Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมเล่มชุดวิชา TO BE NUMBER ONE ม.ต้น

รวมเล่มชุดวิชา TO BE NUMBER ONE ม.ต้น

Published by yenesupaporn, 2020-04-16 04:26:14

Description: รวมเล่มชุดวิชา TO BE NUMBER ONE ม.ต้น

Search

Read the Text Version

ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE เปน็ หนึ่งโดยไมพ่ ึ่งยาเสพตดิ สค2300122 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ หนา้ 1

คำนำ ชุดวิชาTO BE NUMBER ONE “เป็นหนึง่ โดยไม่พึ่งยาเสพตดิ ”รหัสรายวิชาสค2300122รายวิชาเลือก ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับโครงการ TO BE NUMBER ONE “เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด”การรู้เท่าทัน สถานการณ์ยาเสพติดในจังหวัดพังงา แนวทางการดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE การจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE 3 ยุทธ ศาสตร์ TO BE NUMBER ONE สู่ก าร ปฏิบัติ และ TO BE NUMBER ONE กบั ภาวะผู้นำและการทำงานเปน็ ทีม และชดุ วชิ านี้มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อให้ผเู้ รยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจ เจตคติท่ีถูกต้อง เกีย่ วกบั การแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ การมีสว่ นร่วม เข้ารว่ มในชมรม TO BE NUMBER ONE สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดพังงา ขอขอบคุณ ผู้เช่ียวชาญเน้อื หา ท่ีให้การสนับสนุนองคค์ วามรูเ้ พือ่ ประกอบการนำเสนอเนือ้ หา รวมท้ังผู้เกี่ยวขอ้ งในการจัดทำชุดวิชา หวงั เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ ชดุ วชิ านี้ จะเกิดประโยชนต์ ่อผ้เู รียน กศน. และนำไปสู่การปฏบิ ตั อิ ย่างเห็นคุณค่าต่อไป สำนักงาน กศน.จังหวัดพังงา ตลุ าคม 2562 ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE เปน็ หนึ่งโดยไมพ่ ่ึงยาเสพติด สค2300122 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ หนา้ 2

สารบญั 1 4 คำนำ คำแนะนำการใช้ชดุ วิชา 6 โครงสร้างชดุ วชิ า 21 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 โครงการ TO BE NUMBER ONE “เป็นหนึง่ โดยไมพ่ ่ึงยาเสพตดิ ” 22 23 เรอ่ื งท่ี 1 ความเป็นมาของโครงการ TO BE NUMBER ONE 29 ในทูลกระหมอ่ มหญงิ อบุ ลรตั นราชกญั ญา สิริวฒั นาพรรณวดี 32 33 เรื่องท่ี 2 ความเป็นมาของโครงการ TO BE NUMBER ONE จงั หวัดพังงา 46 เรอ่ื งท่ี 3 เปา้ หมาย และวัตถุประสงค์การดำเนนิ งานของโครงการ TO BE NUMBER ONE เรอ่ื งที่ 4 คำขวญั และความหมายของคำขวญั โครงการ TO BE NUMBER ONE 57 เร่ืองท่ี 5 สัญลักษณ์ และเพลงในโครงการ TO BE NUMBER ONE เร่อื งท่ี 6 บทบาทหน้าท่ีของหนว่ ยงานหลักท่ีเก่ียวขอ้ งกับ TO BE NUMBER ONE 60 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 การรูเ้ ท่าทนั สถานการณ์ ยาเสพติดในจังหวดั พังงา 62 เรื่องที่ 1 ความรเู้ ก่ียวกับยาเสพติด 62 เร่อื งที่ 2 การวเิ คราะห์ปญั หา สาเหตุ ผลกระทบ และการแพรร่ ะบาดของยาเสพติด 63 69 ในปัจจุบนั ของประเทศไทย 71 74 เรื่องท่ี 3 การวเิ คราะห์ปญั หา สาเหตุ ผลกระทบ และการแพรร่ ะบาดของยาเสพตดิ 80 ในปจั จุบนั ของจังหวัดพงั งา 81 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แนวทางการดำเนนิ งานโครงการ TO BE NUMBER ONE เรื่องที่ 1 กลมุ่ เปา้ หมายผู้เข้าร่วมโครงการ TO BE NUMBER ONE เรื่องท่ี 2 หลักการดำเนินงาน TO BE NUMBER ONE เรอื่ งที่ 3 ยุทธศาสตร์การดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การจัดต้ังชมรม TO BE NUMBER ONE เร่ืองท่ี 1 ความหมาย และความสำคญั ของชมรม TO BE NUMBER ONE เรื่องที่ 2 หลักเกณฑก์ ารตงั้ ชมรม TO BE NUMBER ONE ตามองคป์ ระกอบ “3 ก” เรื่องที่ 3 การมสี ่วนรว่ มหรือจดั ตง้ั ชมรม TO BE NUMBER ONE เรอ่ื งที่ 4 ประเภทของการส่งเขา้ ประกวด ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE เป็นหนึ่งโดยไมพ่ ง่ึ ยาเสพติด สค2300122 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ หน้า 3

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 3 ยทุ ธศาสตร์ TO BE NUMBER ONE สูก่ ารปฏิบัติ 85 เรื่องที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การรณรงค์ปลกุ จิตสำนึกและสร้างกระแสนิยมที่เอื้อต่อการป้องกัน 88 และแก้ไขปญั หายา 93 เรือ่ งที่ 2 ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การเสรมิ สร้างภูมคิ ุม้ กนั ทางจิตใจใหแ้ ก่เยาวชน 98 เรอ่ื งท่ี 3 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การสร้างและพัฒนาเครือข่ายเพ่ือการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หายาเสพตดิ 100 102 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6 TO BE NUMBER ONE กบั ภาวะผ้นู ำและการทำงานเป็นทีม 103 เร่อื งท่ี 1 TO BE NUMBER ONE กบั ภาวะผนู้ ำ 107 เรื่องท่ี 2 คณุ ลักษณะของผู้นำและการสรา้ งภาวะผนู้ ำ เรอ่ื งท่ี 3 TO BE NUMBER ONE กับการทำงานเปน็ ทมี บรรณานกุ รม คณะผจู้ ดั ทำ ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE เป็นหน่ึงโดยไมพ่ ง่ึ ยาเสพติด สค2300122 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ หนา้ 4

คำแนะนำการใชช้ ุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนึง่ โดยไม่พ่งึ ยาเสพติด” ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด” รหัสรายวิชา สค2300122 รายวิชาเลือก ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ประกอบดว้ ยเน้อื หา 2 สว่ น คอื ส่วนที่ 1 ชุดวิชา ประกอบด้วย โครงสร้างของชุดวิชา โครงสร้างของหน่วยการเรียนรู้เนื้อหา และกิจกรรมเรียงลำดับตามหนว่ ยการเรยี นรู้ สว่ นท่ี 2 สมุดบันทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้ ประกอบด้วย แบบทดสอบก่อนเรียนกิจกรรมการเรียนรู้ แบบทดสอบหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เฉลย/แนวคำตอบกิจกรรมเรียงลำดับ ตามหนว่ ยการเรยี นรู้ วธิ กี ารใช้ชุดวิชา ให้ผเู้ รยี นดำเนินการตามขั้นตอน ดงั น้ี 1. ศึกษารายละเอียดโครงสร้างชุดวิชาโดยละเอียด เพื่อให้ผู้เรียนทราบว่าต้องเรียนรู้เนื้อหา ในเรื่องใดบ้างในชดุ วิชาน้ี 2. วางแผนเพื่อกำหนดระยะเวลาและจัดเวลาที่ผู้เรียนมีความพร้อมที่จะศึกษาชุดวิชา เพื่อให้สามารถศึกษารายละเอียดของเนื้อหาได้ครบทุกหน่วยการเรียนรู้ พร้อมทำกิจกรรมที่กำหนดให้ทัน กอ่ นสอบปลายภาคเรยี น 3. ทำแบบทดสอบก่อนเรียนของชุดวิชาตามที่กำหนด เพื่อทราบพื้นฐานความรู้เดิมของผู้เรียน โดยให้ทำลงในสมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด” และตรวจสอบคำตอบจากเฉลยแบบทดสอบทา้ ยเล่ม 4. ศึกษาเนื้อหาในชุดวิชาในแต่ละหน่วยการเรียนรู้อย่างละเอียดให้เข้าใจ ทั้งในชุดวิชา และสือ่ ประกอบ (ถา้ มี) และทำกจิ กรรมท่กี ำหนดไว้ใหค้ รบถ้วน 5. เมื่อทำแต่ละกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว ผู้เรียนสามารถตรวจสอบคำตอบได้จากแนวคำตอบ/ เฉลยท้ายเล่มของสมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ หากผู้เรียนยังทำกิจกรรมไม่ถูกต้อง ให้ผู้เรียนกลับไปทบทวน เน้อื หาสาระในเร่ืองนัน้ ๆ ซำ้ จนกว่าจะเขา้ ใจ 6. เมื่อศึกษาเนื้อหาสาระครบทุกหน่วยการเรียนรู้แล้ว ให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน และตรวจสอบคำตอบจากเฉลยท้ายเล่ม ว่าผู้เรียนสามารถทำแบบทดสอบได้ถูกต้องทุกข้อหรือไม่ หากข้อใด ยังไม่ถูกต้องใหผ้ ู้เรียนกลบั ไปทบทวนเน้อื หาสาระในเรอ่ื งนั้นให้เข้าใจอีกคร้งั หนึง่ ข้อแนะนำ ผู้เรียนควรทำแบบทดสอบหลังเรียนให้ได้คะแนนมากกว่าแบบทดสอบก่อนเรียน และควรไดค้ ะแนนไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 ของแบบทดสอบทงั้ หมด เพื่อใหม้ น่ั ใจวา่ จะสามารถสอบปลายภาคผ่าน ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE เป็นหนึ่งโดยไมพ่ ง่ึ ยาเสพติด สค2300122 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น หน้า 5

7. หากผู้เรียนได้ศึกษาเนื้อหา และทำกิจกรรมแล้วยังไม่เข้าใจ ผู้เรียนสามารถสอบถาม และขอคำแนะนำได้จากครู หรือค้นควา้ จากแหล่งการเรียนร้อู ่ืน ๆ เพม่ิ เติมได้ หมายเหตุ : การทำแบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบหลงั เรยี น และทำกิจกรรมท้ายเรอื่ งในแต่ละหนว่ ยการเรียนรู้ ให้ผเู้ รยี นตอบคำถาม โดยเขียนลงในสมุดบนั ทึกกิจกรรมการเรยี นรปู้ ระกอบชุดวิชา การศกึ ษาค้นคว้าเพม่ิ เติม ผู้เรียนอาจศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมได้จากแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ที่เผยแพร่ความรู้ในเรือ่ งที่เกีย่ วขอ้ ง และศึกษาจากผ้รู ู้ เปน็ ต้น การวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน ผเู้ รียนต้องวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ดังนี้ 1. ระหว่างภาค วดั ผลจากการทำกิจกรรมหรืองานทไ่ี ด้รับมอบหมายระหวา่ งเรยี น 2. ปลายภาค วดั ผลจากการทำขอ้ สอบวดั ผลสัมฤทธ์ิปลายภาคเรยี น ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE เปน็ หนง่ึ โดยไมพ่ ่งึ ยาเสพติด สค2300122 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น หน้า 6

โครงสร้างชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหนงึ่ โดยไม่พงึ่ ยาเสพติด” สาระการพัฒนาสังคม มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ มคี วามรู้ ความเข้าใจ หลกั การพัฒนาชุมชน สังคม สามารถวเิ คราะห์ข้อมูล และกำหนดแนวทาง การพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม ใหส้ อดคล้องกับสภาพการเปล่ียนแปลงของเหตกุ ารณป์ ัจจบุ นั ตัวชี้วดั 1. อธิบายความเปน็ มาของโครงการTOBENUMBERONEในทูลกระหมอ่ มหญงิ อุบลรตั นราชกัญญาสิรวิ ฒั นาพรรณวดี 2. อธบิ ายความเปน็ มาของโครงการ TO BE NUMBER ONE จังหวัดพงั งา 3. ระบุเปา้ หมาย และวัตถปุ ระสงคก์ ารดำเนินงานของโครงการ TO BE NUMBER ONE 4. อธบิ ายและยกตวั อย่างคำขวัญ และความหมายของคำขวญั โครงการ TO BE NUMBER ONE 5. อธบิ ายสญั ลกั ษณ์ และรอ้ งเพลงในโครงการ TO BE NUMBER ONE 6. ระบุบทบาทหน้าทข่ี องหนว่ ยงานหลักทเ่ี กีย่ วข้องกับ TO BE NUMBER ONE 7. อธบิ ายความรูเ้ ก่ียวกับยาเสพติด 8. วเิ คราะห์ปัญหาสาเหตุ ผลกระทบและการแพร่ระบาดของยาเสพติดในปจั จุบนั ของประเทศไทย 9. วเิ คราะห์ปญั หาสาเหตุ ผลกระทบและการแพร่ระบาดของยาเสพติดในปจั จบุ นั ของจังหวัดพังงา 10. อธิบายและยกตัวอย่างกลุ่มเปา้ หมายผู้เขา้ รว่ มโครงการ TO BE NUMBER ONE 11. อธบิ ายหลกั การดำเนนิ งาน TO BE NUMBER ONE 12. อธบิ ายยทุ ธศาสตร์การดำเนินงาน TO BE NUMBER ONE 13. อธบิ ายความหมาย และความสำคญั ของชมรม TO BE NUMBER ONE 14. อธบิ ายหลกั เกณฑก์ ารตง้ั ชมรม TO BE NUMBER ONE ตามองค์ประกอบ “3 ก” 15. อธบิ ายการมีสว่ นร่วมหรอื จดั ตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE 16. อธบิ ายประเภทของการสง่ เข้าประกวด 17. อธบิ ายและฝึกปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตามยุทธศาสตร์ที่ 1การรณรงค์ปลุกจิตสำนึกและสรา้ งกระแสนยิ ม ทเี่ ออ้ื ต่อการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หายาเสพติด 18. อธิบายและฝึกปฏบิ ัติกิจกรรมยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 การเสริมสรา้ งภูมคิ มุ้ กันทางจิตใจใหแ้ กเ่ ยาวชน 19. อธิบายและฝกึ ปฏบิ ัติกิจกรรมตามยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 การสร้างและพัฒนาเครือข่าย เพอื่ การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ 20. อธบิ ายความหมาย บทบาทและองค์ประกอบของภาวะผนู้ ำ 21. อธิบายความหมายคณุ ลักษณะและการสรา้ งภาวะผู้นำ 22. อธิบายความหมายความสำคญั ลกั ษณะของการทำงานเปน็ ทมี ทม่ี ปี ระสิทธภิ าพและกลยุทธ์ในการสร้างทมี งาน ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE เป็นหนงึ่ โดยไมพ่ ึ่งยาเสพตดิ สค2300122 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น หน้า 7

สาระสำคัญ TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนึ่งโดยไม่พึง่ ยาเสพติด ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เป็นการเรยี นรู้ เกี่ยวกับโครงการ TO BE NUMBER ONE “เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด” การรู้เท่าทันสถานการณ์ ยาเสพติด ในจงั หวัดพังงา แนวทางการดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE การจัดตง้ั ชมรม TO BE NUMBER ONE 3 ยุทธศาสตร์ TO BE NUMBER ONE ส่กู ารปฏบิ ตั ิ และ TO BE NUMBER ONE กับภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทีม ขอบขา่ ยเนอ้ื หา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โครงการ TO BE NUMBER ONE “เป็นหน่ึงโดยไมพ่ ่งึ ยาเสพติด” หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การรเู้ ทา่ ทันสถานการณ์ ยาเสพตดิ ในจังหวัดพงั งา หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 แนวทางการดำเนนิ งานโครงการ TO BE NUMBER ONE หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 การจดั ต้ังชมรม TO BE NUMBER ONE หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 3 ยทุ ธศาสตร์ TO BE NUMBER ONEสกู่ ารปฏบิ ัติ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6 TO BE NUMBER ONE กับภาวะผูน้ ำและการทำงานเป็นทมี สื่อประกอบการเรียนรู้ 1. ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE เปน็ หนงึ่ โดยพ่งึ ยาเสพตดิ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 2. สมดุ บันทึกกจิ กรรมการเรียนร้ปู ระกอบชุดวชิ า 3. สือ่ เสริมการเรยี นรู้อนื่ ๆ จำนวนหนว่ ยกติ จำนวน 2 หน่วยกติ กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ทำแบบทดสอบก่อนเรียน ในสมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดวิชา และตรวจสอบ คำตอบจากเฉลยทา้ ยเล่ม 2. ศึกษาเนอ้ื หาสาระในหนว่ ยการเรยี นรูท้ กุ หน่วย 3. ทำกิจกรรมตามที่กำหนด ในสมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดวิชา และตรวจสอบ คำตอบจากเฉลยท้ายเลม่ 4. ทำแบบทดสอบหลงั เรยี น ในสมุดบนั ทึกกจิ กรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วิชาและตรวจสอบคำตอบจากเฉลยทา้ ยเล่ม การประเมนิ ผล 1. ทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน 2. ทำกจิ กรรมในแต่ละหนว่ ยการเรยี นรู้ 3. เข้ารับการทดสอบปลายภาค ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE เปน็ หนง่ึ โดยไมพ่ ่งึ ยาเสพตดิ สค2300122 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ หน้า 8

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 โครงการ TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนึ่งโดยไมพ่ งึ่ ยาเสพติด” สาระสำคัญ ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงมีความห่วงใยต่อประชาชนชาวไทย ในปัญหายาเสพติดทีม่ กี ารแพรร่ ะบาดในทุกพนื้ ท่ีของประเทศไทย ท่ีมีความรุนแรงมากขึ้นทกุ ขณะ โดยเฉพาะกลุ่ม เด็กและเยาวชนที่เป็นกลุม่ ขนาดใหญ่ และเป็นกลุ่มที่มีคุณค่าอยา่ งยิง่ ต่อการพัฒนาประเทศ นอกจากนีย้ ังถือเปน็ กลุ่มที่เสีย่ งตอ่ การติดยาเสพติดสงู เนื่องจากเป็นวยั ท่ีต้องการเรียนรู้ และยงั ขาดวุฒภิ าวะทางอารมณ์ท่ดี ีพอ รวมทั้ง ต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกายและจิตใจ จึงทรงพระกรุณาธิคุณรับเป็นองค์ประธานโครงการรณรงค์ ป้องกันและแก้ไขปญั หายาเสพติด ซง่ึ ปจั จุบนั ได้ใชช้ ือ่ เพ่อื ใหง้ ่ายต่อการรณรงค์ว่าโครงการ TO BE NUMBER ONE เพื่อรณรงค์ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหายาเสพติดภายในประเทศ ให้ดำเนินไปด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ โดยความร่วมมือและรวมพลังจากภาครัฐและเอกชน กระตุ้นและปลุกจิตสำนึกของปวงชนในชาติให้มีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการที่จะเอาชนะปัญหายาเสพติด ที่กำลังส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศทั้งด้าน เศรษฐกิจ สังคมและสงิ่ แวดลอ้ ม รวมทั้งด้านการเมืองและความม่นั คงของประเทศ และเปน็ ปัญหาสำคญั ระดับชาติ ถือเปน็ นโยบายที่ต้องเรง่ ดำเนินการแกไ้ ขอยา่ งจริงจัง ตัวชว้ี ัด 1. อธิบายความเป็นมาของโครงการ TO BE NUMBER ONE ในทูลกระหมอ่ มหญงิ อบุ ลรัตนราชกัญญา สริ วิ ัฒนาพรรณวดี 2. อธบิ ายความเปน็ มาของโครงการ TO BE NUMBER ONE จังหวดั พังงา 3. ระบุเปา้ หมาย และวัตถุประสงค์การดำเนนิ งานของโครงการ TO BE NUMBER ONE 4. อธิบายและยกตวั อยา่ งคำขวัญ และความหมายของคำขวัญโครงการ TO BE NUMBER ONE 5. อธิบายสัญลกั ษณ์ และร้องเพลงในโครงการ TO BE NUMBER ONE 6. ระบบุ ทบาทหนา้ ทีข่ องหนว่ ยงานหลกั ทเี่ กี่ยวขอ้ งกับ TO BE NUMBER ONE ในพื้นที่จงั หวัดพังงา “7 Setting” ขอบขา่ ยเน้ือหา เร่อื งที่ 1. ความเปน็ มาของโครงการ TO BE NUMBER ONE ในทลู กระหมอ่ มหญิงอบุ ลรตั นราชกญั ญา สริ ิวัฒนาพรรณวดี เร่ืองท่ี 2. ความเปน็ มาของโครงการ TO BE NUMBER ONE จงั หวดั พงั งา เรอ่ื งท่ี 3. เป้าหมาย และวัตถปุ ระสงค์การดำเนินงานของโครงการ TO BE NUMBER ONE ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE เปน็ หน่งึ โดยไมพ่ ึง่ ยาเสพติด สค2300122 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น หน้า 1

เรือ่ งที่ 4. คำขวญั และความหมายของคำขวญั โครงการ TO BE NUMBER ONE 4.1 คำขวัญโครงการ TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่ึงโดยไมพ่ งึ่ ยาเสพตดิ ” 4.2 ความหมายของคำขวัญ โครงการ TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนึ่งโดยไมพ่ งึ่ ยาเสพตดิ ” เร่อื งที่ 5. สัญลักษณ์ และเพลงในโครงการ TO BE NUMBER ONE 5.1 สัญลกั ษณข์ องโครงการ TO BE NUMBER ONE 5.1.1 โลโก้ 5.1.2 เข็มกลดั 5.1.3 สญั ลกั ษณ์เฉลมิ ฉลองครบรอบ 5.2 เพลงในโครงการ TO BE NUMBER ONE 5.2.1 เพลง TO BE NUMBER ONE 5.2.2 เพลง TO BE NUMBER ONE “ไม่มีอะไรไกลเกินฝัน” 5.2.3 เพลง เกง่ และดี TO BE NUMBER ONE 5.2.4 เพลง เป็นหนึง่ ไมพ่ ง่ึ ยาเสพติด 5.2.5 เพลง รกั เม่ือพร้อม เรอื่ งที่ 6. บทบาทหนา้ ท่ีของหนว่ ยงานหลักท่เี กีย่ วขอ้ งกบั TO BE NUMBER ONE ในพน้ื ทจ่ี งั หวดั พงั งา “7 Setting” 6.1 Setting จงั หวัด 6.1.1 ทที่ ำการปกครองจังหวดั พังงา 6.1.2 สำนักงานสาธารณสุขจงั หวดั พังงา 6.2 Setting สถานประกอบการ 6.2.1 สำนกั งานแรงงานจังหวัดพงั งา 6.3 Setting ชมุ ชน 6.3.1 สำนกั งานพฒั นาชมุ ชนจังหวัดพงั งา 6.4 Setting สถานศึกษา 6.4.1 สำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดพงั งา 6.4.2 สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต 14 6.4.3 สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาจงั หวัดพงั งา 6.4.4 สำนักงานอาชีวศึกษาจงั หวัดพงั งา 6.4.5 สำนักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวัดพงั งา 6.5 Setting สถานพินจิ 6.5.1 สถานพินิจและคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชนจังหวดั พังงา 6.6 Setting คุมประพฤติ ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE เป็นหน่ึงโดยไมพ่ ง่ึ ยาเสพตดิ สค2300122 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ หนา้ 2

6.6.1 สำนกั งานคุมประพฤติจังหวดั พังงา 6.7 Setting เรือนจำ 6.7.1 เรอื นจำจังหวัดพังงา 6.7.2 เรือนจำอำเภอตะกว่ั ปา่ เวลาท่ีใชใ้ นการศกึ ษา จำนวน 8 ชั่วโมง สื่อการเรียนรู้ 1. ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE เปน็ หนึ่งโดยไม่พ่ึงยาเสพติด ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น 2. สมดุ บันทึกกิจกรรมรายวิชา TO BE NUMBER ONE “เป็นหนงึ่ โดยไม่พ่งึ ยาเสพติด” 3. สอ่ื เสริมการเรยี นรู้อนื่ ๆ ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE เป็นหนึ่งโดยไมพ่ งึ่ ยาเสพตดิ สค2300122 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ หนา้ 3

เรอื่ งที่ 1 ความเป็นมาของโครงการ TO BE NUMBER ONE ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิรวิ ัฒนาพรรณวดี “ยาเสพติด”ปัญหาสำคัญระดับชาติที่รัฐบาลถือเป็นนโยบายที่ต้องเร่งดำเนินการแก้ ไขอย่างจริงจัง ทั้งนี้เพราะปัญหายาเสพติดที่มีการแพร่ระบาดในทุกพื้นที่ของประเทศไทย ได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกขณะ ส่งผลกระทบต่อการพฒั นาประเทศ ทั้งด้านเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งด้านการเมืองและความมัน่ คง ของประเทศ ต้ังแตป่ ี 2542 เปน็ ตน้ มา สภาพปัญหายาเสพติดเปลย่ี นแปลงไปจากทเ่ี ป็นอยู่ในอดตี อย่างส้ินเชิง จากเดิม ที่“เฮโรอีน”เป็นปัญหาสำคัญที่ตำรวจต้องเร่งปราบปรามใหส้ ิ้นซาก กลายเป็น“ยาบ้า”หรือสารเมทแอมเฟตามีน ที่กำลังระบาดตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียน ชุมชนสังคมและประเทศ จากข้อมูลการสำรวจพบว่า มีเยาวชน จำนวนกว่า 6 แสนคน หลงเข้าสู่วังวนของยาบ้า และดูจากสถิตินักโทษเด็ดขาดของกรมราชทัณฑ์ที่ถูกจำคุก อยู่ตามทัณฑสถานทั่วประเทศ สำรวจ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2543 มีจำนวนรวมทั้งสิ้น 137,344 คน ในจำนวนน้ี เป็นนักโทษคดียาเสพติด เกินกว่าครึ่ง คือประมาณ 87,966 คน คิดเป็นร้อยละ 64.05 และในจำนวนนักโทษ คดียาเสพติดเหล่านี้มีจำนวนมากถึง 27,499 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 31.26 ของนักโทษคดียาเสพติดที่ต้องโทษ ในคดีเสพหรอื ครอบครองและท้ังเสพและครอบครอง ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงมีความห่วงใยต่อประชาชนชาวไทย เป็นอยา่ งยิง่ โดยเฉพาะกล่มุ เด็กและเยาวชนทีเ่ ปน็ กลุ่มขนาดใหญ่ เพราะมีจำนวนถึง 21 ล้านคน และเป็นกลุ่มท่ีมี คุณค่าอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศ นอกจากนี้ยังถือเป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อการติดยาเสพติดสูง เนื่องจากเป็นวัยที่ ต้องการเรียนรู้ ในสง่ิ ตา่ ง ๆ แตย่ ังขาดวุฒิภาวะทางอารมณ์ที่ดีพอ รวมทงั้ ตอ้ งเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทั้งร่างกาย และจิตใจ จงึ ทรงพระกรณุ าธิคณุ รบั เป็นองค์ประธานโครงการรณรงคป์ ้องกนั และแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ซง่ึ ปัจจุบัน ได้ใช้ชื่อเพื่อให้ง่ายต่อการรณรงค์ว่าโครงการ TO BE NUMBER ONE เพื่อรณรงค์ป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด ภายในประเทศให้ดำเนินไปด้วยความเรียบร้อย และมีประสิทธิภาพ โดยความร่วมมือและรวมพลังจากภาครัฐ และเอกชน กระตุ้นและปลุกจติ สำนึกของปวงชนในชาติให้มคี วามรู้ ความเข้าใจและตระหนักวา่ การที่จะเอาชนะ ปัญหายาเสพตดิ มใิ ชห่ น้าท่ขี องบุคคลใดบคุ คลหน่ึง หรอื องคก์ รใดองค์กรหนึง่ แตท่ ุกคนในชาติจะตอ้ งร่วมแรงร่วมใจ กันเป็นพลังของแผ่นดิน ที่จะต่อสู้และเอาชนะปัญหายาเสพติดให้ได้โดยเร็ว โดยทรงมีพระประสงค์มุ่งเน้นการ รณรงค์ในกลุ่มเป้าหมายหลักคือ วัยรุ่นและเยาวชน โดยกลวิธีสร้างกระแสการแสดงพลังอย่างถูกต้อง โดยไม่ข้องแวะ กับยาเสพติด การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตให้แก่เยาวชนในชุมชน จัดระบบการบำบัดรักษารองรับภายใต้โครงการ “ใครติดยา ยกมือข้ึน” ทัง้ นีเ้ พอ่ื คนื คนดีสู่สังคมและป้องกันการกลบั มาเสพซำ้ ตลอดจนการสร้างเครือข่ายสมาชิก และชมรม TO BE NUMBER ONE เพ่อื ร่วมกนั รณรงคแ์ ละจดั กิจกรรมป้องกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพติด เป็นเสมือน การเติมสิ่งที่ดีให้กับชีวิต เพื่อให้เกิดค่านิยมของการเป็นหนึ่ง โดยไม่พึ่งยาเสพติด ดังพระราชดำรัสในวโรกาส ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE เป็นหนึ่งโดยไมพ่ ่ึงยาเสพติด สค2300122 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ หน้า 4

การแถลงข่าวเปิดตัวโครงการ “TO BE NUMBER ONE ” เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2545 ณ ห้องประชุม กระทรวงสาธารณสุข ความว่า “กิจกรรมในโครงการ TO BE NUMBER ONE จะเบนความสนใจจากการหา ความสุขชั่วครั้งชั่วคราวจากยาเสพติด อยากให้โครงการนี้สำเร็จด้วยดี แต่จะทำคนเดียวไม่ได้ จึงขอความ ร่วมมือจากทกุ ท่าน” ดังนั้น โครงการ TO BE NUMBER ONE จึงเริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ ปี 2545 จนถึงปัจจุบัน โดยมี กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณะสุข ได้รับมอบหมายทำหน้าที่เลขานุการโครงการ เพื่อเป็นแกนกลาง ในการประสานความร่วมมือระหว่างหนว่ ยงานทเี่ กีย่ วขอ้ งท้ังภาครัฐและเอกชน โครงการ TO BE NUMBER ONE หรือโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ในทูลกระหมอ่ มหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี มีเป้าหมายการพัฒนาเยาวชน วัยรุ่น ให้มีภูมิคุ้มกัน ทางด้านจิตใจ และเปิดโอกาสให้ผู้เสพยาเสพติด เปิดเผยตัวเองเข้ารับการบำบัดรักษา ฟื้นฟูโดยสมัครใจภายใต้ กิจกรรม “ใครติดยายกมือขึ้น” โดยมียุทธศาสตร์และวิธกี ารดำเนินโครงการท่ียึดวัยรุ่นและเยาวชนเป็นศนู ย์กลาง บนพื้นฐานการเข้าถึงสาเหตุของปัญหา เข้าใจธรรมชาติพฤติกรรมและความต้องการของเยาวชน วัยรุ่นและกลุ่ม เสี่ยงอื่น ๆ ทั้งวัยทำงานในสถานประกอบการ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มเสพ ในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน เรอื นจำ และสำนักงานคุมประพฤติ โดยมีกลยทุ ธส์ ำคัญคือการใชส้ โลแกน “เปน็ หนงึ่ โดยไมพ่ ่ึงยาเสพตดิ ” ก่อใหเ้ กดิ ความทา้ ทาย และจูงใจเยาวชนไม่ใหย้ งุ่ กับยาเสพติด แต่มุ่งคน้ หาความเป็นหนึ่งของตนเอง แนวคิดและกิจกรรมใน โครงการเน้นการให้โอกาสมากกว่าการปราบปราม โดยเพิ่มโอกาสให้เยาวชนได้รับการพัฒนาและแสดง ความสามารถที่หลากหลาย ในลักษณะส่งเสริมการแข่งขันกันทำความดี เป็นสิ่งจูงใจให้เยาวชนอยากเข้าร่วม กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ เป็นลักษณะ Play and Learn ใช้กิจกรรมเป็นสื่อให้ เยาวชนได้เรียนรู้อย่างมีความสุขและสนุกกับการเรียนรู้ โดยการประยุกต์กับองค์ความรู้สุขภาพจิต และมีแนว ทางการดำเนนิ งานโดยใช้วิธีบรู ณาการความรว่ มมือระหว่างหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้อง ท้ังภาครัฐและเอกชนในทุกระดับ กิจกรรมในโครงการส่วนใหญ่เปน็ กิจกรรมทีม่ ุ่งเน้นการให้โอกาส และทางเลือกแก่เด็กและเยาวชนที่เทา่ เทียมกัน เพื่อพัฒนาทักษะทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และสังคม โดยใช้กระบวนการกลุ่ม เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงจาก “ภายใน” เช่น การค้นพบความสามารถของตนเอง การนับถือ ภาคภูมิใจ และเห็นคุณค่าในตนเอง ให้เยาวชน เลือกทำกิจกรรมที่ตนเองสนใจและชื่นชอบ มีวิทยากร ที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านและเป็น Idol ของเยาวชน ด้วยวิธีการสอน และฝกึ ทักษะแบบไมก่ ดดนั ซ่ึงมีความเหมาะสมสำหรบั กลมุ่ เปา้ หมาย กิจกรรมทา้ ยเรื่องที่1 ความเป็นมาของโครงกา ร TO BE NUMBER ONE ในทูลกระหม่อ มหญิง อบุ ลรัตน ราชกญั ญาสริ ิวฒั นาพรรณวดี (ให้ผเู้ รียนไปทำกิจกรรมท้ายเรื่องท1่ี ในสมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบชดุ วชิ า) ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE เป็นหนง่ึ โดยไมพ่ ง่ึ ยาเสพตดิ สค2300122 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น หนา้ 5

เรอ่ื งท่ี 2 ความเปน็ มาของ TO BE NUMBER ONE จงั หวดั พงั งา โครงการ TO BE NUMBER ONE หรือ “โครงการรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด” ซึ่งเป็นการรณรงค์แก้ไข ปัญหายาเสพติด จังหวัดพังงาได้ตระหนักและซาบซึ้งถึงความห่วงใยขององค์ประธาน จึงได้น้อมรับพระประสงค์ สมัครเข้าร่วมโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี TO BE NUMBER ONE ตั้งแต่ปี พ.ศ.2546 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน เป็นระยะเวลา 17 ปี มีการออกประชาสัมพันธ์โครงการฯ การรับสมัครสมาชิก แต่งตั้งคณะกรรมการในระดับจังหวัด โดยบูรณาการ ทุกภาคสว่ น ทั้งภาครฐั ภาคเอกชน และประชาชนในจังหวัดพงั งา กำหนดให้เป็นนโยบายการขบั เคลือ่ นการดำเนินงานดำเนิน TO BE NUMBER ONE ให้กับทุกหนว่ ยงาน ยึดถือปฏิบัติเป็นสำคัญ เพื่อให้ดำเนินงานไปในทิศทางเดียวกัน โดยการขับเคลื่อนภายใต้การบริหารงานโดย ผวู้ ่าราชการจังหวดั พังงา พรอ้ มทงั้ ดำเนนิ งานทั้ง 7 หนว่ ยงาน ได้แก่ 1. จังหวดั 2. สถานศึกษา 3. สถานประกอบการ 4. สถานพนิ ิจและคุ้มครองเดก็ และเยาวชน 5. สำนกั งานคุมประพฤติ 6. ชมุ ชน 7. เรอื นจำ มาใช้เป็นเคร่ืองมือในการขับเคล่ือนเพื่อให้เยาวชน ประชาชนในจังหวดั พังงา หลุดพ้นภัยจากยาเสพติด โดยมีคา่ นิยมที่ว่า “พังงา เมืองแหง่ ความสุข ปลกุ กระแสรว่ มใจ ตา้ นภัยยาเสพติด ดว้ ยแนวคิด TO BE NUMBER ONE” โดยจังหวัดพังงา ได้มีการบูรณาการโครงการ TO BE NUMBER ONE เข้าไปในแผนของหน่วยงาน และสนับสนุนงบประมาณให้กับชมรม TO BE NUMBER ONE ทุกชมรม ทำให้การขับเคลื่อนเป็นไปได้อย่างมี ประสิทธิภาพส่งผลให้จังหวัดพังงา มีผลงานเชิงประจักษ์และเข้าสู่การประกวดผลการดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE ดังนี้ ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE เปน็ หนึ่งโดยไมพ่ ึง่ ยาเสพตดิ สค2300122 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น หนา้ 6

ปี พ.ศ. การขับเคลื่อนงานสู่รางวลั แหง่ ความภาคภมู ิใจ 2546-2549 นอ้ มนำโครงการ TO BE NUMBER ONE ส่กู ารดำเนินงานภายในจงั หวดั จังหวดั TO BE NUMBER ONE รองชนะเลิศอนั ดบั 2 ของประเทศ 2550 จงั หวดั TO BE NUMBER ONE รกั ษามาตรฐานพร้อมเป็นต้นแบบระดับเงนิ ปที ่ี 1 2551 จงั หวัด TO BE NUMBER ONE รักษามาตรฐานพรอ้ มเปน็ ตน้ แบบระดับเงินปีที่ 2 2552 จงั หวัด TO BE NUMBER ONE ต้นแบบระดบั เงนิ 2553 จงั หวัด TO BE NUMBER ONE รักษามาตรฐานพร้อมเป็นต้นแบบระดบั ทองปีท่ี 1 2554 จังหวัด TO BE NUMBER ONE รักษามาตรฐานพรอ้ มเปน็ ต้นแบบระดบั ทองปีที่ 2 2555 จงั หวดั TO BE NUMBER ONE ตน้ แบบระดับทอง 2556 จังหวดั TO BE NUMBER ONE รักษามาตรฐานพร้อมเปน็ ต้นแบบระดับเพชรปีที่1 2558 การขับเคล่อื น TO BE NUMBER ONE จังหวดั พังงา จังหวัดพังงาได้ขับเคลื่อนโครงการ TO BE NUMBER ONE โดยมีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการโครงการ รณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี TO BE NUMBER ONE จงั หวดั พงั งา ณ วันที่ 7 ธนั วาคม 2561 ดงั น้ี 1. คณะกรรมการทป่ี รึกษา ประกอบดว้ ย 1. เจ้าคณะจังหวดั พังงา 2. ประธานคณะกรรมการอิสลามประจำจงั หวัดพังงา 3. อัยการจงั หวัดพังงา 4. อยั การจังหวัดคดีเยาวชนและครอบครวั จงั หวัดพังงา 5. นายกเหลา่ กาชาดจังหวดั พงั งา 6. ประธานหอการคา้ จังหวดั พงั งา 7. นายกสมาคมธรุ กิจการทอ่ งเทย่ี วจงั หวดั พังงา 8. ประธานสภาอตุ สาหกรรมจังหวดั พงั งา บทบาทหน้าท่ี ใหค้ ำปรกึ ษาขอ้ คดิ เหน็ เสนอแนะ และสนบั สนุนการดำเนินโครงการ TO BE NUMBER ONE จงั หวัดพังงา ให้บรรลตุ ามวตั ถุประสงค์ ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE เปน็ หน่ึงโดยไมพ่ ึ่งยาเสพติด สค2300122 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ หนา้ 7

2. คณะกรรมการอำนวยการโครงการ TO BE NUMBER ONE จงั หวดั พังงา ประกอบด้วย 1. ผูว้ า่ ราชการจังหวัดพังงา ประธานกรรมการ 2. รองผู้ว่าราชการจงั หวัดพังงา รบั ผิดชอบด้านสังคม รองประธานกรรมการ 3. รองผูว้ ่าราชการจังหวัดพังงา รบั ผิดชอบด้านเศรษฐกิจ รองประธานกรรมการ 4. นายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัดพงั งา รองประธานกรรมการ 5. รอง ผอ.รมน.จว.พง(ท) กรรมการ 6. ปลดั จงั หวดั พงั งา กรรมการ 7. ผูบ้ งั คับการตำรวจภูธรจงั หวดั พงั งา กรรมการ 8. หวั หนา้ สำนกั งานจังหวัดพังงา กรรมการ 9. เจา้ พนกั งานท่ีดินจงั หวดั พังงา กรรมการ 10. อตุ สาหกรรมจงั หวดั พงั งา กรรมการ 11. ผูอ้ ำนวยการสำนกั งานทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมจังหวดั พังงา กรรมการ 12. วัฒนธรรมจงั หวัดพงั งา กรรมการ 13. พฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวดั พังงา กรรมการ 14. คลงั จังหวดั พังงา กรรมการ 15. เกษตรจังหวัดพงั งา กรรมการ 16. พัฒนาการจังหวัดพงั งา กรรมการ 17. แรงงานจงั หวดั พงั งา กรรมการ 18. ผ้อู ำนวยการสำนักงานคมุ ความประพฤตจิ งั หวดั พังงา กรรมการ 19. ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดพงั งา กรรมการ 20. ผ้บู ญั ชาการ กรรมการ 21. ประชาสัมพันธ์จังหวดั พังงา กรรมการ 22. สวสั ดกิ ารและคุม้ ครองแรงงานจงั หวดั พงั งา กรรมการ 23. ประกนั สังคมจังหวัดพังงา กรรมการ 24. ท้องถิน่ จงั หวัดพังงา กรรมการ 25. โยธาธิการและผงั เมอื งจังหวัดพังงา กรรมการ 26. หวั หน้าสำนักงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดพงั งา กรรมการ 27. ผูอ้ ำนวยการสำนักงานพระพทุ ธศาสนาจงั หวดั พังงา กรรมการ 28. ท่องเทย่ี วและกฬี าจงั หวดั พงั งา กรรมการ ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE เป็นหนงึ่ โดยไมพ่ ่ึงยาเสพตดิ สค2300122 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น หน้า 8

29. เกษตรและสหกรณจ์ ังหวัดพังงา กรรมการ 30. สหกรณ์จังหวัดพงั งา กรรมการ 31. ขนส่งจังหวัดพังงา กรรมการ 32. ปศุสตั ว์จงั หวัดพงั งา กรรมการ 33. พลงั งานจงั หวัดพังงา กรรมการ 34. พาณชิ ยจ์ ังหวัดพังงา กรรมการ 35. สถติ ิจังหวดั พังงา กรรมการ 36. ผู้อำนวยการสำนักงานบงั คบั คดีจังหวดั พังงา กรรมการ 37. จดั หางานจังหวัดพังงา กรรมการ 38. ศึกษาธกิ ารจงั หวัดพังงา กรรมการ 39. ผอู้ ำนวยการสำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา กรรมการ ตามอัธยาศยั จังหวดั พังงา กรรมการ 40. ผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามัธยมศึกษาเขต 14 กรรมการ 41. ผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาพังงา กรรมการ 42. สรรพากรพ้ืนท่ีจงั หวัดพังงา กรรมการ 43. สรรพสามิตพ้ืนท่พี งั งา กรรมการ 44. ผูอ้ ำนวยการสถานพินจิ และคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชนจังหวดั พงั งา กรรมการ 45. หัวหนา้ สำนกั งานตรวจบญั ชสี หกรณจ์ งั หวดั พังงา กรรมการ 46. ผู้อำนวยการสำนักงานเจา้ ท่าภมู ิภาคสาขาจงั หวดั พังงา กรรมการ 47. ผอู้ ำนวยการศนู ยพ์ ฒั นาฝมี อื แรงงานจงั หวัดพังงา กรรมการ 48. ผอู้ ำนวยการสถานวี ิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยจังหวัดพังงา กรรมการ 49. ผอู้ ำนวยการสถานวี ิทยุกระจายเสียงแหง่ ประเทศไทยอำเภอตะกัว่ ปา่ กรรมการ 50. นายอำเภอทุกอำเภอ กรรมการ 51. ผูอ้ ำนวยการโรงพยาบาลฐานทพั เรือ จงั หวดั พังงา กรรมการ 52. ผอู้ ำนวยการโรงพยาบาลทกุ แห่ง กรรมการ 53. ประธานอาชีวศกึ ษาจังหวดั พังงา กรรมการ 54. ผู้อำนวยการสถานศึกษาสงั กัดอาชีวศึกษาจงั หวัดพังงาทุกแห่ง กรรมการ 55. ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษาสังกัด สพม.เขต14 ในพืน้ ท่จี งั หวดั พงั งา กรรมการ 56. ผ้อู ำนวยการสถานศึกษาสังกดั สพป.พังงาทุกแห่ง ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE เป็นหนึ่งโดยไมพ่ ึ่งยาเสพตดิ สค2300122 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ หนา้ 9

57. ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 35 กรรมการ 58. ผู้อำนวยการวทิ ยาลัยชุมชนจงั หวัดพงั งา กรรมการ 59. ผ้จู ัดการศูนยใ์ ห้บรกิ าร SME ครบวงจร จังหวดั พังงา กรรมการ 60. นายกเทศมนตรเี มอื งพังงา กรรมการ 61. นายกเทศมนตรีเมอื งตะกว่ั ป่า กรรมการ 62. นายกเทศมนตรตี ำบลทุกตำบล กรรมการ 63. ประธาน อสม.จงั หวดั พงั งา กรรมการ 64. ประธานชมรม TO BE NUMBER ONE ทุกแห่งในจงั หวดั พงั งา กรรมการ 65. ประธานสภาเดก็ และเยาวชนในจงั หวัดพังงา กรรมการ 66. นายแพทย์สาธารณสขุ จังหวดั พังงา กรรมการและเลขานุการ 67. นกั วชิ าการสาธารณสุขเชย่ี วชาญ(ด้านสง่ เสริมพัฒนา) กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร 68. หวั หนา้ กล่มุ งานควบคุมโรคไมต่ ดิ ต่อและยาเสพติด สสจ.พงั งา กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ 69. ผรู้ ับผดิ ชอบงานยาเสพติด สสจ.พงั งา กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร บทบาทหนา้ ที่ 1. สนบั สนุน ส่งเสริม วางแผน จัดทำแผน ติดตามประเมนิ ผล สรุปผล และพัฒนาศกั ยภาพการดำเนินงาน TO BE NUMBER ONE จงั หวัดพงั งา เพ่ือให้การดำเนินงานมปี ระสทิ ธิภาพ ประสิทธผิ ลมีความย่งั ยืน 2. เปน็ ทีป่ รกึ ษา ชว่ ยเหลือ ส่งเสรมิ พฒั นาศักยภาพ สนบั สนนุ การดำเนินงานของชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศกึ ษา สถานประกอบการ และชมุ ชน 3. พจิ ารณาคัดเลอื กชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศกึ ษา สถานประกอบการ และชมุ ชนเป็น ตัวแทนจงั หวดั พงั งา เขา้ ประกวด/นำเสนอผลงานเดน่ ในทุกระดบั 4. กำหนดใหโ้ ครงการ TO BE NUMBER ONE เป็นนโยบาย และบรรจุในแผนงานของหนว่ ยงานทุกแหง่ 5. ให้ความรว่ มมือ และเขา้ รว่ มกจิ กรรม TO BE NUMBER ONE ในทุกระดบั 3. คณะอนกุ รรมการดำเนนิ งานโครงการ TO BE NUMBER ONE ในสถานศกึ ษาจงั หวดั พงั งา ประกอบดว้ ย 1. รองผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา รบั ผดิ ชอบด้านสงั คม ประธานอนุกรรมการ 2. ศึกษาธิการจังหวดั พังงา กรรมการ 3. ผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพังงา กรรมการ 4. ผอู้ ำนวยการสำนักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบ กรรมการ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวดั พังงา ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE เป็นหนึ่งโดยไมพ่ ่งึ ยาเสพติด สค2300122 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ หน้า 10

5. ผอู้ ำนวยการสถานศึกษาสงั กัดอาชีวศึกษาจงั หวัดพงั งาทกุ แห่ง กรรมการ 6. ผอู้ ำนวยการวิทยาลยั ชุมชมจงั หวดั พังงา กรรมการ 7. ผอู้ ำนวยการสถานศึกษาสงั กัด สพม.เขต14 ในพ้ืนทจ่ี งั หวดั พังงา กรรมการ 8. ผู้อำนวยการสถานศกึ ษาสังกัด สพป.พงั งาทกุ แห่ง กรรมการ 9. ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 35 กรรมการ 10. ประธานอาชีวศกึ ษาจังหวดั พังงา กรรมการ 11. ผู้รบั ผิดชอบงานยาเสพติด สสจ.พงั งา กรรมการ 12. ผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษาเขต 14 กรรมการและเลขานุการ 13. ผูร้ บั ผิดชอบงานยาเสพติด สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 14 กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 14. ผู้รับผิดชอบงานยาเสพติด สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาเขต 14 กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ 15. ผู้รับผดิ ชอบงานยาเสพติด อาชีวศึกษาจงั หวัดพงั งา กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 16. ผู้รบั ผิดชอบงานยาเสพติด สำนักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบ กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวดั พงั งา บทบาทหน้าท่ี 1. สง่ เสริมสนบั สนุน พัฒนาศกั ยภาพการดำเนนิ งานโครงการ TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษา มีการจดั ตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE และดำเนนิ งานตามยทุ ธศาสตรข์ องโครงการ TO BE NUMBER ONE ภายใตอ้ งคป์ ระกอบ 3 “ก” 2. คัดเลอื กชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษา เข้าร่วมประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ระดับภาค และระดับประเทศ 3. พัฒนาชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษาให้เข้าสู่มาตรฐานดีเด่นต้นแบบการเรียนรู้ระดับเงิน ระดบั ทอง ระดับเพชร และระดบั ยอดเพชร 4. จัดกิจกรรมและสรรหาคัดเลอื ก สนบั สนนุ การประกวด TO BE NUMBER ONE IDOL และการแขง่ ขนั TO BE NUMBER ONE TEEN DANCERCISE 5. ติดตามประเมนิ ผลการดำเนนิ งานชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษาอย่างตอ่ เนอ่ื ง 6. ร่วมแกไ้ ขปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE ในสถานศกึ ษา รวมทงั้ ให้ ข้อเสนอแนะในการพัฒนาชมรม 7. กำหนดใหโ้ ครงการ TO BE NUMBER ONE เป็นนโยบายสำคัญของสถานศกึ ษาทกุ แห่งในจังหวัดพงั งา 8. ให้ความร่วมมอื และเข้ารว่ มกิจกรรม TO BE NUMBER ONE ในทกุ ระดับ ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE เป็นหนง่ึ โดยไมพ่ ่งึ ยาเสพตดิ สค2300122 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ หนา้ 11

4. คณะอนุกรรมการดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE ในสถานประกอบ จงั หวดั พงั งา ประกอบดว้ ย 1. รองผู้วา่ ราชการจงั หวัดพงั งา ประธาน อนุกรรมการ 2. อุตสาหกรรมจงั หวัดพงั งา กรรมการ 3. พฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์จงั หวัดพังงา กรรมการ 4. สวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงานจงั หวดั พังงา กรรมการ 5. ประกนั สังคมจังหวัดพังงา กรรมการ 6. พาณิชย์จังหวดั พังงา กรรมการ 7. พลงั งานจงั หวัดพังงา กรรมการ 8. จดั หางานจังหวัดพงั งา กรรมการ 9. สรรพากรพนื้ ที่จงั หวดั พังงา กรรมการ 10. สรรพสามิตพน้ื ที่พังงา กรรมการ 11. ผ้อู ำนวยการศูนย์พฒั นาฝีมอื แรงงานจงั หวดั พงั งา กรรมการ 12. ประธานหอการคา้ จงั หวดั พงั งา กรรมการ 13. ผ้รู บั ผิดชอบงานยาเสพติด สสจ.พังงา กรรมการ 14. แรงงานจังหวดั พงั งา กรรมการและเลขานกุ าร 15. ผรู้ ับผิดชอบยาเสพติด สำนกั งานสวสั ดกิ าร กรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ และคุ้มครองแรงงานจงั หวดั พังงา บทบาทและหนา้ ท่ี 1. ส่งเสริมสนับสนุน พัฒนาศักยภาพการดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE ในสถาน ประกอบการ มกี ารจัดต้ังชมรม TO BE NUMBER ONE และดำเนนิ งานตามยุทธศาสตร์ ของโครงการ TO BE NUMBER ONE ภายใต้องค์ประกอบ 3 “ก” 2. คัดเลือกชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานประกอบการ เข้าร่วมกิจกรรมประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ระดับภาคใตแ้ ละระดบั ประเทศ 3. พฒั นาชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานประกอบการใหก้ า้ วสมู่ าตรฐานดีเด่นตน้ แบบการเรยี นรู้ ระดับเงิน ระดับทอง ระดบั เพชร และระดับยอดเพชร 4. ติดตามประเมินผลการดำเนนิ งานชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานประกอบการอย่างตอ่ เน่ือง 5. ร่วมแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE ในสถานประกอบการ รวมท้งั ใหข้ อ้ เสนอแนะในการพัฒนาชมรม ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE เปน็ หน่ึงโดยไมพ่ ่งึ ยาเสพตดิ สค2300122 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ หน้า 12

6. ให้ความรว่ มมือและเขา้ รว่ มกิจกรรม TO BE NUMBER ONE ในทุกระดบั 7. กำหนดใหโ้ ครงการ TO BE NUMBER ONE เป็นนโยบายสำคัญและบรรจใุ นแผนงานของสถานประกอบการ สถานประกอบการทกุ แห่งในจังหวัดพงั งา 5. คณะกรรมการดำเนนิ งานโครงการ TO BE NUMBER ONE ในชุมชนจังหวัดพังงา ประกอบด้วย 1. รองผ้วู ่าราชการจงั หวดั พังงา รับผิดชอบด้านสงั คม ประธานอนกุ รรมการ 2. พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจ์ ังหวัดพังงา กรรมการ 3. ท้องถนิ่ จงั หวดั พังงา กรรมการ 4. ผอู้ ำนวยการสำนกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบ กรรมการ และการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั พังงา 5. ผอู้ ำนวยการสถานพินิจและคมุ้ ครองเด็กและเยาวชนจังหวัดพงั งา กรรมการ 6. ผู้อำนวยการศนู ย์พัฒนาฝีมอื แรงงานจังหวัดพงั งา กรรมการ 7. นายอำเภอทุกอำเภอ กรรมการ 8. นายกเทศมนตรเี มืองพงั งา กรรมการ 9. นายกเทศมนตรีเมืองตะกวั่ ป่า กรรมการ 10. นายกเทศมนตรีตำบลทุกตำบล กรรมการ 11. ประธาน อสม.จังหวัดพังงา กรรมการ 12. ประธานชมรม TO BE NUMBER ONE ชุมชนบางมราตอต้ัง กรรมการ 13. ประธานชมรม TO BE NUMBER ONE ชุมชนบา้ นบางหลดุ กรรมการ 14. ประธานนายกองคก์ ารบริหารสว่ นตำบลทุกตำบล จังหวดั พงั งา กรรมการ 15. ผู้รบั ผดิ ชอบงานยาเสพติด สสจ.พังงา กรรมการ 16. ผรู้ บั ผดิ ชอบงาน TO BE NUMBER ONE สสอ.ทุกแหง่ กรรมการ 17. ผ้รู บั ผิดชอบงาน TO BE NUMBER ONE โรงพยาบาลทุกแห่ง กรรมการ 18. ประธานชมรมกำนนั ผ้ใู หญบ่ ้านจงั หวดั พังงา กรรมการ 19. ปลดั จังหวัดพังงา กรรมการและเลขานกุ ารรว่ ม 20. พฒั นาการจังหวดั พงั งา กรรมการและเลขานกุ ารร่วม 22. ป้องกนั จังหวดั พังงา กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE เป็นหน่งึ โดยไมพ่ ึ่งยาเสพติด สค2300122 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น หนา้ 13

บทบาทหน้าท่ี 1. ส่งเสริมสนับสนุน พัฒนาศักยภาพการดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE ในชุมชน มีการจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE และดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ของโครงการ TO BE NUMBER ONE ภายใต้องค์ประกอบ 3 “ก” 2. คัดเลือกชมรม TO BE NUMBER ONE ในชุมชนเข้าร่วมประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ระดับภาคใตแ้ ละระดบั ประเทศ 3. พัฒนาชมรม TO BE NUMBER ONE ในชุมชนให้ก้าวสู่มาตรฐานดีเด่นต้นแบบการเรียนรู้ระดับเงิน ระดบั ทอง ระดับเพชร และระดบั ยอดเพชร 4. ติดตามประเมินผลการดำเนินงานชมรม TO BE NUMBER ONE ในชุมชนอยา่ งต่อเนื่อง 5. ร่วมแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE ในชุมชน รวมทั้งให้ ข้อเสนอแนะในการพฒั นาชมรม 6. ให้ความร่วมมือและเข้าร่วมกิจกรรม TO BE NUMBER ONE ในทุกระดับ 7. กำหนดใหโ้ ครงการ TOBENUMBERONEเป็นนโยบายสำคญั และบรรจใุ นแผนงานของชมุ ชนทกุ แหง่ ในจังหวดั พังงา 6. คณะอนุกรรมการฝ่ายจดั หาทุนและงบประมาณในการดำเนินโครงการ TO BE NUMBER ONE จังหวัดพังงา ประกอบดว้ ย 1. รองผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา ประธานอนุกรรมการ 2. ปลัดจงั หวัดพังงา รองประธานอนุกรรมการ 3. นายกองค์การบริหารส่วนจงั หวัดพงั งา รองประธานอนกุ รรมการ 4. หวั หนา้ สำนักงานจงั หวดั พงั งา กรรมการ 5. ผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาเขต 14 กรรมการ 6. ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพังงา กรรมการ 7. อตุ สาหกรรมจงั หวดั พงั งา กรรมการ 8. ผู้อำนวยการสำนกั งานทรพั ยากรธรรมชาติ กรรมการ และสิ่งแวดลอ้ มจังหวัดพงั งา 9. พัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษยจ์ ังหวดั พังงา กรรมการ 10. เจา้ พนักงานท่ีดินจงั หวดั พังงา กรรมการ 11. พฒั นาการจงั หวดั พงั งา กรรมการ 12. พาณิชย์จงั หวัดพังงา กรรมการ 13. ท้องถ่นิ จงั หวัดพงั งา กรรมการ 14. ประชาสมั พันธจ์ งั หวดั พังงา กรรมการ 15. แรงงานจังหวัดพงั งา กรรมการ ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE เป็นหนงึ่ โดยไมพ่ ่ึงยาเสพติด สค2300122 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ หนา้ 14

16. ขนส่งจังหวดั พังงา กรรมการ 17. สวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงานจังหวัดพังงา กรรมการ 18. จดั หางานจังหวดั พงั งา กรรมการ 19. สถิติจงั หวดั พงั งา กรรมการ 20. ท่องเทย่ี วและกีฬาจังหวัดพงั งา กรรมการ 21. ประกันสังคมจังหวัดพังงา กรรมการ 22. ผปู้ กครองนิคมสร้างตนเองทา้ ยเหมือง กรรมการ 23. สรรพากรพื้นทีจ่ งั หวดั พงั งา กรรมการ 24. สรรพสามิตพืน้ ที่พงั งา กรรมการ 25. ผู้อำนวยการสำนักงานเจา้ ทา่ ภมู ภิ าคสาขาพังงา กรรมการ 26. ผอู้ ำนวยการศูนย์พัฒนาฝีมอื แรงงานจงั หวดั พงั งา กรรมการ 27. ผอู้ ำนวยการสำนักงานการกีฬาแห่งประเทศไทยจังหวดั พังงา กรรมการ 28. ผอู้ ำนวยการโรงพยาบาลตะกวั่ ปา่ กรรมการ 29. ผอู้ ำนวยการโรงพยาบาลพงั งา กรรมการ 30. ประธานอาชวี ศกึ ษาจังหวดั พังงา กรรมการ 31. ผู้อำนวยการสถานศึกษาสังกดั อาชวี ศกึ ษาพงั งาทกุ แหง่ กรรมการ 32. ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษาสงั กัด สพม.เขต 14 ในพ้นื ทีจ่ ังหวัดพังงา กรรมการ 33. ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษาสงั กดั สพป.พงั งา ทุกแห่ง กรรมการ 34. ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 35 กรรมการ 35. นายอำเภอทุกอำเภอ กรรมการ 36. นายกเทศมนตรีเมืองพังงา กรรมการ 37. นายกเทศมาตรเี มืองตะก่วั ปา่ กรรมการ 38. นายกเทศมนตรีทกุ ตำบล กรรมการ 39. สาธารณสุขอำเภอทุกอำเภอ กรรมการ 40. ผจู้ ัดการศูนย์ให้บริการ SME ครบวงจร จงั หวดั พังงา กรรมการ 41. ประธานหอการค้าจงั หวดั พงั งา กรรมการ 42. ประธานสภาอุตสาหกรรมจงั หวดั พังงา กรรมการ 43. ประธานสภาเกษตรจงั หวดั พังงา กรรมการ 44. นายกสมาคมผู้ประกอบการโรงแรม กรรมการ 45. ประธานกรรมการกองทุนพฒั นาบทบาทสตรีพังงา กรรมการ 46. ประธานคณะกรรมการพฒั นาสตรพี งั งา กรรมการ ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE เปน็ หน่งึ โดยไมพ่ ึ่งยาเสพติด สค2300122 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น หนา้ 15

47. นายกสโมสรโรตารีพังงา กรรมการ 48. นายกสโมสรไลออนส์ตะกั่วปา่ กรรมการ 49. ประธานชมรมจักรยานเพอื่ สขุ ภาพจังหวดั พังงา กรรมการ 50. ประธานชมรม เดิน ว่งิ ตอนเชา้ จังหวดั พงั งา กรรมการ 51. ประธานชมรมผสู้ ่ือขา่ วจังหวดั พังงา กรรมการ 52. นายแพทย์สาธารณสุขจงั หวัดพงั งา กรรมการ 53. หวั หนา้ กลุ่มงานควบคมุ โรคไม่ตดิ ต่อและยาเสพติด สสจ.พังงา กรรมการ 54. ผู้รบั ผดิ ชอบงานยาเสพติด สสจ.พงั งา กรรมการ บทบาทหนา้ ที่ 1. จดั หางบประมาณสนบั สนนุ ในการดำเนนิ โครงการ TO BE NUMBER ONE จงั หวดั พังงา 2. จดั ทำแผนงบประมาณโครงการ TO BE NUMBER ONE ทั้งแผนระยะสั้น และแผนระยะยาว เพอ่ื สนบั สนุนโครงการ TO BE NUMBER ONE 3. แกไ้ ขปญั หาอุปสรรคดา้ นงบประมาณในการดำเนินโครงการ TO BE NUMBER ONE จงั หวัดพงั งา 4. ให้ความรว่ มมอื และเข้าร่วมกิจกรรม TO BE NUMBER ONE จังหวัดพังงาในทุกระดบั 5. อื่น ๆ ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย 7. คณะอนุกรรมการดำเนนิ งานการจดั กจิ กรรมสร้างสรรค์ TO BE NUMBER ONE บธู นิทรรศการและการแสดงจังหวดั TO BE NUMBER ONE พงั งา ประกอบดว้ ย 1. รองผ้วู า่ ราชการจงั หวัดพังงา รับผิดชอบด้านสังคม ประธานอนุกรรมการ 2. ศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั พงั งา กรรมการ 3. ผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาพังงา กรรมการ 4. นายแพทย์สาธารสุขจังหวัดพังงา กรรมการ 5. วัฒนธรรมจังหวดั พงั งา กรรมการ 6. พัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์จงั หวดั พังงา กรรมการ 7. แรงงานจังหวัดพงั งา กรรมการ 8. สถติ ิจงั หวัดพงั งา กรรมการ 9. ประชาสมั พนั ธจ์ งั หวัดพังงา กรรมการ 10. ขนสง่ จงั หวดั พังงา กรรมการ 11. ผู้อำนวยการสถานพนิ ิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจงั หวัดพังงา กรรมการ 12. ผอู้ ำนวยการสำนักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบ กรรมการ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวดั พังงา ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE เปน็ หนง่ึ โดยไมพ่ ่งึ ยาเสพตดิ สค2300122 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ หนา้ 16

13. ประธานอาชีวศกึ ษาจงั หวดั พงั งา กรรมการ 14. ผ้อู ำนวยการสำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาเขต 14 กรรมการและเลขานุการ 15. ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษาสงั กัด สพม.เขต 14 ในพ้ืนที่จังหวดั พังงา กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร 16. ผูอ้ ำนวยการสถานศกึ ษาสงั กดั อาชวี ศกึ ษาพงั งาทกุ แห่ง กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร 17. ผอู้ ำนวยการสถานศึกษาสงั กัด สพป.พงั งา ทุกแห่ง กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ 18. ผู้รับผดิ ชอบงานทูบีนัมเบอร์วนั ในสถานศกึ ษาทุกแหง่ กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ 19. ผรู้ บั ผิดชอบงานยาเสพติด สสจ.พังงา กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร บทบาทหน้าท่ี 1. สง่ เสริมสนับสนุนการดำเนนิ งานโครงการ TO BE NUMBER ONE จังหวดั พังงา 2. จัดกิจกรรมสรา้ งสรรค์ ทีเ่ กดิ ประโยชน์ตอ่ เด็ก เยาวชน และประชาชน สมาชกิ TO BE NUMBER ONE 3. ออกแบบจัดรปู แบบการจัดบูธนิทรรศการ และการแสดง TO BE NUMBER ONE จังหวดั พังงา 4. ให้ความร่วมมอื และเข้ารว่ มกิจกรรม TO BE NUMBER ONE ในทกุ ระดับ 5. อนื่ ๆ ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย 9. คณะอนกุ รรมการดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ในเรือนจำ และสถานพินจิ และคมุ้ ครองเด็กและ เยาวชน จังหวัดพังงา ประกอบดว้ ย 1. รองผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา ประธานอนกุ รรมการ 2. ผอู้ ำนวยการสถานพนิ จิ และคุ้มครองเด็กและเยาวชนจงั หวัดพังงา รองประธานอนุกรรมการ 3. ผู้อำนวยการสำนกั งานคมุ ประพฤติจงั หวัดพงั งา รองประธานอนุกรรมการ 4. นายอำเภอทุกอำเภอ รองประธานอนกุ รรมการ 5. นายกเทศมนตรีเมอื งพงั งา กรรมการ 6. นายกเทศมนตรีเมอื งตะก่วั ป่า กรรมการ 7. ผรู้ บั ผิดชอบงานยาเสพติด สสจ.พงั งา กรรมการ 8. ผรู้ บั ผิดชอบงาน TO BE NUMBER ONE สสอ.ทกุ แห่ง กรรมการ 9. ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดพังงา กรรมการและเลขานุการรว่ ม 10. ผบู้ ญั ชาการเรอื นจำอำเภอตะกั่วป่า กรรมการและเลขานกุ ารร่วม 11. ผู้รบั ผดิ ชอบงาน TO BE NUMBER ONE เรอื นจำจงั หวัดพงั งา กรรมการและเลขานกุ ารร่วม 12. ผรู้ บั ผดิ ชอบงาน TO BE NUMBER ONE เรอื นจำอำเภอตะกวั่ ป่า กรรมการและเลขานุการรว่ ม 13. ผรู้ ับผิดชอบงาน TO BE NUMBER ONE สถานพนิ ิจและค้มุ ครองเด็ก กรรมการและเลขานุการร่วม และเยาวชนจงั หวดั พงั งา ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE เป็นหนง่ึ โดยไมพ่ ึ่งยาเสพตดิ สค2300122 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ หน้า 17

บทบาทหนา้ ท่ี 1. ส่งเสริมสนับสนุน พัฒนาศักยภาพการดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE ในเรือนจำ สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน และคุมประพฤติ มีการจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE และ ดำเนินการงานตามยทุ ธศาสตรข์ องโครงการ TO BE NUMBER ONE ภายใตอ้ งคป์ ระกอบ 3 “ก” 2. ส่งชมรม TO BE NUMBER ONE ในเรอื นจำ สถานพินจิ และค้มุ ครองเดก็ และเยาวชน และคมุ ประพฤติ การเข้ารว่ มประกวด ชมรม TO BE NUMBER ONE ระดบั ภาคใต้และระดบั ประเทศ 3. พฒั นาชมรม TO BE NUMBER ONE ในเรือนจำ สถานพินิจและคมุ้ ครองเด็กและเยาวชน และคุมประพฤติ ให้กา้ วสู่มาตรฐานเด่น ต้นแบบการเรียนรรู้ ะดบั เงนิ ระดบั ทอง ระดบั เพชร 4. ตดิ ตามประเมนิ ผลการดำเนนิ งานชมรม TO BE NUMBER ONE ในเรือนจำ สถานพนิ ิจและคุม้ ครองเด็กและ เยาวชน และคมุ ประพฤตอิ ยา่ งตอ่ เนื่อง 5. ร่วมแก้ไขปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE ในเรือนจำ สถานพินิจและ คมุ้ ครองเดก็ และเยาวชน และคมุ ประพฤติ รวมท้งั ให้ขอ้ เสนอแนะในการพฒั นาชมรม 9. คณะอนุกรรมการ พฒั นา นวตั กรรมและองค์ความรู้ ประกอบด้วย ประธานอนุกรรมการ 1. รองผวู้ า่ ราชการจงั หวดั พังงา กรรมการ 2. นายแพทยส์ าธารณสุขจังหวดั พงั งา กรรมการ 3. ผอู้ ำนวยการเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาพังงา กรรมการ 4. ผู้อำนวยการเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 14 กรรมการ 5. ศึกษาธิการจังหวดั พังงา กรรมการ 6. พัฒนาการจังหวัดพังงา กรรมการ 7. ประชาสมั พนั ธ์จงั หวดั พังงา กรรมการ 8. วฒั นธรรมจงั หวดั พังงา กรรมการ 9. แรงงานจังหวดั พงั งา กรรมการ 10. สถติ ิจงั หวดั พงั งา กรรมการ 11. ประธานอาชีวศกึ ษาจังหวัดพงั งา กรรมการ 12. ทีป่ รกึ ษาชมรม TO BE NUMBER ONE ชมุ ชนบางมราตอตั้ง กรรมการ 13. ท่ีปรึกษาชมรม TO BE NUMBER ONE วทิ ยาลัยเทคนิคพังงา กรรมการ 14. ผรู้ ับผดิ ชอบงานยาเสพติด สสจ.พงั งา กรรมการและเลขานกุ ารร่วม 15. ผ้อู ำนวยการสถานศึกษาสงั กัดอาชวี ศึกษาพงั งาทุกแห่ง กรรมการและเลขานุการรว่ ม 16. ผอู้ ำนวยการศึกษาสังกัด สพป.พงั งา ทกุ แหง่ กรรมการและเลขานุการร่วม 17. ผอู้ ำนวยการสถานศึกษาสงั กดั สพป.พงั งา ทุกแหง่ กรรมการและเลขานุการรว่ ม 18. ผรู้ ับผิดชอบงาน TO BE NUMBER ONE ในสถานศกึ ษาทุกแห่ง ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE เป็นหนึ่งโดยไมพ่ ่ึงยาเสพติด สค2300122 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น หน้า 18

บทบาทหนา้ ท่ี 1. รวบรวมขอ้ มูลเอกสารผลการดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE จงั หวัดพงั งา เพือ่ จัดทำรูปเล่ม ในการนำเสนอผลการดำเนนิ งาน ของจงั หวดั พังงา ในระดบั ภาค และประเทศ 2. จัดทำสคริปต์ บทนำเสนอ ให้โดดเด่น สอดคล้องกับเนื้อหา และตรงตามเกณฑ์การประกวด TO BE NUMBER ONE 3. เป็นทปี่ รกึ ษาและช่วยเหลอื ให้กับชมรม TO BE NUMBER ONE จังหวัดพงั งาในการจัดทำรูปเล่มเอกสาร และการนำเสนอ 4. ให้ความรว่ มมอื และเข้าร่วมกิจกรรม TO BE NUMBER ONE ในทกุ ระดบั 5. ติดตามและประเมนิ ผลของชมรม TO BE NUMBER ONE ทกุ ประเภท 6. รวบรวมผลการดำเนินงานทกุ ชมรม TO BE NUMBER ONE ใหก้ บั เลขานกุ ารคณะกรรมการอำนวยการ โครงการ TO BE NUMBER ONE จังหวัดพังงา 7. อื่น ๆ ทไี่ ด้รบั มอบหมาย 10. คณะอนกุ รรมการด้านการประชาสมั พนั ธ์ สื่อ และการสรา้ งกระแสในการรณรงคป์ ้องกันและแก้ไขปญั หา ยาเสพตดิ TO BE NUMBER ONE ประกอบดว้ ย 1. รองผวู้ า่ ราชการจังหวดั พังงา ประธานอนกุ รรมการ 2. นายแพทย์สาธารณสขุ จังหวัดพงั งา กรรมการ 3. วฒั นธรรมจงั หวัดพังงา กรรมการ 4. ทอ่ งเทีย่ วและกีฬาจงั หวดั พังงา กรรมการ 5. ผอู้ ำนวยการสถานวี ทิ ยกุ ระจายเสียงแหง่ ประเทศไทยจังหวัดพงั งา กรรมการ 6. ผูอ้ ำนวยการสถานวี ิทยกุ ระจายเสยี งแหง่ ประเทศไทยอำเภอตะกวั่ ป่า กรรมการ 7. นายกสมาคมผสู้ ่อื ขาวจังหวัดพังงา กรรมการ 8. ประธานชมรมผสู้ อ่ื ขา่ วจังหวดั พังงา กรรมการ 9. วัฒนธรรมจังหวดั พงั งา กรรมการ 10. แรงงานจงั หวัดพงั งา กรรมการและเลขานุการ 11. หวั หนา้ กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ตดิ ตอ่ และยาเสพติด กรรมการและผูช้ ่วยเลขานกุ าร 12. ผ้รู บั ผิดชอบงานยาเสพติด สสจ.พังงา กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE เป็นหนึ่งโดยไมพ่ ่ึงยาเสพติด สค2300122 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ หน้า 19

บทบาทและหนา้ ที่ 1. จัดทำส่อื เผยแพรป่ ระชาสมั พันธก์ จิ กรรม โครงการ TO BE NUMBER ONE จังหวัดพังงาทุกช่องทาง 2. สนับสนุนและส่งเสรมิ การดำเนินงาน โครงการ TO BE NUMBER ONE 3. บันทกึ ภาพถ่าย และวดี โี อ กิจกรรม การประกวดผลการดำเนนิ งาน โครงการ TO BE NUMBER ONE จังหวดั พังงา ในระดบั พื้นที่ ระดบั ภาค ระดับประเทศ และกจิ กรรมอืน่ ๆ 4. สนบั สนุนการจดั รายการวิทยุ TO BE NUMBER ONE เพื่อเขา้ ถงึ ทกุ กล่มุ วยั 5. ให้ความร่วมมือ และเขา้ รว่ มกิจกรรม TO BE NUMBER ONE ในทุกระดบั 6. อ่ืน ๆ ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย กจิ กรรมทา้ ยเร่อื งที่ 2 ความเปน็ มาของ TO BE NUMBER ONE จงั หวัดพังงา (ใหผ้ ู้เรียนไปทำกิจกรรมท้ายเรือ่ งท่ี 2 ในสมดุ บันทึกกิจกรรมการเรียนร้ปู ระกอบชุดวชิ า) ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE เป็นหน่ึงโดยไมพ่ ่งึ ยาเสพติด สค2300122 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น หน้า 20

เรือ่ งท่ี 3 เปา้ หมาย และวตั ถุประสงค์การดำเนนิ งานของโครงการ TO BE NUMBER ONE 3.1 เป้าหมายการดำเนินงานของโครงการ TO BE NUMBER ONE ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 ถึง พ.ศ. 2560 และการดำเนินงานในอนาคต แบ่งเป็นเป้าหมายในแต่ละระยะคอื ทศวรรษแรก : มงุ่ เน้นการรณรงค์เพื่อให้ เกิดกระแส และคา่ นิยมใหม่ “เป็นหน่ึงโดยไมพ่ ึ่งยาเสพติด”ทศวรรษท่ี 2 : มงุ่ เนน้ การพัฒนาคณุ ภาพสมาชิกให้เป็นคนเก่ง และดี และทศวรรษที่ 3 : เน้นการทำให้สมาชิกมีความสุข ท้ังนี้โดยอ้างอิงจาก ดี เก่ง สุข ซึ่งเป็นองค์ประกอบของ ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ของกรมสุขภาพจติ ผลการดำเนินงานภายใต้แผนยุทธศาสตร์โครงการ ตลอดระยะเวลา 15 ปี ในเชิงปริมาณพบว่ามีสมาชิก TO BE NUMBER ONE ทั่วไปจำนวน 25,053,602 คน สมาชิก “ใครติดยายกมือขึ้น” จำนวน 302,836 คน สมาชิกแกนนำโครงการ จำนวน 5,806 คน และสมาชิกแกนนำของแกนนำ (TO BE NUMBER ONE IDOL) จำนวน 240 คน (ท่มี า : รายงานขอ้ มลู ผลการดำเนนิ งานโครงการ ประจำปีงบประมาณ 2559) 3.2 วตั ถุประสงคก์ ารดำเนินงานของโครงการ TO BE NUMBER ONE 1) เพือ่ สรา้ งกระแสคา่ นยิ ม และเสริมสรา้ งภูมคิ ุ้มกันทางจติ ใจในกลุ่มเยาวชนไม่ใหย้ ุ่งเกีย่ วกบั ยาเสพติด 2) เพ่อื พฒั นาศักยภาพ และคณุ ภาพเยาวชนใหเ้ ป็นคนรนุ่ ใหม่ทีเ่ ชือ่ มัน่ และภาคภูมิใจในตนเอง 3) เพ่อื สนับสนุนเยาวชน และชมุ ชนให้จดั กิจกรรมสรา้ งสรรค์โดยการสนับสนนุ ของสังคม 4) เพอ่ื สร้างความเขา้ ใจ และยอมรบั ผู้มปี ญั หายาเสพตดิ โดยให้โอกาสกลับมาเปน็ คนดีของสงั คม 5) เพื่อเผยแพรค่ วามรเู้ กีย่ วกับการป้องกันปญั หายาเสพตดิ ในกลมุ่ ประชาชน และเยาวชนทว่ั ไป กิจกรรมท้ายเร่ืองที่ 3 เปา้ หมาย และวัตถุประสงคก์ ารดำเนนิ งานของโครงการ TO BE NUMBER ONE (ให้ผู้เรียนไปทำกจิ กรรมท้ายเรอื่ งที่ 3 ในสมุดบันทึกกจิ กรรมการเรยี นรปู้ ระกอบชุดวชิ า) ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE เป็นหนึ่งโดยไมพ่ งึ่ ยาเสพตดิ สค2300122 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ หน้า 21

เรอ่ื งที่ 4 คำขวญั และความหมายของคำขวัญโครงการ TO BE NUMBER ONE 4.1 คำขวญั โครงการ TO BE NUMBER ONE คำขวัญคือ “เป็นหนงึ่ โดยไมพ่ ง่ึ ยาเสพติด” 4.2 ความหมายของคำขวัญ โครงการ TO BE NUMBER ONE “เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด” ความหมายของคำขวัญ คือ การเป็นหนึ่งทุกคนเป็นได้ เพราะทุกคนต่างมีดีอยู่ในตัวเองหากค้นพบ ส่งิ ท่ีตวั เองชน่ื ชอบ สนใจและมีความถนัด สามารถฝึกฝนและทำจนเปน็ ผลสำเร็จได้ ทำแล้วมีความสขุ มีความเช่อื ม่ัน และมคี วามภาคภูมิใจ ส่งิ ที่ต้องรู้ การเปน็ หนึ่ง ทุกคนเป็นได้ เพราะทุกคนต่างมีดอี ย่ใู นตวั เอง หากค้นพบสงิ่ ทต่ี ัวเองชนื่ ชอบ สนใจ และมีความถนัด สามารถฝกึ ฝนและทำจนเป็นผลสำเร็จได้ ทำแลว้ มีความสุข มีความเชอื่ ม่ัน และมีความภาคภูมิใจ กจิ กรรมท้ายเรื่องที่ 4 คำขวัญ และความหมายของคำขวญั โครงการ TO BE NUMBER ONE (ให้ผู้เรียนไปทำกจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 4 ในสมุดบันทกึ กิจกรรมการเรียนรูป้ ระกอบชุดวิชา) ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE เปน็ หนึง่ โดยไมพ่ ึง่ ยาเสพติด สค2300122 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ หน้า 22

เร่อื งท่ี 5 สัญลักษณ์ และเพลงในโครงการ TO BE NUMER ONE 5.1 สัญลักษณข์ อง TO BE NUMER ONE 5.1.1 โลโก้ โครงการ TO BE NUMBER ONE เป็นโครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยมี ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เป็นองค์ประธาน ประกอบด้วย 3 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ 1. การรณรงค์ปลุกจิตสำนึกและสรา้ งกระแสที่เอือ้ ตอ่ การป้องกนั และแก้ไขปญั หายาเสพติด 2. การเสรมิ สร้างภูมคิ ุ้มกันทางจิตให้แก่เยาวชนในชุมชน 3. การพัฒนาทกั ษะชีวติ และเครือขา่ ยการปอ้ งกนั และชว่ ยเหลือ สิ่งที่ควรรู้ ซึ่งตราสัญลักษณ์ (โลโก้) ของโครงการ เปลี่ยนแปลงไม่ได้ เพราะสัญลักษณ์นีเ้ ป็นลิขสิทธิ์ของ โครงการ TO B5E.1N.U2MเขBม็EกRลOัดNE หากจะนำไปใชใ้ ห้หารือกับกรมสุขภาพจติ เพ่อื อนญุ าตเปน็ กรณีๆ ไป 5.1.2 เข็มสญั ลักษณ์ สิ่งที่ควรรู้ การติดเข็มสัญลักษณ์ TO BE NUMBER ONE ให้ติดที่หน้าอกด้านซ้ายมือของผู้นั้น ซึ่งถือ เปน็ ตำแหน่งเดยี วกนั กบั หวั ใจของคนเรา เปรยี บเสมอื นวา่ โครงการ TO BE NUMBER ONE ไดส้ ถติ อยู่ใน ดวงใจของสมาชิก TO BE NUMBER ONE ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE เป็นหนึง่ โดยไมพ่ งึ่ ยาเสพติด สค2300122 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ หนา้ 23

5.1.3 สญั ลกั ษณ์เฉลิมฉลองครบรอบ ภาพสัญลักษณ์ ในโอกาส ปี หมายเหตุ เฉลมิ ฉลองครบรอบ 10 ปี 2555 TO BE NUMBER ONE 2557 เฉลิมฉลองครบรอบ 12 ปี TO BE NUMBER ONE เฉลิมฉลองครบรอบ 15 ปี 2560 TO BE NUMBER ONE 5.2 เพลงในโครงการ TO BE NUMER ONE 5.2.1 เพลง TO BE NUMBER ONE เน้ือเพลง TO BE NUMBER ONE – เพลงพระราชนพิ นธ์ ศิลปิน : เพลงพระราชนพิ นธ์ มกี เ่ี สน้ ทาง ที่คดิ จะไป ขอให้ตามหัวใจไป ไม่วา่ ฝนั เธอ จะไกลแค่ไหน คงต้องจริงซกั วนั มจี ุดหมายใด ท่ีคดิ จะเปน็ เปน็ อย่างใจเธอต้องการ ดว้ ยสอง มอื มกี ี่เร่ืองราว ท่ีเธอคิดทำ ขอใหท้ ำใหล้ อง เม่อื ทุก อยา่ ง และด้วยหวั ใจ ตามฝนั จนกวา่ จะเจอ ชวี ติ มเี รือ่ งราว ต้ังมากมาย เพ่ือความใฝ่ฝัน อยู่ทต่ี ัว ของเธอ ทำให้เป็นไปอย่างเธอต้องการ ให้คน้ ใหเ้ ลา่ เรยี นให้ทำ มุ่งไปใหไ้ กล ใหถ้ งึ ปลายทาง เพ่ือความเป็นหน่ึง ........... ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE เป็นหนึง่ โดยไมพ่ ึ่งยาเสพตดิ สค2300122 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น หนา้ 24

เธอจงม่ันคง อย่าหลงไปลอง ความสขุ เพยี งแค่เลือนลาง ทางที่เคยตั้งใจ มันจะชักพา ใหเ้ ธอหลงทาง ตามฝันจนกวา่ จะเจอ ทำใหเ้ ปน็ ไปอย่างเธอตอ้ งการ ด้วยสอง มือ และดว้ ยหัว ใจ มุง่ ไปให้ไกล ใหถ้ งึ ปลายทาง เมอ่ื ทกุ อยา่ ง อยู่ที่ตัว ของเธอ ชวี ติ มเี รือ่ งราวตง้ั มากมาย ให้คน้ ให้เลา่ เรียนใหท้ ำ เพื่อความใฝ่ฝัน เพือ่ ความเป็นหน่ึง ....ดนตร.ี ... ทบู ี นัมเบอรว์ ัน ทูบี นมั เบอร์วัน ทูบี นมั เบอร์วัน ทูบี นมั เบอรว์ นั 5.2.2 เพลง “ไม่มอี ะไรไกลเกินฝนั ” TO BE NUMBER ONE ทลู กระหมอ่ มหญิงอบุ ลรัตนราชกัญญา สริ วิ ัฒนาพรรณวดี คำรอ้ ง สารภี ศิริสัมพนั ธ์ ทำนอง/เรียบเรียง วรฤทธ์ิ เลห่ ์วิสทุ ธิ์ ขวากหนาม นนั้ เปน็ เพียงเครอ่ื งทดสอบ อยา่ ไปยอมแพ้ แค่ขอใหเ้ ธออดทนไว้ ความฝัน ต้องไม่ปล่อยใหม้ นั เลอื นหายไป ไม่มอี ะไรท่ไี กลเกนิ ฝัน จงมั่นใจ TO BE NUMBER ONE TO BE NUMBER ONE อยากยืนจดุ นน้ั ก้าวเขา้ ไปอยา่ หว่นั ไหว TO BE NUMBER ONE TO BE NUMBER ONE สกั วนั ทฝ่ี ันนนั้ จะกลายเป็นจริง อยากให้ตอบตัวเองวา่ ชอบเป็นอะไร หาตวั เองให้เจอ แบบไหนนะทเ่ี ธอต้องการ สานและตอ่ และเตมิ ความฝัน ใฝร่ ู้จริงจังและทำอย่างตัง้ ใจ ให้ถงึ ปลายทางท่เี ธอไดว้ างไว้ เมือ่ ชวี ติ เธอน้ัน ไมไ่ ด้เป็นของใคร ก็จงทำมนั ใหด้ ี TO BE NUMBER ONE TO BE NUMBER ONE อยากยนื จดุ น้นั กา้ วเข้าไปอย่าหว่ันไหว TO BE NUMBER ONE TO BE NUMBER ONE สกั วนั ทฝี่ นั น้นั จะกลายเป็นจรงิ อปุ สรรคนานาไม่ช้ากพ็ น้ ไป ถา้ หวั ใจเธอแกร่ง เขม้ แขง็ พร้อมรบั มอื ทุกอย่างต้งั สตใิ หด้ ีเข้าไว้ อยา่ แพอ้ ะไรงา่ ยดายไปซะก่อน อย่าใหใ้ ครมองว่าเราไมเ่ อาไหน อยากให้เขายอมรับอยากใหเ้ ขาสนใจ พิสูจน์ดว้ ยตัวของเธอ TO BE NUMBER ONE TO BE NUMBER ONE อยากยืนจุดนัน้ กา้ วเขา้ ไปอยา่ หวั่นไหว TO BE NUMBER ONE TO BE NUMBER ONE สักวนั ทีฝ่ นั น้นั จะกลายเปน็ จรงิ ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE เป็นหนึ่งโดยไมพ่ ่ึงยาเสพติด สค2300122 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น หนา้ 25

อย่าแพ้อะไรงา่ ยดายไปซะกอ่ น อยา่ ให้ใครมองว่าเราไมเ่ อาไหน อยากให้เขายอมรบั อยากให้เขาสนใจ พิสูจนด์ ้วยตัวของเธอ TO BE NUMBER ONE TO BE NUMBER ONE อยากยนื จดุ น้ันกา้ วเขา้ ไปอยา่ หวั่นไหว TO BE NUMBER ONE TO BE NUMBER ONE สกั วนั ท่ฝี ันนน้ั จะกลายเปน็ จรงิ ไมม่ อี ะไรท่ีจะไกลเกนิ ฝนั TO BE NUMBER ONE TO BE NUMBER ONE สกั วนั ที่ฝันนั้นจะกลายเปน็ จรงิ TO BE NUMBER ONE TO BE NUMBER ONE ไม่มีอะไรทจ่ี ะไกลเกินฝัน TO BE NUMBER ONE TO BE NUMBER ONE สักวนั ทีฝ่ ันนั้นจะกลายเป็นจรงิ 5.2.3 เพลง เก่งและดี TO BE NUMBER ONE เนอ้ื เพลง ทูลกระหม่อมหญิงอบุ ลรตั นราชกญั ญา สิริวัฒนาพรรณวดี อยากเปน็ ใครสกั คน ทค่ี นท่ัวไปเคา้ จดจำ อยากเป็นใครคนนนั้ ทม่ี ีความฝันเพยี งเปน็ หนงึ่ ของใครหลายคน มนั คงไมอ่ ยากเกิน จะเดินไปจดุ น้นั TO BE NUMBER ONE ฝันของพวกเรา ทพ่ี ร้อมมีใจดวงเดยี วกนั จะขอเปน็ คนเกง่ และเป็นคนดี สง่ิ น้ีทตี่ ้องการ นีค่ อื ความฝันคนรนุ่ ใหม่ เราจะใฝเ่ รียนใหร้ ู้ ค้นใหเ้ จอใหเ้ ข้าใจ อะไรที่ใช่เรา หากว่าเราเลอื กแลว้ กม็ ัน่ ใจ ไมห่ ว่ันไหว สง่ิ หน่ึงที่รเู้ ราน้นั ภมู ใิ จ ว่าตวั เราเองมดี ี ไมแ่ พใ้ ครใคร จะไปยากอะไร ถา้ ตงั้ ใจจริง อะไรก็เป็นไปไดท้ ัง้ นนั้ TO BE NUMBER ONE ฝันของพวกเรา ท่ีพร้อมมใี จดวงเดียวกัน จะขอเป็นคนเกง่ และเป็นคนดี ส่งิ น้ีทีต่ อ้ งการ นีค่ อื ความฝนั คนรุน่ ใหม่ ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE เป็นหน่งึ โดยไมพ่ งึ่ ยาเสพติด สค2300122 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ หน้า 26

ส่งิ หน่ึงทรี่ ู้เราน้นั ภูมใิ จ ว่าตวั เราเองมีดี ไม่แพ้ใครใคร จะไปยากอะไร ถา้ ต้ังใจจริง อะไรก็เปน็ ไปได้ทง้ั นนั้ TO BE NUMBER ONE ฝนั ของพวกเรา ทีพ่ รอ้ มมีใจดวงเดียวกนั จะขอเป็นคนเก่ง และเป็นคนดี ส่ิงนีท้ ตี่ ้องการ TO BE NUMBER ONE ฝันของพวกเรา ที่พร้อมมใี จดวงเดียวกนั จะขอเปน็ คนเก่ง และเปน็ คนดี ส่งิ นท้ี ต่ี อ้ งการ น่คี ือความฝันคนรุ่นใหม่ TO BE NUMBER ONE ฝนั ของพวกเรา ที่พรอ้ มมใี จดวงเดียวกนั จะขอเป็นคนเก่ง และเปน็ คนดี สง่ิ น้ีทต่ี ้องการ จะเกง่ และดี TO BE NUMBER ONE 5.2.4 เพลง เป็นหนึ่งไม่พง่ึ ยา ( Chorus) ถ้าหากหวั ใจไมค่ ดิ ยอมแพ้ใหค้ วามผิดพล้งั ถึงแมเ้ ธอจะเคยหลงทาง กย็ งั มีทางแก้ไข (Chorus) Don’t do drug Do ดี Don’t do drug Do ดี Don’t do drug Do ดี Don’t do drug Do ดี ไม่มใี ครไมเ่ คยพลาดไป ที่วดั กันคอื ใครกล้ากลับตวั ใหม่ ล้มแล้วต้องลกุ ข้ึนมาได้ แปรความผิดหวังเป็นแรงใจ ยากเยน็ แคไ่ หนแคเ่ พยี งหวั ใจยังคงยืนยัน *ไม่มีอะไรไกลเกนิ ฝัน ขอเพยี งฝ่าฟนั ดว้ ยจิตใจ มุ่งหนา้ เดนิ ก้าวไป มเี พื่อนมากมายเปน็ แรงใจใหก้ นั ไม่มีอะไรไกลเกินหวงั เรมิ่ กันอีกครัง้ อยา่ หวนั่ ไหว ให้ไดด้ ังตัง้ ใจ เพ่ือให้ใคร ๆได้เห็นว่าเราเปน็ คนดี ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE เปน็ หน่ึงโดยไมพ่ ึง่ ยาเสพตดิ สค2300122 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น หนา้ 27

สิง่ ที่หวังยงั เฝา้ รออยู่ คนสูน้ ั้นจะไปได้ถงึ จดุ หมาย ชีวิตพรงุ่ นต้ี อ้ งดกี ว่า อดทนเพือ่ แทนสัญญาใจ ปฎิญญาไว้ ขอเป็นทหี่ น่ึงโดยไมต่ ้องพง่ึ ยา นา. นา. นา. นา. นา. นา. นา. นา. นา. อย่าหวั่นไหว ใหไ้ ดด้ ังตั้งใจ เพ่อื ให้ใคร ๆ ไดเ้ ห็นว่าเราเปน็ คนดี TO BE NUMBER ONE ใหไ้ ด้ดังตั้งใจ เพ่อื ให้ใคร ๆ ไดเ้ หน็ วา่ เราเปน็ คนดี TO BE NUMBER ONE 5.2.5 เพลง รักเม่ือพร้อม *ฟงั พ่ีกอ่ นก่อนทีน่ ้องจะตอบตกลงรักใคร ก่อนความรักจะพาหลงทางไปไกล พี่มอี ะไรจะเลา่ ให้ฟัง รกั สวยงาม แต่บางครั้งก็ยงั ทำลายทกุ อย่าง อยากให้นอ้ งเตือนหวั ใจไวบ้าง กอ่ นจะมีคนเสียใจ **นอ้ งสาวพ่อแม่ยงั ห่วง อยา่ ยอมอะไรงา่ ยๆ น้องชายให้หา้ มใจ พลาดไป กไ็ มด่ ี รักเมอ่ื พรอ้ ม พร้อมแล้วค่อยรัก ทำความร้จู ัก ดูใจไปก่อนตอนนี้ รักจะมคี วามหมาย เม่อื ถงึ เวลาท่พี อดี พรงุ่ น้ี ไม่สายท่จี ะรกั กัน ***ฟงั พก่ี อ่ น อย่ารีบร้อนอยา่ ให้ใจไหวหว่ัน หากวา่ เผลอ เตือนตวั เองไม่ทนั กเ็ ผลอมนี ้ำตา อยู่ทีเ่ รา จะให้ตัวเรามไี มม่ คี ณุ คา่ เรือ่ งแบบนี้ ขอให้จำไวว้ ่า เอาคืนกลบั มาไมไ่ ด้ ซ้ำ ( ** , ** ) พรุ่งน้ี ไมส่ ายทจ่ี ะรักกนั กิจกรรมท้ายเรอื่ งท่ี 5 สญั ลกั ษณ์ และเพลงในโครงการ TO BE NUMER ONE (ใหผ้ เู้ รียนไปทำกิจกรรมท้ายเร่อื งที่ 5 ในสมดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรูป้ ระกอบชุดวชิ า) ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE เป็นหนงึ่ โดยไมพ่ ึ่งยาเสพตดิ สค2300122 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น หนา้ 28

เรือ่ งที่ 6 บทบาทหนา้ ที่ของหน่วยงานหลักท่เี กย่ี วขอ้ งกบั TO BE NUMBER ONE 1. กระทรวงมหาดไทย บทบาทหนา้ ที่ของกระทรวงมหาดไทยกับ TO BE NUMBER ONE 1. จัดต้ังงบประมาณเพือ่ ร่วมสนับสนนุ กิจกรรมในโครงการ TO BE NUMBER ONE ตามพระดำริขององค์ ประธานโครงการ 2. กำหนดแนวทางและนโยบายในการดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE ในจังหวัดภูมิภาค ตามแนวทางโครงการ TO BE NUMBER ONE 3. จดั ตัง้ และสนบั สนุนการดำเนนิ งานชมรม TO BE NUMBER ONE ในชมุ ชนภมู ภิ าคท่วั ประเทศ 4. จัดให้มีการประกวดจังหวัด TO BE NUMBER ONE และชมรม TO BE NUMBER ONE ในชุมชน ภูมิภาคระดับจงั หวัด เพือ่ ใหไ้ ด้ผลงานและตวั แทนจังหวัด/ชมรม ดเี ดน่ สง่ เข้าประกวดระดับภาค และระดบั ประเทศ 5. จัดและสนับสนุนให้มีกิจกรรมด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในจังหวัด และชุมชน ทั่วประเทศตามยุทธศาสตรแ์ ละแนวทางการดำเนินงานของโครงการ TO BE NUMBER ONE 6. ร่วมเป็นเจ้าภาพจัดประกวดผลงาน/กิจกรรมในโครงการTO BE NUMBER ONE ทั้งระดับภาค และ ระดับประเทศ 2. กระทรวงแรงงาน บทบาทหน้าทขี่ องกระทรวงแรงงานกับ TO BE NUMBER ONE 1. จัดตั้งงบประมาณเพื่อร่วมสนับสนุนกิจกรรมในโครงการ TO BE NUMBER ONE ตามพระดำริของ องคป์ ระธานโครงการ 2. จัดต้งั และสนับสนนุ การดำเนนิ งานชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานประกอบการทั่วประเทศ 3. จัดให้มีการประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานประกอบการระดับจังหวัด และระดับเขต ในกรงุ เทพมหานคร เพ่อื ใหไ้ ดผ้ ลงานและตวั แทนชมรมดเี ดน่ สง่ เข้าประกวดระดับภาคหรือเขต และระดบั ประเทศ 4. จัดและสนับสนุนให้มีกิจกรรมด้านการป้องกันและแกไ้ ขปัญหายาเสพติดให้แก่กลุ่มลกู จ้าง / พนักงาน ในสถานประกอบการทว่ั ประเทศ ตามยุทธศาสตรแ์ ละแนวทางการดำเนนิ งานของโครงการ TO BE NUMBER ONE 5. ร่วมเป็นเจ้าภาพจัดประกวดผลงาน / กิจกรรมในโครงการ TO BE NUMBER ONE ทั้งระดับภาค และระดบั ประเทศ 3. กระทรวงศึกษาธกิ าร บทบาทหนา้ ทขี่ องกระทรวงศกึ ษาธิการกบั TO BE NUMBER ONE 1. จัดตั้งงบประมาณเพื่อร่วมสนับสนุนกิจกรรมในโครงการ TO BE NUMBER ONE ตามพระดำริของ องค์ประธานโครงการ 2. จดั ตั้งและสนับสนนุ การดำเนินงานชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษาทัว่ ประเทศ ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE เป็นหนึ่งโดยไมพ่ ึง่ ยาเสพติด สค2300122 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ หนา้ 29

3. จัดให้มีการประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานศึกษาระดับจังหวัดและระดับเขต ในกรุงเทพมหานคร เพอ่ื ให้ไดผ้ ลงานและตวั แทนชมรมดีเดน่ ส่งเข้าประกวดระดับภาคหรอื เขต และระดบั ประเทศ 4. จัดและสนับสนุนให้มีกิจกรรมด้านการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติดให้แกเ่ ยาวชน ในสถานศึกษา ทัว่ ประเทศตามยทุ ธศาสตรแ์ ละแนวทางการดำเนินงานของโครงการ TO BE NUMBER ONE 5. ร่วมเป็นเจ้าภาพจัดประกวดผลงาน / กิจกรรมในโครงการ TO BE NUMBER ONE ทั้งระดับภาค และระดับประเทศ 4. กระทรวงยตุ ธิ รรม บทบาทหน้าท่ขี องกระทรวงยตุ ธิ รรมกบั TO BE NUMBER ONE 1. จัดตั้งงบประมาณเพื่อร่วมสนับสนุนกิจกรรมในโครงการ TO BE NUMBER ONE ตามพระดำริของ องคป์ ระธานโครงการ 2. กำหนดแนวทางและนโยบายเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE ให้สอดคล้อง กบั นโยบายแผนงานโครงการระดับประเทศ 3. จัดตั้งและสนับสนุนการดำเนนิ งานชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานพินิจ/ ศูนย์ฝึกอบรมอาชพี เรอื นจำ/ทัณฑสถาน และสำนกั งานคุมประพฤติจงั หวดั 4. จัดให้มีการประกวดชมรม TO BE NUMBER ONE ในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน/ ศูนย์ฝึกอบรมอาชีพเรือนจำ ทัณฑสถาน และสำนักงานคุมประพฤติจังหวัด ระดับจังหวัดและระดับเขต กรงุ เทพมหานคร เพื่อให้ไดต้ วั แทนชมรมดีเดน่ ส่งเขา้ ประกวดระดับภาค และระดบั ประเทศ 5. จัดตั้งและสนับสนุนให้มีกิจกรรมด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในส่วนที่เกี่ยวข้อง ตามยทุ ธศาสตร์ และแนวทางการดำเนนิ งานของโครงการ TO BE NUMBER ONE 6. ร่วมเป็นเจ้าภาพจัดประกวดผลงาน/กิจกรรมในโครงการ TO BE NUMBER ONE ทั้งระดับภาคและ ระดบั ประเทศ 5. กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์ บทบาทหนา้ ทข่ี องกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์ กับ TO BE NUMBER ONE 1. จัดตั้งงบประมาณเพื่อร่วมสนับสนุนกิจกรรมในโครงการ TO BE NUMBER ONE ตามพระดำริของ องคป์ ระธานโครงการ 2. กำหนดแนวทางและนโยบายเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE ให้สอดคลอ้ งกบั นโยบายแผนงานโครงการ ระดับประเทศ 3. จัดตั้งและสนับสนุนให้มีกิจกรรมด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในส่วนที่เกี่ยวข้อง ตามยทุ ธศาสตร์ และแนวทางการดำเนนิ งานของโครงการ TO BE NUMBER ONE 4. ร่วมเป็นเจ้าภาพจัดประกวดผลงาน/กิจกรรมในโครงการ TO BE NUMBER ONE ทั้งระดับภาค และระดับประเทศ ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE เปน็ หนง่ึ โดยไมพ่ งึ่ ยาเสพตดิ สค2300122 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น หนา้ 30

6. กระทรวงสาธารณสขุ บทบาทหนา้ ที่ของกระทรวงสาธารณสุขกับ TO BE NUMBER ONE 1. ประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE ท่วั ประเทศ โดยมกี รมสขุ ภาพจิต เป็นเลขานุการ 2. สนับสนนุ งบประมาณเพอื่ การดำเนินงานในโครงการ TO BE NUMBER ONE ตามแนวทางพระราชทาน ขององคป์ ระธานโครงการ 3. มอบหมาย กรมสุขภาพจิตและสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ให้คำปรึกษา แนะนำทางด้านบริหาร จัดการ และด้านวิชาการ ในการจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE และศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE ในจงั หวดั ชมุ ชน สถานศึกษา และสถานประกอบการท่ัวประเทศ 4. ผลิตและพฒั นาองค์ความรู้ในการปอ้ งกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพติดตามยุทธศาสตร์ และแนวทางของ โครงการ TO BE NUMBER ONE โดยกรมสขุ ภาพจิต และหน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้อง 5. ให้กรมสขุ ภาพจิตสนับสนุนวทิ ยากร คมู่ ือ และสอื่ ต่างๆ แก่หน่วยงานและเครอื ข่ายสมาชิกทวั่ ประเทศ 6. ให้กรมสุขภาพจิตเป็นแกนกลางในการรณรงค์และจดั กิจกรรมเพอื่ การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหายาเสพติด ในโครงการ TO BE NUMBER ONE ระดับภาค และระดบั ประเทศ ตามแนวทางพระราชทานขององคป์ ระธาน โครงการ TO BE NUMBER ONE 7. จดั ประชมุ คณะกรรมการอำนวยการโครงการ TO BE NUMBER ONE และคณะอนกุ รรมการบูรณาการ โครงการ TO BE NUMBER ONE เป็นประจำทุกปี 8. ใหก้ รมสุขภาพจิตประสานกับหนว่ ยงานท่ีเก่ยี วขอ้ งจัดระบบข้อมลู และรวบรวมข้อมูลเพ่ือจัดทำรายงาน ตามแนวทางพระราชทานขององคป์ ระธานโครงการ TO BE NUMBER ONE 9. หนา้ ที่อืน่ ๆ ตามท่อี งค์ประธานโครงการ TO BE NUMBER ONE ทรงพระราชทานมอบหมาย 7. สำนักงานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) บทบาทหน้าทีข่ องสำนักงาน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) กบั TO BE NUMBER ONE 1. สนบั สนนุ งบประมาณเพือ่ การดำเนินงานในโครงการ TO BE NUMBER ONE ตามแนวทางพระราชทาน ขององค์ประธานโครงการ TO BE NUMBER ONE 2. กำหนดแนวทางและนโยบายเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานโครงการ TO BE NUMBER ONE ให้สอดคลอ้ งกบั นโยบายแผนงานโครงการระดับประเทศ 3. รว่ มเป็นเจ้าภาพจัดประกวดผลงาน/กิจกรรมในโครงการ TO BE NUMBER ONE 4. ประสานความร่วมมือในการดำเนนิ กจิ กรรมโครงการ TO BE NUMBER ONE ในสว่ นท่ีเกีย่ วข้อง กิจกรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 6 บทบาทหนา้ ทขี่ องหน่วยงานหลกั ท่เี ก่ยี วข้องกับ TO BE NUMBER ONE (ให้ผู้เรยี นไปทำกจิ กรรมท้ายเรื่องที่ 6 ในสมดุ บันทึกกิจกรรมการเรยี นรปู้ ระกอบชดุ วิชา) ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE เป็นหน่งึ โดยไมพ่ ่งึ ยาเสพตดิ สค2300122 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ หน้า 31

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 การรเู้ ท่าทนั สถานการณย์ าเสพติดในจงั หวัดพงั งา สาระสำคญั ความรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกับปญั หา สาเหตุ ประเภท และอันตรายของสารเสพตดิ ตลอดจนลักษณะอาการ ของผู้ติดสารเสพติด และสามารถร้วู ิธกี ารป้องกนั และหลกี เลย่ี งพฤติกรรมเสยี่ งตอ่ สารเสพติดได้ สามารถวเิ คราะห์ ปญั หาสาเหตุและผลกระทบจากการแพร่ระบาดของสารเสพติด มสี ่วนร่วมในการป้องกันส่ิงเสพตดิ ในชมุ ชน และ เผยแพร่ความรู้ด้านกฎหมายท่เี กี่ยวข้องกับสารเสพติดแก่ผู้อนื่ ได้ ตวั ชี้วัด 1. อธบิ ายความรเู้ ก่ยี วกับยาเสพตดิ 2. วเิ คราะห์ปัญหา สาเหตุ ผลกระทบ และการแพร่ระบาดของยาเสพติดในปจั จุบนั ของประเทศไทย 3. วิเคราะห์ปญั หา สาเหตุ ผลกระทบ และการแพร่ระบาดของยาเสพตดิ ในปจั จุบนั ของจงั หวดั พงั งา ขอบข่ายเน้ือหา เร่อื งท่ี 1. ความรู้เกีย่ วกบั ยาเสพติด 1.1 ประเภทของยาเสพติด 1.2. โทษของยาเสพติด 1.3 การป้องกนั และหลีกเล่ยี งการติดยาเสพติด 1.4 กฎหมายที่เก่ยี วข้องกบั ยาเสพติด เรือ่ งท่ี 2. การวเิ คราะหป์ ญั หา สาเหตุ ผลกระทบ และการแพร่ระบาดของยาเสพตดิ ในปจั จบุ นั ของประเทศไทย เร่ืองที่ 3. การวิเคราะหป์ ัญหา สาเหตุ ผลกระทบ และการแพร่ระบาดของยาเสพตดิ ในปจั จุบันของจังหวัดพงั งา เวลาทีใ่ ชใ้ นการศกึ ษา จำนวน 12 ชั่วโมง ส่ือการเรียนรู้ 1. ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE “เปน็ หนง่ึ โดยไมพ่ ่ึงยาเสพติด” 2. สมุดบันทกึ กจิ กรรมรายวชิ า TO BE NUMBER ONE “เปน็ หน่งึ โดยไม่พ่ึงยาเสพติด” 3. เวบ็ ไซต์ 4. สือ่ สงิ่ พมิ พ์ เช่น แผน่ พบั โปสเตอร์ ใบปลวิ เป็นตน้ ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE เปน็ หน่ึงโดยไมพ่ ่งึ ยาเสพติด สค2300122 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น หน้า 32

เรอ่ื งท่ี 1 ความรูเ้ บื้องต้นเกยี่ วกับยาเสพติด ยาเสพติด ที่จะกล่าวในที่นี้ คือ ยาเสพติดให้โทษ ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 (ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2528 และฉบบั ที่ 3 พ.ศ. 2530) ซ่ึงหมายถงึ สารเคมวี ัตถชุ นดิ ใด ๆ ซึง่ เมื่อเสพเข้าสูร่ า่ งกายไม่ว่าจะ รับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประการใด ๆ แล้วทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะสำคั ญ เช่น ต้องเพิ่มขนาดการเสพขึ้นเป็นลำดับ มีการถอนยาเมื่อขาดยา มีความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจอย่าง รุนแรงตลอดเวลา และสขุ ภาพโดยทว่ั ไปจะทรุดโทรมลง กบั ให้รวมตลอดถงึ พชื หรอื ส่วนของพชื ท่เี ปน็ หรอื ให้ผลผลิต เปน็ ยาเสพติดใหโ้ ทษ หรอื อาจใช้ผลิตเป็นยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ และสารเคมที ่ีใช้ในการผลิตยาเสพติดใหโ้ ทษด้วย ท้ังน้ี ตามทีร่ ัฐมนตรีประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา แต่ไม่หมายความถึงยาสามญั ประจำบ้านบางตำราตามกฎหมายว่าด้วย ยาทมี่ ยี าเสพติดให้โทษผสมอยู่ ภาพที่ 1 ประเภทยาเสพตดิ ชนิดตา่ ง ๆ (โรงเรยี นสำเร็จรปู โรงเรยี นคุระบรุ ีชยั พฒั นาพทิ ยาคม, 2562) 1.1 ประเภทของยาเสพตดิ ยาเสพติดให้โทษแบ่งได้ 5 ประเภท [ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 135 (พ.ศ. 2539) เรอ่ื งระบุชอื่ และประเภทยาเสพตดิ ให้โทษตามพระราชบญั ญตั ยิ าเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. 2522 ดังน้ี 1. ยาเสพติดให้โทษประเภท 1 เช่น เฮโรอีน เมทแอมเฟตามีน เอ็มดีเอ็มเอ (ยาอี) ยาเสพติดให้โทษ ประเภทนี้ไม่ใชป่ ระโยชน์ทางการแพทย์ 2. ยาเสพติดให้โทษประเภท 2 เช่น มอร์ฟีน โคเคอีน เพทิดีน เมทาโดน และฝิ่น ยาเสพติดให้โทษ ประเภทนี้มีประโยชน์ทางการแพทย์ แต่ก็มีโทษมาก ดังนั้นจึงตอ้ งใชภ้ ายใตค้ วามควบคมุ ของแพทย์ และใช้เฉพาะ ในกรณีทจ่ี ำเป็นเทา่ นั้น 3. ยาเสพติดให้โทษประเภท 3 เป็นยาสำเร็จรูปที่ผลิตขึ้นตามทะเบียนตำรับ ที่ได้รับอนุญาตจาก กระทรวงสาธารณสขุ แล้ว มีจำหนา่ ยตามร้านขายยา ได้แก่ ยาแกไ้ อ ทมี่ ตี ัวยาโคเคอีน หรือยาแก้ทอ้ งเสียทม่ี ีตัวยา ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE เปน็ หนึ่งโดยไมพ่ ึง่ ยาเสพติด สค2300122 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ หนา้ 33

ไดเฟนอกซิน เปน็ ต้น ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษประเภท 3 มีประโยชนท์ างการแพทย์ และมโี ทษน้อยกวา่ ยาเสพตดิ ให้โทษอ่ืนๆ 4. ยาเสพติดให้โทษประเภท 4 เป็นน้ำยาเคมีที่นำมาใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษประเภท 1 ได้แก่ น้ำยาเคมี อาซิติกแอนไฮไดรด์ อาซิติลคลอไรด์ เอทิลิดีน ไดอาเซเตท สารเออร์โกเมทรีน และคลอซูโดอีเฟดรีน ยาเสพติดให้โทษประเภทน้ี ส่วนใหญไ่ มม่ กี ารนำมาใชป้ ระโยชนใ์ นการบำบัดรักษาอาการของโรคแต่อยา่ งใด 5. ยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ได้แก่ พืชกัญชา พืชกระท่อม พืชฝิ่น และพืชเห็ดขี้ควาย ยาเสพติด ให้โทษประเภทน้ไี ม่มีประโยชนท์ างการแพทย์ พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ กำหนดบทลงโทษสำหรับผู้ทำการผลิต นำเข้า ส่งออก จำหน่าย มีไว้ ครอบครอง และการเสพยาเสพติดให้โทษประเภท 1, 2, 3 และ 5 นอกจากนี้ยังมีบทลงโทษสำหรับผู้ยุยง หรือ สง่ เสริม หรอื กระทำการใด ๆ อนั เปน็ การช่วยเหลือ หรือใหค้ วามสะดวกในการที่ผอู้ ่นื เสพยาเสพตดิ ให้โทษ การเสพ หมายถึง การรับยาเสพตดิ ใหโ้ ทษเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าดว้ ยวธิ ีการใด ๆ เช่น รับประทาน สูดดม ฉีด ผู้ติดยาเสพติดให้โทษ ถ้าสมัครเข้ารับการบำบัดรักษาในสถานพยาบาลที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดเป็น สถานพยาบาลสำหรับบำบัดรักษาผู้ติดยา ก่อนที่ความผิดจะปรากฏและได้ปฏิบัติครบถ้วนตามระเบียบ ของสถานพยาบาลแล้ว กฎหมายจะเวน้ โทษสำหรบั การเสพยา วตั ถอุ อกฤทธติ์ อ่ จติ และประสาท หรือวัตถอุ อกฤทธิ์ วัตถุออกฤทธ์ติ อ่ จิตและประสาท หรอื วตั ถอุ อกฤทธิ์ ตามพระราชบญั ญัตวิ ตั ถุที่ออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2518 ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2528) ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2535) หมายถึง “วัตถุที่ออกฤทธิ์ ต่อจิตและประสาทที่เป็นส่ิง ธรรมชาติหรอื ไดจ้ ากสง่ิ ธรรมชาติ หรอื วัตถทุ ี่ออกฤทธิต์ อ่ จิตและประสาท ทเี่ ปน็ วตั ถสุ งเคราะห์ ท้งั นต้ี ามที่รัฐมนตรี ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา” วัตถุออกฤทธิ์แบ่งได้ 4 ประเภท [ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 97 (พ.ศ. 2539) เรื่องระบุช่ือ และจัดแบ่งประเภทวัตถอุ อกฤทธิ์ตามความในพระราชบญั ญัตวิ ตั ถทุ อ่ี อกฤทธต์ิ ่อจติ และประสาท พ.ศ. 2518] ดงั นี้ 1. วัตถุออกฤทธิ์ประเภท 1 มีความรุนแรงในการออกฤทธิ์มาก ทำให้เกิดอาการประสาทหลอน ไม่มี ประโยชน์ในการบำบัดรักษาอาการของโรค ได้แก่ ไซโลไซบัน และเมสคาลนี 2. วตั ถุออกฤทธ์ิประเภท 2 เช่น ยากระต้นุ ระบบประสาท เชน่ อเี ฟดรีน เฟเนทิลลนี เพโมลีน และยาสงบประสาท เช่น ฟลูไนตราซีแพม มิดาโซแลม ไนตราซีแพม วัตถุประเภทนี้มีการนำไปใช้ในทางที่ผิด เช่น ใช้เป็นยาแก้ง่วง ยาขยนั หรอื เพอื่ ใชม้ อมเมาผอู้ ่ืน 3. วัตถุออกฤทธิ์ประเภท 3 ใช้ในรูปยารักษาอาการของโรค ส่วนใหญ่เป็นยากดระบบประสาทส่วนกลาง เช่น เมโพรบาเมต อะโมบารบ์ ติ าล และยาแกป้ วด เพตาโซซนี การใชย้ าจำพวกนี้จำเป็นตอ้ งอยใู่ นความควบคุมดูแล ของแพทย์ ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE เปน็ หนงึ่ โดยไมพ่ ึ่งยาเสพติด สค2300122 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หน้า 34

4. วัตถุออกฤทธิ์ประเภท 4 ได้แก่ ยาสงบประสาท/ยานอนหลับ ในกลุ่มของ บาร์บิตูเรต เช่น ฟีโนบาร์บิตาล และเบ็นโซไดอาซีปินส์ เช่น อัลปราโซแลม ไดอาซีแพม ส่วนใหญ่ มีการนำมาใช้อย่างกว้างขวาง ทั้งนี้เพ่ือ บำบดั รักษาอาการของโรค และการนำมาใชใ้ นทางท่ีผดิ การใชย้ าวัตถุออกฤทธ์ิประเภทนตี้ ้องอยภู่ ายใตก้ ารควบคุม ของแพทย์เช่นเดยี วกับการใช้วตั ถุออกฤทธิป์ ระเภท 3 สารระเหย ตามพระราชกำหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. 2533 หมายถึง “สารเคมี หรือผลิตภัณฑ์ที่รัฐมนตรี ประกาศว่าเป็นสารระเหย” สารระเหย เป็นสารเคมี 14 ชนิด และผลิตภัณฑ์ 5 ชนิด [ประกาศกระทรวงสาธารณสุข กระทรวง อุตสาหกรรม ฉบับที่ 14 (พ.ศ. 2538) เร่ืองกำหนดชอ่ื ประเภท ชนิด หรอื ขนาดบรรจุของสารเคมี หรือผลิตภัณฑ์ เปน็ สารระเหย] สารเคมี 14 ชนิด ได้แก่ อาซีโทน เอทิลอาซีเตท โทลอู ีน เซลโลโซลฟ์ ฯลฯ ผลิตภัณฑ์ 5 ชนิด ได้แก่ ทินเนอร์ แลคเกอร์ กาวอินทรีย์สังเคราะห์ กาวอินทรีย์ธรรมชาติ ลูกโป่ง วิทยาศาสตร์ 1.2 โทษของยาเสพตดิ ยาเสพติดให้โทษมีหลายชนิดได้แพร่ระบาดเข้ามาในประเทศไทย จะพบในหมู่เด็กและเยาวชนเป็น ส่วนมาก นบั ว่าเป็นเรือ่ งร้ายแรงเป็นอันตรายต่อผูเ้ สพและประเทศชาติเป็นอยา่ งยง่ิ ผเู้ รยี นควรทราบอันตรายจาก ยาเสพตดิ ในแตล่ ะชนิด ดงั นี้ 1.2.1 ฝน่ิ (Opium) ฝิ่นจะมฤี ทธิ์กดประสาท ทำใหน้ อนหลับเคลิบเคลิ้ม ผูท้ ่ตี ิดฝิ่นจะมคี วามคิดอ่านช้า ลง การทำงานของสมอง หัวใจ และการหายใจช้าลง นอกจากนี้ ยังพบว่าฝิ่นทำให้ ตับเสื่อมสมรรถภาพปลาย ประสาทและกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ ระบบย่อยอาหารเสื่อมสมรรถภาพ เบื่ออาหาร ท้องผูก ระบบฮอร์โมน เปล่ียนแปลง ผู้หญิงอาจเกิดการขาดประจำเดือน ผูช้ ายอาจหมดสมรรถภาพทางเพศ และรา่ งกายทรดุ โทรมอาการ ขาดยา จะเรม่ิ หลังจากไดร้ ับยาคร้งั สุดทา้ ย 4-10 ชั่วโมง แล้วไมส่ ามารถหายาเสพไดอ้ ีก จะมีอาการกระวนกระวาย หงุดหงิด โกรธง่าย ตื่นเต้นตกใจง่าย หาวนอนบ่อย ๆ น้ำมูก น้ำตา น้ำลาย และเหงื่อออกมาก ขนลุก กล้ามเน้ือ กระตกุ ตวั สั่น มา่ นตาขยาย ปวดหลังและขามาก ปวดท้อง อาเจียน ท้องเดนิ บางรายมอี าการรุนแรงถึงขนาดถ่าย เป็นเลือด ที่ภาษาชาวบ้านเรียกว่า “ลงแดง” ผู้ติดยาจะมีความต้องการยาอย่างรุนแรงจนขาดเหตุผลที่ถูกต้อง อาการขาดยาน้จี ะเพม่ิ ขน้ึ ในระยะ 24 ชวั่ โมงแรก และจะเกิดมากที่สุดภายใน 48-72 ชัว่ โมง หลังจากนั้นอาการจะ ค่อย ๆ ลดลง ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE เป็นหนึ่งโดยไมพ่ ึ่งยาเสพติด สค2300122 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น หน้า 35

ภาพท่ี 2 ดอกฝ่นิ (สำนักข่าวชายขอบ, 2562) 1.2.2 มอร์ฟนี (Morphine) เป็นแอลคาลอยด์จากฝ่ินดิบ มีฤทธ์ิทงั้ กดและกระต้นุ ระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้ศูนย์ประสาทรับความรู้สึกชา อาการเจ็บปวดตา่ ง ๆ หมดไป กล้ามเนื้อคลายตวั มีความรู้สกึ สบายหายกงั วล นอกจากนี้ยังมีฤทธิ์กดศูนย์การไอทำให้ระงับอาการไอ กดศูนย์ควบคุมการหายใจ ทำให้ร่างกายหายใจช้ าลง เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ ส่วนฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาทส่วนกลางจะทำให้คลื่นไส้ อาเจียน ม่านตาหร่ี บางรายมีอาการตื่นเต้นด้วย กระเพาะอาหารและลำไส้ทำงานน้อยลง หูรูดต่าง ๆ หดตัวเล็กลง จึงทำให้มีอาการ ทอ้ งผกู และปสั สาวะลำบาก ภาพท่ี 3 มอร์ฟนี (มอรฟ์ ีน, 2562) 1.2.3 เฮโรอนี (Heroin) สกดั ได้จากมอร์ฟีนโดยกรรมวิธีทางเคมี ซง่ึ เกิดปฏกิ ริ ยิ าระหวา่ งมอร์ฟนี และนำ้ ยา อะซิติค แอนไฮไดรด์ เป็นยาเสพติดที่ติดได้ง่ายมาก เลิกได้ยาก มีความแรงสูงกว่ามอร์ฟีนประมาณ 5-8 เท่า แรงกว่าฝิน่ 80 เท่า และถ้าทำให้บรสิ ุทธ์จิ ะมฤี ทธแิ์ รงกว่าฝ่ินถงึ 100เท่าตวั เฮโรอนี เป็นยาเสพติดให้โทษท่ีร้ายแรงท่ีสุด ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE เป็นหนึง่ โดยไมพ่ งึ่ ยาเสพติด สค2300122 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น หน้า 36

ใช้ได้ทั้งวิธีสูบฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือเส้นเลือดดำ ละลายได้ดีในน้ำ เฮโรอีน มีฤทธิ์ทำให้ง่วงนอน งุนงง คลื่นไส้ อาเจียน เบ่ืออาหาร ร่างกายผอมลงอย่างรวดเร็ว อ่อนเพลีย ไม่กระตือรือร้น ไม่อยากทำงาน หงุดหงิด โกรธง่าย มกั กอ่ อาชญากรรมไดเ้ สมอ มักตายด้วยมีโรคแทรกซอ้ น หรือใช้ยาเกินขนาด ภาพท่ี 4 เฮโรอนี (เฮโรอีน, 2562) 1.2.4 บาร์บิทูเรต (Barbiturates) ยาที่จัดอยู่ในพวกสงบประสาทใช้เป็นยานอนหลับ ระงับความวิตก กังวล ระงับอาการชักหรือป้องกันการชัก ที่ใช้กันแพร่หลายไดแ้ ก่ เซดคบาร์บิตาล ออกฤทธิ์กดสมอง ทำให้สมอง ทำงานน้อยลง ใช้ยาเกนิ ขนาดทำให้มีฤทธิก์ ดสมองอย่างรนุ แรง ถึงขนาดหมดความรสู้ ึกและเสยี ชีวิต จะมอี าการมึน งงในคอหงุดหงิด เล่ือนลอย ขาดความรับผิดชอบ มคี วามกลา้ อยา่ งบา้ บิ่น ชอบทะเลาะวิวาท ก้าวร้าว ทำร้ายตนเอง คล้มุ คล่ัง พูดไม่ชดั เดินโซเซคลา้ ยกบั คนเมาสุรา ขาดความอาย อาทิ สามารถเปลือ้ งเสอื้ ผา้ เพื่อเตน้ โชว์ได้ 1.2.5 ยากล่อมประสาท (Tranquilizers) เป็นยาที่มีฤทธิ์กดสมอง ทำให้จิตใจสงบหายกังวล แต่ฤทธ์ิ ไม่รุนแรงถึงขั้นทำให้หมดสติหรือกดการหายใจ การใช้ยาเป็นเวลานาน จะทำให้ร่างกายเกิดความต้านทานตอ่ ยา และเกดิ การเสพติดได้และมแี นวโนม้ จะปว่ ยด้วยโรคความดันโลหิตตำ่ โรคกระเพาะทางเดินอาหาร ฯลฯ ภาพท่ี 5 ยากลอ่ มประสาท (ยากล่อมประสาท, 2562) ชดุ วชิ า TO BE NUMBER ONE เป็นหน่งึ โดยไมพ่ ึ่งยาเสพตดิ สค2300122 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น หน้า 37

1.2.6 แอมเฟตามีน (Amphetamine) มีชื่อที่บุคคลทั่วไปรู้จัก คือ ยาบ้า หรือยาขยันเป็นยาที่มี ฤทธิ์กระตุ้นประสาทส่วนกลาง และระบบประสาทส่วนปลาย ทำให้มีอาการตื่นตัว หายง่วง พูดมาก ทำให้ หลอดเลือดตีบเล็กลง หัวใจเต้นเร็วขึ้น ความดันเลือดสงู มือสั่นใจสัน่ หลอดลมขยาย ม่านตาขยาย เหงื่อออกมาก ปากแห้ง เบือ่ อาหาร ถา้ ใชเ้ กินขนาดจะทำให้เวียนศีรษะนอนไม่หลับ ตวั สั่น ตกใจงา่ ย ประสาทตึงเครยี ด โกรธง่าย จิตใจสบั สน คล่นื ไส้ อาเจยี น ท้องเดนิ และปวดท้องอยา่ งรุนแรง มอี าการชกั หมดสติ และตายเนอื่ งจากหลอดเลือด ในสมองแตกหรือหวั ใจวาย 1.2.7 กัญชา (Cannabis) เป็นพืชล้มลุกชนิดหนึ่ง ขึ้นได้ง่ายในเขตร้อน อาทิ ไทย อินเดีย เม็กซิโก ผลที่เกิดขึ้นต่อรา่ งกายจะปรากฏหลังจากสูบ 2-3 นาที หรือหลังจากรบั ประทานครึ่งถึงหนึ่งชั่วโมง ทำให้มีอาการ ตน่ื เตน้ ชา่ งพดู หวั เราะสง่ เสียงดงั กลา้ มเนอื้ แขนขาอ่อนเปลี้ยคล้ายคนเมาสรุ า ถ้าได้รับในขนาดสูง ความรู้สึกนึกคิด และการตัดสินใจเสียไป ความจำเสื่อม ประสาทหลอน หวาดระแวง ความคิดสับสน ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม การสูบกญั ชา ยงั ทำใหเ้ กดิ หลอดลมอักเสบเรื้อรัง โรคหดื หลอดลม มะเร็ง ท่ปี อด บางรายมีอาการทอ้ งเดิน อาเจียน มือสั่นเป็นตะคริว หลอดเลือดอุดตัน หัวใจเต้นเร็ว ความรู้สึกทางเพศลดลงหรือหมดไป และเป็นหนทางนำไปสู่ การเสพตดิ ยาชนิดอ่ืน ๆ ได้งา่ ย ภาพที่ 6 กญั ชา (กัญชา....ยาเสพตดิ ภัยร้ายใกล้ตวั , 2562) 1.2.8 ยาหลอนประสาท (Hallucinogen) เป็นยาที่ทำให้ประสาทการเรียนรู้ผิดไปจากธรรมดา ยาที่แพร่หลายในปัจจุบัน ได้แก่ แอลเอสดี ดีเอ็มที เอสทีพี เมสคาลีน เห็ดขี้ควาย ต้นลำโพง หัวใจเต้นเร็วข้ึน ความดันเลือดสูง ม่านตาขยาย มือเท้าสั่น เหงื่อออกมากที่ฝ่ามือ บางรายคลื่นไส้ อาเจียน ส่งผลต่อจิตใจ คอื มีอารมณ์ออ่ นไหวงา่ ย ประสาทรบั ความรู้สกึ แปรรวน ไม่สามารถควบคุมสติได้ ทา้ ยสุดผเู้ สพมกั ป่วยเปน็ โรคจิต 1.2.9 สารระเหย สารระเหยจะถูกดดู ซมึ ผา่ นปอด เข้าสกู่ ระแสโลหิต แลว้ เข้าสู่เน้ือเยอื่ ต่างๆ ของรา่ งกาย เกดิ พษิ ซง่ึ แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ระยะ คือ ชุดวชิ า TO BE NUMBER ONE เปน็ หน่งึ โดยไมพ่ ึ่งยาเสพตดิ สค2300122 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ หนา้ 38

1) พิษระยะเฉียบพลัน ตอนแรกจะรู้สึกเป็นสุข ร่าเริง ควบคุมตัวเองไม่ได้ คล้ายกับคนเมาสุรา ระคายเคอื งเย่ือบุภายในปากและจมกู น้ำลายไหลมาก ต่อมามีฤทธกิ์ ดทำใหง้ ่วงซึม หมดสติ ถา้ เสพในปริมาณมาก จะไปกดศูนยห์ ายใจทำใหต้ ายได้ 2) พษิ ระยะเรือ้ รัง หากสดู ดมสารระเหยเปน็ ระยะเวลานานตดิ ต่อกนั จะเกิดอาการทางระบบประสาท วิงเวียนศีรษะ เดินโซเซ ความคิดสับสน หัวใจเต้นผิดปกติ เกิดการอักเสบของหลอดลม ถ่ายทอดทางพันธุกรรม เปน็ เหตใุ ห้เด็กทีเ่ กดิ มามีความพกิ ารได้ เซลล์สมองจะถูกทำลายจนสมองฝอ่ จะเป็นโรคสมองเสื่อมไปตลอดชวี ิต 1.2.10 ยาบ้า เป็นชื่อที่ใช้เรียกยาเสพติดที่มีส่วนของสารเคมีประเภทแอมเฟตามีน (Amphetamine) สารประเภทน้ีแพรร่ ะบาดอยู่ 3 รปู แบบด้วยกนั คือ 1) แอมเฟตามนี ซลั เฟต (Amphetamine Sulfate) 2) เมทแอมเฟตามีน (Methamphetamine) 3) เมทแอมเฟตามนี ไฮโดรคลอไรด์ (Methamphetamine Hydrochloride) ยาบา้ จดั อย่ใู นกลมุ่ ยาเสพติดท่ีออกฤทธ์กิ ระตนุ้ ประสาท มลี กั ษณะเปน็ ยาเมด็ กลมแบนขนาดเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 6-8 มิลลิเมตร ความหนาประมาณ 3 มิลลิเมตร น้ำหนักเม็ดยาประมาณ 80-100 มิลลิกรัม มีสีต่างๆ กัน เช่น สีส้ม สีน้ำตาลสีม่วง สีเทา สีเหลือง และสีเขียว มีสัญลักษณ์ที่ปรากฏบนเม็ดยา เช่น ฬ, M, PG, WY สัญลักษณ์รูปดาว, รูปพระจนั ทร์เส้ียว, 99 หรือ อาจเป็นลักษณะของเส้นแบง่ ครึง่ เม็ด ซึ่งลักษณะ เหลา่ น้ีอาจปรากฏบนเม็ดยาดา้ นหนง่ึ หรอื ทัง้ สองดา้ นหรอื อาจเปน็ เมด็ เรยี บทั้งสองดา้ นก็ได้ ภาพท่ี 6 ยาบ้า (ยาบา้ คอื อะไร, 2562) ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE เป็นหนึ่งโดยไมพ่ ึ่งยาเสพตดิ สค2300122 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ หนา้ 39

อาการของผูเ้ สพยาบ้า เมอื่ เสพเข้าสูร่ ่างกาย ในระยะแรกจะออกฤทธท์ิ ำให้ร่างกายตื่นตัว หวั ใจเต้นเรว็ ความดันโลหิตสูง ใจส่ัน ประสาท ตึงเครียด แต่เมื่อหมดฤทธิ์ยา จะรู้สึกอ่อนเพลียมากกว่าปกติ ประสาทล้าทำให้การตัดสินใจช้า และผิดพลาด เป็นเหตุให้เกิดอุบัติเหตุร้ายแรงได้ ถ้าใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน จะทำให้สมองเสื่อม เกิดอาการประสาทหลอน เห็นภาพลวงตา หวาดระแวงคลุ้มคลั่ง เสียสติ เป็นบ้าอาจทำร้ายตนเองและผู้อื่นได้ หรือในกรณีที่ได้รับยา ในปรมิ าณมาก (Overdose) จะไปกดประสาทและระบบการหายใจทำให้หมดสติ และถงึ แก่ความตายได้ อนั ตรายที่ได้รับการเสพยาบา้ กอ่ ให้เกดิ ผลร้ายหลายประการ ดงั น้ี 1) ผลต่อจิตใจ เมื่อเสพยาบ้าเป็นระยะเวลานานหรือใช้เป็นจำนวนมาก จะทำให้ผู้เสพมีความ ผิดปกติทางด้านจิตใจกลายเป็นโรคจิตชนิดหวาดระแวง ส่งผลให้มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป เช่น เกิดอาการ หวาดหวั่น หวาดกลัว ประสาทหลอน ซึ่งโรคนี้หากเกิดขึ้นแล้ว อาการจะคงอยู่ตลอดไป แม้ในช่วงเวลาที่ไม่ ได้ เสพยากต็ าม 2) ผลต่อระบบประสาท ในระยะแรกจะออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท ทำให้ประสาทตึงเครียด แตเ่ ม่ือหมดฤทธ์ิยาจะมอี าการประสาทลา้ ทำใหก้ ารตัดสินใจในเรอื่ งตา่ ง ๆ ชา้ และผิดพลาด และหากใช้ติดต่อกัน เป็นเวลานานจะทำให้สมองเสื่อม หรือกรณีที่ใช้ยาในปริมาณมาก (Overdose) จะไปกดประสาท และระบบ การหายใจทำใหห้ มดสติ และถึงแก่ความตายได้ 3) ผลต่อพฤติกรรม ฤทธิ์ของยาจะกระตุ้นสมองส่วนที่ควบคุมความก้าวร้าว และความกระวน กระวายใจ ดังนั้น เมื่อเสพยาบ้าไปนาน ๆ จะก่อให้เกิดพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป คือ ผู้เสพจะมีความก้าวร้าว เพม่ิ ข้ึน และหากยังใชต้ ่อไปจะมีโอกาสเป็นโรคจติ ชนิดหวาดระแวง เกรงว่าจะมคี นมาทำร้ายตนเอง จึงต้องทำร้าย ผอู้ ่ืนก่อน 1.2.11 ยาอ,ี ยาเลฟิ ยาอี ยาเลิฟ เอ็คซ์ตาซี (Ecstasy) เป็นยาเสพติดกลุ่มเดียวกัน จะแตกต่างกันบ้างในด้านโครงสร้างทางเคมี ลักษณะของยาอี มีทั้งที่เป็นแคปซูลและเป็นเม็ดยาสีต่าง ๆ แต่ที่พบในประเทศไทย ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นเม็ด กลมแบน เสน้ ผ่าศนู ย์กลาง 0.8-1.2 ซม. หนา 0.3-0.4 ซม. ผิวเรียบ และปรากฏสัญลักษณบ์ นเมด็ ยา เป็นรปู ตา่ ง ๆ เช่น กระต่าย, ค้างคาว, นก, ดวงอาทิตย์, PT ฯลฯ เสพโดยการรับประทานเป็นเม็ด จะออกฤทธิ์ภายในเวลา 45 นาที และฤทธิย์ าจะอยู่ในร่างกายได้นานประมาณ 6 – 8 ชวั่ โมง ยาอี ยาเลิฟ เอ็คซ์ตาซี เป็นยาที่แพร่ระบาดในกลุ่มวัยรุ่นที่ชอบเที่ยวกลางคืน ออกฤทธิ์ใน 2 ลักษณะ คือ ออกฤทธิ์กระตุ้นระบบประสาท ในระยะสั้นๆ หลังจากนั้นจะออกฤทธิ์หลอกประสาทอย่างรุนแรง ฤทธ์ิของยาจะทำให้ผเู้ สพรู้สึกร้อน เหงื่อออกมาก หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหติ สูง การได้ยินเสียง และการมองเห็น แสงสตี า่ ง ๆ ผดิ ไปจากความเปน็ จริง เคลิบเคลิ้ม ไม่สามารถควบคมุ อารมณ์ของตนเองได้ อันเป็นสาเหตุท่ีจะนำไปสู่ ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE เป็นหนึ่งโดยไมพ่ ง่ึ ยาเสพตดิ สค2300122 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ หน้า 40

พฤตกิ รรมเสือ่ มเสียต่าง ๆ และจากการคน้ คว้าวิจัยของแพทย์ และนกั วทิ ยาศาสตรห์ ลายท่าน พบวา่ ยาชนิดนม้ี ีอันตราย รา้ ยแรง แมจ้ ะเสพเพยี ง 1-2 ครงั้ ก็สามารถทำลายระบบภูมคิ ุ้มกนั ของรา่ งกาย ส่งผลใหผ้ เู้ สพมโี อกาสติดเชือ้ โรคต่าง ๆ ได้ง่าย และยังทำลายเซลล์สมองส่วนที่ทำหน้าที่ส่งสารซีโรโทนิน (Serotonin) ซึ่งเป็นสาระสำคัญในการควบคุม อารมณ์ให้มีความสุข ซึ่งผลจากการทำลายดังกล่าว จะทำให้ผู้เสพเข้าสู่สภาวะของอารมณ์ที่เศร้ าหมองหดหู่ อย่างมาก และมแี นวโนม้ การฆ่าตวั ตายสงู กวา่ ปกติ อาการของผเู้ สพยาอี, ยาเลฟิ , เอค็ ซ์ตาซี มีอาการเหงื่อออกมาก หวั ใจเต้นเร็ว ความดันโลหติ สงู ระบบประสาทการรบั รเู้ กดิ การเปลย่ี นแปลงทั้งหมด (Psychedelic) ทำให้การได้ยินเสียง และการมองเห็นแสงสีต่าง ๆ ผิดไปจากความเป็นจริง เคลิบเคลิ้ม ควบคุม อารมณไ์ ม่ได้ อนั ตรายทไ่ี ด้รับ การเสพยาอี กอ่ ให้เกดิ ผลร้ายหลายประการ ดงั น้ี 1) ผลต่ออารมณ์ เมือ่ เรมิ่ เสพในระยะแรกยาอจี ะออกฤทธิก์ ระตุ้นประสาท ให้ผเู้ สพรู้สึกต่ืนตัวตลอดเวลา ไม่สามารถควบคมุ อารมณข์ องตนเองได้ เปน็ สาเหตใุ ห้เกิดพฤตกิ รรม สำสอ่ นทางเพศ 2) ผลตอ่ การรสู้ กึ การรับรจู้ ะเปล่ยี นแปลงไปจากความเปน็ จรงิ 3) ผลต่อระบบประสาท ยาอีจะทำลายระบบประสาท ทำให้เซลล์สมองส่วนทีท่ ำหนา้ ทีห่ ล่ังสารซโี รโทนนิ (Serotonin) ซงึ่ เปน็ สาระสำคัญในการควบคุมอารมณน์ ั้น ทำงานผดิ ปกติกล่าวคอื เม่อื ยาอเี ขา้ สู่สมองแลว้ จะทำให้ เกิดการหลั่งสาร “ซีโรโทนิน” ออกมามากเกินกว่าปกติ ส่งผลให้จิตใจสดชื่นเบิกบาน แต่เมื่อระยะเวลาผ่านไป สารดังกล่าวจะลดน้อยลง ทำให้เกิดอาการซึมเศร้าหดหู่อย่างมาก อาจกลายเป็นโรคจิต ประเภทซึมเศร้า (Depression) และอาจเกิดสภาวะอยากฆ่าตัวตาย นอกจากนี้การที่สารซีโรโทนินลดลง ยังทำให้ธรรมชาติ ของ การหลับนอนผิดปกติ จำนวนเวลาของการหลับลดลง นอนหลับไม่สนิท จึงเกิดอาการอ่อนเพลียขาดสมาธิ ในการเรียนและการทำงาน อ่อนเพลียขาดสมาธใิ นการเรียน และการทำงาน 4) ผลต่อสภาวะการตายขณะเสพ มกั เกดิ เมื่อผู้เสพสูญเสียเหง่อื มาก ทำใหเ้ กดิ สภาวะขาดน้ำอย่างฉับพลัน หรือกรณีที่เสพยาอีพร้อมกับดื่มแอลกอฮอล์เข้าไปมาก หรือผู้ที่ป่วยเป็นโรคหัวใจ จะทำให้เกิดอาการช็อก และเสยี ชีวิตได้ สรุป ยาเสพติดมีหลายชนิด มีฤทธิ์ร้ายแรงทำลายสุขภาพ มีผลต่อระบบประสาทเป็นอย่างมาก ผู้เสพจะมีอาการในลักษณะที่ควบคุมตนเองไม่ค่อยได้ เป็นไปตามฤทธิ์ของยาเสพติดแต่ละชนิดเมื่อเสพติดต่อกันไป ระยะหนึ่ง จะทำให้ มคี วามตอ้ งการโดยขาดไมไ่ ด้ และจะมีความต้องการเพ่มิ ขึ้นเรือ่ ย ๆ ในที่สดุ รา่ งกายจะทรดุ โทรม และเสียชีวิตในที่สุด ยาเสพติดเหล่านี้ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน ยากล่อมประสาท กัญชา ยาอี ฯลฯ ผู้เรียน ไมค่ วรริลอง เพราะจะทำใหเ้ กดิ การเสพติดโดยงา่ ย ทำใหเ้ สียการเรียน เสียอนาคตในทีส่ ุด ชดุ วิชา TO BE NUMBER ONE เปน็ หน่งึ โดยไมพ่ ง่ึ ยาเสพตดิ สค2300122 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ หนา้ 41

ลักษณะอาการของผูต้ ิดยาเสพติด ลกั ษณะทัว่ ไป 1) ตาโรยขาดความกระปร้ีกระเปร่า นำ้ มูกไหล นำ้ ตาไหล รมิ ฝปี ากเขยี วคล้ำแห้ง แตก (เสพโดยการสบู ) 2) เหง่ือออกมาก กลนิ่ ตวั แรง พดู จาไม่สมั พนั ธก์ ับความจรงิ 3) บริเวณแขนตามแนวเส้นโลหิต มรี ่องรอยการเสพยาโดยการฉดี ให้เหน็ 4) ทที่ ้องแขนมีรอยแผลเปน็ โดยกรีดดว้ ยของมคี มตามขวาง (ตดิ เหล้าแห้ง ยากล่อมประสาทยาระงบั ประสาท) 5) ใส่แว่นตากรอบแสงเข้มเปน็ ประจำ เพราะม่านตาขยายและเพ่อื ปดิ นัยน์ตาสีแดงก่ำ 6) มักสวมเส้ือแขนยาวปกปดิ รอยฉดี ยา โปรดหลีกใหพ้ ้นจากบุคคลที่มีลักษณะดังกลา่ ว ชีวิตจะสุขสนั ต์ตลอดกาล 7) มีความต้องการอย่างแรงกลา้ ท่จี ะเสพยานน้ั ตอ่ ไปอีกเร่ือย ๆ 8) มีความโนม้ เอยี งท่ีจะเพิ่มปรมิ าณของสิ่งเสพตดิ ใหม้ ากขน้ึ ทุกขณะ 9) ถ้าถึงเวลาที่เกิดความต้องการแล้วไม่ได้เสพจะเกิดอาการขาดยาหรืออยากยา โดยแสดงออกมา ในลักษณะอาการตา่ ง ๆ เช่น หาว อาเจยี น น้ำมกู น้ำตาไหล ทรุ นทุราย คล้มุ คล่ัง ขาดสติ โมโห ฉุนเฉียว ฯลฯ 10) สง่ิ เสพติดน้ันหากเสพอยู่เสมอๆ และเปน็ เวลานานจะทำลายสขุ ภาพของผเู้ สพทงั้ ทางร่างกาย และจติ ใจ 11) ทำใหร้ ่างกายซบู ผอมมโี รคแทรกซ้อน และทำใหเ้ กิดอาการทางโรคประสาทและจติ ไม่ปกติ 1.3 การป้องกันและหลีกเลี่ยงการตดิ ยาเสพตดิ การดำเนินงานป้องกนั ยาเสพติด จำเป็นต้องสร้างให้กลุ่มเป้าหมายมี “ภูมิคุ้มกัน” เกิดขึน้ กับตัวเอง มีทักษะชีวิต (Life Skill) เพียงพอที่จะไม่ให้ตนเองต้องติดยาเสพติดและสามารถ เฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสยี่ ง เพอื่ ป้องกนั มใิ หบ้ ุคคลทต่ี นรกั เพ่ือนสนิทฯลฯติดยาเสพติดได้ โดยสามารถดำเนนิ การได้ ดังนี้ 1.3.1 ป้องกันตนเอง ไม่ใช้ยาโดยมิได้รับคำแนะนำจากแพทย์ และจงอย่าทดลองเสพยาเสพติด ทกุ ชนิดโดยเด็ดขาด เพราะตดิ งา่ ยหายยาก 1.3.2 ป้องกันครอบครวั ควรสอดส่องดูแลเด็กและบุคคลในครอบครัวหรอื ทอี่ ยู่ร่วมกนั อยา่ ให้เก่ียวข้องกับ ยาเสพติด ต้องคอยอบรมสั่งสอนให้รู้ถึงโทษและภัยของยาเสพติด หากมีผู้เสพยาเสพติดในครอบครัวจงจัดการ ใหเ้ ขา้ รกั ษาตัวทโ่ี รงพยาบาล ใหห้ ายเด็ดขาด การรักษาแตแ่ รกเริม่ ติดยาเสพติดมีโอกาสหายไดเ้ ร็วกว่าท่ปี ลอ่ ยไว้นาน ๆ 1.3.3 ป้องกันเพื่อนบ้าน โดยช่วยชี้แจงให้เพื่อนบ้านเข้าใจถึงโทษ และภัยของยาเสพติด โดยมิให้ เพื่อนบ้านรู้เท่าไม่ถงึ การณ์ ต้องถูกหลอกลวง และหากพบว่าเพื่อนบ้านติดยาเสพติด จงช่วยแนะนำให้ไปรักษาตวั ที่โรงพยาบาล 1.3.4 ป้องกันโดยให้ความร่วมมือกับทางราชการ เมื่อทราบว่าบ้านใด ตำบลใด มียาเสพติด แพร่ระบาด ขอให้แจ้งเจ้าหน้าท่ีตำรวจทกุ แห่งทุกทอ้ งที่ทราบ หรอื ทีศ่ ูนยป์ ราบปรามยาเสพติดให้โทษ กรมตำรวจ (ศปส.ตร.) โทร. 0-2252-7962, 0-2252-5932 และที่สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (สำนกั งาน ป.ป.ส.) สำนักนายกรัฐมนตรี โทร. 0-2245-9350-9 ชุดวิชา TO BE NUMBER ONE เปน็ หน่ึงโดยไมพ่ ่ึงยาเสพติด สค2300122 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ หน้า 42


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook