Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 0010101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

0010101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

Published by General Education PNRU, 2020-07-13 03:26:34

Description: 0010101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

Search

Read the Text Version

45 0010101 ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร คาท่ีเขียนถกู ต้อง มกั เขียนผดิ เปน็ หมายเหตุ หมวด ล หมายเหตุ โลกาภิวัตน์ โลกาภวิ ฒั น์ หมายเหตุ หมายเหตุ คาท่เี ขยี นถกู ตอ้ ง มกั เขยี นผดิ เปน็ หมวด ว ยาเสพตดิ วอลเลย์บอล วอลเลยบ์ อลล์ คาที่เขยี นถูกต้อง มกั เขียนผดิ เป็น หมวด ศ ศลิ ปวฒั นธรรม ศิลปะวัฒนธรรม ศรี ษะ ศรีษะ ศึกษานเิ ทศก์ ศึกษานเิ ทศ, ศึกษานเิ ทศน์ คาที่เขยี นถูกต้อง มกั เขียนผดิ เป็น หมวด ส สมเพช สมเพท สมโภช สมโภชน์ สรรหา สรรค์หา สรา้ งสรรค์ สรา้ งสรร สแลง แสลง สวติ ซ์ สวิช สะพรงึ กลวั สะพึงกลวั สกั การบูชา สกั การะบูชา สังเกต สงั เกตุ สังวร สังวรณ์ สังสรรค์ สงั สรร สัญชาตญาณ สญั ชาติญาณ สบั ปะรด สัปปะรด สมั มนา สัมนา สาบสูญ สาปสูญ สาปแชง่ สาบแช่ง สาอาง สาอางค์ สิริมงคล ศริ มิ งคล เสพตดิ เสพยต์ ดิ

46 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร คาท่ีเขยี นถูกต้อง มกั เขียนผดิ เปน็ หมายเหตุ หมวด ส เสริฟ์ เสริ ์ฟ คาทเ่ี ขียนถกู ตอ้ ง มักเขยี นผดิ เป็น หมายเหตุ หมวด ห สัตวช์ นิดหน่ึง หงส์ หงษ์ หลงใหล หลงไหล เหลวไหล เหลงใหล คาทเี่ ขยี นถกู ตอ้ ง มกั เขยี นผดิ เปน็ หมายเหตุ หมวด อ อนญุ าต อนุญาติ ญาติเขยี นมสี ระ อิ อเนกประสงค์ เอนกประสงค์ ยกเว้นชอื่ เฉพาะ \"อมั รินทร\"์ อเนจอนาถ อเนถอนาถ อมรนิ ทร์ อมั รินทร ออฟฟิศ ออฟฟติ อะไหล่ อะหล่ยั อฒั จนั ทร์ อฒั จรรย์ อานิสงส์ อานิสงฆ์ อริ ยิ าบถ อริ ยิ าบท อิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิคส์, อิเลค็ ทรอนิค อุปการคณุ อปุ การะคณุ อุปมาอุปไมย อปุ มาอุปมยั อปุ โลกน์ อปุ โหลก อโุ มงค์ อุโมง เอกซเรย์ เอกซเ์ รย์ โอกาส โอกาศ ไอศกรีม ไอศครีม, ไอสกรีม อ้างอิงจาก ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. (พิมพ์คร้ังที่ 2). กรุงเทพฯ: นานมีบคุ๊ ส์ พบั ลิเคชนั่ ส์.

47 0010101 ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร ประมวลคาทีอ่ ่านออกเสยี งถูกตอ้ ง ประเภทท่อี า่ นได้ 2 แบบ กรณี อา่ นว่า กะ-ระ-นี, กอ-ระ-นี กาลกิณี อ่านวา่ กาน-ละ-กิ-นี, กา-ละ-กิ-นี เกยี รติประวัติ อ่านวา่ เกียด-ต-ิ ประ-หวัด, เกียด-ประ-หวดั ขะมกั เขมน้ อ่านว่า ขะ-มกั -ขะ-เม่น, ขะ-หมกั -ขะ-เมน่ คณนา อา่ นว่า คะ-นะ-นา, คัน-นะ-นา, คน-นะ-นา คณิตศาสตร์ อา่ นวา่ คะ-นิด-ตะ-สาด, คะ-นิด-สาด คุณค่า อ่านว่า คุน-คา่ , คุน-นะ-ค่า คณุ ประโยชน์ อา่ นวา่ คุน-ประ-โหยด, คุน-นะ-ประ-โหยด คณุ วุฒิ อา่ นวา่ คนุ -นะ-วดุ -ท,ิ คนุ -นะ-วุด คณุ สมบัติ อ่านว่า คนุ -นะ-สม-บดั , คุน-สม-บัด ชลประทาน อ่านวา่ ชน-ละ-ประ-ทาน, ชน-ประ-ทาน บรุ พทศิ อา่ นวา่ บุ-ระ-พะ-ทดิ , บบุ -พะ-ทดิ โบราณวตั ถุ อา่ นว่า โบ-ราน-นะ-วัด-ถุ, โบ-ราน-วัด-ถุ โบราณสถาน อ่านวา่ โบ-ราน-นะ-สะ-ถาน, โบ-ราน-วตั -ถุ ปกติ อา่ นว่า ปะ-กะ-ติ, ปก-กะ-ติ ปฐมเทศนา อ่านวา่ ปะ-ถม-มะ-เท-สะ-นา, ปะ-ถม-มะ-เทด-สะ-หนา ปะ-ถม-เทด-สะ-หนา ปรนยั อา่ นวา่ ปะ-ระ-ไน, ปอ-ระ-ไน ประกาศนียบัตร อา่ นว่า ประ-ภา-สะ-น-ี ยะ-บดั , ประ-กาด-สะ-น-ี ยะ-บัด ประวตั ศิ าสตร์ อ่านว่า ประ-หวัด-ต-ิ สาด, ประ-หวัด-สาด ประวตั กิ ารณ์ อ่านว่า ประ-หวดั -ต-ิ กาน, ประ-หวดั -กาน ปรชั ญา อ่านวา่ ปรดั -ยา, ปรดั -ชะ-ยา ผรสุ วาท อ่านว่า ผะ-ร-ุ สะ-วาด, ผะ-รุด-สะ-วาด พฤหัสบดี อา่ นวา่ พรึ-หดั -สะ-บอ-ด,ี พะ-ร-ึ หดั -สะ-บอ-ดี โภชนาการ อ่านว่า โพ-ชะ-นา-กาน, โพด-ชะ-นา-กาน มกราคม อา่ นวา่ มก-กะ-รา-คม, มะ-กะ-รา-คม มนษุ ยศาสตร์ อา่ นว่า มะ-นุด-สะ-ยะ-สาด, มะ-นดุ -สาด มนุษยสัมพนั ธ์ อ่านว่า มะ-นุด-สะ-ยะ-สา-พนั , มะ-นดุ -สา-พนั มลู คา่ อ่านวา่ มูน-ค่า, มูน-ละ-คา่ รฐั วสิ าหกจิ อ่านวา่ รัด-ถะ-วิ-สา-หะ-กดิ , รดั -วิ-สา-หะ-กดิ

48 0010101 ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร ศฤงคาร อ่านว่า สงิ -คาน, สะ-หริง-คาน ศาสตราจารย์ อ่านว่า สาด-ตรา-จาน, สาด-สะ-ดรา-จาน โศกนาฏ อ่านว่า โส-กะ-นาด-ตะ-กา, โสก-กะ-นาด-ตะ-กา สมดุล อา่ นว่า สะ-มะ-ดุน, สม-ดนุ สมรภูมิ อา่ นวา่ สะ-หมอน-ระ-พมู , สะ-หมอ-ระ-พูม สมรรถภาพ อา่ นว่า สะ-มดั -ถะ-พาบ, สะ-หมดั -ถะ-พาบ สมานฉนั ท์ อา่ นว่า สะ-มา-นะ-ฉนั , สะ-หมาน-นะ-ฉัน สรภัญญะ อ่านวา่ สะ-ระ-พัน-ยะ, สอ-ระ-พนั -ยะ สรรพสามติ อา่ นว่า สับ-พะ-สา-มิด, สัน-พะ-สา-มดิ สรรเสริญ อ่านวา่ สัน-เสนิ , สัน-ระ-เสนิ สงั คมศาสตร์ อา่ นว่า สงั -คม-สาด, สัง-คม-มะ-สาด สังหารมิ ทรัพย์ อ่านวา่ สงั -หา-ร-ิ มะ-ซับ, สงั -หา-รมิ -มะ-ซบั สปั ดาห์ อ่านว่า สับ-ดา, สบั -ปะ-ดา สารสนเทศ อ่านว่า สาน-สน-เทด, สา-ระ-สน-เทด สุคติ อ่านวา่ สุ-คะ-ต,ิ สุก-คะ-ติ สุนทรพจน์ อา่ นวา่ สุน-ทอน-ระ-พด, สุน-ทอ-ระ-พด อนุรักษนยิ ม อา่ นวา่ อะ-นุ-รัก-น-ิ ยม, อะ-น-ุ รกั -สะ-น-ิ ยม อาชญา อ่านวา่ อาด-ยา, อาด-ชะ-ยา อาสาฬหบูชา อา่ นว่า อา-สาน-หะ-บู-ชา, อา-สาน-ละ-หะ-บู-ชา อดุ มการณ์ อา่ นวา่ อ-ุ ดม-นะ-กาน, อุ-ดม-กาน ประเภทที่อ่านไดแ้ บบเดยี ว กรรมาธกิ าร อ่านวา่ กา-มา-ท-ิ กาน กลไก อา่ นวา่ กน-ไก กลยทุ ธ์ อา่ นว่า กน-ละ-ยดุ กายภาพบาบัด อา่ นว่า กาย-ยะ-พาบ-บา-บัด กาลเทศะ อ่านวา่ กา-ละ-เท-สะ โฆษณา อ่านว่า โคด-สะ-นา ฉัตรมงคล อ่านวา่ ฉัด-ตระ-มง-คล ชนมพรรษา อา่ นวา่ ชน-มะ-พนั -สา ทารุณกรรม อา่ นวา่ ทา-รนุ -นะ-กา ปราชยั อ่านว่า ปะ-รา-ไช

49 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร ปาฐกถา อ่านวา่ ปา-ถะ-กะ-ถา วรมหาวิหาร อ่านวา่ วอ-ระ-มะ-หา-ว-ิ หาน สมถะ อ่านวา่ สะ-มะ-ถะ สมนาคณุ อ่านว่า สม-มะ-นา-คนุ สมรรถนะ อ่านว่า สะ-มัด-ถะ-นะ สรณะ อ่านวา่ สะ-ระ-นะ สารนเิ ทศ อา่ นว่า สา-ระ-น-ิ เทด การใช้ภาษาอย่างถูกต้องและเหมาะสม นอกจากจะทาให้สื่อความกันเข้าใจแล้วยังช่วยดารงความ ถูกต้องของภาษาไทยอีกด้วย และทาให้ภาษาไทยไม่สูญหายไป นับเป็นการรักษามรดกของชาติให้คงอยู่สืบไป ดังบทกวที ว่ี า่ เกิดไปไทยหากไมร่ ักษ์ภาษาไทย จะมใี ครดารงไว้ใหส้ บื สาน บรรพชนสร้างสรรค์มาแตช่ ้านาน เราลกู หลานควรจักพิทักษ์แทน อาจารย์ ดร.ศวิ ริน แสงอาวธุ ผู้ประพันธ์

50 0010101 ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร บทท่ี 3 การนาเสนอผลการศกึ ษาค้นควา้ ทางวิชาการ การศึกษาค้นคว้าเป็นกระบวนการสาคัญท่ีช่วยให้บุคคลได้เรียนรู้ตลอดชีวิต โดยเฉพาะการเรียนรู้ใน ระดับอุดมศึกษาท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองอย่าง เป็นระบบและสามารถถ่ายทอดผล การศกึ ษาน้ันให้ผูอ้ นื่ ไดร้ ับทราบด้วยวิธีการนาเสนอ 3 วิธี คือ การนาเสนอด้วยลายลักษณ์อกั ษร วาจา และสื่อ ประสม ผูเ้ รียนจึงต้องศึกษาหลักและวิธกี ารนาเสนอทั้ง 3 วธิ ี และนาไปฝึกปฏบิ ตั ิไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ การนาเสนอผลการศกึ ษาคน้ ควา้ ทางวิชาการดว้ ยลายลกั ษณ์อักษร การนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยลายลักษณ์อักษร หมายถึง การนาเสนอผลงานท่ีได้จาก การศึกษาค้นคว้าในรูปของเอกสารงานเขียน ซึ่งอาจกระทาได้หลายลักษณะ เช่น รายงานวิชาการ บทความ วิชาการ ตารา เป็นต้น สาหรับเอกสารเล่มน้ีจะกล่าวถึงเฉพาะการเขียนรายงานวิชาการ ซ่ึงผู้เรียนจาเป็นต้อง ใช้เป็นพื้นฐานในการศึกษารายวิชาต่าง ๆ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพการงานต่อไป ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1. ความหมายของรายงานวิชาการ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (2556: 999, 1118) ให้ความหมายของคาว่า รายงาน หมายถึง “เรื่องราวที่ไปศึกษาค้นคว้าแล้วนามาเสนอท่ีประชุม ครูอาจารย์ หรือผู้บังคับบัญชา เป็น ต้น” และให้ความหมายของคาว่า วิชาการ หมายถึง “วิชาความรู้สาขาใดสาขาหนึ่งหรือหลายสาขา เช่น บทความวิชาการ สัมมนาวชิ าการ การประชุมวชิ าการ” นภาลัย สุวรรณธาดา และคนอื่น ๆ (2548: 206 - 207) กล่าวว่า รายงานวิชาการ หมายถึง เร่ืองราวที่เป็นผลจากการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการ แล้วนามาเรียบเรียงอย่างมีระเบียบ แบบแผน เรื่องราวท่ี นามาเขียนรายงานต้องเป็นข้อเท็จจริงหรือความรู้ อันเกิดจากการรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการศึกษาที่เป็นระบบ มลี กั ษณะเป็นวิทยาศาสตร์ รายงานวิชาการส่วนใหญ่จดั ทาข้ึนเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา ซ่งึ อาจอย่ใู นรปู แบบ ของรายงานการค้นคว้า (report) รายงานประจาภาค หรือภาคนิพนธ์ (term paper) วิทยานิพนธ์หรือ ปริญญานพิ นธ์ (thesis or dissertation) รายงานการวิจยั (research paper) เป็นต้น สรุปได้ว่า รายงานวิชาการ หมายถึง เรื่องราวที่เป็นผลจากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ โดย อาศัยวิชาความรู้สาขาใดสาขาหนึ่งหรือหลายสาขาร่วมกัน แล้วนามาเรียบเรียงให้ถูกต้องตามแบบแผนท่ี กาหนด รายงานวิชาการส่วนใหญ่จัดทาขึ้นเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรหรือในรายวิชาใดรายวิชา หน่ึง มีชอื่ เรยี กและลักษณะปลีกยอ่ ยท่ีแตกตา่ งกันออกไป

51 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร 2. หลักทวั่ ไปในการเขยี นรายงานวชิ าการ 2.1 ต้องปฏิบัติตามขั้นตอนของการเขียนรายงานวิชาการท่ีถูกต้องเพ่ือให้ได้ผลงานท่ีมีคุณภาพ และสามารถตรวจสอบได้ 2.2 ต้องเสนอเน้ือหาทีถ่ กู ตอ้ งตามหลักวชิ าการ มีความทนั สมัยและเปน็ ประโยชนต์ ่อการพัฒนา วิชาการในสาขาน้ัน ๆ รายงานที่ดีต้องมีส่วนที่แสดงถึงการวิเคราะห์และข้อสรุปของผู้ทารายงานเอง ไม่ใช่ เรียบเรยี งมาจากงานเขยี นของผู้อนื่ เพยี งอย่างเดียว 2.3 ตอ้ งมสี ่วนประกอบของรายงานและระบบการอ้างอิงท่ีครบถ้วนสมบูรณ์ ตามแบบแผนการ ทารายงานท่ีหลักสตู รหรือรายวิชาน้นั ๆ กาหนดข้นึ 2.4 ต้องใช้ภาษาระดับทางการในการเขียนรายงาน เป็นภาษาเขียนท่ีแจ่มแจ้งชัดเจน สุภาพ และกระชับรัดกุม หลีกเล่ียงการใช้คาย่อและคาตัดส้ัน คาภาษาพูด คาโบราณ คาภาษาถิ่น คาหยาบ คาสแลง คาผดิ ความหมาย คาผดิ ชนิด เปน็ ต้น หากใชศ้ ัพท์วชิ าการใหใ้ ชศ้ พั ทบ์ ญั ญัติของราชบัณฑติ ยสถานเปน็ เกณฑ์ 2.5 ต้องยึดมั่นในจรรยาบรรณของการเขยี นรายงานวชิ าการ มคี วามซ่ือสัตย์ไม่ละเมิดทรพั ย์สิน ทางปัญญาของผู้อื่น 3. ข้ันตอนของการทารายงานวิชาการ การทารายงานวิชาการต้องดาเนินการอย่างเป็นระบบและมีขั้นตอนต่อเนื่องกันซึ่งอาจแบ่งได้ เป็น 7 ข้ันตอน ดังนี้ 3.1 การเลอื กหัวข้อเรือ่ ง การเลือกเร่ืองทจ่ี ะทารายงานควรคานงึ ถงึ หลักต่อไปน้ี 3.1.1 เปน็ เร่อื งที่ผู้ทารายงานสนใจและมีพ้ืนความรู้อย่บู ้าง 3.1.2 เป็นเรื่องที่เปน็ ประโยชน์ในทางวชิ าการ 3.1.3 เป็นเรื่องท่ีมแี หล่งข้อมูลในการศึกษาค้นควา้ อย่างเพียงพอ 3.1.4 เป็นเรื่องแปลกใหม่ที่ยังไม่มีผู้ใดเคยทามาก่อน หากมีผู้ศึกษาไว้แล้วผู้ทารายงาน ควรนาเสนอในแง่มมุ ทีแ่ ตกตา่ งไปจากเดมิ 3.1.5 เป็นเรอ่ื งราวเก่ยี วกบั ปัญหาท่ีสมควรแก้ไข แตย่ ังหาข้อยตุ ิไม่ได้ 3.1.6 เป็นเร่อื งท่ีไม่ยากเกนิ ความสามารถของผรู้ ายงานและไม่งา่ ยจนเกนิ ไป 3.2 การจากดั ขอบเขตของเรือ่ ง และการกาหนดวัตถุประสงค์ มีแนวปฏบิ ัตดิ งั น้ี 3.2.1 การจากัดขอบเขตของเรื่อง หมายถึง การกาหนดเรื่องที่จะทารายงานให้มีขอบเขต ท่ีแน่นอน ไม่กว้างหรือแคบจนเกินไป ท้ังต้องคานึงถึงความสามารถในการรวบรวมข้อมูล และระยะเวลาท่ี กาหนดใหเ้ ขียนรายงาน การจากดั ขอบเขตของเร่ืองอาจกระทาได้ดว้ ยวธิ ีการดังต่อไปนี้ 3.2.1.1 ศึกษาเรื่องราวเฉพาะด้านใดด้านหนึ่ง เช่น สมุนไพรที่ใช้ในธุรกิจสปา การจัดหมวดหมู่หนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้ เป็นต้น 3.2.1.2 ศึกษาเร่ืองราวเฉพาะในช่วงระยะเวลาท่ีกาหนด เช่น พัฒนาการนวนิยาย ไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2475 จนถงึ ปจั จบุ นั เป็นต้น

52 0010101 ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร 3.2.1.3 ศึกษาเรอ่ื งราวโดยจากัดบุคคลหรือกลุ่มบุคคล เช่น ชีวิตและงานของเหม เวชกร พฤติกรรมการออกกาลังกายของนักศกึ ษามหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนคร เปน็ ต้น 3.2.1.4 ศึกษาเร่ืองราวโดยจากัดสถานท่ี เช่น การจัดการแยกขยะมูลฝอยใน โรงเรยี น ปญั หาแรงงานต่างดา้ วในจงั หวัดนนทบุรี เป็นตน้ 3.2.2 การกาหนดวัตถุประสงค์ ในข้ันตอนน้ีผู้ทารายงานต้องกาหนดวัตถุประสงค์ของ การศึกษาค้นคว้าอย่างชัดเจน เพ่ือเป็นแนวทางว่าจะศึกษาเร่ืองใดบ้าง และจะศึกษาเพื่ออะไร การเขียน วตั ถุประสงค์นิยมเขียนเป็นข้อ ๆ ประมาณ 2-3 ข้อ 3.3 การรวบรวมข้อมลู ข้อมลู หมายถึง เรื่องราว ข่าวสาร หรือเหตุการณ์ที่ยอมรบั กันว่าเป็นไป ตามจริง แบ่งกว้าง ๆ ได้ 2 ชนิด คือ ข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ ข้อมูลปฐมภูมิเป็นข้อมูลดิบ ยังไม่ผ่าน การตีความ เช่น ศิลาจารึก จดหมายเหตุ ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ความคิดเห็นของบุคคลท่ีเกี่ยวข้อง ส่วนข้อมูลทุติยภูมิเป็นข้อมูลท่ีได้รับโดยผ่านงานของผู้อื่น เช่น ข้อมูลที่ตารานามาอ้างอิงเป็นการสารวจของ ผู้อ่นื เปน็ ตน้ (ปรชี า ช้างขวญั ยืน และคนอืน่ ๆ. 2539: 27-28) รายงานเป็นงานที่เขียนขึ้นจากข้อมูลที่เป็นจริง การรวบรวมข้อมูลจึงเป็นข้ันตอนที่สาคัญ มาก ผู้ทารายงานควรปฏิบัตติ ามขน้ั ตอนยอ่ ย 2 ขัน้ ตอน ดงั นี้ 3.3.1 การค้นคว้าและเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ทารายงานควรเลือกใช้วิธีการค้นคว้าและเก็บ รวบรวมข้อมูลให้เหมาะสมกับเร่ืองท่ีทา และควรใช้หลาย ๆ วิธีประกอบกัน เช่น การอ่าน การฟัง การสืบค้น จากสอื่ อิเล็กทรอนิกส์ การสังเกต การสารวจ การสัมภาษณ์ การสอบถาม การถ่ายภาพ การบันทึกเทป การบันทึก วีดิทัศน์ การทดลอง เป็นต้น นอกจากน้ันควรเลือกใช้แหล่งข้อมูลท่ีเหมาะสมและเชื่อได้ เพื่อให้ได้ข้อมูลท่ี กว้างขวางลึกซึ้ง และทันสมยั แหล่งข้อมลู ที่ใช้ในการค้นคว้าและเกบ็ รวบรวมข้อมูลอาจแบง่ ได้เป็น 3 ประเภท ดงั นี้ 3.3.1.1 แหล่งข้อมูลส่ือวัสดุ หมายถึง วัตถุที่ผลิตขึ้นเพ่ือบันทึกถ่ายทอด และ เผยแพร่ข้อมูล อาจแบ่งได้เป็น 4 ลักษณะ คือ ส่ือส่ิงพิมพ์ ได้แก่ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร และ กฤตภาค สื่อไม่ตีพิมพ์ เช่น แผ่นเสยี ง รปู ภาพ วีดทิ ัศน์ ส่อื ท่ีเป็นวัสดยุ ่อสว่ น เช่น ไมโครฟิลม์ ไมโครการด์ และ สอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ เชน่ ฐานขอ้ มลู ออนไลน์ วารสารอิเลก็ ทรอนิกส์ เวบ็ ไซต์ เป็นตน้ 3.3.1.2 แหล่งข้อมูลบุคคล หมายถึง ผู้ให้ความรู้หรือข้อมูลในเร่ืองต่าง ๆ เช่น ผู้เชีย่ วชาญในแต่ละสาขาวิชา บคุ คลทเ่ี ปน็ ภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ พยานผ้รู เู้ หน็ เหตุการณ์ เป็นตน้ 3.3.1.3 แหล่งข้อมูลสถานท่ี หมายถึง สถานที่ที่เก็บรวบรวมและให้บริการข้อมูล แก่ผู้สนใจ เช่น ห้องสมุด หอจดหมายเหตุ และสถานท่ีจริงท่ีเกี่ยวข้องกับเร่ืองเช่น เกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เป็นแหล่งผลิตเครือ่ งป้นั ดนิ เผาทีม่ ชี ือ่ เสียง เปน็ ตน้ 3.3.2 การบันทึกข้อมูล ในการรวบรวมข้อมูลต้องมีการจดบันทึกไว้เพื่อใช้ประกอบ การศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุปผล และเขียนรายงาน การบันทึกข้อมูลที่ใช้กันมากท่ีสุด คือ การ

