสง่ ผลกระทบตอ่ ภาวะสขุ ภาพประชากรมนษุ ย์ ซงึ่ เนน้ ความสำ� คญั ในกรณที ส่ี ามารถแพรก่ ระจาย ไปสนู่ านาชาติ หรอื อาจแสดงภาวะอนั ตรายต่อสขุ ภาพออกมาโดยตรงและรนุ แรง” ประเด็นคำ� จ�ำกดั ความนเ้ี ป็น หลักส�ำคัญในการท�ำความเข้าใจในกระบวนการตรวจสอบตามคู่มือน้ีซ่ึงเป็นไปตามข้อก�ำหนดของกฎอนามัย ระหว่างประเทศ (IHR 2005) 2. บทบาทและความรบั ผดิ ชอบ (Roles and Responsibilities) รัฐภาคีจะนำ� มาตรการต่างๆ ตามกฎอนามยั ระหว่างประเทศ (IHR 2005) มาประยุกต์ใชใ้ ห้สอดคลอ้ ง เพ่ือให้มั่นใจว่าผู้ประกอบการเดินเรือสามารถดูแลเรือให้ปลอดจากการติดเชื้อหรือการปนเปื้อน ทั้งจากพาหะ น�ำโรคและแหล่งรังโรค (กฎอนามัยระหว่างประเทศ มาตรา 24) มาตรการควบคุมต้องถูกด�ำเนินการถ้าพบว่า มีหลักฐานของแหล่งติดเช้ือหรือการปนเปื้อน ซ่ึงมาตรการควบคุมอาจด�ำเนินการโดยผู้ประกอบการเดินเรือ (ทั้งจากลูกเรือ หรือจากบริษัทเอกชน) หรือโดยเจ้าหน้าที่ผู้มีอ�ำนาจ โดยมาตรการควบคุมท่ีด�ำเนินการจะต้อง ไดร้ ับความเหน็ ชอบจากเจา้ หนา้ ที่ผู้มีอำ� นาจ (ปกติจะหมายถงึ เจ้าหนา้ ทด่ี า่ นควบคุมโรคฯ) เอกสารรับรองสุขาภิบาลเรอื (SSCs) ถกู ออกแบบมาเพ่ือใช้ระบุลกั ษณะ ประเมนิ และบันทึกความเสยี่ ง ทางสาธารณสขุ รวมทง้ั มาตรการในการควบคมุ ตา่ งๆ ซงึ่ นำ� มาใชข้ ณะทเ่ี รอื อยทู่ ท่ี า่ เรอื ความเสย่ี งทางสาธารณสขุ จะถูกระบุจากหลักฐานทางระบาดวิทยา การสังเกตพบโดยตรง (หรือท้ัง 2 อย่าง) เจ้าหน้าท่ีผู้มีอ�ำนาจควรจะ ประเมินความเส่ียงและความรุนแรงของสถานการณ์ทางระบาดวิทยาและด�ำเนินมาตรการควบคุม ณ ช่องทาง เข้าออกประเทศตามเง่ือนไขท่ีก�ำหนดไวใ้ นกฎอนามัยระหวา่ งประเทศ (IHR 2005) หากพบอาการหรืออาการแสดงทางคลินิกของการเจ็บป่วยหรือโรค รวมท้ังมีหลักฐานความเส่ียงทาง สาธารณสขุ (ประกอบดว้ ยการติดเช้อื หรือการปนเป้ือน) บนเรอื ท่เี ดนิ ทางระหวา่ งประเทศ เจ้าหน้าทผ่ี ู้มีอำ� นาจ ควรตรวจสอบเรอื นนั้ โดยละเอยี ด และดำ� เนินการ ดังนี้ - (ก) ฆา่ เชอื้ ขจดั การปนเปอ้ื น กำ� จดั แมลง หรอื กำ� จดั หนตู ามความเหมาะสม หรอื สง่ั ใหด้ ำ� เนนิ การตาม มาตรการดงั กล่าว และ - (ข) ตัดสินใจใช้เทคนิคท่ีเหมาะสมตามค�ำแนะน�ำขององค์การอนามัยโลก (WHO) หรือเจ้าหน้าท่ีผู้มี อ�ำนาจพจิ ารณาแล้วเหน็ วา่ วธิ ีอ่นื นา่ เชือ่ ถือและปลอดภัยมากกว่า (กฎอนามยั ระหว่างประเทศ มาตรา 27.1) หากเจา้ หนา้ ทผ่ี มู้ อี ำ� นาจ ณ ชอ่ งทางฯ ไมส่ ามารถดำ� เนนิ มาตรการควบคมุ ตามกฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ มาตรา 27.1 ได้ เรอื น้ันอาจได้รบั การอนญุ าตใหอ้ อกจากท่าเรือได้ ตามเงอื่ นไขดังต่อไปน้ี - (ก) เจา้ หนา้ ทผ่ี มู้ อี ำ� นาจจะแจง้ ขอ้ มลู ตามยอ่ หนา้ ยอ่ ย (ข) ใหเ้ จา้ หนา้ ทผ่ี มู้ อี ำ� นาจ ณ ชอ่ งทาง ถดั ไปทราบ และ - (ข) ในกรณีเรือที่พบหลักฐานของการติดเช้ือและการปนเปื้อน และมีการใช้มาตรการควบคุม จะถูก บันทกึ ไว้ในเอกสารรบั รองการควบคมุ สขุ าภิบาลเรอื (SSCCs) (กฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ มาตรา 27.2) ดังน้ัน ท่าเรือควรมีสมรรถนะเพื่อสนับสนุนมาตรการควบคุมและปรับใช้ส�ำหรับการป้องกันการแพร่ กระจายของเชื้อโรค ได้แก่ การทำ� ความสะอาด การฆ่าเชือ้ ก�ำจดั การปนเป้ือน การกำ� จดั หนู และการกำ� จดั แมลง ท่าเรือท่ีมีรายชื่ออยู่ในบัญชีท่าเรือที่ได้รับมอบอ�ำนาจให้ออกเอกสารรับรองสุขาภิบาลเรือ (SSCs) จากองค์การ อนามัยโลก (WHO) จะต้องมเี จ้าหนา้ ที่ที่ผ่านการอบรมขึน้ ตรวจเรือ ระบุความเส่ียงทางสาธารณสุขทส่ี ำ� คญั และ คู่มือการตรวจและการออกเอกสารรับรองสขุ าภบิ าลเรือ 23 Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

ดำ� เนนิ มาตรการควบคมุ ทเ่ี หมาะสม ดงั นนั้ ประเทศสมาชกิ จะตอ้ งจดั ใหม้ กี ารฝกึ อบรมเจา้ หนา้ ทสี่ าธารณสขุ หรอื เจ้าหน้าทีส่ ง่ิ แวดลอ้ มทไ่ี ด้รบั มอบหมายใหอ้ อกเอกสารรับรองสขุ าภบิ าลเรือ (SSCs) ตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR 2005) มาตรา 43 หรือตามข้อตกลงระหว่างประเทศ ประเทศ สมาชิกรัฐภาคีไม่สามารถห้ามการอนุญาตให้เรือเข้าเทียบท่าด้วยเหตุผลทางสาธารณสุข โดยเฉพาะอย่างย่ิงเรือ เหล่านั้นไม่ควรถูกห้ามไม่ให้ทอดสมอหรือถอนสมอ การระบายหรือการรับสินค้า การเติมเชื้อเพลิง น้�ำบริโภค อาหารและเสบียง รัฐภาคีจะท�ำการตรวจเรือเพื่ออนุญาตให้เรือเข้าเทียบท่า และถ้าพบการปนเปื้อนบนเรือ ก็จะดำ� เนินมาตรการฆ่าเชื้อ ก�ำจดั การปนเปอ้ื น ก�ำจดั แมลง ก�ำจดั หนู หรอื มาตรการอน่ื ๆ ทจ่ี ำ� เปน็ เพ่อื ปอ้ งกนั การแพร่กระจายของเชื้อโรคหรือการปนเป้อื น (กฎอนามยั ระหว่างประเทศ 2005 มาตรา 28) ถา้ ความเสีย่ งทาง สาธารณสุขมีความส�ำคญั หรือพบว่าหลักฐานการแพรก่ ระจายโรคระหว่างประเทศ เจ้าหน้าทีผ่ ู้มีอำ� นาจ ณ ช่อง ทางฯ ควรรายงานผูป้ ระสานงานกฎอนามัยระหวา่ งประเทศประจำ� ประเทศ (National IHR Focal Point: NFP) และเจ้าหน้าท่สี าธารณสขุ ในพืน้ ทีใ่ ห้ทราบ 2.1 บทบาทของเจา้ หน้าท่ผี มู้ อี ำ� นาจ (Role of Competent Authority) เจ้าหน้าท่ีผู้มีอ�ำนาจท่ีรับผิดชอบต่อการน�ำมาตรการด้านสาธารณสุขไปปฏิบัติ ณ ช่องทางเข้าออกฯ มีหน้าที่ตามกฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ มาตรา 22 ดังน้ี • รับผิดชอบในการดูแลการตรวจสอบกระเป๋าสัมภาระ สินค้าบรรทุก ตู้บรรทุกสินค้า ยานพาหนะ พัสดุภณั ฑ์ สินคา้ ตา่ งๆ รวมทง้ั ศพมนษุ ย์ ที่ออกจากและมาถงึ พนื้ ที่ที่ได้รับผลกระทบ เพอื่ สงิ่ เหลา่ นี้จะได้รับการ ดแู ลใหป้ ลอดจากการติดเชือ้ หรอื การปนเปอื้ น จากพาหะและแหล่งน�ำโรค • ตรวจสอบเทา่ ทสี่ ามารถทำ� ไดว้ า่ สง่ิ อ�ำนวยความสะดวกท่ผี ้เู ดินทางใช้ ณ ชอ่ งทางเขา้ ออกฯ ได้รับ การดูแลรกั ษาตามหลักสุขาภิบาลและปลอดจากการติดเชอ้ื หรอื ปนเป้ือน อันเนื่องมาจากพาหะและแหลง่ รงั โรค • รบั ผดิ ชอบในการดแู ลการตรวจสอบการกำ� จดั หนู การฆา่ เชอ้ื การกำ� จดั แมลง หรอื กำ� จดั การปนเปอ้ื น ต่างๆ ของกระเปา๋ สัมภาระ สินคา้ บรรทกุ ต้บู รรทกุ สินคา้ ยานพาหนะ พัสดุภัณฑ์ สนิ คา้ ตา่ งๆ ศพมนษุ ย์ และ มาตรการสุขาภบิ าลสำ� หรับบุคคลต่างๆ ท่เี หมาะสมภายใตก้ ฎข้อบงั คับ • ใหค้ ำ� แนะนำ� ผปู้ ระกอบการเดนิ เรอื ในการดำ� เนนิ มาตรการควบคมุ บนเรอื รวมทง้ั จดั หาเอกสารสำ� หรบั บนั ทกึ วธิ ีการตามมาตรการควบคุมเรือ • รบั ผิดชอบในการดแู ล การตรวจสอบ การก�ำจัด และการระบายของเสีย เรื่องน้ำ� บรโิ ภคหรืออาหาร ของเสยี จากมลู มนษุ ยแ์ ละสตั ว์ น้�ำเสีย และสงิ่ ติดเชื้อปนเปอ้ื นตา่ งๆ จากยานพาหนะไดอ้ ย่างปลอดภัย • ใช้มาตรการท่ีปฏิบัติได้จริงตามกฎข้อบังคับในการตรวจสอบและควบคุมการระบายของเสียท้ิงจาก เรอื ขยะ นำ�้ อับเฉาเรือ (ballast water) และส่งิ อื่นๆ ทอี่ าจจะก่อให้เกดิ โรคซง่ึ อาจปนเป้อื นลงไปในน้�ำที่ทา่ เรอื แม่น�ำ้ คลอง ชอ่ งแคบ ทะเลสาบ หรือทางเดนิ เรือระหวา่ งประเทศ (international waterway) • รบั ผดิ ชอบในการกำ� กบั ดแู ลผใู้ หบ้ รกิ าร สำ� หรบั การใหบ้ รกิ ารผเู้ ดนิ ทาง กระเปา๋ สมั ภาระ สนิ คา้ บรรทกุ ตบู้ รรทกุ สนิ คา้ ยานพาหนะ พสั ดภุ ณั ฑ์ สนิ คา้ ตา่ งๆ และศพมนษุ ย์ ณ ชอ่ งทางเขา้ ออกฯ รวมถงึ ขนั้ ตอนการตรวจ สอบและการตรวจสุขภาพที่จ�ำเปน็ • มีการเตรียมการรบั มือภาวะฉกุ เฉินทางด้านสาธารณสขุ ท่เี กิดขึ้นโดยไมค่ าดคดิ • ติดต่อสื่อสารกับผู้ประสานงานกฎอนามัยระหว่างประเทศประจ�ำประเทศ (National IHR Focal Point: NFP) เกยี่ วกบั มาตรการทางสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องทไี่ ด้ด�ำเนินการตามกฎข้อบงั คบั นี้ 24 คู่มอื การตรวจและการออกเอกสารรับรองสุขาภิบาลเรือ Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

2.2 บทบาทของผ้ปู ระกอบการเดนิ เรอื (Role of conveyance operators) ตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR 2005) มาตรา 24 รฐั ภาคีต้องดำ� เนินมาตรการทุกอยา่ งตามกฎ อนามยั ระหว่างประเทศเพื่อตรวจสอบว่าผ้ปู ระกอบการเดนิ เรอื น้นั • ปฏิบตั ติ ามมาตรการดา้ นสขุ ภาพทอ่ี งค์การอนามยั โลก (WHO) แนะนำ� และรฐั ภาคียอมรบั • ใหค้ ำ� แนะนำ� แกผ่ เู้ ดนิ ทางเรอ่ื ง มาตรการดา้ นสขุ ภาพทอี่ งคก์ ารอนามยั โลก (WHO) และรฐั ภาคยี อมรบั ให้ปฏบิ ตั ิบนเรอื • ดแู ลเรอื ทรี่ บั ผดิ ชอบใหป้ ลอดจากการตดิ เชอ้ื หรอื ปนเปอ้ื น จากพาหะและแหลง่ รงั โรค และมมี าตรการ ควบคมุ กรณีทีพ่ บหลกั ฐานการติดเชอื้ หรือปนเป้อื น ผู้บงั คับเรือจะตอ้ งรายงานเจ้าหน้าท่ผี มู้ ีอำ� นาจ ณ ช่องทางเขา้ ออกฯ เมอื่ มาถึง หากมีผู้ปว่ ยโรคตดิ เชื้อ หรือพบหลกั ฐานความเสยี่ งทางสาธารณสขุ บนเรอื ตามมาตรา 28 ภาคผนวก 3 กฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR 2005) ภาคผนวก 4 ระบุใหผ้ ู้ประกอบการเดินเรือต้องอ�ำนวยความสะดวกใน เรือ่ ง ตอ่ ไปนี้ • การตรวจสินค้า ตู้บรรทกุ สนิ ค้าและยานพาหนะ • การตรวจสขุ ภาพของบุคคลบนเรือ • การดำ� เนินมาตรการด้านสาธารณสุขอ่นื ๆ ภายใตก้ ฎข้อบงั คับ • การเตรยี มและนำ� ส่งข้อมลู ทางดา้ นสาธารณสุขทีเ่ กี่ยวขอ้ งเมือ่ ไดร้ บั การร้องขอจากรัฐภาคี ผู้ประกอบการเรือต้องมีเอกสารรับรองการยกเว้นการควบคุมสุขาภิบาลเรือ (SSCEC) ที่ยังมีผลใช้บังคับ หรือ เอกสารรบั รองการควบคมุ สขุ าภบิ าลเรอื (SSCC) และเอกสารสำ� แดงสขุ อนามยั ของการเดนิ ทางโดยพาหนะทางนำ�้ (Maritime Declaration of Health) แสดงต่อเจ้าหนา้ ท่ผี มู้ อี ำ� นาจตามกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR 2005) มาตรา 37, 39 และภาคผนวก 3, 4 และ 8 ในสว่ นทเ่ี ก่ียวกบั โรคติดตอ่ จากพาหะน�ำโรคนนั้ กฎอนามยั ระหว่างประเทศ (IHR 2005) ภาคผนวก 5 มรี ะบุไว้ในมาตรการควบคุมจ�ำเพาะท่ใี ชก้ ับเรอื และผู้ประกอบการเรอื 2.3 บทบาทของเจา้ หนา้ ท่ผี ู้ตรวจเรอื (Role of inspecting officers) บทบาทของเจ้าหน้าที่ผู้มีอ�ำนาจ คือ การตรวจพ้ืนท่ี ระบบ และการบริการต่างๆ บนเรือ เพ่ือยืนยัน รบั รองระบบ และการบริการต่างๆ ท่ีเรอื นำ� มาปฏิบตั ใิ ช้ ตรวจสภาพสุขาภบิ าล เพอื่ ใหค้ �ำแนะนำ� หรือร้องขอให้ ใชม้ าตรการท่ถี ูกต้องตามสถานท่ีและเวลาทเี่ หมาะสม ซง่ึ มาตรการควบคุมทกุ อย่างทไี่ ดด้ ำ� เนินการจะตอ้ งบันทกึ ไว้ในแบบฟอร์มรายงานหลักฐาน (Evidence Report Form) (ภาคผนวก 7) และจะน�ำไปใช้ในเอกสารรับรอง การควบคุมสขุ าภบิ าลเรอื (SSCC) กฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ (IHR 2005) ภาคผนวก 3 จ�ำแนกพนื้ ท่ี ระบบ และบรกิ ารต่างๆ ที่ต้องได้ รับการตรวจสอบบนเรือ และกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR 2005) ภาคผนวก 1 ระบุให้รัฐภาคีต้องจัดหา เจา้ หนา้ ที่ ณ ชอ่ งทางเขา้ ออกฯ ใหไ้ ดร้ บั การอบรมเปน็ ผตู้ รวจเรอื โดยใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะ และสามารถ ประเมนิ สภาพแวดลอ้ มทปี่ ลอดภยั ตอ่ ผเู้ ดนิ ทางทใ่ี ชบ้ รกิ ารทา่ เรอื กอ่ นทจี่ ะไดร้ บั มอบหมายในการตรวจ ประเมนิ เรือตามแนวทางปฏิบตั ิ โดยปฏบิ ตั หิ น้าทเ่ี ป็นเจ้าหนา้ ที่ผู้ตรวจเรอื ดงั ตอ่ ไปน้ี • การประเมินความเส่ียงทางสาธารณสุข (รวมถึงประสิทธิผลของระบบเพื่อควบคุมความเสี่ยง) จาก การสังเกต การใช้เคร่ืองมือตรวจสอบและการเก็บตัวอย่างส่งตรวจ การประเมินควรใช้ข้อมูลที่ได้รับจาก ผปู้ ระกอบการเรอื ตวั แทนเรอื หรอื ผบู้ งั คบั การเรอื เชน่ เอกสารสำ� แดงสขุ อนามยั ของการเดนิ ทางโดยพาหนะทางนำ�้ (Maritime Declaration of Health)2 การตดิ ตอ่ สอ่ื สารเกยี่ วกบั เหตกุ ารณท์ างสาธารณสขุ บนเรอื ระหวา่ งเรอื กบั คู่มือการตรวจและการออกเอกสารรับรองสขุ าภิบาลเรือ 25 Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

ทา่ เรือกอ่ นที่จะเข้าเทยี บทา่ (กฎอนามยั ระหว่างประเทศ มาตรา 28) ข้อมลู ผู้เดินทาง สถานการณ์โรคทท่ี ่าเรอื ตน้ ทาง ทัง้ ทเี่ ดินทางผ่านและทีท่ ่าเรอื เข้าประเทศ รวมถึง วธิ ีการและการใชอ้ ปุ กรณ์ปอ้ งกนั ตวั สว่ นบคุ คล • มคี วามเขา้ ใจในความเสยี่ งทางสาธารณสขุ เกยี่ วกบั จลุ ชพี สารเคมี และสารกมั มนั ตรงั สที ส่ี ง่ ผลกระทบ ตอ่ สุขภาพของมนุษยซ์ ึง่ สามารถส่งผา่ นจากบคุ คล อาหาร อากาศ นำ้� บรโิ ภค ของเสีย พาหะน�ำโรคและวัตถทุ ่ี เปน็ แหลง่ ของโรค รวมทง้ั สภาพแวดลอ้ มและมาตรการทเ่ี หมาะสมในการจำ� กดั การสมั ผสั สารกมั มนั ตรงั สใี หอ้ ยใู่ น ระดบั ต่ำ� ที่สดุ เท่าท่จี ะท�ำได้ หากตรวจสอบพบความเสย่ี งจากกมั มันตรงั สี จะตอ้ งมขี ั้นตอนปฏิบตั ิในการขอความ ช่วยเหลือจากผู้เช่ยี วชาญในการจัดการความเสี่ยงด้านรังสีและผลกระทบที่เกิดข้นึ • มคี วามรคู้ วามเข้าใจและทกั ษะในขั้นตอนการดำ� เนนิ งานสำ� หรับการแจ้งเตือน การประเมนิ และการ รับมือภาวะฉุกเฉิน การจัดหาอุปกรณ์และเวชภัณฑ์การแพทย์ รวมถึง มีความรู้ด้านส่ิงแวดล้อมที่สอดคล้องกับ ขนาดและชนดิ ของเรอื ความรเู้ กยี่ วกบั แนวทางปฏบิ ตั ทิ เี่ กย่ี วขอ้ ง (เชน่ แนวปฏบิ ตั ขิ ององคก์ ารอนามยั โลก องคก์ าร แรงงานระหว่างประเทศ องคก์ ารการเดนิ เรอื ระหวา่ งประเทศ) 3. การวางแผนก่อนการตรวจและการบรหิ ารจดั การเพื่อออกเอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรือ (Pre- Inspection planning and administrative arrangement for issuing ship sanitation certificates) ก่อนเริ่มการตรวจต้อง วางแผนการตรวจสอบ และการบริหารจัดการน้ันเป็นส่ิงท่ีส�ำคัญส�ำหรับผู้ตรวจ สอบและการออกเอกสารรบั รอง 3.1 การเตรยี มการและการบรหิ ารจดั การสำ� หรบั การตรวจเรอื และการออกเอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรอื 3.1.1 การตดิ ต่อสอ่ื สาร (Communication) • พัฒนาขั้นตอนการแจ้งเตือน การประเมินและการรับมือเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับภาวะทางสุขภาพ บนเรือ (เชน่ โรคระบาด แหลง่ ตดิ เช้ือและการปนเป้อื น อุบัติการณแ์ ละเหตฉุ กุ เฉนิ ) • จัดท�ำระบบและการด�ำเนนิ การด้านการติดต่อส่ือสาร การรายงานและระบบตดิ ตาม โดยรว่ มมือ กับผแู้ ทนท่มี หี นา้ ทหี่ ลักของหน่วยงาน เช่น ผู้ประสานงานกฎอนามัยระหว่างประเทศประจำ� ประเทศ (National IHR Focal Point: NFP) และระบบเฝ้าระวังภาวะสขุ ภาพแหง่ ชาติ (National Health Surveillance System) • ดูแลจดั ท�ำรายชื่อท่าเรอื ที่สามารถออกเอกสารรับรองสขุ าภิบาลเรอื (SSC) ใหง้ า่ ยตอ่ การคน้ หา และเปน็ ปจั จบุ นั รวมถึงรายชอ่ื เจา้ หน้าที่และรายละเอียดการตดิ ต่อของท่าเรือใหเ้ ปน็ ปัจจบุ ัน • ผู้ตรวจเรือมีความสามารถในการสื่อสารที่ถูกต้องชัดเจนกับผู้ประกอบการเรือ/ตัวแทน และ ลกู เรอื • กำ� หนดและเผยแพรร่ ูปแบบขอ้ มลู ส�ำหรับติดต่อประสานงานแกเ่ จา้ หนา้ ทีผ่ มู้ ีอำ� นาจ ผ้ปู ระกอบ การเรอื หรือตวั แทน • สามารถประเมินจำ� นวน ความถีแ่ ละชนิดของเรือทเ่ี ดนิ ทางมาถงึ 3.1.2 การฝึกอบรม (Training) • การฝึกอบรมเพอื่ พัฒนาการด�ำเนนิ งาน คณุ วุฒิ และความสามารถของผู้เขา้ รบั การอบรม • ตรวจสอบเพอ่ื มน่ั ใจวา่ ผตู้ รวจเรอื นนั้ สามารถออกเอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรอื (SSCs) เปน็ ภาษา อังกฤษได้ 2 ผู้บังคับการเรือต้องตรวจสอบสถานะสุขภาพบนเรือก่อนที่เรือจะเข้าเทียบท่า และส่งเอกสารส�ำแดงสุขอนามัยของการเดินทางโดยพาหนะทาง น�้ำ (Maritime Declaration of Health) ที่เรยี บร้อยครบถว้ น ซ่ึงควรจะลงนามก�ำกบั โดยแพทยป์ ระจำ� เรือ (ถา้ มบี นเรอื ) เว้นแต่เจา้ หนา้ ที่ผู้มีอำ� นาจ อนญุ าตใหไ้ ม่จำ� เป็นตอ้ งใช้ (มาตรา 37 และ ภาคผนวก 8 ตามคำ� แนะนำ� ทางเทคนคิ ช่วั คราวขององคก์ ารอนามยั โลก ส�ำหรบั การจดั การในรายทพ่ี บ การระบาด [H1N1] บนเรือ) 26 ค่มู ือการตรวจและการออกเอกสารรับรองสขุ าภบิ าลเรือ Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

• เพอื่ ให้ผตู้ รวจเรอื มคี วามคุ้นเคยกับรายการตรวจสอบตามเอกสาร • ตรวจสอบเพอ่ื มน่ั ใจวา่ ผตู้ รวจเรอื นน้ั มคี วามรู้ ความสามารถในการออกเอกสารการรบั รองในแตล่ ะ ประเภท ตามกฎอนามยั ระหว่างประเทศ (IHR 2005) • ฝกึ อบรมใหผ้ ู้ตรวจเรือตรวจเรอื ไดต้ ามล�ำดบั อย่างเหมาะสม โดยคำ� นึงถึงขนาดและชนิดของเรือ 3.1.3 อปุ กรณ์ (Equipment) • ตรวจสอบเพอ่ื มน่ั ใจวา่ เครอ่ื งมอื และอปุ กรณท์ จี่ ำ� เปน็ ทตี่ อ้ งใชใ้ นการตรวจและงานไดต้ ามมาตรฐาน ไดแ้ ก่ อปุ กรณป์ อ้ งกนั สว่ นบคุ คล (Personal Protective Equipment: PPE) และอปุ กรณส์ ำ� หรบั การสมุ่ ตวั อยา่ ง ให้ อยใู่ นสภาพดแี ละพรอ้ มใชง้ าน (ดรู ายชอื่ อปุ กรณป์ อ้ งกนั สว่ นบคุ คล และอปุ กรณท์ แ่ี นะนำ� ใน ภาคผนวก 4 และ 5) • ตรวจสอบเพื่อมั่นใจว่าแบบฟอร์ม ตราประทับ เอกสารการตรวจเรือต่างๆ มีความถูกต้อง และ อุปกรณส์ นับสนนุ อนื่ ๆ อยู่ในสภาพดแี ละพร้อมใช้งาน 3.1.4 การบริหารจดั การ (Administration) • พฒั นาและนำ� หลกั สตู รทมี่ คี ณุ ภาพไปใชเ้ พอ่ื เฝา้ สงั เกต ตรวจสอบและการประเมนิ ผลการตรวจเรอื • พัฒนาและด�ำเนินการในระบบบริหารจัดการ การควบคุมและบันทึกการออกเอกสารรับรอง สขุ าภบิ าลเรอื (SSCs) เชน่ จดั ตัง้ และดำ� เนนิ การระบบแฟ้มข้อมูลหรอื ฐานข้อมลู ความปลอดภัยของการดำ� เนิน การตรวจและการออกเอกสารรับรอง โดยระบบน้นั ตอ้ งระบุความบกพรอ่ งทีผ่ า่ นมาได้ • จดั ต้งั ระบบการเกบ็ คา่ ธรรมเนยี มในการตรวจตามท่ีตกลงไว้ • ระบพุ นื้ ทที่ า่ เรอื ทใี่ ชใ้ นการตรวจเรอื ไดอ้ ยา่ งปลอดภยั มาตรการควบคมุ อยา่ งเหมาะสมทนี่ ำ� ไปใช้ รวมถงึ สงิ่ อำ� นวยความสะดวกและการบรกิ ารตามทก่ี ำ� หนดในกฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ (IHR 2005) ภาคผนวก 1ข 3.2 การวางแผนการตรวจ (Planning for on-site inspection) • รอ้ งขอเอกสารและบนั ทกึ ขอ้ มลู เรอื กอ่ นเรอื เขา้ เทยี บทา่ จากผปู้ ระกอบการเรอื หรอื ตวั แทน (ไดแ้ ก่ เอกสารยนื ยนั เวลาเขา้ เทยี บทา่ ทา่ ทจ่ี ะเขา้ เทยี บ คำ� รอ้ งขอใหท้ ำ� การตรวจเรอื รายชอื่ ทา่ เรอื กอ่ นหนา้ และทา่ เรอื ถดั ไป สถานะสขุ ภาพลกู เรอื บนเรอื ระบรุ ายละเอยี ดลกั ษณะเรอื และรายละเอยี ดการตดิ ตอ่ กบั ผปู้ ระกอบการเรอื หรอื ตวั แทน) • พจิ ารณาจากขอ้ มลู ทไี่ ดร้ บั ประเมนิ ความเสย่ี งทางสาธารณสขุ เตรยี มบคุ ลากรและอปุ กรณท์ จี่ ำ� เปน็ ส�ำหรบั การตรวจเรอื • เตรยี มขอ้ มลู เกย่ี วกบั ขนั้ ตอนการตรวจทเ่ี ขา้ ใจงา่ ยส่งใหเ้ รอื กอ่ นลว่ งหนา้ (เชน่ ใบปลวิ ) สำ� หรบั การ ตรวจทไี่ มแ่ จง้ ลว่ งหน้าไม่จำ� เปน็ ตอ้ งสง่ ขอ้ มูลตอ่ ไปนี้ไปกอ่ น ขอ้ มลู ดังกล่าวประกอบดว้ ย - รายชอ่ื เอกสารทีจ่ �ำเปน็ สำ� หรับการตรวจ - คำ� แนะน�ำทกี่ ำ� หนดวา่ ผ้ตู ิดต่อประสานงานประจำ� เรอื จะต้องอยบู่ นเรือ - คำ� แนะนำ� ทร่ี ะบวุ า่ สามารถเขา้ ตรวจได้ ทกุ พน้ื ทบี่ นเรอื เพอ่ื ขนั้ ตอนการตรวจเรอื จะไดไ้ มถ่ กู จำ� กดั 4. มาตรการและขน้ั ตอนการดำ� เนนิ การตรวจเรอื และออกเอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรอื (Measures and Operational Procedure for Ship Inspection and The Issue of Ship Sanitation Certificates) การตรวจเรือออกแบบมาเพ่ือใช้ยืนยันว่าเรือได้ด�ำเนินการอย่างเหมาะสมในการควบคุมความเสี่ยงทาง สาธารณสขุ และทำ� ใหเ้ หน็ ภาพรวมการทำ� งานของเรอื ระบบมาตรการของเรอื ทน่ี ำ� ไปใช้ โดยทวั่ ไปเจา้ หนา้ ทต่ี รวจ เรอื จะระบคุ วามเสย่ี งจากกจิ กรรมตา่ งๆ บนเรอื และประสทิ ธภิ าพในการประเมนิ ความเสย่ี งของเจา้ ของเรอื และ คมู่ ือการตรวจและการออกเอกสารรบั รองสขุ าภิบาลเรือ 27 Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

มาตรการควบคมุ ทเี่ รอื ใช้ ทงั้ การประเมนิ ขนั้ ตอนการปฏบิ ตั งิ านและขอบเขตการนำ� ไปปฏบิ ตั ิ โดยเฉพาะการตรวจ เรอื ควรกำ� หนดใหผ้ ปู้ ระกอบการเรอื หรอื ผบู้ งั คบั การเรอื ระบภุ าวะอนั ตรายตา่ งทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ประเมนิ ความเสยี่ งทาง สขุ ภาพและมาตรการควบคมุ ในการจดั การกบั ความเสยี่ งทเี่ หมาะสมในการออกเอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรอื (SSCs) ท่าเรือควรมีเจ้าหน้าที่ท่ีผ่านการฝึกอบรมและพร้อมข้ึนปฏิบัติงานตรวจเรือ เพื่อระบุความเสี่ยงทาง สาธารณสขุ และสงั่ ด�ำเนนิ มาตรการในการควบคุมก่อนเรือเข้าเทยี บท่า ผตู้ รวจเรือจ�ำเป็นต้องบริหารจดั การและ ดำ� เนินการตามขน้ั ตอนตา่ งๆ เพื่อให้การตรวจเรือมปี ระสทิ ธภิ าพและมีความปลอดภยั ผู้ตรวจควรปฏิบัติตามข้ัน ตอนทถี่ กู ตอ้ งและเหมาะสม เพือ่ ความปลอดภัยท้งั ขณะเรอื อย่ทู ที่ ่า ขณะเทียบทา่ และขณะขนึ้ ตรวจเรือ ถา้ ตอ้ ง ออกเอกกสารใหม่ ทกุ พน้ื ทตี่ อ้ งไดร้ บั การตรวจตามลำ� ดบั กอ่ น หลงั เพอื่ ปอ้ งกนั การปนเปอ้ื นขา้ มพนื้ ทจ่ี ากขน้ั ตอน การตรวจ (อธบิ ายในภาคผนวก 3) กอ่ นการขึน้ ตรวจเรือ ถา้ เปน็ ไปได้ผู้บังคบั การเรอื จะไดร้ ับขอ้ มูล แจ้งวัตถปุ ระสงคข์ องการตรวจเรอื คำ� แนะน�ำในการเตรียมเอกสารท่ีจ�ำเป็นต่างๆ รวมท้ัง จัดเจ้าหน้าที่ผู้ประสานงานบนเรือเพ่ืออ�ำนวยความสะดวก ต่างๆ ขณะท�ำการตรวจเรือ โดยทั่วไป การตรวจเรือควรมีการพดู คุยเบือ้ งต้นกับผู้ประกอบการเรือ ตัวแทน หรือ ผู้บังคับการเรือ ในเร่ืองระบบสุขาภิบาลบนเรือและขั้นตอนการตรวจ รวมท้ังเอกสารต่างๆ จากเจ้าหน้าที่ผู้มี อำ� นาจท่ีสง่ ให้ผบู้ งั คับการเรือ หรือ ตัวแทนตรวจสอบก่อนทีจ่ ะทำ� การตรวจเรือ หากการประเมนิ ความเส่ยี งและ ระบบจดั การความเสยี่ งของเรอื ไมเ่ ปน็ ทนี่ า่ พอใจ หลกั ฐานการดำ� เนนิ งานไมเ่ พยี งพอ หรอื ตรวจพบอนั ตรายทคี่ าด ไม่ถงึ เจ้าหน้าท่ผี ู้ตรวจควรปรกึ ษาหารอื เร่ืองต่างๆ ดังกล่าว เพอื่ หาข้อสรปุ กบั ผู้ประกอบการเรอื ตวั แทน หรือ ผบู้ งั คับการเรอื การปรึกษาหารือน้ัน ควรประกอบดว้ ย รายงานการตรวจครง้ั กอ่ นหนา้ เอกสารต่างๆ ในปัจจุบัน ท่ีมีความสมั พันธ์กบั ปัญหา และกระบวนการทกุ อย่างทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั การจดั การอาหารและน�้ำบนเรือ หลงั จากการสรปุ ปญั หาตา่ งๆ ทไ่ี มเ่ ปน็ ไปตามเอกสาร หรอื ไมส่ อดคลอ้ งกบั เอกสาร (เชน่ คมู่ อื สขุ าภบิ าล เรอื ขององคก์ ารอนามยั โลก) เจา้ หนา้ ทผี่ ตู้ รวจควรยนื ยนั ดว้ ยการเขยี นบนั ทกึ ลงในแบบฟอรม์ การรายงานหลกั ฐาน (Evidence Report Form) (ดูภาคผนวก 7) พร้อมค�ำแนะน�ำที่ให้แก้ไข รวมท้ังระยะเวลาที่คาดหมายว่าจะ ดำ� เนนิ การแกไ้ ขสำ� เรจ็ หากมาตรการควบคมุ มบี นั ทกึ อยแู่ ลว้ ในเอกสารรบั รองการควบคมุ สขุ าภบิ าลเรอื (SSCC) หรอื แบบฟอรม์ การรายงานหลักฐาน (Evidence Report Form) (ดูภาคผนวก 7) เจ้าหน้าท่ีผู้ตรวจควรยืนยันความถูกต้อง ในมาตรการนนั้ วา่ ไดร้ บั การดำ� เนนิ การเรียบร้อยแลว้ หากปัญหาต่างๆ จากการตรวจพบและมาตรการควบคุม ยงั ดำ� เนนิ การใหผ้ ลไมเ่ ปน็ ทน่ี า่ พอใจ เจา้ หนา้ ทผ่ี มู้ อี ำ� นวจควรบนั ทกึ ผลเหลา่ นนั้ ลงในเอกสารรบั รองการควบคมุ สขุ าภบิ าลเรอื (SSCC) 4.1 การทบทวนเอกสาร (Documentation review) มจี ดุ ประสงคเ์ พอื่ ใหม้ กี ารตรวจสอบขอ้ มลู เรอื สนิ คา้ บรรทกุ และความเสย่ี งทางสาธารณสขุ ทเี่ ปน็ ไปไดซ้ ง่ึ เปน็ สงิ่ จำ� เปน็ โดยขอ้ มลู และเอกสารตา่ งๆ ทรี่ อ้ งขอจากผปู้ ระกอบการเรอื ควรจำ� กดั เฉพาะเอกสารทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ความเส่ยี งทางสาธารณสุขเทา่ นั้น เอกสารดา้ นสุขภาพ ควรปฏิบตั ิตามขอ้ แนะนำ� ของกฎอนามยั ระหว่างประเทศ (IHR 2005) และเอกสาร ตามขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศอน่ื ๆ อาทิ การประชมุ องคก์ ารการเดนิ เรอื ระหวา่ งประเทศ (IMO) ซงึ่ มเี นอ้ื หาเกยี่ วกบั การปอ้ งกนั ผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มและสขุ าภบิ าลโดยทว่ั ไป (เชน่ การประชมุ ระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั มลภาวะจากเรือ [MARPOL] ค.ศ.1973 ปรับแก้ไขเม่ือ ค.ศ.1978 และการประชุมการอ�ำนวยความสะดวก การสัญจรทางเรือเดนิ สมทุ ร ค.ศ.1965 ตามทแี่ ก้ไขเพิม่ เติม ค.ศ.2006) 28 คมู่ อื การตรวจและการออกเอกสารรับรองสขุ าภบิ าลเรอื Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

เพอื่ ชว่ ยใหผ้ บู้ งั คบั การเรอื ไดเ้ ตรยี มการสำ� หรบั การตรวจเรอื รายการเอกสารทง้ั หมดควรแจง้ และสง่ ลว่ งหนา้ โดยผู้มีอ�ำนาจระดับประเทศ (หรือ แจ้งไปยังตัวแทนการเดินเรือ) ก่อนเจ้าหน้าท่ีผู้มีอ�ำนาจประจ�ำท่าเรือจะ ขึน้ ตรวจเรอื เอกสารส�ำแดงสุขอนามัยของพาหนะทางน�ำ้ (The Maritime Declaration of Health) (ดูรปู แบบ ตามทร่ี ะบุในกฎอนามัยระหว่างประเทศ ภาคผนวก 8) ประกอบดว้ ย ข้อมลู พนื้ ฐานทีแ่ สดงสถานะทางสขุ ภาพ ของลกู เรอื และผู้โดยสาร ระหวา่ งการเดนิ เรอื และเม่ือเรือมาเทยี บท่า และระบขุ อ้ มูลที่สำ� คญั ดงั ต่อไปนี้ • ลกั ษณะเฉพาะของเรือ • รายชื่อทา่ เรอื ทเี่ ขา้ เทียบท่าภายในระยะเวลา 30 วนั ทีผ่ ่านมา • รายชื่อลกู เรอื และผโู้ ดยสารภายในระยะเวลา 30 วนั ท่ีผ่านมา • ความถกู ต้องของเอกสารรบั รองสุขาภิบาลเรอื (SSC) ท่มี ีอยู่ และท่มี ีการตรวจเรือซ้�ำ • พืน้ ที่ที่ไดร้ ับผลกระทบจากท่เี รือแวะพกั เอกสารรับรองสุขาภิบาลเรือ (SSC) (ดูรูปแบบตามที่ระบุในกฎอนามัยระหว่างประเทศ ภาคผนวก 3) จะระบุพื้นที่ท่ีมีความเสี่ยงทางสาธารณสุข และมาตรการควบคุมต่างๆ ท่ีใช้เอกสารรับรองการรับวัคซีนหรือยา ปอ้ งกนั โรคระหว่างประเทศ (The International Certificate of Vaccination or Prophylaxis) (ตามรูปแบบ ทีร่ ะบุในกฎอนามยั ระหว่างประเทศ ภาคผนวก 6) นนั้ มไี ว้เพื่อเป็นการยืนยนั แสดงว่าลกู เรอื และผู้โดยสารไดร้ ับ วคั ซนี หรือยาป้องกนั โรค ตามขอ้ กำ� หนดในการเข้าราชอาณาจกั ร เอกสารดงั ต่อไปนีเ้ ป็นเอกสารทีม่ รี ายชอื่ อยูใ่ น การประชมุ การอำ� นวยความสะดวกของการสญั จรดว้ ยการเดนิ สมทุ รระหว่างประเทศ ค.ศ.1965 (แก้ไขเพิ่มเติม ค.ศ.2006) ทจี่ �ำเปน็ ต้องมี เพื่อเจ้าหน้าที่ผู้มีอ�ำนาจใช้ในการประเมินความเสยี่ งทางสาธารณสุข • การสำ� แดงโดยทัว่ ไป (General Declaration) เพอ่ื ดขู ้อมลู ส�ำคญั เกี่ยวกบั ชอ่ื เรือ ชนดิ และธงเรอื ขอ้ มลู สำ� คัญของเรอื เกยี่ วกบั การจัดการของเสยี กากของเสยี รวมท้งั รายละเอียดส�ำคัญต่างๆ ของเรอื โดยย่อ • การสำ� แดงสินค้า และการส�ำแดงห้องเกบ็ เสบยี งบนเรือ (Cargo Declaration and Ship’s Stores Declaration) เป็นข้อมูลสินค้าบรรทุก (เช่น ท่าเรอื ท่รี ับและลงสินคา้ บรรทกุ รายละเอยี ดของสนิ คา้ ) • บญั ชแี สดงสนิ คา้ อนั ตราย (Dangerous Goods Manifest) เปน็ ขอ้ มลู รายละเอยี ดของสนิ คา้ อนั ตราย (เชน่ ความเส่ยี งทจี่ ะเป็นอนั ตราย จ�ำนวนสินค้าอนั ตราย พืน้ ท่ีจดั เกบ็ บนเรอื ) และขอ้ มลู เพิม่ เติม ตอ่ ไปนี้ • การวางแผนจดั การบนเรอื เชน่ นำ้� สำ� หรบั อปุ โภคบรโิ ภค อาหารปลอดภยั ของเสยี และนำ�้ เสยี จากเรอื • แบบรายงานนำ้� อบั เฉาเรอื ตามองคก์ ารการเดนิ เรอื ระหวา่ งประเทศ (IMO Ballast Water Reporting Form) • บนั ทกึ ทางการแพทย์ เปน็ ขอ้ มลู เหตกุ ารณท์ างสาธารณสขุ ทเี่ กดิ บนเรอื ภายใตก้ ฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ • บญั ชีรายช่อื ยา ปริมาณของยาประจำ� ห้องพยาบาลหรอื ตู้ยาประจ�ำเรอื • แบบรายงานการวเิ คราะหน์ �้ำบรโิ ภค (Potable Water Analysis Report) ทีเ่ ป็นผลตรวจจุลชพี และสารเคมขี องน้�ำบริโภคบนเรือ เจา้ หนา้ ทผี่ มู้ อี ำ� นาจควรจดั ทำ� ขน้ั ตอนการสง่ ขอ้ มลู ตา่ งๆ ตง้ั แตก่ อ่ นเรอื เขา้ เทยี บทา่ และกอ่ นออกจากทา่ เพือ่ ใหก้ ระบวนท�ำงานดำ� เนินการไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ 4.2 การดำ� เนินการตรวจ (Inspection process) การตรวจจะด�ำเนินการจากการสังเกต ตรวจตราพ้ืนที่ของเรือ กรณีเรือต้องการเอกสารการรับรอง ฉบบั ใหม่ ทกุ พนื้ ทใ่ี นรายการตามเอกสาร (ดภู าคผนวก 3) ตอ้ งไดร้ บั การตรวจสอบ จดุ ประสงคห์ ลกั ของการตรวจสอบ เพอื่ ยนื ยนั วา่ จดุ ควบคมุ ทรี่ ะบไุ วม้ กี ารใชม้ าตรการควบคมุ ถกู ใชอ้ ยา่ งเหมาะสม ขณะตรวจเรอื หรอื ทา่ เรอื เจา้ หนา้ ท่ี ผตู้ รวจเรอื ตอ้ งสวมใสช่ ดุ ทแ่ี สดงตนอยา่ งเหมาะสม เสอื้ ผา้ และอปุ กรณป์ อ้ งกนั ตวั สว่ นบคุ คล รวมทง้ั อปุ กรณท์ ไ่ี ม่ จ�ำกดั เฉพาะ เช่น เสื้อชชู ีพ หมวกนิรภัย รองเทา้ บูทนริ ภัย สขี องเส้ือผา้ ที่มองเห็นไดอ้ ยา่ งชัดเจน อุปกรณป์ ้องกัน คมู่ อื การตรวจและการออกเอกสารรับรองสขุ าภิบาลเรอื 29 Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

ระบบทางเดนิ หายใจ ปอ้ งกันหจู ากเสยี งดังท่เี ปน็ อนั ตราย ถงุ มือยาง แวน่ ตานิรภัย หนา้ กากอนามัย โดยอุปกรณ์ ทั้งหมดควรใช้คร้ังเดียวท้ิงตามความจ�ำเป็น การแสดงตัวเม่ือขึ้นตรวจเรือเป็นการรักษาความปลอดภัยให้กับ เจ้าหน้าท่ที ่าเรือทมี่ อี ำ� นาจและผปู้ ระกอบการเรอื ซงึ่ เปน็ การได้รับการยินยอมกอ่ นเรมิ่ ท�ำการตรวจเรือ โดยท่ัวไป ผู้ตรวจจะเร่ิมจากการแนะน�ำทีม แจ้งวัตถุประสงค์ของการตรวจ และก�ำหนดการตรวจให้ กบั ผ้บู งั คับการเรอื ผู้ตรวจจะได้รบั ข้อมูลเก่ยี วกับมาตรการ กฎความปลอดภัยตา่ งๆ ทต่ี อ้ งถือปฏบิ ัตบิ นเรือจาก ผู้บังคับการเรือ ซ่ึงการแลกเปลี่ยนข้อมูลรวมทั้งการตรวจสอบทบทวนเอกสารต่างๆ ควรท�ำในพ้ืนที่ที่จัดไว้เป็น สดั สว่ น หากเป็นไปได้ การตรวจพน้ื ทใ่ี ดกอ่ น หลงั (ภาคผนวก 3) เปน็ ไปตามดลุ พนิ จิ ของผตู้ รวจ อยา่ งไรกต็ ามตอ้ งพจิ ารณา หลกี เลยี่ งการตรวจทอี่ าจเกดิ การปนเปอ้ื นขา้ มพน้ื ที่ รวมทงั้ ผตู้ รวจตอ้ งมคี วามสะอาดสว่ นบคุ คล สวมใสเ่ สอื้ ผา้ ที่ สะอาด และคำ� นงึ ถงึ สถานะสขุ ภาพของผตู้ รวจเรอื ดว้ ย หากมกี ารออกเอกสารรบั รองฉบบั ใหม่ ทกุ พน้ื ทต่ี อ้ งมกี าร ตรวจสอบ ถา้ หากระวางบรรทกุ สนิ คา้ ของเรอื ถกู ใชอ้ ยู่ สนิ คา้ บรรทกุ ควรไดร้ บั การตรวจสอบ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ อาจพบพาหะนำ� โรค ถา้ มบี คุ ลาการเพยี งพอควรแยกตรวจพนื้ ทตี่ า่ งๆ โดยพจิ ารณาจากระยะเวลา จำ� นวนผตู้ รวจ ขนาด และชนดิ ของเรอื พนื้ ทก่ี ารตรวจ หลกั ฐานทพ่ี บ ขอ้ มลู สำ� คญั และมาตรการควบคมุ ทเ่ี หมาะสมจะระบใุ นรายการตรวจสอบ ของคมู่ อื นี้ ซงึ่ คมู่ อื นส้ี ามารถชว่ ยระบขุ อ้ บกพรอ่ ง และการไมป่ ฏบิ ตั ติ าม เพอื่ พจิ าณากอ่ นทจี่ ะออกเอกสารรบั รอง 4.3 การเกบ็ ตวั อย่าง (Taking samples) รปู แบบของเอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรอื (SSC) ตามกฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ (IHR 2005) ภาคผนวก 3 มี columns สำ� หรบั การบนั ทกึ “ผลการตรวจตวั อยา่ ง” เปน็ สว่ นหนง่ึ ของการตรวจและการบนั ทกึ ขอ้ มลู ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง อย่างไรก็ตาม ตวั อยา่ งเหล่านน้ั อาจไม่จ�ำเปน็ ท้งั หมดตามกฎอนามัยระหวา่ งประเทศ (IHR 2005) ตวั อย่างทีจ่ ะ ต้องเก็บและวเิ คราะหน์ ั้นขนึ้ อยกู่ ับปัจจัยตา่ งๆ เช่น บรบิ ท สภาพแวดลอ้ ม หลักฐานท่ีพบโดยผ้ตู รวจในระหว่าง การตรวจ ธรรมชาติความเส่ียงทางสาธารณสุข รวมท้ังเทคนิคการตรวจท่ีดี เช่น การเก็บตัวอย่างน้�ำจากระบบ ท�ำความเยน็ ของนำ�้ บริโภคทีอ่ ุณหภูมิสูงกว่า 25 องศาเซลเซยี ส ท่ีมีความเส่ยี งในการปนเปื้อนเชอื้ Legionella การปนเปอื้ นท่ีเปน็ อันตรายอืน่ ๆ นอกจากการปนเปื้อนจุลชพี (เช่น จากสารเคมีหรือกมั มนั ตรังส)ี อาจ ตรวจพบบนเรือได้ วธิ กี ารเกบ็ ตวั อย่างประเภทน้อี ธบิ ายอยูใ่ น คมู่ อื สุขาภิบาลเรือขององค์การอนามัยโลก (WHO Guide to ship sanitation) หากผลการตรวจตวั อยา่ งยงั ไมอ่ อก เอกสารรบั รองการควบคมุ สขุ าภบิ าลเรอื (SSCC) ต้องบนั ทกึ ก�ำกับว่า “อยู่ระหว่างรอผล” ในเอกสารรับรอง โดยท่ัวไป เม่อื มอี าการหรอื อาการแสดงทางคลกิ นกิ ของภาวะเจบ็ ปว่ ยหรือโรค หลักฐานความเสย่ี งทาง สาธารณสุข (อันประกอบด้วยแหล่งติดเชื้อและการปนเปื้อน) ถูกพบบนเรือ หรือความเส่ียงทางสาธารณสุขน้ัน ได้รับการยืนยันว่าเกิดข้ึนแล้วบนเรือ เจ้าหน้าที่ผู้มีอ�ำนาจจะพิจารณามาตรการทางสาธารณสุขท่ีเหมาะสมที่จะ นำ� ไปใช้ ดว้ ยเคร่อื งมือและวธิ กี ารท่ีองคก์ ารอนามัยโลกแนะนำ� ไว้ นอกจากเจ้าหน้าท่ผี ูม้ อี ำ� นาจพจิ ารณาแลว้ เห็น วา่ เคร่ืองมือ วิธีการอนื่ นน้ั ปลอดภยั และมคี วามนา่ เชือ่ ถือเชน่ กัน 4.4 การออกเอกสารรบั รอง (Issue of certificates) เอกสารรบั รองการยกเวน้ การควบคมุ สขุ าภบิ าลเรอื (SSCECs) และเอกสารรบั รองการควบคมุ สขุ าภบิ าล เรอื (SSCCs) ประกอบด้วย 2 ส่วน สว่ นแรก เป็นรปู แบบเอกสารรบั รองท่แี สดงพนื้ ท่ีบนเรือทจ่ี ะตอ้ งตรวจ และ สว่ นทสี่ อง เปน็ ใบแนบเอกสารอา้ งองิ ของระบบจดั การเรอื่ งอาหาร นำ�้ บรโิ ภค การจดั การของเสยี สระวา่ ยนำ�้ สปา เวชภณั ฑท์ างการแพทยแ์ ละสงิ่ อ�ำนวยความสะดวกอ่ืนๆ ทตี่ ้องตรวจสอบอย่างละเอยี ด ตามขนาด ประเภทของ เรอื ซ่งึ แบบฟอรม์ การรายงานหลกั ฐานยังใชบ้ ันทึกรายการหลักฐานที่ตรวจพบและมาตรการท่ใี ชร้ ะบุ 30 คูม่ ือการตรวจและการออกเอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรือ Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

หลงั การตรวจ เจ้าหน้าทีผ่ ูต้ รวจจะสรปุ ผลใหก้ บั ผูบ้ งั คับการเรือก่อนการออกเอกสารรบั รองสุขาภิบาลเรอื (SCC) เพ่ือใหผ้ บู้ ังคับการเรอื หรือ ตวั แทนได้มีเวลาแก้ไขข้อบกพรอ่ งและนำ� สง่ เอกสารที่จ�ำเปน็ ส�ำหรับการตรวจอีกคร้งั ก่อนออกเอกสารรับรอง ท้ังเอกสารรับรองการยกเว้นการควบคุมสุขาภิบาลเรือ (SSCECs) และเอกสารรับรอง การควบคุมสุขาภิบาลเรือ (SSCC) (ผังการด�ำเนินงานในกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR 2005) มาตรา 39 ภาคผนวก 2) เมื่อข้อบกพร่องต่างๆ ได้รับการดูแลจัดการแก้ไขแล้ว ค�ำแนะน�ำในการออกเอกสารรับรองให้ สมบูรณ์ มดี ังน้ี • ขดี ฆา่ ขอ้ ความทไ่ี มต่ อ้ งการในเอกสารรบั รอง (ทง้ั เอกสารรบั รองการยกเวน้ การควบคมุ สขุ าภบิ าลเรอื และเอกสารรบั รองการควบคมุ สขุ าภบิ าลเรอื ) • เตมิ ข้อมลู ท่จี �ำเปน็ ลงในทั้ง 2 ตาราง (ช่อื เรอื ธงประจำ� เรอื เป็นต้น) • เลอื กตารางทจี่ ะน�ำไปใช้ (ซ้าย: เอกสารรบั รองการยกเว้นการควบคุมสขุ าภบิ าลเรอื ขวา: เอกสาร รบั รองการควบคมุ สุขาภบิ าลเรอื ) • ในตารางเตมิ ช่องว่าง ทกุ Columns ให้สมบรู ณ์ • เขยี นให้อ่านง่าย ชดั เจนโดยใช้ค�ำตามบญั ชีรายการในหนงั สอื คมู่ ือนี้ • ใช้แบบฟอร์มรายงานหลักฐาน (Evidence Report Form) หากมีท่ีว่างไม่พอส�ำหรับการบันทึก ข้อมลู ในเอกสารรบั รองการควบคุมสุขาภบิ าลเรอื (SSCC) • บนั ทึกพนื้ ที่ทไ่ี มม่ ใี หต้ รวจ ด้วยค�ำวา่ “N/A” • ใช้ค�ำว่า “ไม่พบ (None) หรอื ไมม่ ี (Nil)” ในพืน้ ทถี่ ้าตรวจไมพ่ บหลักฐานใดๆ • บนั ทกึ รายชอื่ เอกสารทีไ่ ดร้ ับการตรวจทบทวน • ใชค้ �ำวา่ “ไม่พบ (None) หรือ ไมม่ ี (Nil)” หากไม่มีเอกสารนั้นให้ตรวจทบทวน • แสดงผลการตรวจตวั อย่างใหช้ ดั เจนว่า “ใช่ (Yes)” หรือ “ไม่ (No)” • หากมกี ารเกบ็ ตวั อยา่ งสง่ ตรวจ และยงั ไมไ่ ดผ้ ล ใหบ้ นั ทกึ “รอผลตวั อยา่ ง (Sample results pending)” • ลงนาม (ระบตุ ัวเจ้าหน้าทผี่ ู้ตรวจ) วันที่ และประทบั ตราเอกสารรับรอง • ตรวจสอบเพอ่ื มนั่ ใจวา่ เอกสารรบั รองทเ่ี ขียนท้ังหมดนั้นถูกต้อง อา่ นง่าย และชัดเจน • ตรวจสอบเพื่อมนั่ ใจว่าใชภ้ าษาอังกฤษเปน็ อย่างน้อยหนึ่งภาษาในเอกสารรบั รอง หากมกี ารตรวจเรอื ทม่ี เี อกสารรบั รองทย่ี งั ไมห่ มดอายซุ ำ�้ ควรใชแ้ บบฟอรม์ การรายงานหลกั ฐาน เพอื่ บนั ทกึ ขอ้ มลู ทต่ี รวจพบใหม่ แนบคไู่ ปกบั เอกสารรบั รองตน้ ฉบบั โดยประทบั ตราตามทแี่ สดงไวใ้ นบทที่ 4.4.4 และลงนามผตู้ รวจ โดยในใบแนบต้องอ้างถงึ เอกสารรบั รองต้นฉบบั ดว้ ย 4.4.1 เอกสารรบั รองการควบคุมสขุ าภบิ าลเรือ (Ship Sanitation Control Certificate : SSCC) เอกสารรบั รองการควบคมุ สขุ าภบิ าลเรอื (SSCC) ออกเมอื่ หลกั ฐานความเสย่ี งทางสาธารณสขุ ประกอบ ดว้ ย แหลง่ ตดิ เชอื้ และการปนเปอ้ื น ถกู ตรวจพบบนเรอื และมกี ารใชม้ าตรการควบคมุ ไดผ้ ลเปน็ ทน่ี า่ พอใจ เอกสาร รับรองการควบคุมสุขาภิบาลเรือ (SSCC) จะใช้บันทึกหลักฐานท่ีตรวจพบ ระบุมาตรการควบคุมที่ใช้ การเก็บ ตัวอยา่ งส่งตรวจและผลตรวจ (ถา้ มี) และแบบฟอรม์ การรายงานหลกั ฐาน (Evidence Report Form) สามารถ แนบคไู่ ปไดห้ ากจำ� เปน็ และหากสภาวการณท์ ใี่ ชม้ าตรการควบคมุ ในความเหน็ ของเจา้ หนา้ ทผ่ี มู้ อี ำ� นาจทที่ า่ เรอื ไม่ เป็นทน่ี า่ พอใจ เจ้าหน้าทีผ่ ้มู อี ำ� นาจจะตอ้ งบันทึกผลลงในเอกสารรับรอง การบนั ทึกตอ้ งระบุหลกั ฐานความเส่ียง ทางสาธารณสุขบนเรอื ทัง้ หมด และมาตรการควบคุมท่คี วรใช้ทท่ี า่ เรือถัดไป หากเรอื ไดร้ ับอนญุ าตให้ออกจากท่า และเมอ่ื ใดกต็ ามทเ่ี รอื ออกจากทา่ เจา้ หนา้ ทผี่ มู้ อี ำ� นาจตอ้ งแจง้ ขอ้ มลู ไปยงั ทา่ เรอื ปลายทางถดั ไปใหท้ ราบ ดว้ ยวธิ ี การสอื่ สารทรี่ วดเร็ว (เช่น E-mail Fax โทรศพั ท)์ ว่าตรวจพบหลักฐานชนิดใดและระบุมาตรการทีใ่ ชค้ วบคมุ โดย คู่มือการตรวจและการออกเอกสารรบั รองสุขาภบิ าลเรอื 31 Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

เฉพาะอยา่ งยงิ่ ถ้าเปน็ ความเสี่ยงทางสาธารณสุขทอ่ี าจแพรก่ ระจายระหว่างประเทศ หรอื มีอนั ตรายโดยตรงและ รุนแรงตอ่ ประชากรมนษุ ย์ ในการออกเอกสารรบั รองการควบคมุ สุขาภิบาลเรอื (SSCC) ควรระบหุ ลกั ฐานความ เสยี่ งทางสาธารณสุขทพ่ี บ มาตรการควบคมุ ท่ใี ช้ รวมทงั้ บนั ทกึ รอผลการเกบ็ ตวั อยา่ ง 4.4.2 เอกสารรับรองการยกเว้นการควบคุมสุขาภิบาลเรือ (Ship Sanitation Control Exemption Certificate: SSCEC) ตามกฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ (IHR 2005) เอกสารรบั รองการยกเวน้ การควบคมุ สขุ าภบิ าลเรอื (SSCEC) ออกเมอื่ ไมพ่ บหลกั ฐานความเสย่ี งทางสาธารณสขุ บนเรอื และเจา้ หนา้ ทผ่ี มู้ อี ำ� นาจแนใ่ จวา่ เรอื ไมม่ กี ารตดิ เชอ้ื และ การปนเปอ้ื น จากพาหะและแหลง่ นำ� โรค เอกสารรบั รองนปี้ กตอิ อกใหก้ ต็ อ่ เมอ่ื มกี ารตรวจขณะทเ่ี รอื และระวางสนิ คา้ บรรทกุ เรอื วา่ ง หรอื มเี ฉพาะนำ้� อบั เฉาเรอื หรอื วตั ถอุ นื่ ๆ ทสี่ ามารถตรวจพบไดท้ รี่ ะวางสนิ คา้ บรรทกุ เรอื (กฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ มาตรา 39) ถงึ แมว้ า่ จะมเี อกสารรบั รองการยกเวน้ การควบคมุ สขุ าภบิ าลเรอื (SSCEC) ทมี่ ผี ลใชบ้ งั คบั หรอื ทต่ี อ่ อายถุ กู ตอ้ งตามกฎอนามยั ระหวา่ งประเทศแลว้ นน้ั ผตู้ รวจยงั ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ สถานการณ์ หรอื สภาพแวดลอ้ ม ตา่ งๆ ตามทร่ี ะบไุ วใ้ นกฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ มาตรา 23 27 และภาคผนวก 4 (เชน่ หากการประเมนิ ผลลว่ งหนา้ มกี ารระบวุ า่ พบความเสย่ี งทางสาธารณสขุ บนเรอื ) 4.4.3 การตอ่ อายเุ อกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรอื (Extension of Ship Sanitation Certificates: ) เอกสารรบั รองการยกเวน้ การควบคมุ สขุ าภบิ าลเรอื (SSCECs) และเอกสารรบั รองการควบคมุ สขุ าภบิ าล เรอื (SSCCs) มอี ายใุ ชไ้ ด้ 6 เดอื น อาจมกี ารตอ่ อายอุ อกไดอ้ กี 1 เดอื น หากการตรวจหรอื มาตรการควบคมุ ทต่ี อ้ งการไม่ สามารถทำ� ไดท้ ที่ า่ เรอื นนั้ อยา่ งไรกต็ ามหากเรอื มคี วามเสยี่ งสงู ทจี่ ะมกี ารแพรก่ ระจายเชอ้ื โรค การฆา่ เชอ้ื การกำ� จดั สงิ่ ปนเปอ้ื น การกำ� จดั แมลง การกำ� จดั หนู หรอื มาตรการอนื่ ทใี่ ชใ้ นการปอ้ งกนั การแพรก่ ระจายเชอื้ หรอื การปนเปอ้ื นเปน็ สงิ่ จำ� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งดำ� เนนิ การ ณ ทา่ เรอื ถดั ไป โดยทนั ทท่ี เี่ รอื ออกจากทา่ เจา้ หนา้ ทผี่ มู้ อี ำ� นาจจะแจง้ เจา้ หนา้ ทผี่ มู้ อี ำ� นาจ ของทา่ เรอื ถดั ไปใหท้ ราบถงึ หลกั ฐานทต่ี รวจพบและมาตรการควบคมุ ทใ่ี ชด้ ำ� เนนิ การตอ่ อายนุ ี้ เพอื่ อนญุ าตใหเ้ รอื เดนิ ทาง ไปยงั ทที่ เี่ รอื สามารถตรวจและดำ� เนนิ มาตรการควบคมุ ทจ่ี ำ� เปน็ ได้ โดยไมต่ อ้ งเดนิ ทางดว้ ยเอกสารรบั รองทหี่ มดอายุ นอกจากนกี้ ารตอ่ อายยุ งั ยนิ ยอมใหต้ อ่ อายเุ อกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรอื (SSC) ไดก้ อ่ นหมดอายุ 30 วนั แต่ ไมอ่ าจตอ่ อายใุ หน้ านเกนิ 30 วนั หลงั วนั หมดอายุ (กฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ มาตรา 39) ใช้ “ตราประทบั การตอ่ อายุ (extension stamp)” ประทบั ลงในเอกสารรบั รองดงั ทแี่ สดงไวด้ า้ นลา่ งรว่ มกนั ระหวา่ งเจา้ หนา้ ทผ่ี มู้ อี ำ� นาจดว้ ยกนั 4.4.4 แบบฟอรม์ รายงานหลักฐาน (Evidence Report Form) แบบฟอร์มรายงานหลักฐาน (ดูภาคผนวก 7) ใช้เป็นเอกสารหลักฐานความเสี่ยงทางสาธารณสุขท่ี พบขณะตรวจ และสามารถอธิบายมาตรการควบคุมหรือการแก้ไขท่ีได้ด�ำเนินการ ใช้ค�ำว่า “ต้องด�ำเนินการ (require)” และ “ขอ้ แนะนำ� (recommended)” ตามหลกั ฐานทพ่ี บ ตวั อยา่ งทสี่ มุ่ เกบ็ ตรวจและเอกสารทต่ี รวจ ทบทวน โดยเจา้ หนา้ ทผ่ี ทู้ ำ� การตรวจสง่ เอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรอื (SSC) และแนบแบบฟอรม์ รายงานหลกั ฐาน 32 คู่มอื การตรวจและการออกเอกสารรับรองสขุ าภบิ าลเรือ Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

ให้กับผู้บังคับการเรือ แบบฟอร์มรายงานหลักฐานที่ใช้ต้องบันทึกลงในเอกสารรับรองสุขาภิบาลเรือ (SSC) โดยใช้ “ตราประทับการแนบเอกสาร (attachment stamp)” ดังทแี่ สดงไวด้ า้ นลา่ งประทบั ลงในเอกสารรับรอง เปน็ มาตรฐานรว่ มกนั ระหว่างเจา้ หน้าท่ผี ู้มีอำ� นาจด้วยกัน มาตรการควบคมุ บางอยา่ งจำ� เปน็ ตอ้ งดำ� เนนิ การอยา่ งรวดเรว็ เพอื่ หลกี เลย่ี งการแพรก่ ระจายของเชอื้ โรค และเพอ่ื ควบคมุ อนั ตรายทมี่ ผี ลโดยตรงและรนุ แรง มาตรการควบคมุ ทใ่ี ชด้ ำ� เนนิ การนนั้ จะมผี ลในการออกเอกสาร รบั รองการควบคมุ สขุ าภิบาลเรือ (SSCC) ด้วย จากการประเมนิ ความเสี่ยงของเจา้ หน้าทผ่ี มู้ อี �ำนาจขณะทำ� การ ตรวจเรือ ลูกเรือและผู้ประกอบการเรือควรปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำในมาตรการป้องกันเพ่ือหลีกเลี่ยงความเส่ียงที่ อาจเกดิ ข้ึน หลกั เกณฑ์และกฎขอ้ บงั คบั ระหว่างประเทศตา่ งๆ ถูกใช้เปน็ พื้นฐานในการจำ� กดั ความของมาตรการว่า “ตอ้ งดำ� เนนิ การ (require)” หรอื “ขอ้ แนะนำ� (recommended)” ถา้ ใชค้ ำ� วา่ “ควรจะ (shall)” มาตรการน้ี ขอ้ ตกลงจากการประชมุ ระหวา่ งประเทศ หลกั เกณฑแ์ ละกฎขอ้ บงั คบั ตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ถอื วา่ เปน็ มาตรการที่ “ตอ้ ง ด�ำเนนิ การ (require)” เช่น การประชมุ เร่อื งอาหารและการประกอบอาหารส�ำหรบั ลกู เรอื ขององคก์ ารแรงงาน ระหวา่ งประเทศ (International Labour Organization: ILO) (NO.68) ไดใ้ หร้ ายละเอยี ดตง้ั แตก่ ารเตรยี มเสบยี ง สถานทแี่ ละกระบวนการประกอบอาหาร เพอื่ สขุ อนามยั และความเปน็ อยทู่ ด่ี ขี องลกู เรอื ซง่ึ ในมาตรการระบใุ ชค้ ำ� ว่า “ควรจะ (shall)” ดงั นั้น หมายความวา่ มาตรการทีใ่ ช้ “ตอ้ งถูกด�ำเนินการ (require)” มาตรา (Articles) ทเี่ ผยแพรใ่ นวารสารวทิ ยาศาสตร์ (scientific journals) ระบวุ า่ ใหแ้ สดงหลกั ฐานความ เส่ียงทางสาธารณสุขที่ท�ำให้เกิดเหตุฉุกเฉินทางสาธารณสุข ณ ช่องทางเข้าออก หรือในยานพาหนะ รวมท้ังผล กระทบของเหตกุ ารณท์ เี่ ปน็ เหตใุ หใ้ ชม้ าตรการควบคมุ ทจี่ ำ� เพาะสำ� หรบั การควบคมุ ปอ้ งกนั การปนเปอ้ื นและการ ติดเชอื้ โดยมาตรการน้ี ใชพ้ ้นื ฐานทางวทิ ยาศาสตร์เพอื่ ก�ำหนดว่าควรใชม้ าตรการแบบใด เชน่ การระบาดใหญ่ ของโรคจากอาหาร ซ่ึงปกติส่วนใหญ่เกิดจากเช้ือโรคในอาหารท่ีปรุงด้วยอุณหภูมิไม่เหมาะสม ดังน้ัน มาตรการ ในการป้องกันควรค�ำนึงถึงการควบคุมอุณหภูมิของแหล่งวัตถุดิบ การเตรียมอาหาร การประกอบอาหาร และ ขน้ั ตอนการบรกิ ารซึ่งเป็นส่งิ สำ� คัญ มาตรการขอ้ อา้ งองิ จากหลกั ปฏบิ ตั สิ ากล เพอ่ื การควบคมุ การตดิ เชอื้ และการปนเปอ้ื นอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และมีประสิทธิผล ยานพาหนะท่ีได้รับผลกระทบและเอกสารรบั รองสุขาภบิ าลเรอื (Affected conveyances and Ship Sanitation Certificates) ตามกฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ มาตรา 27 และ 39 ยานพาหนะได้รบั ผลกระทบ ไดแ้ ก่ • ไมม่ ีเอกสารรับรองการยกเว้นการควบคุมสุขาภบิ าลเรือ (SSCEC) และเอกสารรบั รองการควบคุม สุขาภบิ าลเรอื (SSCC) ทมี่ ผี ลใชบ้ งั คบั • พบมอี าการและอาการแสดงการเจบ็ ปว่ ยหรอื โรค มหี ลกั ฐานความเสย่ี งทางสาธารณสขุ ประกอบดว้ ย แหลง่ ตดิ เชอ้ื และปนเปอ้ื น ในสถานการณน์ จ้ี ะถอื วา่ ยานพาหนะนน้ั เปน็ ยานพาหนะตดิ เชอ้ื แมจ้ ะมเี อกสารรบั รอง การยกเวน้ การควบคมุ สุขาภบิ าลเรอื (SSCECs) และเอกสารรบั รองการควบคุมสขุ าภบิ าลเรอื (SSCCs) หากเจ้าหน้าท่ีผู้มีอ�ำนาจไม่สามารถด�ำเนินการตามมาตรการควบคุม หรือมาตรการควบคุมไม่มี ประสทิ ธภิ าพ ควรระบไุ วอ้ ยา่ งชดั เจนในเอกสารแนบประกอบในเอกสารรบั รอง (เชน่ แบบฟอรม์ รายงานหลกั ฐาน ตามภาคผนวก 7) ซ่ึงเอกสารแนบควรมีรายละเอยี ดท่เี กี่ยวกบั หลักฐานความเสยี่ งทางสาธารณสขุ และมาตรการ ควบคมุ ทพี่ บ และควรทำ� เครอื่ งหมายในเอกสารแนบไวอ้ ยา่ งชดั เจนแนบกบั เอกสารรบั รองตน้ ฉบบั และมกี ารอา้ งองิ แบบโยง (cross-referenced) เชน่ วนั ท่แี ละทา่ เรอื ที่ออกเอกสารรบั รอง (ดภู าคผนวก 2) คมู่ ือการตรวจและการออกเอกสารรับรองสุขาภิบาลเรอื 33 Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

หลงั จากการตรวจเรอื ซำ้� ทท่ี า่ เรอื ถดั ไป ไดต้ รวจสอบวา่ มาตรการควบคมุ ทไี่ ดร้ บั การรอ้ งขอใหป้ ฏบิ ตั ขิ อง เจา้ หนา้ ทผี่ มู้ อี ำ� นาจจากทา่ เรอื กอ่ นหนา้ ถกู นำ� ไปปฏบิ ตั แิ ลว้ จะถกู บนั ทกึ ผลลงในเอกสารแนบ จากนนั้ เรอื จะไดร้ บั การพจิ ารณาวา่ ไมเ่ ปน็ เรือทีไ่ ด้รับผลกระทบภายใต้กฎอนามัยระหว่างประเทศ มาตรา 27 อกี ตอ่ ไป ยกเว้นวา่ ได้ ตรวจพบความเสี่ยงทางสาธารณสุขอื่นๆ อกี เม่อื ตรวจเรือซ้ำ� ซ่งึ วันท่ตี ามต้นฉบบั ของเอกสารรับรองการยกเว้น ยงั ใชไ้ ดต้ อ่ ไป เวน้ เสยี แตว่ า่ การตรวจอยา่ งเตม็ รปู แบบและการออกเอกสารรบั รองฉบบั ใหมน่ นั้ เปน็ ขอ้ ตกลงและ ร้องขอจากผบู้ งั คบั การเรือ 5. มาตรการควบคุม (Control Measures) เมื่อใดก็ตามที่พบหลักฐานความเสี่ยงทางสาธารณสุข เจ้าหน้าท่ีผู้มีอ�ำนาจควรตัดสินใจใช้มาตรการ ควบคุมท่ีเหมาะสมและค�ำนึงถึงมาตรการควบคุมที่มีอยู่ ซึ่งความเสี่ยงทางสาธารณสุขสามารถควบคุมได้ด้วย วิธีการที่หลากหลาย ดังน้ัน เจ้าหน้าท่ีผู้มีอำ� นาจต้องใช้มาตรการท่ีสมเหตุสมผลและปฏิบัติได้ ตามการประเมิน ความเสย่ี งควรหลกี เลย่ี งมาตรการทไี่ มจ่ ำ� เปน็ หรอื มาตรการทเี่ กนิ ขอบเขตไป และเมอ่ื มาตรการควบคมุ ถกู นำ� มาใช้ ตอ้ งค�ำนึงถงึ แหลง่ สนบั สนุนทางเทคนคิ และคา่ ใชจ้ า่ ย เมอ่ื ยงั มคี วามเสยี่ งทางสาธารณสขุ อยู่ ควรตอ้ งระบมุ าตรการควบคมุ ทล่ี ดความเสยี่ งลงสรู่ ะดบั ทยี่ อมรบั ได้ ผปู้ ระกอบการเรอื ตอ้ งรบั ผดิ ชอบการควบคมุ ความเสย่ี งบนเรอื อยา่ งไรกต็ ามเจา้ หนา้ ทผ่ี มู้ อี ำ� นาจควรระบมุ าตรการ ส�ำหรับการควบคมุ ที่เกีย่ วข้องและเหมาะสม มาตรการควบคุมความเสี่ยงทางสาธารณสุขบนเรือควรถูกน�ำไปใช้หลังจากที่บุคคลที่เกี่ยวข้องท้ังหมด (เช่น ผู้บังคับการเรือ ผู้ประกอบการเรือหรือตัวแทน เจ้าหน้าที่ท่าเรือท่ีมีอ�ำนาจในมาตรการน้ี) ได้รับทราบวิธี การทจ่ี ะน�ำไปใช้ การปฏบิ ัติท่ีสำ� คญั เช่น การก�ำหนดพน้ื ทท่ี า่ เรอื สำ� หรับใชก้ ักกนั เรอื ท่สี งสัยว่ามคี วามเสี่ยงทาง สาธารณสุข ซึ่งต้องก�ำหนดไว้ล่วงหน้า เพื่อประสานงานระหว่างผู้ปฏิบัติการที่ท่าเรือส�ำหรับการเคล่ือนย้ายเรือ รวมทั้งตรวจสอบตารางการปฏิบตั ิงานกบั ผดู้ แู ลลูกเรือและบนั ทึกการด�ำเนินการแกไ้ ขท่ีได้ปฏบิ ัติ ขอ้ แนะนำ� การตรวจจบั และวดั ความเสยี่ งทางสาธารณสขุ บนเรอื (ในภาค ข. ของเอกสารน)้ี ในคมู่ อื ทจี่ ดั ทำ� ขน้ึ โดยผเู้ ชย่ี วชาญจากรฐั ภาคขี ององคก์ ารอนามยั โลก องคก์ รระหวา่ งประเทศและอตุ สาหกรรมการเดนิ เรอื ไดแ้ ก่ การกำ� จดั แมลง การกำ� จดั สง่ิ ปนเปอ้ื น การกำ� จดั หนู การฆา่ เชอ้ื และขน้ั ตอนทางสขุ าภบิ าลตา่ งๆ ตามกฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ จะตอ้ งหลกี เลยี่ งความเสยี หายทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ เชน่ การบาดเจบ็ การรบกวนสทิ ธเิ สรภี าพพน้ื ฐานสว่ น บคุ คล อกี ทงั้ ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ความเสยี หายตอ่ กระเปา๋ เดนิ ทาง สนิ คา้ บรรทกุ ตสู้ นิ คา้ ยานพาหนะ สนิ คา้ หรอื พสั ดภุ ณั ฑ์ และสง่ิ แวดลอ้ มทไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากความเสย่ี งทางสาธารณสขุ (กฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ ภาคผนวก 4ข.1) สงิ่ อำ� นวยความสะดวกทผ่ี เู้ ดนิ ทางใช้ ณ ชอ่ งทางเขา้ ออก ตอ้ งมสี ขุ ลกั ษณะทดี่ แี ละดแู ลรกั ษาใหป้ ลอดจากแหลง่ การ ตดิ เชอื้ และปนเปอ้ื น อนั ประกอบดว้ ยพาหะและแหลง่ รงั โรค (กฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ มาตรา 22.2) มาตรการ ตอ้ งเรม่ิ ดำ� เนนิ การและเสรจ็ สนิ้ โดยไมช่ กั ชา้ โปรง่ ใสและไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิ (กฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ มาตรา 42) 6. เครอ่ื งมือและขอ้ ตกลงระหว่างประเทศท่ีเก่ียวขอ้ ง (Other Relevant International Agreement and Instruments) ขณะทเ่ี อกสารนเ้ี นน้ ทบี่ ทบญั ญตั เิ ฉพาะตามกฎการอนามยั ระหวา่ งประเทศ (IHR 2005) เครอ่ื งมอื ระหวา่ ง ประเทศและขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศอนื่ ๆ ยงั กลา่ วถงึ ประเดน็ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง เชน่ ความปลอดภยั และความสขุ สบาย ของลกู เรอื และการดำ� เนนิ การในดา้ นสงิ่ อำ� นวยความสะดวก การตดิ ตอ่ สอื่ สาร มลภาวะทางทะเล ความปลอดภยั และการรักษาความปลอดภัยของเรือและท่าเรือ เครื่องมือและข้อตกลงต่างๆ ดังกล่าวน�ำมาใช้ภายใต้การดูแล 34 คมู่ ือการตรวจและการออกเอกสารรบั รองสขุ าภิบาลเรือ Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization) และองค์การทางทะเลระหว่าง ประเทศ (International Maritime Organization) ซึ่งเคร่ืองมือและข้อตกลงระหว่างประเทศน้ีจะต้องเข้าได้ และสอดคลอ้ งกบั กฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ (IHR 2005) ไมว่ า่ กรณใี ดๆ กฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ (IHR 2005) ไดร้ ะบวุ ่า กฎข้อบังคบั และเครื่องมอื อืน่ ๆ ที่ได้ตคี วามแลว้ วา่ เขา้ กันได้ เครอ่ื งมอื และข้อตกลงเหลา่ น้ีจะถูกอ้างถึง ในสว่ นทจี่ ะประยุกต์ใช้ ซ่ึงปรากฏในสว่ นตา่ งๆ ของเอกสารนี้ ตามทรี่ ะบใุ นกฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ (IHR 2005) และเนอ้ื หาตามยอ่ หนา้ กอ่ นนี้ กฎขอ้ บงั คบั ตา่ งๆ นน้ั ไมไ่ ดก้ ดี กนั รฐั ภาคใี หส้ นใจในดา้ นสขุ ภาพ สภาพภมู ศิ าสตร์ สงั คม หรอื สภาพเศรษฐกจิ และรฐั ภาคจี ะตอ้ งไมป่ ฏเิ สธ ตอ่ ขอ้ สรปุ ตามสนธสิ ญั ญา หรอื ขอ้ ตกลงตา่ งๆ เพอ่ื ความสะดวกในการนำ� กฎขอ้ บงั คบั ไปใช้ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ • การแลกเปล่ียนขอ้ มูลทางสาธารณสขุ โดยตรงและรวดเรว็ ระหวา่ งประเทศเพือ่ นบา้ นของรัฐภาคีท่ี มคี วามแตกต่างกัน • มาตรการสาธารณสุขที่ด�ำเนินการทางทะเลระหว่างประเทศ และการคมนาคมทางน�้ำระหว่าง ประเทศภายในเขตอ�ำนาจของตน • มาตรการสาธารณสุขท่ีด�ำเนนิ การในอาณาเขตใกล้เคยี งของรฐั ภาคีอื่น ณ พ้ืนทช่ี ายแดน • การเตรยี มการสำ� หรบั การดแู ลลกู เรอื ผโู้ ดยสาร และศพทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบ โดยวธิ กี ารเคลอื่ นยา้ ยเฉพาะ • การก�ำจัดหนู แมลง การฆ่าเชื้อ ก�ำจัดการปนเปื้อน หรือการด�ำเนินการอื่นๆ เพ่ือให้สินค้า ปลอดเชอ้ื กอ่ โรค กฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR 2005) ระบุว่า ภาระหน้าที่ภายใต้กฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR 2005) ขอ้ บงั คบั กำ� หนดวา่ รฐั ภาคที เี่ ปน็ สมาชกิ ขององคก์ ารบรู ณการเศรษฐกจิ ระดบั ภมู ภิ าค ตอ้ งดำ� เนนิ การตาม ขอ้ ตกลงที่ใชบ้ งั คบั คมู่ อื การตรวจและการออกเอกสารรับรองสุขาภิบาลเรือ 35 Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

สว่ น ข. บัญชีรายการในการตรวจสอบเรอื 36 คู่มอื การตรวจและการออกเอกสารรบั รองสขุ าภิบาลเรอื Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

พืน่ ท่ี 1 ที่พกั อาศยั พืน้ ท่ี 1 บทนำ� ผู้ประกอบการมีหน้าที่รับผิดชอบในการรักษาสภาพแวดล้อมบนเรือส�ำหรับคนประจ�ำเรือและผู้โดยสารให้ ปลอดภัย เนื่องจาก IHR (2005) และข้อตกลงระหว่างประเทศอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องควรถูกเผยแพร่ไปในทิศทาง เดียวกัน (มาตรา 57) ที่พักส�ำหรับคนประจ�ำเรือควรสอดคล้องกับอนุสัญญาที่มีอยู่เกี่ยวกับที่พักคนประจ�ำเรือ อาหาร และการจดั บริการอาหาร ในอนสุ ญั ญาองคก์ ารแรงงานระหวา่ งประเทศ สำ� หรบั เรือท่ีสรา้ งข้ึนก่อนเดอื น กรกฎาคม ค.ศ.2006 ท่ีพกั คนประจ�ำเรือทง้ั หมดควรสอดคล้องกบั Accommodation of Crew Conventions (ฉบับแก้ไข) ค.ศ.1949 ฉบับที่ 92 และ Accommodation of Crews (บทบัญญัติเสริม) ค.ศ.1970 ฉบับที่ 133 และส�ำหรับเรือท่ีสร้างข้ึนหลังจากเดือน กรกฎาคม ค.ศ.2006 ท่ีพักควรปฏิบัติตาม Maritime Labour Convention (การประชมุ แรงงานการเดินเรือ) ค.ศ.2006 มาตรฐานสากลและขอ้ แนะน�ำ อนุสัญญาองค์การแรงงานระหวา่ งประเทศทางทะเล ค.ศ.2006 (ILO Maritime Labour Convention 2006) 1. มาตราที่ 4 วา่ ดว้ ยการจา้ งงานผเู้ ดนิ ทางทางทะเล และสทิ ธทิ างสงั คม (Seafarers’ employment and social rights) วรรค 3: ผู้เดินทางทางทะเลทกุ คนมีสิทธใิ นการทำ� งานและใชช้ วี ติ บนเรือท่เี หมาะสม วรรค 4: ผ้เู ดินทาง ทางทะเลทกุ คนมสี ทิ ธไิ ดร้ บั การคมุ้ ครองสขุ ภาพ การดแู ลสวสั ดกิ ารทางการแพทยแ์ ละการคมุ้ ครองทางสงั คมอน่ื ๆ 2. ระเบยี บที่ 3.1 ทพี่ ักและสถานท่พี ักผอ่ น อนสุ ัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 92 เกี่ยวกับท่พี กั คนประจำ� เรอื บนเรอื (ปรบั ปรงุ ค.ศ. 1949) ก�ำหนดรายละเอียดเก่ียวกับที่พัก ห้องรับประทานอาหารและพักผ่อน การระบายอากาศ ระบบท�ำความร้อน แสงสว่าง และสขุ าภิบาลบนเรือ อนสุ ัญญา ILO ฉบับท่ี 133 ในทพ่ี กั ของคนประจ�ำเรอื 1970  ค�ำแนะน�ำ ILO R140 คนประจำ� เรือที่พัก (เคร่ืองปรับอากาศ) ข้อแนะนำ� 1970 อนสุ ญั ญา ILO ฉบับที่ 147 วา่ ดว้ ยมาตรฐานขั้นต�่ำเรอื สนิ ค้า 1976 ความเส่ยี งหลัก ปัจจัยท่ีเอ้ือต่อการเกิดความเสี่ยงทางสาธารณสุขบนเรือประกอบไปด้วยการออกแบบ การก่อสร้าง การจัดการ และการจัดการท่พี ัก เอกสารท่ตี ้องพจิ ารณา • แบบการกอ่ สร้างสงิ่ อ�ำนวยความสะดวกด้านสขุ อนามยั และการระบายอากาศ • ขนั้ ตอนการทำ� ความสะอาดและการบนั ทึก • แผนการกอ่ สร้างที่แสดงให้เหน็ ถงึ วิธีการหลกี เลย่ี งการปนเปอ้ื นขา้ มในพ้นื ที่ • การทดสอบควนั ณ จุดระบายอากาศเข้า ออก ซึง่ อยใู่ กลก้ ับจดุ ระบายอากาศออก เอกสารอ้างองิ International conventions ILO, Maritime Labor Convention 2006. คูม่ อื การตรวจและการออกเอกสารรบั รองสุขาภิบาลเรือ 37 Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

พ้ืนที่ 1 Scientific literature Barker J, Stevens D, Bloomfield SF (2001). Spread and prevention of some common viral infections in community facilities and domestic homes. Journal of Applied Microbiology, 91(1):7–21. Black RE et al. (1981). Handwashing to prevent diarrhea in day-care centers.American Journal of Epidemiology, 113(4):445–451. Carling PC, Bruno-Murtha LA, Griffiths JK (2009). Cruise ship environmental hygiene and the risk of norovirus infection outbreaks: an objective assessment of 56 vessels over 3 years. Clinical and Infectious Diseases, 49:1312–1317. Centers for Disease Control and Prevention (2001). Influenza B virus outbreak on a cruise ship—Northern Europe, 2000. Morbidity and Mortality Weekly Report, 50:137–140. Centers for Disease Control and Prevention (2002). Outbreaks of gastroenteritis associated with norovirusesoncruiseships—UnitedStates. MorbidityandMortalityWeeklyReport,51:1112–1115. Centers for Disease Control and Prevention (2003). Norovirus activity—United States, 2002. Morbidity and Mortality Weekly Report, 52:41–45. Chimonas MA et al. (2008). Passenger behaviors associated with norovirus infection on board a cruise ship—Alaska, May to June 2004. Journal of Travel Medicine, 15:177–183. Corwin AL et al. (1999). Shipboard impact of a probable Norwalk virus outbreak from coastal Japan. The American Journal of Tropical Medicine and Hygiene, 61:898–903. Cramer EH, Blanton CJ, Otto C (2008). Shipshape: sanitation inspections on cruise ships, 1990–2005, Vessel Sanitation Program, Centers for Disease Control and Prevention. Journal of Environmental Health, 70:15–21. Depoortere E, Takkinen J (2006). Coordinated European actions to prevent and control norovirus outbreaks on cruise ships. Euro Surveillance: European Communicable Disease Bulletin, 11:E061018. Enserink M (2006). Infectious diseases. Gastrointestinal virus strikes European cruise ships. Science, 313:747. Hansen HL, Nielsen D, Frydenberg M (2002).Occupational accidents aboard merchant ships. Occupational and Environmental Medicine, 59(2):85–91. Herwaldt BL et al. (1994). Characterization of a variant strain of Norwalk virus from a foodborne outbreak of gastroenteritis on a cruise ship in Hawaii. Journal of Clinical Microbiology, 32:861–866. Ho MS et al. (1989). Viral gastroenteritis aboard a cruise ship. The Lancet, 2:961–965. Lang L (2003). Acute gastroenteritis outbreaks on cruise ships linked to Norwalk-like viruses. Gastroenterology, 124:284–285. Lawrence DN (2004). Outbreaks of gastrointestinal diseases on cruise ships: lessons from three decades of progress. Current Infectious Disease Reports, 6:115–123. 38 คมู่ ือการตรวจและการออกเอกสารรับรองสุขาภิบาลเรอื Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

O’Neill HJ et al. (2001). Gastroenteritis outbreaks associated with Norwalk-like viruses and their พืน้ ท่ี 1 investigation by nested RT-PCR. BMC Microbiology, 1:14. Verhoef L et al. (2008). Multiple exposures during a norovirus outbreak on a river-cruise sailing through Europe, 2006. Euro Surveillance: European Communicable Disease Bulletin, 13(24)pii:18899. Widdowson MA et al. (2004). Outbreaks of acute gastroenteritis on cruise ships and on land: identification of a predominant circulating strain of norovirus—United States, 2002. Journal of Infectious Diseases, 190:27–36. คูม่ อื การตรวจและการออกเอกสารรับรองสขุ าภิบาลเรือ 39 Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

พ้ืนท่ี 1 พืน้ ที่ 1 ท่พี ักอาศัย รหัส ผลการตรวจสอบ: มาตรการในการควบคุม ้ตอง �ดำเนินการ พ้ืนที่ หลกั ฐานทพ่ี บผลการเกบ็ ตัวอย่าง และการปฏิบตั ิทถ่ี กู ตอ้ ง ้ขอแนะน�ำ การตรวจสอบเอกสาร 1.1 การก่อสรา้ ง 1.1.1 พบการยดึ ตดิ ระหวา่ งพนื้ ผวิ และอปุ กรณท์ ี่ ที่พกั ควรจะสร้างจากวสั ดทุ ี่งา่ ยตอ่ การยดึ ติดไมร่ ัว่ q q ตดิ ตง้ั ไมเ่ หมาะสม หรอื ทำ� ความสะอาดยาก และท�ำความสะอาดได้งา่ ย q 1.1.2 ทพ่ี กั สรา้ งจากวสั ดทุ ไ่ี มเ่ หมาะสมซงึ่ อาจเออ้ื ท่ีพกั ควรปราศจากชอ่ งทางที่สัตว์หรือแมลงน�ำโรค q q ตอ่ การกอ่ โรคของสตั วห์ รอื แมลงทเ่ี ปน็ พาหะ เขา้ มาได้ q 1.1.3 ไม่มหี นา้ ตา่ งหรือระบบระบายอากาศ มรี ะบบระบายอากาศเพยี งพอหรอื ตดิ มงุ้ ลวดตาม q q ไม่เพยี งพอซ่ึงส่งผลต่อสขุ ภาพของ หน้าต่างอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในห้องนอน ผทู้ ่ีพัก และห้องรับประทานอาหารเพ่ือป้องกันการแพร่ q กระจายของโรค รวมถึงปรับการระบายอากาศ q 1.1.4 ไม่มีระบบทำ� ความรอ้ น ตามสภาพภูมอิ ากาศของพนื้ ท่ที ี่เรือลอ่ งไป q q จดั เตรียมระบบท�ำความรอ้ นให้เพียงพอ q q 1.1.5 หอ้ งนอนสำ� หรบั คนประจำ� เรอื หรอื ผู้ จดั ใหม้ หี อ้ งนอนแยกทสี่ รา้ งจากเหลก็ หรอื วสั ดอุ น่ื ๆ q q โดยสารสรา้ งจากวสั ดตุ ำ�่ กวา่ มาตรฐาน ทไ่ี ดร้ บั การรบั รอง โดยหอ้ งตอ้ งไมม่ นี ำ้� และกา๊ ซรว่ั ผา่ นเขา้ ได้ 1.1.6 ไมม่ หี อ้ งสขุ าสำ� หรบั คนประจำ� เรอื จดั ใหม้ หี อ้ งสขุ าสำ� หรบั คนประจำ� เรอื ในทพี่ กั q q หรอื ใชร้ ว่ มกนั 1.1.7 ไมม่ หี อ้ งนำ�้ หรอื หอ้ งอาบนำ้� จัดให้มีห้องน้�ำส่วนตวั หรือห้องน�ำ้ รวมพรอ้ มทง้ั q หอ้ งสุขา 1.1.8 ไมม่ รี ะบบระบายนำ้� หรอื ระบบระบายนำ�้ ตดิ ตง้ั ระบบระบายนำ�้ ใหพ้ อตอ่ ความตอ้ งการ q ไมเ่ พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการในการใชง้ าน ในการใชง้ าน ใช้มาตรการเพือ่ ปอ้ งกนั สัตว์หรอื แมลงทีม่ ี ประสิทธิภาพตามทเ่ี หน็ เหมาะสม 1.1.9 ประตหู รอื หนา้ ตา่ งภายนอกไมป่ อ้ งกนั สตั ว์ สรา้ งประตทู เ่ี ปดิ ออกดา้ นนอกและสามารถปดิ ไดเ้ อง q หรอื แมลงทเ่ี ปน็ พาหะของโรค จดั ทำ� สอื่ ใหข้ อ้ มลู เกย่ี วกบั มาตรการการปอ้ งกนั สว่ น บคุ คล 1.1.10 ขนาดชอ่ งตะแกรงไมเ่ ลก็ พอ (เชน่ ขนาด ตดิ ตงั้ ตะแกรงทม่ี ชี อ่ งวา่ ง 1.6 มลิ ลเิ มตร หรอื เลก็ กวา่ q ใหญส่ ดุ ตอ้ งไมเ่ กนิ 1.6 มลิ ลเิ มตร) 40 คู่มือการตรวจและการออกเอกสารรับรองสขุ าภิบาลเรือ Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

รหัส ผลการตรวจสอบ: มาตรการในการควบคมุ ้ตอง �ดำเนินการ พืน้ ท่ี 1 พ้นื ท่ี หลกั ฐานทพี่ บผลการเก็บตัวอยา่ ง และการปฏิบัติท่ีถกู ตอ้ ง ้ขอแนะน�ำ การตรวจสอบเอกสาร 1.1.11 ไมม่ พี น้ื ทรี่ ะบายอากาศระหวา่ งหอ้ งนำ้� ปรบั ปรงุ โครงสรา้ งหอ้ งนำ�้ โดยใหม้ กี ารระบาย q q ทพ่ี กั และพนื้ ทร่ี บั ประทานอาหาร อากาศแบบเปดิ โลง่ (ปอ้ งกนั การปนเปอ้ื นขา้ ม) q 1.1.12 ชอ่ งระบบระบายอากาศจากห้องน้�ำเชือ่ ม ปรับปรุงการก่อสร้างหรือออกแบบเพื่อไม่ให้ q q อยู่กับระบบจ่ายอากาศหรือทั้งสองระบบ อากาศท่ีระบายออกจากห้องน�้ำหรือพ้ืนที่อื่นๆ อยใู่ กลก้ นั เกนิ ไป เชอ่ื มตอ่ กบั ระบบจา่ ยอากาศ q q 1.2 อุปกรณ์ 1.2.1 ไม่มที ่ีลา้ งมอื หรอื มไี ม่เพียงพอ ติดต้ังส่ิงในการล้างมืออย่างเหมาะสม (สบู่เหลว q กระดาษเช็ดมือ อ่ืนๆ) จัดท�ำส่ือ ป้าย ให้ความรู้ ความตระหนักให้แก่คนประจ�ำเรือเกี่ยวกับการใช้ อปุ กรณใ์ นหอ้ งนำ้� และการล้างมอื 1.2.2 อุปกรณ์และส่ิงอ�ำนวยความสะดวกใน ติดตงั้ อปุ กรณ์สำ� หรับทำ� ใหม้ ือแหง้ ในห้องน้�ำ (โดย q q ห้องนำ้� มไี ม่เพียงพอ เฉพาะอย่างยิ่ง กระดาษชำ� ระแบบใชแ้ ลว้ ทิ้ง) q 1.2.3 ทเี่ กบ็ สงิ่ ของสว่ นตวั ไมเ่ พยี งพอ และอาจกอ่ จดั ใหม้ ที เ่ี กบ็ สงิ่ ของสว่ นตวั อยา่ งเพยี งพอ หรอื นำ� q q ใหเ้ กดิ การปนเปอ้ื นขา้ ม ไปเกบ็ ในทพ่ี กั อาศยั สว่ นตวั q 1.3 การท�ำความสะอาดและบ�ำรงุ รกั ษา 1.3.1 ไม่มีโปรแกรมท�ำความสะอาดหรือมีไม่ สง่ เสรมิ ใหม้ โี ปรแกรมการทำ� ความสะอาดและการ q เพียงพอ บำ� รงุ รักษาอยา่ งต่อเน่อื ง 1.3.2 สุขลกั ษณะไมด่ เี นื่องจากฝุ่น ของเสีย สัตว์ สง่ เสรมิ ใหจ้ ดั ตารางทำ� ความสะอาดและฆา่ เชอื้ โรค q และแมลงทเี่ ปน็ พาหะของโรค 1.3.3 พบการปนเปอ้ื นของสารเคมหี รอื สงิ่ ทที่ ำ� ให้ ใชม้ าตรการขจัดการปนเป้อื น q เกดิ โรค 1.3.4 ห้องน้�ำมีน้�ำร่ัวหรือล้นหรือท่อน้�ำใช้มีจุด หอ้ งน้ำ� ปราศจากรอยรั่วและการอุดตนั q เชือ่ มกบั ท่อระบายน�้ำเสยี 1.3.5 การบ�ำรุงรักษาระบบการช�ำระล้างของ บำ� รงุ รกั ษาระบบการชำ� ระลา้ งของสขุ ภณั ฑอ์ ยา่ ง q q สขุ ภณั ฑไ์ มด่ ี สมำ�่ เสมอ q 1.3.6 พบผา้ ปทู ่นี อน ปลอกหมอนหรอื ผ้าที่ จัดหาอุปกรณ์ท่ีเหมาะสมเพื่ออ�ำนวยความ q สกปรก สะดวกในการซักรีด การเก็บรกั ษา การแจกจา่ ย (ระบุรอบการท�ำความสะอาดใหช้ ดั เจน) คู่มือการตรวจและการออกเอกสารรบั รองสุขาภบิ าลเรือ 41 Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

พนื้ ที่ 1 รหัส ผลการตรวจสอบ: มาตรการในการควบคุม ้ตอง �ดำเนินการ พืน้ ที่ หลกั ฐานทพ่ี บผลการเก็บตัวอย่าง และการปฏิบัติทถ่ี กู ตอ้ ง ้ขอแนะน�ำ การตรวจสอบเอกสาร ด�ำเนินการฆ่าเชื้อโรคและใช้มาตรการก�ำจัดแมลง q และสัตว์ที่เป็นพาหะน�ำโรคทีเ่ หมาะสม 1.3.7 พบหลกั ฐานสตั วแ์ ละแมลงทเ่ี ปน็ พาหะของ ซอ่ มแซมหรอื เปลย่ี นพ้ืนผิวหรืออปุ กรณ์ตดิ ตั้งให้ q โรคหรือแหล่งก่อโรค มีความทนทาน ใช้งานไดต้ ามทอ่ี อกแบบมา งา่ ย ตอ่ การทำ� ความสะอาดและปอ้ งกนั การรบกวน q จากสัตวแ์ ละแมลงทเี่ ปน็ พาหะน�ำโรค q q 1.4 แสงสว่าง 1.4.1 แสงสว่างไม่เพียงพอ (ทัง้ จาธรรมชาติ ตดิ ตง้ั หลอดไฟฟา้ เพมิ่ เตมิ ในกรณที แี่ สงไมเ่ พยี งพอ q และไฟฟ้า) 1.5 ระบบระบายอากาศ 1.5.1 พบสง่ิ สกปรกหรอื ชน้ิ สว่ นในระบบทำ�ความ ย้ายเครื่องปรบั อากาศและระบบทำ�ความรอ้ น q รอ้ นหรอื ความเยน็ หรอื คณุ ภาพอากาศไมด่ ี เพ่ือใหง้ า่ ยต่อการทำ�ความสะอาดและฆา่ เช้อื โรค 42 คมู่ อื การตรวจและการออกเอกสารรบั รองสุขาภิบาลเรือ Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

พ้นื ที่ 2 ห้องครวั หอ้ งเตรยี มอาหาร พืน้ ท่ี 2 และห้องรับประทานอาหาร บทน�ำ ปัจจัยความเสี่ยงหลักที่ท�ำให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคบนเรือ โดยมีอาหารเป็นส่ือมักเก่ียวข้องกับการควบคุม อณุ หภมู สิ ำ� หรบั อาหารทเ่ี นา่ เสยี งา่ ย ผสู้ มั ผสั อาหารทต่ี ดิ เชอื้ การปนเปอ้ื นขา้ มพนื้ ท่ี การใหค้ วามรอ้ นแกอ่ าหารทเ่ี นา่ เสยี งา่ ย วตั ถดุ บิ สดทมี่ กี ารปนเปอ้ื น และการไมใ่ ชน้ ำ�้ บรโิ ภคในหอ้ งครวั โรคบางโรคสามารถแพรก่ ระจายจากประเทศ หนงึ่ ไปสอู่ กี ประเทศหนงึ่ ไดโ้ ดยผา่ นเชอ้ื ทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ โรคหรอื สงิ่ ปนเปอ้ื นตา่ งๆ เนอื่ งจากไมม่ มี าตรการ การควบคมุ ท่ี รดั กมุ บนเรอื ดงั นนั้ การตรวจหาการปนเปอ้ื นในวตั ถดุ บิ การเตรยี ม การปรงุ อาหาร และการใหบ้ รกิ ารทภ่ี ตั ตาคาร และหอ้ งรบั ประทานอาหารบนเรอื มคี วามสำ� คญั ตอ่ การปอ้ งกนั และควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ผา่ นทางอาหาร มาตรฐานสากลและขอ้ แนะน�ำ Codex Alimentarius Commission (CAC) หรือคณะกรรมาธิการมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศ Codex Alimentarius เปน็ มาตรฐานอาหารซงึ่ ถูกก�ำหนดขนึ้ ในปี 1963 โดยองค์การอาหารและการเกษตรแหง่ สหประชาชาติ (FAO) และองคก์ ารอนามัยโลก (WHO) และถูกนำ� ไปใช้ท่ัวโลก โดย มาตรฐานโคเดก็ ซ์ (The Co- dex) มขี ้อแนะน�ำ แนวทาง รวมถึงมาตรการอืน่ ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง ซง่ึ จะช่วยใหผ้ ้ใู ช้บรรลตุ ามจดุ ประสงค์ของหน่วย งาน Codex Alimentarius (CAC 1995; 1997a, b; 1999; 2003) คมู่ ือ CAC ให้ขอ้ มลู สำ� คญั เกยี่ วกับความ ปลอดภยั ทางอาหารเบอื้ งตน้ ซึ่งจะถูกกลา่ วถงึ ตลอด อนุสัญญาว่าด้วยแรงงานในการเดินเรือทางทะเล พ.ศ. 2549 แห่งองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO, Maritime Labour Convention 2006) ตามกฎขอ้ บงั คบั ที่ 3.2 วา่ ดว้ ยเรอ่ื งอาหารและการจดั เตรยี มอาหาร ยอ่ หนา้ ท่ี 2: สมาชกิ แตล่ ะประเทศควรรบั รอง ได้ วา่ (ก) เรอื สญั ชาตขิ องตนนน้ั ผา่ นมาตรฐานขนั้ ตำ�่ (ข) หนว่ ยงานและอปุ กรณข์ องแผนกจดั เตรยี มอาหารควรจดั เตรยี ม และบรกิ ารมอื้ อาหารทมี่ คี ณุ คา่ ทางโภชนาการ มคี วามหลากหลาย และในปรมิ าณทเี่ พยี งพอใหแ้ กผ่ เู้ ดนิ เรอื อยา่ งถกู สขุ ลกั ษณะ และ (ค) พนกั งานจดั เตรยี มอาหารตอ้ งไดร้ บั การอบรมอยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสมกบั ตำ� แหนง่ กฎขอ้ บงั คบั ดงั กลา่ วยงั ไดร้ ะบขุ อ้ บงั คบั และแนวทางปฏบิ ตั อิ นื่ ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การจดั การอาหารและสขุ ลกั ษณะ อาหาร อนสุ ัญญาฉบบั ท่ี 68 วา่ ด้วยอาหารและการจัดเตรียมอาหาร (ส�ำหรับคนประจำ� เรือ) พ.ศ.2489 แห่งองคก์ าร แรงงานระหวา่ งประเทศ (ILO (No.68), Food and Catering (Ship’s Crews) Convention 1946) มาตราที่ 5 ประเทศสมาชกิ ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายหรอื ขอ้ บงั คบั เกยี่ วกบั การจดั หาและจดั เตรยี มอาหาร ซง่ึ จะต้องรบั รองความปลอดภยั ในสขุ ภาพและคณุ ภาพชีวิตของคนประจำ� เรอื ดงั ทก่ี ล่าวไว้ในมาตราท่ี 1 กฎหมายหรือข้อบงั คับดงั กล่าวกำ� หนดไว้ว่า (ก) ต้องมีการจัดหาอาหารและน�้ำท่ีเหมาะสมท้ังในเชิงปริมาณ คุณค่าทางโภชนาการ คุณภาพและ ความหลากหลาย ซึง่ ตอ้ งคำ� นึงถงึ จ�ำนวนคนประจ�ำเรือ ระยะเวลาและลักษณะของการเดนิ เรอื (ข) การจัดเตรียมอาหารและอุปกรณ์ของฝ่ายจัดเตรียมอาหารบนเรือต้องสามารถให้บริการมื้ออาหาร ทเ่ี หมาะสมแกค่ นประจ�ำเรือ คมู่ อื การตรวจและการออกอกสารรบั รองสุขาภบิ าลเรอื 43 Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

มาตราที่ 6 กฎหมายหรือข้อบังคับภายในประเทศต้องจัดระบบให้เจ้าหน้าท่ีท่ีมีความรู้ความสามารถเข้าตรวจ สอบในด้านดงั ตอ่ ไปน้ี (ก) เสบียงอาหารและน�ำ้ พ้ืนที่ 2 (ข) พน้ื ทีแ่ ละวสั ดุอุปกรณท์ ั้งหมดทถี่ กู ใช้ส�ำหรบั การเกบ็ รักษาและจดั การกับอาหารและน้�ำ (ค) หอ้ งครัวและวัสดุอุปกรณ์อื่นๆ ทใ่ี ช้ในการเตรยี มและการบรกิ ารแตล่ ะม้อื อาหาร; และ (ง) คุณสมบัติของคนประจ�ำเรือประจ�ำแผนกจัดเตรียมอาหารต้องเป็นไปตามที่ก�ำหนดไว้ในกฎหมาย หรอื ระเบยี บข้อบงั คับตามท่กี �ำหนด มาตราที่ 7 กฎหมายหรอื ขอ้ บงั คบั ภายในประเทศ หรอื ขอ้ ตกลงรว่ มกนั ในกรณที ไี่ มม่ กี ฎหมายหรอื ขอ้ บงั คบั ภายใน ประเทศระหวา่ งผวู้ า่ จา้ งและลกู จา้ ง ตอ้ งระบใุ หผ้ บู้ งั คบั การเรอื หรอื เจา้ หนา้ ทซี่ ง่ึ ไดร้ บั มอบหมายจาก ผบู้ งั คบั การ เรอื เปน็ กรณเี ปน็ พเิ ศษ พรอ้ มดว้ ยสมาชกิ ซง่ึ รบั ผดิ ชอบในฝา่ ยการจดั เตรยี มอาหารเขา้ ทำ� การตรวจสอบขณะทเ่ี รอื อย่ใู นทะเลตามช่วงเวลาทก่ี ำ� หนด โดยตรวจสอบในเร่ืองดงั ต่อไปน้ี (ก) เสบียงอาหารและน�ำ้ (ข) พื้นที่และวัสดุอุปกรณ์ท้ังหมดท่ีถูกใช้ส�ำหรับการเก็บรักษาและจัดการกับอาหารและน้�ำ รวมถึง ห้องครวั และวัสดอุ ปุ กรณอ์ น่ื ๆ ที่ใช้ในการเตรียมและการบรกิ ารแตล่ ะมอ้ื อาหาร โดยต้องมกี ารบันทกึ ผลการตรวจสอบแต่ละครง้ั ไว้ ระบบการวิเคราะห์อนั ตรายและจดุ วกิ ฤตทตี่ ้องควบคุมในการผลิตอาหาร Hazard Analysis Critical Control Point System: HACCP HACCP คอื ระบบทใี่ ชใ้ นการระบแุ ละเฝา้ สงั เกตจดุ วกิ ฤตทตี่ อ้ งถกู ควบคมุ ในกระบวนการผลติ และแจกจา่ ยอาหาร รวมถึงแหล่งและคลังวัตถุดิบประกอบอาหาร มีความเป็นอย่างย่ิงที่จุดวิกฤตเหล่านี้ต้องได้รับการควบคุมเพ่ือ ป้องกัน ขจดั หรือลดอันตรายท่อี าจเกดิ ขึน้ และเพอื่ ใหม้ ีการปฏบิ ัติที่ถูกวธิ ี แผนการหรือโครงการเกย่ี วกบั ความ ปลอดภยั ทางอาหาร (FSPs) ต้องถูกน�ำมาใชเ้ พ่ือดูแลข้ันตอนการจดั หาอาหารท่ปี ลอดภัย โดยสว่ นใหญแ่ ล้ว FSP จะอ้างองิ จากระบบ HACCP ความเสีย่ งหลกั โรคต่าง ๆ ท่ีติดต่อผ่านทางอาหารมักเป็นผลสืบเนื่องมาจากน�ำอาหารคุณภาพต�่ำมาใช้บนเรือ อย่างไรก็ตาม ถงึ แมว้ า่ อาหารทน่ี ำ� ขน้ึ เรอื มาจะปลอดภยั แตก่ ไ็ มส่ ามารถรบั รองไดว้ า่ อาหารจะยงั คงปลอดภยั ระหวา่ งทถี่ กู เกบ็ รกั ษา เตรยี ม ปรุงหรอื น�ำออก ไปใหผ้ บู้ ริโภคขณะทอ่ี ยูบ่ นเรอื ความเสย่ี งหลักต่อความปลอดภยั ทางอาหารในหอ้ งครัว หอ้ งเก็บอาหาร และพน้ื ทใี่ หบ้ ริการลกู คา้ มีความเกย่ี วขอ้ งกับปัจจยั ตอ่ ไปน้ี อันตรายจากเชอ้ื โรค (เชือ้ แบคทเี รยี เชื้อไวรสั เชื้อรา และปรสิต) • อนั ตรายจากเชอื้ โรคเกดิ ขน้ึ เมอ่ื เชอ้ื แบคทเี รยี เชอ้ื ไวรสั เชอ้ื รา ยสี ต์ หรอื ปรสติ ปนเปอ้ื นกบั อาหาร โดยปกตสิ งิ่ มี ชวี ติ เหลา่ นจ้ี ะเกย่ี วขอ้ งกบั มนษุ ยแ์ ละอาหารทเ่ี ขา้ ไปอยใู่ นจดุ เตรยี มอาหาร ดงั นน้ั อาหารในหอ้ งครวั จงึ เปน็ ปจั จยั ท่ี มคี วามเสย่ี งสงู และสงิ่ ทมี่ บี ทบาทสำ� คญั ตอ่ ความปลอดภยั ทางอาหารคอื ระยะเวลาการเกบ็ รกั ษาและอณุ หภมู ขิ อง อาหาร และความตระหนกั ของผทู้ ำ� หนา้ ทจ่ี ดั เตรยี มอาหารบนเรอื และการปฏบิ ตั ติ ามเกณฑท์ ถ่ี กู สขุ ลกั ษณะ • อันตรายจากสารเคมี (เชน่ สารเคมีทำ� ความสะอาด) การปนเปื้อนของสารเคมีในอาหารอาจเกิดข้ึนอย่างไม่ได้ตั้งใจ “โดยธรรมชาติ” ก่อนการน�ำอาหารขึ้นมาบน เรือ หรอื ระหวา่ งการปรุงอาหาร (เช่น การใชส้ ารเคมที �ำความสะอาดหรือสารกำ� จดั ศตั รูพชื อย่างผดิ วธิ ี) ตวั อยา่ ง ของสารเคมที พ่ี บบ่อยตามธรรมชาตไิ ด้แก่ สารพิษจากเช้อื รา (Mycotoxins) เชน่ อะฟลาทอกซนิ (aflatoxin) สคอมโบรท็อกซิน (Scombrotoxin) หรือท่ีเรียกว่าฮีสตามีน (Histamine) ชิกัวท็อกซิน (Ciguatoxin) และ พิษจากหอย (Shellfish toxin) 44 ค่มู อื การตรวจและการออกอกสารรบั รองสุขาภบิ าลเรอื Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

• อุปกรณส์ ำ� หรับการปรุงอาหารและรับประทานอาหาร อปุ กรณเ์ ครอ่ื งใชใ้ นครวั และบนโตะ๊ อาหารซงึ่ มกี ารสมั ผสั กบั อาหารไดถ้ กู ออกแบบและสรา้ งขน้ึ ใหท้ ำ� ความสะอาด และฆา่ เชอื้ โรคได้อยา่ งเหมาะสมตามความจำ� เป็น เพอ่ื จะหลีกเลี่ยงการปนเปอ้ื นในอาหาร อุปกรณแ์ ละภาชนะ ตา่ ง ๆ ควรทำ� มาจากวสั ดทุ ไี่ มท่ ำ� ใหเ้ กดิ พษิ เมอ่ื นำ� ไปใชต้ ามจดุ ประสงค์ และเมอ่ื มคี วามจำ� เปน็ อปุ กรณค์ วรมคี วาม พืน้ ท่ี 2 ทนทาน เคลอ่ื นยา้ ยได้ หรอื สามารถถอดชน้ิ สว่ นออกไดเ้ พอื่ การบำ� รงุ รกั ษา ทำ� ความสะอาด ฆา่ เชอื้ โรค และตรวจ สอบหาสัตวห์ รอื แมลงรบกวน เอกสารทีต่ ้องพจิ ารณา • ตารางเวลาและบนั ทึกการทำ� ความสะอาด • บันทึกการสั่งซื้อและเอกสารของเรือเกี่ยวกับแหล่งท่ีมาของอาหาร (วัสดุห่ออาหาร หรือลักษณะ อื่น ๆ บนหบี ห่อ หรอื ใบระบรุ ายละเอียดเกี่ยวกบั ผลติ ภัณฑ์ท่ีเป็นลายลกั ษณ์อักษร) • บนั ทึกการน�ำเข้า-ออกของทเ่ี กบ็ รักษาอาหาร • ผงั โครงสร้างการระบายน้ำ� • รายงานการตรวจสอบตา่ ง ๆ ที่เกดิ ขึ้นกอ่ นหน้าน้ี • สมดุ บันทกึ รายการข้อมูลการพบสตั วห์ รือแมลงรบกวน • บันทึกข้อมูลอุณหภูมิของที่เก็บรักษาอาหาร บันทึกการท�ำความเย็นและการค่าจากเครื่องวัดอุณหภูมิ (Thermometer) เอกสารอา้ งองิ International conventions ILO, Maritime Labour Convention 2006. Scientific literature Addiss DG et al. (1989). Outbreaks of diarrhoeal illness on passenger cruise ships, 1975–85. Epidemiology and Infection, 103:63–72. Berkelman RL et al. (1983). Traveler’s diarrhea at sea: two multi-pathogen outbreaks caused by food eaten on shore visits. American Journal of Public Health, 73:770–772. Boxman IL et al. (2009). Environmental swabs as a tool in norovirus outbreak investigation, including outbreaks on cruise ships. Journal of Food Protection, 72:111–119. Cliver D (2009). Control of viral contamination of food and environment. Food and Envi- ronmental Virology, 1:3–9. Couturier E et al. (2009). Cluster of cases of hepatitis A with a travel history to Egypt, Sep- tember–November 2008, France. Euro Surveillance: European Communicable Disease Bulletin, 14(3) pii:19094. Cramer EH, Blanton CJ, Otto C (2008). Shipshape: sanitation inspections on cruise ships, 1990–2005, Vessel Sanitation Program, Centers for Disease Control and Prevention. Journal of Environmental Health, 70:15–21. Cramer EH, Gu DX, Durbin RE (2003). Diarrheal disease on cruise ships, 1990–2000: the impact of environmental health programs. American Journal of Preventive Medicine, 24:227–233. คมู่ ือการตรวจและการออกอกสารรบั รองสขุ าภบิ าลเรือ 45 Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

Cramer EH et al. (2006). Vessel sanitation program environmental health inspection team. Epidemiology of gastroenteritis on cruise ships, 2001–2004. American Journal of Preventive Medicine, 30(3):252–257. พ้ืนที่ 2 Herwaldt BL et al. (1994). Characterization of a variant strain of Norwalk virus from a foodborne outbreak of gastroenteritis on a cruise ship in Hawaii. Journal of Clinical Microbiology, 32:861–866. Hobbs BC, Colbourne MJ, Mayner PE (1975). Food hygiene and travel at sea. Postgraduate Medical Journal, 51:817–824. Lawrence DN et al. (1979). Vibrio parahaemolyticus gastroenteritis outbreaks aboard two cruise ships. American Journal of Epidemiology, 109:71–80. Lew JF et al. (1991). An outbreak of shigellosis aboard a cruise ship caused by a multiple- antibiotic-resistant strain of Shigella flexneri. American Journal of Epidemiology, 134:413–420. Mouchtouri VA et al. (2008). Surveillance study of vector species on board passenger ships, risk factors related to infestations. BMC Public Health, 8:100. Rooney RM et al. (2004). A review of outbreaks of foodborne disease associated with passenger ships: evidence for risk management. Public Health Reports, 119(4):427–434. Said B et al. (2009). Hepatitis E outbreak on cruise ship. Emerging Infectious Diseases, 15:1738–1744. Sasaki Y et al. (2006). Multiple viral infections and genomic divergence among noroviruses during an outbreak of acute gastroenteritis. Journal of Clinical Microbiology, 44:790– 797. Snyder JD et al. (1984). Outbreak of invasive Escherichia coli gastroenteritis on a cruise ship. American Journal of Tropical Medicine and Hygiene, 33:281–284. Waterman SH et al. (1987). Staphylococcal food poisoning on a cruise ship. Epidemiology and Infection, 99(2):349–353. Guidelines and standards WHO, Hazard Analysis Critical Control Point System (HACCP) (http://www.who.int/food- safety/ fs_management/haccp/en/) Recommended international code of practice—general principles of food hygiene, CAC/RCP 1-1969, Rev. 4-2003. CAC 46 คู่มอื การตรวจและการออกอกสารรับรองสุขาภบิ าลเรอื Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

รหัสพ้นื ท่ี ผลการตรวจสอบ: หลกั ฐานท่ีพบ มาตรการในการควบคุม ้ตอง �ดำเนินการ พืน้ ท่ี 2 ผลการเก็บตวั อย่าง การตรวจสอบเอกสาร และการปฏบิ ตั ทิ ่ถี ูกต้อง ้ขอแนะน�ำ 2.1 เอกสารและการทบทวนมาตรการดา้ นการจดั การ จัดท�ำและปฏิบัติตามแผนแผนความปลอดภัย ดา้ นอาหาร โดยยึดตามหลกั HACCP ในแงข่ อง ไมม่ แี ผนความปลอดภยั ดา้ นอาหาร นโยบาย แหลง่ ทมี่ า การจดั เตรยี ม การบรกิ าร บทบาทและ q ที่เป็น ลายลักษณ์อักษร หรือ ส่ือข้อมูล ความรับผดิ ชอบ q 2.1.1 (เอกสารหรือแผ่นป้าย) เกี่ยวกับการเตรียม จัดท�ำนโยบายที่เป็นลายลักษณ์อักษร และสื่อ q อาหาร การจัดการอาหาร และการบริการ ข้อมูล (เอกสารหรือแผ่นป้าย) เก่ียวกับการ อาหาร จัดการและผลิตอาหาร การล้างมือและหลัก สุขาภิบาลไว้ในท่ีสังเกตเห็นง่ายภายในหรือใกล้ หอ้ งครัว 2.1.2 บันทกึ ทางการแพทย์ระบุว่า มีคนประจ�ำเรอื ผสู้ มั ผสั อาหารหรอื คนประจำ� เรอื ทท่ี ำ� งานในครวั q q ที่เป็นโรคติดต่อแล้วกลับมาท�ำงานในครัว ท่ีมีอาการเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหารติดเชื้อ ก่อนหายจากอาการป่วยเป็นเวลาอย่างน้อย ตอ้ งงดการทำ� งานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั อาหารจนกวา่ จะ 48 ชัว่ โมง หรอื มโี รคติดต่ออ่ืนๆ ท่สี ง่ ผลก หายจากอาการปว่ ยเปน็ เวลาอยา่ งนอ้ ย 48 ชว่ั โมง ระทบตอ่ คนประจ�ำเรอื ประเมินอาการป่วยของคนประจำ� เรอื ซำ�้ q จัดท�ำแนวทางปฏิบัติท่ีเกี่ยวกับสุขอนามัย การ ท�ำความสะอาดและการบ�ำรุงรักษา พร้อมท้ัง สอ่ื เผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์ เช่น เอกสาร วดี ที ศั น์ q 2.1.3 ไมม่ โี ปรแกรมและตารางการทำ� ความสะอาด ตำ� ราเรียนแผน่ ปา้ ย ใหแ้ กค่ นประจำ� เรือ q ประจำ� วนั จัดท�ำแนวทางการให้ความรู้และเน้นการน�ำ q แนวทางไปปฏิบตั ิ ไมม่ ปี มู บนั ทกึ อณุ หภมู ขิ อง อาหารทรี่ บั ขน้ึ เรอื จัดท�ำบันทึกอุณหภูมิของตู้แช่แข็งและที่เก็บ ตู้แช่แข็ง ห้องเย็น อุณหภูมิส�ำหรับการเก็บ อาหารร้อนและเย็น อุณหภูมิขณะปรุงอาหาร 2.1.4 รกั ษาอาหาร หรอื อณุ หภมู ขิ ณะเตรยี มอาหาร และบันทึกการตรวจสอบเคร่ืองวัดอุณหภูมิ q q ไมม่ กี ารตรวจสอบเครอ่ื งวดั อณุ หภมู อิ าหาร อาหาร จดั ทำ� แผนปฏบิ ตั กิ ารจดั การขยะเพอื่ ปอ้ งกนั กลน่ิ ไม่มีแผนการจัดการขยะหรือตารางการ รบกวนและแมลงน�ำโรค ไม่ให้เกิดการปนเปื้อน 2.1.5 ทำ� ความสะอาด ในอาหารและมลพษิ ในสิง่ แวดลอ้ ม และจัดทำ� q q ตาราง บันทึกการทำ� ความสะอาด คู่มอื การตรวจและการออกอกสารรบั รองสขุ าภิบาลเรอื 47 Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

พนื้ ที่ 2 รหสั พืน้ ที่ ผลการตรวจสอบ: หลกั ฐานท่พี บ มาตรการในการควบคุม ้ตอง �ดำเนินการ ผลการเกบ็ ตวั อย่าง การตรวจสอบเอกสาร และการปฏบิ ตั ทิ ่ถี ูกต้อง ้ขอแนะน�ำ 2.1.6 ไม่มีการอบรมดา้ นความปลอดภัยทางอาหาร q q หรือไม่มหี ลกั ฐานบนั ทกึ วา่ คนประจำ� เรือได้ จดั ทำ� แผนการอบรมและจัดทำ� บันทึกการอบรม ผ่านการอบรมมาแลว้ q q 2.2 อุปกรณ์ เครื่องใช้ และวัสดุ 2.2.1 ติดตั้งจุดล้างมืออย่างน้อยหน่ึงจุด โดยเฉพาะใน q q หอ้ งครวั พรอ้ มสบู่ อปุ กรณท์ ำ� ใหม้ อื แหง้ (แนะนำ� ในหอ้ งครวั ไมม่ จี ดุ ลา้ งมอื หรอื มไี มเ่ พยี งพอ ให้ใช้กระดาษเช็ดมือแบบใช้แล้วทิ้ง) และที่ท้ิง กระดาษเชด็ มอื ทใ่ี ชแ้ ลว้ ติดตั้งป้ายบอกต�ำแหน่งของจุดล้างมือ และ q เทคนิค เวลาการลา้ งมือที่เหมาะสม ติดตั้งอ่างส�ำหรับการจัดเตรียมอาหารในหลายๆ ท่ีเท่าท่ีเป็นไปได้ กล่าวคือในจุดที่ใช้ในการจัด เตรียมเนื้อสตั ว์ ทุกชนิด ปลา และผกั หอ้ งเย็น อ่างล้างอเนกประสงค์ท่ีใช้ในการเตรียม เก็บอาหาร หรือห้องเย็นเตรียมอาหาร และใน 2.2.2 q q อาหารไม่มีการท�ำความสะอาดและฆ่าเช้ือ จุดอื่นๆ ท่ีคนประจ�ำเรือใช้ล้างหรือแช่เนื้อสัตว์ โรคอยา่ งเหมาะสม และจัดเตรียมอ่างอย่างน้อยหน่ึงอ่าง ส�ำหรับใช้ จัดเตรยี มอาหารโดยเฉพาะ เคร่งครัดการท�ำความสะอาดและฆ่าเช้ือโรคอ่าง q กอ่ นเตรยี มอาหาร โดยเฉพาะถา้ มอี า่ งเพยี งอา่ งเดยี ว 2.2.3 พื้นผิวที่สัมผัสอาหารและอุปกรณ์เครื่องใช้ เปลี่ยนวัสดุของพื้นผิวที่สัมผัสอาหารให้ทนต่อ q ไม่ทนทาน มีการกัดกร่อน และดูดซึมส่ิง การกัดกร่อน ไม่มีสารพิษ ไม่ดูดซึมส่ิงต่างๆ q ตา่ งๆ ได้ ทำ� ความสะอาดง่าย มีผิวเรยี บ และทนทาน 2.2.4 ประตูปดิ หรือสงิ่ ปิดกนั อ่นื ๆ ปดิ ไม่สนทิ หรือ ติดตั้ง ซ่อมแซมประตู ฝาปิดถังน�้ำแข็ง ตู้เก็บ q ชำ� รดุ อาหาร และอปุ กรณบ์ รรจนุ ำ�้ แขง็ ใหป้ ดิ สนทิ เพอ่ื ปอ้ งกันการปนเป้อื นของอาหาร 2.2.5 ถังขยะไม่เหมาะสม (เช่น ป้องกันหนูแทะไม่ ถงั ขยะทำ� จากวสั ดทุ ปี่ อ้ งกนั หนแู ทะ กนั นำ้� เขา้ ไม่ q ได้ นำ้� เขา้ ได้ ดดู ซึมสงิ่ ต่างๆ ได้ และท�ำความ ดดู ซมึ และท�ำความสะอาดง่าย สะอาดลำ� บาก) 2.2.6 ถังใส่ขยะไม่มีฝาปิดหรือฝาครอบหรือมีแต่ ปดิ ฝาหรอื ฝาครอบถงั ขยะทอี่ ยใู่ นบรเิ วณการเตรยี ม q q ไม่ได้ปิด อาหารใหม้ ดิ ชดิ ระหวา่ งการเตรยี ม การใหบ้ รกิ าร อาหาร และการทำ� ความสะอาด 48 คูม่ ือการตรวจและการออกอกสารรบั รองสุขาภบิ าลเรอื Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates

รหสั พืน้ ที่ ผลการตรวจสอบ: หลกั ฐานท่ีพบ มาตรการในการควบคมุ ้ตอง �ดำเนินการ พืน้ ท่ี 2 ผลการเกบ็ ตวั อยา่ ง การตรวจสอบเอกสาร และการปฏบิ ัติที่ถูกต้อง ้ขอแนะน�ำ 2.3 ส่ิงอำ� นวยความสะดวกต่าง ๆ 2.3.1 พบหลักฐานว่าน�ำน้�ำที่ไม่ได้มาตรฐานน้�ำ q q บริโภคในห้องครัว ห้องเตรียมอาหาร และ ใช้นำ�้ ทีไ่ ด้มาตรฐานน�้ำบริโภค เกบ็ อาหาร 2.3.2 การสร้างหรือจัดต้ังของพื้นที่ พื้นผิว และ สรา้ งหรอื จดั ตง้ั พนื้ ที่ พน้ื ผวิ และอปุ กรณด์ ว้ ยวสั ดุ q q อุปกรณ์ท�ำความสะอาดยาก เป็นแหล่งของ ทที่ นทาน ทำ� ความสะอาดและการระบายนำ้� งา่ ย พาหะนำ� โรค และเศษอาหาร 2.3.3 ไมม่ ีอปุ กรณ์เกบ็ น�ำ้ บริโภค น�ำ้ แขง็ เคร่อื งด่ืม ใชอ้ ปุ กรณท์ เ่ี หมาะสมในการจดั เกบ็ และแจกจา่ ย q q หรอื มีแตไ่ มเ่ หมาะสม นำ้� บรโิ ภค ซง่ึ กต็ อ้ งมปี รมิ าณเพยี งพอตอ่ การแจก 2.3.4 ทอ่ ระบายนำ้� ของอา่ งลา้ งตอ่ ตรงกบั ระบบนำ้� เสยี ไม่ติดตั้งท่อระบายนำ�้ จากอา่ งกบั ท่อน�ำ้ เสีย q q (เชน่ ทอ่ air break) เพอื่ ปอ้ งกนั นำ�้ ไหลยอ้ นกลบั ออกแบบและสร้างระบบระบายอากาศใหม่ พร้อมท้ังท�ำความสะอาดและบ�ำรุงรักษาระบบ 2.3.5 ไม่มีระบบระบายอากาศ หรือมีไม่เพียงพอ อย่างเหมาะสม ตรวจสอบให้มั่นใจว่าบานเกล็ด q q (เชน่ ความช้นื ในอากาศสงู เกนิ ) หรือช่องลมท่ีระบายอากาศ ถอดออกท�ำความ ความสะอาดได้งา่ ย 2.3.6 ระดบั ของแสงสว่างไมเ่ พียงพอ จัดหาแสงสว่างให้เหมาะสมสำ�หรบั ปฏบิ ตั งิ าน q q 2.3.7 ไม่ติดตั้งฝาครอบหลอดไฟเหนือพ้ืนที่เตรียม ตดิ ต้ังหรือปรบั โคมไฟตดิ เพดานหรือผนัง q q อาหาร ให้มั่นใจว่าอาหารจะไม่ถูกปนเปื้อนหากหลอด แกว้ แตก จดั หาพนื้ ทเี่ หมาะสมและถกู สขุ ลกั ษณะสำ� หรบั ใช้ เปน็ หอ้ งนำ�้ ทม่ี ที งั้ โถสว้ ม อา่ งลา้ งมอื และอปุ กรณ์ ท�ำให้มือแห้ง และสบู่ล้างมือไว้อย่างเพียงพอ เสมอ โดยทหี่ อ้ งนำ้� จะตอ้ งไมเ่ ปดิ ตรงเขา้ ครวั หรอื q 2.3.8 ไม่มีห้องน้�ำส�ำหรับคนประจ�ำเรือท่ีท�ำหน้าที่ พืน้ ท่เี ตรียมอาหารอืน่ ๆ q q จัดการอาหาร หรือมแี ต่ไมส่ ามารถใช้งานได้ ติดต้ังห้องส�ำหรับเปลี่ยนเส้ือผ้าให้คนประจ�ำเรือ ท่ีท�ำหน้าที่จัดการอาหาร โดยถ้าเป็นไปได้ควรมี ตู้หรอื อุปกรณท์ ่เี หมาะสมสำ� หรบั เกบ็ เสือ้ ผ้า คมู่ ือการตรวจและการออกอกสารรับรองสุขาภิบาลเรือ 49 Handbook for Inspection of Ships and Issuance of Ship Sanitation Certificates


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook