แผนการจดั การเรยี นรู้ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแม่แจ่ม จังหวดั เชยี งใหม่ รายวิชาภาษาไทย รหสั วิชา ท23101 ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 นางสาวเสาวนีย์ ต๊ะตา๋ ตาแหนง่ ครูผู้ชว่ ย กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ สังกดั สานักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวชิ า ท23101 รายวชิ าภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564 ระดับช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โดย นางสาวเสาวนีย์ ต๊ะต๋า ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อาเภอแม่แจ่ม จังหวดั เชียงใหม่ สังกดั สานักบริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
บันทกึ ข้อความ ส่วนราชการ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อ.แมแ่ จ่ม จ.เชียงใหม่ ท่ี วนั ที่ 28 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2564 เรื่อง การเสนอแผนการจดั การเรียนรู้เพอ่ื ขออนุญาตใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน เรียน ผอู้ านวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ตามท่ีขา้ พเจา้ นางสาวเสาวนีย์ ตะ๊ ต๋า ตาแหน่งครู ครูผชู้ ่วย กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ไดร้ ับมอบหมาย ให้ปฏิบตั ิงานสอนในระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท23101 จานวน 1.5 หน่วยกิต ในภาค เรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2564 ขา้ พเจา้ จึงได้วิเคราะห์สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั คาอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา เพื่อ จดั ทาแผนการจดั การเรียนรู้ ซ่ึงสอดคลอ้ งกับหลกั สูตรสถานศึกษา และหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 โดยจดั กิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผูเ้ รียนเป็ นสาคญั ดงั น้นั จึงขออนุมตั ิใชแ้ ผนการจดั การ เรียนรู้ดงั กลา่ ว เพื่อใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนใหเ้ กิดประสิทธิภาพสูงสุด และเพ่ือพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน ใหบ้ รรลุเป้าหมายของหลกั สูตร ฯ ต่อไป จึงเรียนมาเพอ่ื โปรดพิจารณาอนุมตั ิ ลงช่ือ ครูผสู้ อนประจาวิชา (นางสาวเสาวนีย์ ตะ๊ ต๋า) 28 กรกฎาคม 2564 ความคดิ เหน็ ของหวั หน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ไดท้ าการตรวจสอบ แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย รหสั วิชา ท23101 ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 ของนางสาวเสาวนีย์ ต๊ะต๋า ตาแหน่งครูผชู้ ่วย แลว้ มีความคดิ เห็นดงั น้ี 1. ส่วนประกอบของแผนการจดั การเรียนรู้ ที่ รายการ มี ไมม่ ี หมายเหตุ 1. คาอธิบายรายวิชา 2. ผลการเรียนรู้ / ตวั ช้ีวดั 3. สาระการเรียนรู้ 4. เวลาเรียน (จานวน 60 ชวั่ โมง) 5. การออกแบบกระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 6. แผนการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ 7. รายละเอียดแผนการวดั และประเมินการเรียนรู้ 2. เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ที่ ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ควรปรับปรุง
3. กิจกรรมการเรียนรู้ไดน้ าเอากระบวนการเรียนรู้ ( ) ที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั มาใชใ้ นการจดั กิจกรรมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ( ) ที่ยงั ไม่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป 4. เป็นแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่ี ( ) นาไปใชไ้ ดจ้ ริง ( ) ควรปรับปรุงก่อนนาไปใช้ 5. ขอ้ เสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ (นางสาววรรณภรณ์ ทิพยส์ อน) หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ความคดิ เหน็ ของรองผู้อานวยการโรงเรียนกลุ่มบริหารงานวิชาการ ไดท้ าการตรวจสอบ แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าภาษาไทย รหสั วิชา ท23101 ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 ของนางสาวเสาวนีย์ ตะ๊ ต๋า ตาแหน่งครูผชู้ ่วย แลว้ มีความคิดเห็นดงั น้ี 1. เป็นการวเิ คราะห์และออกแบบกระบวนการเรียนรู้ท่ี ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ควรปรับปรุง 2. เป็นการวเิ คราะห์และออกแบบกระบวนการเรียนรู้ท่ี ( ) ที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั มาใชใ้ นการจดั กิจกรรมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ( ) ท่ียงั ไม่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ควรปรับปรุงพฒั นาตอ่ ไป 3. เป็นการวเิ คราะห์และออกแบบกระบวนการเรียนรู้ที่ ( ) นาไปใชไ้ ดจ้ ริง ( ) ควรปรับปรุงก่อนนาไปใช้ 4. ขอ้ เสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ (นายวเิ ศษ ฟองตา) รองผอู้ านวยการโรงเรียนกลุ่มบริหารงานวชิ าการ ความคิดเหน็ ของรองผู้อานวยการสถานศึกษา ( ) อนุญาตใหใ้ ชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้น้ีได้ ( ) ไมอ่ นุญาต เพราะ………………………………………………………………………………… ลงช่ือ (นายอดิศร แดงเรือน) ผอู้ านวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31
บันทึกข้อความ ส่วนราชการ กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อ.แม่แจ่ม จ.เชียงใหม่ ท่ี วนั ท่ี 28 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2564 เร่ือง การเสนอแผนการจดั การเรียนรู้เพ่อื ขออนุญาตใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน เรียน ผอู้ านวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ตามที่ขา้ พเจา้ นางสาวเสาวนีย์ ต๊ะต๋า ตาแหน่งครู ครูผชู้ ่วย กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ไดร้ ับมอบหมาย ให้ปฏิบตั ิงานสอนในระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท33101 จานวน 1.0 หน่วยกิต ในภาค เรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2564 ขา้ พเจา้ จึงได้วิเคราะห์สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั คาอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา เพื่อ จดั ทาแผนการจดั การเรียนรู้ ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรสถานศึกษา และหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 โดยจดั กิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผูเ้ รียนเป็ นสาคญั ดงั น้นั จึงขออนุมตั ิใช้แผนการจดั การ เรียนรู้ดงั กลา่ ว เพอื่ ใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนใหเ้ กิดประสิทธิภาพสูงสุด และเพื่อพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน ใหบ้ รรลุเป้าหมายของหลกั สูตร ฯ ต่อไป จึงเรียนมาเพื่อโปรดพจิ ารณาอนุมตั ิ ลงช่ือ ครูผสู้ อนประจาวิชา (นางสาวเสาวนีย์ ต๊ะต๋า) 28 กรกฎาคม 2564 ความคดิ เหน็ ของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ไดท้ าการตรวจสอบ แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท33101 ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ของนางสาวเสาวนีย์ ตะ๊ ต๋า ตาแหน่งครูผชู้ ่วย แลว้ มีความคิดเห็นดงั น้ี 6. ส่วนประกอบของแผนการจดั การเรียนรู้ ที่ รายการ มี ไมม่ ี หมายเหตุ 8. คาอธิบายรายวิชา 9. ผลการเรียนรู้ / ตวั ช้ีวดั 10. สาระการเรียนรู้ 11. เวลาเรียน (จานวน 60 ชวั่ โมง) 12. การออกแบบกระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 13. แผนการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ 14. รายละเอียดแผนการวดั และประเมินการเรียนรู้ 7. เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ควรปรับปรุง
8. กิจกรรมการเรียนรู้ไดน้ าเอากระบวนการเรียนรู้ ( ) ที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั มาใชใ้ นการจดั กิจกรรมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ( ) ที่ยงั ไม่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป 9. เป็นแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่ี ( ) นาไปใชไ้ ดจ้ ริง ( ) ควรปรับปรุงก่อนนาไปใช้ 10. ขอ้ เสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ (นางสาววรรณภรณ์ ทิพยส์ อน) หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ความคิดเห็นของรองผู้อานวยการโรงเรียนกลุ่มบริหารงานวิชาการ ไดท้ าการตรวจสอบ แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าภาษาไทย รหสั วิชา ท33101 ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ของนางสาวเสาวนีย์ ตะ๊ ต๋า ตาแหน่งครูผชู้ ่วย แลว้ มีความคิดเห็นดงั น้ี 5. เป็นการวิเคราะห์และออกแบบกระบวนการเรียนรู้ท่ี ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ควรปรับปรุง 6. เป็นการวเิ คราะห์และออกแบบกระบวนการเรียนรู้ท่ี ( ) ที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั มาใชใ้ นการจดั กิจกรรมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ( ) ที่ยงั ไม่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ควรปรับปรุงพฒั นาตอ่ ไป 7. เป็นการวเิ คราะห์และออกแบบกระบวนการเรียนรู้ที่ ( ) นาไปใชไ้ ดจ้ ริง ( ) ควรปรับปรุงก่อนนาไปใช้ 8. ขอ้ เสนอแนะ ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ (นายวเิ ศษ ฟองตา) รองผอู้ านวยการโรงเรียนกลุ่มบริหารงานวชิ าการ ความคดิ เห็นของรองผู้อานวยการสถานศึกษา ( ) อนุญาตใหใ้ ชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้น้ีได้ ( ) ไมอ่ นุญาต เพราะ………………………………………………………………………………… ลงช่ือ (นายอดิศร แดงเรือน) ผอู้ านวยการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31
สารบัญ เรื่อง หน้า คาชีแ้ จงแผนการจดั การเรียนรู้ 1 ตารางวิเคราะห์สาระมาตรฐานการเรียนรู้ และตวั ชี้วัดช้ันปี กบั หน่วยการเรียนรู้ 6 โครงสร้างการแบ่งเวลารายช่ัวโมงในการจัดการเรียนรู้ 7 แผนปฐมนิเทศก่อนเรียน 8 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 กล่มุ คาและพยางค์ 12 - 33 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มคา 13 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 ประโยคความเดียวซบั ซอ้ น 16 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 ประโยคความรวมซบั ซอ้ น 19 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 ประโยคความซอ้ นซบั ซอ้ น 22 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 5 ประโยคแสดงเง่ือนไข 25 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 6 ประโยคแสดงเง่ือนไขซบั ซอ้ น 28 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 7 การเปรียบเทียบประโยคซบั ซอ้ น 31 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 การใช้ภาษาในการส่ือสาร 34 - 52 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 8 การใชภ้ าษาใหถ้ กู ตอ้ งตามหลกั เกณฑข์ องภาษา 35 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 9 การใช้คาให้ถูกต้องตามระเบียบของภาษาและการเรียบเรียง 38 ประโยคใหส้ ละสลวย 41 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 10 การเลือกใชค้ าใหเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะและบุคคล 44 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 11 ระดบั ของภาษา 47 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 12 การใชภ้ าษากบั กลุม่ อาชีพหรือวงการตา่ ง ๆ 50 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 13 ภาษาที่ใชใ้ นกลุ่มวิชาการหรือวชิ าต่าง ๆ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 นิทานคากลอน เร่ือง พระอภัยมณตี อน พระอภยั มณีหนีนางผเี สื้อ 53 - 72 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 14 การอา่ นนิทานคากลอนเรื่อง พระอภยั มณี ตอน พระอภยั มณีหนี 54 นางผีเส้ือ 58 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 15 กลอนนิทาน 62 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 16 การอา่ นตีความ 66 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 17 การพิจารณาคุณค่ากลอนนิทาน 70 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 18 การพจิ ารณาคุณค่ากลอนนิทานและการแตง่ นิทาน
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย 73 - 94 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 19 ลกั ษณะของคาภาษาตา่ งประเทศที่ยมื มาใชใ้ นภาษาไทย 74 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 20 ภาษาเขมร 77 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 21 ภาษบาลีสนั สกฤต 80 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 22 ภาษาองั กฤษและภาษาจีน 83 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 23 ภาษาชวา – มลายแู ละภาษาอ่ืน ๆ 86 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 24 คาทบั ศพั ท์ 89 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 25 ศพั ทบ์ ญั ญตั ิ 92 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 ส่งสารด้วยการเขียน 95 - 104 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 26 ความรู้ทว่ั ไปเก่ียวกบกั ารแต่งคาประพนั ธ์ 96 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 27 วิธีแต่งบทร้อยกรองโดยทว่ั ๆ ไป 99 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 28 การแตง่ โคลง 102 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 นทิ านเวตาลเรื่องที่ 10 105 - 124 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 29 การอ่านพระบรมราโชวาท 106 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 30 การเขียนแสดงความคิดเห็น 110 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 31 การเขียนยอ่ ความ 114 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 32 การรายงานผลการศึกษาคน้ ควา้ 117 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 33 การอ่านและพิจารณาคุณค่าร้อยแกว้ 121 ภาคผนวก ค. - มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั ช่วงช้นั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3
1 คำชีแ้ จงกำรจดั แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ รำยวิชำภำษำไทย ท23101 ช้ันมธั ยมศึกษำปี ท่ี 3 ภำคเรียนท่ี 1 ปี กำรศึกษำ 2564 1. แนวทำงกำรใช้แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ภาษาไทยเล่มน้ีจดั ทาข้ึนเพื่อเป็นแนวทางให้ครูใชป้ ระกอบการจดั การ เรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงการแบ่งหน่วยการเรียนรู้สาหรับจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ราย ชว่ั โมง แผนการจดั การเรียนรู้เล่มน้ี แบ่งเน้ือหาออกเป็ น 6 หน่วย ประกอบดว้ ยหน่วยการเรียนรู้ ดงั น้ี หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มคาและพยางค์ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 2 การใชภ้ าษาเพ่อื การสื่อสาร หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี 3 นิทานคากลอน เรื่อง พระอภยั มณี ตอน พระอภยั หนีนางผีเส้ือ หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี 4 คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 5 การแตง่ คาประพนั ธ์ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 6 พระบรมราโชวาท แผนการจัดการเรียนรู้เล่มน้ีได้นาเสนอรายละเอียดไวค้ รบถ้วนตามแนวทางการจัดทา แผนการจดั การเรียนรู้ของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน นอกจากน้ียงั ไดอ้ อกแบบ กิจกรรมการเรียนการสอนให้นกั เรียนไดพ้ ฒั นาองคค์ วามรู้ สมรรถนะสาคญั และคุณลกั ษณะอนั พึง ประสงค์ไว้อย่างครบถ้วนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 สอดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ ม สถานการณ์ และสภาพของนกั เรียน ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้จะแบ่งแผนการจดั การเรียนรู้ออกเป็ นรายชว่ั โมง ซ่ึงมีจานวนมาก น้อยไม่เท่ากัน ข้ึนอยู่กบั ความยาวของเน้ือหาสาระ และในแต่ละหน่วยการเรียนรู้มีองคป์ ระกอบ ดงั น้ี 1. ผงั มโนทัศน์เป้ำหมำยกำรเรียนรู้และขอบข่ำยภำระงำน แสดงขอบข่ายเน้ือหาการจดั การ เรียนรู้ท่ีครอบคลุมความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ทกั ษะและกระบวนการ และภาระงาน / ชิ้นงาน 2. กรอบแนวคิดกำรออกแบบกำรจัดกำรเรียนรู้ เป็นกรอบแนวคิดในการจดั การเรียนรู้ของ แตล่ ะหน่วยการเรียนรู้ แบง่ เป็น 3 ข้นั ไดแ้ ก่ ข้นั ที่ 1 ผลลพั ธ์ปลายทางท่ีตอ้ งการใหเ้ กิดข้นึ กบั นกั เรียน
2 ข้นั ท่ี 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซ่ึงเป็นหลกั ฐานท่ีแสดงว่านกั เรียนมี ผลการเรียนรู้ตามท่ีกาหนดไวอ้ ยา่ งแทจ้ ริง ข้นั ที่ 3 แผนการจดั การเรียนรู้ จะระบุวา่ ในหน่วยการเรียนรู้น้ีแบง่ เป็นแผนการจดั การ เรียนรู้กี่แผน และแตล่ ะแผนใชเ้ วลาในการจดั กิจกรรมก่ีชวั่ โมง 3. แผนกำรจดั กำรเรียนรู้รำยชั่วโมง ประกอบดว้ ย 3.1 ชื่อแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ ประกอบด้วยลาดบั ท่ีของแผน ช่ือแผน และเวลา เรียน เช่น แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 กล่มุ คำ เวลา 3 ชวั่ โมง 3.2 สำระสำคัญ เป็ นความคิดรวบยอดของเน้ือหาท่ีนามาจดั การเรียนรู้ในแต่ละ แผนการจดั การเรียนรู้ 3.3 ตัวชี้วัดช่วงช้ัน เป็ นตวั ช้ีวดั ท่ีใช้ตรวจสอบนักเรียนหลงั จากเรียนจบเน้ือหาที่ นาเสนอในแต่ละแผนการจดั การเรียนรู้น้ัน ๆ ซ่ึงสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ของ หลกั สูตร 3.4 จุดประสงค์กำรเรียนรู้ เป็นส่วนที่บอกจุดมุง่ หมายท่ีตอ้ งการใหเ้ กิดข้ึนแก่นกั เรียน ภายหลังจากเรียนจบในแต่ละแผน ท้ังในด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และ ค่านิยม (A) และดา้ นทกั ษะและกระบวนการ (P) ซ่ึงสอดคลอ้ งสัมพนั ธ์กบั ตวั ช้ีวดั ช่วงช้ัน และเน้ือหาในแผนการจดั การเรียนรู้น้นั ๆ 3.5 กำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ เป็ นการตรวจสอบผลการจัดการเรียนรู้ว่า หลงั จากจดั การเรียนรู้ในแต่ละแผนการจดั การเรียนรู้แลว้ นกั เรียนมีพฒั นาการ มีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนตามเป้าหมายท่ีคาดหวงั ไวห้ รือไม่ และมีสิ่งท่ีจะตอ้ งไดร้ ับการพฒั นาปรับปรุง ส่งเสริมในด้านใดบา้ ง ดังน้ัน ในแต่ละแผนการจดั การเรียนรู้จึงได้ออกแบบวิธีการและ เคร่ืองมือในการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ ของนักเรียนไวอ้ ย่างหลากหลาย เช่น การทาแบบทดสอบ การตอบคาถามส้ัน ๆ การตรวจผลงาน การประเมินพฤติกรรมท้งั ที่ เป็ นรายบุคคลและเป็ นกลุ่ม โดยเน้นการปฏิบตั ิให้สอดคลอ้ งและเหมาะสมกบั ตวั ช้ีวดั และ มาตรฐานการเรียนรู้ 3.6 สำระกำรเรียนรู้ เป็ นหัวข้อย่อยที่นามาจัดการเรียนรู้ในแต่ละแผนการจดั การ เรียนรู้ ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั สาระการเรียนรู้แกนกลาง 3.7 แนวทำงบูรณำกำร เป็นการเสนอแนะแนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่อง ที่เรียนรู้ของแต่ละแผนให้เช่ือมโยงสัมพนั ธ์กับสาระการเรียนรู้อ่ืน ๆ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภาษาต่างประเทศ ศิลปะ สุขศึกษาและพล
3 ศึกษา การงานอาชีพและเทคโนโลยี เพ่ือให้การเรียนรู้สอดคลอ้ งและครอบคลุมสถานการณ์ จริง 3.8 กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ เป็ นการเสนอแนวทางการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ เน้ือหาในแต่ละเร่ือง โดยใช้แนวคิดและทฤษฎีการเรียนรู้ต่าง ๆ ตามความเหมาะสม ท้งั น้ี เพ่ือให้ครูนาไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนการจดั การเรียนรู้ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึง กระบวนการจดั การเรียนรู้ประกอบดว้ ย 5 ข้นั ไดแ้ ก่ ข้นั ที่ 1 นาเขา้ สู่บทเรียน ข้นั ที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ ข้นั ท่ี 3 ฝึกฝนผเู้ รียน ข้นั ท่ี 4 นาไปใช้ ข้นั ท่ี 5 สรุป 3.9 กิจกรรมเสนอแนะ เป็ นกิจกรรมเสนอแนะสาหรับให้นกั เรียนไดพ้ ฒั นาเพ่ิมเติม ในดา้ นต่าง ๆ นอกเหนือจากที่ไดจ้ ดั การเรียนรู้มาแลว้ ในชวั่ โมงเรียน กิจกรรมเสนอแนะมี 2 ลกั ษณะ คือ กิจกรรมสาหรับผูท้ ี่มีความสามารถพิเศษและตอ้ งการศึกษาคน้ ควา้ ในเน้ือหา น้นั ๆ ให้ลึกซ้ึงกวา้ งขวางยิ่งข้ึน และกิจกรรมสาหรับการเรียนรู้ให้ครบตามเป้าหมาย ซ่ึงมี ลกั ษณะเป็นการซ่อมเสริม 3.10 สื่อ / แหล่งกำรเรียนรู้ เป็ นรายชื่อส่ือการเรียนรู้ทุกประเภทท่ีใช้ในการจดั การ เรียนรู้ ซ่ึงมีท้งั ส่ือธรรมชาติ สื่อส่ิงพิมพ์ ส่ือเทคโนโลยี และสื่อบุคคล เช่น หนังสือ เอกสาร ความรู้ รูปภาพ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต วีดิทศั น์ ปราชญช์ าวบา้ น 3.11 บันทึกหลังกำรจัดกำรเรียนรู้ เป็ นส่วนที่ให้ครูบนั ทึกผลการจดั การเรียนรู้ว่า ประสบความสาเร็จหรือไม่ มีปัญหาหรืออุปสรรคอะไรเกิดข้ึนบ้าง ได้แก้ไขปัญหาและ อุปสรรคน้ันอย่างไร ส่ิงที่ไม่ไดป้ ฏิบัติตามแผนมีอะไรบ้าง และขอ้ เสนอแนะสาหรับการ ปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้คร้ังต่อไป ควำมเข้ำใจท่ีคงทนจะเกดิ ขึน้ ได้ นกั เรียนจะต้องมีควำมสำมำรถ 6 ประกำร ไดแ้ ก่ 1. กำรอธิบำย ชี้แจง เป็นความสามารถที่นกั เรียนแสดงออกโดยการอธิบายหรือช้ีแจงในส่ิง ท่ีเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง สอดคลอ้ ง มีเหตุมีผล และเป็นระบบ 2. กำรแปลควำมและตีควำม เป็นความสามารถท่ีนกั เรียนแสดงออกโดยการแปลความและ ตีความไดอ้ ยา่ งมีความหมาย ตรงประเดน็ กระจ่างชดั และทะลุปรุโปร่ง
4 3. กำรประยุกต์ ดัดแปลง และนำไปใช้ เป็ นความสามารถท่ีนักเรียนแสดงออกโดยการนา ส่ิงท่ีไดเ้ รียนรู้ไปสู่การปฏิบตั ิไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิผล มีประสิทธิภาพ และคลอ่ งแคลว่ 4. กำรมีมุมมองท่ีหลำกหลำย เป็ นความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการมีมุมมองท่ี น่าเช่ือถือ เป็นไปได้ มีความลึกซ้ึง แจ่มชดั และแปลกใหม่ 5. กำรให้ควำมสำคัญและใส่ ใจในควำมรู้สึกของผู้อ่ืน เป็ นความสามารถที่นักเรียน แสดงออกโดยการมีความละเอียดรอบคอบ เปิ ดเผย รับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ่ืน ระมดั ระวงั ท่ีจะ ไม่ใหเ้ กิดความกระทบกระเทือนตอ่ ผอู้ ื่น 6. กำรรู้จักตนเอง เป็ นความสามารถท่ีนักเรียนแสดงออกโดยการมีความตระหนักรู้ สามารถประมวลผลขอ้ มูลจากแหล่งท่ีหลากหลาย ปรับตวั ได้ รู้จกั ใคร่ครวญ และมีความเฉลียว ฉลาด นอกจากน้ีหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนด สมรรถนะสาคญั ของนกั เรียนหลงั จากสาเร็จการศึกษาตามหลกั สูตรไว้ 5 ประการ ดงั น้ี 1. ควำมสำมำรถในกำรส่ือสำร เป็นความสามารถของนกั เรียนในการรับและส่งสาร มีวฒั นธรรมในการใชภ้ าษา ถ่ายทอด ความคิด ความรู้ ความเขา้ ใจ ความรู้สึก และทศั นะของตนเอง เพ่ือแลกเปลี่ยนขอ้ มูลข่าวสารและ ประสบการณ์อนั จะเป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเองและสังคม รวมท้งั การเจรจาต่อรองเพื่อขจดั และลดปัญหาความขดั แยง้ ต่าง ๆ การเลือกที่จะรับและไม่รับขอ้ มูลข่าวสารดว้ ยหลกั เหตุผลและ ความถูกตอ้ ง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพ โดยคานึงถึงผลกระทบท่ีมีต่อ ตนเองและสังคม 2. ควำมสำมำรถในกำรคิด เป็ นความสามารถของนักเรียนในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างมี วิจารณญาณ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดเชิงคุณธรรม และการคิดอย่างเป็ นระบบ เพื่อนาไปสู่ การสร้างองคค์ วามรู้หรือสารสนเทศ เพ่อื การตดั สินใจเก่ียวกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3. ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ เป็นความสามารถของนกั เรียนในการแกป้ ัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลกั เหตุผล คุณธรรม และขอ้ มูลสารสนเทศ เขา้ ใจความสัมพนั ธ์และการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรู้มาใช้ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบท่ี เกิดข้ึนตอ่ ตนเอง สังคม และส่ิงแวดลอ้ ม
5 4. ควำมสำมำรถในกำรใช้ทักษะชีวิต เป็ นความสามารถของนักเรียนในด้านการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนิน ชีวิตประจาวนั การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางานและการอยู่ร่วมกันใน สังคมดว้ ยการสร้างเสริมความสมั พนั ธอ์ นั ดีระหวา่ งบคุ คล การจดั การปัญหาและความขดั แยง้ ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตวั ให้ทนั กบั การเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการรู้จกั หลีกเล่ียงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงคซ์ ่ึงจะส่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผอู้ ื่น 5. ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี เป็ นความสามารถของนกั เรียนในการเลือกใชเ้ ทคโนโลยีดา้ นต่าง ๆ มีทกั ษะกระบวนการ ทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทางาน การ แกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม นอกจากสมรรถนะสาคญั ของนักเรียนหลงั จากสาเร็จการศึกษาตามหลกั สูตรท่ีกล่าวแลว้ ขา้ งตน้ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ไดก้ าหนดคุณลกั ษณะอนั พึง ประสงคเ์ พื่อให้สามารถอยู่ร่วมกบั ผอู้ ่ืนในสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสุขในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและ พลโลก ดงั น้ี 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 2. ซื่อสัตยส์ ุจริต 3. มีวนิ ยั 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง 6. มงุ่ มน่ั ในการทางาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ ดงั น้นั การกาหนดภาระงานใหน้ กั เรียนปฏิบตั ิ รวมท้งั การเลือกวิธีการและเครื่องมือวดั และ ประเมินผลการเรียนรู้น้นั ครูควรคานึงถึงความสามารถของนกั เรียน 6 ประการ สมรรถนะสาคญั และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของนักเรียนหลงั จากสาเร็จการศึกษาตามหลกั สูตรที่ไดก้ ล่าวไว้ ขา้ งตน้ เพื่อใหภ้ าระงาน วิธีการ และเคร่ืองมือวดั และประเมินผลการเรียนรู้ครอบคลุมสิ่งท่ีสะทอ้ น ผลลพั ธ์ปลายทางท่ีตอ้ งการใหเ้ กิดข้ึนกบั นกั เรียนอยา่ งแทจ้ ริง นอกจากน้ีการออกแบบการจดั การเรียนรู้ ครูจะตอ้ งคานึงถึงภาระงาน วิธีการ เครื่องมือวดั และประเมินผลการเรียนรู้ท่ีมีความเท่ียงตรง เชื่อถือได้ มีประสิทธิภาพ ตรงกบั สภาพจริง มีความ ยดื หยนุ่ และสร้างความสบายใจแก่นกั เรียนเป็นสาคญั
6 ตำรำงวเิ ครำะห์สำระ มำตรฐำนกำรเรียน รำยวิชำภำษำไทย รหัสวชิ ำ ท31101 ระดบั ช้ันมัธย มำตรฐำนกำรเรียนรู้ / ตัวชีว้ ัดช้ันปี / สำระที่ 1 หน่วยกำรเรียนรู้ กำรอ่ำน มำตรฐำน 1.1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 2 หน่วยท่ี 1 กลุ่มคาและพยางค์ หน่วยท่ี 2 การใชภ้ าษาเพอื่ การส่ือสาร หน่วยที่ 3 นิทานคากลอน เรื่อง พระอภยั มณี ✓ ✓ ตอน พระอภยั มณีหนีนางผเี ส้ือ ✓ ✓ หน่วยที่ 4 คาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย หน่วยที่ 5 การแต่งคาประพนั ธ์ หน่วยที่ 6 พระบรมราโชวาท ✓✓ ✓✓
6 นรู้ และตวั ชี้วดั ช้ันปี กบั หน่วยกำรเรียนรู้ ยมศึกษำปี ท่ี 3 ภำคเรียนที่ 1 ปี กำรศึกษำ 2564 สำระท่ี 2 สำระที่ 3 สำระท่ี 4 สำระท่ี 5 กำรเขยี น กำรฟัง กำรดู หลักกำรใช้ วรรณคดแี ละ และกำรพูด ภำษำไทย วรรณกรรม มำตรฐำน 2.1 มำตรฐำน 3.1 มำตรฐำน 4.1 มำตรฐำน 5.1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 ✓ ✓✓ ✓ ✓✓ ✓✓ ✓ ✓✓✓
7 โครงสร้ำงกำรแบ่งเวลำรำยชั่วโมงในกำรจัดกำรเรียนรู้ รำยวชิ ำภำษำไทย รหัสวชิ ำ ท31101 ช้ันมธั ยมศึกษำปี ที่ 3 ภำคเรียนท่ี 1 ปี กำรศึกษำ 2564 หน่วยกำรเรียนรู้ / เรื่อง เวลำ / จำนวนชั่วโมง แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ 1 แผนปฐมนิเทศ ปฐมนิเทศและขอ้ ตกลงในการเรียน 15 10 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 กลุม่ คาและพยางค์ 8 8 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การใชภ้ าษาเพอื่ การส่ือสาร 8 8 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 นิทานคากลอน เรื่อง พระอภยั มณี ตอน พระอภยั หนีนางผีเส้ือ 1 1 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 การแตง่ คาประพนั ธ์ 60 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 พระบรมราโชวาท ทดสอบกลำงภำคเรียน ทดสอบปลำยภำคเรียน รวม
8 แผนปฐมนเิ ทศ ปฐมนเิ ทศและข้อตกลงในการเรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ม.3 รหัสวชิ า ท 23101 รายวชิ า ภาษาไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 แผนปฐมนเิ ทศ ภาคเรียนท่ี 1 เร่ือง ปฐมนเิ ทศและข้อตกลงในการเรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ม.3 เวลา 1 ชั่วโมง 1. สาระสาคัญ การปฐมนิเทศเป็ นการสร้างความเขา้ ใจอนั ดีต่อกันระหว่างครูกบั นักเรียน เป็ นการตกลงกันใน เบ้ืองตน้ ก่อนที่จะเร่ิมการเรียนการสอน ทาใหค้ รูไดร้ ู้จกั นกั เรียนดียง่ิ ข้ึน ไดร้ ู้ถึงความตอ้ งการ ความรู้สึก และ เจตคติที่มีต่อวชิ าท่ีเรียน ในขณะเดียวกนั นกั เรียนก็จะไดร้ ู้และเขา้ ใจเก่ียวกบั แนวทางในการจดั การเรียนรู้และ การวดั ผลและประเมินผล ซ่ึงกิจกรรมต่าง ๆ ดงั กล่าวจะนาไปสู่การเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ ครู สามารถจดั กิจกรรมการเรียนการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม ช่วยให้นกั เรียนคลายความวิตกกงั วล สามารถเรียน ไดอ้ ยา่ งมีความสุข ซ่ึงจะมีผลใหน้ กั เรียนประสบความสาเร็จบรรลุเป้าหมายที่ไดก้ าหนดไว้ 2. ตัวชีว้ ดั ช้ันปี – 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายเกี่ยวกบั ขอ้ ตกลงและแนวทางในการเรียนวิชาภาษาไทยไดถ้ กู ตอ้ ง (K) 2. มีทกั ษะและนาความรู้ไปปรับใชใ้ นชีวิตประจาวนั (P) 3. มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนภาษาไทย (A) 4. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรมและค่านิยม (A) ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 1. สังเกตการตอบคาถาม 1. สังเกตการทางานตามหน้าที่ท่ีได้รับ 1. สังเกตพฤติกรรมขณะปฏิบัติ และการแสดงความ มอบหมายด้วยความกระตือรือร้น กิจกรรม คิดเห็น และความขยนั หมนั่ เพยี ร 2. ประเมินพฤติกรรมตามแบบ 2. ตรวจผลการทากิจกรรม 2. ประเมินพฤติกรรมตามแบบประเมิน ป ร ะ เ มิ น ด้า น ทัก ษ ะ แ ล ะ ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยม กระบวนการ 5. สาระการเรียนรู้ 1. เทคนิคและวธิ ีการจดั การเรียนรู้รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย 2. แนวทางการวดั และประเมินผลการเรียนรู้รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย
9 3. ตารางวิเคราะหม์ าตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั ช้นั ปี กบั สาระการเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้ 4. คาอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย ม.3 5. โครงสร้างรายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ม.3 6. โครงสร้างเวลาเรียนรายชว่ั โมง รายวชิ าพ้นื ฐาน ภาษาไทย ม.3 6. แนวทางบูรณาการ การปฏิบตั ิตนตามบทบาทหนา้ ที่ของสมาชิกในกลมุ่ สงั คมศึกษา ฟัง อ่าน เขียน คาศพั ทท์ ี่เกี่ยวกบั ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั ที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูแนะนาตนเองและให้นักเรียนแนะนาตนเองทีละกลุ่มตวั อกั ษรหรือตามหมายเลขประจาตวั หรือตามแถวท่ีนง่ั ตามความเหมาะสม 2. ครูถามคาถาม ใหน้ กั เรียนร่วมแสดงความคดิ เห็นตามประเด็นคาถามต่อไปน้ี 1) นกั เรียนคิดวา่ ทาไมเราจึงตอ้ งเรียนวิชาภาษาไทย 2) วชิ าภาษาไทยมีความสาคญั หรือจาเป็นตอ่ เราหรือไม่ อยา่ งไร 3. ครูสรุปความรู้แลว้ แนะนากลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ข้นั ท่ี 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูระบุส่ิงท่ีต้องเรียนในรายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ม.3 และอธิบายเพื่อทาความเขา้ ใจกับ นกั เรียน ในเร่ืองต่อไปน้ี 1) คาอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน ภาษาไทย ม.3 2) โครงสร้างรายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ม.3 3) โครงสร้างเวลาเรียนรายชวั่ โมง รายวชิ าพ้ืนฐาน ภาษาไทย ม.3 2. ครูบอกเทคนิคและวิธีการจดั การเรียนรู้วา่ มีเทคนิคและวธิ ีการจดั การเรียนรู้อะไรบา้ ง เช่น – ครูบรรยายใหฟ้ ัง – การนาเร่ืองราว บทความ ข่าว เหตุการณ์ ฯลฯ ใหอ้ า่ น แลว้ ร่วมแสดงความคิดเห็นและ หาขอ้ สรุป – การปฏิบตั ิงานหรือทาใบงาน – การศึกษาคน้ ควา้ นอกสถานท่ี – การแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง 3. ครูสนทนาและซักถามนักเรียนเพ่ือทาความเข้าใจถึงแนวทางการวดั ผลและประเมินผลการ เรียนรู้ รวมท้งั เกณฑต์ ดั สินผลการเรียนรู้ในประเด็นตา่ ง ๆ เช่น 1) รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ม.3 มีเวลาเรียนเท่าไร
10 2) รายวิชาน้ีจะสอบและเก็บคะแนนอยา่ งไร และเท่าไร 3) รายวิชาน้ีจะตดั สินผลการเรียนอยา่ งไร 4. ครูแนะนาส่ือการเรียนรู้ที่จะใชป้ ระกอบการเรียนรู้รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ม.3 โดยใชข้ อ้ มูล จากบรรณานุกรมในหนงั สือเรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน ภาษาไทย ม.3 ของบริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นา พานิช จากดั นอกจากน้ี ครูควรแนะนาแหล่งสืบคน้ ความรู้เพิม่ เติมเก่ียวกบั เรื่องต่าง ๆ ที่ไดร้ ะบุ ไวใ้ นแต่ละหน่วยการเรียนรู้ เพ่ือใหน้ กั เรียนไปใชป้ ระโยชน์ในการเรียนได้ 5. ครูสนทนากบั นกั เรียนและร่วมกนั ทาขอ้ ตกลงในการเรียนรายวชิ าพ้นื ฐาน ภาษาไทย ม.3 ใน ประเดน็ ต่าง ๆ ดงั น้ี 1) เวลาเรียน ตอ้ งเขา้ เรียนไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 ของเวลาเรียนในรายวิชาน้ี กรณีป่ วยตอ้ งส่ง ใบลาโดยผปู้ กครองลงช่ือรับรองการลา 2) ควรเขา้ หอ้ งเรียนตรงเวลาและรักษามารยาทในการเรียน 3) เม่ือเร่ิมเรียนแต่ละหน่วยการเรียนรู้จะมีการทดสอบก่อนเรียน และหลงั เรียนจบแต่ละ หน่วยการเรียนรู้ แลว้ จะมีการทดสอบหลงั เรียน 4) ในช่ัวโมงท่ีมีการฝึ กปฏิบตั ิงาน ควรเตรียมวสั ดุอุปกรณ์ และเคร่ืองมือให้พร้อม โดย จดั หาไวล้ ว่ งหนา้ 5) รับผดิ ชอบการเรียน การสร้างชิ้นงาน และการส่งงานตามเวลาที่กาหนด 6) รักษาความสะอาดบริเวณท่ีปฏิบตั ิกิจกรรม วสั ดุ อปุ กรณ์ และเครื่องมือที่ใชง้ านทุกคร้ัง ข้นั ท่ี 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. ครูใหน้ กั เรียนดูหนงั สือเรียน รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย ม.3 แลว้ ซกั ถามขอ้ สงสัย 2. ครูให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับแหล่งการเรียนรู้และแหล่งสืบค้น ความรู้อ่ืน ๆ ท่ีจะนามาใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ แลว้ ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปและบนั ทึกผล ข้นั ที่ 4 นาไปใช้ 1. นกั เรียนนาความรู้เกี่ยวกบั แนวทางการเรียนและขอ้ ตกลงในการเรียนไปปฏิบตั ิเมื่อเรียนกลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาไทย 2. นักเรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ท่ีไดร้ ับจากการเรียนหัวขอ้ น้ีและการ ปฏิบตั ิกิจกรรม ข้นั ท่ี 5 สรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกนั สรุปความรู้เรื่อง ปฐมนิเทศและขอ้ ตกลงในการเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ม.3 โดยให้นักเรียนบนั ทึกขอ้ สรุปลงในแบบบนั ทึกความรู้ หรือสรุปเป็ นแผนภาพ ความคิดหรือผงั มโนทศั นล์ งสมดุ พร้อมท้งั ตกแต่งใหส้ วยงาม 2. ครูให้นักเรียนเลือกคาชนิดต่าง ๆ มาอย่างน้อย 3 ชนิด แลว้ เติมคาขยายให้เรียงต่อกันและมี ความหมายใหไ้ ดม้ ากที่สุด เป็นการบา้ นเพ่อื เตรียมจดั การเรียนรู้คร้ังต่อไป
11 8. กจิ กรรมเสนอแนะ นกั เรียนควรศึกษาและปฏิบตั ิกิจกรรมที่ไดร้ ับมอบหมายมาลว่ งหนา้ เพอ่ื ประกอบการเรียนในคร้ังต่อไป 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. หนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 2. แบบฝึ กทกั ษะ รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 บริษทั สานกั พิมพว์ ฒั นาพานิช จากดั 3. คมู่ ือการสอน ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 บริษทั สานกั พมิ พว์ ฒั นาพานิช จากดั 4. ส่ือการเรียนรู้ PowerPoint ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 10. บันทึกหลงั การจดั การเรียนรู้
12 แผนการจดั การเรียนรู้ เวลำ 3 ชวั่ โมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 กล่มุ คาและพยางค์ เวลำ 2 ชวั่ โมง เวลำ 2 ชว่ั โมง เวลา 15 ช่ัวโมง เวลำ 2 ชว่ั โมง เวลำ 2 ชวั่ โมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มคำ เวลำ 2 ชว่ั โมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ประโยคควำมเดียวซบั ซอ้ น เวลำ 2 ชว่ั โมง แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 ประโยคควำมรวมซบั ซอ้ น แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 ประโยคควำมซอ้ นซบั ซอ้ น แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 ประโยคแสดงเงื่อนไข แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 ประโยคแสดงเงื่อนไขซบั ซอ้ น แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 7 กำรเปรียบเทียบประโยคซบั ซอ้ น
13 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 รหัสวชิ า ท 23101 รายวชิ า ภาษาไทย เวลา 3 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มคาและพยางค์ เร่ือง กลุ่มคา 1. สาระสาคญั กลุ่มคำ คือ คำที่นำมำเรียงต่อกันไดใ้ จควำมแต่ไม่สมบูรณ์เป็ นประโยค กลุ่มคำแบ่งออกเป็ น 7 ชนิด ตำมชนิดของคำ และทำหนำ้ ท่ีต่ำง ๆ ในประโยค เช่น เป็นประธำน กริยำ กรรม ส่วนขยำย กำรมีควำมรู้ เร่ือง กลมุ่ คำ จะช่วยใหเ้ ขำ้ ใจลกั ษณะของภำษำไทย และหนำ้ ท่ีของกลุ่มคำในประโยคมำกข้นึ 2. ตวั ชี้วดั ช้ันปี วเิ ครำะห์โครงสร้ำงประโยคซบั ซอ้ น ท 4.1 (ม.3/2) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกลกั ษณะ ชนิด และหนำ้ ที่ของกลมุ่ คำได้ (K) 2. วเิ ครำะห์กลุ่มคำในประโยคได้ (K , P) 3. ใชก้ ล่มุ คำในกำรแตง่ ประโยคไดถ้ กู ตอ้ ง (K , P) 4. เห็นควำมสำคญั ของกำรใชภ้ ำษำไทยไดถ้ ูกตอ้ งตำมหลกั เกณฑข์ องภำษำ (A) 4. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรมและค่านยิ ม (A) ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 1. สังเกตกำรตอบคำถำมและ 1. ประเมินพฤติกรรมในกำรทำงำนเป็ น 1. ประเมินทกั ษะกำรอ่ำนสรุปควำม กำรยกตวั อยำ่ ง รำยบุคคลในด้ำนควำมสนใจและต้ังใจ 2. ประเมินทกั ษะกำรแสวงหำควำมรู้ 2. ตรวจผลกำรทำกิจกรรม เรียน ควำมรับผิดชอบในกำรทำกิจกรรม 3. ประเมินทกั ษะกระบวนกำรคดิ 3. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน ควำมมีระเบียบวินยั ในกำรทำงำน ฯลฯ 4. ประเมินทกั ษะกระบวนกำรกลุม่ 2. ประเมินเจตคติท่ีดีตอ่ กำรเรียนภำษำไทย 5. สาระการเรียนรู้ กลุม่ คำ 6. แนวทางบูรณาการ เขียนแผนภำพควำมคิดสรุปชนิดของกลุ่มคำและหนำ้ ที่ของกลุ่มคำ คณิตศำสตร์ ศึกษำลกั ษณะของกลุ่มคำในภำษำองั กฤษเปรียบเทียบกบั กล่มุ คำใน ภำษำตำ่ งประเทศ ภำษำไทย
14 7. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน 2. ครูติดบตั รขอ้ ควำมบนกระดำน ใหน้ กั เรียนช่วยกนั บอกวำ่ เป็นขอ้ ควำมชนิดใด กระเป๋ ำผำ้ อำหำรกระป๋ อง น้ำทว่ มบำ้ น 3. ครูสนทนำกับนักเรียนว่ำ กระเป๋ ำผำ้ อำหำรกระป๋ อง เป็ นกลุ่มคำ ส่วน น้ำท่วมบ้ำน เป็ น ประโยค แลว้ ครูนำสนทนำโยงเขำ้ เรื่อง กล่มุ คำ ข้นั ที่ 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูสนทนำกบั นกั เรียนเก่ียวกบั ลกั ษณะของกลุ่มคำ เปรียบเทียบกบั ลกั ษณะของคำประสมว่ำ เหมือนหรือแตกตำ่ งกนั อยำ่ งไร 2. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็ น 7 กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มศึกษำเรื่อง ชนิดของกลุ่มคำและหน้ำที่ของ กลุ่มคำ ในหนงั สือเรียน รำยวิชำพ้ืนฐำน หลกั กำรใชภ้ ำษำไทย ช้นั มธั ยมศึกษำปี ที่ 3 กลุ่มละ 1 หวั ขอ้ ดงั น้ี กล่มุ ที่ 1 ศึกษำเรื่อง กลมุ่ คำนำมหรือนำมวลีและกลุ่มคำท่ีทำหนำ้ ที่เหมือนคำนำม กลุ่มท่ี 2 ศึกษำเรื่อง กลุ่มคำสรรพนำมหรือสรรพนำมวลีและกลุ่มคำที่ทำหน้ำท่ี เหมือนคำสรรพนำม กลุ่มท่ี 3 ศึกษำเรื่อง กล่มุ คำกริยำหรือกริยำวลีและกลุม่ คำท่ีทำหนำ้ ที่เหมือนกริยำวลี กลุ่มท่ี 4 ศึกษำเรื่อง กลุ่มคำวิเศษณ์หรือวิเศษณ์วลีและกลุ่มคำที่ทำหน้ำที่เหมือนคำ วิเศษณ์ กล่มุ ท่ี 5 ศึกษำเรื่อง กลุ่มคำบุพบทหรือบุพบทวลีและกลุ่มคำท่ีทำหนำ้ ท่ีเหมือนคำบุพ บท กลุ่มท่ี 6 ศึกษำเรื่อง กลุ่มคำสันธำนหรือสันธำนวลีและกลุ่มคำท่ีทำหน้ำที่เหมือน คำสันธำน กลุ่มท่ี 7 ศึกษำเร่ือง กลุ่มคำอุทำนหรืออุทำนวลีและกลุ่มคำที่ทำหน้ำที่เหมือนคำ อุทำน 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษำเร่ืองท่ีได้รับมอบหมำย ร่วมกนั อภิปรำยภำยในกลุ่มและสรุปเป็ น ควำมรู้ ส่งตวั แทนออกมำอภิปรำยหนำ้ ช้นั เรียน ครูอธิบำยเพิ่มเติมหลงั จำกกำรรำยงำนของทุก กลุม่ 4. ครูให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มแต่งประโยค โดยมีกลุ่มคำท่ีตนเองรับผิดชอบ กลุ่มคำละ 3 ประโยค แลว้ ใหต้ วั แทนกลุ่มอ่ำนใหเ้ พ่อื นฟัง ครูและเพ่ือนช่วยกนั ตรวจสอบควำมถูกตอ้ ง ข้นั ท่ี 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. นกั เรียนทำกิจกรรมท่ีเก่ียวกบั กลุม่ คำ แลว้ ช่วยกนั เฉลยคำตอบ
15 2. ครูสนทนำกบั นักเรียนเก่ียวกับกลุ่มคำในภำษำองั กฤษว่ำมีเหมือนในภำษำไทยหรือไม่ ให้ นกั เรียนช่วยกนั แสดงควำมคิดเห็นและยกตวั อยำ่ ง 3. นกั เรียนแต่ละกลุม่ สรุปชนิดของกล่มุ คำและหนำ้ ท่ีของกล่มุ คำ เป็นแผนภำพควำมคิด ส่งครู 4. นักเรียนแต่ละคนแต่งประโยคดว้ ยกลุ่มคำแต่ละชนิด กลุ่มคำละ 3 ประโยค และบอกดว้ ยว่ำ กลมุ่ คำชนิดน้นั ทำหนำ้ ที่ใดในประโยค ทำเป็นรำยงำนส่งครู ข้นั ที่ 4 นาไปใช้ นกั เรียนนำควำมรู้เรื่อง กลมุ่ คำ ไปใชใ้ นกำรเรียนและในกำรสื่อสำรในชีวติ ประจำวนั ข้นั ท่ี 5 สรุป นกั เรียนและครูช่วยกนั สรุปลกั ษณะ ชนิด และหนำ้ ที่ของกลุม่ คำ แลว้ บนั ทึกลงในสมดุ 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นกั เรียนศึกษำเพิ่มเติมเก่ียวกบั ลกั ษณะ ชนิด และหนำ้ ท่ีของกลมุ่ คำจำกหนงั สือ หรือแหล่งกำร เรียนรู้อ่ืน ๆ 2. นักเรียนฝึ กแต่งเรื่องรำว โดยใช้กลุ่มคำชนิดต่ำง ๆ ให้อยู่ในเรื่องรำวด้วย แลว้ แลกอ่ำนกับ เพื่อน เพอ่ื เป็นกำรฝึกทกั ษะกำรเขียน 9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียน 2. บตั รขอ้ ควำม 3. หนงั สือเรียนรำยวชิ ำพ้นื ฐำน หลกั กำรใชภ้ ำษำไทย ช้นั มธั ยมศึกษำปี ที่ 3 10. บันทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้
16 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 2 ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3 ประโยคความเดยี วซับซ้อน ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 2 ชั่วโมง รหัสวิชา ท 23101 รายวชิ า ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 กลุ่มคาและพยางค์ เรื่อง ประโยคความเดียวซับซ้อน 1. สาระสาคญั ประโยคความเดียวซับซ้อนคือ ประโยคความเดียวท่ีมีส่วนขยายในบทต่าง ๆ เช่น บทประธาน บท กริยา บทกรรม เพียงบทใดบทหน่ึงหรือหลาย ๆ บทในประโยคเดียวกนั ความซบั ซอ้ นจะช่วยให้ประโยคมี ความชดั เจนข้ึน 2. ตวั ชีว้ ัดช้ันปี วเิ คราะหโ์ ครงสร้างประโยคซบั ซอ้ น ท 4.1 (ม.3/2) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.บอกลกั ษณะของประโยคซบั ซอ้ นได้ (K) 2.วิเคราะห์องคป์ ระกอบของประโยคความเดียวซบั ซอ้ นไดถ้ ูกตอ้ ง (K , P) 3.แตง่ ประโยคความเดียวซบั ซ้อนและนาไปใชไ้ ดถ้ กู ตอ้ ง (P) 4.เห็นความสาคญั ของการใชภ้ าษาไทยไดถ้ ูกตอ้ งตามหลกั เกณฑข์ องภาษา (A) 4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ ม (A) ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 1.สงั เกตการตอบคาถามและ 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็ นราย 1. ประเมินทกั ษะการอ่านสรุปความ การยกตวั อยา่ ง บุคคลในดา้ นความสนใจและต้งั ใจเรียน 2. ประเมินทกั ษะการแสวงหาความรู้ 2. ตรวจผลการทากิจกรรม ความรับผิดชอบในการทากิจกรรม ความ 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการคิด มีระเบียบวนิ ยั ในการทางาน ฯลฯ 4. ประเมินทกั ษะกระบวนการกลุม่ 2. ประเมินเจตคติท่ีดีต่อการเรียนภาษาไทย 5. สาระการเรียนรู้ ประโยคความเดียวซบั ซอ้ น 6. แนวทางบูรณาการ เขียนแผนภาพความคิดสรุปลกั ษณะของประโยคความเดียวซบั ซอ้ น คณิตศาสตร์ ศึกษาตวั อยา่ งประโยคความเดียวซบั ซอ้ นในภาษาองั กฤษ ภาษาตา่ งประเทศ
17 7. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูติดบตั รประโยคบนกระดาน ใหน้ กั เรียนอ่านและวิเคราะห์องคป์ ระกอบของประโยค พนกั งำนกวำดขยะ พนกั งานกวาดขยะของกทม.กวาดถนนบริเวณอนุสาวรียป์ ระชาธิปไตย 2. ครกูสวนำดทถนนานกบั นักเรียนถึงความแตกต่างของประโยคท้งั 2 ประโยค แลว้ อธิบายให้นักเรียน เขา้ ใจวา่ ประโยคแรกประกอบดว้ ยประธาน + กริยา + กรรม ซ่ึงเป็ นโครงสร้างประโยคแบบ ธรรมดา ส่วนประโยคที่ 2 ประกอบดว้ ย ประธาน + ส่วนขยาย + กริยา + กรรม + ส่วนขยาย ประโยคท่ีมีส่วนขยายเน้ือความจะชดั เจนมากข้ึนเรียกประโยคลกั ษณะน้ีวา่ ประโยคซบั ซอ้ น ข้นั ที่ 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูสุ่มเรียกนักเรียนให้อธิบายลกั ษณะของประโยคซับซ้อน แลว้ ครูและนกั เรียนช่วยกนั สรุป ลกั ษณะของประโยคที่มีความซบั ซอ้ น 2. นกั เรียนช่วยกนั บอกลกั ษณะของประโยคความเดียวพร้อมยกตวั อย่าง 2 – 3 ประโยค ครูเขียน บนกระดาน 3. ครูให้นักเรียนอาสาสมคั ร 2 – 3 คน ออกมาเติมส่วนขยายของประโยคจากประโยคที่ครูเขียน บนกระดาน คนละ 1 ประโยค ครูและนักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากน้ันครู อธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจว่าประโยคความเดียวท่ีมีส่วนขยายในภาคต่าง ๆ เรียกว่า ประโยคความเดียวซบั ซอ้ น 4. ครูใหน้ กั เรียนอ่านเรื่อง ประโยคความเดียวซับซอ้ น ในหนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน หลกั การ ใชภ้ าษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 ภายในเวลา 10 นาที แลว้ ใหน้ กั เรียนซกั ถามครูเกี่ยวกบั เร่ือง ที่ไมเ่ ขา้ ใจ ครูอธิบายลกั ษณะของประโยคความเดียวซบั ซอ้ นจนนกั เรียนเขา้ ใจครบทุกคน 5. แบ่งนักเรียนออกเป็ นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันแต่งประโยคความเดียวซับซ้อนในภาค ประธานและภาคแสดงในแต่ละหัวข้อ หัวข้อละ 1 ประโยค เสร็จแลว้ ส่งตัวแทนออกมา อธิบายใหเ้ พอื่ นฟังหนา้ ช้นั เรียน ครูอธิบายเพ่ิมเติมหลงั จบการรายงานของแตล่ ะกลุ่ม ข้นั ท่ี 3 ฝึ กฝนผ้เู รียน 1. นกั เรียนทากิจกรรมท่ีเก่ียวกบั ประโยคความเดียวซบั ซอ้ น แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ 2. ครูยกตวั อย่างประโยคความเดียวในภาษาองั กฤษ แลว้ สนทนากบั นักเรียนว่า สามารถทาให้ เป็ นประโยคความเดียวซับซ้อนเหมือนประโยคในภาษาไทยได้หรือไม่ นักเรียนช่วยกัน ยกตวั อยา่ ง 3. ครูแจกใบงาน เรื่อง ประโยคความเดียวซับซ้อน ให้นักเรียนทุกกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ความ ซบั ซอ้ นในส่วนใดของประโยค เสร็จแลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ
18 ข้นั ที่ 4 นาไปใช้ 1. นกั เรียนแต่งประโยคความเดียวซบั ซอ้ นไดถ้ ูกตอ้ ง 2. นกั เรียนใชป้ ระโยคความเดียวซบั ซอ้ นในการสื่อสารไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสม ข้นั ที่ 5 สรุป นกั เรียนและครูร่วมกนั สรุปลกั ษณะของประโยคความเดียวซบั ซอ้ นเป็นแผนภาพความคิด แลว้ บนั ทึกลงในสมดุ 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง ประโยคความเดียวซับซ้อน จากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ แลว้ นา ความรู้มาจดั ป้ายนิเทศหนา้ ช้นั เรียน 2. นักเรียนช่วยกันทาแผนผงั ความซับซ้อนในประโยคความเดียว นามาติดเป็ นตวั อย่างท่ีป้าย นิเทศหนา้ ช้นั เรียน 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. บตั รประโยค 2. ใบงาน เร่ือง ประโยคความเดียวซบั ซอ้ น 3. หนงั สือเรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน หลกั การใชภ้ าษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 10. บันทึกหลงั การจดั การเรียนรู้
19 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 ประโยคความรวมซับซ้อน ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 2 ชั่วโมง รหัสวิชา ท 23101 รายวชิ า ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 กล่มุ คาและพยางค์ เร่ือง ประโยคความรวมซับซ้อน 1. สาระสาคัญ ประโยคควำมรวมซับซ้อน คือ ประโยคควำมรวมที่ประกอบดว้ ยประโยคควำมเดียวมำกกว่ำ 1 ประโยค โดยมีสันธำนเป็ นตวั เชื่อมเน้ือควำมของประโยค ประโยคควำมรวมซับซ้อนอำจมีส่วนประกอบ ของประโยคควำมเดียวซบั ซอ้ น ประโยคควำมรวมหรือประโยคควำมซ้อนอย่ใู นประโยคก็ได้ กำรมีควำมรู้ เร่ือง ประโยคควำมรวมซบั ซอ้ นจะทำใหร้ ู้จกั วเิ ครำะหป์ ระโยค และนำไปใชใ้ นกำรสื่อสำรไดด้ ียง่ิ ข้นึ 2. ตวั ชีว้ ัดช้ันปี วิเครำะหโ์ ครงสร้ำงประโยคซบั ซอ้ น ท 4.1 (ม.3/2) 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกลกั ษณะ ของประโยคควำมรวมซบั ซอ้ นได้ (K) 2. วิเครำะหอ์ งคป์ ระกอบของประโยคควำมรวมซบั ซอ้ นไดถ้ ูกตอ้ ง (K , P) 3. แตง่ ประโยคควำมรวมซบั ซอ้ นและนำไปใชไ้ ดถ้ กู ตอ้ ง (P) 4. เห็นควำมสำคญั ของกำรใชภ้ ำษำไทยไดถ้ กู ตอ้ งตำมหลกั เกณฑข์ องภำษำ (A) 4. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านยิ ม (A) ด้านทกั ษะและกระบวนการ (P) 1. สังเกตกำรตอบคำถำม 1. ประเมินพฤติกรรมในกำรทำงำนเป็ น 1. ประเมินทกั ษะกำรอ่ำนสรุปควำม และกำรยกตวั อยำ่ ง รำยบุคคลในด้ำนควำมสนใจและต้ังใจ 2. ประเมินทกั ษะกำรแสวงหำควำมรู้ 2. ตรวจผลกำรทำกิจกรรม เรียน ควำมรับผิดชอบในกำรทำกิจกรรม 3. ประเมินทกั ษะกระบวนกำรคดิ ควำมมีระเบียบวนิ ยั ในกำรทำงำน ฯลฯ 4. ประเมินทกั ษะกระบวนกำรกลมุ่ 2. ประเมินเจตคติท่ีดีต่อกำรเรียนภำษำไทย 5. สาระการเรียนรู้ ประโยคควำมรวมซบั ซอ้ น 6. แนวทางบูรณาการ ศึกษำเร่ือง ประโยคควำมรวมซบั ซอ้ นในภำษำองั กฤษเปรียบเทียบกบั ภำษำต่ำงประเทศ ภำษำไทย เลน่ เกมต่อจิ๊กซอวป์ ระโยค สุขศึกษำ จดั ป้ำยนิเทศ กำรงำนอำชีพฯ
20 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั ที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูติดประโยคควำมรวมบนกระดำนใหน้ กั เรียนอำ่ นออกเสียงพร้อมกนั แม่ชอบกินผลไม้ แต่ยายชอบกินขนม 2. ครูสุ่มเรียกนกั เรียนอำสำสมหคั วราน2 – 3 คน ใหเ้ พิม่ ส่วนขยำยจำกประโยคควำมรวมที่ครูเขยี นบน กระดำน ครูเขียนประโยคใหม่ท่ีนักเรียนแต่งบนกระดำน ให้เพ่ือนช่วยกนั บอกว่ำเป็ นส่วน ขยำยในภำคใดของประโยค มีควำมชดั เจนข้ึนหรือไม่ จำกน้นั ครูอธิบำยให้นกั เรียนเขำ้ ใจว่ำ ประโยคควำมรวมท่ีมีส่วนขยำยเพมิ่ ข้ึนเรียกวำ่ ประโยคควำมรวมซบั ซอ้ น ข้นั ท่ี 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูสุ่มเรียกนักเรียน 2 – 3 คน ให้อธิบำยลักษณะของประโยคควำมรวมและเน้ือควำมของ ประโยคควำมรวมลกั ษณะต่ำง ๆ เป็นกำรทบทวน 2. นักเรียนอ่ำนเร่ือง ประโยคควำมรวมซับซ้อน ในหนังสือเรียน รำยวิชำพ้ืนฐำน หลกั กำรใช้ ภำษำไทย ช้นั มธั ยมศึกษำปี ที่ 3 แลว้ ครูอธิบำยเพ่ิมเติมแต่ละหวั ขอ้ 3. ครูยกตวั อยำ่ งประโยคควำมรวมซบั ซ้อน 5 ประโยค ใหน้ ักเรียนช่วยกนั วเิ ครำะห์ทีละประโยค ว่ำประกอบดว้ ยประโยคควำมรวมกี่ประโยคและมีส่วนซบั ซ้อนในส่วนใดบำ้ ง ครูตรวจสอบ ควำมถูกตอ้ งและอธิบำยเพิ่มเติมจนนกั เรียนเขำ้ ใจ 4. ครูให้นักเรียนยกตวั อย่ำงประโยคควำมรวมซับซ้อน 5 – 6 ประโยค แลว้ ให้นักเรียนช่วยกัน วิเครำะห์วำ่ มีควำมซับซ้อนในส่วนใด ส่วนประกอบที่เพ่ิมเขำ้ มำมีลกั ษณะเป็นประโยคควำม เดียว ประโยคควำมรวม หรือประโยคควำมซอ้ น แลว้ อธิบำยใหน้ กั เรียนเขำ้ ใจวำ่ ควำมซบั ซอ้ น ของประโยคควำมรวม อำจประกอบดว้ ยประโยคควำมเดียว ประโยคควำมรวม หรือประโยค ควำมซอ้ นกไ็ ด้ 5. แบ่งนักเรียนออกเป็ นกลุ่ม ครูแจกประโยคควำมรวมซับซ้อน 10 ประโยค ให้แต่ละกลุ่ม วิเครำะห์ส่วนประกอบของประโยค และบอกดว้ ยว่ำเป็นประโยคควำมรวมท่ีมีส่วนประกอบ เป็ นประโยคควำมเดียว ประโยคควำมรวม หรือประโยคควำมซอ้ น เสร็จแลว้ ครูเฉลยคำตอบ โดยเรียกนกั เรียนวิเครำะห์ประโยคทีละประโยค ครูอธิบำยเพ่ิมเติมในแต่ละประโยค เพ่ือให้ นกั เรียนเขำ้ ใจมำกข้นึ ข้นั ท่ี 3 ฝึ กฝนผ้เู รียน 1. นกั เรียนทำกิจกรรมท่ีเกี่ยวกบั ประโยคควำมรวมซบั ซอ้ น แลว้ ช่วยกนั เฉลยคำตอบ 2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเล่นเกมต่อจ๊ิกซอวป์ ระโยคควำมรวมซับซ้อน โดยครูแจกประโยค ควำมรวมซบั ซอ้ นท่ีถกู ตอ้ ง 5 ประโยคแตแ่ ยกเป็นส่วนประกอบ ใหน้ กั เรียนช่วยกนั ตอ่ ใหเ้ ป็น ประโยคควำมรวมซับซ้อนให้ถูกต้อง ภำยในเวลำท่ีครูกำหนด เสร็จแล้วให้ช่วยกันเฉลย คำตอบและตรวจนบั คะแนน กลุ่มท่ีไดค้ ะแนนมำกท่ีสุดเป็นผชู้ นะ
21 3. นกั เรียนทำใบงำน เรื่อง ประโยคควำมรวมซบั ซอ้ น ส่งครู ข้นั ที่ 4 นาไปใช้ นกั เรียนนำควำมรู้เก่ียวกบั ประโยคควำมรวมซบั ซอ้ นไปใชใ้ นกำรเรียนและกำรส่ือสำรไดถ้ กู ตอ้ ง ข้นั ที่ 5 สรุป นกั เรียนช่วยกนั สรุปและยกตวั อยำ่ งประโยคควำมรวมซบั ซอ้ น แลว้ บนั ทึกลงสมดุ 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นกั เรียนศึกษำเพิ่มเติมเกี่ยวกบั ประโยคควำมรวมซบั ซอ้ น จำกหนงั สือหรือสืบคน้ จำกเวบ็ ไซต์ ต่ำง ๆ นำควำมรู้มำจดั ป้ำยนิเทศหนำ้ ช้นั เรียน 2. ครูนำบทควำมภำษำองั กฤษส้นั ๆ มำให้นกั เรียนอ่ำน แลว้ ใหน้ กั เรียนช่วยกนั บอกวำ่ มีประโยค ควำมรวม ประโยคควำมรวมซบั ซอ้ นหรือไม่ เปรียบเทียบกบั ประโยคควำมรวมในภำษำไทย 9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 1. ตวั อยำ่ งประโยคควำมรวม 2. ตวั ตอ่ จ๊ิกซอว์ 3. ใบงำน เร่ือง ประโยคควำมรวมซบั ซอ้ น 4. หนงั สือเรียน รำยวชิ ำพ้นื ฐำน หลกั กำรใชภ้ ำษำไทย ช้นั มธั ยมศึกษำปี ท่ี 3 10. บันทึกหลงั การจดั การเรียนรู้
22 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 ช้ัน มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 ประโยคความซ้อนซับซ้อน ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 2 ชั่วโมง รหัสวชิ า ท 23101 รายวิชา ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มคาและพยางค์ เร่ือง ประโยคความซ้อนซับซ้อน 1. สาระสาคัญ ประโยคควำมซ้อนซับซ้อน คือ ประโยคควำมซ้อนที่ประกอบด้วยประโยคย่อยมำกกว่ำหน่ึง ประโยค ประโยคย่อยท่ีเพ่ิมข้ึนมำอำจเป็นประโยคควำมเดียว ประโยคควำมรวม หรือประโยคควำมซ้อนก็ ได้ กำรเขำ้ ใจเร่ืองประโยคควำมซอ้ นซบั ซ้อน ช่วยใหใ้ ชภ้ ำษำในกำรส่ือสำรไดช้ ดั เจนมำกข้ึน 2. ตัวชีว้ ดั ช้ันปี วเิ ครำะห์โครงสร้ำงประโยคซบั ซอ้ น ท 4.1 (ม.3/2) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกลกั ษณะและประเภทของประโยคควำมซอ้ นซบั ซอ้ นได้ (K) 2. วเิ ครำะห์องคป์ ระกอบของประโยคควำมซอ้ นซบั ซอ้ นไดถ้ ูกตอ้ ง (K , P) 3. แตง่ หรือใชป้ ระโยคควำมซอ้ นซบั ซอ้ นในกำรสื่อสำรไดถ้ ูกตอ้ ง (P) 4. เห็นควำมสำคญั ของกำรใชภ้ ำษำไทยไดถ้ กู ตอ้ งตำมหลกั เกณฑข์ องภำษำ (A) 4. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม (A) ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 1. สังเกตกำรตอบคำถำม 1. ประเมินพฤติกรรมในกำรทำงำนเป็ น 1. ประเมินทกั ษะกำรอ่ำนสรุปควำม และกำรยกตวั อยำ่ ง รำยบุคคลในดำ้ นควำมสนใจและต้งั ใจ 2. ประเมินทกั ษะกำรแสวงหำควำมรู้ 2. ตรวจผลกำรทำกิจกรรม เรี ยน ค วำม รับ ผิ ด ช อ บ ใน กำร ท ำ 3. ประเมินทกั ษะกระบวนกำรคิด กิจกรรม ควำมมีระเบียบวินัยในกำร 4. ประเมินทกั ษะกระบวนกำรกลุ่ม ทำงำน ฯลฯ 2. ประเมินเจตคติที่ดีตอ่ กำรเรียนภำษำไทย 5. สาระการเรียนรู้ ประโยคควำมซอ้ นซบั ซอ้ น 6. แนวทางบูรณาการ ศึกษำเร่ือง ประโยคควำมซอ้ นซบั ซอ้ น ภำษำตำ่ งประเทศ เล่นเกมประโยคควำมซอ้ นซบั ซอ้ น สุขศึกษำฯ
23 7. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูใหน้ กั เรียนแต่งประโยคควำมซอ้ นตำมใจชอบคนละ 1 ประโยค เขยี นใส่กระดำษ 2. ครูยกตวั อยำ่ งประโยคควำมซอ้ น 1 ประโยค โดยเขยี นบนกระดำน แลว้ ให้นกั เรียนช่วยกนั เพิ่ม ส่วนขยำยให้กลำยเป็นประโยคควำมซอ้ นซบั ซอ้ น นกั เรียนช่วยกนั วิเครำะห์ส่วนประกอบของ ประโยค แลว้ ครูอธิบำยให้นักเรียนเขำ้ ใจว่ำ ประโยคลกั ษณะน้ีเรียกว่ำประโยคควำมซ้อน ซบั ซอ้ น 3. ครูใหน้ กั เรียนขยำยประโยคท่ีแต่งลงในกระดำษใหเ้ ป็นประโยคควำมซอ้ นซบั ซอ้ น ส่งครู ข้นั ท่ี 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูนำประโยคควำมซอ้ นซบั ซอ้ นท่ีนกั เรียนเขียนใส่กระดำษ เปิ ดอำ่ นทีละประโยค ให้นกั เรียน ช่วยกันตรวจสอบว่ำเป็ นประโยคควำมซ้อนซับซ้อนหรือไม่ ถ้ำเป็ นประโยคซับซ้อนให้ นักเรียนอำสำสมัครเขียนบนกระดำน เม่ือหมดทุกประโยคแล้ว ครูและนักเรียนร่วมกัน วิเครำะห์ส่วนประกอบทีละประโยค เพื่อให้นักเรียนเขำ้ ใจลกั ษณะของประโยคควำมซ้อน ซบั ซอ้ นมำกข้ึน 2. นกั เรียนอ่ำนเร่ือง ประโยคควำมซ้อนซบั ซ้อน ในหนังสือเรียน รำยวิชำพ้ืนฐำน ภำษำไทยช้นั มธั ยมศึกษำปี ที่ 3 แลว้ ครูสุ่มเรียกใหส้ รุปควำมรู้ใหเ้ พ่อื นฟัง 3. ครูยกตัวอย่ำงประโยคควำมซ้อนแต่ละประเภท แลว้ วิเครำะห์ส่วนประกอบของประโยค อธิบำยใหน้ กั เรียนฟัง ประกอบกำรซกั ถำมควำมเขำ้ ใจ 4. แบ่งนกั เรียนออกเป็นกล่มุ ละ 3 คน ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มแต่งประโยคควำมซ้อนซบั ซอ้ นประเภทละ 1 ประโยค แลว้ ครูเรียกให้นักเรียนออกมำอธิบำยให้เพ่ือนฟังหนำ้ ช้นั เรียน ครูตรวจสอบควำม ถกู ตอ้ ง และอธิบำยเพ่ิมเติมหลงั จบกำรรำยงำนของแต่ละกล่มุ ข้นั ที่ 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. นกั เรียนทำกิจกรรมที่เกี่ยวกบั ประโยคควำมซอ้ นซบั ซอ้ น แลว้ ช่วยกนั เฉลยคำตอบ 2. นกั เรียนแต่ละกลุ่มเล่นเกมประโยคควำมซอ้ นซบั ซอ้ น โดยครูแจกประโยคควำมซอ้ นกลุ่มละ 1 ชุด มี 6 ประโยค ใหแ้ ต่ละกลุม่ เพ่มิ ส่วนขยำยใหเ้ ป็นประโยคควำมซอ้ นซบั ซอ้ น ที่มีประโยค ยอ่ ยเป็นประโยคควำมเดียวซบั ซอ้ น ประโยคยอ่ ยเป็นประโยคควำมรวม และประโยคย่อยเป็น ประโยคควำมซ้อน ประเภทละ 2 ประโยค เม่ือเสร็จแลว้ ครูตรวจสอบควำมถูกตอ้ ง กลุ่มใด เสร็จก่อนและถูกตอ้ งมำกท่ีสุดเป็นผชู้ นะ 3. ครูแจกตำรำงวิเครำะห์ประโยคควำมซ้อนซับซ้อนให้ทุกกลุ่ม แลว้ แจกชุดประโยคกลุ่มละ 1 ชุด ใหแ้ ตล่ ะกล่มุ วเิ ครำะห์ประโยคลงในตำรำงวิเครำะหป์ ระโยคใหถ้ กู ตอ้ งส่งครู ข้นั ท่ี 4 นาไปใช้ นกั เรียนนำควำมรู้เก่ียวกบั ประโยคควำมซอ้ นซบั ซอ้ นไปใชใ้ นกำรเรียนและในชีวิตประจำวนั
24 ข้นั ท่ี 5 สรุป นกั เรียนร่วมกนั สรุปลกั ษณะและประเภทของประโยคควำมซอ้ นซบั ซอ้ น แลว้ บนั ทึกลงในสมุด 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นกั เรียนฝึกวิเครำะห์ประโยคควำมซอ้ นซบั ซอ้ นจำกบทควำมในหนงั สือพมิ พแ์ ลว้ สรุปนำมำ อภิปรำยกบั เพื่อนในช้นั เรียน 2. นกั เรียนศึกษำเร่ืองประโยคควำมซอ้ นซบั ซอ้ นในภำษำองั กฤษเปรียบเทียบกบั ภำษำไทย 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. กระดำษ 2. ชุดประโยคควำมซอ้ น 3. หนงั สือเรียน รำยวิชำพ้นื ฐำน หลกั กำรใชภ้ ำษำไทย ช้นั มธั ยมศึกษำปี ท่ี 3 10. บันทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้
25 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 ช้ัน มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 ประโยคแสดงเง่ือนไข ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 2 ชั่วโมง รหสั วชิ า ท 23101 รายวชิ า ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 กล่มุ คาและพยางค์ เรื่อง ประโยคแสดงเง่ือนไข 1. สาระสาคญั ประโยคแสดงเงื่อนไข คือ ประโยคควำมเดียวต้งั แต่ 2 ประโยคข้ึนไป เช่ือมกนั ดว้ ยสันธำน และมี เน้ือควำมเป็นเง่ือนไขต่อกนั ซ่ึงประกอบดว้ ยตวั เงื่อนไข และผลที่ตำมมำ 2. ตัวชีว้ ดั ช้ันปี วเิ ครำะห์โครงสร้ำงประโยคซบั ซอ้ น ท 4.1 (ม.3/2) 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกลกั ษณะของประโยคแสดงเง่ือนไขได้ (K) 2. วิเครำะหอ์ งคป์ ระกอบของประโยคแสดงเง่ือนไขไดถ้ ูกตอ้ ง (K , P) 3. แต่งประโยคแสดงเงื่อนไขและนำไปใชไ้ ดถ้ ูกตอ้ ง (K , P) 4. เห็นควำมสำคญั ของกำรใชภ้ ำษำไทยไดถ้ ูกตอ้ งตำมหลกั เกณฑข์ องภำษำ (A) 4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ ม (A) ด้านทกั ษะและกระบวนการ (P) 1. สังเกตกำรตอบคำถำม 1. ประเมินพฤติกรรมในกำรทำงำนเป็ น 1. ประเมินทกั ษะกำรอ่ำนสรุปควำม และกำรยกตวั อยำ่ ง รำยบุคคลในดำ้ นควำมสนใจและต้งั ใจ 2. ประเมินทกั ษะกำรแสวงหำควำมรู้ 2. ตรวจผลกำรทำกิจกรรม เรียน ควำมรับผิดชอบในกำรทำกิจกรรม 3. ประเมินทกั ษะกระบวนกำรคดิ ควำมมีระเบียบวินยั ในกำรทำงำน ฯลฯ 4. ประเมินทกั ษะกระบวนกำรกลุ่ม 2. ประเมินเจตคติท่ีดีตอ่ กำรเรียนภำษำไทย 5. สาระการเรียนรู้ ประโยคแสดงเง่ือนไข 6. แนวทางบูรณาการ ศึกษำเร่ือง ประโยคเงื่อนไข ภำษำต่ำงประเทศ เลน่ เกมสร้ำงประโยคเงื่อนไข สุขศึกษำฯ จดั ป้ำยนิเทศ กำรงำนอำชีพฯ 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 นาเข้าสู่บทเรียน
26 1. ครูติดแถบประโยคแสดงเงื่อนไขบนกระดำน นกั เรียนจะออกจำกหอ้ งเรียนไดก้ ็ตอ่ เมื่ออำจำรยอ์ นุญำต 2. ครูซักถำมนักเรียนวำ่ ประโยคน้ี ประกอบดว้ ยก่ีประโยค มีคำใดเป็ นตวั เช่ือม และมีเน้ือควำม ลกั ษณะใด จำกน้นั ครูอธิบำยใหน้ กั เรียนเขำ้ ใจวำ่ ประโยคท่ีมีเน้ือควำมเป็นเง่ือนไขและมีผลที่ ตำมมำเรียกวำ่ ประโยคแสดงเงื่อนไข ข้นั ที่ 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูทบทวนควำมรู้เดิมเก่ียวกบั ประโยคแสดงเงื่อนไข ให้นักเรียนช่วยกันอธิบำย แลว้ ครูติด ประโยคแสดงเงื่อนไขบนกระดำน 5 ประโยค โดยคละส่วนท่ีเป็นเงื่อนไขและส่วนท่ีเป็นผลที่ ตำมมำแยกออกจำกกนั ให้นักเรียนช่วยกนั จบั คู่ส่วนท่ีเป็ นเง่ือนไขและผลท่ีตำมมำของแต่ละ ประโยคใหส้ ัมพนั ธ์กนั 2. นักเรียนอ่ำนเร่ือง ประโยคแสดงเง่ือนไข ในหนังสือเรียน รำยวิชำพ้ืนฐำน หลักกำรใช้ ภำษำไทย ช้นั มธั ยมศึกษำปี ที่ 3 แลว้ ให้นกั เรียนซักถำมครูถึงส่ิงที่ไม่เขำ้ ใจ ครูอธิบำยเพ่ิมเติม เพอ่ื ใหน้ กั เรียนเขำ้ ใจมำกยงิ่ ข้ึน 3. ครูยกตวั อย่ำงประโยคแสดงเง่ือนไขที่มีลกั ษณะคลำ้ ยประโยคควำมรวมและประโยคควำม รวม แลว้ อธิบำยถึงควำมแตกตำ่ งจำกประโยคเง่ือนไข และช่วยกนั สรุป นกั เรียนบนั ทึกลงสมุด 4. ครูแจกชุดประโยคแสดงเงื่อนไขใหน้ กั เรียนทุกกลุ่ม ให้นกั เรียนช่วยกนั วิเครำะห์เงื่อนไขและ ผลที่ตำมมำเสร็จ แล้วครูตรวจสอบควำมถูกต้อง โดยให้แต่ละกลุ่มช่วยกันเฉลยคำตอบ สลบั กนั ไปกลุ่มละ 1 ขอ้ จนครบทกุ ขอ้ ครูอธิบำยเพิม่ เติมหลงั กำรเฉลยของนกั เรียนแตล่ ะขอ้ ข้นั ที่ 3 ฝึ กฝนผ้เู รียน 1. นกั เรียนทำกิจกรรมที่เกี่ยวกบั ประโยคแสดงเงื่อนไข แลว้ ช่วยกนั เฉลยคำตอบ 2. นกั เรียนเล่นเกมสร้ำงประโยคเง่ือนไข ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแต่งประโยคเงื่อนไขจำกท่ีครู กำหนดให้ โดยครูยกประโยคเงื่อนไขข้ึนมำคร้ังละ 1 ประโยค เช่น ครูยกประโยคว่ำฉันจะดู โทรทศั น์ ให้แต่ละกลุ่มยกมือตอบภำยในเวลำท่ีครูกำหนด ถำ้ มีกลุ่มยกมือตอบว่ำก็ต่อเมื่อฉัน ทำกำรบำ้ นเสร็จแลว้ ครูตรวจสอบควำมถูกตอ้ ง ถำ้ ถูกตอ้ งจะได้ 1 คะแนน เล่นไปเร่ือย ๆ จน ครบทุกประโยคหรือนักเรียนแต่งประโยคคล่องมำกข้ึน แลว้ นบั คะแนนกลุ่มท่ีไดค้ ะแนนมำก ที่สุดเป็นผชู้ นะ กลุ่มท่ีไดค้ ะแนนนอ้ ยท่ีสุดใหอ้ อกมำหนำ้ ช้นั เรียนทำตำมท่ีเพอ่ื นตอ้ งกำร 3. ครูยกตวั อย่ำงประโยคแสดงเงื่อนไขภำษำองั กฤษ นักเรียนช่วยกันวิเครำะห์ประโยคแสดง เงื่อนไขและประโยคผลท่ีตำมมำ และคำเช่ือม เปรียบเทียบกับประโยคแสดงเงื่อนไขใน ภำษำไทย 4. นกั เรียนแตง่ ประโยคแสดงเงื่อนไขจำกภำพที่ครูกำหนดใหไ้ ดม้ ำกท่ีสุดส่งครู ข้นั ท่ี 4 นาไปใช้ นกั เรียนนำควำมรู้เก่ียวกบั ประโยคแสดงเงื่อนไขไปใชใ้ นกำรเรียนและในชีวิตประจำวนั
27 ข้นั ท่ี 5 สรุป นกั เรียนร่วมกนั สรุปลกั ษณะของประโยคแสดงเง่ือนไข แลว้ บนั ทึกลงในสมุด 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นักเรียนศึกษำควำมรู้เก่ียวกบั ประโยคแสดงเงื่อนไขในภำษำไทยและประโยคแสดงเงื่อนไข ในภำษำองั กฤษเปรียบเทียบกนั นำขอ้ มูลจดั ป้ำยนิเทศหนำ้ ช้นั เรียน 2. นกั เรียนฝึ กวิเครำะห์ประโยคเง่ือนไขจำกข่ำวหรือบทควำมท่ีอ่ำน แลว้ นำมำอภิปรำยกนั ในช้นั เรียน 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. แถบประโยคแสดงเง่ือนไข 2. ตวั อยำ่ งประโยคแสดงเงื่อนไข 3. หนงั สือเรียนรำยวิชำพ้ืนฐำน หลกั กำรใชภ้ ำษำไทย ช้นั มธั ยมศึกษำปี ท่ี 3 10. บนั ทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้
28 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6 ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ประโยคแสดงเง่ือนไขซับซ้อน ภาคเรียนที่ 1 เวลา 2 ช่ัวโมง รหัสวิชา ท 23101 รายวิชา ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 กล่มุ คาและพยางค์ เร่ือง ประโยคแสดงเง่ือนไขซับซ้อน 1. สาระสาคญั ประโยคแสดงเงื่อนไขซับซ้อนคือ ประโยคเง่ือนไขที่ประกอบดว้ ยประโยคที่เป็นตวั เงื่อนไข หรือ ผลที่ตำมมำมำกกวำ่ หน่ึงประโยค ทำใหป้ ระโยคมีควำมซบั ซอ้ นหรือเน้ือควำมขยำยมำกข้นึ 2. ตวั ชีว้ ัดช้ันปี วิเครำะห์โครงสร้ำงประโยคซบั ซอ้ น ท 4.1 (ม.3/2) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกลกั ษณะ ของประโยคแสดงเง่ือนไขซบั ซอ้ นได้ (K) 2. วิเครำะหอ์ งคป์ ระกอบของประโยคแสดงเงื่อนไขซบั ซอ้ นไดถ้ กู ตอ้ ง (K , P) 3. แตง่ ประโยคแสดงเงื่อนไขซบั ซอ้ นและนำไปใชไ้ ดถ้ กู ตอ้ ง (K , P) 4. เห็นควำมสำคญั ของกำรใชภ้ ำษำไทยไดถ้ กู ตอ้ งตำมหลกั เกณฑข์ องภำษำ (A) 4. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม (A) ด้านทกั ษะและกระบวนการ (P) 1. สังเกตกำรตอบคำถำม 1. ประเมินพฤติกรรมในกำรทำงำนเป็ น 1. ประเมินทกั ษะกำรอ่ำนสรุปควำม และกำรยกตวั อยำ่ ง รำยบุคคลในด้ำนควำมสนใจและต้งั ใจ 2. ประเมินทกั ษะกำรแสวงหำควำมรู้ 2. ตรวจผลกำรทำกิจกรรม เรียน ควำมรับผิดชอบในกำรทำกิจกรรม 3. ประเมินทกั ษะกระบวนกำรคดิ ควำมมีระเบียบวินยั ในกำรทำงำน ฯลฯ 4. ประเมินทกั ษะกระบวนกำรกลมุ่ 2. ประเมินเจตคติที่ดีตอ่ กำรเรียนภำษำไทย 5. สาระการเรียนรู้ ประโยคแสดงเงื่อนไขซบั ซอ้ น 6. แนวทางบูรณาการ ศึกษำเรื่อง ประโยคแสดงเงื่อนไขซบั ซอ้ น ภำษำตำ่ งประเทศ เล่นเกมแตง่ ประโยคแสดงเง่ือนไขซบั ซอ้ น สุขศึกษำฯ จดั ป้ำยนิเทศ กำรงำนอำชีพฯ 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 นาเข้าสู่บทเรียน
29 1. ครูติดแถบประโยคบนกระดำน ใหน้ กั เรียนช่วยกนั แยกวำ่ ประกอบดว้ ยประโยคใดบำ้ ง ถำ้ เรำออกกำลงั กำยสม่ำเสมอ และพกั ผอ่ นอยำ่ งเพยี งพอ เรำจะเป็นคนท่ีสุขภำพดี 2. ครูเฉลยให้นกั เรียนเขำ้ ใจว่ำ ประโยคน้ีเป็ นประโยคแสดงเงื่อนไข ประกอบดว้ ยประโยคเรำ ออกกำลงั กำยสม่ำเสมอ เรำพกั ผอ่ นอยำ่ งเพยี งพอ เรำจะเป็นคนท่ีสุขภำพดี มีคำเชื่อมคอื และ ประโยคแสดงเงื่อนไขที่ประกอบดว้ ยตวั เง่ือนไขหรือผลที่ตำมมำมำกกว่ำ 1 ประโยคเรียกว่ำ ประโยคแสดงเงื่อนไขซบั ซอ้ น ข้นั ที่ 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูสุ่มเรียกนกั เรียน 3 – 4 คน อธิบำยลกั ษณะของประโยคเงื่อนไขซบั ซอ้ นใหเ้ พื่อนฟัง 2. ครูยกตวั อย่ำงประโยคแสดงเงื่อนไขซบั ซอ้ น 5 ประโยค เขียนบนกระดำน ใหน้ กั เรียนช่วยกนั วิเครำะห์ว่ำประกอบดว้ ยประโยคใดบำ้ ง แต่ละประโยคเป็ นตวั เง่ือนไขหรือผลท่ีตำมมำ ครู ตรวจสอบควำมถูกตอ้ ง 3. แบ่งนกั เรียนออกเป็ นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มอ่ำนเร่ือง ประโยคแสดงเงื่อนไขซับซ้อน ในหนังสือ เรียนรำยวิชำพ้ืนฐำน หลกั กำรใชภ้ ำษำไทย ช้นั มธั ยมศึกษำปี ท่ี 3 แลว้ ครูสุ่มถำมนกั เรียน 2 – 3 คนสรุปใหเ้ พ่อื นฟัง 4. ครูยกตวั อย่ำงประโยคแสดงเง่ือนไขซับซ้อนแต่ละลกั ษณะโดยเขียนบนกระดำนแลว้ อธิบำย ใหน้ กั เรียนฟัง และวเิ ครำะห์ส่วนประกอบของประโยคแต่ละประโยค 5. แบ่งนักเรียนออกเป็ นกลุ่ม ครูแจกตำรำงวิเครำะห์ประโยคแสดงเงื่อนไขซับซ้อนให้นักเรียน ทกุ กลุ่ม ใหว้ เิ ครำะห์ประโยคใหถ้ ูกตอ้ งส่งครู ข้นั ท่ี 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. นกั เรียนทำกิจกรรมท่ีเก่ียวกบั ประโยคแสดงเง่ือนไขซบั ซอ้ น แลว้ ช่วยกนั เฉลยคำตอบ 2. นักเรียนเล่นเกมแต่งประโยคแสดงเงื่อนไขซับซ้อน ครูแจกใบงำนกลุ่มละ 1 ใบ ครูเขียน ประโยคแสดงเงื่อนไขไว้ 1 ประโยค ให้แต่ละกลุ่มแต่งประโยคแสดงเง่ือนไขต่อจำกประโยค ของครูให้เป็นเร่ืองรำวกลุ่มละ 1 เร่ือง ภำยในเวลำท่ีกำหนด เสร็จแลว้ อ่ำนให้เพ่ือนฟังหนำ้ ช้นั เรียน ครูตรวจสอบควำมถูกตอ้ งใหค้ ะแนน กลุ่มท่ีไดค้ ะแนนมำกท่ีสุดเป็นผชู้ นะ 3. นักเรี ยนแต่งประโยคแสดงเง่ือนไขซั บซ้อน คนละ 10 ประโยค พร้อมท้ังวิเครำะห์ ส่วนประกอบทำเป็ นรำยงำนส่งครู ข้นั ท่ี 4 นาไปใช้ นกั เรียนนำควำมรู้เก่ียวกบั ประโยคแสดงเงื่อนไขซบั ซอ้ นไปใชใ้ นกำรเรียนและในชีวิตประจำวนั ข้นั ท่ี 5 สรุป นกั เรียนร่วมกนั สรุปลกั ษณะของประโยคแสดงเงื่อนไขซบั ซอ้ น แลว้ บนั ทึกลงสมดุ 8. กจิ กรรมเสนอแนะ
30 1. นักเรียนศึกษำเพิ่มเติมเก่ียวกับประโยคแสดงเงื่อนไขซับซ้อน นำขอ้ มูลมำเปรียบเทียบกับ ประโยคแสดงเงื่อนไข แลว้ นำขอ้ มูลมำจดั ป้ำยนิเทศหนำ้ ช้นั เรียน 2. นกั เรียนแต่งประโยคแสดงเงื่อนไขภำษำองั กฤษ แลว้ อธิบำยควำมหมำยของประโยคใหเ้ พอื่ น ฟัง 9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 1. แถบประโยค 2. ตำรำงวเิ ครำะห์ประโยคแสดงเง่ือนไขซบั ซอ้ น 3. หนงั สือเรียน รำยวิชำพ้นื ฐำน หลกั กำรใชภ้ ำษำไทย ช้นั มธั ยมศึกษำปี ที่ 3 10. บันทกึ หลงั การจดั การเรียนรู้
31 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 7 ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 3 เปรียบเทียบประโยคซับซ้อน ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 2 ช่ัวโมง รหสั วิชา ท 23101 รายวชิ า ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 กล่มุ คาและพยางค์ เร่ือง เปรียบเทียบประโยคซับซ้อน 1. สาระสาคัญ ประโยคซับซ้อน เป็ นประโยคท่ีมีส่วนขยายเพิ่มมากข้ึนจากประโยคธรรมดา ท้งั ประโยคความ เดียว ประโยคความรวม ประโยคความซ้อน โดยทวั่ ไปความซับซอ้ นจะช่วยให้ประโยคมีความชดั เจนมาก ข้ึน ถา้ หากนามาเปรียบเทียบกนั จะเห็นความแตกต่างของโครงสร้างประโยคชดั เจน ทาให้เขา้ ใจประโยค ซบั ซอ้ นไดง้ ่ายข้ึน 2. ตัวชี้วัดช้ันปี วเิ คราะห์โครงสร้างประโยคซบั ซอ้ น ท 4.1 (ม.3/2) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เปรียบเทียบลกั ษณะของประโยคทว่ั ไปกบั ประโยคซบั ซอ้ นได้ (K) 2. วเิ คราะห์โครงสร้างของประโยคทว่ั ไปและประโยคซบั ซอ้ นไดถ้ กู ตอ้ ง (K , P) 3. แตง่ ประโยคซบั ซอ้ นจากประโยคทวั่ ไปได้ (K , P) 4. เห็นความสาคญั ของการใชภ้ าษาไทยไดถ้ กู ตอ้ งตามหลกั เกณฑข์ องภาษา (A) 4. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรมและค่านิยม (A) ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 1. สงั เกตการตอบคาถามและ 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็ น 1. ประเมินทกั ษะการอา่ นสรุปความ การยกตวั อยา่ ง รายบุคคลในดา้ นความสนใจและต้งั ใจ 2. ประเมินทกั ษะการแสวงหาความรู้ 2. ตรวจผลการทากิจกรรม เรี ยน ความรับ ผิดชอบ ใน การ ท า 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการคิด 3. แบบทดสอบหลงั เรียน กิจกรรม ความมีระเบียบวินัยในการ 4. ประเมินทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ทางาน ฯลฯ 2. ประเมินเจตคติที่ดีต่อการเรียนภาษาไทย 5. สาระการเรียนรู้ การเปรียบเทียบประโยคซบั ซอ้ น 6. แนวทางบูรณาการ เขยี นแผนภาพความคดิ สรุปลกั ษณะของประโยคซบั ซอ้ น คณิตศาสตร์ จดั ป้ายนิเทศ การงานอาชีพฯ
32 7. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ข้นั ที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. นกั เรียนแตง่ ประโยคตามใจชอบคนละ 1 ประโยค โดยเขียนใส่กระดาษ 2. ครูสุ่มเรียกให้นักเรียนสรุปลกั ษณะของประโยคซับซ้อน คนละ 1 ประเภท แลว้ ให้นักเรียน แต่งประโยคซบั ซอ้ นจากประโยคเดิมท่ีแต่งใส่กระดาษ 3. นกั เรียนแต่ละคนอ่านให้เพื่อนฟังและบอกว่าประโยคที่ตนเองแต่งเป็ นประโยคชนิดใด เช่น นกั เรียนแต่งประโยค ปลาทองกินอาหารเม็ด เป็ นประโยคความเดียว เมื่อครูให้แต่งประโยค ซับซ้อน นักเรียนแต่งเป็ น ปลาทองตวั เล็กกินอาหารเม็ดท่ียายซ้ือมาจากตลาด เป็ นประโยค ความเดียวซบั ซอ้ น ข้นั ที่ 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. แบ่งนักเรียนออกเป็ นกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มสรุปลักษณะของประโยคธรรมดาและประโยค ซับซ้อนแต่ละประเภท ทาเป็ นตารางเปรียบเทียบ เสร็จแล้วนาเสนอผลงานหน้าช้ันเรียน นกั เรียนบนั ทึกลงสมุด 2. ครูแจกตารางเปรียบเทียบประโยคให้นักเรียนทุกกลุ่ม ในตารางจะมีประโยคธรรมดา มีท้ัง ประโยคความเดียว ประโยคความรวม ประโยคความซ้อน ให้นักเรียนช่วยกนั แต่งประโยค ซบั ซอ้ นจากประโยคท่ีครูกาหนดใหถ้ ูกตอ้ ง ตัวอย่าง ตารางเปรียบเทียบประโยค ประโยคธรรมดา ประโยคซับซ้อน 1. น้ามะนาวเปร้ียวมาก 1. น้ามะนาวเหยอื กน้ีเปร้ียวมาก 3. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มนาเสนอผลงาน ครูตรวจสอบความถกู ตอ้ ง และนกั เรียนช่วยกนั สรุปเป็น ความรู้ ข้นั ท่ี 3 ฝึ กฝนผู้เรียน 1. นกั เรียนทากิจกรรมท่ีเก่ียวกบั ประโยคซบั ซอ้ น แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ 2. ครูแจกบทความที่มีประโยคซับซ้อนลกั ษณะต่าง ๆ ให้นักเรียนวิเคราะห์ว่าประกอบด้วย ประโยคซับซ้อนชนิดใดบา้ ง แยกส่วนประกอบให้เห็นชดั เจน ครูและนักเรียนช่วยกนั เฉลย คาตอบ 3. นักเรียนแต่งประโยคธรรมดาอย่างละ 3 ประโยค แล้วแต่งเป็ นประโยคซับซ้อน อธิบาย ส่วนประกอบใหช้ ดั เจน ทาเป็นรายงานส่งครู ข้นั ท่ี 4 นาไปใช้ 1. นกั เรียนนาความรู้เกี่ยวกบั ประโยคซบั ซอ้ นไปใชใ้ นการเรียนและในชีวิตประจาวนั 2. นกั เรียนอธิบายเปรียบเทียบประโยคธรรมดาและประโยคซบั ซอ้ น ใหผ้ อู้ ื่นฟังไดถ้ กู ตอ้ ง
33 ข้นั ที่ 5 สรุป 1. นักเรียนร่วมกันสรุปลกั ษณะของประโยคธรรมดาเปรียบเทียบกับประโยคซับซ้อน เป็ น แผนภาพความคดิ พร้อมยกตวั อยา่ งประกอบ 2. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นักเรียนศึกษาเร่ืองประโยคซับซ้อนในภาษาองั กฤษ เปรียบเทียบกับประโยคธรรมดา ทา ตารางเปรียบเทียบประโยคภาษาองั กฤษ แลว้ นาขอ้ มูลมาเผยแพร่ใหเ้ พ่ือนดูหนา้ ช้นั เรียน 2. นกั เรียนศึกษาและรวบรวมขอ้ มูลประโยคซับซอ้ นแต่ละประเภทพร้อมยกตวั อยา่ ง แลว้ นามา จดั ป้ายนิเทศหนา้ ช้นั เรียน 9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 1. กระดาษ 2. ตารางเปรียบเทียบประโยค 3. บทความ 4. หนงั สือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน หลกั การใชภ้ าษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 10. บันทึกหลงั การจดั การเรียนรู้
34 แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา 2 ชวั่ โมง หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 การใช้ภาษาเพ่ือการส่ือสาร เวลา 2 ชวั่ โมง เวลา 10 ชั่วโมง เวลา 2 ชว่ั โมง แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 8 การใชภ้ าษาใหถ้ ูกตอ้ งตามหลกั เกณฑข์ องภาษา เวลา 2 ชวั่ โมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 การใชค้ าใหถ้ กู ตอ้ งตามระเบียบของภาษาและ การเรียบ เวลา 1 ชวั่ โมง เวลา 1 ชวั่ โมง เรียงประโยคใหส้ ละสลวย แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 10 การเลือกใชค้ าใหเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะและบุคคล แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 11 ระดบั ของภาษา แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 การใชภ้ าษากบั กลุ่มอาชีพหรือวงการต่าง ๆ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 13 ภาษาท่ีใชใ้ นกลุ่มวชิ าการหรือวิชาต่าง ๆ
35 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 การใช้ภาษาให้ถกู ต้องตามหลกั เกณฑ์ของภาษา ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 2 ชั่วโมง รหัสวิชา ท 23101 รายวิชา ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 การใช้ภาษาเพื่อการส่ือสาร เร่ือง การใช้ภาษาให้ถูกต้องตามหลกั เกณฑ์ของภาษา 1. สาระสาคัญ การใชภ้ าษาในการสื่อสารจาเป็ นตอ้ งเลือกใช้คาให้ถูกตอ้ งตามความหมาย จะทาให้เขา้ ใจความ หมายตรงกนั หากเลือกใชค้ าไมถ่ ูกตอ้ งตามความหมายจะทาใหเ้ ขา้ ใจผดิ และสื่อความหมายท่ีผิดได้ 2. ตวั ชีว้ ดั ช้ันปี วิเคราะห์ระดบั ภาษา ท 4.1 (ม.3/3) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกหลกั การเลือกใชค้ าใหถ้ ูกตอ้ งตามหลกั เกณฑข์ องภาษาได้ (K) 2. เลือกใชค้ าในการส่ือสารไดต้ รงตามความหมาย (K , P) 3. ตระหนกั และเห็นความสาคญั ของการเลือกใชค้ าในการส่ือสารไดถ้ ูกตอ้ ง (A) 4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม (A) ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 1. สังเกตการตอบคาถามและ 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็ น 1.ประเมินทกั ษะการอา่ นสรุปความ การแสดงความคิดเห็น รายบุคคลในด้านความสนใจและต้ังใจ 2.ประเมินทกั ษะการแสวงหาความรู้ 2. ตรวจผลการทากิจกรรม เรียน ความรับผิดชอบในการทากิจกรรม 3.ประเมินทกั ษะกระบวนการคิด 3. แบบทดสอบก่อนเรียน ความมีระเบียบวินยั ในการทางาน ฯลฯ 4.ประเมินทกั ษะกระบวนการกลุ่ม 2. ประเมินความภาคภูมิใจและเห็นคุณค่า ของภูมิปัญญาทางภาษา 5. สาระการเรียนรู้ การใชภ้ าษาใหถ้ กู ตอ้ งตามหลกั เกณฑข์ องภาษา 6. แนวทางบูรณาการ ศึกษาเร่ือง คาท่ีมีความหมายใกลเ้ คยี งกนั ในภาษาองั กฤษ ภาษาตา่ งประเทศ เล่นเกมแตง่ ประโยค สุขศึกษา จดั ป้ายนิเทศ การงานอาชีพฯ
36 7. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน 2. ครูติดบตั รคาบนกระดาน ใหน้ กั เรียนช่วยกนั อธิบายความหมายวา่ แตกตา่ งกนั อยา่ งไร กระบวนการ ขบวนการ 3. ครูติดแถบประโยคต่อไปน้ีบนกระดาน ให้นักเรียนอ่านและบอกคาว่า กระบวนการ และ ขบวนการ ในประโยคใดใชไ้ ดถ้ ูกตอ้ ง กลุ่มมิจฉาชีพกล่มุ น้ีทางานกนั เป็นกระบวนการ ไสก้ รอกยหี่ อ้ น้ีผา่ นกระบวนการผลิตที่ไดม้ าตรฐาน ขบวนการตอ่ ตา้ นการทารุณกรรมสัตว์ เดินกระบวนเรียกร้องสิทธ์ิใหก้ บั สตั วต์ า่ ง ๆ 4. ครูอธิบายและเฉลยแต่ละประโยคแล้วนาสนทนาโยงเข้าเร่ือง การเลือกใช้คาให้ตรงกับ ความหมาย ข้นั ท่ี 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. นักเรียนอ่านเร่ือง การเลือกใช้คาให้ตรงกับความหมาย ในหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน หลกั การใชภ้ าษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 2. แบง่ นกั เรียนออกเป็นกลุ่ม ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มอภิปรายโตะ๊ กลมตามหวั ขอ้ ที่กาหนดให้ 1. การเลือกใชค้ าไมต่ รงกบั ความหมาย มีผลอยา่ งไรตอ่ การส่ือสาร 2. นกั เรียนมีวธิ ีการอยา่ งไรในการเลือกใชค้ าใหต้ รงกบั ความหมาย 3. ความหมายตรงกบั ความหมายโดยนยั แตกต่างกนั อยา่ งไร 4. คาไวพจน์คอื อะไร มีวิธีใชอ้ ยา่ งไร 3. นกั เรียนแต่ละกลุ่มสรุปผลการอภิปราย แลว้ นาเสนอหนา้ ช้นั เรียน ครูอธิบายเพ่ิมเติมหลงั การ รายงานของแตล่ ะกลุ่มจบ 4. ครูยกตวั อย่างประโยคแลว้ ให้นักเรียนช่วยกันบอกว่า คาในประโยคน้ันมีความหมายตรง ความหมายโดยนยั หรือเป็นคาไวพจน์ เช่น – ช่อผกาสนใจเร่ืองธรรมะต้งั แต่เด็ก ๆ – การแข่งขนั บาสเกตบอลคร้ังน้ี เป็นนดั ล้างตาหลงั จากคร้ังที่แลว้ เราแพแ้ บบสูสี – ชาวบา้ รุมสับผใู้ หญ่บา้ นเรื่องของแจกช่วยเหลือน้าท่วม – ครูรับอปุ การะสมปองและสนับสนุนใหเ้ รียนดา้ นช่างสิบหม่เู พื่อใหเ้ ขามีอาชีพและ
37 รายไดม้ าจุนเจือครอบครัว ข้นั ท่ี 3 ฝึ กฝนผ้เู รียน 1. นกั เรียนทากิจกรรมที่เก่ียวกบั การเลือกใชค้ าใหต้ รงกบั ความหมาย แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ 2. นกั เรียนจบั คู่กบั เพื่อนเลน่ เกมแต่งประโยคใหต้ รงความหมาย โดยครูให้แต่ละคู่จบั สลาก 1 ใบ ในสลากจะประกอบด้วยคาต้ังแต่ 6 คาข้ึนไปท่ีมีความหมายใกล้เคียงกัน ให้แต่ละคู่แต่ง ประโยคโดยใช้คาในสลากคาละ 1 ประโยค ให้ถูกตอ้ งตามความหมาย ภายในเวลาที่ครู กาหนดเสร็จแลว้ อ่านให้เพ่ือนฟัง ครูตรวจสอบความถูกตอ้ ง กลุ่มท่ีถูกตอ้ งจะได้ 1 คะแนน จากน้นั ก็เล่นรอบต่อไป เล่นจนหมดคาท่ีครูเตรียมมา แลว้ นบั คะแนน คู่ที่ไดค้ ะแนนมากที่สุด เป็นผชู้ นะ คทู่ ี่ไดค้ ะแนนนอ้ ยที่สุดใหอ้ อกมาทาตามที่เพ่ือนตอ้ งการ 3. ครูยกตวั อยา่ งคาในภาษาองั กฤษที่มีความหมายคลา้ ยกนั หรือใกลเ้ คียงกนั ให้นกั เรียนช่วยกนั บอกความหมายของคาศพั ท์ และช่วยกนั แต่งประโยคจากคาภาษาองั กฤษคาท่ี ยกตวั อย่าง ครู อธิบายความหมายและบอกเหตุผลท่ีเลือกใชค้ าน้นั ในประโยค ข้นั ท่ี 4 นาไปใช้ 1. นกั เรียนเลือกใชค้ าในการส่ือสารไดต้ รงตามความหมาย 2. นักเรียนนาความรู้เก่ียวกบั การใช้ภาษาไดถ้ ูกตอ้ งตามหลกั เกณฑข์ องภาษาไปใช้ในการเรียน และในชีวติ ประจาวนั ข้นั ที่ 5 สรุป นกั เรียนร่วมกนั สรุปเรื่อง การเลือกใชค้ าใหต้ รงกบั ความหมาย แลว้ บนั ทึกลงในสมดุ 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นกั เรียนศึกษาศึกษาเพิ่มเติมเก่ียวกบั การเลือกใชค้ าให้ตรงกบั ความหมายจากแหล่งการเรียนรู้ อ่ืน ๆ แลว้ นาขอ้ มลู มาจดั ป้ายนิเทศหนา้ ช้นั เรียน 2. นักเรียนศึกษาคาศพั ท์ท่ีมีความหมายใกล้เคียงกันในภาษาองั กฤษ อธิบายความหมายและ ยกตวั อยา่ งประกอบ นามาจดั ป้ายนิเทศภาษาองั กฤษน่ารู้ ผลดั เปลี่ยนทกุ สัปดาห์ 9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 1. บตั รคา 2. แถบประโยค 3. สลาก 4. หนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน หลกั การใชภ้ าษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 10. บนั ทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้
38 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 การใช้คาให้ถกู ต้องตามระเบียบของภาษาและการเรียบเรียงประโยคให้สละสลวย รหสั วิชา ท 23101 รายวชิ า ภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การใช้ภาษาเพ่ือการส่ือสาร ภาคเรียนท่ี 1 เร่ือง การใช้คาให้ถูกต้องตามระเบยี บของภาษาและการเรียบเรียงประโยคให้สละสลวย เวลา 2 ช่ัวโมง 1. สาระสาคญั ในการสื่อสารจาเป็ นจะต้องใชภ้ าษาให้ถูกตอ้ งตามระเบียบของภาษา ท้งั การสะกดคา การใชค้ า ควบกล้า การใช้คาให้ถูกตอ้ งตามชนิดของคา และการเรียบเรียงประโยคให้ถูกตอ้ งสละสลวย ใช้ ถอ้ ยคากะทดั รัด มีใจความชดั เจน ใชค้ าไม่ซ้าซาก เรียงลาดบั คาในประโยคถูกตอ้ งตามตาแหน่ง และ ความสม่าเสมอของคา จะทาใหส้ ่ือสารถูกตอ้ งตรงกนั 2. ตัวชีว้ ดั ช้ันปี วเิ คราะห์ระดบั ภาษา ท 4.1 (ม.3/3) 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกลกั ษณะของคาที่ถกู ตอ้ งตามระเบียบของภาษาได้ (K) 2. เลือกใชค้ าในการส่ือสารไดถ้ ูกตอ้ งตามระเบียบของภาษา (K , P) 3. บอกลกั ษณะของประโยคที่สละสลวยและแตง่ ประโยคท่ีสละสลวยในการสื่อสารได้ (K , P) 4. ตระหนกั และเห็นความสาคญั ของการเลือกใชค้ าในการสื่อสารไดถ้ กู ตอ้ ง (A) 4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยม (A) ด้านทกั ษะและกระบวนการ (P) 1. สังเกตการตอบคาถามและ 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็ น 1. ประเมินทกั ษะการอา่ นสรุปความ การแสดงความคดิ เห็น รายบุคคลในด้านความสนใจและ 2. ประเมินทกั ษะการแสวงหาความรู้ 2. ตรวจผลการทากิจกรรม ต้งั ใจเรียน ความรับผิดชอบในการทา 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการคดิ กิจกรรม ความมีระเบียบวินัยในการ 4. ประเมินทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ทางาน ฯลฯ 2. ประเมินความภาคภูมิใจและเห็นคุณค่า ของภมู ิปัญญาทางภาษา 5. สาระการเรียนรู้ 1. การใชค้ าใหถ้ ูกตอ้ งตามระเบียบของภาษา 2. การเรียบเรียงประโยคใหส้ ละสลวย
39 6. แนวทางบูรณาการ ศึกษาเรื่อง การเรียบเรียงประโยคใหส้ ละสลวยในภาษาองั กฤษ ภาษาตา่ งประเทศ จดั ป้ายนิเทศ การงานอาชีพฯ 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูติดบตั รคาบนกระดาน ให้นกั เรียนช่วยกนั บอกวา่ เขยี นถูกตอ้ งหรือไม่ น้าจนั ท์ ดอกจนั ทน์ ทณั ฑสถาน ทนั ฑกรรม ลงทนั ษ์ ปรากฎการณ์ โน๊ตบุกส์ เคร่ืองยนตร์ 2. ครูและนักเรียนช่วยกนั แกไ้ ขคาท่ีผิดให้ถูกตอ้ ง และครูอธิบายให้นักเรียนเขา้ ใจว่า การเขียน สะกดคาให้ถูกตอ้ งมีความสาคญั มากในภาษาไทย เราควรใชค้ าให้ถูกตอ้ งตามระเบียบของ ภาษา ข้นั ที่ 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ครูสนทนากบั นักเรียนเก่ียวกบั การเขียนสะกดคาผิดในภาษาไทย จะเกิดผลอย่างไรบา้ ง แลว้ ช่วยกนั สรุป 2. แบ่งนกั เรียนออกเป็ นกลุ่ม ใหแ้ ต่ละกลุ่มศึกษาเรื่องการใชค้ าให้ถูกตอ้ งตามระเบียบของภาษา จากในหนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน หลกั การใช้ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 แลว้ ร่วมกนั อภิปรายภายในกลุ่ม จากน้ันครูเรียกให้นักเรียนสรุปกลุ่มละ 1 หัวข้อ ครูอธิบายเพ่ิมเติม หลงั จากการสรุปของทกุ กลุม่ 3. นกั เรียนทาใบงาน เร่ือง การใชค้ าใหถ้ กู ตอ้ งตามระเบียบของภาษา แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ 4. ครูอธิบายเรื่อง การเรียบเรียงประโยคให้สละสลวย ให้นักเรียนฟังพร้อมยกตวั อย่างประกอบ แลว้ ติดแถบประโยคบนกระดาน ให้นกั เรียนช่วยกนั บอกวา่ เป็นประโยคลกั ษณะใด เช่น ใชค้ า ฟ่ ุมเฟื อย มีใจความไมช่ ดั เจน ใชค้ าซ้าซาก – เจา้ หน้าที่กาลงั ช่วยเหลือผูป้ ระสบภยั น้าท่วมอย่างเร่งด่วนและทนั ท่วงที (ใชค้ า ฟ่ ุมเฟื อย) – นอ้ งชายเลน่ ละครเก่งมาก (มีใจความไม่ชดั เจน) – ฉันชอบอ่านหนังสือ ชอบฟังเพลง ชอบเล่นดนตรี และชอบปลูกตน้ ไม้ (ใช้คา ซ้าซาก) – กระเป๋ าเดินทางวางหนา้ ประตู หนา้ ประตูวางกระเป๋ าเดินทาง (การเรียงลาดบั คา) 5. ครูเฉลยและอธิบายเพม่ิ เติมเก่ียวกบั การเรียบเรียงประโยคใหส้ ละสลวยใหน้ กั เรียนฟังอีกคร้ัง ข้นั ที่ 3 ฝึ กฝนผ้เู รียน
40 1. นักเรียนทากิจกรรมที่เก่ียวกับการใช้คาให้ถูกต้องตามระเบียบของภาษาและการเรียบเรียง ประโยคใหส้ ละสลวย แลว้ ช่วยกนั เฉลยคาตอบ 2. ครูแจกบทความให้นักเรียนทุกกลุ่ม ในบทความให้มีการใช้คาท่ีไม่ถูกตอ้ งตามระเบียบของ ภาษาและการเรียบเรียงประโยคไม่สละสลวย แลว้ ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มช่วยกนั หาขอ้ ความที่ ไม่ถูกตอ้ งตามระเบียบของภาษาและการใชป้ ระโยคท่ีไมส่ ละสลวย แกไ้ ขใหถ้ ูกตอ้ ง เสร็จแลว้ ครูเรียกถามเป็นรายกลุม่ ครูอธิบายเพิ่มเติมใหน้ กั เรียนเขา้ ใจอีกคร้ัง 3. นกั เรียนร่วมกนั สนทนาเก่ียวกบั การเรียบเรียงประโยคไม่สละสลวยจะเกิดผลอย่างไรต่อการ ส่ือสารบา้ ง แลว้ ช่วยกนั สรุป 4. ครูยกตวั อย่างประโยคภาษาองั กฤษที่ใช้คาฟ่ ุมเฟื อย มีใจความไม่ชดั เจน ใช้คาซ้าซาก หรือ เรียงลาดบั คาในประโยคผิด ให้นักเรียนร่วมกนั แสดงความคิดเห็นว่าประโยคลกั ษณะน้ีมีผล ต่อการส่ือสารอยา่ งไรบา้ ง ข้นั ท่ี 4 นาไปใช้ 1. นักเรียนนาความรู้เกี่ยวกับการใช้คาให้ถูกต้องตามระเบียบของภาษาและการเรียบเรียง ประโยคใหส้ ละสลวยไปใชใ้ นการส่ือสารไดถ้ ูกตอ้ ง 2. นกั เรียนพูดและเขียนภาษาไทยไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและแนะนาใหส้ มาชิกในครอบครัวหรือคนใน สังคมพดู และเขียนอยา่ งถูกตอ้ งดว้ ย ข้นั ที่ 5 สรุป นกั เรียนช่วยกนั สรุปลกั ษณะการใชค้ าให้ถูกตอ้ งตามระเบียบของภาษาและการเรียบเรียงประโยค ใหส้ ละสลวย แลว้ บนั ทึกลงสมดุ 8. กจิ กรรมเสนอแนะ 1. นกั เรียนศึกษาเพิ่มเติมเก่ียวกบั การเรียบเรียงประโยคให้สละสลวย นาขอ้ มูลมาจดั ป้ายนิเทศ ให้ ความรู้เพอื่ นในช้นั เรียน 2. นักเรียนศึกษาเก่ียวกบั การเขียนสะกดคาได้ถูกตอ้ ง คาลกั ษณนาม คาบุพบท จากพจนานุกรม ราชบณั ฑิตยสถาน หรือเวบ็ ไซตข์ องราชบณั ฑิตยสถาน 9. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 1. บตั รคา 2. ใบงาน เร่ือง การใชค้ าใหถ้ กู ตอ้ งตามระเบียบของภาษา 3. แถบประโยค 4. บทความ 5. หนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน หลกั การใชภ้ าษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 10. บันทึกหลงั การจดั การเรียนรู้
41 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3 การเลือกใช้คาให้เหมาะสมกบั กาลเทศะและบุคคล ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 2 ชั่วโมง รหัสวิชา ท 23101 รายวิชา ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การใช้ภาษาเพ่ือการสื่อสาร เรื่อง การเลือกใช้คาให้เหมาะสมกบั กาลเทศะและบุคคล 1. สาระสาคัญ ภาษาไทยเป็นภาษามีระดบั ในการส่ือสารกบั บคุ คลตา่ ง ๆ จะตอ้ งเลือกใชค้ าใหถ้ กู ตอ้ งตามระดบั ของภาษาดว้ ย 2. ตวั ชีว้ ัดช้ันปี วเิ คราะห์ระดบั ภาษา ท 4.1 (ม.3 /3) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกหลกั เกณฑก์ ารเลือกใชค้ าใหเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะและบุคคลได้ (K) 2. เลือกใชค้ าในการส่ือสารไดเ้ หมาะสมกบั ฐานะ กาลเทศะ และโอกาส (K , P) 3. ตระหนกั และเห็นความสาคญั ของการเลือกใชค้ าในการสื่อสารไดถ้ ูกตอ้ ง (A) 4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยม (A) ด้านทักษะและกระบวนการ (P) 1. สังเกตการตอบคาถาม 1. ประเมินพฤติกรรมในการทางานเป็ น 1. ประเมินทกั ษะการอา่ นสรุปความ และการแส ดงความ รายบุคคลในด้านความสนใจและ 2. ประเมินทกั ษะการแสวงหาความรู้ คิดเห็น ต้งั ใจเรียน ความรับผิดชอบในการทา 3. ประเมินทกั ษะกระบวนการคิด 2. ต ร ว จ ผ ล ก า ร ท า กิจกรรม ความมีระเบียบวินัยในการ 4. ประเมินทกั ษะกระบวนการกลุ่ม กิจกรรม ทางาน ฯลฯ 2. ประเมินความภาคภูมิใจและเห็น คุณคา่ ของภมู ิปัญญาทางภาษา 5. สาระการเรียนรู้ การเลือกใชค้ าใหเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะและบุคคล 6. แนวทางบูรณาการ เขยี นแผนภาพความคดิ สรุปเรื่องการเลือกใชค้ าใหเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ คณิตศาสตร์ และบุคคล ศึกษาเรื่องการใชค้ าตามฐานะของบคุ คลในภาษาองั กฤษ ภาษาต่างประเทศ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138