53 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร บนั ทึกข้อมูลจากการอ่านเอกสาร นอกจากนั้นยังมีการรวบรวมข้อมูลภาคสนาม เช่น การสังเกต การสอบถาม การสมั ภาษณ์ เป็นต้น 3.4 การเขียนโครงร่างรายงานวิชาการ ในการทารายงานซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตาม หลักสูตรหรือรายวิชาใดรายวิชาหนึ่ง อาจารย์ผู้สอนมักกาหนดให้ผู้เรียนเสนอโครงร่างรายงานวิชาการก่อนที่ จะ ลงมือเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โครงร่างรายงานวิชาการ หมายถึง เค้าโครงของรายงานท่ีเขียนข้ึน ลว่ งหน้าอยา่ งครา่ ว ๆ เพ่ือใชเ้ ป็นกรอบแนวทางในการทารายงานต้ังแต่จนจบเรื่อง มีส่วนประกอบเฉพาะหัวข้อ ทสี่ าคัญ ดงั ตัวอย่าง ตวั อย่างโครงรา่ งรายงานวชิ าการ 1. ชอ่ื เรื่อง ศิลปะการแสดงโขน 2. วัตถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษาค้นควา้ เพ่ือศึกษาข้อมลู เกยี่ วกบั ศิลปะการแสดงโขนในด้านประวตั ิความเปน็ มา บทนาฏกรรมทใ่ี ชใ้ น การแสดง พิธีไหวค้ รู การแสดงโขนประเภทตา่ ง ๆ แบบแผนและคุณค่าของการแสดงโขน 3. ประโยชนข์ องการศึกษาคน้ คว้า 3.1 ทาใหท้ ราบข้อมูลเกย่ี วกับศิลปะการแสดงโขนอยา่ งกวา้ งขวางและละเอียดลกึ ซ้ึง 3.2 ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ สามารถนาไปใช้เป็นเอกสารคมู่ ือการชมการแสดงโขนไดอ้ ย่างมี ประสิทธภิ าพ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ทาใหผ้ ชู้ มเกิดความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั ศิลปะการแสดงโขน และ เกิดความรสู้ กึ ซาบซง้ึ ในสนุ ทรียภาพของศลิ ปะการแสดงดงั กล่าว 3.3 ครู อาจารย์ นกั เรยี น นักศกึ ษา และผู้สนใจ ตระหนกั ถึงความสาคญั ของศิลปะการแสดง โขน ตลอดจนมสี ่วนร่วมในการอนุรกั ษ์และพฒั นามรดกศลิ ปวฒั นธรรมของชาตใิ หด้ ารงอยอู่ ยา่ งยงั่ ยืน ตลอดไป 4. วิธดี าเนินการศึกษาค้นควา้ 4.1 ศกึ ษาสภาพการณ์เกี่ยวกบั ศิลปะการแสดงโขนของไทยในปัจจุบนั 4.2 ศึกษาขอ้ มูลเบ้ืองต้นจากเอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 4.3 กาหนดหัวข้อการศึกษาคน้ คว้าและเขียนโครงร่างรายงานวิชาการ 4.4 เกบ็ รวบรวมข้อมลู เชงิ ลกึ ด้วยวิธีการต่อไปนี้ 4.4.1 เก็บรวบรวมและบันทึกข้อมลู เร่ืองศลิ ปะการแสดงโขนจากเอกสารตา่ งๆ ไดแ้ ก่ หนงั สอื หนงั สือพิมพ์ บทความในวารสารและนิตยสาร สารานุกรม และวิทยานิพนธ์

54 0010101 ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร 4.4.2 สบื ค้นข้อมูลจากเวบ็ ไซตท์ ่ีเกี่ยวข้อง 4.4.3 สมั ภาษณ์ผ้เู ช่ยี วชาญทางดา้ นการแสดงโขน คือ ดร. ประจักษ์ ไม้เจริญ อาจารย์ ประจาสาขาวชิ านาฏศิลป์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนคร 4.4.4 ชมวดี ิทัศนก์ ารแสดงโขน 4.4.5 สงั เกตการณ์การฝึกหัดโขนของนกั ศึกษามหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนคร 4.5 นาข้อมลู ทไี่ ด้มาวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และหาข้อสรุป 4.6 เขยี นรายงานผลการศึกษาคน้ ควา้ ในรปู แบบรายงานวชิ าการ 5. โครงรา่ งเน้ือหา บทที่ 1 บทนา ภูมิหลัง วตั ถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า ประโยชนข์ องการศึกษาค้นคว้า ขอบเขตของการศึกษาค้นควา้ วิธดี าเนินการศกึ ษาค้นควา้ บทท่ี 2 ความเปน็ มาและคุณค่าของการแสดงโขน ความหมายของคาว่า โขน ประวัติความเปน็ มาของการแสดงโขน บทนาฏกรรมทใ่ี ช้ในการแสดงโขน พธิ ไี หว้ครูโขน คุณค่าของศลิ ปะการแสดงโขน บทที่ 3 แบบแผนการแสดงโขน ประเภทของการแสดงโขน บทพากย์ บทเจรจา และบทร้องโขน ดนตรที ีใ่ ชใ้ นการแสดงโขน ภาษาทา่ ทางในการแสดงโขน เครื่องแตง่ ตวั และหวั โขน บทท่ี 4 สรุปและข้อเสนอแนะ สรปุ ขอ้ เสนอแนะ 6. บรรณานกุ รม (เขยี นให้ถูกต้องตามแบบแผนบรรณานุกรม อยา่ งน้อย 5 รายการ)

55 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร บรรณานุกรม ธนติ อยูโ่ พธิ์. (2508). โขน. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพค์ รุ ุสภา. ประจักษ์ ไม้เจริญ. (2544). โขน. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร. ปญั ญา นติ ยสวุ รรณ. (2542). โขน : การแสดง. สารานกุ รมวัฒนธรรมไทยภาคกลาง 2: 785–797. สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาต.ิ (2542). ศลิ ปะการแสดงของไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ การศาสนา. http://www.anurakthai.com/thaidances/khon/history.asp. 3.5 การจัดระเบียบและวิเคราะห์ขอ้ มูล การจัดระเบยี บข้อมลู หมายถึง การนาขอ้ มูลท่ีรวบรวม ได้มาจัดเรียงลาดับเพ่ือให้สะดวกแก่การใช้วิเคราะห์และการเขียนรายงาน ต่อจากนั้นจึงเป็นขั้นตอนการ วเิ คราะห์ข้อมูล ซ่ึงหมายถึง การพิจารณาแยกแยะข้อมูลอย่างถ่ีถ้วน โดยพิจารณาขอ้ มูลต่าง ๆ ท้ังที่สอดคล้อง และท่ีขัดแยง้ ซึ่งกันและกันด้วยเหตผุ ลตามหลกั วิชาการและวิจารณญาณท่ีเป็นกลาง เพือ่ ใหไ้ ดข้ อ้ สรุปท่ีเปน็ การ ลงความเห็นของผทู้ ารายงานเอง 3.6 การเขียนและพิมพร์ ายงานวชิ าการ มขี ้นั ตอนยอ่ ยดงั นี้ 3.6.1 เขียนรายงานฉบับร่าง โดยประมวลความรู้ ความคิด ความคิดเห็นและขอ้ มูลต่าง ๆ มาเรียบเรียงเป็นรายงานฉบับร่าง 3.6.2 อา่ นทบทวนและปรบั ปรุงแกไ้ ขให้ถกู ต้อง 3.6.3 พมิ พ์ต้นฉบบั รายงาน พิสูจน์อกั ษร และเข้ารูปเลม่ 3.6.4 ตรวจสอบความถกู ต้องสมบูรณข์ องรายงานทง้ั เล่ม 3.7 การนาเสนอรายงานวิชาการ เป็นขั้นตอนของการเสนอรายงานต่อบุคคลสถานศึกษาหรือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้เรียนเสนอรายงานต่ออาจารย์ผู้สอน ผู้ปฏิบัติงานเสนอรายงานต่อผู้บังคับบัญชา หรอื หนว่ ยงาน เป็นต้น 4. ส่วนประกอบของรายงานวิชาการ ส่วนประกอบของรายงานวิชาการแบ่งกว้าง ๆ ได้ 3 ส่วน คือ ส่วนประกอบตอนต้น ส่วนเนื้อหา และสว่ นประกอบตอนท้าย 4.1 ส่วนประกอบตอนต้น เป็นส่วนที่ช่วยให้เขา้ ใจโครงสร้างการนาเสนอของรายงานตลอดเล่ม ประกอบด้วยส่วนตา่ ง ๆ ดังนี้ 4.1.1 ปกนอก ประกอบด้วยปกหน้าและปกหลัง ใช้กระดาษค่อนข้างแข็งกว่า กระดาษพิมพ์ในเล่ม การพิมพ์ปกหน้าให้แบ่งหน้ากระดาษออกเป็น 3 ส่วนเท่า ๆ กัน ส่วนบนพิมพ์ช่ือเรื่อง รายงาน โดยไม่ต้องมีคาว่า เรื่อง หรือ รายงานเรอื่ ง ส่วนกลางพิมพ์ชื่อ นามสกุล ของผู้ทารายงานโดยไม่ต้องมี คานาหน้าช่ือ ยกเว้นมียศตารวจ ทหาร หรือฐานันดรศักด์ิ จึงจะพิมพ์ไว้ ส่วนล่างระบุประเภทรายงาน ช่ือ

56 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร รายวิชา ชื่อสถานศึกษา ภาคเรียน และปีการศึกษา ส่วนปกหลังจะเป็นกระดาษเปล่า หรือมีข้อความและ รูปภาพปรากฏอยกู่ ไ็ ด้ ตวั อยา่ งปกนอก (ปกหน้า) ศิลปะการแสดงโขน ประทีป รักธรรม รายงานนี้เปน็ ส่วนหนง่ึ ของการศกึ ษารายวชิ าภาษาไทยเพอ่ื ส่ือสาร มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนคร ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 4.1.2 หน้าปกใน พิมพ์รูปแบบและข้อความเหมือนปกนอก (ปกหน้า) ทุกประการ แต่ใช้ กระดาษพิมพธ์ รรมดา 4.1.3 คานา เป็นสว่ นที่กล่าวถึงวัตถุประสงค์ ความสาคัญและขอบเขตเน้ือหาของรายงาน นอกจากน้ีอาจกล่าวขอบคุณผู้มีส่วนช่วยเหลือในการทารายงาน ในตอนท้ายของคานาให้ลงช่ือ นามสกุลของ ผู้ทารายงาน และวนั เดือนปีท่ีเสนอรายงาน การเขียนคานาทีด่ ีไมค่ วรกลา่ วถ่อมตวั จนเกนิ ไป และไม่ออกตัวโดย ไมเ่ กดิ ประโยชน์ ความยาวของคานาไมค่ วรเกนิ 1 หนา้ กระดาษ 4.1.4 สารบัญ เป็นส่วนที่แสดงรายการเน้ือหาและส่วนประกอบของรายงานตามลาดับ โดยแบง่ เป็นตอน บท และหัวขอ้ พรอ้ มบอกเลขหนา้ กากบั ไว้

57 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร ตัวอยา่ งสารบัญ หนา้ ก สารบัญ ข ค คานา ง สารบญั สารบญั ตาราง 1 สารบัญภาพ 1 บทท่ี 3 4 1 บทนา 4 ภูมิหลงั 6 วัตถปุ ระสงค์ของการศึกษาค้นควา้ 7 ประโยชนข์ องการศึกษาค้นคว้า 7 ขอบเขตของการศึกษาคน้ ควา้ 7 วิธีการดาเนินศกึ ษาคน้ ควา้ 11 13 2 ความเป็นมาและคุณค่าของการแสดงโขน 15 ความหมายของคาวา่ โขน 18 ประวัตคิ วามเป็นมาของการแสดงโขน 18 บทนาฏกรรมทใี่ ช้ในการแสดงโขน 24 พิธไี หว้ครูโขน 29 คุณคา่ ของศลิ ปะการแสดงโขน 31 34 3 แบบแผนการแสดงโขน 39 ประเภทของการแสดงโขน 9 บทพากย์ บทเจรจา และบทร้องโขน 41 ดนตรที ใ่ี ช้ในการแสดงโขน 42 ภาษาทา่ ทางในการแสดงโขน 43 เครอื่ งแต่งตวั และหัวโขน 4 สรปุ และข้อเสนอแนะ สรุป ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก

58 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร 4.1.5 สารบัญตาราง (ถ้ามี) เป็นส่วนที่แสดงรายการตารางท้ังหมดท่ีมีในรายงาน โดยบอกเลขที่ ตาราง ช่อื ตาราง และเลขหนา้ กากับไว้ ตัวอยา่ งสารบัญตาราง สารบัญตาราง ตารางท่ี หนา้ 2.1 พระราชนิพนธร์ ามเกยี รตฉ์ิ บับต่าง ๆ 12 3.1 ชนิดและประเภทของหัวโขน 35 3.2 สที ใี่ ชก้ ับหวั โขน 36 ฯลฯ 4.1.6 สารบัญภาพ (ถ้ามี) เป็นส่วนที่แสดงรายการภาพประกอบท้ังหมดท่ีมีในรายงาน ได้แก่ รูปภาพ แผนภูมิ แผนที่ แผนผัง และแผนภาพ โดยบอกเลขที่ภาพ ชื่อภาพและเลขหน้า สารบัญภาพมี วธิ ีการเขยี นเหมือนสารบญั ตาราง เพียงแตเ่ ปลย่ี นคาว่า ตาราง เปน็ คาว่า ภาพ แทน ตวั อยา่ งสารบญั ภาพ สารบัญภาพ หนา้ 14 ภาพท่ี ฯลฯ 20 2.1 พิธไี หวค้ รโู ขน 21 3.1 การแสดงโขนกลางแปลง 3.2 การแสดงโขนน่งั ราว 4.2 สว่ นเน้ือหา เป็นส่วนท่สี าคัญท่ีสุดของรายงาน แบ่งได้เป็น 3 ส่วน คือ บทนา ตัวเร่ือง และ สรุปและข้อเสนอแนะ 4.2.1 บทนา เป็นบทแรกของเน้ือเรื่องท่ีแสดงพื้นฐานเบ้ืองต้นให้ผู้อ่านทราบ โดยท่ัวไป ประกอบด้วยหวั ข้อสาคญั ดงั นี้ 4.2.1.1 ภูมหิ ลัง หรือความสาคญั ของเร่ือง เป็นการกลา่ วปูพ้ืนให้เห็นความเป็นมา ความสาคัญ หลักการและเหตผุ ลของเร่อื งทีน่ ามาทารายงาน 4.2.1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า เป็นการเขียนว่าจะศึกษาเรื่องอะไร อยา่ งไร และเพ่ืออะไร นยิ มเขยี นเป็นข้อ ๆ ประมาณ 2-3 ข้อ

59 0010101 ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร 4.2.1.3 ประโยชน์ของการศึกษาค้นคว้า เป็นการเขียนถึงประโยชน์หรือผลท่ีคาด ว่าจะได้รบั จากการคน้ คว้า โดยมากจะเขียนให้สอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์ 4.2.1.4 ขอบเขตของการศกึ ษาค้นควา้ เปน็ การเขียนให้เหน็ ว่าการศึกษาค้นคว้ามี ขอบเขตกวา้ งขวางแคไ่ หน ครอบคลมุ ในเรือ่ งอะไรบา้ ง 4.2.1.5 วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า เป็นการระบุวิธีการและแหล่งข้อมูลท่ีใช้ใน การศึกษาคน้ คว้า 4.2.2 ตัวเรื่อง เป็นส่วนท่ีเสนอเนื้อหาสาระอันเป็นผลจากการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการ โดยแบง่ เปน็ บท ๆ เรียงตอ่ จากบทนา จะมีก่ีบทขน้ึ อยู่กับความเหมาะสมของเนื้อหา แตโ่ ดยท่ัวไปจะมีประมาณ 2-5 บท ในส่วนน้ีควรมีการอ้างอิง เช่น อัญประภาษ การอ้างอิงแทรกในเนื้อหา และควรมีส่วนที่ช่วยเสริม คาอธบิ ายให้ชดั เจนแจ่มแจ้งขึน้ เช่น ตาราง แผนภมู ิ ภาพประกอบ เป็นตน้ 4.2.3 สรุปและข้อเสนอแนะ เป็นบทสุดท้ายของส่วนเน้ือหา ซ่ึงจะเขียนสรุป วัตถปุ ระสงค์ และวิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า สรุปผลหรือข้อยุติท่ีได้จากการศึกษา และจบท้ายด้วยข้อเสนอแนะของผู้ทา รายงานเกีย่ วกับการนาผลไปประยกุ ต์ใช้ หรือเสนอแนวทางการศกึ ษาค้นควา้ ท่ีเกยี่ วขอ้ งต่อไป 4.3 ส่วนประกอบตอนท้าย เป็นส่วนที่อยู่ต่อจากส่วนเนื้อหาไปจนจบเล่มประกอบด้วยส่วน ตา่ ง ๆ ดงั นี้ 4.3.1 บรรณานุกรม คือ บัญชีรายการหนังสือและวัสดุสารนิเทศทุกประเภทท่ีนามาใช้ ประกอบการเขียนรายงาน (ดูรายละเอยี ดในหวั ขอ้ การอ้างอิง) 4.3.2 ภาคผนวก (ถ้ามี) คือ ส่วนอธิบายเพิ่มเติมเรื่องราวที่เกี่ยวโยงกับเน้ือเรื่อง แต่ไม่ใช่ เนอ้ื เรื่องโดยตรง อาจเป็นตัวเลขสถติ ิ แบบสอบถาม สาเนาเอกสารหายาก บทศึกษาเฉพาะกรณี ภาพประกอบ ตาราง กราฟ แผนที่ทีม่ ีรายละเอียดมาก ภาคผนวกจะมีหรือไมม่ ีก็ได้ขน้ึ อยู่กบั ความจาเปน็ ถ้ามีต้องจัดเรียงต่อ จากบรรณานุกรม และมหี น้าบอกตอนคั่น 4.3.3 อภิธานศัพท์ (ถ้ามี) คือ บัญชีคาศัพท์ที่เข้าใจยากพร้อมระบุความหมายของศัพท์ แตล่ ะคา จัดเรยี งตามลาดบั ตวั อักษร อาจมีหรอื ไมม่ ีกไ็ ด้ 4.3.4 ดรรชนี (ถ้ามี) คือ บัญชีค้นคาซ่ึงเป็นคาสาคัญ เช่น หัวข้อ ช่ือบุคคลสาคัญ ช่ือ ทฤษฎี คาท่ีเป็นกุญแจในการอธิบายเร่ือง เป็นตน้ โดยจัดเรียงคาตามลาดับตัวอักษรพร้อมระบุเลขหน้าท่ีคาน้ัน ปรากฏอยใู่ นรายงาน ชว่ ยให้เกดิ ความสะดวกในการคน้ คว้ามากข้ึน

60 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร ตัวอยา่ งดรรชนี ดรรชนี โขนโรงใน หนา้ เครื่องแตง่ ตวั พระ 22 ชักนาคดึกดาบรรพ์ 35 ตลกโขน 7,9 พากย์พลับพลา 32 24 ฯลฯ 5. การอ้างอิง ในการเรียบเรียงรายงานวิชาการจาเป็นต้องมีการอ้างอิง เพ่ือให้ผู้อ่านทราบหลักฐานที่มาของ ข้อมูล และสามารถค้นคว้าเพิ่มเติมได้ ตลอดจนเพ่ือให้เกิดความน่าเช่ือถือทางวิชาการ และเป็นการให้เกียรติ แกเ่ จา้ ของข้อมลู เดมิ การอา้ งองิ กระทาได้หลายลกั ษณะ ดงั น้ี 5.1 อัญประภาษหรืออัญพจน์ คือ ข้อความท่ีคัดมาจากคาหรือข้อเขียนของผู้อื่นโดยตรง มิได้มี การเปลี่ยนแปลงหรือเขียนขึ้นใหม่แต่อย่างใด ส่วนมากเป็นข้อความสาคัญที่ผู้ทารายงานต้องการอ้างอิงเพ่ือ สนบั สนุนความคดิ เหน็ ของตน หลกั เกณฑ์การคัดลอกอญั ประภาษมีดังน้ี 5.1.1 ก่อนถึงข้อความที่เป็นอัญประภาษ ควรกล่าวนาไว้ในเน้ือหาของรายงานว่าเป็น คาพดู หรอื ข้อเขียนของใคร หรือมีความสาคัญอยา่ งไร 5.1.2 ต้องคัดลอกให้ตรงตามต้นฉบับเดิม และลงรายการอ้างอิงทุกครั้งหากข้อความยาว เกินไป อาจตัดบางตอนออกให้เหลือแต่ข้อความที่สาคัญ โดยใส่เคร่ืองหมายจุด 3 จุด ... แทนข้อความที่ตัด ออก 5.1.3 อัญประภาษที่มีความยาวไม่เกิน 3 บรรทัด ให้พิมพ์ต่อจากเนื้อหาของรายงาน โดยครอ่ มข้อความทคี่ ดั ลอกมาดว้ ยเคร่ืองหมายอัญประกาศ “...” 5.1.4 อัญประภาษท่ีมีความยาวเกิน 3 บรรทัด ให้พิมพ์ข้ึนบรรทัดใหม่ โดยย่อถัดเข้าไป จากย่อหน้าปกติท้ังตอนต้นและตอนท้ายบรรทัดจานวน 4 ตัวอักษร เร่ิมพิมพ์ที่ตัวอักษรตัวที่ 5 โดยตลอดทุก บรรทดั กรณีน้ีไม่ต้องครอ่ มดว้ ยเคร่ืองหมายอัญประกาศ

61 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร ตวั อยา่ งอญั ประภาษไม่เกิน 3 บรรทดั ธันยวัชร์ ไชยตระกูลชัย (2548: 027) กล่าวว่า “การสร้างแบรนด์ ว่ากันว่าเป็นเรื่องยาก แลว้ แตท่ ว่าการธารงรกั ษาแบรนด์ย่อมยากย่งิ กว่า” ตัวอย่างอัญประภาษเกนิ 3 บรรทดั การตลาดเป็นพลังขับเคล่ือนสาคัญทางธุรกิจ และในช่วงหลายปีที่ผ่านมา การตลาดได้ ขยายวงเข้าไปมีบทบาทในการแข่งขันเพื่อการหาเสียงทางการเมือง ดังที่ธนั ยวัชร์ ไชยตระกูลชัย (2548: 176) อธบิ ายว่า หัวใจของการตลาดเพ่ือการเมืองน้ัน อยู่ที่การประยุกต์แนวคิดด้านส่วนผสมของตัวแปร การตลาด (Marketing Mix) และกลเม็ดอื่น ๆ ในทิศทางท่ีสามารถแย่งชิงความนิยมจากลูกค้า ซ่ึงในที่น้ีก็คือ ประชาชนผูอ้ อกเสียงน่ันเอง ความสาเร็จในการนาการตลาดมาใช้กบั การเมืองนน้ั คือ การขยายขอบเขตการนา การตลาดจากเดมิ ทีเ่ คยใช้ในระดับ “จลุ ภาค” วันนีก้ ารตลาดไดถ้ ูกนามาใช้ในระดบั มหภาค 5.2 เชิงอรรถ คือ ข้อความที่ลงเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากเน้ือหาของรายงานเพ่ือบอกแหล่งที่มา ของข้อความท่ีอ้างอิงในรายงาน เพื่ออธิบายขยายความ และเพื่อชี้นาผู้อ่านให้ค้นหารายละเอียดเพ่ิมเติมจาก หน้าอื่น ๆ ของรายงาน โดยทั่วไปเชิงอรรถจะปรากฏอยู่ตอนท้ายหน้าหรือตอนล่างสุดของหน้ากระดาษ แต่ บางกรณผี ้เู ขยี นอาจเขียนเชงิ อรรถไวท้ ่ีท้ายบทหรอื ทา้ ยเล่มก็ได้ เชงิ อรรถแบง่ ไดเ้ ป็น 3 ประเภท คอื 5.2.1 เชิงอรรถอ้างอิง คอื เชิงอรรถท่ีบอกแหล่งที่มาของข้อมูล หรือข้อความท่ียกมากล่าว ในเรอื่ ง ปัจจบุ นั เชงิ อรรถอ้างอิงไม่มผี ู้นิยมใช้ ส่วนใหญ่จะใชก้ ารอ้างองิ แทรกในเน้ือหาแทน 5.2.2 เชงิ อรรถเสริมความ คอื เชิงอรรถทีอ่ ธิบายคา ข้อความ หรือให้รายละเอียดเพ่ิมเติม ในเรอ่ื งท่ีกล่าวถึง 5.2.3 เชิงอรรถโยง คือ เชิงอรรถที่บอกให้ผู้อ่านไปค้นดูรายละเอียดเพิ่มเติมในหน้าอื่น ๆ ของรายงาน ตวั อยา่ งเชิงอรรถอ้างองิ สารคดีและบทความมีรูปแบบคล้ายคลึงกัน ส่วนเนื้อหานั้นแตกต่างกันท้ังโดยวัตถุประสงค์และ ความคิด ดังมีผู้กลา่ วเปรยี บเทียบว่า “สารคดีมลี ักษณะคล้ายบทความ ต่างกันตรงบทความมีความคิดเห็นเป็น แกน่ มคี วามรู้เป็นสว่ นประกอบ ส่วนสารคดมี คี วามร้เู ปน็ แก่น มีความคดิ เปน็ เครื่องปรงุ แตง่ ”1 1 สุธิวงศ์ พงศไ์ พบลู ย.์ การเขียน. (กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ , 2522), หนา้ 99.

62 0010101 ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร ตวั อย่างเชงิ อรรถเสรมิ ความ ความนา (lead/introduction)1 คือส่วนเริ่มต้นของข้อเขียนท่ีช่วยดึงดูดความสนใจของผู้อ่านต่อส่ิงที่ จะนามาเสนอต่อไป 1 โดยท่ัวไป คาว่า lead มักใช้เรียกส่วนวรรคนาของข่าว ในขณะที่คาว่า introduction จะใช้กับความนาในสารคดีหรือ บทความ แต่บางแหง่ อาจใช้ 2 คาน้ีในความหมายเดียวกนั ตวั อยา่ งเชิงอรรถโยง สูตรการเขียนข่าวนิยมใช้แนวตอบคาถาม 5 W’s และ 1H คือใคร (Who) ทาอะไร (What) ที่ไหน (Where) เมอื่ ไร (When) ทาไม (Why) และอยา่ งไร (How)1 1 ดตู วั อยา่ งการเขียนข่าวในหนา้ 86 – 89 5.3 การอ้างอิงแทรกในเนื้อหา เป็นการอ้างอิงข้อมูลเมื่อผู้อ้างคัดลอก ถอดความหรือสรุป สาระสาคัญของผู้อ่านมาไว้ในงานของตน การอ้างอิงแทรกในเนื้อหาที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน คือ การอ้างอิงระบบนาม-ปี ซ่ึงมีรูปแบบการลงรายการอย่างสั้น ๆ แทรกปนกับเนื้อหาของเอกสาร ประกอบด้วย ผู้แต่ง ปีท่ีพิมพ์ เลขหน้าที่อ้างอิง และเครื่องหมายวงเล็บ ซ่ึงจะโยงให้ผู้อ่านไปดูรายการอ้างอิงอย่างสมบูรณ์ที่ บรรณานกุ รมท้ายเลม่ ดงั ตวั อยา่ ง การอา้ งอิง (ครรชิต แสงกระจา่ งวงศ,์ 2547: 7) หรือ ครรชติ แสงกระจา่ งวงศ์ (2547: 7) บรรณานุกรม ครรชิต แสงกระจ่างวงศ์. (2547). คู่มอื การผลิตผกั ปลอดสารพษิ . กรงุ เทพฯ: อักษรสยามการพมิ พ.์ การวางตาแหน่งท่แี ทรกรายการอ้างองิ กระทาได้ 2 ลักษณะ ดังน้ี 5.3.1 ตามหลงั ขอ้ ความทีย่ กมาอา้ งองิ ดงั ตวั อยา่ ง หลักการในการปลูกผักให้ปลอดภัยจากสารพิษ คือ การไม่ใช้สารเคมีหรือใช้สารเคมีใน การผลิต ให้นอ้ ยท่สี ดุ หรอื ใช้ตามความจาเปน็ แตต่ ้องใช้อยา่ งถูกต้อง (ครรชิต แสงกระจา่ งวงศ์, 2547: 7)

63 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร 5.3.2 ถ้ามีการกล่าวถึงผู้แต่งในเน้ือหาหรือข้อความน้ันแล้วไม่จาเป็นต้องระบุช่ือผู้แต่งซ้า ในวงเล็บ ระบเุ ฉพาะปีทีพ่ ิมพแ์ ละเลขหนา้ ดังตัวอยา่ ง ครรชิต แสงกระจ่างวงศ์ (2547: 7) กล่าวว่า “หลักการในการปลูกผักให้ปลอดภัยจาก สารพิษ คือ การไม่ใช้สารเคมีหรือใช้สารเคมีในการผลิตให้น้อยที่สุดหรือใช้ตามความจาเป็น แต่ต้องใช้อย่าง ถูกต้อง” 5.4 บรรณานุกรม คือ บัญชีรายการหนังสือและวัสดุสารนิเทศทุกประเภทท่ีนามาใช้ ประกอบการเขียนรายงาน ปรากฏอยู่ตอนทา้ ยของเลม่ 5.4.1 หลักเกณฑก์ ารพมิ พบ์ รรณานุกรม 5.4.1.1 เร่ิมพิมพ์บรรณานุกรมโดยข้นึ หน้าใหม่ พมิ พ์คาว่า บรรณานุกรม ไว้กลาง หนา้ กระดาษ ห่างจากขอบบนประมาณ 1 ½” 5.4.1.2 จัดเรียงรายช่ือหนังสือและวัสดุสารนิเทศตามลาดับช่ืออักษรผู้แต่งตั้งแต่ ก – ฮ ถ้าไม่มีชื่อผแู้ ตง่ ใหเ้ รียงตามชอ่ื เรอ่ื ง 5.4.1.3 การพิมพ์บรรณานุกรมแต่ละรายการให้พิมพ์ข้ึนบรรทัดใหม่ชิดขอบซ้าย หากพิมพ์ไม่จบใน 1 บรรทัด ให้พมิ พ์ต่อไปในบรรทัดถดั ไปโดยย่อหน้าเข้าไป 7 ช่วงตัวอักษรเริ่มพิมพ์ตัวอักษร ท่ี 8 5.4.1.4 การลงรายการมกี ารใช้เคร่ืองหมายวรรคตอน . (มหัพภาค) , (จุลภาค) : (ทวิภาค) หลังเคร่อื งหมายเหลา่ นี้ใหเ้ ว้นระยะการพมิ พ์ 1 ระยะ 5.4.1.5 ผู้แต่งที่เป็นคนไทยใหล้ งชื่อ นามสกุล โดยไม่มคี านาหน้า เชน่ สุมาลี สังข์ศรี. กรณีที่มีราชทินนาม บรรดาศักด์ิหรือฐานันดรศักด์ิ ให้ระบุไว้โดยเขียนสลับที่และค่ันด้วยเคร่ืองหมายจุลภาค เชน่ อนุมานราชธน, พระยา. คึกฤทธ์ิ ปราโมช, ม.ร.ว. 5.4.1.6 ผแู้ ต่งท่เี ป็นหน่วยงานหรือสถาบัน ให้ลงช่อื เต็มโดยเรียงหน่วยงานใหญ่ไว้ ก่อน ตามด้วยหน่วยงานระดับรองลงมาเพียงระดับเดียว เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. กระทรวงเกษตร และสหกรณก์ ารเกษตร กรมวชิ าการเกษตร. 5.4.1.7 ช่ือหนังสือให้พิมพ์ด้วยอักษรตัวหนา และไม่ขีดเส้นใต้ กรณีเป็น ลายมอื เขียนให้ขีดเสน้ ใต้ชือ่ หนังสอื นั้น 5.4.1.8 การลงรายการคร้ังที่พิมพ์ ให้ระบุครั้งท่ีพิมพ์ต้ังแต่คร้ังท่ี 2 เป็นต้นไป โดยพิมพ์ไวใ้ นวงเลบ็ และมเี ครอ่ื งหมายมหพั ภาคหลงั วงเล็บ เช่น (พมิ พค์ ร้ังที่ 2). 5.4.1.9 การลงรายการสานักพิมพ์หรือโรงพิมพ์ให้ลงช่ือเฉพาะ ตัดคาว่า สานักพิมพ์ โรงพมิ พ์ บริษทั ห้างหุ้นสว่ น จากัด หรือคาอืน่ ๆ ทีไ่ ม่จาเป็นออก เช่น สานักพิมพ์โอเดยี นสโตร์ ให้ ลงว่า โอเดียนสโตร์. ยกเว้นสานักพิมพ์หรือโรงพิมพ์ของสถาบันจึงจะลงช่ือเต็ม เช่น สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั .

64 0010101 ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร 5.4.1.10 กรณีหนังสือนั้นไม่ปรากฏปีที่พิมพ์ ให้ลงว่า ม.ป.ป. กรณีไม่ปรากฏ สถานท่ีพมิ พ์ใหล้ งวา่ ม.ป.ท. 5.4.1.11 กรณีหนังสือหลายรายการเป็นของผู้แต่งคนเดียวกัน ให้ลงช่ือผู้แต่ง เฉพาะรายการแรก รายการต่อ ๆ ไปให้ใช้เครื่องหมายยัติภังค์ จานวน 7 ครั้ง ตามด้วยเคร่ืองหมายมหัพภาค ดังตัวอย่าง วิรณุ ต้งั เจรญิ . (2527). ศลิ ปะภาพพมิ พ์. กรุงเทพฯ: แพรพ่ ิทยา. _______. (2530). สานึกของปลาทอง. กรุงเทพฯ: ตน้ อ้อ. 5.4.2 ตัวอยา่ งการลงรายการบรรณานุกรม ก่อนท่ีจะลงรายการบรรณานุกรม ผู้ทารายงานต้องจาแนกได้ว่าวัสดุสารนิเทศนั้น เปน็ ประเภทใด แล้วเลอื กลงรายการใหถ้ ูกต้องตามแบบแผนของแต่ละประเภททีแ่ ตกต่างกันออกไป ดงั ตัวอย่าง ตอ่ ไปน้ี 5.4.2.1 หนงั สอื ทว่ั ไป ส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม,กรม. (ม.ป.ป.). ความรู้เร่ืองส่ิงแวดล้อม. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย. 5.4.2.2 หนงั สือท่มี บี ทความหรอื เน้ือหาแยกแตล่ ะบทแต่ละผเู้ ขยี นในเล่ม เทียนฉาย กีระนันท์. (2540). การวางแผนและการจัดทาโครงการของรัฐ. ใน สมหวัง พิธิยา นุวัฒน์. บรรณาธิการ. รวมบทความทางการประเมินโครงการ : ชุดรวมบทความ เล่มที่ 4. (หน้า 1-24). กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . 5.4.2.3 บทความในสารานกุ รม อดุ ม หนทู อง. (2542). เพลงบอก. สารานุกรมวฒั นธรรมภาคใต้. 11: 5531 – 5534. 5.4.2.4 บทความในวารสารวิชาการ ภทั ราพร ตง้ั สขุ ฤทยั . (2547, พฤศจิกายน – ธันวาคม). กินอาหารไทยไมเ่ ป็นโรคอว้ น. หมออนามัย. 14(3), 54 – 59. 5.4.2.5 บทความในนติ ยสาร ลอ้ ม เพ็งแก้ว. (2542, มถิ นุ ายน). สนุ ทรภูเ่ กิดที่ไหน. ศิลปวัฒนธรรม. 20(8), 103 – 105. 5.4.2.6 บทความในหนงั สอื พิมพ์ ววิ ฒั นช์ ยั อตั ถากร. (2548, 27 เมษายน). อุดมศกึ ษาไทยบนทางแพรง่ . มตชิ น: 7.

65 0010101 ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร 5.4.2.7 วทิ ยานิพนธ์ เรืองศิลป์ นิราราช. (2548). สภาพและปัญหาการบริหารกิจกรรมลูกเสือในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขต ดอนเมือง กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนคร. 5.4.2.8 หนงั สอื ท่มี ผี ูร้ บั ผดิ ชอบในการจัดทา เช่น บรรณาธิการ ผู้รวบรวม อดุลย์ วิริยเวชกุล, บรรณาธิการ. (2541). คู่มือจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา. นครปฐม: บัณฑิต วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล. 5.4.2.9 หนงั สอื ทีไ่ ม่ปรากฏชอ่ื ผแู้ ต่ง สวดมนต์ไหวพ้ ระฉบับชาวบา้ นและผปู้ ฏบิ ัติธรรม. (2541). กรงุ เทพฯ: สุวรี ยิ าสาส์น. 5.4.2.10 จลุ สาร แผ่นพบั เอกสารประชาสมั พันธ์ การทอ่ งเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2541). ท่องเทีย่ วสงขลา. (แผน่ พบั ). สงขลา: ผูแ้ ต่ง. 5.4.2.11 การอ้างเอกสารชั้นรอง อุไรรัตน์ บุญภานนท์. (2529). การถอดอักษรภาษาอังกฤษเป็นไทยโดยใช้หลักภาษาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ อักษรศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อ้างถึงใน จิราพรรณ อินทรศิริพงษ์. (2547, ตลุ าคม – ธันวาคม). วารสารห้องสมุด. 48(4), 44-50. หรือ จิราพรรณ อินทรศิรพิ งษ์. (2547, ตลุ าคม-ธนั วาคม). วารสารหอ้ งสมดุ . 48(4), 44-50. อา้ งจาก อุไรรัตน์ บุญภานนท์. (2529). การถอดอักษรภาษาอังกฤษเป็นไทยโดยใช้หลักภาษาศาสตร์. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร มหาบัณฑติ บัณฑติ วทิ ยาลัย จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. 5.4.2.12 หนงั สอื พมิ พอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ ซูม. (2542, 25 ตุลาคม). บุญของคนไทย. ไทยรัฐ (ออนไลน์). 18(2), 39-43. สืบค้น วันท่ี 25 ตุลาคม 2542 จาก http://www.thairat.co.th 5.4.2.13 www Farranza, L. E. (1994). Le Corbusier and the problems of representation. Journal of Architectural Education [Online], 48(2). Available : http://www.mitpress.mit.edu/jrnls_catalog/arched_abstracts/ File:jae48-2html. 5.4.2.14 การสมั ภาษณ์ พงศ์ หรดาล. อธิการบดี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร. (2557, ตลุ าคม 15). การสมั ภาษณ.์

66 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร 6. ข้อแนะนาในการจดั ทารายงานวชิ าการ การจัดทารายงานวิชาการของรายวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ควรปฏบิ ตั ิตามขอ้ แนะนาตอ่ ไปน้ี 6.1 กระดาษท่ีใช้พิมพ์ ใช้กระดาษอัดสาเนาหรือถ่ายเอกสารขนาด A4 พิมพ์หน้าเดียว ถ้าเป็น การเขยี นควรเขยี นลงในสมดุ รายงานที่แต่ละสถาบันกาหนด 6.2 การจัดหน้า กาหนดแนวขอบซ้ายและขอบบน ห่างจากริมกระดาษ 1½ น้ิว ขอบขวาและ ขอบล่างห่างจากรมิ กระดาษ 1 นว้ิ โดยไมต่ ้องตีเส้นเป็นกรอบ 6.3 พมิ พ์ดว้ ยตัวอักษรแบบ TH SarabunPSK ขนาด 16 พอยท์ หากเป็นบทที่ ช่ือบท หวั ข้อ ให้พมิ พ์ ตัวหนาและกาหนดขนาดตัวอักษรให้เหมาะสม รายงานที่ใช้การเขียน ควรเขียนด้วยลายมือที่อ่านง่าย ชัดเจน สม่าเสมอ 6.4 การใช้เลขหน้าในสว่ นประกอบตอนตน้ ให้ใช้ตวั อักษร ก ข ค ฆ ง ... กากับหนา้ ต้ังแต่ส่วน เนื้อเร่ืองไปจนถึงหน้าสุดท้ายของเล่ม ให้ใช้ตัวเลขกากับหน้า สาหรับหน้าท่ีเป็นหน้าบอกตอน หรือหน้าแรก ของแต่ละส่วน ไมต่ ้องพิมพเ์ ลขหน้ากากับ แต่ตอ้ งนบั เรียงไปโดยตลอด 6.5 การกาหนดหัวข้อและย่อหน้า กาหนดให้เว้นระยะพองามและเปน็ ระบบเดียวกันตลอด โดย วางหวั ข้อใหญ่ หัวข้อรองและหวั ข้อย่อยลดหลั่นกันตามลาดับ ระบบหัวขอ้ ที่นิยมใช้กันคอื ระบบตวั เลขทศนิยม ดังนี้ หวั ขอ้ ใหญ่ 1. หัวขอ้ รอง 1.1 ............................................................................................................................... 1.1.1 .................................................................................................................... 1.1.1.1 .................................................................................................. 2. หัวข้อรอง 2.1 ............................................................................................................................... 2.1.1 .................................................................................................................... 2.1.1.1 .................................................................................................

67 0010101 ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร การนาเสนอผลการศกึ ษาคน้ คว้าทางวิชาการด้วยวาจา 1. ความหมายของการนาเสนอด้วยวาจา การนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยวาจา หมายถึง การรายงานผลการศึกษาค้นคว้าด้วยการพูด เปน็ วิธีการท่ีได้รับความนิยมแพร่หลายในปัจจุบัน เพราะสะดวก รวดเร็ว และผพู้ ูดกับผู้ฟังมีโอกาสได้พูดคุยกัน หรือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารกันโดยตรง โดยทั่วไปการนาเสนอผลงานด้วยการพูดจะกระทาควบคู่ไปกับการ เสนอรายงานท่ีเป็นลายลักษณ์อกั ษร ขณะเดยี วกนั มกั จะมีการใชส้ ื่อประสมประกอบกับการพูดด้วย 2. จดุ มุ่งหมายของการนาเสนอด้วยวาจา การนาเสนอดว้ ยการพดู มจี ดุ มงุ่ หมายดงั น้ี 2.1 เพือ่ เสนอขอ้ มูลและสาระความรทู้ ไี่ ด้จากการศกึ ษาคน้ คว้าใหผ้ ฟู้ ังไดร้ บั ทราบ 2.2 เพ่ือรับฟังความคิดเห็นของผู้ฟัง แล้วนาไปปรับปรุงแก้ไขส่วนท่ีบกพร่องของรายงานให้มี คณุ ภาพดีย่งิ ข้ึน 2.3 เพอ่ื สร้างปฏสิ ัมพนั ธ์ทด่ี รี ะหว่างผพู้ ดู กบั ผ้ฟู ังด้วยการใช้ทงั้ วจั นภาษาและอวจั นภาษา 3. ขน้ั ตอนของการนาเสนอด้วยวาจา ลาดับข้ันตอนของการนาเสนอผลงานด้วยการพูดมี 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนก่อนพูด ขั้นตอนขณะ พดู และขัน้ ตอนหลงั การพูด 3.1 ข้ันตอนก่อนพูด เป็นขั้นตอนของการเตรียมการที่ค่อนข้างยุ่งยากและใช้เวลามากกว่า ข้ันตอนอ่ืน ๆ มีแนวปฏบิ ัติดังนี้ 3.1.1 เตรียมตัวผู้พูด เริ่มจากการเสริมสร้างให้มีบุคลิกภาพที่ดีและฝึกทักษะการพูด โดย พัฒนาในเรื่องของการใช้น้าเสียง การออกเสียง การใช้ภาษา การใช้สายตา การแสดงออกทางใบหนา้ การเดิน การทรงตัว กิริยาท่าทาง การแต่งกาย การแสดงความเชื่อมั่น ความกระตือรือร้น ความสามารถในการจา และถ่ายทอด ปฏภิ าณไหวพรบิ และอารมณข์ นั 3.1.2 วเิ คราะห์ผู้ฟังที่เป็นกลุ่มเป้าหมายในแง่ของจานวน เพศ วัย ระดบั การศึกษา อาชีพ ฐานะ ความสนใจ และอื่น ๆ ท่เี ก่ียวขอ้ ง วิเคราะหส์ ถานที่ เวลาและโอกาสที่พดู 3.1.3 เตรียมเน้ือหาการพูด โดยกาหนดจุดมุ่งหมายของการพูด เลือกเรื่องที่พูด ค้นคว้า รวบรวมข้อมูล วางโครงเร่ือง เรียบเรียงเนื้อหาสาระที่พูด จดั ทาบตั รบนั ทึกโน้ตยอ่ ที่ใช้ประกอบการพดู ในกรณี เป็นการพูดโดยอ่านจากต้นฉบับ ตอ้ งจัดทาบทพูด (script) ฉบับสมบูรณ์เตรยี มไว้ด้วย และฝกึ ซอ้ มการพูดจนผู้ พดู เกดิ ความพร้อมและความเชอ่ื มนั่ ในทกุ ๆ ดา้ น 3.2 ขั้นตอนขณะพูด เป็นข้ันตอนของการนาเสนอด้วยการพูดต่อหน้าผู้ฟัง ซ่ึงอาจจะเป็น อาจารยผ์ ู้สอน ผูบ้ ังคบั บัญชา คณะกรรมการหรอื คณะทางานท่เี กย่ี วข้อง ผเู้ ขา้ ประชุมหรอื ผู้สนใจทั่วไป เน้ือหา การพูดมีสว่ นประกอบ 4 สว่ น ได้แก่

68 0010101 ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร 3.2.1 คาทักทายผู้ฟังหรือคาปฏิสันถาร เป็นการกล่าวทักทายผู้ฟังโดยเรียงตามลาดับ อาวุโส หรือความสาคัญ เช่น “ท่านอธิการบดี คณาจารย์ และท่านผู้มีเกียรติทุกท่าน” “สวัสดีเพ่ือนนักศึกษาทุก คน” เป็นตน้ 3.2.2 ความนาหรืออารัมภบท เป็นการเกริ่นนาเรือ่ งที่จะพูดและเรียกความสนใจเบ้ืองต้น ของผู้ฟงั ด้วยวธิ ีการตา่ ง ๆ 3.2.3 เน้ือเรื่อง เป็นการนาเสนอเนื้อหาสาระทั้งหมดท่ีเป็นผลจากการศึกษาค้นคว้า โดย คานึงถงึ ความถกู ต้อง ความชัดเจน มีการลาดับความดี และมีการอ้างอิงทน่ี ่าเชอ่ื ถอื 3.2.4 สรุป เป็นการเน้นยา้ ให้ผู้ฟังเห็นจุดสาคัญของเร่อื งที่พูด โดยกล่าวท้งิ ท้ายดว้ ยคาพูด ท่มี พี ลงั มีน้าหนักประทบั ใจผฟู้ ังให้จดจาได้ไม่รู้ลมื 3.3 ข้ันตอนหลังการพูด หลังการพูดยุติลง จะเป็นขั้นตอนของการประเมินผลและการวิจารณ์ การพูด ซึ่งควรกระทาอย่างรอบด้าน โดยบุคคลผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ได้แก่ ตัวผู้พูดเอง เพ่ือนผู้ร่วมงานของผู้พูด ผมู้ อบหมายงาน ผู้เช่ยี วชาญ และผฟู้ ัง การประเมินผลการพูด หมายถึง การพิจารณาและวัดคุณค่าของการพูดตามจุดมุ่งหมาย ท่ีต้ังไว้ วิธีประเมินท่ีนิยมใช้กันมากมี 3 วิธี วิธีแรกคือ การสังเกต โดยเฉพาะการสังเกตปฏิกิริยาของผู้ฟังและ บรบิ ทแวดล้อม วิธีทสี่ องคือ การสอบถาม ซ่ึงอาจสอบถามโดยตรงด้วยวาจาหรืออาจใชแ้ บบสอบถาม และวธิ ีที่ สามคือ การใช้แบบประเมินผลการพูดซ่งึ เป็นแบบฟอร์มวัดความสามารถในการพูด และเกณฑ์การพิจารณาให้ คะแนนในด้านต่าง ๆ สว่ นการวจิ ารณ์การพูด หมายถงึ การติหรอื ชม การแสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะ เก่ยี วกบั การพูด โดยผู้วจิ ารณ์จะต้องมีเหตผุ ลและหลักวชิ าการที่ดี มจี ติ ใจเปน็ กลาง ไม่มีอคติตอ่ ผู้พูด ขนั้ ตอนนี้ จะช่วยให้ผู้พูดได้ทราบว่าการพูดของตนเป็นอย่างไร มีส่ิงใดท่ีควรแก้ไขปรับปรงุ สิ่งเหล่าน้ีจะเป็นข้อมูลสาคัญ ในการพฒั นาการพดู คร้งั ต่อไป 4. รูปแบบและวธิ ีการนาเสนอดว้ ยวาจา ในการนาเสนอผลงานดว้ ยการพูดนัน้ ผู้นาเสนอตอ้ งเลือกใชร้ ูปแบบและวธิ กี ารพูดให้เหมาะสมกับ จดุ มงุ่ หมายและเน้อื หาการพดู วธิ ีการพูดที่นิยมใชก้ นั มีหลายวิธดี งั จะกลา่ วถึงต่อไปน้ี 4.1 การบรรยาย เป็นการพูดชี้แจงหรือเล่าเร่ืองเพ่ือให้ผู้ฟังเกิดความรู้ความเข้าใจทัศนคติ และ โน้มน้าวจิตใจให้คล้อยตาม ผู้พูดควรเตรียมข้อมูลอย่างดี แล้วนามาจัดระเบียบความคิดให้เป็นไปตามลาดับ ขั้นตอน โดยใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย กะทัดรัด ชัดเจน มีการอ้างอิง การยกตัวอย่างและหลักฐานที่น่าเชื่อถือ ตัวอย่างหัวข้อการบรรยาย เช่น เทคโนโลยีกับการเรียนรู้ บทบาทของเสรีไทยในช่วงสมัยสงครามโลกคร้ังท่ี 2 เปน็ ต้น 4.2 การอธิบาย เปน็ การพูดเพ่ือไขความ ขยายความ ชี้แจงเรื่องราวหรือวธิ ีการบางอย่างให้เข้าใจ ชดั แจ้ง มกี ารลาดบั ความดี เปน็ ขนั้ ตอน ไม่สบั สน เชน่ การอธบิ ายเร่ืองวิธใี ช้ยา หลักโภชนาการท่ดี ี เป็นต้น

69 0010101 ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร 4.3 การสาธิต หมายถึง การแสดงเป็นตัวอย่าง มักใช้ควบคู่กับการบรรยายหรืออธิบาย โดยผู้ พูดม่งุ ให้ความรูเ้ กี่ยวกบั วธิ ีการหรอื การปฏิบตั ิบางอยา่ ง เรมิ่ จากการพดู ชแี้ จงให้ผฟู้ งั เกิดความรู้ความเข้าใจก่อน แล้วจึงนาส่ืออปุ กรณ์ทตี่ อ้ งใชม้ าแสดงและปฏิบัติใหด้ ูเป็นตวั อยา่ ง เชน่ การพูดสาธติ เรอื่ งหลักการถา่ ยภาพดว้ ย กล้องดจิ ทิ ลั เป็นตน้ 4.4 การรายงาน รายงาน หมายถึง เรื่องราวที่ไปศึกษาค้นคว้าแล้วนามาเสนอที่ประชุม ครู อาจารย์ หรือผู้บังคับบัญชา เป็นต้น อีกความหมายหนึ่ง คือ บอกเรื่องของการงาน การพูดรายงานแบ่งได้ เป็น 5 ชนิด คือ 4.4.1 การพูดรายงานแบบประสบการณ์ เช่น การกล่าวถึงประสบการณ์การไปแข่งขัน กีฬาท่ตี า่ งประเทศ เปน็ ต้น 4.4.2 การพูดรายงานแบบแถลงข้อเท็จจริง ส่วนใหญ่เป็นการรายงานถึงโครงการท่ีจะทา หรอื กาลังทาอยู่ เชน่ โครงการจดั ตัง้ พิพิธภัณฑพ์ ื้นบ้าน เป็นต้น 4.4.3 การพดู รายงานแบบสรุปผล เช่น การรายงานผลการศึกษาค้นคว้าการทดลอง หรือ ปฏิบัติการทางวทิ ยาศาสตร์ เป็นตน้ 4.4.4 การพูดรายงานแบบก้าวหน้าและผลสาเร็จ เช่น การรายงานผลการปฏิบัติงานของ หนว่ ยงาน เป็นต้น 4.4.5 การพูดรายงานแบบวิจารณ์ เป็นการพูดแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลและ ถูกต้องตามหลักวชิ าการในสาขานน้ั ๆ เช่น การพดู วจิ ารณ์วรรณกรรม เป็นตน้ 4.5 การบรรยายสรุป เป็นการพูดเพ่ือบอกกล่าวหรือช้ีแจงให้ฟังเข้าใจ โดยนาเสนอเฉพาะ สาระสาคญั ทก่ี ลั่นกรองออกมาอย่างดจี ากเรือ่ งราวทย่ี ืดยาวและสลับซับซ้อนด้วยคาพูดทเ่ี ข้าใจงา่ ย ส้ัน กระชับ แต่คงรักษาเน้ือความสาคัญไว้ได้อย่างครบถ้วน เป็นวิธีการพูดท่ีนิยมใช้ในหน่วยงานท้ังภาครัฐและเอกชน ส่วนมากเป็นการแถลงส้ัน ๆ เกี่ยวกับโครงสร้าง วัตถุประสงค์และภารกิจของหน่วยงาน หรือจะนามาใช้เพื่อ สรปุ สาระสาคญั จากผลการศึกษาค้นควา้ ก็ได้ เชน่ การบรรยายสรุปเร่ืองการจัดการแยกขยะมลู ฝอยในโรงเรียน เป็นตน้ 4.6 การอภิปราย หมายถึง การพูดชี้แจงแสดงความคิดเห็น เป็นผลของการท่ีบุคคลกลุ่มหน่ึง มาร่วมกันแลกเปล่ียนความรู้ ความคิดเห็นในประเด็นที่เป็นปัญหาหรอื เป็นท่ีน่าสนใจของสังคมในช่วงเวลาน้ัน รูปแบบการอภิปรายท่ีใช้ในการนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้า คือ การอภิปรายต่อหน้าชุมชน (public discussion) การอภิปรายแบบนจี้ ะมีการแบง่ บทบาทหน้าท่ีของบุคคล 2 กลุ่มอย่างชัดเจน กลมุ่ แรก คือ คณะ ผูอ้ ภิปรายและผู้ดาเนินการอภิปราย ทาหน้าที่เป็นผู้พูด อีกกลุ่มหนึ่ง คือ ชุมชน ซึ่งในที่นี้หมายถึงผู้ฟัง เมื่อจบ การอภิปรายแล้วมักจะมีช่วงเปิดอภิปรายท่ัวไป เรียกว่า forum period เป็นช่วงที่เปิดโอกาสให้ผู้ฟังได้ร่วม ซักถามหรอื แสดงความคิดเห็น การอภปิ รายตอ่ หน้าชุมชนท่นี ิยมจัดกนั ในปัจจุบนั มี 4 รูปแบบ ดงั นี้ 4.6.1 การอภิปรายแบบคณะ (panel discussion) เป็นรูปแบบที่นิยมจัดมากที่สุด ประกอบด้วยคณะผู้อภิปรายประมาณ 3 – 8 คน เป็นผู้ศึกษาหาความรู้หรือค้นคว้าหาหลักฐานข้อเท็จจริงใน

70 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร เรื่องท่ีอภิปราย แล้วนามาแลกเปล่ียนความรู้ความคิดเห็นกันต่อหน้าผู้ฟงั โดยมีผู้ดาเนินการอภิปรายทาหน้าท่ี ควบคุมทุกอย่างให้ดาเนินไปตามระเบียบ จัดให้ผู้อภิปรายได้อภิปรายโดยทั่วถึงและไม่ออกนอกประเด็น ซักถาม สรุปและเชื่อมโยงคาพูดของแต่ละคน หลังจากการอภิปรายจะเปิดโอกาสให้ผู้ฟงั ร่วมซักถามและแสดง ความคิดเห็นเพิ่มเติม เมื่อทุกคนกระจ่างดีแล้ว จึงสรุปข้อยุติที่เห็นพ้องต้องกัน หัวข้อการอภิปรายแบบคณะ เหมาะสาหรับเร่ืองท่ัว ๆ ไป ซ่ึงผู้อภิปรายสามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างกว้างขวาง เช่น ทางออกฝ่าวิกฤต ปัญหาน้ามันแพง การมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในระบอบประชาธิปไตย เป็นต้น การจัดสถานที่อภิปราย นยิ มจดั บนเวทีและพยายามให้ผูพ้ ดู กบั ผฟู้ ังได้มองเห็นกันอย่างทั่วถึงดงั ภาพที่ 3.1 ผู้ดาเนนิ การ ผู้อภปิ ราย ผอู้ ภปิ ราย อภปิ ราย ผู้อภิปราย ผู้อภิปราย ผฟู้ งั ผฟู้ งั ภาพท่ี 3.1 การอภปิ รายแบบคณะ (panel discussion) 4.6.2 การอภิปรายแบบแลกเปล่ียนความรู้หรือปาฐกถาหมู่ (symposium discussion) เป็นการอภิปรายของคณะผู้อภิปรายที่เช่ียวชาญด้านต่าง ๆ ที่มาจากหลายแหล่งด้วยกัน แต่ละคนจะเตรียม ความรู้เฉพาะสาขาของตนตามท่ีตกลงกันไว้ การพูดเน้นการบรรยายเฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่งไม่ซ้าซ้อนกัน โดย ผู้ดาเนินการอภิปรายทาหน้าท่ีสรุปและเช่ือมโยงให้แต่ละตอนต่อเนื่องประสานกัน ในตอนท้ายของการ อภิปรายจะเปิดโอกาสให้ผู้ฟังซักถามปัญหา การอภิปรายแบบนี้ให้ความรู้และแนวคิดแก่ผู้ฟังอย่างละเอียด ลึกซึ้ง เหมาะสาหรับเรื่องราวทางวิชาการในสาขาต่าง ๆ เช่น การพัฒนาเศรษฐกิจของกลุ่มจังหวัดแถบลุ่มน้า แม่กลอง อาจเชิญผู้เช่ียวชาญทางด้านบรหิ ารธุรกจิ เกษตรกรรม ประมง และการทอ่ งเท่ียวมาเป็นผอู้ ภิปราย การ จัดสถานที่อภิปรายคล้ายคลึงกับการอภิปรายแบบคณะ แต่อาจจัดแท่นบรรยายแยกออกไปต่างหาก เพ่ือให้ผู้พูด ออกไปยนื พูดทจี่ ดุ นนั้ ดังภาพท่ี 3.2

71 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร ผู้อภปิ ราย อภิปราย ผูอ้ ภิปราย ผอู้ ภปิ ราย แท่นบรรยาย ผ้อู ภิปราย ผู้ฟงั ผู้ฟงั ภาพที่ 3.2 การอภิปรายแบบแลกเปลี่ยนความรู้ (symposium discussion) 4.6.3 การอภิปรายแบบปุจฉา – วิสัชนา (dialogue) เป็นการอภิปรายแบบถาม – ตอบ ประกอบด้วยผู้อภิปรายเพียง 2 คน ทาหน้าท่ีเป็นผู้ถามคนหน่ึงและผู้ตอบอีกคนหน่ึง โดยมีผู้ดาเนินการ อภิปรายทาหนา้ ท่ีควบคุมทุกอย่างให้ดาเนินไปตามระเบียบ การอภิปรายแบบนี้เหมาะสาหรับหวั ข้อเล็กๆ เพ่ือ จากัดขอบเขตให้แคบ แต่ต้องการคาอธิบายที่ลึกซึ้งแจ่มแจ้ง เช่น การเตรียมตัวไปศึกษาต่อต่างประเทศ เป็น ต้น ท้ังฝ่ายถามและฝ่ายตอบต้องมีความรู้ทัดเทียมกัน ผู้ถามสามารถป้อนคาถามได้ลึกซ้ึงตรงกับท่ีผู้ฟังอยากรู้ ผู้ตอบก็สามารถตอบได้ตรงประเดน็ และละเอียดชดั เจน การจัดสถานที่อภิปรายแบบปุจฉา – วิสัชนา จะจัดให้ ผู้ถามและผูต้ อบนงั่ อยู่คนละดา้ น และผ้ดู าเนนิ การอภปิ รายอยู่ตรงกลาง ดังภาพที่ 3.3 อภิปราย ผู้ถาม ผ้ตู อบ ผฟู้ ัง ผู้ฟงั ภาพท่ี 3.3 การอภปิ รายแบบปจุ ฉา – วสิ ัชนา (dialogue)

72 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร 4.6.4 การอภิปรายแบบข้ามแดน (colloquim) เป็นการอภิปรายแบบถาม – ตอบ ของ กลุ่มบุคคล 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้ซักถาม และกลุ่มวิทยากรหรือกลุ่มผูต้ อบคาถาม เป็นการอภิปรายเพื่อวิเคราะห์ ปญั หาให้ละเอียด ลกึ ซึง้ เช่น ศลี 5 ข้อ ขอ้ ใดสาคญั ที่สดุ เพราะเหตใุ ด การอภิปรายแบบนีม้ ีลักษณะคล้ายคลึง กับแบบปจุ ฉา – วิสชั นา แต่ขอบเขตของปัญหากวา้ งกว่า มีจานวนผ้อู ภปิ รายมากกว่า ผู้ดาเนินการอภิปรายจะ เชิญตัวแทนกลุ่มผู้ซักถามออกไปถาม ส่วนกลุ่มวิทยากรจะมีการปรึกษาหารือกันก่อนแล้วส่งตัวแทนออกไป ตอบ การจัดสถานที่อภิปรายจัดให้ผู้อภิปราย 2 กลุ่มอยู่คนละด้าน ผู้ดาเนินการอภิปรายอยู่ตรงกลาง และมี แทน่ บรรยายเปน็ ทย่ี ืนพูดแยกตา่ งหาก ดังภาพท่ี 3.4 กล่มุ ผซู้ กั ถาม ผดู้ าเนนิ การอภิปราย กลุ่มวิทยากร แทน่ บรรยาย ผู้ฟงั ผฟู้ ัง ภาพที่ 3.4 การอภปิ รายแบบข้ามแดน (colloquium) 4.7 การสนทนา คือ การพูดคุยกันในส่ิงท่ีมีความสนใจร่วมกัน ผู้นาเสนออาจนาผลการศึกษา คน้ คว้ามาใช้เป็นเนื้อหาการสนทนาก็ได้ เช่น เทคนคิ การวาดภาพการต์ นู เปน็ ต้น การพดู แบบนีค้ อ่ นขา้ งจะเป็น กันเอง ไม่จากัดจานวนผู้ร่วมสนทนา อาจมผี ู้ดาเนินรายการหรือไม่มกี ็ได้ ตอนทา้ ยมักเปิดโอกาสใหผ้ ู้ฟงั ซกั ถาม หรอื แสดงความคดิ เหน็ ร่วมดว้ ย 4.8 การสัมภาษณ์ คือ การพดู จาซักถามกันในลักษณะทฝ่ี ่ายหนึ่งตอ้ งการทราบเร่ืองจากอีกฝา่ ย หนึ่ง ฝ่ายที่ซักถามเรียกว่า ผู้สัมภาษณ์ และฝ่ายที่ตอบคาถาม เรียกว่า ผู้ให้สัมภาษณ์ จัดเป็นการสนทนาท่ี ค่อนข้างมีแบบแผนแน่นอน ผู้นาเสนออาจนาเร่ืองท่ีศึกษาค้นคว้ามาใช้เป็นหัวข้อการสัมภาษณ์ก็ได้ เช่น การศึกษาเร่อื งประวตั แิ สตมป์ไทย เปน็ ตน้

73 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร การนาเสนอผลการศกึ ษาค้นควา้ ทางวชิ าการด้วยสื่อประสม 1. ความหมายของการนาเสนอด้วยสอื่ ประสม คาวา่ ส่อื ประสม เปน็ ศัพท์บญั ญตั ิของราชบณั ฑิตยสถาน ตรงกบั คาภาษาอังกฤษวา่ multimedia มีความหมายอธิบายไดเ้ ปน็ 2 ลักษณะ คอื (กดิ านันท์ มลทิ อง, 2548: 192 – 193) 1.1 สื่อประสมแบบด้ังเดิม หมายถึง การนาส่ือหลายประเภทมาใช้ร่วมกันทั้งวัสดุอุปกรณ์และ วิธกี าร เชน่ การฉายภาพยนตร์ การเล่นเกมฝึกทกั ษะ เป็นตน้ 1.2 สื่อประสมแบบใหม่ หมายถึง การนาเสนอข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ในรูปแบบตัวอักขระ ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว เสียง และการมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบ เช่น การนาเสนอด้วยโปรแกรม power point การใช้บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน (CAI) เปน็ ต้น การนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยส่ือประสม หมายถึง การรายงานผลการศึกษาค้นคว้าด้วย การใช้ส่ือและกิจกรรมหลาย ๆ อย่างผสมผสานกัน สื่อในท่ีนี้ครอบคลุมทั้งสื่อดั้งเดิมและสื่อแบบใหม่ที่ใช้ คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ ส่วนกิจกรรม หมายถึง การดาเนินการอย่างใดอย่างหน่ึงเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ โดยทวั่ ไปการนาเสนอดว้ ยสอื่ ประสมมกั จะใชร้ ว่ มกบั การนาเสนอด้วยวาจา 2. จุดมุ่งหมายของการนาเสนอดว้ ยสือ่ ประสม การนาเสนอดว้ ยสือ่ ประสมมจี ดุ มงุ่ หมาย ดังนี้ 2.1 เพื่อเสนอขอ้ มูลและสาระความรจู้ ากการศึกษาคน้ ควา้ ให้ผ้รู บั สารไดท้ ราบ 2.2 เพอื่ เสรมิ ประสิทธิภาพของการนาเสนอดว้ ยเสยี ง ภาพ และขอ้ ความ 2.3 เพื่อดงึ ดูดความสนใจของผู้รับสารใหม้ ากข้นึ 3. ขนั้ ตอนของการนาเสนอด้วยสอื่ ประสม การนาเสนอด้วยส่อื ประสมมี 3 ขน้ั ตอน คลา้ ยคลึงกบั การนาเสนอด้วยการพูด กลา่ วคือ 3.1 ขั้นตอนก่อนนาเสนอ มีการวิเคราะห์ผู้รับสาร โอกาสและกาลเทศะ การเลือกใช้สื่อและ กิจกรรมใหเ้ หมาะสม และเตรียมการใช้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 3.2 ขั้นตอนขณะนาเสนอ เปน็ ขน้ั ตอนของการใชส้ ื่อและการจัดกิจกรรมทเ่ี ตรยี มการไว้ 3.3 ขั้นตอนหลงั การนาเสนอ เป็นขั้นตอนของการประเมินผล วธิ ีประเมินทนี่ ิยมใชม้ าก คือ การ สังเกต การสอบถาม และการใช้แบบประเมนิ ผลการนาเสนอ 4. รปู แบบและวิธกี ารนาเสนอด้วยสอื่ ประสม การนาเสนอดว้ ยสอ่ื ประสมแบ่งไดเ้ ป็น 2 ลกั ษณะ ดังน้ี 4.1 การใช้สื่อ ประกอบดว้ ยโสตวัสดุหรือส่ือทใี่ ช้ฟงั เช่น แถบบนั ทกึ เสยี ง วิทยุ แผ่นซดี ี แผ่นดีวีดี ไฟล์ MP3 ในอินเทอร์เน็ต เป็นต้น ทัศนวัสดุหรือสื่อท่ีใช้ดู เช่น ของจริง ของจาลอง วัสดุกราฟิก เช่น แผนภูมิ แผนภาพ กราฟ การ์ตูน ภาพถ่าย ภาพวาด ฯลฯ แผ่นโปรง่ ใส และเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ สไลด์และเครื่อง

74 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร ฉายสไลด์ เครื่อง video projector เป็นต้น และโสตทัศนวัสดุหรือสื่อที่ใช้ทั้งดูและฟัง เช่น โทรทัศน์ วีดิทัศน์ แผ่นดีวีดี แผน่ วซี ดี ี ภาพยนตร์ เปน็ ตน้ 4.2 การจดั กจิ กรรม เช่น การแสดงบทบาทสมมตุ ิ การแสดงละคร การแสดงกิจกรรมเข้าจงั หวะ การร้องเพลง การสาธิต การจัดนิทรรศการ การประกวด การแข่งขัน การจัดประชุมในรูปแบบต่าง ๆ การไปทัศน ศกึ ษา การจดั ทาโครงการเพ่อื สนบั สนนุ การนาเสนอผลงาน การเดินรณรงค์ การจัดขบวนแห่ เป็นตน้ การนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้า เป็นการผสมผสานกระบวนการทักษสัมพันธ์ทางภาษาเข้ากับ กระบวนการแสวงหาองค์ความรู้ในศาสตร์สาขาต่าง ๆ ทาให้เกดิ การเรียนรูแ้ ละการพัฒนาทางวิชาการ รวมท้ัง ขยายผลให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมสบื ไป

75 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร บทท่ี 4 การใช้ทกั ษะทางภาษาทส่ี มั พนั ธ์กนั ภาษาเป็นส่ือกลางของมนุษย์ที่ใช้ในการติดต่อส่ือสารต่อกัน ความหมายที่เกิดขึ้นจากการสื่อสารจะ ช่วยทาให้มนุษย์บรรลุวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน ดังนั้นการใช้ภาษาเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ท่ีต้ังเอาไว้มนุษย์จึงจาเป็นต้องเข้าใจ “ทักษะทางภาษา” ที่ใช้ในการสื่อสารไม่ว่าจะเป็นวัจนภาษาและอวัจน ภาษา ทักษะทางภาษาน้ันมีหลายประเภทแต่ละประเภทก็มีลักษณะเฉพาะซ่ึงหากเข้าใจในประเด็นดังกล่าว และรู้วธิ ีที่จะนาทักษะเหล่าน้ันมาใช้ให้สอดคล้องกลมกลืนก็ชว่ ยให้ “ความหมาย” ท่ีเกิดจากการสื่อสารในครั้ง นน้ั มีความชัดเจนและทาให้ประสบความสาเร็จในการส่ือสารอีกด้วย ทกั ษะทจ่ี าเป็นต้องเรยี นร้แู ละหม่ันฝึกฝน เพื่อทาให้สามารถนาไปใช้ได้ให้สัมพันธ์กันนั้น ได้แก่ การจับใจความสาคัญ การย่อความและสรุปความ การ วเิ คราะห์ การวจิ ารณ์ การตีความ การขยายความ และการสงั เคราะห์ การจบั ใจความสาคัญ การใช้ภาษาเพื่อสื่อความหมายไม่ว่าจะเป็นการส่งสารหรือรับสาร การเข้าใจตัวสารท่ีนาเสนอมาเป็น สิ่งที่สาคัญอย่างยิ่ง เพราะจะช่วยทาให้การติดต่อส่ือสารกันประสบผลสาเร็จ การจับใจความจึงเป็นส่ิงท่ีแสดง ให้เหน็ ว่าผ้รู บั สารเข้าใจความหมายทอี่ ย่ใู นสารนั้น ๆ การจบั ใจความสาคญั เป็นทกั ษะที่ผู้รับสารต้องหมั่นฝึกฝน อย่างจริงจงั เพือ่ ใหเ้ กดิ ความชานาญในการสื่อสาร 1. ความหมายและลกั ษณะของการจับใจความสาคญั โดยเบื้องต้น “การจับใจความสาคัญเป็นการจับความคิดหลักของสารท่ีผู้ส่งสารเสนอได้ ” (มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนคร, 2533: 232) ลักษณะของใจความสาคัญนั้น คือ เป็นข้อความที่ทาหน้าที่ครอบคลุมใจความสาคัญของข้อความ อื่น ๆ ในตอนหรือย่อหน้าน้ัน ๆ ท้ังหมด ข้อความท่ีนอกเหนือจากนั้นเป็นเพียงรายละเอยี ด หรือขยายใจความ สาคัญเท่านั้น ใจความสาคัญโดยมากเป็นลักษณะของข้อความหรือประโยคใดประโยคหน่ึงภายในย่อหน้า ซ่ึง มกั จะปรากฏอยู่เพียงข้อความหรือประโยคเดียวเว้นแต่ในบางกรณีที่มใี จความสาคัญมากกว่าหน่งึ ขอ้ ความหรือ ประโยค และปรากฏอยู่ในท่ี ๆ ตา่ งกัน (สนทิ ตง้ั ทวี, 2528: 140) ดังนั้น หากผู้ศึกษามีทักษะในการจับใจความที่ดี จะช่วยประหยัดเวลาในการรับสารมาก เพราะใน บางคร้ังไม่ว่าจะเป็นการอ่านหรือการฟัง หากเข้าใจลักษณะของการจับใจความสาคัญก็ทาให้ไม่ต้องเสียเวลาอ่าน หรอื ฟังสาร

76 0010101 ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร 2. หลกั ในการจบั ใจความสาคญั ในการจับใจความสาคญั ส่งิ ทผี่ ้จู ับใจความสาคัญควรปฏบิ ตั ิมดี ังต่อไปน้ี 2.1 ฟังหรืออ่านสารให้จบอย่างครา่ ว ๆ เพ่ือให้ทราบว่าเร่ืองราวที่ได้ฟังหรือได้อ่านนั้นมีเน้ือหา เกีย่ วกับอะไร 2.2 พยายามแยกแยะสารให้ได้ว่าอะไรคือ “ประเด็นหลัก” ที่ผู้ส่งสารต้องการนาเสนอ และ อะไรคือ “การขยายความ” ท่ีผู้ส่งสารตอ้ งการอธบิ ายเพ่ิมเติมเพื่อทาให้ “ประเด็นหลัก” นนั้ มีความชดั เจนมาก ขึ้น โดยการพิจารณาจากตัว “ข้อความ” ว่าส่วนใดคือใจความสาคัญและส่วนใดคือพลความ (หรือส่วนขยาย ความ) “พลความ” หรือส่วนขยายความนั้น อาจเป็นส่วนขยายท่ีประเภทอนุประโยคที่นาหน้าด้วยคาว่า “ที่” “ซ่ึง” หรือ “อัน” ก็ได้ หรือในบางคร้ังอาจอยู่ในรูปแบบของการเปรียบเทียบ การยกตัวอย่าง การให้ เหตุผล หรือการอธิบายขยายความรายละเอียดก็ได้ เม่ือตัดพลความออกแล้วก็จะเหลือแต่ใจความสาคัญซ่ึง ประกอบด้วยประโยคท่ีสมบูรณ์คือมีท้ังภาคประธานและภาคแสดง (กิตติชัย พินโน, อมรชัย คหกิจโกศล (บรรณาธกิ าร), 2554: 156) เช่น “สาขาวิชาเอกภาษาไทยที่ฉันเรียนอยู่มีนักศึกษาท้ังหมด 40 คน” (พลความคืออนุประโยคที่ มี คานาหนา้ วา่ “ท”ี่ นาหน้า) “ผู้ชายคนที่มีหนวดคนนั้นไม่ใส่หมวกกันน็อกและขับรถเร็วปานจรวด” (พลความคือการขยาย ความ ในท่ีน้ีคอื การขยายประธาน คือ “คนทม่ี หี นวด”) “เชิญขวัญชอบฟังเพลงหลายแนว เช่น เพลงป็อบ เพลงแจส๊ เพลงบลูส์ เพลงคลาสสิก” (พลความ คอื การยกตัวอยา่ งประเภทของเพลง) 2.3 เมื่อได้ใจความสาคัญแล้วให้ขีดเส้นใต้และ/หรือทาบันทึกย่อในส่วนหรือย่อหน้าน้ันๆ เพ่ือ ช่วยใหเ้ ขา้ ใจชดั เจนยงิ่ ขึ้น 2.4 ทาบันทึกย่อแยกออกมาอีกครั้งหน่ึง โดยรวบรวมเอาใจความสาคัญท่ีได้ยินหรือได้อ่านมา เรยี บเรยี งใหมด่ ว้ ยภาษาทส่ี ละสลวย เข้าใจง่ายและไมย่ าวจนเกนิ ไป ในการจบั ใจความสาคัญจากการอ่าน สิ่งที่ช่วยทาให้ผู้จับใจความสาคัญประหยัดเวลาโดยท่ีอาจไม่ ตอ้ งเสยี เวลาอ่านข้อความทั้งหมดและสามารถช่วยให้เขา้ ใจส่ิงท่ีกาลังอ่านได้อย่างชัดเจนกว่าการอ่านข้อความ ทั้งหมดก็คือ การเข้าใจตาแหน่งของประโยคหรอื ข้อความท่ีเปน็ ใจความสาคัญในย่อหนา้ โดยทั่วไป การเขียนย่อหน้านนั้ มักจะมีขอ้ ความหรอื ประโยคท่ีเป็นใจความสาคัญของแต่ละย่อหน้า เพียงหนึ่งข้อความหรือหนึ่งประโยค และข้อความที่เหลือเป็นการอธิบายขยายความ ใจความสาคัญในแต่ละ ย่อหน้านนั้ มกั วางในตาแหน่งท่ตี า่ งกนั ดังตอ่ ไปนี้ ประโยคใจความสาคัญอยใู่ นตอนตน้ ย่อหน้า ถอ้ ยคาในภาษามีมากมายและเพิ่มอยู่เสมอ เกนิ กว่าท่ีเราจะร้จู กั ได้ทั้งหมด แต่ก็ไม่ไดเ้ ปน็ อุปสรรค ท่ีทาให้เราไม่เข้าใจภาษาเสียทุกครั้งที่ได้ยินคาแปลกหู เมื่อมีข้อจากัด เช่นไม่มีใครอธิบายความหมายของคา

77 0010101 ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร นั้น ๆ หรือไม่มีพจนานุกรมอยู่ข้างตัว เราอาจเดาโดยอาศัยบริบทก็ได้ แม้จะไม่ถูกเผงเสมอไป แต่ก็ยังพอรู้ ทิศทางของความหมายได้บ้าง (กุสุมา รกั ษมณี, 2547: 52) ในการแยกข้อความในย่อหน้าน้ี จะเห็นได้ว่า มีการขยายความด้วยการยกตัวอย่างหลังคาว่า “เชน่ ” ดังนั้น ข้อความที่เหลือจึงเป็นใจความสาคัญของย่อหน้า เม่ือเรียบเรียงใหม่จะไดว้ ่า “ถ้อยคาในภาษามี มากมายและเพ่มิ ข้นึ เสมอ แตไ่ ม่เป็นอปุ สรรคในการเขา้ ใจคาที่ไม่เคยพบมาก่อน” ประโยคใจความสาคัญอย่ใู นตอนกลางยอ่ หน้า ทุกคนควรบริโภคน้าตาลให้พอเหมาะกับร่างกาย ผู้ที่ต้องการรสหวานโดยไม่ใช้น้าตาลก็มีสารให้ ความหวานทดแทนได้ แต่การใช้สารเหล่านถ้ี ึงแม้จะศึกษาพบว่าปลอดภัยในขณะนี้ก็ตามแต่ในวันข้างหน้าอาจ พบว่าเป็นอันตรายแก่ผู้บริโภคท่ีใช้เป็นเวลานาน ๆ ก็ได้ ดังนั้น วิธีท่ีดีท่ีสุดสาหรับผู้ที่มีข้อจากัดในการบริโภค น้าตาลก็คือ การควบคุมอาหารและเคร่ืองดื่มท่ีมีรสหวานให้น้อยลงเวลารับประทานอาหารต้องไม่เติม นา้ ตาลลงไปในอาหารอีกเลือกซอ้ื ผลไม้ท่ีไมม่ ีรสหวานจัด ไมร่ บั ประทานขนมหวาน คุณควบคุมเร่ืองความหวาน ด้วยตวั คุณเอง จึงจะไม่เปน็ อนั ตรายต่อสุขภาพ จากตัวอย่างดังกล่าวจะเห็นว่า ในตอนต้นของย่อหน้าเป็นการเกร่ินนาถึงความสาคัญของน้าตาล กบั ร่างกาย จากนน้ั จงึ พดู ถึงวิธกี ารควบคุมน้าตาลในร่างกายและขยายความถึงวิธีการในการควบคุม หากนามา เรียบเรียงใหม่จะได้เป็น “การคุมอาหารและเคร่ืองดื่มที่มีรสหวานเป็นวิธีที่ดีที่สุดสาหรับผู้มีข้อจากัดในการ บริโภคนา้ ตาล” ประโยคใจความสาคัญอยทู่ ้ายยอ่ หนา้ เนื่องจากมีการเร่งรัดพัฒนาประเทศในหลาย ๆ ด้าน โดยเฉพาะทางด้านอุตสาหกรรมทาให้ ทรัพยากรที่มีอยู่ลดน้อยลงโดยรวดเร็วป่าไม้ถูกทาลายไปจนเหลือไม่ถึงหนึ่งในส่ีของพ้ืนที่ป่าไม้ทั้งหมดท่ีมีอยู่ เดิมต้นไม้ลาธารก็ถูกทาลายมากจนเกิดปัญหาแห้งแล้งการใช้ธรรมชาติอย่างฟุ่มเฟือยในช่วงเวลาห้าสิบปีได้ กอ่ ใหเ้ กิดปญั หาสงิ่ แวดล้อมอย่างรนุ แรงขน้ึ ในปัจจุบนั จากตัวอย่างดังกล่าวเห็นได้ว่า ในช่วงต้นย่อหน้าจนถึงลางย่อหน้าเป็นการกล่าวถึงรายละเอียด ต่าง ๆ อย่างครอบคลุมเอาไว้ก่อน จากน้ันจึงจบด้วยประโยคที่เป็นใจความสาคัญ หากนามาเรียบเรียงใหม่จะ ไดว้ า่ “การใชธ้ รรมชาติอยา่ งฟุ่มเฟอื ยในช่วง 50 ปที าใหเ้ กดิ ปญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม” ใจความสาคญั อยูห่ ลายสว่ นรวมกนั หนังสือใบลานแต่ละผูกมีความชารุดแตกต่างกัน โดยท่ัวไปแล้วหนังสือใบลานที่เก่ามีอายุมาก ๆ เนื้อลานจะแห้ง มีความกรอบเปราะ มีรอยแตกร้าว รอยฉีกเป็นร้ิว ๆ รอยขาด ปรุพรุน อันเกิดจากหนอน แมลง หรือปลวกกดั กิน หรือเกิดจากสาเหตอุ น่ื ๆ มีเชอ้ื ราหรือคราบสกปรก ลกั ษณะอาการเหลา่ นเ้ี ปน็ ลกั ษณะ แหง่ ความเสียหายท่ีปรากฏมากบา้ งน้อยบา้ งแตกต่างกันไป

78 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร จากตัวอยา่ งดังกล่าว เห็นได้วา่ ในส่วนกลางของย่อหนา้ เป็นรายละเอียดแต่ในขณะที่ส่วนตน้ และ ส่วนท้ายเป็นใจความสาคัญที่แยกออกจากกัน และให้ความหมายไปในทิศทางเดียวกัน หากนามาเรียบเรียง ใหมจ่ ะได้ว่า “หนังสือใบลานมีความชารดุ แตกตา่ งกนั ซงึ่ กแ็ ตกต่างกันไปหลายรปู แบบ” ในการอ่านขอ้ ความที่ยาวมากกว่าหนึ่งย่อหน้านัน้ ผู้จบั ใจความสาคัญควรนาใจความสาคัญของแต่ ละย่อหน้ามารวบรวมและเรียบเรียงใหม่ให้เป็นภาษาที่ชัดเจน สละสลวยและสั้นมากท่ีสุด ซึ่งทั้งหมดล้วน แล้วแตข่ ้นึ อยู่กบั การฝึกฝนและควรเร่มิ จากระดับยอ่ หนา้ และเพ่ิมย่อหนา้ ขน้ึ จนกลายเปน็ เร่ืองขนาดยาว การยอ่ ความและสรปุ ความ การย่อความและการสรุปความเป็นทักษะท่ีสาคัญของการใช้ภาษาเพื่อให้เกิดสัมฤทธิผลในการสื่อ ความหมาย ไม่ว่าจะเป็นผู้ส่งสารหรือรับสาร ทักษะในการย่อความและสรุปความจะช่วยทาให้เข้าใจสารและ สามารถบนั ทึกความคิดท่เี ป็นประโยชนใ์ นการดาเนินชีวิตประจาวนั อีกดว้ ย 1. ความหมายและลักษณะของการยอ่ ความและสรปุ ความ ความหมายของการย่อความมีผู้รู้กล่าวไว้หลากหลายแนวทาง ในที่น้ีจะขอเลือกความหมายที่ ครอบคลุมและนา่ สนใจเอามาไวด้ ว้ ยกนั การย่อความคือ การเก็บใจความสาคัญของเรื่องราวใด ๆ ก็ตามมาเรียบเรียงข้ึนใหม่ให้ครบถ้วน ด้วย ภาษาที่กระชบั รัดกมุ และเป็นสานวนของผู้ย่อเอง โดยไม่เปล่ียนแปลงเรื่องราวของข้อความเดิม (สิทธา พินจิ ภวู ดล, 2516: 7 อ้างถึงใน ไพรถ เลิศพริ ิยกมล, 2543: 58) การยอ่ ความคอื การจับประเด็นของเร่อื ง หรอื การเลือกเฟ้นเอาแตใ่ จความที่สาคัญของเร่ืองแล้วนามา เรียบเรียงใหม่ให้มีเนื้อความกระชับรัดกุม และถูกต้องตามหลักไวยากรณ์โดยใช้สานวนภาษาของผู้ย่อเอง แต่ ความหมายของเรื่องต้องไม่เปล่ียนแปลง (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2521: 221 อ้างถึงใน ไพรถ เลิศพิริยกมล, 2543: 58) โดยสรุป การย่อความน้ันหมายถึงการจับใจความสาคัญของสารแล้วนามาเรียบเรียงใหม่ให้เป็นภาษา ของผู้ย่อความให้สละสลวย กระชับรดั กมุ และชดั เจน โดยทย่ี ังคงความหมายเดิมของสารนั้น ๆ เอาไวไ้ ด้ การสรปุ ความ คือ การรวบรัดใจความ หรอื รวมความเอาแตป่ ระเด็นของเรอ่ื ง กล่าวคือ การสรปุ ความ น้นั ไม่มีอะไรแตกต่างจากการย่อความมากนัก แต่เป็นการย่อความที่มีจดุ มงุ่ หมายเฉพาะเร่ือง (ไพรถ เลิศพิรยิ กมล, 2543: 113) ลักษณะสาคัญของการย่อความและสรปุ ความน้นั สรปุ ได้เปน็ ข้อต่อไปน้ี 1. เป็นการเรยี บเรียงเน้ือความใหม่ โดยใช้สานวนภาษาของผู้ย่อความเองท้ังหมด อย่างไรก็ตาม ต้องคานึงถงึ ความถกู ตอ้ งของการใช้ภาษาดว้ ย 2. ตดั พลความ หรือข้อความหรอื ประโยคท่ีเป็นสว่ นขยายออกคงไว้ซ่งึ ประเด็นสาคัญ

79 0010101 ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร 3. ต้องพยายามคงน้าเสียงของข้อเขียนนั้น ๆ เอาไว้ให้เหมือนเดิม เช่น การประชดประชันหรือ การแสดงความชืน่ ชม 4. ขนาดของย่อความแบ่งออกเปน็ 2 ขนาด คือ ก. ขนาดปกติ ย่อเหลือ 1 ใน 3 ของเนือ้ ความเดมิ หรืออย่างมากไมเ่ กินครึง่ ข. ขนาดส้นั อาจเหลอื ยอ่ เพียง 2-3 บรรทัด 5. การข้ึนต้นย่อความมีรูปแบบเฉพาะตัว มีหลักกว้าง ๆ ซึ่งต้องพยายามเขียนให้ชัดเจน ไพรถ เลิศพริ ิยกมล (2543: 59) กลา่ วไว้วา่ ก. ย่ออะไร ข. ของใคร ค. ท่ไี หน ง. เมอ่ื ไร 2. หลกั การย่อความและสรุปความ ก่อนท่ีจะยอ่ ความและสรปุ ความ ควรทาความเข้าใจเบ้ืองตน้ ในเรื่องเหล่านี้ 2.1 การพิจาณาสาร เมื่อต้องการย่อความและสรุปความควรเข้าใจสารท่ีตัวเองกาลังจะย่อหรือ สรุปกอ่ นวา่ เปน็ สารประเภทใด ไพรถ เลศิ พริ ยิ กมล (2543: 60) แบง่ สารออกเปน็ กลุ่มใหญ่ ๆ 3 ประเภท คอื 2.1.1 สารประเภทร้อยแก้ว หมายถึงงานเขียนที่ใช้ถ้อยคาเป็นความเรียง ไม่มีข้อบังคับในการ แตง่ รอ้ ยแกว้ อาจเปน็ หนังสือ ตารา บทความ ประกาศ จดหมาย ขา่ ว โอวาท บทละคร ประกาศ หรืออ่ืน ๆ อีกมาก 2.1.2 สารประเภทร้อยกรอง หมายถึงงานเขียนที่เป็นคาประพันธ์ มีข้อบังคับในการแต่ง ใหม้ สี มั ผสั คล้องจองกนั ตามลักษณะของคาประพันธ์แตล่ ะชนดิ เชน่ โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย เปน็ ตน้ 2.1.3 สารที่สื่อมาโดยตรง รับรู้ได้ด้วยการฟัง ซึ่งปรากฏอยู่ในรูปแบบของการสนทนา การบรรยาย ปาฐกถา การสัมมนา การสัมภาษณ์ สารประเภทนี้ถ้ารับฟังโดยตรงก็ต้องเตรียมพร้อมที่จะทา ความเข้าใจในขณะท่ีฟัง ตั้งใจจับประเด็น และย่อหรือสรุปเร่ืองในทันทีทันใด ไม่ควรทิ้งไว้นานเพราะอาจจะ หลงลมื เวน้ แตม่ กี ารบันทกึ เสียงเอาไว้แล้วนามาย่อหรอื สรุปในภายหลัง 2.2 วิเคราะห์แยกสารลงไปในรายละเอียด คือควรใช้ความสามารถในการวิเคราะห์สารทั้งใน เรื่องรูปแบบและเน้ือหาทป่ี รากฏออกมา ซึง่ จะมีลกั ษณะท่แี ตกต่างกัน 2.3 การย่อความ หลักและวิธีการในการย่อความและสรุปความมีผู้รู้กล่าวไว้มากมาย แต่ สามารถสรปุ กว้าง ๆ ได้ดังต่อ 2.3.1 อ่านเรื่องหรือฟังให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ โดยเฉพาะการอ่านควรอ่านอย่างน้อย 2-3 คร้ัง หรือการฟงั หากมกี ารบันทึกเสยี งควรนามาเปิดฟงั เพ่ือทบทวนอีกครัง้ 2.3.2 ให้พิจารณาดวู ่าใจความสาคญั ในตอนนนั้ ๆ คอื อะไร 2.3.3 เก็บเอาใจความสาคัญเฉพาะตอนออกมาแล้วทาบันทึกอย่างย่อให้ตนเองเข้าใจง่าย ท่สี ุด

80 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร 2.3.4 นาเอาใจความสาคญั เหล่าน้ันมาเรยี บเรยี งให้เนอ้ื ความตดิ ต่อสมั พันธ์กนั ตามลาดับ 2.3.5 คาสรรพนามที่ใช้ควรเป็นบุรุษท่ี 3 เพราะผู้ย่อเป็นผู้เก็บใจความจากเร่ืองมาเรียบ เรยี งใหม่ ตัวอยา่ งการย่อความและสรุปความ บทความเร่ือง ภาษาพาจร ของ นิตยา กาญจนะวรรณ ข้อสังเกตจากภาษาไทยที่ได้จากถนนน้ียังมีท่ีน่าสนใจอีกหลายประการดังจะได้ยกขึ้นมากล่าวอีก ถึง ดังน้ีมีการยืมคาจากภาษาต่างประเทศมาใช้โดนเปลี่ยนความหมายไปจนเจ้าของภาษาเดิมฟังแล้วต้องงง เช่น “จะต้องไปเข้าวินตอนเช้า” “ไปส่งพ่ีเขาที่วินรถหน่อย” วิน ก็คงมาจาก win นั้นเอง คงจะมาจากแถว สนามม้าท่ีน่าดีใจแทนคนขับรถทุกคนก็คือทุกคนเข้าวินหมดไม่มีใครเข้าเพลซเลย แต่น่าแปลกที่คนเข้าวินทุก คนก็บน่ ว่าจนอยู่เหมือนเดิมมีการเปลีย่ นแปลงความหมายของคาเดิมทีเ่ คยใช้มาแล้วคาเดิมที่วา่ น้ีก็ไมใ่ ช้คานอก วงการถนนหนทาง เป็นคาเดิมที่เคยใช้กันมานั้นเอง เช่น ทางลัด แต่เดิมมาหมายถึง ทางท่ีมีระยะสั้นกว่าถนน ใหญ่ ถ้าถนนใหญ่ท่ีจะนาไปสู่จุดมุ่งหมายปลายทางมีระยะ 10 กิโลเมตร ทางลัดซ่ึงเป็นทางแคบ ๆ อาจจะมี ระยะทางประมาณ 5 - 8 กิโลเมตร แตใ่ นปัจจุบันน้ี ทางลัดอาจจะยาวถึงสองหรือสามเท่าของถนนใหญ่ แต่สิ่ง ท่ีลัดคือเวลา เพราะถ้าใช้ถนนใหญ่อาจจะต้องใช้เวลาถึง 2 ชั่วโมง แต่ถ้าใช้ทางลัดอาจใช้เวลาเพียง 1 ชั่วโมง เทา่ นนั้ ทงั้ ท่ีระยะทางไกลกว่ามกี ารใช้ภาษาอยา่ งมีภาพพจน์ เชน่ “รถชุมมาก” “รถชุกชนุ มาก” น อ ก จ า ก น้ี ศัพท์ท่ีใช้กันอย่างเคยชินจนเป็นภาษาราชการไปแล้ว ก็มีท่ีมาจากการใช้ภาษาอย่างมีภาพพจน์ เช่น สะพานลอย แล้วตอ่ มาก็กลายเปน็ ที่จอดรถลอยฟา้ ทางเดนิ สาหรับเขาขา้ มถนนก็เรยี กกันวา่ ทางม้าลาย ตอ่ มา เมื่อเกดิ มีสะพานลอยสาหรับคนข้ามถนน กเ็ กิดมีคนเรยี กว่าทางม้าลอย แล้วต่อมาก็มีทางม้าลอด คานี้ตอ้ งทาย กนั ดเู องว่าเป็นอะไร อยู่ทีไ่ หนใครตอบได้ เก่ง แต่ไม่มีรางวลั ให้ (นิตยา กาญจนะวรรณ, 2535) จากตัวอย่างดังกล่าวหากพิจารณาตามข้ันตอนและหลักของการย่อความและสรุปความ ในลาดับ แรกคือการพิจารณาสารจะเห็นได้ว่าข้อความดังกล่าวเป็นร้อยแก้ว ประเภทบทความ ซ่ึงมีลักษณะของการ แสดงความคดิ เหน็ ขอ้ ความดังกล่าวตัดตอนมาจากบทความซ่งึ มีเน้อื หาเก่ียวกับการแสดงความเหน็ ในเรอื่ งการ เปลย่ี นแปลงของภาษาไทยในปัจจบุ ัน เมอื่ นามาย่อความและสรุปความแลว้ จะมลี ักษณะดังนี้ “มีข้อน่าสังเกตเกี่ยวกับการใช้ภาษาไทยไทยท่ีพบเห็นได้จากท้องถนน ซ่ึงมีความน่าสนใจ หลาย ประการ ได้แก่ ประการแรกมีการยืมคาจากภาษาต่างประเทศมาใช้ เช่นคาว่า วิน ประการท่ีสองมีการ เปลี่ยนแปลงความหมายไปจากเดิม เช่น ทางลัด เดิมหมายถึง ย่นระยะทาง แต่ปัจจุบันหมายถึงย่นเวลา ประการสุดทา้ ยมีการใช้ภาษาอย่างมีภาพพจน์ เช่น รถชุมมาก สะพานลอย ทางม้าลาย เปน็ ต้น”

81 0010101 ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร การวิเคราะห์ 1. ความหมายและลักษณะของการวเิ คราะห์ พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (2556: 1115) ได้ให้ความหมายคาว่า วิเคราะห์ ไว้ว่า ใคร่ครวญ เช่น วิเคราะห์เหตุการณ์; แยกออกเป็นส่วน ๆ เพ่ือศึกษาให้ถ่องแท้ เช่น วิเคราะห์ปัญหาต่าง ๆ วเิ คราะหข์ า่ ว (ส. วคิ ฺรห). กุหลาบ มัลลิกะมาส (2522: 30) กล่าวว่า การวิเคราะห์เป็นการนาเอาเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงมาพิจารณา อย่างละเอยี ดถถี่ ้วน ใหเ้ ห็นความแตกตา่ ง ความกลมกลนื ขอ้ ดี ขอ้ ดอ้ ยของแต่ละส่วนน้นั ม.ล. บุญเหลือ เทพยสวุ รรณ (2543: 10) อธิบายถึงความหมายของการวิเคราะหแ์ ละลักษณะของการ วิเคราะห์ไว้ว่า คือ การแยกแยะส่วนต่าง ๆ ออกดูให้ถี่ถ้วนที่สุดเท่าท่ีจะทาได้เช่นเดียวกับว่า หากเราจะ พิจารณาพวงมาลัยพวงหน่ึง เราก็จะดูว่า เป็นมาลัยกลมหรือมาลัยเสย้ี ว มาลัยนี้รอ้ ยเพื่อใชใ้ นการใด ใช้ดอกไม้ สอี ะไรถ้าร้อยใหเ้ ป็นลวดลาย ลายนั้นมีความหมายเฉพาะอย่างไรหรือไม่ และลายน้ันเหน็ ชัดเจนหรอื รอ้ ยโดยไม่ มีฝีมอื ทาใหล้ ายนั้นเหน็ ไม่ชดั ดงั น้ันเม่ือรวมความทั้งหมดจะได้ว่าการวิเคราะห์คอื การแยกแยะส่วนประกอบต่าง ๆ ของสารที่ได้รับ ไม่ว่าจะเป็นสารจากการอ่านหรือการฟัง ให้ได้มากที่สุด พิจารณาให้เห็นความแตกต่าง ความกลมกลืน ตลอดจนแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความสัมพันธ์ของความหมายตา่ ง ๆ ทป่ี รากฏอยู่ในสารชิน้ น้ัน การวิเคราะหท์ ่ีดีนั้นย่อมมาจากการฝึกฝนเป็นสาคัญ ผู้วิเคราะห์จะต้องมีทักษะในด้านภาษาเป็นอย่าง มาก โดยควรเร่ิมฝึกฝนตั้งแต่การจับใจความสาคัญ แยกแยะส่วนประกอบต่าง ๆ ของข้อความ พิจารณาจุดดี จุดด้อยของข้อความ ทักษะในการวิเคราะห์ทด่ี ีย่อมจะไปนาไปสู่ทักษะอื่นท่ีสูงข้ึนได้ เช่น การวิจารณ์ และการ สงั เคราะห์ 2. หลักในการวิเคราะห์ การวเิ คราะหม์ ีหลกั และแนวทางอยู่ 4 ประการท่สี าคญั ไดแ้ ก่ 2.1 การวิเคราะหร์ ปู แบบการประพนั ธ์หรือเรียบเรยี งถอ้ ยคา ซึง่ การแบ่งได้เป็น 2 รปู แบบใหญ่ ๆ คอื 2.1.1 รอ้ ยแก้ว หมายถึงความเรียงโดยไม่มีขอ้ บังคับในการเรียบเรยี งถ้อยคา ปรากฏอย่ใู น หนงั สอื ทว่ั ไป ตารา หนงั สอื พมิ พ์ สารคดี เรอ่ื งสนั้ นวนยิ าย เปน็ ต้น 2.1.2 ร้อยกรอง หมายถึงการนาถ้อยคามาเรียบเรียงตามลักษณะข้อบังคับของคา ประพันธป์ ระเภทตา่ ง ๆ ได้แก่ โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน รา่ ย ลิลติ กาพยห์ อ่ โคลง เป็นตน้ 2.2 การวเิ คราะหเ์ นือ้ หา มลี าดับดังตอ่ ไปนี้ 2.2.1 วิเคราะห์ว่าเป็นเน้ือหาประเภทใด ซ่ึงแบ่งกว้าง ๆ ได้เป็น 2 ประเภท คือ สารคดี (Non-Fiction) หมายถึง เร่ืองจริงท่ีมุ่งให้ความรู้และข้อมูลตามข้อเท็จจริง ปรากฏอยู่ในข่าว สารคดี บันทึก จดหมายเหตุ เป็นต้น และ บันเทิงคดี (Fiction) หมายถึง เรื่องแต่งหรือเร่ืองสมมติ เป็นเรื่องราวท่ีเกิดจาก จนิ ตนาการ มงุ่ ใหค้ วามเพลดิ เพลนิ เป็นสาคัญ เชน่ นทิ าน เรือ่ งสั้น นวนิยาย กวีนิพนธ์ เปน็ ต้น

82 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร 2.2.2 วิเคราะหอ์ งค์ประกอบของเนื้อหาดังกลา่ ว โดยทั้งสารคดีจะต้ององค์ประกอบทีค่ วร พิจารณาเหมือนกันคือ โครงเรื่อง แนวความคิด เน้ือเร่ือง และจุดมุ่งหมายของผู้แต่ง แต่บั นเทิงคดีจะมี องค์ประกอบที่ต้องพิจารณาเพ่ิมเติมคือ ตัวละคร ฉากและบรรยากาศ ลักษณะของการพิจารณาองค์ประกอบ ตา่ ง ๆ มีรายละเอยี ดดังต่อไปน้ี 2.2.2.1 โครงเรื่อง หมายถงึ เค้าโครงของเน้ือหาท่ีทาให้เร่ืองราวเป็นไปตามลาดับ เวลา และมีความเป็นเหตุเป็นผลกัน โครงเรื่องจะประกอบด้วยเหตุการณ์หลักและเหตุการณ์ประกอบ เรียงลาดบั กอ่ นหลงั โครงเร่ืองทีด่ ียอ่ มแสดงให้เหน็ ลาดับของเหตุการณ์ทเี่ ปน็ เหตุเปน็ ผลสบื เนอื่ งกัน 2.2.2.2 แนวความคิด หรือแก่นของเร่ือง เป็นความหมายของสารท่ีผู้ส่งสาร ตอ้ งการจะส่ือมายังผู้รับสาร มักปรากฏอยู่ตลอดเรื่องในรูปแบบต่าง ๆ เป็นความคิดเห็นของผู้ส่งสารที่สื่อผ่าน อารมณ์ ความรู้สึกนึกคิดของตัวละคร คาพูดของตัวละคร การพิจารณาแก่นเรื่องต้องทาความเข้าใจเรื่องราว ท้ังหมดตงั้ แต่ต้นจนจบ จากนั้นจึงสรุปจากเหตกุ ารณ์ทั้งหมดของตัวเรื่อง ซ่ึงจะต้องสอดคล้องเชอ่ื มโยงกันอย่าง เปน็ เหตเุ ป็นผล 2.2.2.3 จุดมุ่งหมาย ผู้รับสารต้องพิจารณาว่าผู้ส่งสารต้องการนาเสนออะไร เช่น ให้ความรู้ ให้ความเพลดิ เพลิน แสดงความคิดเห็น ฯลฯ การวิเคราะห์จุดมุ่งหมายของผู้ส่งสารจะทาให้เข้าใจตัว สารหรือความหมายท่ีอยู่ในสารได้รวดเรว็ ชัดเจน และถูกตอ้ ง 2.2.2.4 เน้ือเรื่อง หมายถึง เร่ืองราวทั้งหมด การนาเสนอเน้ือเรื่องท่ีดีจะต้องมี ความขัดแย้งหรือปัญหาที่เกิดข้ึนภายในเร่ือง จากน้ันจึงมีการคลี่คลายปัญหาต่าง ๆ อย่างเป็นเหตุเป็นผล โดยเฉพาะในบทความ ผู้เขียนจะต้องนาเสนอปัญหาหรือข้อขัดแย้งบางอย่างที่เกิดขึ้น แล้วจึงแสดงให้เห็นถึง ข้อเท็จจริงและเหตุผลเพื่อนาไปประกอบกับข้อคิดเห็นของผู้เขียน ซึ่งจะทาให้บทความชิ้นนั้นดูน่าเช่ือถือมาก ข้ึน ส่วนบันเทิงคดีความขัดแย้งอาจเกิดข้ึนจากตัวละคร หรือฉาก หรือองค์ประกอบอ่ืน ๆ ท่ีส่งผลกระทบกัน ทาใหเ้ กิดปมปัญหาหรอื ความขัดแยง้ ภายในตัวละครและกลายเป็นปมของเรื่องน้ัน ๆ 2.2.2.5 ตัวละคร ตัวละครเป็นองค์ประกอบเฉพาะของบันเทิงคดี ตัวละครเป็น เสน่ห์อย่างยิ่งในบันเทิงคดี ผู้เขียนจะบรรยาย พรรณนาบุคลิกลักษณะนิสัยของตัวละครให้ผู้อ่านได้รู้สึกราวกับ ว่าตัวละครตัวน้ัน ๆ มีชีวิตอยู่จริง หรือไม่ก็ทาให้นึกถึงคนที่เราเคยรู้จักตัวละครเป็นองค์ประกอบที่สาคัญของ บันเทิงคดี จนไม่สามารถพิจารณาแยกออกจากองค์ประกอบอ่ืน ๆ เช่น โครงเร่ือง เหตุการณ์ ของบันเทิงคดี เรื่องน้ัน ๆ ตัวละครในบันเทิงคดีแบ่งกว้าง ๆ ได้เป็นสองประเภทคือ ตัวละครมิติเดียว หมายถึง ตัวละครท่ี ผู้อ่านสามารถคาดเดาพฤติกรรมได้ต้ังแต่ต้นจนจบ ตัวละครหลายมิติ หมายถึง ตัวละครที่มีความซับซ้อน มี พฒั นาการสามารถเปลย่ี นแปลงตัวเองไดเ้ มอื่ มเี หตุการณห์ รอื ปัญหาใด ๆ เขา้ มาสู่ชีวิตของตวั ละครนั้น ๆ 2.2.2.6 ฉากและบรรยากาศ ฉาก หมายถึง สถานท่ีที่ตัวละครตัวโลดแล่นอยู่และ สถานท่ีแห่งนั้นมีรายละเอียดของสังคม วัฒนธรรม และเวลา เป็นองค์ประกอบที่สาคัญ บรรยากาศ หมายถึง ความรู้สึกที่เกิดข้ึนอันมีผลมาจากฉาก ดังนั้นท้ังฉากและบรรยากาศจึงเป็นส่งิ ที่ควบคกู่ ันอยู่เสมอ ฉากเป็นสิ่งที่ ส่งอิทธิพลให้แก่ตัวละครและสามารถทาให้ตัวละครมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ฉากที่ดีจึงควรเป็นฉากที่

83 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร สมจริง มคี วามเปน็ เหตเุ ปน็ ผลกบั องค์ประกอบอน่ื ๆ ของเรือ่ ง 2.3 การวิเคราะห์วิธีการเรียบเรียงเรื่องราว การวิเคราะห์ดังกล่าวนี้เป็นการใช้ความชานาญใน การส่งสาร ซ่ึงเกิดจากการฝึกฝน โดยดาเนินเร่ืองราวตามท่ีกาหนดให้น่าสนใจ น่าติดตาม มีความแปลกใหม่ และเปน็ เอกลกั ษณข์ องตนเอง สามารถพจิ ารณาได้จากการตงั้ ช่อื เรอื่ ง การเลา่ เร่ือง และการดาเนินเร่อื ง 2.3.1 การตั้งชื่อเรื่อง ชื่อเรื่องเป็นส่ิงแรกที่ผู้รับสารได้รู้ได้เห็นก่อนเป็นอันดับแรก ดังนั้น ชื่อเรื่องจึงเป็นส่วนทส่ี าคญั เพราะจะช่วยใหผ้ ้รู ับสารสามารถคาดเดาเรื่องราวต่าง ๆ ท่กี าลังจะอ่านได้ ตลอดจน ทาให้ผู้รับสารรู้สึกสนใจที่จะติดตามเร่ืองน้ัน ๆ ตลอดจนจบเรื่อง ดังนั้นชื่อเรื่องท่ีดีต้องครอบคลุมเนื้อหาของ เรื่องราวทั้งหมดได้ และสามารถทาให้ผู้รับสารรู้สึกสนใจท่ีจะติดตามไปจนจบเร่ือง กลวิธีในการต้ังช่ือเร่ืองนั้น มีด้วยกันหลายวิธี เช่น อาจตั้งเป็นคาถาม หรือสานวน นอกจากน้ีการตั้งช่อื ของงานประเภทบันเทิงคดี อาจใช้ ช่ือตัวละครเป็นชื่อเรื่องก็ได้ เช่น “ลมหวน” “ดาวพระศุกร์” “แจ้ง ใบตอง ผู้ย่ิงยงแห่งสวนกล้วย” “มัทรี” เปน็ ต้น หรือตง้ั ชือ่ ตามแนวคิดของเรอื่ ง เช่น “ล่า” “ออกไปข้างใน” “แลไปขา้ งหนา้ ” “ปศี าจ” เปน็ ต้น 2.3.2 วิธีการเล่าเร่ือง การถ่ายทอดเรื่องราวมีหลากหลายวิธีซ่ึงแตกต่างไปตามความชอบ และลักษณะของผู้เล่า บันเทิงคดีบางเรื่องอาจเล่าเร่ืองด้วยการให้ตัวละครเป็นผู้เล่า หรือให้ผู้เล่าไม่ปรากฏตัว แต่เป็นเพียง “เสียง” ทอ่ี ยู่ในเรอื่ งเล่า ซึง่ ผเู้ ล่าเร่อื งแบบน้ีโดยมากเป็นผู้เล่าเรื่องทร่ี ู้แจ้งเห็นจริงตลอดเรือ่ ง รวู้ ่า อดีต ปัจจบุ ัน และอนาคตของตวั ละครแตล่ ะตวั จะเป็นไปอย่างไร เข้าใจอุปนิสยั ของตวั ละคร ผวู้ ิเคราะห์จะตอ้ ง ตดิ ตามไปตลอดเรื่องราวและพจิ ารณาน้าเสียงของการเลา่ เร่ืองใหไ้ ด้วา่ ใครเปน็ ผู้เล่า ในบนั เทงิ คดีร่วมสมยั ผูเ้ ล่า เรือ่ งอาจใช้สรรพนามบุรุษที่ 2 กไ็ ด้ เชน่ “...คุณพยายามอย่างถึงท่ีสุดท่ีจะเป็นคนดี แต่ความรักทาลายความยับย้ังชั่งใจของคุณจน สาบสูญหมดสิ้น ความรกั กัดกินคุณจากข้างใน ทาลายคณุ จนถึงเยอื่ กระดูก คณุ ได้ยินเสียงของการกรอ่ น สลาย นั้น วินาทีหนึ่งคุณรู้ว่ามันจะเป็นเสียงที่จะดังไปชั่วนิรันดร์” (วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา “ฤดูกาลระหว่างเรา”, 2556: 61) 2.3.3 การดาเนินเรื่อง การดาเนินเรื่องคือการเช่ือมโยงเหตุการณ์ให้ต่อเน่ืองกันตั้งแต่ต้น จนจบ สารคดีและบันเทิงคดีที่มีการดาเนินเร่ืองที่ดีต้องมีเน้ือหาท่ีสมบูรณ์ แจ่มแจ้ง ชัดเจน เชื่อมโยงกันอย่าง เป็นเหตุเป็นผล ต้ังแต่คานา การเปิดเร่ือง จนกระทั่งจบเรื่อง ในการวิเคราะห์การดาเนินเรื่องผู้วิเคราะห์ จาเป็นตอ้ งจับให้ไดว้ า่ ผ้สู ่งสารใช้วิธีแบบใดในการเลา่ เร่อื ง ซ่ึงมีวธิ ีการกวา้ ง ๆ ดังน้ี 2.3.3.1 ผสู้ ง่ สารเปดิ เรอื่ งดว้ ยวธิ ีการแบบใด เช่น ใช้ข้อความชวนให้คดิ ต้ังคาถาม หรอื ใช้สานวนโวหารใดในการเปิดเรอื่ ง 2.3.3.2 ผู้ส่งสารสร้างปัญหาหรือข้อขัดแย้งใด ปัญหาดังกล่าวเกิดข้ึนกับตัวละคร หรอื เน้ือเรอื่ งอย่างไร 2.3.3.3 ผู้สง่ สารจดั เรยี งลาดบั เหตุการณ์ในการนาเสนออยา่ งไร 2.3.3.4 ผู้สง่ สารเรา้ ความสนใจอยา่ งไร อะไรจะเกิดข้นึ ในลาดบั ถดั ไป 2.3.3.5 ผู้สง่ สารปิดเรือ่ งอย่างไร เชน่ จบดว้ ยการทิ้งคาถามให้ชวนคิด จบแบบหัก

84 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร มุม จบแบบโศกนาฏกรรม จบแบบทงิ้ ปัญหาโดยไมไ่ ดส้ รปุ อะไรเลย 2.3.4 การวิเคราะห์การใช้ภาษา ในการวิเคราะห์แบบน้ี ผู้วิเคราะห์ต้องมีความรู้ความ เข้าใจในเร่อื งภาษาเป็นอยา่ งดที ้ังในเรอ่ื งของการใชค้ า ประโยค โวหาร 2.3.4.1 การใชค้ าให้พิจารณาจากการเลือกใช้คาทงั้ รูปศพั ท์ เสยี ง และความหมาย ให้ถูกต้องเหมาะสมกับเนื้อเร่ือง อาจเป็นคาง่าย ๆ ส้ัน ๆ ที่กระชับและสื่อความหมายชัดเจน ตรงไปตรงมา หรือ ถ้าหากเป็นศัพท์สูง มีความหมายลกึ ซึ้งให้ผ้วู เิ คราะห์พิจารณาถงึ ความถูกต้องและเหมาะสม 2.3.4.2 การใช้ประโยค ให้พิจารณาว่าใช้ประโยคถูกต้องหรือไม่ วางส่วนขยาย ถกู ต้องหรอื ไม่ มรี ปู ประโยคแบบภาษาตา่ งประเทศหรอื ไม่ 2.3.4.3 การใช้โวหาร ให้พิจารณาว่าใช้โวหารหรือศิลปะการเรียบเรียงเรื่องราว อย่างไร บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร เทศนาโวหาร สาธกโวหาร หรืออุปมาโวหารและพิจารณาว่าโวหารที่ เลอื กใช้เหมาะสมกับเนื้อหาหรือไม่ ใช้ภาพพจน์หรือถ้อยคาที่ทาให้ผู้รับสารไดร้ ับรูแ้ ละเข้าใจและเหน็ ภาพอย่าง ชดั เจนหรือไม่ และใช้วธิ ีอย่างไร การวิจารณ์ 1. ความหมายและลกั ษณะของการวิจารณ์ ความหมายของการวจิ ารณ์มผี รู้ ้กู ล่าวไวม้ ากมายแต่โดยซงึ่ รวบรวมไว้ดงั น้ี วิทย์ ศิวะศริยานนท์ (2518: 215) กล่าวว่า “การวิจารณ์ท่ีแท้คือ การพิจารณาลักษณะของบท ประพนั ธ์ แยกแยะส่วนประกอบท่ีสาคัญและหยิบยกออกมาแสดงวา่ ไพเราะงดงามเพียงไรวเิ คราะหค์ วามหมาย ของบทประพนั ธ์นัน้ ถ้าความหมายซอ่ นเร้นอยู่กใ็ ช้ปัญญาหย่ังไปให้เห็นทะลุปรุโปร่งและแสดงให้ผอู้ ่านเหน็ ตาม ถ้าความหมายกระจัดกระจายอยู่ ก็พยายามปะติดปะต่อให้เป็นรูปเป็นเค้าพอท่ีผู้อ่านจะเข้าใจได้ แสดงหลัก ศิลปะและแนวความคิดของผู้ประพันธ์ซ่ึงเป็นแนวทางในการแต่งหนังสือน้ัน นอกจากนั้น จะต้องเผยให้เห็น ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนประกอบต่าง ๆ ของงานนั้นและชี้ให้เห็นด้วยว่าแต่ละส่วนมีความสาคัญต่อส่วนรวม เพียงไร รวมความว่าการวิจารณ์ คือ การแสดงให้เห็นว่าหนังสือนั้นมีลักษณะอย่างไร ท้ังในส่วนเนื้อเร่ือง ความคิดความเห็นและทานองแต่ง เม่ือได้อธิบายลักษณะของหนังสือให้ผู้อ่านเข้าใจแล้วจริงวินิจฉัยลงไปว่า หนังสอื เล่มนัน้ ดีไม่ดอี ยา่ งไร ควรจดั เข้าไว้ในชน้ั ไหน” ม.ล. บุญเหลือ เทพสุวรรณ (2543: 10-13) กล่าวว่า “ความหมายก็คือการพิจารณา แต่ในขั้นทเ่ี ราจะ ศึกษากันน้ีเราหมายถึง การพิจารณากลวิธี ถ้าเราเพียงแต่พิจารณาเน้ือหา หรือเพียงแต่ตีความได้ และไม่ สามารถพจิ ารณากลวิธขี องผแู้ ต่งหรอื ผู้เขียน ...ถา้ จะเรยี นวรรณคดีเปน็ วิชา เราตอ้ งสามารถพิจารณากลวธิ ีของ ผ้แู ต่ง” เจตนา นาควัชระ (2514) ให้ความหมายเก่ียวกับ “วรรณคดีวิจารณ์” ไว้ในหนังสือ “ทฤษฎีเบ้ืองต้น แห่งวรรณคดี” วา่ “หมายถึง ความคิดเห็นเก่ยี วกับวรรณคดี โดยจะไม่แยกระดับของความลกึ ซง้ึ ว่า 'วรรณคดี

85 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร วิจักษ์' เป็นระดับเบ้ืองต้น และ 'วรรณคดีวจิ ารณ์' เป็นระดับสงู ” นอกจากนี้ยังกล่าวต่อไปว่า นักอ่านหนังสือที่ ดีมักจะชอบแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหนังสือท่ีตนอ่าน ความคิดในขั้นแรกมักจะเป็นไปในทานองว่าชอบ หรือไม่ชอบ บางครั้งจะติว่าดีหรือไม่ดี วรรณคดีวิจารณ์จึงมักเร่ิมด้วยการแสดงความคิดเห็นส่วนตัวท่ีมีต่อ หนงั สอื เล่มน้นั ๆ จดุ เรมิ่ ต้นของวรรณคดีวจิ ารณ์มักจะเร่ิมจากลักษณะท่ีเปน็ อตั นยั (Subjective) แต่ผ้อู า่ นท่ีดี จะไม่หยุดแค่นั้น จะต้องถามตัวเองต่อไปว่า ชอบเร่ืองน้ีเพราะเหตุใด การคิดค้นหาเหตุผลที่จะมาอธิบาย ความรู้สึกของตนเองเปน็ ขั้นตอ่ ไปของวรรณคดีวจิ ารณ์ รวมความทั้งหมดสรุปได้ว่า การวิจารณ์คือการแสดงความคิดเห็นและประเมินคุณค่าของสารท่ีได้รับ ซ่ึงเป็นการพิจารณาตัดสินว่าดีหรือไม่อย่างไร โดยมากเป็นการพิจารณากลวิธีที่ใช้ในการดาเนินเรื่อง ลักษณะ ของเนื้อเรื่อง แนวคิดของเร่ือง ทั้งหมดต้องใช้เหตุผลมาสนับสนุนการประเมินคุณค่า การวิจารณ์ที่ดีจึงต้องทา ใหน้ ่าเชอื่ ถอื ดว้ ยการเชอื่ มโยงกบั การใช้เหตุผลจึงจะทาใหก้ ารวิจารณ์มีความนา่ เช่อื ถอื การวิจารณ์น้ันเป็นทักษะท่ีเกิดจากการพัฒนาทักษะในด้านการวิเคราะห์ ดังน้ันผู้วิจารณ์ท่ีดีย่อมมี ความสามารถในการวิเคราะห์ แยกแยะส่วนประกอบต่าง ๆ ของสารและสามารถประเมินคุณค่าของสารน้ัน ๆ ได้โดยหาเหตแุ ละผลมาสนบั สนนุ สง่ิ ท่ตี นกาลังวิจารณ์ 2. แนวทางในการวิจารณ์ การวิจารณอ์ ย่างมเี หตผุ ลมแี นวทางกว้าง ๆ 4 ประการซึง่ โดยมากกไ็ มต่ า่ งจากการวิเคราะห์ ไดแ้ ก่ 2.1 พิจารณาองค์ประกอบและเนื้อหา ให้พิจารณาว่าองค์ประกอบของสาร เช่น โครงเร่ือง จุดมุ่งหมาย แนวคิด ตัวละคร ฉาก รูปแบบการเรียบเรยี งหรือลักษณะคาประพันธ์ มีความสมบูรณ์ สอดคล้อง กลมกลืนกันหรอื ไม่อย่างไร วเิ คราะหค์ วามสัมพันธ์ระหวา่ งรปู แบบกับเน้ือหา เช่น หากเป็นสารประเภทสารคดี นั้นมีเนื้อหาที่ตรงตามจุดประสงค์หรือไม่ ใช้รูปแบบการเรียบเรียงด้วยความเรียงได้ถูกต้องสละสลวยอย่างไร โดยพยายามพจิ ารณาให้เน้อื หาของสารกบั รูปแบบที่ใช้ให้สอดคล้องกัน 2.2 พิจารณาถ้อยคาและภาษา ให้พิจารณาถ้อยคาที่ใช้ว่ามีความกระชับ ไพเราะ งดงาม สื่อ ความหมายได้ชัดเจน มีน้าหนักน่าเชื่อถือ เหมาะสมกับเน้ือหาและบรรยากาศของเร่ืองหรือไม่ ถ้อยคา ภาษา สานวนโวหาร มลี กั ษณะเฉพาะตวั ทดี่ ีหรอื ไม่ ใชร้ ปู ประโยคดหี รือไมอ่ ย่างไร 2.3 พิจารณากลวิธีการดาเนินเร่ือง กลวิธีการดาเนินเร่ืองเป็นปัจจัยท่ีสาคัญซึ่งทาให้สาร ประเภทเดียวกันหรือมเี นื้อหาเหมือนกันมคี ุณค่าทแ่ี ตกต่างกัน การพจิ ารณากลวิธกี ารดาเนินเรื่องต้องพิจารณา ว่าผู้ส่งสารต้องการนาเสนอปมปัญหาอะไร ผูกเรอื่ งราวได้แน่นหนาอยา่ งไร ใช้วิธแี บบใดในการดาเนินเรือ่ งหรือ เล่าเรื่อง การเรียงลาดับเหตุการณ์มีความเป็นเหตเุ ปน็ ผลกันหรือไม่อย่างไร ความเปลยี่ นแปลงตา่ ง ๆ ท่ีเกิดข้ึน ในเรอ่ื งมคี วามสมเหตสุ มผลหรือไม่อยา่ งไร 2.4 การพจิ ารณาคณุ ค่าของสาร ให้พจิ ารณาคณุ ค่าด้านต่าง ๆ ดงั น้ี 2.4.1 คุณค่าต่อผู้ส่งสาร โดยประเมินว่าผู้ส่งสารนาเสนอเร่ืองราวแปลกใหม่ แสดง พัฒนาการทางด้านความรู้ความคิด ประสบการณ์ ความต้ังใจ มีความประณีตบรรจงในการนาเสนอ มีความ

86 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร แปลกใหม่ที่น่าสนใจในสังคมรว่ มสมยั แสดงการค้นคว้าท่ีมากพอในการนาเสนอข้อมูล ไม่เสนออะไรซ้า ๆ จาก ที่คนอ่นื ๆ เคยเสนอมาแลว้ 2.4.2 คุณค่าต่อผู้รับสาร โดยประเมินว่าสารน้ันช่วยให้ผู้รับสารพัฒนาความรู้ ความคิด หรืออารมณ์ความรสู้ กึ อย่างไร ทาให้ผ้รู ับสารสามารถพฒั นาตนเองไดอ้ ยา่ งไร สามารถขยายจินตนาการ ความรู้ ใหอ้ อกไปกว้างไกลกว่าเดิมไดห้ รือไม่อยา่ งไร 2.4.3 คุณค่าต่อสังคม โดยประเมินว่าเร่ืองราวน้ันสะท้อนความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียม ประเพณี ค่านิยม ความคิด อุดมการณ์ของสังคมได้หรือไม่อย่างไร แสดงให้เห็นภาพของสังคมได้มากน้อย เพยี งใด มคี วามสมจรงิ หรอื ไม่ และทาให้เกดิ ปฏกิ ริ ยิ าของผรู้ บั สารท่ีมตี ่อสังคมท่ีตนเองอยู่ได้มากน้อยเพียงใด ตวั อย่างการวิจารณ์ “ปุถุชนส่วนมากท่ีสุด คอยท่ีจะถือตัวว่าเป็นคนสาคัญกว่าคนอ่ืนอยู่แล้ว พิสูจน์ได้จากการท่ี เห็นมนษุ ย์ดว้ ยกนั ทรามกว่าตน” “ดอกไม้สด” เป็นนามปากกาของ ม.ล. บุปผา นิมานเหมินท์ (นามสกุลเดิม กุญชร) นักเขียนหญิง ยุคแรกของประเทศไทยซ่ึงมีผลงานมาตั้งแต่ก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 จนถึงช่วงต้นของ ทศวรรษ 2490 ผลงานของ “ดอกไม้สด” สร้างช่ือจากการเป็นนักเขียนหญิงยุคแรก ๆ ที่บุกเบิกนวนิยายชีวิต ครอบครัว และเป็นวรรณกรรมที่มีความสมจริงมากข้ึนอันเป็นบุคลิกลักษณะของวรรณกรรมในช่วงเวลา ดังกล่าว การยึดม่ันในความเป็น “ผู้ดี” ที่แท้จริงไม่ว่าจะตกอยู่ในสถานะใดในสังคมของวิมลนั้นสร้าง ความประทับใจให้แก่ผู้อ่านมาหลายยุคหลายสมัย เป็นส่ิงท่ีแสดงให้เห็นว่า “ผู้ดี” น้ันหาได้นิยามด้วยทรัพย์ ศฤงคารใด ๆ แต่ความเปน็ ผูด้ แี ท้ ๆ ยอ่ มหมายถงึ ระเบียบและวถิ ีชวี ติ ท่หี ยัง่ รากลึกลงไปในจิตใจดว้ ยนัน่ เอง ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงในสังคมในยุคประชาธิปไตยซึ่งกาลังผลิดอกออกผล “ผู้ดี” ของ ดอกไมส้ ดไดแ้ สดงให้เหน็ “ความเปล่ียนแปลง” ทเ่ี กิดข้ึนภายในของชนชน้ั นา เชน่ ขนุ น้าขุนนางท้ังหลายทตี่ ้อง เผชิญกับชะตากรรมท่ียากลาบาก หลายคนไม่สามารถทาใจได้ท่ี “อานาจ”อันพึงมีในมือของตนเองต้องมลาย ส้ินไป บางคนปรับตัวได้แต่ก็ต้องพบกับอุปสรรคนานัปการเม่ือเปรยี บเทียบสังคมสมบรู ณาญาสิทธิราชย์ กล่าว ให้ถึงที่สุด “ผู้ดี” ของดอกไม้สด แสดงให้เราเห็นว่า แม้พฤติกรรมและน้าจิตน้าใจของวิมลซ่ึงเป็นตัวแทนของ โลกแบบเกา่ จะนา่ นับถือและชืน่ ชมอย่างไรก็ตาม ชวี ิตในโลกแบบใหม่ก็ทาให้วิมลกระอักกระอ่วนใจไมน่ ้อย แต่ สิ่งที่ทาให้วิมลยังคงยืนหยัดอยู่ในโลกแบบใหม่ได้น่ันก็คือ “ศักดิ์ศรี” ของชนชั้นนาในโลกแบบเก่าและถูกทาให้ เห็นว่าเป็นส่ิงที่ขัดเกลามาเป็นอย่างดีเป็นคุณธรรม เป็นความดีที่ควรยึดมั่นถือม่ัน ด้วยเหตุน้ี ความ เปล่ียนแปลงจากโลกภายนอก(ประชาธิปไตย) เป็นสิ่งท่ีทาให้คุณธรรมและความดีซึ่ง (ถูกทาให้เชื่อว่า) อยู่ ภายในสังคม (ของโลกแบบเก่าหรือสมบูรณาญาสิทธิราชย์) กลายเป็นเหย่ือที่ถูกกระทาย่ายี ทาให้โลกภายใน ตอ้ งสั่นคลอนหรือกลายเปน็ โลกที่เต็มไปด้วยเรื่องยุง่ ยากนนั่ เอง

87 0010101 ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร การตีความ 1. ความหมายและลกั ษณะของการตคี วาม มาลินี ชาญศิลป์ (2540: 104 อ้างถึงใน มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, 2553: 228) กล่าวว่า การ ตีความ ได้แก่ การเข้าใจถึงเร่ืองราวท่ีลึกซ้ึงและมองเห็นได้กว้างขวางหลายแง่หลายมุมและโยงไปสู่เร่ืองท่ี เกี่ยวข้องกนั พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (2556: 502) อธิบายว่า ตีความ หมายถึง ชี้หรือ กาหนดความหมาย; ใหค้ วามหมายหรืออธบิ าย; ใช้หรอื ปรับให้เขา้ ใจเจตนาและความมงุ่ หมายเพ่ือความถูกต้อง ม.ล. บุญเหลือ เทพยสุวรรณ (2539: 155) กล่าวถึงการตีความไว้อย่างน่าสนใจว่า การตีความนั้นมี ลักษณะเป็นอัตวิสัย คน ๆ หนึ่งย่อมตีความส่ิงท่ีได้เห็น ได้รู้ ได้ยินท่ีแตกต่างไปตามประสบการณ์และ สมรรถภาพเชิงนึกคิดของแต่ละคน บุคคลต่างเพศ ต่างวัย ย่อมมีประสบการณ์ที่ต่างกันและมีลักษณะทาง อารมณ์ต่างกัน ดังนั้นก็ย่อมท่ีจะตีความพฤติการณ์ต่างกัน นอกจากนี้ การตีความน้ันยังเป็นส่ิงที่จาเป็นมาก ทสี่ ดุ ในการอ่านหนังสอื อีกด้วย (ม.ล. บุญเหลือ เทพยสวุ รรณ. 2543: 10) จากความหมายของการตีความท่ียกมาพอจะสรุปได้ว่า การตีความนั้นหมายถึงการพิจารณาสารหรือ ความหมายเร่ืองราวต่าง ๆ ให้สามารถเข้าใจได้อย่างแจ่มแจ้งชัดเจน เข้าใจจุดมุ่งหมายของสารในระดับลึก หรืออาจเป็นการพิจารณาสารที่ไม่ปรากฏอย่างตรงไปตรงมา อย่างไรก็ตามการตีความน้ันก็มีลักษณะเฉพาะ บุคคล เน่ืองจากความแตกต่างในเร่ืองวัฒนธรรม วัย เพศ ประสบการณ์ น้ันส่งผลต่อการตีความของแต่ละ บคุ คลอยา่ งมาก 2. ความรู้ท่ีเกย่ี วขอ้ งกับการตีความ การตีความเป็นทักษะท่ีอาศัยความรู้ที่หลากหลายของผู้ตีความเพื่อช่วยให้การตีความสารเป็นไปได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะต่าง ๆ ที่จาเป็นต่อการตีความนั้นเป็นส่ิงที่ต้องฝึกฝน ทั้งจากการอ่าน การฟัง เพื่อ เพม่ิ พูนประสบการณใ์ นการตีความให้ดยี ิง่ ขนึ้ ความรู้ทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับการตคี วามนนั้ สามารถแบ่งไดก้ วา้ ง ๆ ดงั นี้ 2.1 ความรู้ทางดา้ นภาษา ได้แก่ 2.1.1 เสียงและความหมายของคา เสียงและความหมายของคาเป็นองค์ประกอบท่ีมี ความสัมพันธ์กัน ผู้ตีความจึงควรพิจารณาว่าคาและเสียงที่ผู้ส่งสารใช้นั้นมีความสัมพันธ์หรือสอดคล้องไปใน ทิศทางเดียวกันอย่างไร หรือหากผู้ส่งสารจงใจให้คาและเสียงมีความไม่สัมพันธ์กันก็ควรพิจารณาว่าผู้ส่งสาร ต้องการส่ือความหมายใดและมีความสอดคล้องกันหรือไม่ การเข้าใจความหมายของคาก็เป็นเร่ืองท่ีสาคัญ เพราะหลายครั้งผู้สง่ สารใชค้ าทีม่ ีความหมายโดยนัย ดังนน้ั จึงเปน็ หน้าที่ของผู้ตคี วามวา่ ความหมายโดยนัยน้ันผู้ ส่งสารต้องการจะสื่ออะไร กล่าวโดยสรุปผู้ตีความต้องมองหาระบบความสัมพันธ์ของเสียงและคาที่มีผลต่อ ความหมายในสารน้ัน ๆ นนั่ เอง 2.1.2 สานวน หมายถึง ถ้อยคาหรือข้อความพิเศษท่ีเรียบเรียงเป็นคาพูด มีใจความลึกซึ้ง แตกต่างไปตามวัฒนธรรมและการเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย ผู้รับสารต้องรู้จักและเข้าใจความหมายของ

88 0010101 ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร สานวนต่าง ๆ จึงจะตีความได้อย่างถูกต้อง เช่น สานวน “ละเลงขนมเบื้องด้วยปาก” หมายถึง ผู้ท่ีพูดว่าทาส่ิง นั้น ๆ ได้โดยง่าย แต่พอเวลาทาจริงกับทาไม่ได้อย่างที่พูดไว้ นอกจากน้ีสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรมไทย โดยเฉพาะการทาขนมเบ้ืองไทย หากดูเผิน ๆ เหมือนกับว่าทาไม่ยากแต่ท่ีจริงแล้ว ต้องใช้ความชานาญในการ ทาอย่างมากโดยเฉพาะขน้ั ตอนการละเลงแป้งบนกระทะให้เปน็ แผ่น หากไมช่ านาญจริงแผน่ แป้งจะเรยี บบางไม่ เทา่ กนั 2.1.3 ภาพพจน์ หมายถึงถ้อยคาลึกซ้ึงท่ีให้ความหมายหรือภาพแก่ผู้รับสารได้มากกว่า ถอ้ ยคาปกติ การใชถ้ อ้ ยคาในลักษณะภาพพจนม์ ีหลายวิธี เชน่ การเปรียบเทยี บความเหมอื นกันกนั ระหว่างสอง ส่ิง เรียกว่า อุปมาหรืออุปลักษณ์ การทาให้สิ่งที่ไม่มีชีวิตกลายเป็นส่ิงที่ดูเสมือนมนุษย์ เรียกว่า บุคลาธิษฐาน การเลียนเสียงธรรมชาติ เรียกว่า สัทพจน์ การกล่าวเกินจริง เรียกว่า อธิพจน์ เป็นต้น ผู้ตีความควรรู้จักและ เข้าใจภาพพจนต์ า่ งแลว้ พจิ ารณาว่าข้อความหรือสารที่ไดร้ ับมีลกั ษณะตรงกับภาพพจน์แบบใดในภาษาไทย 2.1.4 สัญลักษณ์ เป็นส่ิงท่ีกาหนดให้ใช้แทนความหมายแทนอีกสิ่งหน่ึง ในทางวรรณคดี สัญลักษณ์มีความหมายถึงส่ิงใดสิ่งหน่ึง มักจะเป็นรูปธรรมท่ีแทนเคร่ืองนามธรรม (ม.ล. บุญเหลือ เทพยสุวรรณ. 2543: 21) เช่น ดอกไม้ ใช้แทนหญิงงาม พระเพลิง ใช้แทนความรอ้ นแรง หรืออาจใช้เป็นตัวละครในเร่ืองเป็น ตัวแทนนามธรรม เช่น ทศกัณฑ์ เปน็ ตัวแทนของความช่ัวร้ายของผู้มีอานาจแต่ไม่มีธรรมะ ในแต่ละวัฒนธรรม นัน้ ก็มีการใช้สัญลักษณ์ที่แตกต่างกัน ดังนั้นเมื่อผตู้ ีความเห็นสญั ลักษณ์ใดที่อาจไม่เข้าใจกค็ วรพิจารณาภูมิหลัง ทางวัฒนธรรมเพื่อให้การตีความเปน็ ไปได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 2.2 ความรู้เก่ียวกับภูมิหลังของผู้ส่งสารและสาร ในการตีความหากผู้ตีความมีความรู้ความ เขา้ ใจภูมิหลังของผูส้ ่งสารและตัวสารกจ็ ะทาใหก้ ารตีความเป็นไปได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ สารบางชนิ้ น้ันเกิดข้ึน จากผู้สง่ สารที่มีประสบการณ์ในชว่ งอายุหนง่ึ ๆ ซึง่ หมายถึงผ้สู ่งสารอาจมีประสบการณ์ในการมองโลก ทัศนคติ และค่านิยมท่ีสอดคล้องสัมพันธ์กับยุคสมัยน้ัน ๆ ตัวสารเองก็เช่นกันควรเข้าใจภูมิหลังและท่ีมา เพราะสาร หลายช้ินเกิดขึ้นท่ามกลางบริบททางสังคมท่ีอาจมีความแตกต่างจากสังคมของผู้ตีความทั้งในเร่ือง ประเพณี วัฒนธรรม ความเชอ่ื และความคดิ การเขา้ ใจในเร่ืองเหลา่ นจ้ี ะช่วยการตคี วามมคี วามแม่นยาและชัดเจนขึน้ 2.3 ความรู้พื้นฐานในศาสตร์และวิชาการด้านต่าง ๆ สารท่ีผู้ส่งสารนาเสนอน้ันเป็นการ สะท้อนองค์ความรู้และความเข้าใจของผู้ส่งสารซึ่งอาจมีศาสตร์หลากหลายแขนงปะปนอยู่ หรือหากผู้ตีความ กาลังอา่ นงานวชิ าการก็ควรมีพนื้ ฐานความรขู้ องศาสตร์นัน้ ๆ เพ่อื ความเข้าใจและการตีความทแี่ ม่นยา 3. หลักการตีความสาร 3.1 ฟงั หรอื อ่านแล้วเก็บใจความสาคญั ของเร่อื งราวนัน้ ใหไ้ ด้ 3.2 วิเคราะหร์ ปู แบบการเรียบเรียงเรอื่ งราว วเิ คราะหเ์ นอื้ หา การใช้ภาษา 3.3 พจิ ารณารายละเอียด ดังต่อไปน้ี 3.3.1 แยกแยะข้อเทจ็ จรงิ ขอ้ คิดเหน็ และอารมณค์ วามรสู้ ึกออกจากกัน 3.3.2 พิจารณาผรู้ ับสารว่าไดร้ บั ความรู้ ขอ้ คิดเห็นและอารมณ์ตามทผ่ี สู้ ่งสารต้องการหรือไม่

89 0010101 ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร 3.3.3 พิจารณาผู้ส่งสารว่านอกจากข้อมูลหรือสารที่ปรากฏอย่างชัดเจนแล้วมีข้อมูล ความรู้ หรือความคิดเห็นใดที่ไม่ได้กล่าวไว้โดยตรงอีกบ้าง มีการช้ีแนะไว้หรือไม่ โดยพยายามพิจารณาว่าผู้ส่ง สารคิดอะไรอีก และคดิ อยา่ งไร 3.4 ประมวลข้อมูลต่าง ๆ ตาม 3.1-3.3 แล้วตีความโดยเรียบเรียงเป็นข้อความของผู้ตีความ เองว่าผู้สง่ สารตอ้ งการเสนออะไรแกผ่ ้อู ่านบ้าง ตวั อย่างการตีความ บทกวี วกั ทะเล 1. วักทะเลเทใสจ่ าน รบั ประทานกบั ข้าวขาว เอ้อื มเกบ็ บางดวงดาว ไวค้ ลกุ ขา้ วซาวเกลือกนิ ฯ 2. ดูปูหอยเรงิ ระบา เตน้ ราทาเพลงวงั เวงสิ้น กิง้ ก่าก้ิงกือบิน ไปกนิ ตะวนั และจนั ทรฯ์ 3. คางคกข้นึ วอทอง ลอยลอ่ งทอ่ งเทีย่ วสวรรค์ อง่ึ อ่างไปด้วยกนั เทวดาน้ันหนเี ขา้ กะลาฯ 4. ไส้เดอื นเทีย่ วเก้ียวสาว อัปสรหนาวสัน่ ชน้ั ฟ้า ทกุ จุลนิ ทรีย์อมบิ ้า เชดิ หน้าได้ดิบไดด้ ีฯ 5. เทพไท้เบือ่ หน่ายวิมาน ทะยานลงดนิ มากินขี้ ชมอาจมวา่ มี รสวเิ ศษสดุ ที่กลา่ วคาฯ 6. ป่าสมุ ทุมพุ่มไม้ พดู ได้ปรชั ญาลึกลา้ ขีเ้ ลื่อยละเมอทา คานวณนา้ หนกั แหง่ เงาฯ 7. วเิ ศษใหญ่ใคร่เสวยฟ้า อยู่หล้าเหลวเลวโงเ่ ขลา โลภโกรธหลงมอมเมา งงั่ เอาเถิดประเสรฐิ เอยฯ (อังคาร กลั ยาณพงศ์) วักทะเลเป็นบทกวีของอังคาร กัลยาณพงศ์ ท่ีเขียนขึ้นเม่ือปี พ.ศ. 2506 ในวารสารสังคมศาสตร์ ปริทรรศน์ บทกวีชิ้นน้ีได้สร้างความตื่นตะลึงและความอัศจรรย์ใจแก่ผู้อ่านเป็นอย่างมากด้วยจินตภาพของ กิ้งก่า กิ้งกือ หนอน บินข้ึนไปกินตะวันและดวงจันทร์ ภาพปลิงที่เกาะสวรรค์ เทวดาลงมาเสพอาจม ภาพคน เก็บดาวมาคลุกข้าวซาวเกลือกิน ซ่ึงเป็นภาพท่ีสั่นคลอนความเชื่อและท้าทายความรู้สึกของผู้อ่านเน่ืองจากไม่เคย ปรากฏจินตภาพดงั กล่าวในความเชือ่ ของคนไทยมาก่อน ในแง่นี้ บทกวี “วักทะเล” ทาหน้าที่กระตุ้นเตือนคนในสังคมให้ตระหนักถึงสภาวะวิกฤตทางปัญญา แม้แต่เทวดาที่เป็นภาพอุดมคติที่มนุษย์ยึดและเข้าใจว่าเปน็ ผู้มีบุญน้ัน ก็ยังขาดสติ ถึงกับ “ทะยานลงดินมากินข้ี” แล้วชมว่า “มีรสวิเศษสุดที่กล่าวคา” ซ่ึงเป็นการล้อภาพเทวดาลงมากินง้วนดินอันหอมหวานในวรรณกรรม เรื่อง “โองการแช่งน้า” ที่กล่าวว่า “หอมอายดินเลอก่อน สรดื้นหมู่แมนมา ตนเขา เรืองร่อน หล้าเลอหาว หาวันคืนไป่ได้ จ้าวชมิ ดินแสงหล่น เพียงดับไต้มือมูล” นี้หมายความว่าแม้กระทั่งผู้นาหรือ “ผู้มีบุญ” ทั้งหลาย

90 0010101 ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร ในสังคมก็มิอาจเป็นหลักยึดใด ๆ ได้อีกแล้ว ทกุ คนจึงอยู่ในสภาพของ “ขี้เล่ือยละเมอทา คานวณน้าหนักแห่งเงา” แสดงน้าเสียงเสยี ดเย้ยความเหลวไหลไรส้ าระของมนุษย์ (ธเนศร เวศน์ภาดา. 2549: 137-138) “วักทะเล” จึงเป็นบทกวีท่ีให้ภาพของความบิดเบ้ียวในสังคม ซึ่งสะท้อนสภาวะวิกฤตทางปัญญา บรรดาคุณงามความดีต่าง ๆ ท่ีคนในสังคมเคยนับถือน้ันต่างก็ทะยานลงมาเกลือกกลั้วกับของท่ีผู้คนในสังคม เห็นว่าเป็นของต่า ในขณะเดียวกันของบางอย่างที่ผู้คนในสังคมไม่ให้คุณค่าก็กลับกลายข้ึนไปอยู่ในท่ีสูง ถึง ขนาดว่าทั้งไสเ้ ดือนนน้ั ข้ึนไปเกี้ยวสาวสวรรคใ์ นช้นั ฟา้ จินตภาพท่ีบิดเบ้ยี วและกลับหัวกลบั หางเช่นนีเ้ องเป็นสิ่ง ทกี่ ระตุน้ เตอื นใหเ้ รา ใสใ่ จกบั การใช้ปัญญาใหม้ ากข้ึนกว่าเดิม การขยายความ การขยายความเป็นทักษะท่ีแตกต่างไปจากการตีความ เนื่องจากเป็นทักษะในการส่งสารในขณะทีก่ าร ตีความเป็นทักษะในเรื่องการรับสาร ดังน้ันผู้ส่งสารจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจในระบบความสัมพันธ์ระหว่าง การคดิ และวิธกี ารถ่ายทอดความคิดใหเ้ ป็นระบบ ในการขยายความน้ีผู้ส่งสารควรตระหนักให้ได้ว่าใจความสาคัญของส่ิงท่ีต้องการจะนาเสนอคืออะไร เป็นเนื้อหาแบบใด เพราะเน้ือหาแต่ละประเภทน้ันก็มีวิธีการขยายความที่แตกต่างกัน ผู้ส่งสารควรเข้าใจถึง ความเหมาะสมของเนือ้ หาและวิธกี ารขยายความ 1. ความหมายของการขยายความ การขยายความ คือการใหร้ ายละเอยี ดของประเด็นหลกั ที่ผู้ส่งสารต้องการนาเสนอ เพื่อทาใหผ้ ู้รับ สารเกิดความเข้าใจชัดเจนในเนื้อหาน้ัน ๆ ในบางครั้งใจความสาคัญของสารท่ีนาเสนออาจมีความยากจน เกินไป การขยายความจึงชว่ ยใหก้ ารอธบิ ายประเดน็ หลักน้ัน ๆ ชดั เจนและง่ายมากขึ้น 2. หลกั การขยายความ 2.1 ตอ้ งเขา้ ใจเรื่องราวที่จะขยายความเป็นอยา่ งดี สามารถให้รายละเอียดทีต่ รงประเดน็ ข้อมูล อ้างองิ ถกู ตอ้ ง เชื่อถือได้ เน้อื หาทนั สมัย 2.2 วิเคราะห์ความสามารถในการเข้าใจสารของผู้รับสาร เพ่ือเลือกวิธีการขยายความให้ เหมาะสม และเพื่อพิจารณาในเร่ืองความละเอยี ดลึกซึง้ กวา้ งขวางในการขยายความ 2.3 ใช้ภาษาในการขยายความให้เหมาะสมกับประเภทของสาร และโอกาสที่สื่อสาร ใช้ภาษา สภุ าพ ในภาษาเขียนควรใช้ถ้อยคาที่เขา้ ใจง่าย ถูกต้องตามหลักภาษา ใช้ศัพท์ให้ถกู ต้อง ผูกประโยคให้กระชับ มีใจความสมบรู ณ์ ส่ือสารไดต้ รงตามวัตถุประสงค์ 2.4 ตอ้ งเน้นให้เห็นสาระความคิดในแต่ละประเด็นโดยการใช้ประโยคท่ีแสดงความคิดหลกั และ ประโยคขยายความอืน่ ๆ ทีส่ ามารถสนบั สนนุ ใหผ้ ู้รบั สารเขา้ ใจความคดิ หลกั ในแตล่ ะประเดน็ นั้น ในการสื่อสาร ท่งี า่ ยท่ีสุดโดยเฉพาะการเขียน ประเดน็ หลักหรือใจความสาคญั ควรอยใู่ นย่อหน้าเพยี งหนึ่งประเด็น และที่เหลือ ควรเปน็ การขยายความหรือแสดงตวั อย่างทีป่ ระกอบที่ชว่ ยให้เข้าใจประเด็นหลักนัน้ ๆ

91 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร 2.5 ต้องมีความสมบูรณใ์ นประเดน็ ต่อไปน้ี 2.5.1 เอกภาพ การขยายความต้องนาไปสู่ความเข้าใจในความคิดเรื่องใดเรื่องหน่ึงเพียง เรื่องเดยี ว 2.5.2 สมั พันธภาพ การขยายความต้องลาดับความคิดอย่างเปน็ ระบบ ระเบยี บ ประโยคท่ี ใชข้ ยายต้องนาความคิดให้ดาเนินไปอย่างราบร่นื และมคี วามความสัมพันธ์กับประเดน็ หลักท่ีต้องการนาเสนอ 2.5.3 สารตั ถภาพ การขยายความทุกประเด็นทุกตอนต้องทาให้ผู้รับสารเข้าใจเรอ่ื งราวใน สารท้งั หมดอยา่ งชัดเจน กระจา่ งแจ้ง นาความคดิ ไปใช้ประโยชน์ได้ 2.6 มีการจัดระบบการขยายความตามรูปแบบของสาร สารแต่ละประเภทจะมีการจัดวาง รูปแบบที่แตกต่างกัน ในงานวิชาการซึ่งมีรายละเอียดท่ีซับซ้อนมากต้องมีการจัดวางรูปแบบให้ชัดเจน แบ่ง เน้ือหาเป็นหมวดหมู่ จัดระบบในการนาเสนอให้ชัดเจน การจัดวางรูปแบบดังกล่าวจะช่วยให้ผู้รับสารสามารถ เข้าใจประเด็นหลักของเนื้อหาทผี่ ู้ส่งสารนาเสนอได้อย่างเป็นระบบ 3. วิธีการขยายความ ในการขยายความนั้นสามารถทาได้หลายวิธี ข้ึนอยู่กับเนื้อหาของสารที่ต้องการนาเสนอ ดังน้ันผู้ส่ง สารควรเลือกใชว้ ธิ กี ารให้เหมาะสมกบั เน้อื หา ซ่ึงมีวธิ กี ารดังตอ่ ไปนี้ 3.1 การให้คาจากัดความหรือการให้นิยาม คือการขยายความโดยการกาหนดความหมายของ คาอยา่ งสั้นทีส่ ุด แต่สามารถระบลุ ักษณะเฉพาะทีท่ าให้คาน้ันมีความหมายต่างกันไป ตวั อย่างการขยายความโดยการใหค้ าจากดั ความหรือการใหน้ ิยาม สานวน “อีหรอบ” เดิมเป็นคาที่เพี้ยนมาจากภาษาอังกฤษว่ายุโรปและความหมายเพ้ียนมา ด้วย คือ หมายถึงพวกยุโรปท่ีเรียกกันว่าฝร่ัง แล้วก็เลยนามาเรียกของที่มาจากยุโรปดังในตัวอย่างว่า “เข้า อีหรอบ” เข้า คงจะหมายถึงข้าว ในท่ีน้ีคงจะหมายถึง ข้าวที่มาจากยุโรปหรือ “ดินอีหรอบ” ก็คือดินท่ีมาจาก ยุโรป ปัจจุบันนี้เราออกเสียงคาว่ายุโรปตรงกับเสียงในภาษาอังกฤษ เพราะฉะนั้นคาว่าอีหรอบ จึงไม่ใช้ใน ความหมายว่ายุโรปอีก ปัจจุบันนามาใช้เป็นคาวิเศษณ์หมายถึง ทานองเดียวกัน แบบเดียวกัน ส่วนใหญ่มักจะ พูดวา่ “อีหรอบเดียวกนั ” สังเกตได้ว่า ประเด็นหลักของย่อหน้านี้คือ ประโยคท่ีว่า “ สานวน “อีหรอบ” เดิมเป็นคาที่ เพ้ียนมาจากภาษาอังกฤษว่ายุโรปและความหมายเพ้ียนมาด้วย” ส่วนท่ีเหลือคือการขยายความว่า อะไรคือ “อีหรอบ” และมีความหมายเพ้ียนไปอย่างไร 3.2 การให้รายละเอียด คือ การขยายความให้กว้าง ลกึ ซ้งึ ชดั เจนมากกว่าการใหค้ าจากัดความ อาจขยายใหเ้ ห็นว่าเป็นอย่างไร มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกบั สิง่ ใด จาเปน็ อยา่ งไร กนิ ความถงึ อะไรบ้าง หรือเป็น การบอกลักษณะ คณุ สมบัติ องคป์ ระกอบ ฯลฯ การเรียบเรียงอาจเป็นการบรรยายมีการจาแนกเป็นข้อ ๆ หรือ ใช้แบบพรรณนาโวหารก็ได้

92 0010101 ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร ตวั อย่างการขยายความโดยการใหร้ ายละเอยี ด เตาไมโครเวฟผลิตคล่ืนไมโครเวฟด้วยหลอดแมกนีตรอน ซ่ึงใช้ไฟบ้านและเปล่ียนเป็นพลังงาน คลื่นไมโครเวฟ คลื่นไมโครเวฟที่ผลิตขึ้นมาเพ่ือใช้ทาอาหารให้สุกนี้จะมีขนาดความยาวคลื่นประมาณ 12.5 หรือขนาดความถ่ี 2450 เมกะเฮิร์ตซ์ ซึ่งได้ขนาดความถี่ดังกล่าวท่ีเดินทางเข้าไปในอาหาร จึงช่วยเสริมการส่ัน ของโมเลกุลของน้าในอาหารให้สั่นรุนแรงขึ้น การสั่นท่ีรุนแรงของโมเลกุลของน้านี่เองทาให้เกิดพลังงานความ รอ้ นซ่ึงจะทาใหอ้ าหารสกุ อยา่ งรวดเร็วในทุกบริเวณ จากตัวอย่างดังกล่าว ประโยคที่เป็นประเด็นหลักของย่อหน้าคือ “เตาไมโครเวฟผลิตคลื่น ไมโครเวฟด้วยหลอดแมกนีตรอน” การขยายความในย่อหน้านี้เป็นการให้รายละเอียดถึงการทางานของเตา ไมโครเวฟ วา่ ทางานอย่างไร 3.3 การยกตัวอย่าง คือเป็นการขยายความที่ง่ายที่สุด โดยการนาเอาข้อมูลบางส่วนของส่ิงท่ี กาลงั กลา่ วถึงหรือเรื่องราวต่าง ๆ ท่สี อดคลอ้ งกบั ประเด็นหลกั มาประกอบในการส่งสาร ตวั อยา่ งการขยายความด้วยการยกตวั อยา่ ง ภาษาไทยมีคาศพั ท์ใช้เฉพาะกลุม่ คน ซ่ึงแสดงให้เห็นสภาพสงั คมไทยว่ามีการแบ่งชนชั้น คาที่มี ความหมายว่า “เสียชีวิต” ในภาษาไทยมีหลายคาทีเดียว สามัญชนจะใช้คาว่า “ตาย” รัฐบุรุษใช้คาว่า “อสัญกรรม” ภิกษุใช้คาว่า “มรณภาพ” เชอ้ื พระวงศ์ระดับหม่อมเจ้าใช้คาว่า “สิ้นชีพิตักษัย” สมเด็จพระนาง เจ้าหรือเจ้าฟ้าใช้คาว่า “ส้ินพระชนม์” และสาหรับพระเจ้าอยู่หัวใช้คาว่า “สวรรคต” ศัพท์หลายคาซึ่งมี ความหมายทานองเดียวกันนี้มีอยู่ในภาษาไทยอีกมากมาย ซ่ึงล้วนแล้วแต่เป็นตัวบ่งบอกลักษณะสังคมไทยว่า เคยเป็นสงั คมที่มกี ารแบ่งแยกชนช้นั จากตัวอย่างดังกล่าว ประโยคที่เป็นประเด็นหลักของย่อหน้าคือ “ภาษาไทยมีคาศัพท์ใช้เฉพาะ กลุ่มคน ซึ่งแสดงให้เห็นสภาพสังคมไทยว่ามีการแบ่งชนช้ัน” จากนั้นก็เป็นการยกตัวอย่างคาต่าง พร้อมกับ อธิบายเพือ่ ใหเ้ หน็ ภาพชดั เจนวา่ สังคมไทยเปน็ สังคมทมี่ ีการแบง่ ชนชัน้ 3.4 การเปรียบเทียบ การขยายความในลักษณะน้ีคือ การช้ีให้เห็นถึงความเหมือนหรือ ความแตกตา่ งระหวา่ งส่ิงทตี่ อ้ งการส่ือสารกบั อีกสิ่งหนึง่ ซึง่ จะทาใหผ้ ้รู ับสารสามารถนึกภาพตามได้ง่าย ตวั อย่างการขยายความด้วยการเปรียบเทียบ ฉันเห็นมุมการบานของดอกไม้ว่าเหมือนคนเรา เพราะกิเลสปุถุชนทาให้คนส่วนใหญ่อยาก ก้าวหน้าเร็ว ๆ และขอรวยตลอดไปเหมือนท่ีเราอยากก้าวหน้าเร็ว ๆ และขอรวยตลอดไป เหมือนท่ีเรา อยากเห็นดอกไม้บานเร็ว ๆ และบานนาน ๆ... คนก็เหมือนดอกไม้ บางคนก้าวหน้า...สูงสุดคือช่วงต้นวัย... สาหรับบางคนต้องรอถึงวยั กลางคน คนท่ีขนึ้ เรว็ กค็ งเหมือนบานเชา้ ข้นึ ชา้ แล้วลงเร็วก็คงเป็นจิกน้า ค่อย ๆ ไป ตามครรลองแต่บานนานก็กล้วยไม้ ระบบธรรมชาติกับชะตาชีวิตของคนยังมีอีกหลายมุมท่ีเป็นทานอง สอดคล้องกันในสวนพฤกษชาติกับสวนมนุษยชาติจึงสามารถเปรียบแล้วไปกันได้ เมื่อดูดอกไม้จึงชวนให้คิดถึง

93 0010101 ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร ชีวิตคนให้แง่คดิ ท่ีทาใหเ้ ข้าใจชวี ติ ถ่องแท้กระจา่ งใจ จากตัวอยา่ งดงั กล่าว ประโยคทเ่ี ปน็ ประเดน็ หลกั ของย่อหน้าคือ “ฉนั เห็นมุมการบานของดอกไม้ ว่าเหมือนคนเรา เพราะกิเลสปุถุชนทาให้คนส่วนใหญ่อยากก้าวหน้าเร็ว ๆ และขอรวยตลอดไปเหมือนที่ เราอยากก้าวหน้าเร็ว ๆ และขอรวยตลอดไป” การขยายความในย่อหน้าน้ีทาโดยการเปรียบเทียบกับการ บานของดอกไมก้ บั ชวี ติ ของคน 3.5 การอ้างเหตุผล เป็นการขยายความโดยชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างเหตุกับผล โดยอ้าง จากเหตไุ ปสูผ่ ล หรือผลมาสูเ่ หตกุ ไ็ ด้ เหมาะสาหรับการแสดงความคดิ เหน็ หรอื วจิ ารณ์ ตวั อยา่ งการขยายความดว้ ยการอา้ งเหตุผล ภาษาบาลีสันสกฤตเป็นภาษาต่างประเทศทมี่ ีความสมั พันธ์เกี่ยวข้องกบั เรามากทีส่ ุดเพราะเรา ยืมคาจากทั้งสองภาษาน้ีมาใช้มากมาย ท้ังในพระพุทธศาสนาและชีวิตประจาวัน เราเร่มิ ตน้ ยืมตั้งแต่เม่ือไรเป็น ทีก่ ลา่ วไดย้ าก แมแ้ ต่ในศิลาจารึกหลกั ทีห่ นง่ึ กม็ ีคาบาลสี นั สกฤตใช้แล้ว จากตัวอย่างดังกล่าวประโยคท่ีเป็นประเด็นหลักของย่อหน้าคือ “ภาษาบาลีสันสกฤตเป็น ภาษาตา่ งประเทศท่ีมีความสมั พันธ์เก่ยี วขอ้ งกับเรามากท่ีสดุ ” และการขยายความก็เปน็ การให้เหตุผลว่าเป็น เพราะภาษาไทยมคี ายมื มากมายจากภาษาทั้งสอง และโดยมากก็เป็นคายมื ท่อี ยู่ในพุทธศาสนา 3.6 การอ้างหลักฐาน การขยายความในลักษณะน้ีเป็นการอ้างอิงจากแหล่งข้อมูลหรือผู้รู้ ผูเ้ ช่ียวชาญในเรื่องนนั้ ๆ อาจเปน็ ขอ้ มลู เชงิ สถติ ิ เหตุการณ์จริง หรอื เอกสารต่าง ๆ ท่ีนา่ เชอ่ื ถือ ตัวอย่างการขยายความดว้ ยการอา้ งหลกั ฐาน ทผ่ี ่านมาโครงการเฝา้ ระวงั ความปลอดภัยในผกั ปลอดสารเคมี ของกระทรวงสาธารณสุขได้สุ่มเก็บ ตัวอย่างผักในท้องตลาดทั่วไปมาตรวจอย่างต่อเนื่องมาเป็นเวลา 6 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2537-2542 รวม 156 ตัวอย่างพบว่ามีผักมากถึงร้อยละ 72-73 ที่มีการปนเป้ือนของสารเคมี นอกจากนี้ยังตรวจสอบกับตัวอย่างที่ อ้างวา่ ปลอดสารพิษกพ็ บการตกคา้ งเช่นกัน คอื ประมาณรอ้ ยละ 43.62 จากตัวอยา่ งดงั กล่าว ประเด็นหลักของย่อหนา้ โดยรวมก็คอื มผี ักเปน็ จานวนมากท่ีปนเป้ือนสารพิษ จากนั้นจึงเป็นการขยายความโดยอ้างองิ ข้อมูลเชงิ สถิติ ซ่งึ ทาใหเ้ นอ้ื หาของย่อหนา้ นีม้ ีความน่าเชอื่ ถือมากขน้ึ การสังเคราะห์ การใช้ภาษาเพ่ือการส่ือความหมาย ทักษะท่ีเป็นขั้นสูงสุดของการส่ือสาร เพราะทักษะในการ สงั เคราะห์นั้นจะเกิดขนึ้ ได้ก็ต่อเม่ือมีการฝึกฝนทักษะในการใช้ภาษามามากมาย เช่น การวเิ คราะห์ การตีความ หรือการวิจารณ์ หากสามารถฝึกฝนการสังเคราะห์จนชานาญก็จะทาให้การติดต่อสื่อสารเป็นไปอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ การสังเคราะห์นั้นเป็นทกั ษะท้ังในด้านการรับสารและการสง่ สารไปพร้อม ๆ กนั เนือ่ งจากผู้สงั เคราะห์

94 0010101 ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร ต้องรับสารเข้ามา ตีความ วิเคราะห์ วิจารณ์ จากนั้นจึงนาเสนอสารที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยการรวบรวม และเรียบเรยี งให้เปน็ ภาษาของตวั เอง อกี ท้ังยงั ต้องทาใหเ้ กิดสง่ิ ใหมไ่ ด้ดว้ ย 1. ความหมายของการสงั เคราะห์ เวบสเตอร์ ดิกชันนารี (Webster's new Twentieth Century Dictionary, 1983: 1852 อ้างถึงใน มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. 2553: 236) ได้ให้ความหมายของการสังเคราะห์ (Synthesis) ว่าเป็นการ รวบรวมเข้าด้วยกัน (a putting together) มาจากศัพท์วา่ Syn = together และ Tithenai = to place การ รวบรวมเข้าด้วยกันอาจใช้ในเร่ืองของการเรียงความ (Composition) เรื่องของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่เกิดจากการนา ส่วนต่าง ๆ มาประกอบกัน (a whole made up of parts or elements put together) เร่ืองของปรัชญา (Philosophy) เคมี (Chemistry) การผ่าตัด (Surgery) ดังนั้นการสงั เคราะห์จึงเปน็ ความสามารถในการนาเรื่องราวหรือส่ิงของต่าง ๆ มารวมกันทาให้เกิดเป็น สิ่งใหม่ มีรูปแบบใหม่ การสังเคราะห์ในที่นี้ จึงหมายถึงการสังเคราะห์สารท่ีหมายถึง เน้ือหาของสารใน กระบวนการสื่อสาร ซ่ึงเป็นการนาข้อความ 2 ข้อความขึ้นไปมารวมกัน ผสมผสานอย่างเป็นระเบียบ เกิดเป็น ส่ิงใหม่ มีรูปแบบใหม่ เพ่ือใช้ในการติดตอ่ ส่ือสาร 2. หลักในการสงั เคราะหส์ าร 2.1 ฟงั หรอื อา่ นสารให้ตลอดโดยพยายามทาความเข้าใจและคิดตามไปดว้ ย 2.2 เชื่อมโยงความรู้ท่ีได้ฟงั หรืออ่านกับความรเู้ ดิม 2.3 นาความรู้เหล่าน้ันมาผสมผสานกันแล้วเรียบเรียงด้วยการเขียนหรือพูดเพื่อเสนอให้ผู้อื่น เข้าใจตาม จากข้อ 2.1-2.3 จะเห็นได้ว่าการสังเคราะห์น้ันโดยหลักแล้วคือการรวบรวมข้อมูลท่ีได้จากการรับสาร ทั้งการฟังและการอ่านมาเช่ือมโยงกับความรู้เดิมท่ีมี แล้วนามาเรียบเรียงเพ่ือให้เกิดสิ่งใหม่ ดังน้ัน สิ่งที่สาคัญ ท่ีสุดของการสังเคราะห์ก็คือ การเชื่อมโยงระหว่างสิ่งใหม่ท่ีได้รับกับความรู้เดิมที่มี เมื่อเชื่อมโยงได้ต้องมีการ วเิ คราะหแ์ ละเรียบเรียงข้ึนใหม่ 3. รูปแบบของการสงั เคราะห์สาร การสังเคราะห์สารในการส่ือสารน้ัน เป็นความสามารถของผู้ส่งสารหรือผู้รับสารในการนาถ้อยคา ข้อความ เร่ืองราวความรู้สึกนึกคิด ประสบการณ์ ที่ได้จากการฟังการอ่าน การประสบพบเห็น มาผสมผสาน เรยี บเรยี งดว้ ยคาพดู หรือการพูดเพื่อการสอ่ื สารให้ผู้อนื่ เข้าใจตาม การสังเคราะห์สารให้ผู้อื่นทราบด้วยการเขียน อาจทาได้หลายแบบ แต่หลักใหญ่ของการสังเคราะห์ สารก็คือการรวบรวมสารต่าง ๆ ที่ได้รับมาแล้วนาเสนออย่างเป็นระบบแล้วจะต้องกลายเป็นส่ิงใหม่ อาจเป็น รปู แบบใหม่หรือเนื้อหาแบบใหม่กไ็ ด้ เช่นเดียวกับการรับสาร ได้แก่ การฟังและการอา่ น การสังเคราะห์จะชว่ ย ให้สามารถประมวลข้อความต่าง ๆ ได้อย่างเป็นระบบ และยังช่วยในการเช่ือมโยงองค์ความรู้ต่างท่ีมีอยูก่ ับองค์ ความรู้ใหม่ท่ีเพิ่งได้รับ และทาให้เรารู้ว่าในบรรดาองค์ความรู้ที่มีอยู่มีสิ่งใดที่ต้องพัฒนาหรือหาเพ่ิมเติมเพ่ือทา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook