Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ CCAT - version 2561 พิมพ์ครั้งที่ 6

คู่มือ CCAT - version 2561 พิมพ์ครั้งที่ 6

Published by icdc_gcd, 2022-11-23 03:11:13

Description: คู่มือ CCAT - version 2561 พิมพ์ครั้งที่ 6

Search

Read the Text Version

 Iคู่มือการประเมินตนเอง : การพัฒนาสมรรถนะหลกั ของช่องทางเข้าออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ และพรมแดนทางบก

คณะผู้จดั ท�ำ ทป่ี รกึ ษา นายแพทยส์ วุ รรณชัย วัฒนายง่ิ เจริญชัย อธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทยธ์ นรกั ษ์ ผลิพฒั น์ รองอธบิ ดีกรมควบคมุ โรค นายแพทยโ์ สภณ เอยี่ มศริ ถิ าวร ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั โรคตดิ ต่อทวั่ ไป ผูแ้ ปล นายชวลิต ตันตนิ ิมิตรกุล ผจู้ ัดทำ� ส�ำนักโรคติดต่อท่ัวไป กรมควบคมุ โรค 1. แพทย์หญิงวราลกั ษณ์ ตงั คณะกุล สำ� นักโรคติดตอ่ ทวั่ ไป กรมควบคุมโรค 2. นางสาวมยุรฉัตร เบ้ยี กลาง สำ� นกั โรคติดต่อทว่ั ไป กรมควบคมุ โรค 3. นายพรชัย เกิดศิริ ส�ำนกั โรคตดิ ตอ่ ท่วั ไป กรมควบคุมโรค 4. นางสาวอจั ฉรา ทเุ ครอื จดั พิมพ์โดย กลุ่มโรคติดต่อระหว่างประเทศ สำ� นกั โรคตดิ ต่อทวั่ ไป กรมควบคุมโรค พมิ พค์ รงั้ ท่ี 1 : พ.ศ. 2557 จำ� นวน 340 เลม่ พมิ พค์ ร้งั ท่ี 2 : พ.ศ. 2558 จ�ำนวน 1,000 เลม่ พิมพ์ครงั้ ที่ 3 : พ.ศ. 2559 จำ� นวน 1,000 เลม่ พมิ พ์ครั้งท่ี 4 : พ.ศ. 2560 จำ� นวน 540 เล่ม พิมพ์ครงั้ ที่ 5 : พ.ศ. 2561 จำ� นวน 450 เลม่ พิมพค์ รั้งที่ 6 : พ.ศ. 2562 จ�ำนวน 400 เล่ม พมิ พ์ท ่ี : ส�ำนักพมิ พ์อักษรกราฟฟคิ แอนดด์ ไี ซน์ ISBN : 978-616-11-2166-2 II คมู่ ือการประเมนิ ตนเอง : การพัฒนาสมรรถนะหลกั ของช่องทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรอื และพรมแดนทางบก

ค�ำนำ� (ครงั้ ที่ 1 ตลุ าคม 2551) ประเทศไทยประกาศยอมรบั การปฏบิ ตั ติ ามกฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ พ.ศ. 2548 (International Health Regulations 2005/IHR) ขององค์การอนามัยโลก ตั้งแตว่ ันท่ี 15 มถิ ุนายน พ.ศ. 2550 และมอบหมายให้กระทรวง สาธารณสุขเป็นผู้ประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่นๆ รวม 18 กระทรวง กฎอนามัยระหว่างประเทศฉบับใหม่ มีข้อก�ำหนดเพิ่มเติมจากกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2512 ในเร่ือง ช่องทางเข้าออกทางอากาศ ทางเรือ และบรเิ วณพรมแดน และการพัฒนาสมรรถนะหลัก กฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ พ.ศ. 2548 มขี อ้ กำ� หนดใหช้ อ่ งทางเขา้ ออกประเทศทส่ี ำ� คญั ตอ้ งไดร้ บั การพฒั นา สมรรถนะหลักให้สามารถปฏิบัติตามกฎอนามัยระหว่างประเทศฉบับใหม่ได้ภายใน 5 ปี ต้ังแต่ พ.ศ. 2550 รวมถึง การรองรบั ภาวะฉุกเฉิน ดา้ นสาธารณสุขระหวา่ งประเทศ (Public Health Emergency of International Concern/ PHEIC) ท่มี ีแนวโน้มที่จะแพรร่ ะบาดเข้ามาในราชอาณาจักร โดยองค์การอนามยั โลก ไดจ้ ดั ทำ� แบบศกึ ษาความพร้อม ในด้านตา่ งๆ ของชอ่ งทางเขา้ ออก เพอ่ื ให้ประเทศสมาชิก ด�ำเนินการส�ำรวจ เกบ็ ข้อมลู ใชเ้ ป็นพนื้ ฐานในการด�ำเนินการ พัฒนา กลุ่มโรคติดต่อระหว่างประเทศ ส�ำนักโรคติดต่อทั่วไป จึงได้จัดท�ำคู่มือการใช้แบบศึกษาสมรรถนะหลัก ของช่องทางเข้าออกประเทศ (Point of Entry/PoE) เพ่ือเป็นเคร่ืองมือด�ำเนินการส�ำรวจความพร้อมของหน่วยงาน ท่ีเก่ียวข้องบริเวณช่องทางเข้าออกประเทศทุกแห่ง โดยเฉพาะช่องทางเข้าออกท่ีส�ำคัญรวม 18 แห่ง ทั่วประเทศ ซึ่งในแบบศึกษาความพร้อมฯ จะประกอบด้วยการศึกษาความพร้อมด้านการส่ือสาร การประสานงาน กิจกรรม การดำ� เนนิ งานความรตู้ า่ งๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งการฝกึ อบรมบคุ ลากร การตดิ ตามประเมนิ ผล และการรายงาน โดยผลการศกึ ษา คร้ังนจี้ ะใช้เปน็ ข้อมลู ในการวางแผนพฒั นาสมรรถนะหลักของชอ่ งทางเขา้ ออกทส่ี �ำคญั ของประเทศต่อไป กลุ่มโรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศ สำ� นกั โรคติดต่อทวั่ ไป  IIIคูม่ อื การประเมนิ ตนเอง : การพัฒนาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเข้าออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ และพรมแดนทางบก

คำ� นำ� (คร้ังท่ี 2, 2553) องคก์ ารอนามัยโลกได้ปรบั ปรงุ Assessment tool for core capacity requirements for designated airports, ports and ground crossing จากรา่ ง เมษายน ปี 2008 เสรจ็ สน้ิ เมอื่ 4 พฤศจกิ ายน 2009 โดยมรี ายละเอยี ด สมรรถนะหลักของช่องทางเข้าออกประเทศ (Point of Entry) ตามข้อก�ำหนดของกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 (International Health Regulations 2005) ทงั้ ในภาวะปกติ (Routine) และในภาวะฉกุ เฉนิ ดา้ นสาธารณสขุ (Emergencies) โดยฉบับปี 2009 ได้เพิ่มเติมสมรรถนะพิเศษเฉพาะช่องทางเข้าออกประเภทต่างๆ เมื่อมีเหตุการณ์ ที่สงสัยวา่ อาจเกดิ โรคตดิ ตอ่ หรอื ภาวะฉุกเฉินดา้ นสาธารณสขุ บนยานพาหนะทีผ่ า่ นช่องทางเข้าออกประเทศ โดยเน้น ให้มีการจัดท�ำขั้นตอนการสื่อสารในสถานการณ์ดังกล่าว รวมไปถึงข้ันตอนการประเมินเหตุการณ์ การท�ำลายเชื้อ การท�ำลายพาหะและรังโรค นอกจากนี้ให้มีการก�ำหนดข้ันตอน ในการขออนุญาตให้ยานพาหนะที่ได้รับผลกระทบ เข้าจอด หรือเทยี บท่า (free pratique) ส�ำหรบั เนื้อหาการพฒั นาสมรรถนะหลกั อน่ื ๆ ไม่เปลี่ยนแปลงอยา่ งมนี ัยส�ำคัญ อนง่ึ สำ� นกั งานองคก์ ารอนามยั โลก ประจำ� ประเทศไทย และกลมุ่ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศ สำ� นกั โรคตดิ ตอ่ ทวั่ ไป ตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของการพฒั นาสมรรถนะหลกั ดงั กลา่ ว จงึ ไดร้ ว่ มกนั จดั ทำ� คมู่ อื การประเมนิ สมรรถนะหลกั ชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ตามเครอ่ื งมอื ประเมนิ สมรรถนะหลกั ขององคก์ ารอนามยั โลก ฉบบั รา่ งครง้ั ที่ 1 (ตลุ าคม 2551) และใชใ้ นการศกึ ษาชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศทก่ี ำ� หนดใหม้ กี ารพฒั นาทงั้ สน้ิ 18 แหง่ แลว้ เสรจ็ ตงั้ แตป่ ี 2551 และไดร้ ว่ มกนั ปรับปรงุ คูม่ อื ฯ ฉบับเดิมใหท้ ันสมัย และเพิ่มเตมิ รายละเอยี ดตามคูม่ ือฯ ปี 2009 ขององค์การอนามัยโลก โดยไดร้ บั ความรว่ มมอื อย่างดยี ิ่งจาก คณุ ชวลิต ตนั ตินิมติ กลุ ส�ำนักงานองค์การอนามัยโลก ประจ�ำประเทศไทย ดว้ ยเหตนุ ้ี คูม่ ือการประเมินสมรรถนะหลกั ชอ่ งทางเข้าออกประเทศขององคก์ ารอนามยั โลก จึงสามารถใช้ ในการศกึ ษาสมรรถนะหลกั ชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศประเภทตา่ งๆ เพอื่ ระบสุ มรรถนะทยี่ งั ไมม่ คี วามพรอ้ มตามกฎอนามยั ระหว่างประเทศ ปี 2005 ก�ำหนดให้พฒั นาและคณะทำ� งานพฒั นาชอ่ งทางเข้าออกประเทศแต่ละชอ่ งทางจะไดท้ ราบ และใช้ผลการศึกษาในการวางแผนพัฒนาท่ียังไม่มีความพร้อมได้อย่างยั่งยืน เพื่อให้ช่องทางเข้าออกประเทศสามารถ ผ่านการประเมิน โดยองค์การอนามัยโลกว่ามีสมรรถนะหลักตามท่ีระบุไว้ในกฎอนามัยระหว่างประเทศตามก�ำหนด (เดือนมถิ ุนายน ปี 2012) กลุ่มโรคติดต่อระหวา่ งประเทศ สำ� นกั โรคติดต่อทัว่ ไป IV ค่มู ือการประเมินตนเอง : การพัฒนาสมรรถนะหลักของชอ่ งทางเข้าออกประเทศ ท่าอากาศยาน ทา่ เรือ และพรมแดนทางบก

คำ� นำ� (ครง้ั ที่ 3, 2557) การประเมินตนเอง เป็นกระบวนการท่ีจัดท�ำให้หน่วยงานองค์กร ได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็ง และโอกาสในการพัฒนาของตนเองซ่ึงจะท�ำให้สามารถน�ำไปใช้ในการวางแผนปรับปรุงหน่วยงานองค์กรให้มี ประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น รวมท้ังเพิ่มศักยภาพในการบริหารจัดการภายในหน่วยงานให้ดียิ่งข้ึน โดยท่ัวไปรูปแบบ จะคล้ายคลึงกับการตอบปัญหาทั่วไปเพื่อวัดสมรรถนะด้านต่างๆ โดยตอบค�ำถามบนพื้นฐานข้อเท็จจริงท่ีปรากฏของ หนว่ ยงานและทำ� การใหค้ ะแนนตนเองซง่ึ จะทำ� ใหท้ ราบถงึ จดุ ออ่ นจดุ แขง็ ของหนว่ ยงาน หลกั การสำ� คญั ในการประเมนิ ตนเองเพื่อให้ได้ภาพท่ีสะท้อนถึงความเป็นจริง การประเมินตนเองน้ันต้องเกิดจากกระบวนการระดมความคิดของทีม หรอื คณะทำ� งานเพอ่ื รว่ มใหค้ ะแนนทเ่ี หมาะสมสำ� หรบั สถานะภาพของหนว่ ยงานตนเองในปจั จบุ นั สาระสำ� คญั ของการ ประเมินตนเองไม่ใช่คะแนนที่เป็นร้อยละ แต่เป็นผลการประเมินท่ีเป็นภาพสะท้อนและทราบถึงจุดอ่อนจุดแข็งของ หนว่ ยงานองคก์ ร เพอ่ื นำ� มาใชป้ รบั ปรงุ กระบวนการดำ� เนนิ งาน ทง้ั นที้ งั้ นนั้ การประเมนิ สมรรถนะตนเองจะตอ้ งทำ� อยา่ ง ตอ่ เนอ่ื งเพือ่ ใหท้ ราบสถานะภาพในปจั จบุ นั ของหน่วยงานองค์กร คมู่ อื ประเมนิ ตนเอง การพฒั นาสมรรถนะหลกั ชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ทา่ อากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดน ทางบก จัดท�ำข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินสมรรถนะหลักของช่องทางเข้าออกประเทศ วเิ คราะหจ์ ดุ ออ่ น จดุ แขง็ และเพอื่ หาแนวทางในการพฒั นาแผนพฒั นาตนเองของแตล่ ะชอ่ งทางโดยยดึ ตามกรอบแนวทาง จากคมู่ อื ประเมนิ สมรรถนะหลกั ช่องทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ และพรมแดนทางบก (Assessment tool for core capacity requirements at designated airports, ports and ground crossings) ขององคก์ าร อนามัยโลก ฉบับปี 2553 โดยในปี 2554 นายแพทย์วินัย วุตติวิโรจน์ ได้เร่ิมพัฒนาโดยจัดท�ำ (ร่าง) คู่มือประเมิน ตนเองฯ และหลังจากนั้นคณะท�ำงานประเมินสมรรถนะหลักของช่องทางเข้าออกประเทศ เจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรค ตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศ และผูเ้ ก่ียวขอ้ ง ได้ร่วมประชมุ ระดมสมองเพ่อื พฒั นาและปรบั ปรงุ คมู่ อื ประเมินตนเองฯ โดยจดั ใหม้ เี วทรี บั ฟังแลกเปลยี่ นความคิดเห็นเกย่ี วกบั ร่างคมู่ อื น้ีสองครงั้ คือ คร้งั ที่ 1 เม่อื วันที่ 13–15 มถิ ุนายน 2554 ณ โรง แรมลองบชี การเ์ ด้นท์ โฮเตล็ แอนด์ สปา จังหวัดชลบรุ ี ครั้งท่ี 2 เมอื่ วนั ท่ี 3-4 มกราคม 2556 ณ โรงแรม อมารี ดอนเมอื ง แอร์พอร์ต กรงุ เทพฯ กลมุ่ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศ สำ� นกั โรคตดิ ตอ่ ทวั่ ไป ตอ้ งขอขอบคณุ ความสนบั สนนุ จากผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั โรคตดิ ตอ่ ทวั่ ไป ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั งานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคทเี่ กย่ี วขอ้ ง และเจา้ หนา้ ทจ่ี ากกลมุ่ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศ เจ้าหน้าท่ีด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค และหวังว่าจะได้รับความอนุเคราะห์ ในโอกาสต่อไป กล่มุ โรคตดิ ต่อระหว่างประเทศ ส�ำนกั โรคตดิ ตอ่ ท่ัวไป  Vคูม่ ือการประเมินตนเอง : การพัฒนาสมรรถนะหลกั ของช่องทางเขา้ ออกประเทศ ทา่ อากาศยาน ทา่ เรือ และพรมแดนทางบก

คำ� น�ำ (คร้งั ที่ 4, 2559) การพฒั นาสมรรถนะหลักของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ตามขอ้ ก�ำหนดของกฎอนามยั ระหว่างประเทศ ได้มี การพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ต้ังแต่ ปี 2551 ถึงปัจจุบัน ซงึ่ ปี 2553 องค์การอนามยั โลกได้ออกแนวทางจากคูม่ ือประเมิน สมรรถนะหลกั ชอ่ งทางเข้าออกประเทศ ทา่ อากาศยาน ทา่ เรือ และพรมแดนทางบก (Assessment tool for core capacity requirements at designated airports, ports and ground crossings) เพอ่ื ให้ช่องทางเขา้ ออกประเทศ ใชป้ ระเมนิ ตนเอง เพอ่ื หาจดุ เดน่ (Strengths) จดุ ทคี่ วรพฒั นา (Weaknesses) และแนวทางการปรบั ปรงุ พฒั นา (Work plan on future improvement) ของช่องทางเข้าออกประเทศ ส�ำนักโรคติดต่อทั่วไป โดยกลุ่มโรคติดต่อระหว่าง ประเทศได้ประชุมกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง จัดท�ำแนวทางการเตรียมเอกสารหรือข้อมูลให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ชอ่ื คมู่ อื การประเมนิ ตนเอง: การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ทา่ อากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดน ทางบก โดยคู่มือดังกล่าวจะใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาสมรรถนะหลักของช่องทางเข้าออกประเทศทุกช่องทางของ ประเทศไทย กลมุ่ โรคตดิ ตอ่ ระหวา่ งประเทศ สำ� นกั โรคตดิ ตอ่ ทวั่ ไป ขอขอบคณุ ความสนบั สนนุ จากทกุ หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ไดแ้ ก่ คณะอนกุ รรมการพฒั นาสมรรถนะชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ คณะทำ� งานตดิ ตามและสนบั สนนุ การพฒั นาสมรรถนะ ช่องทางเข้าออกประเทศ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักโรคติดต่อทั่วไป ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรคท่ีเกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่จากกลุ่มโรคติดต่อระหว่างประเทศ เจ้าหน้าที่ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศทั้งส่วนกลางและ สว่ นภมู ภิ าค ทีช่ ่วยผลักดันและสนับสนุนการพัฒนาชอ่ งทางเข้าออกประเทศ กล่มุ โรคตดิ ตอ่ ระหว่างประเทศ สำ� นกั โรคตดิ ตอ่ ทัว่ ไป VI คมู่ อื การประเมนิ ตนเอง : การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ และพรมแดนทางบก

สารบัญ คำ� นำ� (ครง้ั ที่ 1 ตลุ าคม 2551).................................................................................................................................... III ค�ำนำ� (ครง้ั ที่ 2, 2553)................................................................................................................................................IV คำ� นำ� (ครัง้ ที่ 3, 2557).................................................................................................................................................V คำ� นำ� (ครง้ั ท่ี 4, 2559)................................................................................................................................................VI คู่มอื การประเมินตนเอง : การพัฒนาสมรรถนะหลักของชอ่ งทางเข้าออกประเทศ......................................................1 ท่าอากาศยาน ท่าเรอื และพรมแดนทางบก A) สมรรถนะหลักในการประสานงาน การสอื่ สารขอ้ มลู ข่าวสารเกี่ยวกบั เหตุการณท์ ่ีเกิดขึ้น........................2 และการน�ำมาตรการตา่ งๆ มาใช้ B – I สมรรถนะหลักทชี่ ่องทางเข้าออกประเทศทกุ ประเภททก่ี �ำหนดไว้ ทัง้ ทา่ อากาศยาน ทา่ เรอื ..................12 และจดุ ผา่ นแดนทางบก จะต้องได้รับการพัฒนา ต้องมตี ลอดเวลา (ในสภาวะปกติ) B – II การแก้ไขเหตกุ ารณท์ ีอ่ าจก่อใหเ้ กิดภาวะฉกุ เฉินด้านสาธารณสขุ ระหวา่ งประเทศ..................................52 PHEIC (Emergencies) แนวทางการสรุปผลการติดตามและสนับสนุนการพัฒนาสมรรถนะหลกั ชอ่ งทางเข้าออกประเทศ..........................68 คมู่ ือการใช้งานของ Excel Spreadsheet Model File ส�ำหรับการประเมนิ สมรรถนะหลัก.................................71 ทีท่ ่าเรอื ทา่ อากาศยาน และผ่านพรมแดนทางบก ภาคผนวก.....................................................................................................................................................................79 ภาคผนวก 1 Assessment tool for core capacity requirements at designated airports, ports and ground crossings..............................................................................................81 ภาคผนวก 2 แนวทางการแปลผลจากคู่มอื ................................................................................................ 120 ภาคผนวก 3 หลักฐานแสดงความเชี่ยวชาญของหน่วยงาน........................................................................ 124 - หลักฐานแสดงความเชย่ี วชาญของหน่วยทีท่ �ำหน้าท.ี่ ......................................................... 124 ประเมนิ รายงาน ตามภยั สขุ ภาพทั้ง 5 ด้าน - หลกั ฐานแสดงความเชยี่ วชาญของหนว่ ยทท่ี ำ� หนา้ ท่ี กำ� กบั ................................................ 126 สง่ิ แวดล้อมทีป่ ลอดภัยท่ชี อ่ งทางเข้าออกประเทศ ภาคผนวก 4 การตรวจเชค็ สภาพรถยนตท์ ั่วไป 24 รายการ....................................................................... 129 ภาคผนวก 5 แบบ Checklist : รถพยาบาลฉุกเฉินกอ่ นออกปฏบิ ตั ิงาน..................................................... 130 ภาคผนวก 6 ส�ำเนาค�ำสงั่ หนังสอื ส�ำนกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ท่ี นร 0505/20313............................... 132 ลงวันที่ 2 สิงหาคม 2556 เรอื่ ง ขอขยายเวลาแผนพฒั นางาน ดา้ นกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 (2004) ในชว่ งปี พ.ศ. 2551-2555 ภาคผนวก 7 สำ� เนาหนังสือสำ� นกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ดว่ นท่ีสุด ที่ นร 0505/42356....................... 134. ลงวันที่ 11 พฤศจกิ ายน 2559 เรอ่ื ง ขออนมุ ตั ิ \"แผนยทุ ธศาสตร์การพฒั นา งานด้านกฎอนามยั ระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 สำ� หรับช่วงปี พ.ศ. 2560-2564\" ภาคผนวก 8 ส�ำเนาคำ� ส่ังกระทรวงสาธารณสขุ ที่ 878/2556.................................................................. 136. เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการกฎอนามยั ระหวา่ งประเทศ พ.ศ. 2548 (2005) ภาคผนวก 9 ส�ำเนาค�ำสั่งคณะกรรมการกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 (2005) ท่ี 05/2557..... 138 เร่อื ง แต่งต้งั คณะอนุกรรมการพฒั นาสมรรถนะชอ่ งทางเข้าออกประเทศ ภาคผนวก 10 สำ� เนาคำ� ส่ังคณะกรรมการกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ. 2548 (2005) ท่ี 1/2559........ 140 เรื่อง แตง่ ต้ังคณะอนุกรรมการพฒั นาสมรรถนะช่องทางเขา้ ออกประเทศ  VIIคมู่ อื การประเมินตนเอง : การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเข้าออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรอื และพรมแดนทางบก

VIII คมู่ ือการประเมนิ ตนเอง : การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดนทางบก

คูม่ อื การประเมินตนเอง : A // Coordination การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของช่องทางเขา้ ออกประเทศ ทา่ อากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดนทางบก จดั ทำ� ขน้ึ เพอื่ ใหเ้ จา้ หนา้ ทผ่ี มู้ อี ำ� นาจบรเิ วณชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศเป็นผู้บันทึกข้อมูลหรือตอบค�ำถาม ซึ่งข้อค�ำถาม เก่ียวข้องกับหน่วยงานใดเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบของหน่วยงานนั้นเป็นผู้ตอบค�ำถามหรือให้ข้อมูลแก่ทีมเก็บข้อมูล แบบศึกษา สมรรถนะหลักฯ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ Part A และ Part B แต่ในการประเมินให้เรม่ิ ทำ� Part A ก่อน Part B Part A เปน็ การศกึ ษาระบบ ขนั้ ตอน และวธิ กี ารตดิ ตอ่ สอื่ สาร ความรว่ มมอื ระหวา่ งเจา้ หนา้ ทผ่ี มู้ อี ำ� นาจของชอ่ งทาง เข้าออกประเทศ (Point of Entry) จุดประสานงานกฎอนามัยระหวา่ งประเทศระดับชาติ (the National IHR Focal Point) เจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสุขทผ่ี ้มู ีอำ� นาจหน้าท่ที ี่เก่ียวขอ้ งในระดับจงั หวัด ระดับพน้ื ท่ี ตลอดจนขอ้ ก�ำหนดบางสว่ นในภาคผนวก 1 ก. ของกฎอนามัยระหวา่ งประเทศ 2005 Part B เป็นแบบส�ำรวจ (Check list) ใช้ศึกษาสมรรถนะหลักท่ีช่องทางเข้าออกประเทศท่ีก�ำหนดให้มีการพัฒนา ทั้งชอ่ งทางเข้าออกทเ่ี ป็นทา่ อากาศยาน ทา่ เรอื และช่องทางเข้าออกทางบก โดยจะแบง่ การส�ำรวจสมรรถนะหลักในภาวะปกติ และภาวะฉุกเฉิน ตามท่ีก�ำหนดไว้ในภาคผนวก 1 ข. ของกฎอนามัยระหว่างประเทศ 2005 การกรอกข้อมูลในช่องระดับ ของการปฏิบัติจะใช้การกาเคร่ืองหมาย  ในช่องที่ได้ด�ำเนินการ และให้ชี้แจงรายละเอียดในช่องอธิบายระดับขั้นตอน ของการปฏิบัติ สว่ นทีจ่ ะต้องบนั ทึกข้อมูล มี 2 ส่วน คือ สว่ นท่ี 1 ระดับขนั้ ของการปฏบิ ัติ แบ่งเปน็ 3 ประเภท ได้แก่ 1. ท�ำแลว้ ทงั้ หมด หมายถึง สมรรถนะหลกั ท่กี �ำหนดมีรายละเอียดและการตรวจสอบครบทกุ ขอ้ 2. ท�ำแล้วบางสว่ น หมายถึง สมรรถนะหลกั ที่กำ� หนดมีรายละเอียดและการตรวจสอบไม่ครบทกุ ข้อ 3. ยงั ไมไ่ ดท้ �ำ หมายถงึ สมรรถนะหลักทกี่ �ำหนดยงั ไมไ่ ดด้ ำ� เนินการตามรายละเอยี ดทกี่ ำ� หนด กรณสี มรรถนะหลกั ทำ� แลว้ บางสว่ นหรอื ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ใหผ้ ปู้ ระเมนิ ใหข้ อ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ หรอื แนวทางการ ปฏบิ ตั ิงานใหก้ บั ผ้รู บั การประเมนิ สว่ นท่ี 2 อธบิ ายระดบั ข้ันตอนของการปฏบิ ัติ หมายถงึ รายละเอยี ดและการตรวจสอบ ผ้ใู หข้ ้อมูล ข้อเสนอแนะ ซ่งึ ผปู้ ระเมินเป็นผบู้ นั ทึกผลการประเมนิ ทัง้ 3 ขอ้ รายละเอยี ดและการตรวจสอบ คอื ผลจากการตรวจสอบโดยผปู้ ระเมิน ซึ่งได้ข้อมลู จากการซกั ถาม สงั เกต ตรวจสอบ หลักฐานที่ผู้รับการประเมินเตรียม ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้รับผิดชอบด�ำเนินการตามสมรรถนะหลักน้ันๆ ซ่ึงอาจจะรับผิดชอบ หน่วยงานเดยี ว หรอื หลายหน่วยงานกไ็ ด้ ข้อเสนอแนะเพ่มิ เติม คอื ข้อเสนอแนะหรือแนวทางการแกป้ ญั หา ทีผ่ ู้ประเมนิ ใหก้ ับ ผกู้ ารรบั ประเมนิ เพอื่ น�ำไปเป็นแนวทางพัฒนาสมรรถนะหลัก  1คมู่ ือการประเมินตนเอง : การพฒั นาสมรรถนะหลักของช่องทางเข้าออกประเทศ ทา่ อากาศยาน ท่าเรอื และพรมแดนทางบก

A // Coordination คูม่ อื การประเมนิ ตนเอง : A) สมรรถนะหลกั ในการประสานงาน การสอื่ สารขอ้ มลู ขา่ วสารเกยี่ วกบั เหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ขนึ้ และการนำ� มาตรการตา่ งๆ มาใช้ (ในสว่ นท่ีเกีย่ วข้องกบั ท่าอากาศยาน ทา่ เรือ และชอ่ งทางเข้าออกทางบก (ตามทก่ี ำ� หนดไว้ในภาคผนวก 1 ก ของกฎอนามัยระหวา่ งประเทศ พ.ศ. 2548) 2 การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดนทางบก แบบประเมินส่วนแรกน้ี ใช้ส�ำหรับการประเมินการจัดโครงสร้างการส่ือสารข้อมูลข่าวสาร/การประสานงาน ระหว่างเจ้าหน้าที่ผู้มีอ�ำนาจท่ีช่องทางเข้าออกประเทศ กับทง้ั จดุ ประสานงานกฏอนามัยระหวา่ งประเทศ (National IHR Focal Point : NFP) และเจา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ ระดับต่างๆ ที่ปฏิบตั ิงานในระดับชาติ ระดบั ภมู ิภาค และระดับท้องถิ่น ตามท่ีกำ� หนดไว้ใน ผนวก 1 ก ของกฏอนามยั สมรรถนะหลกั มาตรการตามกฎอนามัย ระดบั ขั้นของการปฏบิ ัติ อธบิ ายระดบั ขนั้ ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพัฒนาสมรรถนะรวมทัง้ ทรพั ยากร และก�ำหนด เวลา) ท�ำแล้ว ทำ� แลว้ ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทง้ั หมด บางส่วน 1. การตดิ ตอ่ สอื่ สารระหวา่ งประเทศกบั เจา้ หนา้ ทผี่ มู้ อี ำ� นาจของจดุ เขา้ ออก รายละเอียดและการตรวจสอบ ประเทศอืน่ ๆ  มกี ารระบปุ ญั หา/ความสำ� คญั ในบนั ทกึ รายงานการประชมุ หรอื มแี ผนการ เจา้ หนา้ ทผี่ มู้ อี ำ� นาจของชอ่ งทางเขา้ ออกแหง่ น้ี จดั ทำ� บญั ชรี ายชอื่ พร้อมที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้ของเจ้าหน้าที่ผู้มีอ�ำนาจที่ช่องทางเข้าออก พัฒนา โดยมีผรู้ บั ผดิ ชอบชดั เจน อ่ืนๆ ที่เก่ียวข้อง พร้อมท้ังก�ำหนดวิธีการและข้ันตอนการติดต่อส่ือสาร  มบี ญั ชรี ายชอ่ื พรอ้ มทอี่ ยแู่ ละเบอรโ์ ทรศพั ทข์ องหนว่ ยงานทบี่ รหิ ารจดั การ ท่ีพร้อมต่อการแจ้งให้ช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศอื่นๆ ที่เก่ียวข้อง ใหท้ ราบวา่ ได้ด�ำเนินมาตรการดา้ นสาธารณสขุ ตา่ งๆ ตามข้อกำ� หนดของ ชอ่ งทางเข้าออกอน่ื ๆ (ประเทศอื่นๆ) IHR ไปแลว้ เช่น – กรณเี ปน็ ชอ่ งทางทา่ อากาศยาน หรอื เรอื สามารถประสานงาน ถงึ NFP – แจง้ ใหช้ อ่ งทางเขา้ ออกระหวา่ งประเทศถดั ไปไดท้ ราบขอ้ มลู เกยี่ วกบั หลักฐานที่พบ และมาตรการควบคุมใดๆที่ยังคงจะต้องด�ำเนินการ – กรณพี รมแดนใหต้ ดิ ตอ่ กบั ประเทศทมี่ พี รมแดนตดิ ตอ่ กนั หรอื ประสาน ทช่ี อ่ งทางเขา้ ออกประเทศทยี่ านพาหนะทไี่ ดร้ บั ผลกระทบนน้ั ๆ กำ� ลงั จะเดนิ ทางไปถึง ผ่าน NFP  มีการจัดทำ� ข้นั ตอน หรอื กลไกการติดต่อส่ือสาร หรอื flow chart การ ตดิ ต่อสอ่ื สาร รวมท้งั ค�ำอธิบายขัน้ ตอน  ทดสอบ ปรบั แก้ ให้เปน็ ปจั จุบัน (มีการสุ่มตรวจสอบ โดยผู้ประเมินฯ) ผใู้ ห้ข้อมลู หลัก   ข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ (บรรยาย)

สมรรถนะหลัก มาตรการตามกฎอนามยั ระดับขน้ั ของการปฏิบัติ อธบิ ายระดบั ขนั้ ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพัฒนาสมรรถนะรวมท้ังทรัพยากร และกำ� หนด เวลา) ทำ� แล้ว ท�ำแล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ท้งั หมด บางสว่ น คู่มือการประเมินตนเอง : 2. การตดิ ตอ่ ประสานงานระดบั ชาตริ ะหวา่ งเจา้ หนา้ ทผี่ มู้ อี ำ� นาจของชอ่ งทาง รายละเอยี ดและการตรวจสอบ เข้าออกประเทศ กับเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขในหน่วยงานสาธารณสุข  มกี ารระบปุ ญั หา/ความสำ� คญั ในบนั ทกึ รายงานการประชมุ หรอื มแี ผนการ การพัฒนาสมรรถนะหลกั ของช่องทางเข้าออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ  3และพรมแดนทางบก ระดบั ต่างๆ ทั้งในระดับพ้ืนท่ี ระดับจังหวดั และระดับชาติ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในหน่วยงานสาธารณสุขระดับต่างๆ พฒั นา โดยมผี ู้รบั ผดิ ชอบชัดเจน ทั้งระดับพื้นท่ี ระดับจังหวัด และระดับชาติ (รวมท้ังจุดประสานงาน  หน่วยงานสาธารณสุขระดับต่างๆ มีบัญชีรายชื่อพร้อมท่ีอยู่และเบอร์ กฏอนามัยระหว่างประเทศ (the National IHR Focal Point) มีรายละเอียดท่ีอยู่ท่ีติดต่อได้และเป็นปัจจุบันของเจ้าหน้าที่ผู้มีอ�ำนาจ โทรศัพทข์ องเจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสุขท่ีปฏิบตั งิ านที่ชอ่ งทางเข้าออกอนื่ ๆ ของชอ่ งทางเข้าออกประเทศ มกี ารก�ำหนดข้นั ตอนตา่ งๆ ไวเ้ ปน็ เอกสาร  ดา่ นฯ มีบญั ชีรายชอื่ เจา้ หนา้ ท่ี สสอ. รพ.สต. รพท. รพศ. รพช. และจุด และไดร้ บั การทดสอบแลว้ วา่ สามารถปฏบิ ตั ไิ ด้ รวมทง้ั มบี นั ทกึ ความเขา้ ใจ หรือข้อตกลงร่วมกันระหว่างหน่วยงานต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง พร้อมส�ำหรับ ประสานงานกฎอนามัยระหวา่ งประเทศ การปฏบิ ัติงานตามปกติ หรอื การตดิ ต่อสื่อสารและประสานงานในภาวะ  มขี ัน้ ตอน หรอื กลไกการติดต่อสอื่ สาร หรือ flow chart การติดต่อสอ่ื สาร เร่งด่วนในขณะเกิดเหตุการณ์ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่าง ประเทศกับ : มีค�ำอธิบายขั้นตอนวิธีการติดต่อประสานงานไว้พร้อมที่จะใช้แจ้งเกี่ยวกับ 1) เจ้าหน้าท่ีผู้มีอ�ำนาจท่ีช่องทางเข้าออกประเทศอื่นๆ และเจ้าหน้าที่ การดำ� เนนิ มาตรการดา้ นสาธารณสขุ ตา่ งๆ สาธารณสุขในหน่วยงาน ระดับต่างๆ ท้ังระดับพื้นที่ ระดับจังหวัด  ทดสอบ ปรบั แก้ ให้เปน็ ปจั จบุ นั (มกี ารสมุ่ ตรวจสอบ โดยผู้ประเมินฯ) และระดับชาติ ผู้ให้ข้อมลู หลกั   ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม (บรรยาย) A // Coordination

A // Coordination คูม่ อื การประเมนิ ตนเอง : สมรรถนะหลกั มาตรการตามกฎอนามัย ระดบั ขั้นของการปฏบิ ตั ิ อธบิ ายระดบั ขน้ั ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมทัง้ ทรัพยากร และกำ� หนด เวลา) 4 การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดนทางบก ทำ� แลว้ ท�ำแลว้ ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทั้งหมด บางส่วน 2) หนว่ ยงานภาครฐั ในสงั กดั กระทรวงอนื่ ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง หนว่ ยงานตา่ งๆ เจ้าหน้าท่ีภาครัฐที่มีอ�ำนาจหน้าท่ี และหน่วยงานท่ีเป็นหุ้นส่วน ที่เกยี่ วข้องกบั ชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ เจา้ หนา้ ทผ่ี มู้ อี ำ� นาจทชี่ อ่ งทางเขา้ ออกประเทศมรี ายละเอยี ดทอี่ ยู่ ท่ีติดต่อท่ีเป็นปัจจุบันของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขท่ีเก่ียวข้องในหน่วยงาน สาธารณสุขระดับต่างๆ ท้ังระดับพื้นท่ี ระดับจังหวัด และระดับชาติ รวมทั้งจุดประสานงานกฏอนามัยระหว่างประเทศ (National IHR Focal Point) และมีการก�ำหนดวิธีการติดต่อประสานงานไว้พร้อม ท่ีจะใช้แจ้งเกี่ยวกับการด�ำเนินมาตรการด้านสาธารณสุขต่างๆ ตามที่ กำ� หนดไวใ้ นกฎอนามัยระหวา่ งประเทศ เช่น : – แจ้งองค์การอนามัยโลก ภายใน 24 ชั่วโมง หากพบว่าหลักฐาน ที่ได้รับ ซึ่งอาจมาจากเอกสารการส่งออกหรือน�ำเข้าปรากฏว่ามี : 1) ผปู้ ่วย 2) พาหะที่อาจน�ำเช้อื โรคหรือสิง่ ปนเปือ้ น หรอื 3) สนิ คา้ ปนเปื้อนที่อาจก่อให้เกิดการแพร่กระจายระหว่างประเทศ หรือ 4) มาตรการทางสาธารณสุขท่ไี ดด้ �ำเนินการใน 48 ชว่ั โมง – เจา้ หนา้ ทผี่ มู้ อี ำ� นาจทชี่ อ่ งทางเขา้ ออกประเทศรายงานขอ้ มลู ขา่ วสาร สำ� คญั เกย่ี วกบั เหตกุ ารณท์ เี่ กดิ ขนึ้ ตอ่ เจา้ หนา้ ทสี่ าธารณสขุ ในหนว่ ยงาน สาธารณสุขระดบั ตา่ งๆ ทงั้ ระดบั พน้ื ท่ี ระดบั จงั หวดั และระดับชาติ ขอ้ มลู ทรี่ ายงานประกอบดว้ ยการประเมนิ สถานการณด์ า้ นสาธารณสขุ การดแู ล และการแก้ไขปัญหาที่ไดด้ �ำเนินการไปแล้ว – ติดต่อสื่อสารกับเจ้าหน้าที่ผู้มีอ�ำนาจของช่องทางเข้าออกประเทศ ช่องทางอื่นๆ ในระดับชาติ เพื่อให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับหลักฐาน ที่พบและมาตรการควบคุมต่างๆ ที่ต้องใช้บนยานพาหนะท่ีก�ำลัง เดนิ ทางมาถึง

สมรรถนะหลกั มาตรการตามกฎอนามัย ระดบั ขน้ั ของการปฏบิ ตั ิ อธบิ ายระดบั ขนั้ ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมทัง้ ทรพั ยากร และกำ� หนด เวลา) ท�ำแลว้ ทำ� แล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทั้งหมด บางส่วน 3. การตดิ ตอ่ ประสานงานโดยตรงกบั ผบู้ รหิ ารงานสาธารณสขุ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง รายละเอยี ดและการตรวจสอบ มีการจัดท�ำข้ันตอนการติดต่อประสานงานระหว่างเจ้าหน้าที่  มีการระบุปัญหา/ความส�ำคัญ ในบันทึกรายงานการประชุม หรือมีแผน ผมู้ อี ำ� นาจทช่ี อ่ งทางเขา้ ออกประเทศทอี่ ยใู่ นพนื้ ทกี่ บั ผบู้ รหิ ารงานสาธารณสขุ การพัฒนา โดยมผี ้รู บั ผิดชอบชดั เจน อ่ืนๆ ท่ีเก่ียวข้องไว้เป็นลายลักษณ์อักษรท่ีเป็นปัจจุบันซ่ึงทดสอบ  มีบัญชีรายช่ือพร้อมที่อยู่และเบอร์โทรศัพท์ของผู้บริหารงานสาธารณสุข แลว้ วา่ สามารถปฏบิ ตั ิได้ เพอ่ื การตดั สนิ ใจอนมุ ตั ดิ ำ� เนินการอย่างรวดเร็ว การประเมนิ ความเสย่ี ง และการดำ� เนนิ การเพอ่ื ยบั ยงั้ เหตกุ ารณไ์ มใ่ หล้ กุ ลาม ที่เกย่ี วข้อง ด้วยการใช้มาตรการควบคุมต่างๆ  มแี ผนผงั การสั่งการ  มีข้ันตอนและขอบข่ายความรับผิดชอบ และการส่ังการการปฎิบัติงาน คู่มือการประเมินตนเอง : รวมทงั้ มีการสั่งการไวเ้ ป็นลายลักษณ์อักษร การพัฒนาสมรรถนะหลกั ของช่องทางเข้าออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ  5และพรมแดนทางบก  ทดสอบ ปรับแก้ ให้เป็นปจั จุบนั (มกี ารสมุ่ ตรวจสอบ โดยผ้ปู ระเมนิ ฯ) ผใู้ ห้ขอ้ มลู หลกั   ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ (บรรยาย)  มีการจัดท�ำข้ันตอนการประเมินความเส่ียงที่ช่องทาง มีกลไกการติดต่อ สื่อสาร และมขี น้ั ตอน การติดตอ่ สื่อสารกับผู้บรหิ ารงานสาธารณสุข A // Coordination

A // Coordination คูม่ อื การประเมนิ ตนเอง : สมรรถนะหลกั มาตรการตามกฎอนามยั ระดับขั้นของการปฏิบตั ิ อธบิ ายระดบั ขน้ั ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพัฒนาสมรรถนะรวมท้ังทรพั ยากร และก�ำหนด เวลา) 6 การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดนทางบก ท�ำแลว้ ทำ� แลว้ ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ท้ังหมด บางสว่ น 4. การติดตอ่ สอ่ื สารกับผู้ควบคมุ บงั คับยานพาหนะ รายละเอยี ดและการตรวจสอบ มรี ายละเอยี ดทอี่ ยทู่ ต่ี ดิ ตอ่ ไดแ้ ละเปน็ ปจั จบุ นั ของผคู้ วบคมุ บงั คบั  มีการระบุปัญหา/ความส�ำคัญ ในบันทึกรายงานการประชุม หรือมีแผน ยานพาหนะ มีการก�ำหนดวิธีการและขั้นตอนการติดต่อสื่อสารไว้พร้อม การพัฒนา โดยมีผู้รับผดิ ชอบชดั เจน เพอื่ การแจง้ ใหท้ ราบลว่ งหนา้ เกยี่ วกบั การใชม้ าตรการควบคมุ ตา่ งๆ และ  มบี ญั ชรี ายชอ่ื พรอ้ มทอ่ี ยแู่ ละเบอรโ์ ทรศพั ทข์ องผคู้ วบคมุ ยานพาหนะ หรอื เพื่อการออกใบรับรองสุขาภิบาลเรือ รวมทั้งเพ่ือการรับเอกสารด้าน สาธารณสุขต่างๆ และการให้ผู้ควบคุมบังคับเรือมีรายละเอียดท่ีอยู่ที่ ผ้ปู ระสานงาน (เช่น มีทะเบียนหมายเลขโทรศพั ท์ของสายการบิน มบี ัญชี ติดต่อได้และเป็นปัจจุบันของเจ้าหน้าที่ผู้มีอ�ำนาจของช่องทางเข้าออก ประเทศ เลขที่ทะเบียนประจ�ำยานพาหนะ (เรอื )  มกี ารจดั ทำ� ขน้ั ตอนการยน่ื เอกสารทจี่ ำ� เปน็ หรอื กลไก/ชอ่ งทางการตดิ ตอ่ สื่อสาร หรือ flow chart การติดต่อส่ือสาร รวมท้ังค�ำอธิบายข้ันตอน (เช่น มีใบรายงานการแจ้งยานพาหนะเข้ามา (ต1–ต5), ต8 ข้อมูล ผเู้ ดินทาง)  ทดสอบการสอื่ สารและปรบั ปรุงข้อมลู ให้เปน็ ปจั จบุ นั (มกี ารสุ่มตรวจสอบ โดยผู้ประเมินฯ) ผใู้ ห้ข้อมูลหลัก   ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเตมิ (บรรยาย)

สมรรถนะหลกั มาตรการตามกฎอนามัย ระดบั ขนั้ ของการปฏบิ ัติ อธบิ ายระดบั ขนั้ ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพัฒนาสมรรถนะรวมท้งั ทรพั ยากร และกำ� หนด เวลา) ท�ำแลว้ ทำ� แล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทง้ั หมด บางส่วน 5. การติดต่อส่ือสารกบั ผเู้ ดนิ ทางเกี่ยวกบั ข้อมูลข่าวสารด้านสาธารณสุข รายละเอยี ดและการตรวจสอบ มีรายละเอียดที่อยู่ท่ีติดต่อได้และเป็นปัจจุบันของเจ้าหน้าท่ี  มีการระบุปัญหา/ความส�ำคัญ ในบันทึกรายงานการประชุม หรือมีแผน ผู้มีอ�ำนาจของช่องทางเข้าออกประเทศ รวมท้ังมีการก�ำหนดวิธีการ การพัฒนา โดยมีผ้รู ับผิดชอบชัดเจน และขั้นตอนการติดต่อส่ือสารไว้พร้อมเพ่ือการแจ้งเก่ียวกับการใช้  มีบัญชีรายชื่อพร้อมท่ีอยู่และเบอร์โทรศัพท์ของหน่วยงานท่ีมีหน้าที่ มาตรการควบคุมต่างๆ และเพ่ือการรับเอกสารด้านสาธารณสุขต่างๆ ตลอดจนการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารใหแ้ ก่ผู้เดินทาง แจ้งข้อมูลมาตรการทางสาธารณสุขแก่ผู้เดินทาง (เช่น หอบังคับการบิน คู่มือการประเมินตนเอง : สายการบิน ตวั แทนบริษัท เรอื กับตนั เรอื ตวั แทนบรษิ ทั ทัวร์ในช่องทาง การพัฒนาสมรรถนะหลกั ของช่องทางเข้าออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ  7และพรมแดนทางบก เข้าออกชนดิ ต่างๆ เป็นตน้ )  มีการจัดท�ำขั้นตอน หรือ กลไกการติดต่อส่ือสาร หรือ flow chart การติดต่อส่อื สาร รวมทงั้ คำ� อธิบายขัน้ ตอนการสือ่ สารถึงผเู้ ดนิ ทาง  ทดสอบ ปรับแก้ ใหเ้ ป็นปัจจบุ นั (มกี ารสุ่มตรวจสอบ โดยผู้ประเมิน ฯ) ผใู้ ห้ข้อมลู หลกั   ข้อเสนอแนะเพิม่ เติม (บรรยาย) A // Coordination

A // Coordination คูม่ อื การประเมนิ ตนเอง : สมรรถนะหลกั มาตรการตามกฎอนามยั ระดบั ขน้ั ของการปฏิบตั ิ อธบิ ายระดบั ขน้ั ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมทั้งทรพั ยากร และก�ำหนด เวลา) 8 การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดนทางบก ทำ� แล้ว ทำ� แล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทง้ั หมด บางส่วน 6. การติดต่อสื่อสารกับหน่วยบริการ (service providers) ต่างๆ รายละเอียดและการตรวจสอบ ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง  มีการระบุปัญหา/ความส�ำคัญ ในบันทึกรายงานการประชุม หรือมีแผน มีรายละเอียดท่ีอยู่ที่ติดต่อได้และเป็นปัจจุบันของหน่วยบริการ ต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง รวมท้ังมีการก�ำหนดวิธีการและข้ันตอนการติดต่อ การพัฒนา โดยมีผ้รู บั ผิดชอบชัดเจน สื่อสารไว้พร้อมเพ่ือการแแจ้งให้ทราบล่วงหน้าเก่ียวกับการใช้มาตรการ  มีบัญชีรายชื่อพร้อมที่อยู่และเบอร์โทรศัพท์ของหน่วยงานที่มีหน้าท่ี ควบคุมต่างๆ หน่วยบริการต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องมีรายละเอียดท่ีอยู่ท่ีติดต่อ ไดแ้ ละเปน็ ปจั จบุ นั ของเจา้ หนา้ ทผ่ี มู้ อี ำ� นาจของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ สนับสนุนการด�ำเนินมาตรการของสาธารณสุข (เช่น หน่วยงานท่ีด�ำเนิน การด้านสขุ าภิบาลต่างๆ หนว่ ยงานที่ท�ำงานด้านการรกั ษาความปลอดภยั เป็นตน้ )  มีการจัดท�ำขั้นตอน หรือ กลไกการติดต่อส่ือสาร หรือ flow chart การติดต่อสื่อสาร รวมทั้งค�ำอธิบายข้ันตอนการส่ือสารถึงหน่วยสนับสนุน บริการต่างๆ  ทดสอบ ปรับแก้ ใหเ้ ปน็ ปัจจบุ นั (มีการสุม่ ตรวจสอบ โดยผ้ปู ระเมนิ ฯ) ผใู้ ห้ขอ้ มลู หลกั   ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติม (บรรยาย)

สมรรถนะหลัก มาตรการตามกฎอนามัย ระดับขั้นของการปฏบิ ตั ิ อธบิ ายระดบั ขนั้ ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมทัง้ ทรัพยากร และก�ำหนด เวลา) ทำ� แลว้ ท�ำแลว้ ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทั้งหมด บางส่วน คู่มือการประเมินตนเอง : 7. การประเมนิ รายงานตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วกบั เหตกุ ารณท์ ต่ี อ้ งดำ� เนนิ การเรง่ ดว่ น รายละเอยี ดและการตรวจสอบ ภายใน 24 ชั่วโมง  มีบันทึกความเข้าใจระหว่างหน่วยงาน หรือสรุปประชุมท่ีมีมติที่ประชุม การพัฒนาสมรรถนะหลกั ของช่องทางเข้าออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ  9และพรมแดนทางบก มีการก�ำหนดข้ันตอนการด�ำเนินการไว้เป็นลายลักษณ์อักษร และปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ รวมทั้งมีการทดสอบแล้วว่าสามารถ ชดั เจนในการรายงานหรอื แจง้ เหตกุ ารณค์ วามเสยี่ งดา้ นสาธารณสขุ ทต่ี รวจพบ ปฏิบัติได้ (รวมถึงบันทึกความเข้าใจร่วมกันระหว่างหน่วยงานต่างๆ  มีการจดั ทำ� ขัน้ ตอนการดำ� เนนิ การภายหลงั ไดร้ ับรายงาน หรือ MOU ด้วย) เพ่ือการประเมินรายงานต่างๆ ท่ีเก่ียวกับเหตุการณ์ ท่ีต้องด�ำเนินการเร่งด่วนภายใน 24 ชั่วโมง ตลอดจนมีการเชื่อมโยง ผู้ใหข้ ้อมลู หลัก โดยตรงระหว่างหน่วยปฏิบัติการต่างๆ ได้แก่ โรงพยาบาล คลินิก  ท่าอากาศยาน ท่าเรือ ช่องทางเข้าออกทางบก ห้องปฏิบัติการ และ  หนว่ ยงานอื่นๆ ทม่ี คี วามจำ� เปน็ ตอ่ การปฏิบัตกิ าร ข้อเสนอแนะเพม่ิ เติม (บรรยาย) A // Coordination

A // Coordination คมู่ อื การประเมนิ ตนเอง : สมรรถนะหลกั มาตรการตามกฎอนามยั ระดบั ข้ันของการปฏิบัติ อธบิ ายระดบั ขนั้ ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมทัง้ ทรพั ยากร และก�ำหนด เวลา) 10 การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดนทางบก ทำ� แล้ว ท�ำแล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทัง้ หมด บางสว่ น 8. กลไกการติดตอ่ ส่ือสารเพ่อื การเผยแพรข่ อ้ มลู ข่าวสาร และค�ำแนะนำ� รายละเอียดและการตรวจสอบ ต่างๆ ทไ่ี ดร้ ับจากองคก์ ารอนามัยโลก  มีการระบุปัญหา/ความส�ำคัญ ในบันทึกรายงานการประชุม หรือมีแผน มีการก�ำหนดกลไกการติดต่อส่ือสารไว้เป็นลายลักษณ์อักษร และปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เสมอ รวมท้ังมีการทดสอบแล้วว่าเป็นกลไก การพฒั นา โดยมผี รู้ บั ผดิ ชอบชัดเจน ทส่ี ามารถปฏบิ ตั ไิ ดโ้ ดยเจา้ หนา้ ทผี่ มู้ อี ำ� นาจของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ  มีแนวทาง หรือกลไกใดๆ ในการเข้าถึงข้อมูลขององค์การอนามัยโลก ในการจดั การกบั รายงานตา่ งๆ ขององคก์ ารอนามยั โลกเกย่ี วกบั เหตกุ ารณ์ ทเี่ กดิ ขน้ึ ในประเทศหรอื ในประเทศอน่ื ๆ ทที่ ำ� ใหช้ อ่ งทางเขา้ ออกประเทศ เกี่ยวกับเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนในประเทศหรือในประเทศอ่ืนๆ มีระบบ ตอ้ งมกี ารดำ� เนนิ กจิ กรรม และตอ้ งเกยี่ วขอ้ งกบั มาตรการดา้ นสาธารณสขุ ตา่ งๆ การติดต่อระหว่างเจ้าหน้าที่ผู้มีอ�ำนาจของช่องทางเข้าออกประเทศ กบั IHR National Focal Point (ส�ำนกั ระบาดวทิ ยา) ตามลำ� ดบั ข้นั  มกี ารจดั ทำ� ขน้ั ตอน หรอื มขี อ้ ตกลง หรอื กลไกการตดิ ตอ่ สอื่ สาร หรอื flow chart การติดต่อสื่อสาร รวมท้ังค�ำอธิบายขั้นตอนการส่ือสารถึง IHR National Focal Point (ส�ำนกั ระบาดวิทยา)  มีช่องทางการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและมาตรการท่ีได้รับจากองค์การ อนามัยโลก ถงึ ผเู้ ดนิ ทาง และผเู้ กี่ยวขอ้ ง เชน่ website หรือ โปสเตอร์ แผน่ พับ เปน็ ต้น ผู้ใหข้ อ้ มลู หลกั   ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ (บรรยาย)

สมรรถนะหลัก มาตรการตามกฎอนามยั ระดับขั้นของการปฏิบัติ อธบิ ายระดบั ขน้ั ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพัฒนาสมรรถนะรวมทงั้ ทรพั ยากร และกำ� หนด เวลา) ท�ำแลว้ ท�ำแลว้ ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทัง้ หมด บางสว่ น คู่มือการประเมินตนเอง : 9. ขนั้ ตอน กฎระเบยี บ และกระบวนการดา้ นบรหิ ารจดั การในการรบั ขอ้ มลู รายละเอยี ดและการตรวจสอบ รายงานผู้ป่วยและ/หรือหลักฐานเกี่ยวกับความเสี่ยงด้านสาธารณสุข  มีการระบุปัญหา/ความส�ำคัญ ในบันทึกรายงานการประชุม หรือมีแผน การพฒั นาสมรรถนะหลักของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ  11และพรมแดนทางบก บนยานพาหนะทีก่ �ำลงั เดินทางมาถึงช่องทางเข้าออกประเทศ การพฒั นา โดยมผี รู้ บั ผดิ ชอบชัดเจน – มีกฎหมายและกฎระเบียบ วิธีการบริหารจัดการ รวมท้ังขั้นตอน  มคี มู่ ือกฏหมายดา้ นสาธารณสขุ ทเ่ี กยี่ วข้อง การปฏิบัติงานท่ีทันสมัยและเผยแพร่ไปอย่างกว้างขวาง สนับสนุน  มีแนวทาง หรือกลไกใดๆ ในการแจ้งมาตรการด้านสาธารณสุขต่างๆ ใหผ้ รู้ บั ผดิ ชอบดำ� เนนิ การตรวจสอบหาความเสยี่ งทางดา้ นสาธารณสขุ ร่วมกันพร้อมท้ังมาตรการสาธารณสุขท่ีสามารถใช้ได้ และแจ้ง หรือเผยแพร่เอกสารที่จ�ำเป็น (เช่น General of Health Declaration ให้ทราบและถือปฏิบัติโดยทั่วกัน รวมท้ังมีการก�ำหนดข้อบังคับ ส�ำหรับอากาศยาน Marinetime Declaration of Health สำ� หรับท่าเรอื ใหร้ ายงานเหตกุ ารณ์ด้านสาธารณสุข เปน็ ตน้ ) แนวทางทจ่ี ดั ทำ� ขนึ้ น้ี ใหบ้ รษิ ทั เรอื สายการบนิ รวมทง้ั ยานพาหนะ ทางบก และสมาคมอตุ สาหกรรมตา่ งๆ ไดร้ บั ทราบ – มีเอกสารแนวทางการด�ำเนินงานที่อธิบายข้อก�ำหนดและขั้นตอน  มกี ารจดั ทำ� ขน้ั ตอน หรอื มขี อ้ ตกลง หรอื กลไกการตดิ ตอ่ สอื่ สาร หรอื flow ต่างๆ ในการเสนอรายงานต่างๆ ทันทีต่อเจ้าหน้าท่ีผู้มีอ�ำนาจของ chart การติดต่อส่ือสาร รวมท้ังค�ำอธิบายข้ันตอนการรับรายงานต่างๆ ช่องทางเข้าออกประเทศ เพอ่ื ทำ� การประเมนิ สถานการณ์ ดูแลรกั ษา จากยานพาหนะที่ก�ำลงั เดนิ ทางมาถึง ผู้ป่วย และด�ำเนินการมาตรการด้านสาธารณสุขต่างๆ เอกสาร  มกี ารทดสอบ ปรบั แก้ ให้เป็นปจั จบุ ัน แนวทางที่จัดท�ำขึ้นนี้ จะต้องเผยแพร่ให้บริษัทเรือ สายการบิน  รวมทงั้ ยานพาหนะทางบก และสมาคมอตุ สาหกรรมตา่ งๆ ไดร้ บั ทราบ  อ่นื ๆ และลงในเว็บไซต์ท่เี หมาะสมดว้ ย ข้อเสนอแนะเพม่ิ เติม (บรรยาย) – มีข้ันตอนปฏิบัติงานท่ีเป็นมาตรฐาน (Standard Operating Procedure หรือ SOP) ส�ำหรับเจ้าหน้าท่ีผู้มีอ�ำนาจของช่องทาง เข้าออกประเทศ ในการรับรายงานต่างๆ จากยานพาหนะที่ก�ำลัง เดินทางมาถึงซึ่งประกอบด้วยข้อมูลการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อ หรือหลักฐานท่ีชี้ให้เห็นความเส่ียงด้านสาธารณสุขที่เกิดขึ้นบน ยานพาหนะนั้นๆ กิจกรรมทั้งหมดดงั กล่าวข้างตน้ จะต้องดำ� เนนิ การตามหลกั การ 24 ช่ัวโมงและ 7 วันในหนงึ่ สัปดาห์ (24/7) หรือตามช่วั โมงการท�ำงาน ของช่องทางเขา้ ออกประเทศตามความเหมาะสม A // Coordination

B-I // Routine คมู่ อื การประเมนิ ตนเอง : B – I สมรรถนะหลกั ท่ีชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศทุกประเภททกี่ �ำหนดไว้ ท้ังท่าอากาศยาน ท่าเรอื และจดุ ผ่านแดนทางบก จะต้องไดร้ ับการพฒั นา ตอ้ งมีตลอดเวลา (ในสภาวะปกติ) 12 การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดนทางบก สมรรถนะหลัก มาตรการตามกฎอนามยั ระดบั ขน้ั ของการปฏิบัติ อธบิ ายระดบั ขนั้ ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมทง้ั ทรัพยากร และก�ำหนด เวลา) ท�ำแลว้ ท�ำแลว้ ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทงั้ หมด บางส่วน (a) จัดใหม้ คี วามพร้อมเพอื่ ให้ (i) มกี ารจัดบริการดา้ นการแพทย์ซ่ึงประกอบดว้ ยสิ่งอ�ำนวยความสะดวกในการตรวจวนิ จิ ฉัยท่ีมีความพรอ้ ม ในการประเมนิ และให้การดแู ลรกั ษา ผเู้ ดินทาง ทเี่ จ็บปว่ ย และ (ii) มเี จา้ หนา้ ทป่ี ฏบิ ัติงาน พรอ้ มทัง้ วัสดุ ครภุ ณั ฑ์ และสถานทป่ี ฏิบตั ิงาน อยา่ งเพยี งพอ 1. การประเมินและดแู ลรกั ษาผู้เดนิ ทางทปี่ ว่ ย รายละเอยี ดและการตรวจสอบ กรณีมีหน่วยบริการทางการแพทย์หรือให้บริการดูแลรักษาและวินิจฉัย 1.1 ความพรอ้ มทางด้านการแพทยแ์ ละการวินจิ ฉยั โรค ผู้เดนิ ทางท่ีปว่ ยหรอื สงสัยวา่ ปว่ ย ทช่ี อ่ งทางฯ มีการจัดการในเชิงบริหาร และมีข้อตกลงร่วมระหว่างหน่วยงาน  มีการจัดท�ำขั้นตอน (SOP) หรือ flow chart การให้บริการดูแลรักษา (Memorandum Of Understanding /MOU) ไว้พร้อมส�ำหรับการให้ บริการดูแลรักษาและวินิจฉัยผู้เดินทางที่ป่วยหรือสงสัยว่าป่วย โดย และวินจิ ฉัยผ้เู ดินทางทป่ี ่วยหรือสงสยั วา่ ป่วย รว่ มปรกึ ษาหารอื กบั หนว่ ยบรกิ ารสาธารณสขุ ในพน้ื ทแี่ ละ/หรอื ทอี่ ยใู่ กลๆ้  มหี อ้ งพสั ดเุ ป็นการเฉพาะเพ่ือเก็บเวชภณั ฑ์ เครอื่ งมอื แพทย์ หากมกี ารจดั บรกิ ารทช่ี อ่ งทางเขา้ ออกประเทศ จะตอ้ งมหี อ้ งพสั ดเุ ปน็ การ  มีรายงานการเบิกไปใชแ้ ละการเบกิ เพือ่ ทดแทนส่วนที่ใชไ้ ป เฉพาะเพอ่ื เกบ็ เวชภัณฑ์ เครื่องมือแพทย์ และรายงานการเบิกไปใช้และ การเบกิ เพมิ่ เติมเพอื่ ทดแทนสว่ นทใ่ี ช้ไป กรณีไม่มีหน่วยบริการทางการแพทย์หรือให้บริการดูแลรักษาและวินิจฉัย ผูเ้ ดินทางท่ปี ่วยหรอื สงสัยว่าป่วย ที่ชอ่ งทางฯ  สามารถอธิบายแนวทาง หรือกลไกใดๆ ในการให้บริการดูแลรักษา และวินิจฉยั ผู้เดินทางท่ปี ว่ ยหรือสงสัยว่าปว่ ย  มบี นั ทึกขอ้ ตกลงร่วมระหวา่ งหน่วยงาน (Memorandum Of Understanding/MOU)  มีการจัดท�ำข้ันตอน (SOP) หรือ flow chart การให้บริการดูแลรักษา และวินจิ ฉัยผูเ้ ดนิ ทางทีป่ ่วยหรอื สงสยั วา่ ป่วย

สมรรถนะหลัก มาตรการตามกฎอนามยั ระดบั ขัน้ ของการปฏิบตั ิ อธบิ ายระดบั ขน้ั ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมท้งั ทรัพยากร และก�ำหนด เวลา) ทำ� แล้ว ทำ� แล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทัง้ หมด บางส่วน ผู้ให้ข้อมูลหลัก   ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ (บรรยาย) คู่มือการประเมินตนเอง : 1.2 การประเมนิ ความจ�ำเป็นในการฉีดวคั ซนี หรอื ให้ยาป้องกันโรค รายละเอียดและการตรวจสอบ (prophylaxis)  มีแนวทาง หรือกลไกใดๆ ในการการประเมินและพิสูจน์การได้รับวัคซีน การพฒั นาสมรรถนะหลักของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ  13และพรมแดนทางบก ช่องทางเข้าออกประเทศมีขีดความสามารถในการประเมินและ หรือยาป้องกันโรคตามข้อแนะน�ำขององค์การอนามัยโลก (เช่น วัคซีน พิสูจน์การได้รับวัคซีนหรือยาป้องกันโรคตามข้อแนะน�ำขององค์การ อนามัยโลก เช่น ไข้เหลือง โดยสามารถด�ำเนินการได้ และสอดคล้อง ไขเ้ หลอื ง) กับสถานการณ์ทางระบาดวิทยา และการประเมินความเสี่ยง รวมท้ัง  มกี ารจัดทำ� ขนั้ ตอน หรอื วธิ ีการ หรอื flow chart การประเมินและพิสจู น์ ขอ้ กำ� หนดของประเทศ การได้รับวัคซีนหรือยาปอ้ งกนั โรคและมีการปรบั ปรุงให้เป็นปัจจบุ ัน ผู้ให้ข้อมูลหลกั   ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติม (บรรยาย) B-I // Routine

B-I // Routine คมู่ อื การประเมนิ ตนเอง : สมรรถนะหลกั มาตรการตามกฎอนามยั ระดับขัน้ ของการปฏบิ ตั ิ อธบิ ายระดบั ขน้ั ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมทัง้ ทรัพยากร และกำ� หนด เวลา) 14 การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดนทางบก ท�ำแลว้ ท�ำแลว้ ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทง้ั หมด บางสว่ น 1.3 ข้อมูลข่าวสารที่ส�ำคัญเกี่ยวกับสถานบริการทางการแพทย์และ รายละเอยี ดและการตรวจสอบ การตรวจวินจิ ฉัย  มีบัญชีรายชื่อของสถานบริการทางการแพทย์พร้อมข้อมูลที่อยู่ท่ีติดต่อได้ มบี ญั ชรี ายชอื่ พรอ้ มขอ้ มลู ทอ่ี ยทู่ ตี่ ดิ ตอ่ ได้ (ทอ่ี ยู่ หมายเลขโทรศพั ท์ (ท่อี ยู่ หมายเลขโทรศพั ท์ ระยะทางห่างจากชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ และ ระยะทางห่างจากช่องทางเข้าออกประเทศ และแผนท่ีเส้นทาง) ของ สถานบริการทางการแพทย์และการตรวจวินิจฉัย พร้อมท้ังรักษาและ แผนทีเ่ ส้นทาง) ปรับปรุงข้อมูลให้ทันเหตุการณ์ รวมท้ังทดสอบความถูกต้องของข้อมูล  มกี ารเผยแพรไ่ ปยงั เจา้ หนา้ ทเี่ กยี่ วขอ้ งเพอื่ สง่ ตอ่ ผเู้ ดนิ ทางทปี่ ว่ ยหรอื สงสยั อย่างสม่�ำเสมอ และเผยแพร่ไปยังบุคลากรทุกคนที่เกี่ยวข้องเพื่อส่งต่อ ผู้เดินทางท่ีป่วยหรือสงสัยว่าป่วยจากช่องทางเข้าออกประเทศไปยัง ว่าป่วยจากช่องทางเข้าออกประเทศไปยังสถานบริการเหล่าน้ี ทดสอบ สถานบรกิ ารเหลา่ นี้ ปรบั แก้ ให้เป็นปจั จุบัน (มกี ารสมุ่ ตรวจสอบ โดยผูป้ ระเมินฯ) ผ้ใู หข้ ้อมลู หลกั   ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติม (บรรยาย) 2. จ�ำนวนบุคลากร เคร่ืองมือ และสถานท่ที ีเ่ พยี งพอ รายละเอียดและการตรวจสอบ  มเี จา้ หนา้ ทช่ี อ่ งทาง มจี ำ� นวนบคุ ลากรทเี่ หมาะสม โดยพจิ ารณาจากภาระงาน 2.1 บคุ ลากร จ�ำนวนบคุ ลากรท่เี พียงพอ มจี �ำนวนบุคลากรทเี่ หมาะสมและไดร้ บั และกรอบอตั รากำ� ลงั ท่หี นว่ ยงานตน้ สังกัดก�ำหนด การฝึกอบรมเพื่อให้ปฏิบัติงานในหน้าท่ี โดยสอดคล้องกับปริมาณและ  เจ้าหน้าที่ช่องทาง ได้รับการฝึกอบรมเพ่ือให้ปฏิบัติงานในหน้าท่ีได้อย่าง ความถี่ของผู้เดินทาง รวมท้ังความซับซ้อนของงานที่ช่องทางเข้าออกฯ (ไดแ้ ก่ ส่งิ อ�ำนวยความสะดวกต่างๆ ที่สถานเี ดนิ ทาง จุดหมายปลายทาง เหมาะสม (เช่น มีวุฒิบัตร/ใบประกาศนียบัตรการฝึกอบรม หลักฐาน ของการเดินทาง รูปแบบการปฏิบัติงานหลากหลายที่ใช้อยู่ นอกเหนือ การเขา้ รว่ มอบรม เป็นต้น)

สมรรถนะหลกั มาตรการตามกฎอนามยั ระดบั ขนั้ ของการปฏิบัติ อธบิ ายระดบั ขน้ั ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมทง้ั ทรัพยากร และกำ� หนด เวลา) ท�ำแลว้ ท�ำแล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ท้ังหมด บางสว่ น จากปจั จยั อนื่ ๆ) บคุ ลากรทมี่ คี วามสามารถและมคี ณุ สมบตั ทิ พี่ รอ้ มดำ� เนนิ ผูใ้ ห้ขอ้ มลู หลัก การประเมิน ดูแลรักษา และรายงานผู้เดินทางท่ีป่วย บุคลากรผ่าน  การฝึกอบรม รู้อาการของโรคและคุ้นเคยกับข้ันตอนวิธีการประเมิน  ดแู ลรักษาและรายงานผู้เดินทางทีป่ ว่ ย ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ (บรรยาย)  กรณี มหี นว่ ยบรกิ ารทางการแพทย์ (มเี จา้ หนา้ ทที่ างการแพทยข์ องชอ่ งทาง คู่มือการประเมินตนเอง : ท่มี ศี กั ยภาพ และผา่ นการฝึกอบรม) การพฒั นาสมรรถนะหลักของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ  15และพรมแดนทางบก  กรณีไม่มีหน่วยบริการทางการแพทย์ (เจ้าหน้าท่ีด่าน และเจ้าหน้าท่ี ชอ่ งทางท่ผี ่านการอบรมการใหบ้ ริการทางการแพทย)์ 2.2 พน้ื ทที่ เี่ พียงพอต่อการซักถามเฉพาะตัวผู้เดินทางท่ปี ่วย รายละเอียดและการตรวจสอบ มีพื้นที่ที่สะอาด ถูกต้องตามหลักสุขอนามัยและมีความปลอดภัย  มกี ารจดั เตรียมพื้นทีส่ �ำหรับซักถามอาการ ประวตั ิการเจบ็ ป่วย ท่ีจดั แยก ทางด้านสิ่งแวดล้อมท่ีจัดแยกไว้ต่างหากเพื่อการซักถามเฉพาะตัว ผ้เู ดนิ ทางทป่ี ่วย โดยมีขนาดพนื้ ทเี่ พียงพอเหมาะสมกบั ปรมิ าณ ประเภท ไวต้ ่างหากจากผู้เดนิ ทางท่ัวไป ของยานพาหนะ และความถ่ีของผเู้ ดนิ ทาง รวมท้งั ความซับซอ้ นของงาน ผู้ให้ข้อมูลหลกั ที่ช่องทางเขา้ ออกประเทศ (ได้แก่ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกตา่ งๆ ทีส่ ถานี  เดนิ ทาง จดุ หมายปลายทางของการเดินทาง และรูปแบบการปฏบิ ัติงาน  ทีห่ ลากหลายที่ใช้อยู)่ หากเปน็ ไปได้ น่าจะมชี ่องทางเดินออกเฉพาะของ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม (บรรยาย) ผเู้ ดนิ ทางทปี่ ว่ ยเพอ่ื สง่ ตอ่ ไปยงั สถานบรกิ ารทางการแพทย์ เพอ่ื หลกี เลย่ี ง การแพรเ่ ช้ือไปสู่คนอื่นๆ มีการระบุช่องทางเดินออกเฉพาะของผู้เดินทางที่ป่วยไปยังสถานบริการ ทางการแพทย์ B-I // Routine

B-I // Routine คมู่ อื การประเมนิ ตนเอง : สมรรถนะหลัก มาตรการตามกฎอนามัย ระดบั ข้นั ของการปฏบิ ัติ อธบิ ายระดบั ขนั้ ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมทัง้ ทรัพยากร และกำ� หนด เวลา) 16 การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดนทางบก ทำ� แล้ว ทำ� แลว้ ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ท้งั หมด บางส่วน 2.3 เครอื่ งปอ้ งกนั ตนเอง (Personal protective equipment หรอื รายละเอยี ดและการตรวจสอบ PPE) ของบุคลากรที่ต้องปฏิบัตหิ นา้ ทซี่ กั ถามผู้เดินทางทป่ี ่วย  มีทะเบียนเคร่ืองป้องกันที่จ�ำเป็น และมีเครื่องป้องกันท่ีจ�ำเป็นที่เพียงพอ มีเครื่องป้องกันท่ีจ�ำเป็น (เช่น เคร่ืองป้องกันตนเอง) ส�ำหรับการ และพร้อมใช้ ซักถาม และการตรวจวินิจฉัยเบื้องต้น บุคลากรใช้เคร่ืองป้องกันตนเอง  เจา้ หนา้ ทฯี่ ผา่ นการฝกึ อบรมการใชเ้ ครอื่ งปอ้ งกนั ทจี่ ำ� เปน็ (เชน่ มวี ฒุ บิ ตั ร/ ในการปฏิบัตงิ านซกั ถามและตรวจวินิจฉยั เบ้ืองต้น ใบประกาศนยี บตั รการฝกึ อบรม หลกั ฐานการเข้ารว่ มอบรม เป็นต้น)  มกี ารจดั ทำ� ขนั้ ตอน หรือคู่มือ การใชเ้ ครอ่ื งปอ้ งกันตนเอง ผู้ใหข้ อ้ มลู หลัก   ข้อเสนอแนะเพมิ่ เตมิ (บรรยาย)

ROUTINE สมรรถนะหลัก มาตรการตามกฎอนามัย ระดบั ข้นั ของการปฏิบัติ อธบิ ายระดบั ขนั้ ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพัฒนาสมรรถนะรวมทงั้ ทรัพยากร และกำ� หนด เวลา) ทำ� แลว้ ท�ำแล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทง้ั หมด บางส่วน (b) การจัดเครือ่ งมือและบคุ ลากรไวใ้ ห้พร้อมสำ� หรับการสง่ ตวั ผเู้ ดินทางทีป่ ว่ ยไปรับการรักษาตอ่ ทส่ี ถานบริการทางการแพทย์ที่เหมาะสม 1. เครื่องมอื ส�ำหรบั การสง่ ตวั ผเู้ ดินทางท่ปี ่วย คู่มือการประเมินตนเอง : 1.1 เครื่องมือส�ำหรับการส่งตัวผู้เดินทางที่ป่วยไปยังสถานบริการ รายละเอียดและการตรวจสอบ ทางการแพทย์  มกี ารจัดท�ำระบบ ขัน้ ตอน หรือคูม่ อื การส่งต่อผปู้ ่วย การพฒั นาสมรรถนะหลักของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ  17และพรมแดนทางบก  มีการจัดเตรียมอุปกรณ์ส�ำหรับการส่งตัวผู้ป่วยไปยังสถานบริการทาง มกี ารจดั การสำ� หรบั การสง่ ตวั ผเู้ ดนิ ทางทป่ี ว่ ยไปยงั สถานบรกิ ารทาง การแพทยท์ ีเ่ หมาะสมด้วยวธิ ีการที่ ปลอดภัย และสะอาด การแพทย์  มีการจัดเตรียมยานพาหนะหรือประสานสนับสนุน (ระบบ 1669 หรือ ท่ีเก่ยี วข้อง) ผู้ให้ขอ้ มลู หลัก   ข้อเสนอแนะเพิม่ เติม (บรรยาย) 1.2 จดั ใหม้ เี ครอื่ งปอ้ งกนั ตนเอง(PPE) สำ� หรบั บคุ ลากรทน่ี ำ� ตวั ผเู้ ดนิ ทาง รายละเอยี ดและการตรวจสอบ ท่ีป่วยไปยงั สถานบริการทางการแพทย์  มีการจัดเตรียมเคร่ืองป้องกันตนเอง (PPE) ส�ำหรับการส่งตัวผู้ป่วยไปยัง บคุ ลากรที่น�ำตัวผเู้ ดินทางท่ปี ว่ ยไปยงั สถานบรกิ ารทางการแพทยม์ ี สถานบริการทางการแพทย์ และใชเ้ ครอ่ื งป้องกันตนเอง (PPE) ขณะปฏบิ ตั งิ าน B-I // Routine

B-I // Routine คมู่ อื การประเมนิ ตนเอง : สมรรถนะหลัก มาตรการตามกฎอนามยั ระดบั ขน้ั ของการปฏิบัติ อธบิ ายระดบั ขนั้ ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพัฒนาสมรรถนะรวมทง้ั ทรพั ยากร และก�ำหนด เวลา) 18 การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดนทางบก ท�ำแล้ว ทำ� แลว้ ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ท้งั หมด บางส่วน ผ้ใู ห้ขอ้ มลู หลกั   ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติม (บรรยาย) 2. บคุ ลากรทีน่ ำ� ตวั ผู้เดินทางทีป่ ่วยไปยงั สถานบริการทางการแพทย์ รายละเอียดและการตรวจสอบ  เจ้าหน้าท่ีฯ ได้รับการฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยเบ้ืองต้น และการใช้เคร่ือง 2.1 จ�ำนวนบคุ ลากรที่ผ่านการฝกึ อบรม จัดให้มบี คุ ลากรทผ่ี ่านการฝกึ อบรมและพรอ้ มปฏบิ ัติงานในจ�ำนวน ป้องกนั ตนเอง (PPE) (เช่น มีวุฒิบตั ร/ใบประกาศการฝกึ อบรม หลกั ฐาน ทเ่ี หมาะสม และจดั ใหม้ กี ารสง่ ตวั ผเู้ ดนิ ทางทปี่ ว่ ยอยา่ งเพยี งพอ รวมทงั้ มี การปฏบิ ัตงิ านที่ถกู ต้องตามหลกั วชิ าการ การเขา้ ร่วมอบรม เป็นต้น) มจี ำ� นวนเพยี งพอ ผู้ให้ข้อมลู หลัก   ข้อเสนอแนะเพมิ่ เติม (บรรยาย)

สมรรถนะหลัก มาตรการตามกฎอนามยั ระดบั ขนั้ ของการปฏิบตั ิ อธบิ ายระดบั ขนั้ ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมทัง้ ทรัพยากร และกำ� หนด เวลา) ทำ� แลว้ ทำ� แลว้ ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทั้งหมด บางส่วน คู่มือการประเมินตนเอง : 2.2 การฝกึ อบรมเกย่ี วกบั ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ านมาตรฐาน (Standard รายละเอียดและการตรวจสอบ Operational Procedures หรือ SOP) ในการสง่ ตัวผ้เู ดนิ ทาง  เจ้าหน้าที่สามารถอธิบายความรู้เก่ียวกับเทคนิคการควบคุมและป้องกัน การพฒั นาสมรรถนะหลักของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ  19และพรมแดนทางบก ท่ีปว่ ย การติดเชอื้ ในการน�ำผเู้ ดนิ ทางทีป่ ว่ ยไปรกั ษา บคุ ลากรทผ่ี า่ นการฝกึ อบรมและมคี วามรเู้ กยี่ วกบั เทคนคิ การควบคมุ ผ้ใู หข้ อ้ มูลหลกั และป้องกันการติดเช้ือในการน�ำผู้เดินทางท่ีป่วยไปรักษาอย่างปลอดภัย  บุคลากรมีการใช้เคร่ืองป้องกันตนเอง (PPE) และใช้ข้อมูลการติดต่อ  ประสานงานกับสถานบริการทางการแพทย์ด้วยหลักการความปลอดภัย ข้อเสนอแนะเพิม่ เติม (บรรยาย) และทนั เวลา B-I // Routine

B-I // Routine คมู่ อื การประเมนิ ตนเอง : ROUTINE 20 การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดนทางบก สมรรถนะหลกั มาตรการตามกฎอนามยั ระดับข้นั ของการปฏิบัติ อธบิ ายระดบั ขนั้ ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมทง้ั ทรพั ยากร และกำ� หนด เวลา) ท�ำแลว้ ทำ� แล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทัง้ หมด บางส่วน (C) จัดบุคลากรท่ีผ่านการฝึกอบรมใหพ้ รอ้ มส�ำหรบั การตรวจสอบยานพาหนะ 1. จ�ำนวนบคุ ลากรทีผ่ ่านการฝึกอบรม มีบุคลากรท่ีผ่านการฝึกอบรมในจ�ำนวนท่ีเหมาะสม สอดคล้อง รายละเอยี ดและการตรวจสอบ กับปริมาณและความถี่ของการจราจร ประเภท ขนาด และชนิดของ  มหี ลกั ฐานการผา่ นการฝกึ อบรมการตรวจสอบยานพาหนะ ตง้ั แต่ ปี 2558– ยานพาหนะ ณ ชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ พรอ้ มทั้งจัดให้มกี ารตรวจสอบ ยานพาหนะอย่างเพยี งพอ ตามหลักการด้านความปลอดภัยและทนั เวลา ปจั จุบัน โดยบคุ ลากรทผ่ี ่านการฝกึ อบรม ผ้ใู ห้ขอ้ มูลหลกั  เจ้าหน้าทด่ี ่านฯ ข้อเสนอแนะเพิม่ เติม (บรรยาย) 2. การฝึกอบรมผูต้ รวจสอบยานพาหนะ รายละเอยี ดและการตรวจสอบ  มหี ลักฐานการผ่านการฝกึ อบรม ต้งั แต่ ปี 2558–ปัจจบุ นั หรอื เจ้าหนา้ ท่ีฯ 2.1 บคุ ลากรเขา้ ใจมาตรฐานขนั้ ตอนการปฏบิ ตั งิ านมาตรฐาน (SOP) – บคุ ลากรไดร้ บั การฝกึ อบรมตามหลกั สตู ร สามารถออกใบรบั รอง/ สามารถอธิบายการตรวจสขุ าภบิ าลยานพาหนะได้  มคี มู่ อื /เอกสารวชิ าการ/ มขี น้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ านมาตรฐาน (SOP) การออก เอกสาร และ/หรือ สามารถแสดงให้เห็นว่า มีความเข้าใจ ขั้นตอนการปฏิบัติงานมาตรฐานที่ก�ำหนดไว้ท้ังหมด ในการ ใบรับรอง/เอกสารหรือ การตรวจสอบยานพาหนะ ตรวจสอบด้านสุขาภิบาลบนยานพาหนะ และสามารถแสดง  มเี อกสารรายงานผลการตรวจสอบยานพาหนะที่สามารถตรวจสอบได้ สมรรถนะในเร่ืองต่างๆ ในหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ตรวจ สอบยานพาหนะตามที่ไดร้ ับมอบหมาย ดงั ตอ่ ไปนี้ :

สมรรถนะหลกั มาตรการตามกฎอนามัย ระดบั ขั้นของการปฏบิ ตั ิ อธบิ ายระดบั ขนั้ ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมทัง้ ทรัพยากร และกำ� หนด เวลา) ทำ� แล้ว ทำ� แล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ท้งั หมด บางสว่ น ผู้ใหข้ อ้ มลู หลกั  เจ้าหนา้ ที่ด่านฯ ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม (บรรยาย) คู่มือการประเมินตนเอง : 2.2 เอกสารดา้ นสาธารณสุขท่ียานพาหนะตา่ งๆ จำ� เป็นตอ้ งมี รายละเอยี ดและการตรวจสอบ – บุคลากรต้องแสดงให้เห็นว่ามีความรู้เก่ียวกับเอกสารด้าน  มหี ลักฐานการผา่ นการฝกึ อบรม ต้ังแต่ ปี 2558–ปจั จบุ ัน หรอื เจา้ หน้าท่ีฯ การพฒั นาสมรรถนะหลักของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ  21และพรมแดนทางบก สาธารณสุขท่ียานพาหนะต่างๆ จ�ำเป็นต้องมี และวิธีการใช้ สามารถอธบิ ายเกยี่ วกบั เอกสารดา้ นสาธารณสขุ ทย่ี านพาหนะตา่ งๆ จำ� เปน็ ขอ้ มลู ในเอกสารทถ่ี กู ตอ้ งในการตรวจจบั การรายงาน การประเมนิ และดำ� เนนิ มาตรการควบคมุ เบอื้ งตน้ ตอ่ เหตกุ ารณด์ า้ นสาธารณสขุ ตอ้ งมี (เช่น General Health Declaration (อากาศยาน), Marine–time ทีส่ อดคล้องกบั ประเภทและชนิดของยานพาหนะตา่ งๆ Declaration of Health (เรือ), Ship Sanitation Certificate (เรือ), vaccination Certificate )  มีคู่มือ/เอกสารวิชาการ/มีข้ันตอนการปฏิบัติงานมาตรฐาน (SOP) ด้านสาธารณสขุ ทีย่ านพาหนะต่างๆ จ�ำเปน็ ตอ้ งมี ผู้ให้ขอ้ มลู หลัก  เจ้าหน้าท่ีด่านฯ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม (บรรยาย) มีบันทึกรายงาน การออกเอกสารด้านสาธารณสุขที่ยานพาหนะต่างๆ จ�ำเป็นตอ้ งมี เชน่ ทะเบยี นการออกเอกสารหรอื สำ� เนาเอกสาร B-I // Routine

B-I // Routine คมู่ อื การประเมนิ ตนเอง : สมรรถนะหลัก มาตรการตามกฎอนามยั ระดบั ขั้นของการปฏบิ ัติ อธบิ ายระดบั ขนั้ ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพัฒนาสมรรถนะรวมทง้ั ทรัพยากร และกำ� หนด เวลา) 22 การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดนทางบก ท�ำแลว้ ท�ำแล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ท้งั หมด บางสว่ น 2.3 สถานการณด์ า้ นระบาดวิทยาของช่องทางเข้า ออกประเทศ รายละเอียดและการตรวจสอบ – บคุ ลากรมคี วามรเู้ กย่ี วกบั ความเสย่ี งดา้ นสาธารณสขุ ทตี่ รวจจบั  มหี ลักฐานการผา่ นการฝกึ อบรม ตงั้ แต่ ปี 2558–ปัจจุบนั หรือเจ้าหนา้ ที่ฯ ไดจ้ ากการตรวจสอบตามปกติ และมคี วามรเู้ กยี่ วกบั ความเสย่ี ง อธบิ าย การตรวจจบั ความเสยี่ งดา้ นสาธารณสขุ ในชอ่ งทางไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ด้านสาธารณสุขท่ีมักเกิดขึ้นซ่ึงสัมพันธ์กับประเภท ขนาดและ  มบี นั ทกึ และสรปุ ผลการตรวจสอบความเสยี่ งดา้ นสาธารณสขุ ทต่ี รวจจบั ได้ ชนิด ต้นทางและปลายทางของยานพาหนะต่างๆ ที่มาใช้ช่อง ทางเข้าออกประเทศน้นั ๆ จากการตรวจสอบตามปกติ ได้แก่ รายงานการตรวจสขุ าภบิ าลตา่ งๆ และ มีบนั ทึกมาตรการแก้ไขความเส่ียงด้านสาธารณสุขทีต่ รวจจบั ได้ ผู้ใหข้ อ้ มลู หลัก  เจา้ หนา้ ที่ด่านฯ ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ (บรรยาย)  มีระบบเฝ้าระวังความเสี่ยงด้านสาธารณสุขที่ตรวจจับได้ และมีขั้นตอน การประเมินความเสี่ยงของเหตุการณ์ต่างๆ และข้ันตอนเพื่อช่วยการ ตัดสนิ ใจ 2.4 เหตุการณด์ า้ นสาธารณสุข รายละเอยี ดและการตรวจสอบ – บุคลากรมคี วามรู้และทกั ษะในการตรวจจบั รายงาน ประเมนิ  มีหลกั ฐานการผา่ นการฝึกอบรม ตั้งแต่ ปี 2558–ปจั จุบนั หรือเจ้าหนา้ ทฯี่ และดำ� เนนิ มาตรการตา่ งๆ เพอ่ื ควบคมุ เหตกุ ารณด์ า้ นสาธารณสขุ อธิบาย ขั้นตอนการด�ำเนินมาตรการต่างๆ เพื่อควบคุมเหตุการณ์ด้าน ท่เี กิดขึน้ สาธารณสขุ ท่เี กิดขึ้นท่ีในช่องทางได้อย่างถกู ตอ้ ง  มสี รปุ รายงานสถานการณท์ างระบาดวทิ ยา และเหตกุ ารณด์ า้ นสาธารณสขุ ทเี่ กดิ ขึน้ และมกี ารก�ำหนดมาตรการสาธารณสขุ ในช่องทาง ผู้ให้ข้อมูลหลัก  เจ้าหน้าที่ดา่ นฯ ข้อเสนอแนะเพิม่ เตมิ (บรรยาย)

สมรรถนะหลัก มาตรการตามกฎอนามยั ระดบั ข้ันของการปฏบิ ัติ อธบิ ายระดบั ขน้ั ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมท้งั ทรพั ยากร และกำ� หนด เวลา) ทำ� แล้ว ทำ� แล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทงั้ หมด บางสว่ น 2.5 ความเส่ียงดา้ นสาธารณสขุ ทีเ่ กิดจากเชอื้ โรค สารเคมี รายละเอียดและการตรวจสอบ และสารกัมมันตภาพรงั สี  มหี ลักฐานการผา่ นการฝึกอบรม ตั้งแต่ ปี 2558–ปัจจบุ ัน หรือเจา้ หน้าท่ีฯ – บุคลากรมีความรู้เก่ียวกับผลจากความเสี่ยงด้านสาธารณสุข สามารถอธบิ ายผลกระทบจากความเสย่ี งดา้ นสาธารณสขุ ทเี่ กดิ จากเชอื้ โรค จากสาเหตุต่างๆ ต่อสุขภาพของคน และวิธีการติดต่อจากคน สู่คน จากอาหาร อากาศ น�้ำ ขยะ พาหะน�ำโรค ส่ิงไม่มีชีวิต สารเคมี และสารกัมมันตภาพรังสี ในชอ่ งทางได้อย่างถกู ต้อง แตเ่ ปน็ พาหะนำ� โรคได้ และจากสิง่ แวดล้อม  มคี ู่มอื หรือเอกสารวชิ าการ เกีย่ วกับการประเมนิ ความเสี่ยงและมาตรการ คู่มือการประเมินตนเอง : ทางสาธารณสุขที่เกิดจากเช้อื โรค สารเคมี และสารกมั มันตภาพรงั สี ผู้ใหข้ ้อมลู หลัก การพฒั นาสมรรถนะหลักของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ  23และพรมแดนทางบก  เจา้ หนา้ ทดี่ า่ นฯ ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เตมิ (บรรยาย) 2.6 เทคนคิ การปอ้ งกันตนเองและเครื่องมือที่เก่ียวข้อง รายละเอียดและการตรวจสอบ – บุคลากรแสดงให้เห็นว่ามีความรู้เกี่ยวกับวิธีการใช้เคร่ืองมือ  มหี ลักฐานการผา่ นการฝึกอบรม ตง้ั แต่ ปี 2558–ปจั จุบนั หรอื เจา้ หนา้ ท่ีฯ ปอ้ งกันตนเองอย่างถกู ตอ้ ง สามารถอธบิ ายความรเู้ กยี่ วกบั วธิ กี ารใชเ้ ครอ่ื งมอื ปอ้ งกนั ตนเองในชอ่ งทาง ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง  มีคู่มือ หรือเอกสารวิชาการ เกี่ยวกับวิธีการใช้เครื่องมือป้องกันตนเอง อยา่ งถกู ต้อง ผ้ใู ห้ขอ้ มลู หลกั  เจ้าหนา้ ทด่ี า่ นฯ ข้อเสนอแนะเพม่ิ เติม (บรรยาย) B-I // Routine

B-I // Routine คมู่ อื การประเมนิ ตนเอง : สมรรถนะหลกั มาตรการตามกฎอนามัย ระดบั ขน้ั ของการปฏิบัติ อธบิ ายระดบั ขนั้ ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมทั้งทรัพยากร และก�ำหนด เวลา) 24 การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดนทางบก ท�ำแล้ว ทำ� แล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ท้ังหมด บางสว่ น 2.7 มาตรการด้านสาธารณสุข รายละเอยี ดและการตรวจสอบ – บคุ ลากรแสดงใหเ้ หน็ วา่ มคี วามรเู้ กยี่ วกบั การใชว้ ธิ กี ารทถ่ี กู ตอ้ ง  มหี ลักฐานการผา่ นการฝกึ อบรม ตั้งแต่ ปี 2558–ปัจจุบนั หรอื เจา้ หน้าทีฯ่ และเขา้ ใจเทคนิคต่างๆ เชน่ การฆา่ เชื้อ การขจดั การปนเปื้อน สามารถอธบิ ายวิธีการดำ� เนินมาตรการสาธารณสุข ตา่ งๆ เช่น การฆ่าเชือ้ การแยกกัก การกักกัน การติดตามผู้สัมผัส การควบคุมท่ีจุด เขา้ ออก การขจัดการปนเปื้อน การแยกกัก การกักกัน การติดตามผู้สัมผัส การควบคุมท่ีจดุ เข้าออก ในช่องทางได้อยา่ งถกู ตอ้ ง  มีคู่มอื หรอื เอกสารวชิ าการ ในการด�ำเนนิ มาตรการทางสาธารณสขุ เชน่ การฆ่าเชื้อ การขจัดการปนเปื้อน การแยกกัก การกักกัน การติดตาม ผสู้ ัมผสั การควบคุมทจี่ ุดเขา้ ออก เปน็ ต้น ผ้ใู ห้ขอ้ มูลหลัก  เจา้ หนา้ ที่ด่านฯ ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ (บรรยาย) 2.8 เทคนิคการทดสอบและการสุม่ ตวั อยา่ ง รายละเอยี ดและการตรวจสอบ – บุคลากรแสดงให้เห็นว่ามีความรู้เกี่ยวกับการใช้เทคนิคและ  มีหลกั ฐานการผา่ นการฝกึ อบรม ตงั้ แต่ ปี 2558–ปัจจบุ ันหรอื เจ้าหนา้ ทฯ่ี เคร่ืองมือการทดสอบและสุ่มตัวอย่างท่ีถูกต้องเพื่อช่วยในการ สามารถอธบิ ายการเทคนิคและเครือ่ งมอื การทดสอบและส่มุ ตวั อย่าง เชน่ สังเกตเบื้องต้น การตรวจจับ และการประเมินความเส่ียง ด้านสาธารณสุข เช่น นำ้� อาหาร การควบคมุ พาหะนำ� โรค การสมุ่ เกบ็ ตวั อย่างอาหาร นำ�้ พาหะน�ำโรค ในชอ่ งทางได้  มีคู่มือ หรือเอกสารวิชาการ การเทคนิคและเคร่ืองมือการทดสอบและ สมุ่ ตัวอย่าง เช่น การสุม่ เกบ็ ตัวอย่างอาหาร นำ้� พาหะนำ� โรค ผ้ใู ห้ขอ้ มูลหลกั  เจา้ หนา้ ท่ดี า่ นฯ

สมรรถนะหลัก มาตรการตามกฎอนามยั ระดับข้นั ของการปฏบิ ัติ อธบิ ายระดบั ขน้ั ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพัฒนาสมรรถนะรวมท้ังทรพั ยากร และกำ� หนด เวลา) ท�ำแลว้ ทำ� แล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทงั้ หมด บางส่วน ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เตมิ (บรรยาย) คู่มือการประเมินตนเอง : 2.9 การควบคุมพาหะนำ� โรค รายละเอียดและการตรวจสอบ – บุคลากรแสดงให้เห็นว่ามีความรู้เก่ียวกับใช้วิธีการ ที่ถูกต้อง  มหี ลักฐานการผา่ นการฝกึ อบรม ตั้งแต่ ปี 2558–ปัจจุบนั หรือเจ้าหนา้ ท่ฯี การพฒั นาสมรรถนะหลักของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ  25และพรมแดนทางบก และเหมาะสมในการควบคุมโรคทมี่ พี าหะนำ� รวมทัง้ แหลง่ โรค สามารถอธิบายเก่ียวกับการควบคุมโรคที่มีพาหะน�ำ รวมท้ังแหล่งโรค (hosts) พาหะนำ� โรค การก�ำจัดแมลง และการก�ำจดั หนู (hosts) พาหะน�ำโรค การก�ำจัดแมลง และการกำ� จัดหนใู นช่องทางได้  มีคูม่ ือ หรือเอกสารวิชาการ ในการควบคุมโรคทม่ี พี าหะนำ� รวมท้ังแหล่ง โรค (hosts) พาหะนำ� โรค การก�ำจัดแมลง และการกำ� จดั หนู  มีแผนการตรวจตรา การควบคมุ พาหะนำ� โรค  มผี ลการตรวจตรา และแนวทางแก้ไข หากพบความผิดปกติ  มีสรปุ และวิเคราะหผ์ ลการตรวจตรา ผู้ใหข้ อ้ มูลหลกั  เจา้ หนา้ ที่ด่านฯ ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ (บรรยาย) 2.10 การจัดการด้านอาหารปลอดภยั รายละเอียดและการตรวจสอบ – บคุ ลากรมคี วามรเู้ กยี่ วกบั การปฏบิ ตั ทิ ถี่ กู ตอ้ งในการจดั การดา้ น  มหี ลักฐานการผา่ นการฝึกอบรม ตั้งแต่ ปี 2558–ปจั จุบันหรอื เจา้ หนา้ ทฯ่ี อาหารปลอดภัย โดยเฉพาะที่เก่ียวกับการวัตถุดิบ แหล่งผลิต สามารถอธบิ ายเกย่ี วกบั การจดั การดา้ นอาหารปลอดภยั โดยเฉพาะทเี่ กย่ี วกบั การเตรียม การเกบ็ รักษา และการแจกจ่ายอาหาร การวัตถดุ บิ แหล่งผลติ การเตรียม การเก็บรกั ษา และการแจกจา่ ยอาหาร ในช่องทางไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง B-I // Routine

B-I // Routine คมู่ อื การประเมนิ ตนเอง : สมรรถนะหลกั มาตรการตามกฎอนามัย ระดบั ข้นั ของการปฏิบตั ิ อธบิ ายระดบั ขน้ั ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมทง้ั ทรพั ยากร และกำ� หนด เวลา) 26 การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดนทางบก ท�ำแล้ว ท�ำแล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทั้งหมด บางสว่ น  มีคูม่ ือ หรือเอกสารวชิ าการเกยี่ วกบั การจัดการดา้ นอาหารปลอดภยั  มีแผนการตรวจตรา การจดั การดา้ นอาหารปลอดภัย  มีผลการตรวจตรา และแนวทางแกไ้ ข หากพบความผดิ ปกติ  มสี รุปและวเิ คราะห์ผลการตรวจตรา ผูใ้ ห้ข้อมลู หลัก  เจา้ หนา้ ท่ดี า่ นฯ ข้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ (บรรยาย) 2.11 การจดั การดา้ นนำ้� ปลอดภัย รายละเอียดและการตรวจสอบ – บคุ ลากรมคี วามรเู้ กย่ี วกบั การปฏบิ ตั ทิ ถี่ กู ตอ้ งในการจดั การดา้ น  มีหลกั ฐานการผา่ นการฝกึ อบรมตั้งแต่ ปี 2558–ปัจจบุ ัน หรือเจ้าหน้าที่ฯ นำ�้ ปลอดภยั โดยเฉพาะทเ่ี กย่ี วกบั แหลง่ ผลติ การเกบ็ รกั ษา และ สามารถอธบิ ายเก่ียวกบั การจัดการด้านน�้ำปลอดภยั โดยเฉพาะทเี่ ก่ยี วกบั การแจกจ่ายนำ้� วธิ ีการปรับปรงุ และควบคมุ คณุ ภาพน้�ำ แหลง่ ผลติ การเกบ็ รกั ษา และการแจกจา่ ยนำ้� วธิ กี ารปรบั ปรงุ และควบคมุ คุณภาพนำ�้ ในช่องทางได้อยา่ งถูกตอ้ ง  มคี มู่ ือ หรือเอกสารวชิ าการ เกย่ี วกบั การจัดการด้านน�้ำปลอดภยั  มแี ผนการตรวจตรา แหลง่ ผลิต การเกบ็ รักษา และการแจกจ่ายนำ้� วธิ ีการ ปรบั ปรุงและควบคุมคณุ ภาพน้ำ�  มีผลการตรวจตรา และแนวทางแกไ้ ข หากพบความผดิ ปกติ  มีสรุปและวเิ คราะห์ผลการตรวจตรา ผใู้ หข้ ้อมลู หลกั  เจา้ หน้าทด่ี ่านฯ ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ (บรรยาย)

สมรรถนะหลัก มาตรการตามกฎอนามยั ระดับขัน้ ของการปฏิบัติ อธบิ ายระดบั ขนั้ ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมทง้ั ทรัพยากร และกำ� หนด เวลา) ท�ำแล้ว ท�ำแล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทั้งหมด บางส่วน 2.12 การจดั การด้านส่ิงปฏิกูลทงั้ ท่เี ปน็ ของแขง็ และของเหลว รายละเอียดและการตรวจสอบ – บุคลากรมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการและระบบการจัดการและ  มีหลักฐานการผา่ นการฝกึ อบรม ต้งั แต่ ปี 2558–ปัจจุบนั หรอื เจา้ หนา้ ท่ฯี ควบคมุ สง่ิ ปฏกิ ลู ทงั้ ทเ่ี ปน็ ของแขง็ และของเหลว เพอื่ ทจ่ี ะตรวจจบั สามารถอธิบายเก่ียวกับวิธีการและระบบการจัดการและควบคุมส่ิงปฏิกูล ประเมิน และให้ค�ำแนะน�ำเก่ียวกับมาตรการควบคุมที่ต้องใช้ ท้งั ทีเ่ ป็นของแขง็ และของเหลว ในช่องทางได้อย่างถกู ตอ้ ง ต่อความเสี่ยงท่ีเกิดขึ้นหรืออาจเกิดข้ึนอันมีสาเหตุมาจาก  มีคู่มือ หรือเอกสารวิชาการ กับวิธีการและระบบการจัดการและควบคุม สิง่ ปฏกิ ูลทัง้ ทีเ่ ป็นของแขง็ และของเหลว (รวมทั้ง น�้ำท่ที อ้ งเรอื ส่งิ ปฏกิ ลู ทงั้ ทีเ่ ป็นของแข็งและของเหลว และอับเฉาในเรือดว้ ย)  มแี ผนการตรวจตรา สิ่งปฏกิ ลู ทัง้ ทเ่ี ปน็ ของแขง็ และของเหลว  มีผลการตรวจตรา และแนวทางแก้ไข หากพบความผดิ ปกติ คู่มือการประเมินตนเอง :  มสี รปุ และวเิ คราะห์ผลการตรวจตรา ผู้ใหข้ ้อมูลหลกั การพฒั นาสมรรถนะหลักของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ  27และพรมแดนทางบก  เจ้าหน้าทีด่ า่ นฯ ข้อเสนอแนะเพมิ่ เติม (บรรยาย) 2.13 สระวา่ ยนำ�้ และสปา รายละเอยี ดและการตรวจสอบ – บุคลากรมีความรู้เกี่ยวกับความเส่ียงท่ีเกิดขึ้นหรืออาจเกิดขึ้น  มหี ลักฐานการผ่านการฝึกอบรม ตัง้ แต่ ปี 2558–ปัจจุบนั หรอื เจ้าหน้าทฯ่ี จากบรเิ วณสระวา่ ยนำ้� และสปาบนเรอื รวมทง้ั วธิ กี ารและระบบ สามารถอธิบายเก่ียวกับความเส่ียงท่ีเกิดข้ึนหรืออาจเกิดข้ึนจากบริเวณ ในการตรวจจบั ประเมนิ และแนะนำ� มาตรการควบคมุ สระวา่ ยน้ำ� และสปาบนเรือ ในช่องทางได้อย่างถกู ตอ้ ง  มีค่มู อื หรอื เอกสารวชิ าการ เก่ียวกบั สระวา่ ยน�้ำและสปาบนเรอื ผู้ใหข้ อ้ มลู หลัก  เจา้ หนา้ ทด่ี ่านฯ ข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ (บรรยาย) B-I // Routine

B-I // Routine คมู่ อื การประเมนิ ตนเอง : สมรรถนะหลัก มาตรการตามกฎอนามยั ระดบั ขัน้ ของการปฏบิ ตั ิ อธบิ ายระดบั ขนั้ ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมทัง้ ทรัพยากร และก�ำหนด เวลา) 28 การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดนทางบก ท�ำแลว้ ท�ำแล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ท้ังหมด บางสว่ น 2.14 สถานบรกิ ารทางการแพทย์ รายละเอยี ดและการตรวจสอบ – บุคลากรมีความรู้เก่ียวกับข้อก�ำหนด ข้ันตอนวิธีการของการ  มีหลกั ฐานการผ่านการฝึกอบรม ตั้งแต่ ปี 2558–ปัจจบุ นั หรือเจา้ หน้าทฯ่ี จัดการด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ เครอ่ื งมอื หีบเครอื่ งมอื สามารถอธบิ ายความรเู้ กย่ี วกบั ขอ้ กำ� หนดดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มของสถานบรกิ าร แพทย์ และข้อก�ำหนดด้านส่ิงแวดล้อมของสถานบริการทาง ทางการแพทย์บนยานพาหนะ ได้อย่างถูกต้อง (เช่น มีความรู้เก่ียวกับ การแพทย์บนยานพาหนะ ตามขนาด ประเภท และชนิด ข้อกำ� หนด ขน้ั ตอน วธิ ีการของการจัดการดา้ นความปลอดภยั ทางชีวภาพ ของยานพาหนะ และแนวทางการปฏิบัติต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และสง่ิ แวดลอ้ ม) (เชน่ แนวทางของ WHO, IMO, ILO, ICAO)  มีคู่มือ หรือเอกสารวิชาการ เกี่ยวกับข้อก�ำหนดด้านส่ิงแวดล้อมของ สถานบริการทางการแพทย์บนยานพาหนะ หรืออื่นๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง เช่น – ICAO guideline – International Medical Guideline for ship – คมู่ อื การออกเอกสาร SSC ผู้ให้ขอ้ มลู หลัก  เจา้ หนา้ ทด่ี า่ นฯ ข้อเสนอแนะเพ่มิ เติม (บรรยาย) 2.15 การจัดการคณุ ภาพอากาศ รายละเอียดและการตรวจสอบ – ความเขา้ ใจการปฏบิ ตั งิ านทถ่ี กู ตอ้ งในการจดั การคณุ ภาพอากาศ  มีหลกั ฐานการผา่ นการฝึกอบรม ตง้ั แต่ ปี 2558–ปัจจบุ ัน หรือเจา้ หนา้ ทฯ่ี เพ่ือสุขภาพ สมรรถนะในการตรวจจับ การประเมิน และการ สามารถอธิบายความรู้เก่ียวกับการจัดการคุณภาพอากาศเพ่ือสุขภาพ ออกข้อแนะน�ำมาตรการควบคุมความเส่ียงที่เกิดขึ้น หรือ ในการตรวจจับ การประเมิน และการออกข้อแนะน�ำมาตรการควบคุม อาจเกิดขนึ้ ความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ หรืออาจเกิดข้ึน

สมรรถนะหลัก มาตรการตามกฎอนามัย ระดับข้ันของการปฏบิ ตั ิ อธบิ ายระดบั ขน้ั ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพัฒนาสมรรถนะรวมทงั้ ทรพั ยากร และกำ� หนด เวลา) ทำ� แลว้ ท�ำแลว้ ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทัง้ หมด บางส่วน  มีคมู่ อื หรือเอกสารวชิ า การจดั การคณุ ภาพอากาศในอาคาร ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลกั  เจ้าหนา้ ที่ด่านฯ ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ (บรรยาย) คู่มือการประเมินตนเอง : (d) จัดให้มีสง่ิ แวดล้อมทป่ี ลอดภยั ส�ำหรบั ผเู้ ดินทางทกี่ �ำลงั ใชช้ ่องทางเข้าออกประเทศ ไดแ้ ก่ น�้ำดม่ื ท่รี ับประทานอาหาร การบรกิ ารอาหารบนยานพาหนะ หอ้ งสุขาสาธารณะ การบริการ ก�ำจัดสิ่งปฏิกูลท้ังท่ีเป็นของแข็งและของเหลว และบริเวณอ่ืนๆ ท่ีอาจมีความเสี่ยง ด้วยการจัดให้มีโปรแกรมตรวจตราตามความเหมาะสมโดยบุคลากรที่ผ่านการฝึกอบรมในจ�ำนวน การพฒั นาสมรรถนะหลักของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ  29และพรมแดนทางบก ที่เพียงพอ 1. สงิ่ แวดลอ้ มทปี่ ลอดภยั สำ� หรับผู้เดินทางทกี่ �ำลังใชช้ ่องทางเขา้ ออกประเทศ 1.1 นำ้� มโี ปรแกรมการทดสอบทจี่ ดั ทำ� เปน็ เอกสารและมกี ารทำ� ใหท้ นั เหตกุ ารณ์ อยู่เสมอ ซึ่งด�ำเนินการหรืออยู่ภายใต้การดูแลของเจ้าหน้าท่ีผู้มีอ�ำนาจ มีการบนั ทึกผลการทดสอบเป็นลายลักษณอ์ ักษรไวพ้ รอ้ ม ดังตอ่ ไปน้ี 1.1.1 แหลง่ นำ�้ รายละเอยี ดและการตรวจสอบ มกี ารเฝา้ ระวงั และกำ� กบั ใหแ้ หลง่ นำ�้ บรโิ ภคอยใู่ นทที่ ป่ี ลอดภยั  (กรณที ไี่ ม่ได้ผลิตน้�ำใช้ภายในช่องทาง) ระบแุ หล่งน้�ำ ........................... ห่างจากแหล่งมลพิษ และได้รับการรับรองจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข  (กรณีผลิตน้�ำใช้ภายในชอ่ งทาง) ระบุระบบการผลิตน้�ำ......................... ท่ีมีอ�ำนาจหนา้ ที่ รวมทั้งมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานของประเทศ  มบี นั ทกึ รายงานผลการตรวจแหลง่ นำ�้ ประปา (ขอผล เดอื น ม.ิ ย. และ ธ.ค. )  เจ้าหน้าที่ฯ สามารถอธิบาย วิธี การจัดการคุณภาพน้�ำ เม่ือพบความ ผิดปกติ ได้อย่างถกู ต้อง B-I // Routine

B-I // Routine คมู่ อื การประเมนิ ตนเอง : สมรรถนะหลกั มาตรการตามกฎอนามัย ระดับขัน้ ของการปฏิบตั ิ อธบิ ายระดบั ขนั้ ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมท้งั ทรพั ยากร และก�ำหนด เวลา) 30 การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดนทางบก ท�ำแลว้ ท�ำแลว้ ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทั้งหมด บางสว่ น ผู้ใหข้ ้อมลู หลัก   ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติม (บรรยาย) 1.1.2 การปรบั ปรุงคุณภาพ (treatment) รายละเอียดและการตรวจสอบ มีการปรับปรุงคุณภาพท่ีเพียงพอเพื่อก�ำจัดและควบคุม  ระบุแผนผังระบบการบริการ(water supply) น�้ำภายในช่องทาง พร้อม ความเสี่ยงด้านสาธารณสุข จุดควบคุมในแผนผัง (เช่น แผนผังเส้นท่อ จุดควบคุมความเสี่ยง ระบุ วิธีการควบคมุ )  มคี มู่ ือการตรวจ การปรับปรุงคณุ ภาพและควบคุมคณุ ภาพน้ำ�  มีบันทึกรายงาน ผลการตรวจ คุณภาพน้�ำ ท่ีสามารถตรวจสอบได้ (รายสปั ดาห์/รายเดือน ด้วยวิธกี ารใช้ชุดทดสอบอย่างงา่ ย เชน่ การตรวจ ค่าคลอรีนอิสระคงเหลือด้วย ชุดทดสอบ อ.31 หรือเครื่องวัดค่าคลอรีน อิสระคงเหลือแบบจานเทียบสี หรือการตรวจหาเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ในน้�ำ (อ.11) ด้วยชุดตรวจอย่างง่ายของ กรมอนามัย หรือการตรวจ ทางหอ้ งปฏิบตั ิการตามเกณฑค์ ุณภาพน�้ำของกรมอนามัย)  เจ้าหน้าที่ฯ สามารถอธิบาย วิธี การจัดการคุณภาพน้�ำ เมื่อพบความ ผิดปกตไิ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ผใู้ ห้ข้อมูลหลกั   ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติม (บรรยาย)

สมรรถนะหลกั มาตรการตามกฎอนามัย ระดบั ข้นั ของการปฏิบัติ อธบิ ายระดบั ขน้ั ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมทั้งทรพั ยากร และกำ� หนด เวลา) ทำ� แลว้ ท�ำแล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทง้ั หมด บางสว่ น คู่มือการประเมินตนเอง : 1.1.3 โปรแกรมการกำ� กับติดตามคณุ ภาพน�้ำ รายละเอยี ดและการตรวจสอบ มีการกำ� กับติดตามคุณภาพนำ้� อย่างสม�่ำเสมอ รวมทง้ั กำ� กับ  มีคู่มือการตรวจ การปรับปรุงคุณภาพและควบคุมคุณภาพน�้ำ การพฒั นาสมรรถนะหลักของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ  31และพรมแดนทางบก ตดิ ตามผลการกำ� จดั เชอื้ โรคในนำ้� ทจี่ ดุ บรกิ ารนำ้� ดมื่ ทกุ ครงั้ ทม่ี คี วามเสย่ี ง  มีแผนการสุ่มตรวจคุณภาพน�้ำ ที่เป็นลายลักษณ์อักษร โดยให้ครอบคลุม หรือโอกาสเสี่ยงด้านสาธารณสุขอันเกิดจากน�้ำ ต้องตรวจพบได้ มีการ ประเมนิ และมกี ารปฏบิ ตั มิ าตรการควบคุมตามที่แนะน�ำ ตลอดจนมีการ การสุ่มตรวจ บันทึกก�ำหนดการปฏิบัติงานตามโปรแกรมการก�ำกับติดตามคุณภาพน้�ำ วันเวลา และผลการทดสอบตวั อยา่ งน�้ำจากสถานท่ีต่างๆ ดงั นี้ 1. จดุ จ่ายนำ�้ สาธารณะในอาณาบรเิ วณชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ  จุดจ่ายน�้ำสาธารณะในอาณาบริเวณช่องทางเข้าออก ประเทศ 2. สถานีเขา้ ออกของผ้โู ดยสาร  สถานีเข้าออกของผู้โดยสาร  สถานีขนส่งสินคา้ และตู้สินค้า 3. สถานีขนส่งสินคา้ และตสู้ ินคา้  สง่ิ ปลกู สรา้ งต่างๆ และสนาม  การลำ� เลยี งขนสง่ นำ้� และผใู้ หบ้ รกิ ารนำ�้ สำ� หรบั ยานพาหนะ 4. สิ่งปลกู สร้างตา่ งๆ และสนาม ตา่ งๆ  บริการน�้ำประปาเพ่ือการผลิตอาหาร 5. การล�ำเลียงขนสง่ นำ้� และผูใ้ หบ้ ริการน้�ำสำ� หรับยานพาหนะตา่ งๆ 6. บรกิ ารน้�ำประปาเพ่ือการผลติ อาหาร  มบี นั ทกึ รายงาน ผลการตรวจ การสมุ่ ตรวจนำ�้ และมบี นั ทกึ การสง่ั การแกไ้ ข กรณไี มถ่ กู สขุ ลักษณะ  เจ้าหน้าท่ีฯ สามารถอธิบาย วิธี การจัดการคุณภาพน้�ำ เมื่อพบความ ผิดปกตไิ ดอ้ ย่างถูกต้อง ผู้ให้ขอ้ มลู หลัก   ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเตมิ (บรรยาย) B-I // Routine

B-I // Routine คมู่ อื การประเมนิ ตนเอง : สมรรถนะหลัก มาตรการตามกฎอนามยั ระดับข้ันของการปฏิบตั ิ อธบิ ายระดบั ขน้ั ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมทงั้ ทรพั ยากร และก�ำหนด เวลา) 32 การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดนทางบก ท�ำแลว้ ทำ� แล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทัง้ หมด บางสว่ น 1.2 อาหาร รายละเอยี ดและการตรวจสอบ สถานที่รับประทานอาหาร/ร้านจ�ำหน่าย/สถานท่ีผลิตอาหาร  มีทะเบียนรายช่ือ สถานท่ีรับประทานอาหาร/ร้านจ�ำหน่าย/สถานท่ีผลิต ได้รับการรับรองหรือพิจารณาว่าปลอดภัยโดยหน่วยงานสาธารณสุข ทเี่ กยี่ วขอ้ ง และ/หรอื อยภู่ ายใตก้ ารควบคมุ กำ� กบั ของเจา้ หนา้ ทผี่ มู้ อี ำ� นาจ อาหาร อย่างสม�่ำเสมอ ท้ังน้ีรวมถึงครัวการบิน ผลิตภัณฑ์อาหารและเคร่ืองด่ืม  มีคมู่ ือการตรวจ การปรับปรุงคณุ ภาพและควบคมุ สขุ าภิบาลอาหาร ทเี่ นา่ เสยี ไดอ้ น่ื ๆ ทจี่ ดั เตรยี มมาจากแหลง่ ทอ่ี ยนู่ อกอาณาบรเิ วณชอ่ งทาง  มบี นั ทกึ รายงาน ผลการตรวจ การสมุ่ อาหาร และมบี นั ทกึ การสงั่ การแกไ้ ข เข้าออกประเทศแต่มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้บนยานพาหนะ ทั้งนี้ จะต้อง ตรวจจับความเส่ียงด้านสาธารณสุขที่เกิดข้ึนหรืออาจเกิดข้ึนจากอาหาร กรณไี ม่ถูกสขุ ลกั ษณะ ไดท้ กุ ครงั้ มกี ารประเมนิ และดำ� เนนิ มาตรการ การควบคมุ ตามขอ้ แนะนำ�  สถานท่ีรับประทานอาหาร/ร้านจ�ำหน่าย/สถานที่ผลิตอาหาร/ครัวการบิน มีการจดบันทึกผลการทดสอบตัวอย่างอาหารเป็นลายลักษณ์อักษร ไว้พร้อม รวมถึงความปลอดภัยด้านอาหาร สถานท่ีรับประทานอาหาร ได้การรับรองคุณภาพอาหารปลอดภัยได้รับการรับรองหรือพิจารณาว่า และประกอบอาหาร ปลอดภัยโดยหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง (เช่น Clean Food Good Taste, HACCP, GMP ฯลฯ)  เจา้ หนา้ ทฯี่ สามารถอธิบาย วิธีการจัดการคณุ ภาพ เม่ือพบความผดิ ปกติ ได้อยา่ งถกู ต้อง ผ้ใู ห้ขอ้ มลู หลกั   ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม (บรรยาย) กรณี มีร้านอาหารภายนอกเขตของช่องทางขอให้ประสานกับหน่วยงาน ที่เกย่ี วข้องดำ� เนินเพื่อการพัฒนาต่อไป

สมรรถนะหลกั มาตรการตามกฎอนามยั ระดับขน้ั ของการปฏบิ ตั ิ อธบิ ายระดบั ขนั้ ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพัฒนาสมรรถนะรวมทง้ั ทรัพยากร และกำ� หนด เวลา) ท�ำแล้ว ทำ� แล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ท้งั หมด บางสว่ น 1.3 ห้องส้วมสาธารณะ รายละเอียดและการตรวจสอบ ห้องสว้ มสาธารณะตั้งอยูใ่ นทที่ ่เี หมาะสมที่สามารถท�ำความสะอาด  มคี มู่ ือการตรวจ การปรบั ปรงุ คณุ ภาพและควบคุมสุขาภิบาลห้องส้วม ได้อย่างสม�่ำเสมอตามปริมาณของผู้โดยสารและบุคลากรท่ีใช้สถานี  มีแผนการควบคมุ ก�ำกับความสะอาดของหอ้ งสว้ มสาธารณะ เดนิ ทางและทอ่ี ืน่ ๆ ภายในอาณาบรเิ วณของชอ่ งทางเข้าออกประเทศ  หอ้ งสว้ มสาธารณะไดร้ บั การรบั รองหรอื พจิ ารณาวา่ ปลอดภยั โดยหนว่ ยงาน คู่มือการประเมินตนเอง : ท่เี กี่ยวข้อง (เชน่ HAS เปน็ ต้น)  มีบันทึกรายงาน ผลการตรวจ สุขาภิบาลห้องส้วมสาธารณะและมีบันทึก การพฒั นาสมรรถนะหลักของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ  33และพรมแดนทางบก การสัง่ การแกไ้ ข กรณไี มถ่ กู สุขลกั ษณะ  เจ้าหน้าท่ีฯ สามารถอธิบาย วิธีการจัดการคุณภาพเมื่อพบความผิดปกติ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ผู้ใหข้ อ้ มูลหลกั   ข้อเสนอแนะเพิม่ เติม (บรรยาย) 1.4 ขยะท่ีเป็นของแข็ง นำ้� เสยี –น�้ำขัง รายละเอียดและการตรวจสอบ – มกี ารจดั ทำ� เอกสารเพอ่ื บนั ทกึ ผลการตรวจสอบการจดั การกำ� จดั  ระบรุ ะบบการจัดการ ขยะ สง่ิ ปฎิกลู น้�ำเสีย–น้�ำขัง (ถา้ เปน็ บรษิ ทั รับจ้าง สิง่ ปฏิกูลทง้ั ทเ่ี ปน็ ของแขง็ และน้�ำเสียใหท้ ันสมัยอยเู่ สมอ ช่วง ขอดู TOR) – มีแผนจัดการนำ้� ท่ีขงั อยตู่ ามที่ต่างๆ  มคี มู่ อื การตรวจ การปรับปรุงคุณภาพ และควบคุมขยะส่งิ ปฏิกลู น�้ำเสีย– – มีการนิเทศงานจากเจ้าหน้าที่ผู้มีอ�ำนาจโดยประกอบด้วย น้�ำขงั งานต่างๆ ดังน้ี  มีแผนจัดการลดปริมาณ และการใช้ประโยชน์ จากขยะ น�้ำเสียจัดท�ำไว้ เป็นเอกสาร B-I // Routine

B-I // Routine คมู่ อื การประเมนิ ตนเอง : สมรรถนะหลกั มาตรการตามกฎอนามยั ระดับข้นั ของการปฏบิ ตั ิ อธบิ ายระดบั ขน้ั ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมทงั้ ทรพั ยากร และก�ำหนด เวลา) 34 การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดนทางบก ทำ� แลว้ ท�ำแล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ท้ังหมด บางส่วน 1.4.1 งานก�ำกับตดิ ตามคุณภาพการจัดการส่ิงปฏิกูล  มีบันทึกรายงาน ผลการกำ� จัดส่ิงปฏิกูลทั้งท่ีเป็นของแข็งและนำ�้ เสีย เช่น การตรวจจับความเส่ียงด้านสาธารณสุขที่เกิดข้ึนหรืออาจ เกดิ ขน้ึ จากขยะที่เปน็ ของแขง็ นำ�้ เสีย–น�ำ้ ขังไดท้ ุกคร้งั ผลตารางบันทึกเวลาเท่ียวรถการเก็บขยะ เป็นต้น และมีบันทึกการสั่ง – มกี ารประเมนิ และปฏบิ ตั มิ าตรการควบคมุ ตามขอ้ แนะนำ� – มกี ารจดบันทึก และเก็บผลการทดสอบไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน การแก้ไข กรณีไมถ่ ูกสุขลกั ษณะ ผู้ให้ข้อมูลหลกั โดยให้ครอบคลุมดังนี้   ที่สาธารณะท่ีใช้เก็บขยะท่ีเป็นของแข็งน้�ำเสีย–น้�ำขัง  ข้อเสนอแนะเพ่มิ เติม (บรรยาย) ภายในอาณาบรเิ วณชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ  อาคารผโู้ ดยสาร  คลงั สินคา้ และตู้บรรทกุ สนิ ค้า  สงิ่ ปลูกสรา้ งตา่ งๆ และสนาม  การขนขยะที่เป็นของแข็งและผู้ให้บริการขนขยะจาก ยานพาหนะ  บรกิ ารเก็บขยะจากทีผ่ ลติ อาหาร  ขยะอันตราย (ขยะจากสถานบริการทางการแพทย์/ ขยะติดเชอ้ื สารเคมี เครอื่ งมือมคี มและแหลม เปน็ ต้น) 1.4.2 จดุ พกั สดุ ทา้ ยของสงิ่ ปฏกิ ลู ทงั้ ทเี่ ปน็ ของแขง็ และของเหลว รายละเอยี ดและการตรวจสอบ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ทชี่ อ่ งทางเขา้ ออกประเทศมโี ปรแกรมการจดั การ  ระบุแผนผังระบบการจัดการ/การบริการรวบรวมและก�ำจัดส่ิงปฏิกูล ขยะและน้�ำเสียท่ีจัดท�ำไว้เป็นเอกสาร มีการทดสอบ และปรบั ปรงุ โปรแกรมใหท้ นั เหตกุ ารณอ์ ยเู่ สมอ มขี นั้ ตอน ทั้งท่ีเป็นของแข็งและของเหลว พร้อมจุดควบคุมในแผนผัง เช่น แผนผัง การเก็บรวบรวมขยะ จดุ ควบคมุ ความเสย่ี ง

สมรรถนะหลกั มาตรการตามกฎอนามยั ระดบั ข้ันของการปฏิบัติ อธบิ ายระดบั ขน้ั ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพัฒนาสมรรถนะรวมทง้ั ทรัพยากร และก�ำหนด เวลา) ท�ำแลว้ ท�ำแล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทั้งหมด บางสว่ น ปฏิบัติงานมาตรฐาน (SOP) มีการขนถ่ายและก�ำหนด  มีขนั้ ตอนปฏิบัตงิ านมาตรฐาน (SOP) เขยี นแผนผงั จดุ พกั สดุ ทา้ ยของขยะและนำ้� เสยี ทเี่ กดิ ในชอ่ งทางเขา้ ออก  มีบันทึกผลการตรวจสอบสุขลักษณะของสถานที่จุดพักสุดท้ายของขยะ ประเทศ และ/หรอื มีการบ�ำบดั สิง่ ปฏกิ ูลเหล่าน้ีในบริเวณ ช่องทางเข้าออกประเทศ ตามประเภทและปริมาณของ สงิ่ ปฏกิ ลู และมบี ันทกึ การสง่ั การแก้ไข กรณไี ม่ถูกสุขลกั ษณะ สงิ่ ปฏกิ ูล  เจ้าหน้าท่ีฯ สามารถอธิบาย วิธีการจัดการคุณภาพเม่ือพบความผิดปกติ คู่มือการประเมินตนเอง : ได้อย่างถกู ต้อง การพฒั นาสมรรถนะหลักของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ  35และพรมแดนทางบก ผใู้ หข้ ้อมลู หลัก   ข้อเสนอแนะเพมิ่ เตมิ (บรรยาย) 1.5 ความเส่ียงด้านสาธารณสุขในด้านอื่นๆ : คุณภาพของอากาศ รายละเอียดและการตรวจสอบ ภายในตวั อาคาร  ระบรุ ะบบการจดั การคุณภาพอากาศในตวั อาคาร  มีคมู่ อื การตรวจ การปรบั ปรงุ คุณภาพ และการจัดการคุณภาพของอากาศ มีแผนจัดการคุณภาพของอากาศภายในตัวอาคารที่จัดท�ำไว้เป็น เอกสาร มีการทดสอบและปรับปรุงแผนให้ทันเหตุการณ์อยู่เสมอ และ ภายในตัวอาคาร ให้อยู่ภายใต้การดูแลของเจ้าหน้าที่ผู้มีอ�ำนาจหากตรวจพบความเสี่ยง  มแี ผนการจดั การคณุ ภาพของอากาศภายในตวั อาคารจดั ทำ� ไวเ้ ปน็ เอกสาร ด้านสาธารณสุขที่เกิดข้ึนหรืออาจเกิดข้ึนจากคุณภาพของอากาศภายใน  มีบันทึกรายงาน ผลการตรวจ และมีบันทึกการส่ังการแก้ไข กรณีไม่ถูก ตัวอาคาร มีการประเมิน และปฏิบัติมาตรการควบคุมตามข้อแนะน�ำ มกี ารจดบนั ทกึ และเกบ็ ผลการทดสอบไว้เป็นหลกั ฐาน สขุ ลักษณะ ผู้ให้ขอ้ มลู หลกั   B-I // Routine

B-I // Routine คมู่ อื การประเมนิ ตนเอง : สมรรถนะหลกั มาตรการตามกฎอนามยั ระดบั ขน้ั ของการปฏิบตั ิ อธบิ ายระดบั ขน้ั ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพัฒนาสมรรถนะรวมทัง้ ทรัพยากร และก�ำหนด เวลา) 36 การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดนทางบก ทำ� แล้ว ทำ� แล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ท้งั หมด บางสว่ น ข้อเสนอแนะเพมิ่ เติม (บรรยาย) ถ้าหากช่องทางเข้าออกประเทศ ที่มีโครงสร้างของอาคารเปิดโล่งไม่ต้อง ตรวจคุณภาพของอากาศ แต่ขอให้มีการตรวจสอบระบบการดูแลรักษา เคร่ืองปรับอากาศแทน 1.6 ความเสีย่ งดา้ นสาธารณสขุ ในด้านอืน่ ๆ : ศพมนษุ ย์ รายละเอยี ดและการตรวจสอบ มเี อกสารขนั้ ตอนวธิ กี ารตรวจสอบเพอื่ การกำ� กบั ตดิ ตามการเคลอ่ื นยา้ ย  มคี ูม่ อื การตรวจ การปรบั ปรงุ คณุ ภาพ และการจัดการศพมนษุ ย์ ศพมนุษย์จากพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ รวมท้ังด�ำเนินมาตรการต่างๆ  มีข้ันตอนปฏิบัติงานมาตรฐาน (SOP) วิธีการตรวจสอบเพื่อการก�ำกับ ด้านสาธารณสุขเพื่อให้ม่ันใจได้ว่า ได้มีการจัดการและขนย้ายศพมนุษย์ อย่างปลอดภัย ตลอดจนมีการนิเทศงานโดยเจ้าหน้าที่ท่ีมีอ�ำนาจ ติดตามการเคลือ่ นยา้ ยศพมนุษย์ เช่น มาตรการการออกใบอนุญาต การจัดการด้านสุขาภิบาลหากมี  มีขั้นตอนปฏิบัติงานมาตรฐาน (SOP) วิธีการด�ำเนินมาตรการต่างๆ การรวั่ ไหลในยานพาหนะ มกี ารจดบนั ทกึ ขอ้ มลู ตา่ งๆ สามารถตรวจสอบ ประเมนได้ สามารถตดิ ตามยอ้ นหลงั ได้ และสามารถสบื ค้นขอ้ มลู ได้ ด้านสาธารณสุขที่เกี่ยวข้อง (เช่น การท�ำลายเช้ือกรณีมีสารเหลวร่ัวซึม จากหีบศพ เป็นตน้ ) ผใู้ หข้ ้อมลู หลกั   ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ (บรรยาย)

สมรรถนะหลัก มาตรการตามกฎอนามัย ระดบั ขั้นของการปฏิบัติ อธบิ ายระดบั ขน้ั ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมทงั้ ทรัพยากร และก�ำหนด เวลา) ทำ� แลว้ ท�ำแล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทง้ั หมด บางส่วน 2. โปรแกรมการตรวจสอบ 2.1 มีจำ� นวนบุคลากรเพียงพอต่อการปฏบฺ ัติงานตรวจสอบ รายละเอียดและการตรวจสอบ มบี คุ ลากรทผี่ า่ นการฝกึ อบรมและไดร้ บั มอบหมายใหท้ ำ� หนา้ ทตี่ รวจสอบ  มหี ลกั ฐานการผา่ นการฝกึ อบรมในดา้ นสขุ าภบิ าลสงิ่ แวดลอ้ ม เชน่ นำ�้ ขยะ ในจ�ำนวนที่เหมาะสม สอดคล้องกับปริมาณและความถี่ของผู้เดินทาง รวมท้ังความซับซ้อนของช่องทางเข้าออกประเทศ (ได้แก่จ�ำนวนสถานี ส้วม เป็นตน้ เข้าออก จุดหมายปลายทางของการเดินทาง และรูปแบบที่หลากหลาย  มีทะเบียนบุคลากรท่ีได้รับมอบหมายด�ำเนินเกี่ยวกับการตรวจสอบด้าน ของการปฏบิ ตั งิ านทเี่ ป็นอยู่ นอกเหนอื จากปัจจยั อ่นื ๆ) สุขาภิบาลส่งิ แวดลอ้ ม เช่น นำ้� ขยะสว้ ม เป็นต้น คู่มือการประเมินตนเอง : ผใู้ ห้ขอ้ มูลหลัก  การพฒั นาสมรรถนะหลักของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ  37และพรมแดนทางบก  ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ (บรรยาย) 2.2 บคุ ลากรทม่ี คี วามสามารถ/คณุ สมบตั ใิ นการปฏบิ ตั งิ านตามโปรแกรม รายละเอียดและการตรวจสอบ การตรวจสอบ  มที ะเบยี นรายชอ่ื บคุ ลากรวา่ ผา่ นการฝกึ อบรมในดา้ นสขุ าภบิ าลสงิ่ แวดลอ้ ม บุคลากรเข้าใจมาตรฐานขั้นตอนการปฏิบัติงานมาตรฐาน (SOP)– เช่น อาหาร น้�ำ ขยะ ส้วม เป็นตน้ บคุ ลากรไดร้ บั การฝกึ อบรมตามหลกั สตู ร สามารถออกใบรบั รอง/เอกสาร  มีคมู่ ือ/เอกสารวชิ าการ เช่น อาหาร น้ำ� ขยะ สว้ ม เป็นต้น และ/หรือ สามารถแสดงให้เห็นว่า มีความเข้าใจข้ันตอนการปฏิบัติงาน  มขี น้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ านมาตรฐาน (SOP) เชน่ อาหาร นำ้� ขยะ สว้ ม เปน็ ตน้ มาตรฐานท่ีก�ำหนดไว้ทั้งหมด ในการตรวจสอบ ด้านสุขาภิบาล และ ผู้ให้ข้อมูลหลัก สามารถแสดงสมรรถนะในเร่ืองต่างๆ ในหน้าท่ีความรับผิดชอบของ  ผตู้ รวจสอบตามทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย ดงั ตอ่ ไปน้ี :  ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติม (บรรยาย) B-I // Routine

B-I // Routine คมู่ อื การประเมนิ ตนเอง : สมรรถนะหลกั มาตรการตามกฎอนามัย ระดับขนั้ ของการปฏิบตั ิ อธบิ ายระดบั ขนั้ ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมทัง้ ทรัพยากร และก�ำหนด เวลา) 38 การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดนทางบก ท�ำแล้ว ทำ� แล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทั้งหมด บางสว่ น 2.2.1 สถานการณด์ า้ นระบาดวทิ ยาของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ รายละเอียดและการตรวจสอบ – บุคลากรมีความรู้เกี่ยวกับความเสี่ยงด้านสาธารณสุข  มีหลักฐานการผ่านการฝึกอบรม หรือเจ้าหน้าที่ฯ อธิบาย การตรวจจับ ที่ตรวจจับได้จากการตรวจสอบตามปกติ และมีความรู้ ความเส่ียงด้านสาธารณสุข ในช่องทางได้ เกยี่ วกบั ความเสยี่ งดา้ นสาธารณสขุ ทมี่ กั เกดิ ขนึ้ ซง่ึ สมั พนั ธ์  มีบันทึกและสรุปผลการตรวจสอบความเส่ียงด้านสาธารณสุขท่ีตรวจจับ กบั ประเภท ขนาดและชนดิ ต้นทางและปลายทางของ ยานพาหนะต่างๆ ท่ีมาใช้ชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศนน้ั ๆ ได้จากการตรวจสอบตามปกติ ได้แก่ รายงานการตรวจสุขาภบิ าลต่างๆ  มีบันทกึ มาตรการแก้ไขความเสี่ยงดา้ นสาธารณสุขทีต่ รวจจบั ได้ ผ้ใู หข้ ้อมลู หลัก   ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเตมิ (บรรยาย) 2.2.2 เหตุการณ์ด้านสาธารณสขุ รายละเอยี ดและการตรวจสอบ – บคุ ลากรมคี วามรแู้ ละทกั ษะในการตรวจจบั รายงานประเมนิ  บุคลากรมคี วามรู้ ความเขา้ ใจขนั้ ตอน หรอื กลไกการตรวจจับ หรือ flow และด�ำเนนิ มาตรการต่างๆ เพ่ือควบคมุ เหตุการณ์ chart รายงานประเมิน รวมท้ังค�ำอธิบายข้ันตอนการส่ือสารถึงหน่วย ปฏิบัติการต่างๆ ได้แก่ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ ช่องทางเข้าออกทางบก และหน่วยงานอ่ืนๆ ที่มีความจ�ำเป็นต่อการปฏิบัติการเพื่อควบคุมความ เสี่ยงดา้ นสาธารณสุข ผู้ใหข้ ้อมลู หลัก   ขอ้ เสนอแนะเพิม่ เติม (บรรยาย)

สมรรถนะหลัก มาตรการตามกฎอนามัย ระดับข้นั ของการปฏบิ ัติ อธบิ ายระดบั ขน้ั ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมท้ังทรัพยากร และก�ำหนด เวลา) ทำ� แล้ว ท�ำแล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทงั้ หมด บางส่วน 2.2.3 ความเสยี่ งดา้ นสาธารณสขุ ทเี่ กดิ จากเชอ้ื โรค สารเคมี และ รายละเอียดและการตรวจสอบ สารกัมมนั ตภาพรงั สี  มีหลักฐานการผ่านการฝึกอบรม หรือเจ้าหน้าท่ีฯ สามารถอธิบายผล – บคุ ลากรมคี วามรเู้ กยี่ วกบั ผลจากความเสยี่ งดา้ นสาธารณสขุ กระทบจากความเส่ียงด้านสาธารณสุขที่เกิดจากเชื้อโรค สารเคมี และ จากสาเหตุต่างๆ ต่อสุขภาพของคน และวิธีการติดต่อ สารกมั มนั ตภาพรังสี ในชอ่ งทางได้อยา่ งถูกตอ้ ง จากคนสูค่ น จากอาหาร อากาศ นำ้� ขยะ พาหะนำ� โรค  มคี ่มู อื หรอื เอกสารวิชาการ เกย่ี วกบั การประเมินความเสย่ี งและมาตรการ สิ่งไม่มชี วี ติ แต่เป็นพาหะน�ำโรคได้ และจากสง่ิ แวดลอ้ ม ทางสาธารณสุขทเ่ี กดิ จากเช้อื โรค สารเคมี และสารกมั มนั ตภาพรงั สี ผใู้ หข้ ้อมลู หลกั คู่มือการประเมินตนเอง :   การพฒั นาสมรรถนะหลักของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ  39และพรมแดนทางบก ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ (บรรยาย) 2.2.4 เทคนิคการป้องกันตนเองและเครือ่ งมือท่ีเก่ียวข้อง รายละเอียดและการตรวจสอบ – บุคลากรแสดงใหเ้ ห็นวา่ มคี วามร้เู กี่ยวกบั วิธีการใช้  มีหลักฐานการผ่านการฝึกอบรม หรือเจ้าหน้าท่ีฯ สามารถอธิบายความรู้ เครอ่ื งปอ้ งกนั ตนเองอยา่ งถูกตอ้ ง เกยี่ วกับวธิ กี ารใชเ้ ครื่องมอื ป้องกันตนเองในช่องทางได้อยา่ งถกู ตอ้ ง  มีคู่มือ หรือเอกสารวิชาการ เก่ียวกับวิธีการใช้เคร่ืองมือป้องกันตนเอง อยา่ งถูกต้อง  มกี ารจดั ท�ำบัญชีแสดงจำ� นวนรายการเครือ่ งมอื ป้องกนั ตนเอง ผ้ใู ห้ขอ้ มลู หลัก   ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติม (บรรยาย) B-I // Routine

B-I // Routine คมู่ อื การประเมนิ ตนเอง : สมรรถนะหลัก มาตรการตามกฎอนามัย ระดบั ข้ันของการปฏบิ ตั ิ อธบิ ายระดบั ขนั้ ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพัฒนาสมรรถนะรวมทงั้ ทรพั ยากร และก�ำหนด เวลา) 40 การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดนทางบก ทำ� แล้ว ทำ� แลว้ ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทงั้ หมด บางส่วน 2.2.5 มาตรการด้านสาธารณสุข รายละเอียดและการตรวจสอบ – บุคลากรแสดงให้เห็นว่ามีความรู้เกี่ยวกับการใช้วิธีการ  มีหลกั ฐานการผ่านการฝึกอบรม หรือเจา้ หนา้ ทฯี่ สามารถอธบิ ายเกย่ี วกบั ที่ถูกต้องและเข้าใจเทคนิคต่างๆ เช่น การฆ่าเช้ือ วธิ กี ารทถ่ี กู ตอ้ งและเขา้ ใจเทคนคิ ตา่ งๆ เชน่ การฆา่ เชอ้ื การขจดั การปนเปอ้ื น การขจดั การปนเปอ้ื น การแยกกกั การกกั กนั การตดิ ตาม ผู้ให้ข้อมูลหลกั ผู้สัมผัส การควบคมุ ท่ีจุดเข้าออก   ข้อเสนอแนะเพมิ่ เตมิ (บรรยาย) 2.2.6 เทคนคิ การการทดสอบและการสุ่มตัวอยา่ ง รายละเอียดและการตรวจสอบ – บุคลากรแสดงให้เห็นว่ามีความรู้เกี่ยวกับการใช้เทคนิค  มหี ลกั ฐานการผา่ นการฝกึ อบรม หรอื เจา้ หนา้ ทฯี่ สามารถอธบิ ายการเทคนคิ และเคร่ืองมือการทดสอบและสุ่มตัวอย่างท่ีถูกต้อง และเคร่อื งมือการทดสอบและสมุ่ ตวั อย่าง เช่น การสมุ่ เก็บตัวอยา่ งอาหาร เพื่อช่วยในการสังเกตเบื้องต้น การตรวจจับ และ การประเมินความเสยี่ งด้านสาธารณสขุ เชน่ น�้ำ อาหาร นำ�้ พาหะนำ� โรค ในช่องทางได้ การควบคมุ พาหนะน�ำโรค  มีคู่มือ หรือเอกสารวิชาการ การเทคนิคและเคร่ืองมือการทดสอบและ สมุ่ ตัวอย่าง เช่น การสุ่มเก็บตัวอย่างอาหาร น�้ำ พาหะน�ำโรค ผู้ให้ข้อมลู หลกั   ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม (บรรยาย)

สมรรถนะหลกั มาตรการตามกฎอนามยั ระดบั ข้นั ของการปฏิบตั ิ อธบิ ายระดบั ขนั้ ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพัฒนาสมรรถนะรวมทง้ั ทรพั ยากร และกำ� หนด เวลา) ทำ� แลว้ ท�ำแล้ว ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ท้งั หมด บางส่วน 2.2.7 การควบคมุ พาหะนำ� โรค รายละเอยี ดและการตรวจสอบ – บคุ ลากรแสดงใหเ้ หน็ วา่ มคี วามรเู้ กย่ี วกบั ใชว้ ธิ กี ารทถ่ี กู ตอ้ ง  มหี ลักฐานการผา่ นการฝึกอบรม หรือเจา้ หนา้ ท่ีฯ สามารถอธิบายเกยี่ วกบั และเหมาะสมในการควบคุมโรคท่ีมีพาหะน�ำ รวมท้ัง การควบคุมโรคท่ีมีพาหะน�ำ รวมท้ังแหล่งโรค (hosts) พาหะน�ำโรค แหล่งโรค (hosts) พาหะน�ำโรค การก�ำจดั แมลง และ การกำ� จดั แมลง และการกำ� จัดหนใู นชอ่ งทางได้ การก�ำจัดหนู  มีคู่มือ หรือเอกสารวิชาการ ในการควบคุมโรคท่ีมีพาหะน�ำ รวมทั้ง แหลง่ โรค (hosts) พาหะน�ำโรค การกำ� จัดแมลง และการก�ำจัดหนู คู่มือการประเมินตนเอง : ผใู้ หข้ ้อมูลหลกั  การพฒั นาสมรรถนะหลักของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ  41และพรมแดนทางบก  ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม (บรรยาย) 2.2.8 การจัดการดา้ นอาหารปลอดภยั รายละเอยี ดและการตรวจสอบ – บุคลากรมีความรู้เก่ียวกับการปฏิบัติท่ีถูกต้องในการ  มีหลกั ฐานการผา่ นการฝึกอบรม หรอื เจา้ หนา้ ที่ฯ สามารถอธิบายเกี่ยวกับ จัดการด้านอาหารปลอดภัย โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการ การจัดการด้านอาหารปลอดภัย โดยเฉพาะท่ีเก่ียวกับการวัตถุดิบ วัตถุดบิ แหลง่ ผลิต การเตรยี ม การเก็บรกั ษา และการ แหล่งผลติ การเตรียม การเก็บรักษา และการกระจายอาหาร กระจายอาหาร  มีคู่มือ หรือเอกสารวิชาการ การจัดการด้านอาหารปลอดภัย หรืออ่ืนๆ ท่เี กี่ยวขอ้ ง ผู้ให้ข้อมูลหลกั   ข้อเสนอแนะเพมิ่ เตมิ (บรรยาย) B-I // Routine

B-I // Routine คมู่ อื การประเมนิ ตนเอง : สมรรถนะหลกั มาตรการตามกฎอนามยั ระดบั ขัน้ ของการปฏบิ ัติ อธบิ ายระดบั ขน้ั ของการปฏบิ ตั ิ (เชน่ ความกา้ วหนา้ ปญั หาอปุ สรรค (อธบิ ายเหตผุ ลในคอลมั นข์ วามอื ) และแผนพฒั นาสมรรถนะรวมทัง้ ทรพั ยากร และกำ� หนด เวลา) 42 การพฒั นาสมรรถนะหลกั ของชอ่ งทางเขา้ ออกประเทศ ท่าอากาศยาน ทา่ เรอื และพรมแดนทางบก ท�ำแล้ว ทำ� แลว้ ยงั ไมไ่ ดท้ ำ� ทั้งหมด บางส่วน 2.2.9 การจัดการด้านน้�ำปลอดภัย รายละเอียดและการตรวจสอบ – บุคลากรมีความรู้เก่ียวกับการปฏิบัติที่ถูกต้องในการ  มหี ลกั ฐานการผา่ นการฝึกอบรม หรือเจา้ หนา้ ทฯ่ี สามารถอธิบายเกยี่ วกับ จดั การดา้ นนำ�้ ปลอดภยั โดยเฉพาะทเ่ี กย่ี วกบั แหลง่ ผลติ การจดั การดา้ นนำ�้ ปลอดภยั โดยเฉพาะทเ่ี กย่ี วกบั แหลง่ ผลติ การเกบ็ รกั ษา การเกบ็ รกั ษา และการแจกจ่ายน�ำ้ วธิ ีการปรับปรุงและ ควบคมุ คณุ ภาพนำ้� และการแจกจา่ ยนำ�้ วิธกี ารปรับปรุงและควบคุมคณุ ภาพน้ำ�  มีคู่มือ หรือเอกสารวิชาการ การจัดการด้านน้�ำปลอดภัย หรืออ่ืนๆ ท่เี ก่ียวขอ้ ง ผใู้ หข้ อ้ มลู หลัก   ข้อเสนอแนะเพ่มิ เตมิ (บรรยาย) 2.2.10 การจดั การด้านสิ่งปฏกิ ลู ทั้งทีเ่ ปน็ ของแขง็ และของเหลว รายละเอยี ดและการตรวจสอบ – บุคลากรมีความรู้เก่ียวกับวิธีการและระบบการจัดการ  มีหลักฐานการผา่ นการฝึกอบรม หรอื เจ้าหน้าทฯ่ี สามารถอธบิ ายเกี่ยวกับ และควบคุมส่ิงปฏิกูลทั้งที่เป็นของแข็งและของเหลว วิธีการและระบบการจัดการและควบคุมสิ่งปฏิกูลท้ังท่ีเป็นของแข็งและ เพือ่ ท่จี ะตรวจจบั ประเมนิ และ ใหค้ �ำแนะนำ� เกยี่ วกบั ของเหลว เพ่อื ทจ่ี ะตรวจจบั ประเมิน และ ใหค้ ำ� แนะน�ำเก่ียวกับมาตรการ มาตรการควบคุมท่ีต้องใช้ต่อความเสี่ยงท่ีเกิดขึ้นหรือ ควบคุมที่ต้องใช้ต่อความเส่ียงท่ีเกิดข้ึนหรืออาจเกิดขึ้นอันมีสาเหตุมาจาก อาจเกดิ ขนึ้ อนั มสี าเหตมุ าจากสง่ิ ปฏกิ ลู ทง้ั ทเี่ ปน็ ของแขง็ สิ่งปฏกิ ลู ท้ังท่เี ปน็ ของแข็งและของเหลว (รวมทง้ั นำ้� ทท่ี ้องเรอื และอับเฉา และของเหลว (รวมทงั้ นำ้� ทท่ี อ้ งเรอื และอบั เฉาในเรอื ดว้ ย) ในเรือดว้ ย)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook