Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการเรียนรู้ วิทย์ ม.616201ณัฐธนัญา

แผนการเรียนรู้ วิทย์ ม.616201ณัฐธนัญา

Published by nattanunya2519, 2019-05-02 10:08:10

Description: แผนการเรียนรู้ วิทย์ ม.616201ณัฐธนัญา

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 1 การออกแบบการจัดการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว 33101 ระดับชั้น มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 จัดทาโดย นางสาวณฐั ธนญั า บญุ ถงึ ตาแหนง่ ครู คศ. 2 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ตาบลช่างเค่งิ อาเภอแมแ่ จม่ จังหวดั เชยี งใหม่ สานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ สานักงานการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6 2 แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชีวภาพ แผนจัดการเรียนรู้ท่ี 1 เร่อื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ สปีชีส์และการอนุรักษ์ รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 33101 ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 .น้าหนักเวลาเรยี น 1.0 (นน./นก.) เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ เวลาทใ่ี ช้ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 10 ชว่ั โมง ************************************ 1. สาระสา้ คัญ (ความเขา้ ใจทีค่ งทน) 1. โลกมีความหลากหลายของระบบนเิ วศซง่ึ มสี ่งิ มชี วี ติ อาศยั อยูม่ ากมายหลายสปชี สี ์ สงิ่ มีชวี ิตสปชี ีสเ์ ดยี วกันก็ ยังมคี วามหลากหลายทางพนั ธุกรรม 2. ความหลากหลายทางชวี ภาพสง่ ผลทาใหม้ นษุ ย์และสงิ่ มชี ีวิตอนื่ ๆ ไดใ้ ชป้ ระโยชนใ์ นแงข่ องการเปน็ อาหาร ทอ่ี ย่อู าศยั แหลง่ สบื พันธแ์ุ ละขยายพันธุ์ ทาใหส้ ง่ิ มชี ีวติ สามารถดารงพันธอุ์ ยูไ่ ด้ 3. สง่ิ มชี วี ติ ท่ีมีความหลากหลายทางชวี ภาพมคี วามตอ้ งการปัจจยั ต่าง ๆ ในการดารงชีวติ แตกต่างกัน ซ่งึ จะ ช่วยรักษาสมดุลของระบบนเิ วศบนโลกได้ 4. สงิ่ มีชวี ติ แต่ละสปีชสี ์จะมีความหลากหลายทแี่ ตกต่างกนั ส่งิ มีชีวิตในสปีชีสเ์ ดียวกนั จะผสมพนั ธุแ์ ละสบื ลกู หลานต่อไปได้ 5. การคดั เลือกตามธรรมชาติจะสง่ ผลทาใหล้ กั ษณะพันธกุ รรมของประชากรในกลุ่มย่อย แตล่ ะกลมุ่ แตกตา่ ง กันไป จนกลายเปน็ สปชี สี ใ์ หม่ ทาใหเ้ กิดเปน็ ความหลากหลายของสิง่ มชี ีวติ 6. ความหลากหลายทางชีวภาพมคี วามสาคัญต่อสงิ่ มชี ีวติ สง่ิ มีชวี ติ ทุกชนิดมีความสาคัญตอ่ ระบบนเิ วศ ถา้ สง่ิ มชี ีวิตชนิดใดชนิดหนึง่ ถกู ทาลายหรือสญู หายไป กจ็ ะสง่ ผลกระทบตอ่ ความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ติ อน่ื ๆ ในระบบ นิเวศดว้ ย 7. ความหลากหลายทางชวี ภาพของระบบนเิ วศหน่ึงยงั อาจเก้ือกลู ต่อระบบนิเวศอนื่ ๆ ได้ดว้ ย 8. ความหลากหลายทางชวี ภาพมีความสาคัญต่อมนษุ ย์ มนุษย์ใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชวี ภาพ มากมาย การใชท้ ขี่ าดความระมัดระวังอาจส่งผลกระทบต่อความหลากหลาย ทางชวี ภาพได้ ซง่ึ ทุกคนควรมีสว่ นรว่ มใน การดูแลรกั ษา 2. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ดั ช้นั ปี/ผลการเรียนร้/ู เปา้ หมายการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจกระบวนการและความสาคัญของการถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม วิวฒั นาการของ สงิ่ มชี ีวติ ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพท่ีมผี ลกระทบตอ่ มนษุ ยแ์ ละ สงิ่ แวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ ละจติ วทิ ยาศาสตร์ สอ่ื สาร สง่ิ ที่เรยี นรู้ และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว 1.2 ม. 4–6/3 สบื ค้นข้อมูลและอภปิ รายผลของความหลากหลายทางชีวภาพท่ีมีต่อมนุษยแ์ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ว 1.2 ม. 4–6/4 อธบิ ายกระบวนการคัดเลอื กตามธรรมชาติ และผลของการคัดเลอื กตามธรรมชาตติ ่อความ หลากหลายของสิง่ มีชีวิต โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 3 มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสงิ่ แวดล้อมในทอ้ งถ่นิ ความสัมพันธ์ระหวา่ งสิ่งแวดลอ้ มกบั สงิ่ มีชีวิต ความสมั พนั ธ์ระหว่าง สิ่งมีชวี ิตตา่ งๆ ในระบบนเิ วศ มกี ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ และจติ วทิ ยาศาสตร์ สอ่ื สารส่งิ ท่ีเรียนร้แู ละนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว 2.1 ม. 4–6/3 อธิบายความสาคญั ของความหลากหลายทางชีวภาพ และเสนอแนะแนวทางในการดแู ลรักษา 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนอ้ื หาสาระหลกั : Knowledge - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สปีชีส์ของสงิ่ มชี ีวติ - ความหลากหลายของสิ่งมชี วี ิต - คณุ คา่ และการอนุรกั ษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process 1. การสังเกต 2. การสืบคน้ ข้อมลู 3. การอภิปราย 4. การนาความรู้ไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั 3.3 คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ : Attitude 1. ใฝเ่ รียนรู้ 2. มงุ่ มน่ั ในการทางาน 3. มเี จตคติต่อวิทยาศาสตร์ 4. มีเจตคตทิ างวิทยาศาสตร์ 5. เหน็ คุณคา่ ของการนาความรู้ไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั 4. สมรรถนะส้าคัญของผเู้ รยี น 4.1 ความสามารถในการสือ่ สาร 4.2 ความสามารถในการคิด 4.3 ความสามารถในการแกป้ ญั หา 4.4 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. คณุ ลักษณะของวชิ า - ความรบั ผิดชอบ - ความรอบคอบ - ความคดิ สร้างสรรค์ - กระบวนการกล่มุ โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 6 4 6. คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ 1. ซ่ือสตั ย์สจุ รติ 2. มีวินยั 3. ใฝเ่ รยี นรู้ 4. อยู่อย่างพอเพียง 5. มงุ่ ม่นั ในการทางาน 6. มจี ติ สาธารณะ 7. ช้ินงาน/ภาระงาน 1. สารวจความหลากหลายทางชวี ภาพในทอ้ งถ่ิน 2. สืบค้นข้อมลู การอนรุ กั ษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ : ความหลากหลายทางชวี ภาพ เวลาที่ใช้ 3 ชั่วโมง =ชว่ั โมงท่ี 1-3 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ สารวจลักษณะสาคัญของสง่ิ มีชวี ติ ตา่ งๆ ในท้องถ่ินและจาแนกเป็นกลุ่มๆ ไดก้ ระบวนการจัดการเรยี นรู้ ข้ันนา้ เขา้ สู่บทเรียน/ข้นั ตงั้ ค้าถาม 1. ครดู าเนินการทดสอบกอ่ นเรยี น โดยให้ผเู้ รยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นเพอื่ ตรวจสอบความพรอ้ มและ พน้ื ฐานของผเู้ รียน 2. ครูนารูปภาพปา่ ดบิ ชื้น ทงุ่ หญ้า แนวปะการงั และปา่ ชายเลนมาให้ผู้เรยี นดูและให้ผเู้ รยี นตอบคาถามตอ่ ไปนี้ - ในทอ้ งถิน่ ที่ผเู้ รยี นอาศยั อยมู่ ีลกั ษณะของระบบนเิ วศเหมอื นกบั รูปใด - ผูเ้ รียนคดิ วา่ แต่ละรูปมีสงิ่ มชี ีวิตอะไรบ้างที่อาศัยอยู่และมลี กั ษณะเหมือนหรือแตกต่างกันหรือไม่ ในเร่ือง ใด 3. ผเู้ รียนร่วมกนั ตอบคาถามและแสดงความคดิ เห็นเกีย่ วกบั คาตอบของคาถาม เพอื่ เช่อื มโยงไปสกู่ ารเรียนรู้ เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพ ข้นั จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ จดั กจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ซึ่งมีขนั้ ตอนดงั นี้ 1. ขนั้ สร้างความสนใจ 1.1 ครตู ั้งประเด็นคาถาม จากน้นั ส่มุ ผเู้ รยี น 2–3 คน ให้ผเู้ รยี นตอบคาถามตอ่ ไปน้ี - ผู้เรียนคดิ วา่ ในทอ้ งถนิ่ อื่นซง่ึ มีระบบนเิ วศทีแ่ ตกตา่ งจากทอ้ งถิ่นที่ผเู้ รยี นอาศัยอยู่ จะมีชนดิ จานวน และลกั ษณะของสง่ิ มชี ีวติ เหมือนหรือแตกต่างกนั หรอื ไม่ ลกั ษณะใด - ผูเ้ รยี นสามารถบอกไดห้ รอื ไม่ว่าในท้องถิน่ ของผู้เรยี นมคี วามหลากหลายทางชวี ภาพหรือไม่ ผเู้ รียน ดไู ด้จากอะไร 1.2 ผู้เรยี นรว่ มกนั อภิปรายหาคาตอบเกยี่ วกบั คาถามตามความคดิ เหน็ ของแตล่ ะคน โดย นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 5 2. ข้นั สา้ รวจและคน้ หา 2.1 ให้ผู้เรยี นศึกษาความหลากหลายทางชวี ภาพจากใบความรหู้ รอื ในหนังสอื เรียน โดยครชู ว่ ยอธบิ าย ให้ผ้เู รยี นเขา้ ใจว่า ความหลากหลายทางชวี ภาพประกอบดว้ ย ความหลากหลายของชนดิ พันธ์ุ ความหลากหลายทาง พนั ธุกรรมและความหลากหลายของระบบนิเวศ 2.2 แบง่ ผู้เรียนกลุ่มละ 5-6 คน ปฏบิ ตั ิกิจกรรม สารวจความหลากหลายทางชีวภาพในทอ้ งถนิ่ ตาม ข้นั ตอนทางวิทยาศาสตร์ โดยใชท้ ักษะการสงั เกต ดังน้ี - ให้แต่ละกลุ่มสารวจขอ้ มลู ในทอ้ งถ่ินและระบวุ า่ ในท้องถ่นิ มชี นิดและจานวนของสิ่งมชี ีวิตในแต่ละ ระบบนิเวศเป็นอยา่ งไร และในระบบนเิ วศหนึง่ ๆ พบสง่ิ มชี ีวิตชนิดใดมากทส่ี ุด ชนิดใดน้อยทีส่ ดุ - ให้แตล่ ะกลุม่ ร่วมกนั พจิ ารณาตวั แทนชนิดของส่งิ มชี ีวติ สาหรบั การศึกษาความหลากหลายทาง พันธกุ รรม โดยเลอื กสง่ิ มีชีวิตชนดิ ใดชนดิ หนง่ึ ในทอ้ งถิ่นมา 1 ชนิดท่มี หี ลายพันธ์ุ เชน่ ขา้ ว กล้วย สนุ ขั ไก่ ฯลฯ แลว้ ศึกษาเกีย่ วกับลกั ษณะและพฤตกิ รรมของสงิ่ มีชีวิตชนิดนั้น ๆ - สืบค้นขอ้ มลู เก่ยี วกับสิ่งมชี วี ิตทก่ี ล่มุ เลอื กศึกษาจากแหล่งขอ้ มลู ตา่ ง ๆ เชน่ หนังสอื เรยี น หนงั สอื อ้างองิ หนังสอื อ่านประกอบ หนงั สอื พิมพ์ วารสารวทิ ยาศาสตร์ หรือเว็บไซตท์ ่ีเกี่ยวขอ้ งทางอินเทอรเ์ นต็ - นาขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากการสารวจและสบื ค้นข้อมลู ของแต่ละกลมุ่ มาสรปุ และอภปิ รายรว่ มกันในประเดน็ ต่าง ๆ ดังนี้ * ในท้องถนิ่ ท่ีผเู้ รียนอาศยั อยมู่ รี ะบบนเิ วศอะไรบา้ ง * ระบบนิเวศทผี่ ู้เรียนสารวจมสี ิ่งมชี วี ิตชนดิ ใดบา้ ง สิง่ มีชวี ิตชนดิ ใดท่ีพบมากทส่ี ุด เพราะเหตุใดจงึ พบ ส่ิงมชี วี ติ ชนดิ นีเ้ ปน็ จานวนมากในทอ้ งถิน่ ทเ่ี ราสารวจ * ตัวอยา่ งส่งิ มชี ีวติ ที่ใชศ้ ึกษาความหลากหลายทางพนั ธกุ รรมให้ขอ้ มลู ท่ีนา่ สนใจอะไรบ้าง 2.3 ผเู้ รียนและครรู ว่ มกนั ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมลู ท่ีได้จากกจิ กรรม 3. ขน้ั อธิบายและลงขอ้ สรุป 3.1 ผู้เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ส่งตวั แทนกลุม่ นาเสนอผลการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมหนา้ ชั้นเรียน 3.2 ผู้เรียนและครรู ว่ มกนั อภิปรายและหาข้อสรปุ จากการปฏิบัติกจิ กรรม โดยใชแ้ นวคาถามต่อไปน้ี - ในท้องถิน่ ทผ่ี เู้ รียนอาศยั อยูม่ รี ะบบนเิ วศอะไรบา้ ง (พิจารณาจากคาตอบผู้เรียน แนวคาตอบ ระบบนเิ วศภูเขา ระบบนิเวศนา้ ตก ระบบนิเวศนาขา้ ว ฯลฯ) - บริเวณทม่ี คี วามหลากหลายทางชีวภาพที่เหมาะสมสังเกตไดจ้ ากสง่ิ ใด (บรเิ วณนัน้ มสี ่งิ มีชีวิตหลาย ชนิดอาศัยอยูร่ ว่ มกัน) - ผลสรปุ ของการสารวจนี้คืออะไร (แหลง่ ทอี่ ยูแ่ ต่ละแหลง่ จะมีชนดิ และจานวนของสง่ิ มีชีวติ แตกต่างกนั บางชนิดมมี าก บางชนิดมนี อ้ ย และส่ิงมีชีวิตชนิดหนง่ึ ๆ อาจมีหลายพันธุ์ เนือ่ งจากมีความหลากหลายทาง พันธุกรรมในส่งิ มีชีวิตแต่ละชนิด) 3.3 ผเู้ รียนและครรู ว่ มกนั สรปุ ผลจากการปฏิบัตกิ จิ กรรม โดยใหไ้ ด้ข้อสรปุ วา่ สง่ิ มีชีวติ ทุกชนดิ ตอ้ งมีความ เกีย่ วพนั กับระบบนเิ วศ บรเิ วณทม่ี สี ง่ิ มชี ีวิตหลายชนดิ อาศัยอยู่มาก บรเิ วณน้ันจะมคี วามหลากหลายทางชวี ภาพมาก โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 6 4. ขน้ั ขยายความรู้ 4.1 ครอู ธิบายเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกับประโยชน์จากความหลากหลายทางชวี ภาพท่มี นุษยไ์ ดร้ ับ ซงึ่ สว่ นใหญ่ ได้มาจากป่าในธรรมชาติ นอกจากประโยชนด์ ังกล่าวแลว้ มนษุ ย์ยงั ไดร้ ับประโยชนจ์ ากความหลากหลายทางชีวภาพใน แง่ของการเป็นแหลง่ ทอ่ งเที่ยว ซ่ึงสามารถทาเป็นธรุ กจิ ทน่ี าเงินตราเข้าประเทศได้อีกดว้ ย 4.2 แบง่ ผู้เรียนเปน็ กลมุ่ สบื คน้ ขอ้ มูลเกีย่ วกบั ความหลากหลายทางชวี ภาพจากหนงั สอื วารสาร สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสาหรบั เยาวชนและอนิ เทอรเ์ นต็ รวมทั้งนาข้อมลู ท่ีคน้ คว้าไดม้ าจัดทาเป็น รายงาน หรือจดั ป้ายนเิ ทศให้เพอ่ื น ๆ ได้ทราบเพือ่ แลกเปลย่ี นเรียนรกู้ นั 4.3 ผ้เู รียนคน้ คว้าบทความหรอื คาศพั ท์ภาษาต่างประเทศเกย่ี วกับความหลากหลายทางชีวภาพจาก หนงั สือเรยี นภาษาต่างประเทศหรอื อินเทอรเ์ นต็ และนาเสนอให้เพ่ือนในหอ้ งฟัง พรอ้ มทงั้ รวบรวมคาศัพท์และคาแปล ลงสมุดสง่ ครู 5. ขน้ั ประเมนิ 5.1 ครูให้ผู้เรยี นแต่ละคนพจิ ารณาว่าจากหวั ข้อทเ่ี รียนมาและการปฏิบัติกจิ กรรม มจี ดุ ใดบา้ งทยี่ งั ไมเ่ ข้าใจ หรือยงั มขี อ้ สงสัย ถา้ มคี รชู ่วยอธบิ ายเพ่มิ เตมิ ให้ผเู้ รียนเข้าใจ 5.2 ผ้เู รยี นรว่ มกันประเมินการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมกลมุ่ ว่ามปี ญั หาหรอื อุปสรรคใด และมีการแก้ไขอยา่ งไรบ้าง 5.3 ผ้เู รยี นและครรู ่วมกนั แสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกบั ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั จากการปฏิบตั ิ กจิ กรรม และการนาความรทู้ ไี่ ดไ้ ปใชป้ ระโยชน์ 5.4 ครูทดสอบความเข้าใจของผู้เรยี นโดยการให้ตอบคาถาม เชน่ - ความหลากหลายทางชวี ภาพคืออะไร - บรเิ วณท่ีมคี วามหลากหลายทางชวี ภาพทีเ่ หมาะสมสงั เกตได้จากสิ่งใด ข้ันสรุป ครแู ละผูเ้ รียนร่วมกนั สรปุ เกี่ยวกับความหลากหลายทางชวี ภาพ โดยร่วมกันเขียนเป็นแผนทค่ี วามคิดหรอื ผังมโนทัศน์ @ กจิ กรรมการเรยี นรู้ : สปชี สี ข์ องสงิ่ มชี วี ติ เวลาท่ีใช้ 2 ชว่ั โมง =ชวั่ โมงท่ี 4-5 จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายความสัมพนั ธ์ของสิ่งมีชวี ิตทีอ่ ยรู่ ่วมกนั ในสภาพแวดลอ้ มตา่ ง ๆ ได้ 2. ออกแบบจาลองแสดงถงึ ปจั จัยต่าง ๆ ทม่ี ผี ลต่อการอยรู่ อดของส่งิ มีชีวติ ได้ 3. สืบค้นข้อมลู และนาเสนอเกย่ี วกบั ความสมั พนั ธร์ ะหว่างการอยู่รอดของสง่ิ มชี วี ติ กบั ความหลากหลายของ สิ่งมีชีวิตได้ ขั้นนา้ เขา้ สบู่ ทเรียน โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6 7 1. ครูทบทวนความรเู้ ดมิ เกยี่ วกับสปีชสี ข์ องสง่ิ มชี วี ิต โดยสมุ่ ผเู้ รยี น 2–3 คนให้ผู้เรยี นตอบคาถาม จากน้ันครู ตงั้ ประเด็นคาถามดังนี้ - นักชวี วทิ ยาจดั แบ่งกลุ่มของสง่ิ มีชีวติ โดยอาศยั เกณฑ์ใด - กลุ่มยอ่ ยของการจัดลาดับของสงิ่ มชี ีวิตเรียกว่าอะไร 2. ผเู้ รยี นรว่ มกันตอบคาถามและแสดงความคดิ เห็นเก่ยี วกบั คาตอบของคาถาม เพอ่ื เชื่อมโยงไปสกู่ ารเรียนรู้ เรอื่ ง ความหลากหลายของสงิ่ มชี ีวติ ขน้ั จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ จดั กจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ซ่งึ มขี ัน้ ตอนดงั น้ี 1. ข้นั สรา้ งความสนใจ 1.1 ครนู ารปู ส่ิงมชี ีวติ หลากหลายชนดิ เชน่ คน สตั ว์ พืชมาใหผ้ เู้ รยี นดู แลว้ ใหผ้ ้เู รยี นร่วมกนั ตอบคาถาม ตอ่ ไปนี้ - สิ่งมชี วี ิตเหล่าน้ีอย่ใู นสปีชสี เ์ ดียวกันหรือไม่ เพราะอะไร - ถ้าจะจัดแบง่ สง่ิ มชี วี ติ เหล่าน้ีออกเปน็ กลมุ่ ๆ ผู้เรยี นจะมีเกณฑใ์ นการจดั แบง่ อย่างไร 1.2 ผเู้ รยี นรว่ มกนั อภิปรายหาคาตอบเกย่ี วกบั คาถามตามความคิดเห็นของแตล่ ะคน 2. ขั้นสา้ รวจและค้นหา 2.1 ใหผ้ ู้เรยี นศึกษาความหลากหลายของสิง่ มชี ีวิตจากใบความรู้หรอื ในหนงั สอื เรียน โดยครชู ว่ ยอธิบาย ใหผ้ ้เู รียนเข้าใจว่า สง่ิ มชี วี ติ มวี วิ ัฒนาการแยกออกเป็นชนดิ ตา่ ง ๆ หลายชนิด ทาใหน้ กั ชีววทิ ยาไดจ้ ดั แบ่งสิง่ มชี วี ิต ออกเป็นหมวดหม่เู รยี กว่า อาณาจกั ร โดยใช้ลกั ษณะร่วมกันบางอยา่ งทค่ี ล้ายคลงึ กนั ของสง่ิ มีชวี ิตนั้น ๆ เป็นเกณฑ์ใน การจัดแบ่ง และแบ่งออกได้เปน็ 5 อาณาจักร คอื อาณาจักรโมนรี า อาณาจกั รโพรทิสตา อาณาจักรเห็ดราและยสี ต์ อาณาจักรพืช และอาณาจกั รสตั ว์ 2.2 แบ่งผูเ้ รยี นกลมุ่ ละ 5–6 คน สบื คน้ ข้อมูลเก่ยี วกบั ความหลากหลายของสงิ่ มีชวี ิต โดยดาเนนิ การตาม ขน้ั ตอนดังน้ี - แตล่ ะกลุ่มวางแผนการสืบค้นขอ้ มูล โดยแบง่ หวั ข้อย่อยใหเ้ พอื่ นสมาชกิ ชว่ ยกันสบื คน้ ตามทสี่ มาชกิ กล่มุ ชว่ ยกันกาหนดหัวขอ้ ย่อย เช่น อาณาจกั รโมนรี า อาณาจักรโพรทิสตา อาณาจักรเหด็ ราและยสี ต์ อาณาจกั รพืช และอาณาจักรสัตว์ - สมาชกิ กลมุ่ แตล่ ะคนหรือกล่มุ ยอ่ ยชว่ ยกนั สืบค้นขอ้ มลู ตามหวั ขอ้ ยอ่ ยที่ตนเองรบั ผิดชอบ โดยการ สบื คน้ จากใบความรทู้ ีค่ รูเตรยี มมาให้ หรือจากหนงั สือ วารสารวทิ ยาศาสตร์ สารานกุ รมวิทยาศาสตร์ สารานกุ รมไทย สาหรับเยาวชนและอนิ เทอรเ์ น็ต - สมาชกิ กลมุ่ นาขอ้ มลู ทส่ี บื คน้ ได้มารายงานให้เพื่อน ๆ สมาชกิ ในกลมุ่ ฟงั รวมทงั้ รว่ มกนั อภปิ ราย ซกั ถามจนคาดว่าสมาชิกทุกคนมคี วามร้คู วามเข้าใจท่ีตรงกนั - สมาชิกกลุ่มชว่ ยกนั สรปุ ความรู้ที่ได้ทงั้ หมดเป็นผลงานของกลมุ่ และช่วยกนั จดั ทารายงานการศกึ ษา ค้นควา้ เกยี่ วกับความหลากหลายของสิง่ มีชีวติ 3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป โดย นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 8 3.1 ผู้เรียนแต่ละกลมุ่ สง่ ตัวแทนกลมุ่ นาเสนอผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรมหน้าชนั้ เรยี น 3.2 ผเู้ รียนและครูร่วมกนั อภิปรายและหาข้อสรปุ จากการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม โดยใชแ้ นวคาถามต่อไปนี้ - นกั ชวี วทิ ยาจัดแบ่งส่งิ มีชวี ิตออกเปน็ หมวดหมูเ่ รยี กวา่ อะไร (อาณาจักร) - ยกตวั อยา่ งอาณาจกั รของสิ่งมชี ีวติ มา 1 อาณาจักร พรอ้ มอธบิ ายลกั ษณะของอาณาจกั รของ สิ่งมชี วี ิตน้นั ๆ มาพอเข้าใจ (พิจารณาจากคาตอบผเู้ รียน แนวคาตอบ อาณาจักรพชื มลี กั ษณะ คือ มีเน้อื เยอ่ื ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ ภายในเซลลม์ ีคลอโรฟลิ ลส์ าหรบั สงั เคราะหอ์ าหารจากแสงอาทิตย์ เช่น พืชใบเลยี้ งเด่ยี ว และพืชใบเล้ียงคทู่ ่วั ๆ ไป) 3.3 ผู้เรยี นและครรู ่วมกนั สรุปผลจากการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม 4. ขั้นขยายความรู้ 4.1 แบ่งผ้เู รยี นเป็นกลมุ่ สืบคน้ ขอ้ มูลเกย่ี วกับความหลากหลายของสงิ่ มชี วี ติ จากหนังสือ วารสาร สารานกุ รมวิทยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสาหรบั เยาวชน และอินเทอร์เนต็ รวมทัง้ นาขอ้ มลู ท่ีคน้ ควา้ ได้มาจัดทาเป็น รายงาน หรอื จัดป้ายนเิ ทศใหเ้ พอื่ น ๆ ไดท้ ราบเพื่อแลกเปลยี่ นเรยี นรูก้ นั 4.2 ผเู้ รียนคน้ คว้าบทความหรือคาศัพท์ภาษาตา่ งประเทศเกี่ยวกับความหลากหลายของสงิ่ มีชีวติ จาก หนงั สือเรยี นภาษาตา่ งประเทศหรอื อนิ เทอรเ์ นต็ และนาเสนอให้เพอื่ นในหอ้ งฟัง พรอ้ มทงั้ รวบรวมคาศัพทแ์ ละคาแปล ลงสมดุ สง่ ครู 5. ขัน้ ประเมิน 5.1 ครูให้ผเู้ รียนแต่ละคนพิจารณาว่าจากหัวขอ้ ทเี่ รยี นมาและการปฏิบตั ิกจิ กรรม มจี ดุ ใดบ้างท่ยี ังไมเ่ ขา้ ใจ หรือยงั มีข้อสงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธบิ ายเพม่ิ เตมิ ใหผ้ เู้ รยี นเขา้ ใจ 5.2 ผเู้ รียนรว่ มกนั ประเมินการปฏิบตั กิ ิจกรรมกล่มุ วา่ มปี ญั หาหรอื อปุ สรรคใด และไดม้ ีการแกไ้ ขอยา่ งไร บ้าง 5.3 ผเู้ รียนและครูรว่ มกันแสดงความคิดเห็นเกยี่ วกับประโยชน์ท่ีไดร้ บั จากการปฏิบตั ิ กจิ กรรม และการนาความรูท้ ีไ่ ด้ไปใช้ประโยชน์ 5.4 ครทู ดสอบความเขา้ ใจของผเู้ รยี นโดยการให้ตอบคาถาม เช่น - นักชีววิทยาจัดแบง่ สงิ่ มีชีวิตออกเปน็ กี่อาณาจักร อะไรบา้ ง - โพรโทซวั แบคทเี รีย เหด็ รา และยสี ต์ อยใู่ นอาณาจกั รเดยี วกนั หรือไม่ อธิบาย ขน้ั สรุป ครูและผเู้ รียนร่วมกันสรปุ เกยี่ วกบั ความหลากหลายของสงิ่ มชี ีวติ โดยร่วมกนั เขยี นเป็นแผนท่คี วามคดิ หรอื ผงั มโนทัศน์ @ กจิ กรรมการเรียนรู้ : ความหลากหลายของสงิ่ มชี วี ติ เวลาท่ใี ช้ 2 ชว่ั โมง =ชั่วโมงท่ี 6-7 โดย นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 9 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ สืบค้นขอ้ มลู และอภปิ รายเกีย่ วกบั ความหลากหลายของส่งิ มชี ีวิตได้ ขน้ั น้าเขา้ สบู่ ทเรียน 1. ครูทบทวนความรู้เดิมเกย่ี วกบั สปีชีส์ของสงิ่ มีชวี ติ โดยสุม่ ผเู้ รียน 2–3 คนใหผ้ เู้ รยี นตอบคาถาม จากนัน้ ครู ตัง้ ประเดน็ คาถามดังนี้ - นกั ชีววิทยาจัดแบง่ กลมุ่ ของสิ่งมชี ีวติ โดยอาศัยเกณฑ์ใด - กลมุ่ ย่อยของการจัดลาดบั ของส่ิงมีชวี ิตเรยี กว่าอะไร 2. ผูเ้ รยี นร่วมกันตอบคาถามและแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกบั คาตอบของคาถาม เพอื่ เช่ือมโยงไปสูก่ ารเรยี นรู้ เร่ือง ความหลากหลายของสง่ิ มีชวี ติ ข้ันจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ จดั กิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ซงึ่ มีข้นั ตอนดงั นี้ 1. ข้ันสร้างความสนใจ 1.1 ครนู ารูปสงิ่ มชี ีวิตหลากหลายชนดิ เชน่ คน สัตว์ พืชมาให้ผู้เรยี นดู แล้วใหผ้ ู้เรียน รว่ มกนั ตอบคาถามตอ่ ไปนี้ - สง่ิ มชี วี ติ เหลา่ นอี้ ยใู่ นสปชี สี ์เดยี วกนั หรือไม่ เพราะอะไร - ถ้าจะจัดแบ่งส่งิ มชี วี ติ เหลา่ นอ้ี อกเปน็ กลุ่ม ๆ ผเู้ รยี นจะมเี กณฑ์ในการจัดแบง่ อยา่ งไร 1.2 ผเู้ รยี นร่วมกันอภปิ รายหาคาตอบเกี่ยวกบั คาถามตามความคดิ เห็นของแตล่ ะคน 2. ขัน้ ส้ารวจและคน้ หา 2.1 ใหผ้ เู้ รียนศกึ ษาความหลากหลายของสง่ิ มีชวี ิตจากใบความรู้หรอื ในหนงั สอื เรยี น โดยครชู ว่ ยอธิบายให้ ผู้เรียนเข้าใจว่า สิง่ มชี วี ติ มวี วิ ัฒนาการแยกออกเปน็ ชนดิ ต่าง ๆ หลายชนิด ทาใหน้ ักชวี วิทยาได้จัดแบ่งสง่ิ มีชีวิตออกเปน็ หมวดหมเู่ รยี กว่า อาณาจกั ร โดยใชล้ ักษณะรว่ มกนั บางอยา่ งท่ีคล้ายคลงึ กันของสงิ่ มชี วี ิตนัน้ ๆ เปน็ เกณฑ์ในการจดั แบ่ง และแบง่ ออกได้เป็น 5 อาณาจักร คือ อาณาจกั รโมนรี า อาณาจกั รโพรทสิ ตา อาณาจกั รเห็ดราและยีสต์ อาณาจกั รพชื และอาณาจักรสัตว์ 2.2 แบ่งผูเ้ รียนกลมุ่ ละ 5–6 คน สืบคน้ ข้อมูลเกี่ยวกบั ความหลากหลายของสง่ิ มีชวี ิตโดยดาเนนิ การตาม ขนั้ ตอนดงั น้ี - แต่ละกลมุ่ วางแผนการสบื คน้ ข้อมลู โดยแบง่ หัวขอ้ ย่อยใหเ้ พ่ือนสมาชกิ ช่วยกันสืบค้นตามทีส่ มาชกิ กล่มุ ช่วยกันกาหนดหวั ขอ้ ย่อย เชน่ อาณาจักรโมนรี า อาณาจักรโพรทสิ ตา อาณาจักรเห็ดราและยสี ต์ อาณาจักรพืช และอาณาจกั รสัตว์ - สมาชกิ กลมุ่ แตล่ ะคนหรอื กลมุ่ ย่อยชว่ ยกนั สบื คน้ ขอ้ มลู ตามหวั ขอ้ ย่อยที่ตนเอง รบั ผดิ ชอบ โดยการ สบื คน้ จากใบความรทู้ ่ีครเู ตรียมมาให้ หรือจากหนงั สือ วารสารวทิ ยาศาสตร์ สารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานกุ รมไทย สาหรบั เยาวชน และอินเทอรเ์ นต็ - สมาชกิ กลุม่ นาขอ้ มลู ทสี่ ืบค้นได้มารายงานใหเ้ พอื่ น ๆ สมาชกิ ในกลุ่มฟงั รวมท้งั รว่ มกนั อภปิ ราย ซกั ถามจนคาดว่าสมาชิกทกุ คนมีความรูค้ วามเข้าใจทตี่ รงกัน โดย นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 10 - สมาชิกกลุม่ ช่วยกันสรปุ ความรทู้ ีไ่ ด้ทั้งหมดเปน็ ผลงานของกลมุ่ และชว่ ยกนั จดั ทารายงาน การศึกษาคน้ ควา้ เกีย่ วกับความหลากหลายของสงิ่ มชี ีวติ 3. ขัน้ อธิบายและลงขอ้ สรปุ 3.1 ผเู้ รียนแตล่ ะกลุม่ สง่ ตวั แทนกลุม่ นาเสนอผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมหนา้ ชัน้ เรียน 3.2 ผู้เรยี นและครูรว่ มกันอภิปรายและหาขอ้ สรุปจากการปฏบิ ัติกจิ กรรม ใบงานที่ 1:ความหลากหลาย ทางชีวภาพ โดยใชแ้ นวคาถามตอ่ ไปน้ี - นักชีววิทยาจัดแบ่งส่งิ มชี ีวิตออกเป็นหมวดหมเู่ รยี กวา่ อะไร (อาณาจักร) - ยกตัวอยา่ งอาณาจกั รของสง่ิ มีชีวติ มา 1 อาณาจักร พรอ้ มอธิบายลกั ษณะของอาณาจกั รของ สิ่งมีชวี ติ นัน้ ๆ มาพอเข้าใจ (พิจารณาจากคาตอบผู้เรียน แนวคาตอบ อาณาจักรพืช มีลักษณะ คือ มีเนื้อเยือ่ ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ ภายในเซลล์มีคลอโรฟิลล์สาหรับสังเคราะหอ์ าหารจากแสงอาทติ ย์ เชน่ พืชใบเลี้ยง เด่ยี วและพืชใบเลี้ยงคู่ทั่ว ๆ ไป) 3.3 ผเู้ รียนและครูร่วมกันสรุปผลจากการปฏบิ ัติกจิ กรรม แบบฝึกทักษะที่ 1:ความหลากหลายทางชีวภาพ 4. ขน้ั ขยายความรู้ 4.1 แบง่ ผ้เู รียนเปน็ กลุม่ สบื ค้นข้อมลู เก่ยี วกบั ความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ิตจาก ใบความรู้ที่ 2 :การจัด หมวดหมู่ของสิง่ มีชีวติ หนงั สอื วารสาร สารานุกรมวทิ ยาศาสตร์ สารานุกรมไทยสาหรบั เยาวชน และอนิ เทอรเ์ นต็ รวมท้งั นาข้อมูลทีค่ น้ คว้าไดม้ าจดั ทาเป็นรายงาน หรอื จดั ป้ายนเิ ทศใหเ้ พ่อื น ๆ ได้ทราบเพอื่ แลกเปลยี่ นเรยี นรกู้ นั 4.2 ผู้เรยี นคน้ ควา้ บทความหรือคาศพั ทภ์ าษาต่างประเทศเกยี่ วกบั ความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ติ จาก หนังสอื เรียนภาษาตา่ งประเทศหรอื อนิ เทอรเ์ นต็ และนาเสนอให้เพื่อนในหอ้ งฟงั พรอ้ มทงั้ รวบรวมคาศัพท์และคาแปล ลงสมุดสง่ ครู 5. ข้ันประเมนิ 5.1 ครใู ห้ผู้เรียนแตล่ ะคนพจิ ารณาว่าจากหัวข้อท่เี รยี นมาและการปฏิบตั ิกจิ กรรม มจี ดุ ใดบ้างท่ียงั ไมเ่ ข้าใจ หรอื ยงั มขี อ้ สงสัย ถา้ มคี รชู ่วยอธิบายเพ่มิ เติมใหผ้ เู้ รียนเข้าใจ และปฏิบตั ิกจิ กรรมในใบงานที่ 2 :การจัดหมวดหมู่ของ สง่ิ มีชีวติ 5.2 ผเู้ รยี นร่วมกนั ประเมินการปฏิบัติกจิ กรรมกลมุ่ ว่ามปี ัญหาหรอื อปุ สรรคใด และไดม้ ีการแก้ไขอยา่ งไร บา้ ง 5.3 ผู้เรยี นและครรู ่วมกนั แสดงความคิดเห็นเกยี่ วกบั ประโยชน์ที่ไดร้ ับจากการปฏิบัติกจิ กรรม แบบฝึก ทักษะที่ 2 :การจัดหมวดหมู่ของสงิ่ มีชีวติ และการนาความร้ทู ไ่ี ด้ไปใช้ประโยชน์ 5.4 ครูทดสอบความเขา้ ใจของผ้เู รียนโดยการใหต้ อบคาถาม เช่น - นักชวี วิทยาจัดแบ่งสิ่งมีชีวิตออกเปน็ ก่ีอาณาจักร อะไรบา้ ง - โพรโทซัว แบคทเี รยี เห็ด รา และยสี ต์ อยใู่ นอาณาจกั รเดยี วกันหรือไม่ อธิบาย ข้ันสรปุ ครแู ละผเู้ รยี นร่วมกนั สรปุ เกยี่ วกบั ความหลากหลายของสง่ิ มีชวี ติ โดยร่วมกนั เขียนเปน็ แผนท่ี โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6 11 ความคิดหรือผงั มโนทัศน์บนผนื ผา้ @ กิจกรรมการเรยี นรู้ : คณุ คา่ และการอนรุ กั ษ์ ความหลากหลายทางชวี ภาพ เวลาท่ใี ช้ 3 ช่วั โมง=ช่ัวโมงท่ี 7-10 จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ สืบค้นขอ้ มลู อภิปราย และนาเสนอเกยี่ วกับคุณคา่ ประโยชน์ และผลกระทบต่อส่งิ แวดล้อมทเี่ กิดจากการใช้ ประโยชนจ์ ากความหลากหลายทางชีวภาพของมนุษยไ์ ด้ ขั้นนา้ เข้าสบู่ ทเรยี น 1. ครใู หผ้ ู้เรียนแต่ละคนเขียนอธิบายประสบการณ์เกยี่ วกบั ความหลากหลายทางชวี ภาพในทอ้ งถ่นิ ทผ่ี เู้ รยี น อาศัยอยจู่ ากอดีตจนถงึ ปจั จบุ นั โดยเขียนบรรยายลงในกระดาษ และให้เวลาคนละประมาณ 10 นาที จากน้ันครสู มุ่ ผ้เู รียน 2–3 คน ให้ผู้เรยี นออกมาเลา่ ประสบการณ์ดงั กลา่ วให้เพ่อื น ๆ ในหอ้ งฟงั แลว้ ครูตั้งประเดน็ คาถามใหผ้ เู้ รียน รว่ มกันตอบดงั น้ี - ผเู้ รยี นคดิ ว่าในท้องถิ่นทผี่ ูเ้ รยี นอาศยั อย่มู คี วามหลากหลายทางชีวภาพหรือไม่ ผู้เรยี นดูจากอะไร - ผู้เรียนได้รับประโยชนอ์ ะไรบ้างจากความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถ่นิ - เมอื่ เวลาผา่ นไปความหลากหลายทางชีวภาพในทอ้ งถ่นิ มีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ ลกั ษณะใด 2. ผูเ้ รียนรว่ มกันตอบคาถามและแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกบั คาตอบของคาถาม เพอ่ื เชือ่ มโยงไปสกู่ ารเรยี นรู้ เรอ่ื ง คุณคา่ และการอนรุ ักษค์ วามหลากหลายทางชีวภาพ ขั้นจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ จัดกจิ กรรมการเรยี นรูโ้ ดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ซึ่งมขี นั้ ตอนดงั นี้ 1. ขัน้ สรา้ งความสนใจ 1.1 ครตู งั้ ประเด็นคาถาม จากน้นั สมุ่ ผเู้ รยี น 2–3 คน ใหผ้ เู้ รยี นตอบคาถามตอ่ ไปน้ี - ผเู้ รียนคดิ วา่ แนวโนม้ ของความหลากหลายทางชวี ภาพในทอ้ งถิน่ ทผ่ี ูเ้ รียนอาศยั จะเปน็ ไปใน ลักษณะใด - ถ้าผูเ้ รียนอาศยั อยใู่ นทอ้ งถน่ิ ทเ่ี ป็นแหล่งท่องเที่ยวทม่ี ชี ่อื เสยี งของประเทศ ผเู้ รียนจะมวี ธิ กี ารใด ในการร่วมอนรุ กั ษค์ วามหลากหลายทางชวี ภาพให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์ 1.2 ผู้เรียนรว่ มกนั อภิปรายหาคาตอบเกย่ี วกบั คาถามตามความคดิ เหน็ ของแตล่ ะคน 2. ข้นั ส้ารวจและคน้ หา 2.1 ให้ผเู้ รยี นศกึ ษาคุณค่าและการอนรุ กั ษ์ความหลากหลายทางชวี ภาพจากใบความรู้ท3ี่ :กาเนดิ ของ ส่งิ มีชีวติ หรือในหนงั สือเรียน โดยครชู ่วยอธบิ ายให้ผเู้ รียนเข้าใจวา่ ส่ิงมีชีวติ มีความสาคัญต่อระบบนิเวศเนื่องจาก สิง่ มชี ีวิตทุกชนดิ ต่างก็ตอ้ งพง่ึ พาอาศยั กัน ถา้ ระบบนิเวศถกู ทาลายกจ็ ะมผี ลกระทบต่อความหลากหลายของสิ่งมีชีวติ อ่ืน ๆ ดว้ ย การทีโ่ ลกมีความหลากหลายทางชวี ภาพทาใหม้ นุษยไ์ ด้รบั ประโยชน์ต่าง ๆ มากมาย เราจงึ ตอ้ งร่วมกนั อนรุ กั ษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพให้คงอย่ตู ่อไปตราบนานเทา่ นาน 2.2 ครถู ามผเู้ รยี นวา่ รจู้ กั อทุ ยานแห่งชาตใิ ดในประเทศไทยบา้ ง และการกาหนดผืนปา่ ใหเ้ ปน็ อทุ ยาน แหง่ ชาติมคี วามสาคญั อยา่ งไรบ้าง โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 12 อุทยานแหง่ ชาตเิ ปน็ สถานที่ทรี่ วบรวมส่งิ มีชวี ติ ทมี่ คี วามหลากหลายทางพันธุกรรม การการ กาหนดใหผ้ ืนป่าเป็นอทุ ยานแหง่ ชาตเิ ป็นการปอ้ งกันการทาลายความหลากหลายทางชวี ภาพประการหนง่ึ เพราะ มนุษยไ์ มส่ ามารถเขา้ ไปทาลายพืชหรือสตั ว์ในอทุ ยานแหง่ ชาตไิ ด้ ในแตล่ ะประเทศสมาชกิ อาเซยี นกไ็ ดม้ ีการกาหนด อทุ ยานแห่งชาตขิ ึ้นมาเพือ่ รกั ษาความหลากหลายทางชีวภาพไวเ้ ช่นกัน ตวั อย่างของอุทยานแหง่ ชาตใิ นอาเซียน เช่น - อทุ ยานคนิ าบาลู ตง้ั อยู่ในรฐั ซาบาห์ทางเหนือสุดของเกาะบอรเ์ นยี ว ประเทศมาเลเซยี อุทยาน แหง่ นเี้ ตม็ ไปดว้ ยพืชพันธุ์มากมาย ตง้ั แต่ป่าทบึ ทล่ี มุ่ ต่าเขตรอ้ น ภูเขาที่เปน็ ปา่ ฝนไปจนถึงภเู ขาเขตร้อน - อทุ ยานปะการงั ทางทะเลทบุ บาตาฮะ ตง้ั อย่ใู นประเทศฟลิ ปิ ปนิ ส์ เปน็ ตัวอย่างของเกาะปะการัง ที่มีพนั ธ์สุ ัตวท์ ะเลหนาแน่นมาก สว่ นพืน้ ที่บนเกาะเล็ก ๆ ทางเหนอื เปน็ ที่อยู่ของนกและเต่าทะเล และแนวปะการงั ใน อทุ ยานแห่งนเี้ ป็นแนวปะการงั เก่าแกท่ ก่ี ่อตัวเป็นกาแพงสงู ถึง 100 เมตร 2.3 แบ่งผู้เรียนกลมุ่ ละ 5–6 คน ปฏิบตั กิ จิ กรรม สบื คน้ ขอ้ มลู การอนรุ กั ษค์ วามหลากหลายทางชวี ภาพ ตามขั้นตอนทางวทิ ยาศาสตร์ โดยใชท้ ักษะการสังเกต ดงั น้ี - ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ สบื ค้นขอ้ มลู ตา่ ง ๆ เชน่ หนังสอื เรียน หนังสืออา้ งองิ หนังสอื อ่านประกอบ หนังสอื พิมพ์ วารสารต่าง ๆ หรอื เวบ็ ไซตท์ างอนิ เทอรเ์ น็ตทเ่ี กยี่ วข้องกบั หวั ข้อเรอ่ื งต่อไปนี้ และบันทกึ ลงสมุด * ความหลากหลายทางชีวภาพ * คณุ คา่ ของความหลากหลายทางชวี ภาพ * การอนรุ ักษค์ วามหลากหลายทางชวี ภาพ - นาข้อมูลท่ไี ดใ้ นแตล่ ะกลุ่มมาสรปุ และอภิปรายร่วมกนั ในชน้ั เรยี น - จัดนิทรรศการเกีย่ วกบั วธิ ีการอนรุ ักษค์ วามหลากหลายทางชีวภาพในโรงเรียนหรือชมุ ชน 2.4 ผเู้ รียนและครูร่วมกนั ตรวจสอบความถูกต้องของขอ้ มูลท่ไี ดจ้ ากกจิ กรรม 3. ขนั้ อธบิ ายและลงขอ้ สรุป 3.1 ผเู้ รียนแตล่ ะกล่มุ ส่งตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลการปฏิบตั กิ จิ กรรมหน้าชนั้ เรียน 3.2 ผู้เรยี นและครรู ่วมกันอภปิ รายและหาขอ้ สรปุ จากการปฏิบตั กิ ิจกรรม โดยใช้แนวคาถามตอ่ ไปน้ี - การอนุรกั ษค์ วามหลากหลายทางชวี ภาพจะประสบผลสาเรจ็ ได้น้นั จะต้องไดร้ ับความรว่ มมอื จากบุคคลใด (1. รัฐบาล 2. เอกชน 3. ประชาชนทัว่ ไป) - ชาวบา้ นกลุม่ หนงึ่ เหน็ ว่าพน้ื ท่ีปา่ ทถ่ี กู ทาลายเปน็ พ้นื ทว่ี า่ งเปล่า จึงเขา้ ไปยดึ พน้ื ท่ีดงั กลา่ วเป็นที่ทา กิน ผ้เู รียนคิดว่าการกระทาดังกลา่ วขัดแย้งต่อแนวทางการอนุรกั ษ์ความหลากหลายทางชวี ภาพหรอื ไม่ เพราะเหตุใด (พจิ ารณาจากคาตอบผูเ้ รียน) 3.3 ผเู้ รียนและครรู ่วมกนั สรปุ ผลจากการปฏิบัติกจิ กรรม โดยใหไ้ ด้ข้อสรุปว่า ความหลากหลายทาง ชีวภาพมปี ระโยชนต์ ่อมนุษยม์ ากมาย ดงั น้ันเราทุกคนควรตระหนกั และมีจติ สานึกร่วมกนั ในการอนุรักษค์ วาม หลากหลายทางชีวภาพใหอ้ ย่คู ู่กับโลกไปตราบนานแสนนาน 4. ขัน้ ขยายความรู้ โดย นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 13 4.1 แบ่งผู้เรยี นเปน็ กลมุ่ สบื ค้นขอ้ มลู เกยี่ วกบั คณุ คา่ และการอนรุ ักษค์ วามหลากหลายทางชวี ภาพจาก หนังสือวารสาร สารานกุ รมไทยวทิ ยาศาสตร์ สารานกุ รมไทยสาหรบั เยาวชน และอินเทอรเ์ น็ต รวมท้ังนาข้อมลู ที่ คน้ คว้าได้มาจดั ทาเปน็ รายงาน หรอื จัดปา้ ยนเิ ทศใหเ้ พือ่ น ๆ ได้ทราบเพ่อื แลกเปลยี่ นเรยี นรกู้ นั 4.2 ผู้เรียนคน้ คว้าบทความหรอื คาศพั ทภ์ าษาตา่ งประเทศเก่ยี วกบั คณุ คา่ และการอนรุ กั ษค์ วาม หลากหลายทางชวี ภาพจากหนงั สอื เรียนภาษาต่างประเทศหรืออินเทอรเ์ น็ต และนาเสนอให้เพ่ือนในห้องฟัง พร้อมทั้ง รวบรวมคาศพั ทแ์ ละคาแปลลงสมุดสง่ ครู 5. ข้นั ประเมิน 5.1 ครใู หผ้ เู้ รียนแต่ละคนพจิ ารณาว่าจากหัวขอ้ ทเ่ี รยี นมาและการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม ใบงานที่ 3 :กาเนิด ของสิ่งมชี ีวิต มีจุดใดบา้ งทย่ี งั ไมเ่ ข้าใจหรือยงั มีข้อสงสยั ถา้ มี ครชู ่วยอธิบายเพมิ่ เติมให้ผเู้ รียนเขา้ ใจ 5.2 ผูเ้ รียนร่วมกนั ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลุม่ ว่ามปี ัญหาหรอื อุปสรรคใด และได้มกี ารดาเนนิ การ แกไ้ ขอย่างไรบา้ ง 5.3 ผูเ้ รียนและครรู ่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั ประโยชน์ทีไ่ ด้รบั จากการปฏิบตั ิกจิ กรรม ตาม แบบ ฝึกทักษะที่ 3 :กาเนิดของสิง่ มีชีวิตและการนาความรทู้ ีไ่ ดไ้ ปใชป้ ระโยชน์ 5.4 ครูทดสอบความเข้าใจของผเู้ รียนโดยการให้ตอบคาถาม เชน่ - ความหลากหลายทางชวี ภาพมีคุณคา่ และมคี วามสาคญั ต่อมนุษยใ์ นเรื่องใด - มนุษยไ์ ดร้ บั ประโยชนจ์ ากความหลากหลายทางชีวภาพในลักษณะใด - เราจะอนุรกั ษค์ วามหลากหลายทางชวี ภาพให้อย่กู บั เราไปนาน ๆ ได้โดยวธิ ใี ด ข้นั สรปุ 1. ครแู ละผู้เรยี นรว่ มกนั สรุปเก่ียวกับความหลากหลายทางชีวภาพ โดยรว่ มกนั เขียนเปน็ แผนท่ีความคดิ หรอื ผงั มโนทศั น์บนผนื ผา้ 2. ครูดาเนนิ การทดสอบหลงั เรยี น โดยให้ผเู้ รียนทาแบบทดสอบหลังเรียน : ความหลากหลายทางชวี ภาพ เพื่อวัดความกา้ วหน้า/ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 14 9. สื่อการเรยี นการสอน / แหลง่ เรียนรู้ จา้ นวน สภาพการใช้สอื่ 1 ชดุ ขั้นตรวจสอบความรเู้ ดมิ รายการส่อื 1 ชดุ ขน้ั สารวจและค้นหา 1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 1 ชุด ขั้นสารวจและคน้ หา 2. ใบความรทู้ ่ี 1 : ความหลากหลายทางชีวภาพ 1 ชุด ขั้นสารวจและคน้ หา 3. ใบความรทู้ ่ี 2 : การจัดหมวดหมขู่ องสงิ่ มีชีวติ 1 ชุด ขน้ั ขยายความรู้ 4. ใบความรูท้ ี่ 3 : กาเนิดของสงิ่ มชี ีวติ 1 ชดุ ขน้ั ขยายความรู้ 5. ใบงานที่ 1 : ความหลากหลายทางชวี ภาพ 1 ชุด ขั้นขยายความรู้ 6. ใบงานท่ี 2 : การจดั หมวดหมู่ของสงิ่ มีชีวติ 1 ชดุ ขน้ั ประเมนิ 7. ใบงานที่ 3 : กาเนิดของสง่ิ มชี ีวติ 1 ชุด ขน้ั ประเมิน 8. แบบฝึกทกั ษะที่ 1 : ความหลากหลายทางชวี ภาพ 1 ชดุ ขน้ั ประเมิน 9. แบบฝึกทกั ษะที่ 2 : การจัดหมวดหมขู่ องสิง่ มีชีวิต 1 ชุด ข้นั สรปุ 10. แบบฝกึ ทักษะที่ 3 : กาเนิดของสง่ิ มีชีวติ 11. แบบทดสอบหลังเรยี น 10. การวัดผลและประเมินผล โดย นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6 15 เป้าหมาย หลกั ฐานการเรยี นรู้ วธิ วี ดั เคร่อื งมอื วัดฯ ประเดน็ / การเรยี นรู้ ชนิ้ งาน/ภาระงาน เกณฑก์ ารให้ - แบบทดสอนก่อนเรียน ว 1.2 ม. 4–6/3 - ทดสอนก่อนเรียน ทดสอบรายบคุ คล - คะแนน รายบุคคล - แบบประเมินใบงาน สบื ค้นข้อมูลและ - แบบประเมนิ แบบฝึกทกั ษะ ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 50 -รายกลุ่ม 2-3 คน ขน้ึ ไป อภิปรายผลของความ ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 67 หลากหลายทางชีวภาพ - ใบงานท่ี 1-3 ข้นึ ไป ทมี่ ตี อ่ มนษุ ย์และ - แบบฝกึ ทักษะที่ 1-3 สง่ิ แวดล้อม ว 1.2 ม. 4–6/4 อธิบายกระบวนการ - แผนผงั ความคิด คดั เลือกตามธรรมชาติ บนผนื ผา้ และผลของการคดั เลอื ก ตามธรรมชาติตอ่ ความ หลากหลายของ สง่ิ มีชวี ติ ว 2.1 ม. 4–6/3 อธบิ ายความสาคญั ของ ความหลากหลาย ทางชวี ภาพ และ เสนอแนะแนวทาง ในการดูแลรกั ษา 11. การบรู ณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรียน :ความหลากหลายทางชวี ภาพ หลักปรชั ญา ครู ผ้เู รยี น โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 16 ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พอดีด้านเทคโนโลยี พอดีดา้ นจติ ใจ รู้จักใช้เทคโนโลยมี าผลิตสื่อทีเ่ หมาะสม มีจติ สานกึ ทด่ี ี จิตสาธารณะรว่ มอนุรกั ษ์ 1. ความพอประมาณ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสอดคล้องเนื้อหาเป็นประโยชน์ต่อ 2. ความมีเหตผุ ล ผู้เรียนและพัฒนาจากภมู ปิ ัญญาของผู้เรียน ไม่หยุดนิง่ ทห่ี าหนทางในชีวติ หลุดพ้นจาก 3. มีภูมคิ ุมกนั ในตวั ท่ดี ี - ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง ความทุกข์ยาก (การค้นหาคาตอบเพ่อื ให้ 4. เง่อื นไขความรู้ สุจรติ หลุดพ้นจากความไมร่ ู้) ภมู ิปัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ รบั ผดิ ชอบ 5. เงื่อนไขคุณธรรม ภมู ิปญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ระมดั ระวัง ระมัดระวงั สรา้ งสรรค์ ความรอบรู้ เรอื่ ง ความหลาหลายทาง ความรอบรู้ เร่ือง ความหลาหลายทาง ชวี ภาพ สปซั ีสข์ องสงิ้ มชี ีวติ และการอนรุ กั ษ์ ชวี ภาพ สปซั ีส์ของสง้ิ มชี ีวติ และการอนรุ กั ษ์ สามารถนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้ ทีเ่ กยี่ วขอ้ งรอบด้าน นาความร้มู าเช่ือมโยง เกิดความเช่ือมโยง สามารถประยุกต์ ประกอบการวางแผน การดาเนินการจดั ใชใ้ นชีวิตประจาวันได้ กิจกรรมการเรียนรู้ใหก้ บั ผเู้ รียน มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มีความ มีความตระหนักใน คณุ ธรรม มคี วาม ซือ่ สัตยส์ ุจริตและมีความอดทน มคี วามเพยี ร ซ่ือสตั ย์สุจริตและมคี วามอดทน มคี วามเพียร ใชส้ ตปิ ัญญาในการดาเนินชวี ติ ใชส้ ติปัญญาในการดาเนินชวี ิต สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ครู ผูเ้ รยี น ความหลากหลายทางชีวภาพ - - ความหลากหลายทางชวี ภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ - ความหลากหลายทางชีวภาพ - สารวจความหลากหลายทางชีวภาพ - สารวจความหลากหลายทางชวี ภาพ ในโรงเรยี น (กาหนดจุดใหผ้ ู้เรยี นสารวจ) ในโรงเรยี น (ตามจุดท่ไี ดร้ ับมอบหมาย) สิ่งแวดล้อม ครู ผู้เรียน ความหลากหลายทางชวี ภาพ - ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ – การอนุรกั ษค์ วามหลากหลายทาง - การอนรุ ักษค์ วามหลากหลายทางชวี ภาพ – สบื ค้นข้อมลู การอนรุ กั ษค์ วามหลากหลาย ชีวภาพ (กาหนดหัวข้อใหผ้ ู้เรียนสบื ค้น) ทางชวี ภาพ (ตามหัวข้อทไ่ี ด้มอบหมาย) ลงชื่อ..................................................ผสู้ อน (นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง) โดย นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 17 เอกสารประกอบการเรียนรู้ แผนการเรยี นรทู้ ่ี 1 ใบความรทู้ ี่ 1 เรื่อง โดย นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 6 18 ความหลากหลายทางชวี ภาพ (Biodiversity) *********************** ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) คอื การมีสิง่ มชี วี ิตนานาชนิด นานาพันธุ์ในระบบนิเวศอันเป็น แหลง่ ทอ่ี ยอู่ าศยั ซ่งึ มีมากมายและแตกต่างกนั ทว่ั โลกหรืองา่ ยๆคอื การทม่ี ีสิ่งมีชีวิตหลาย ชนิด (Species) หลายสาย พันธุแ์ ละระบบนิเวศ ( Ecosystem) ที่แตกตา่ งหลากหลายบนโลก ความหลากหลายทางชวี ภาพเกิดจากการสะสมความแตกต่างของสง่ิ มชี วี ิตในระยะเวลานานสามารถพจิ ารณาได้ จากความหลากหลายทางพนั ธุกรรม ความหลากหลายทางสปชี ีส์และและความหลากหลายของระบบนเิ วศ โดย ความหลากหลายทางพันธุกรรม (Genetic diversity) หมายถึง ความหลากหลายทางพันธุกรรมที่ สิ่งมีชีวิตแต่ละชีวิตได้รับการถ่ายทอดมาจากรุ่นพ่อแม่และส่งต่อไปยังรุ่นต่อไปเช่น ลั ก ษ ณ ะ ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ของลวดลายและสีของ หอยทาก Cepaeanemoralls ความหลากหลายของสีสันของ emerald tree boas Coralluscanius ลักษณะทางพันธุกรรมทไี่ ดร้ บั การถ่ายทอดนน้ั ผ่านทาง ยีน (gene) ทีม่ ีอยใู่ นสิง่ มีชีวิตแตล่ ะชนิด ซ่ึงส่งผลให้สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันอาจมีลักษณะท่ีคล้ายคลึงกันหรือแตกต่างกันไปตาม ยีน (gene) ท่ีได้รับการ ถ่ายทอดมา ตัวอย่างของความหลากหลายทางพันธุกรรมมีอยู่ทุกครอบครัวของสิ่งมีชีวิต พี่น้องอาจมีสีผม สีผิว และสขี องนยั นต์ าที่แตกตา่ งกนั เปน็ ต้น ภาพที่ 1 ความแปรปรวนของรปู แบบและสสี นั ทพี่ บในหอยชนดิ เดยี วกนั Cepaea nemoralls ท่มี า : Solomon et al , 2002 โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 19 ภาพที่ 2 ความแปรปรวนทางพนั ธกุ รรมทพี่ บใน emerald tree boas Corallus canius ที่มา : Solomon et al , 2002 ความหลากหลายทางสปชี สี ์ (Species diversity) หรือความหลากหลายทางชนดิ การเปล่ยี นแปลงมีจดุ เรม่ิ มา จากความหลากหลายทางพนั ธกุ รรม แต่เกิดขนึ้ สะสมความแตกตา่ งเป็นระยะเวลาที่ยาวนานหลายชว่ั รนุ่ และผ่าน กระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติหรอื อาจเกิดจากการคัดเลือกพันธุ์โดยมนุษย์ทาให้เกิดสิ่งมีชีวิตสปีชีส์ใหม่ เช่น กล้วยไม้บางชนิดมีลักษณะ คล้ายกนั แตผ่ สมพนั ธก์ุ ันไม่ไดเ้ นือ่ งจากเปลย่ี นแปลงไปเปน็ คนละชนดิ ความหลากหลายของระบบนเิ วศ (Ecological diversity) ความแตกตา่ งของลักษณะของสิ่งมีชีวิตเป็นผล จากกลไกทางพันธุกรรม ซึ่งการแปรผันที่เกิดขึ้นลักษณะใดที่สอดคล้องเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมจะทาให้ ลักษณะดงั กล่าวถูกคัดเลือกให้สืบพันธุ์และดำ รงอยูต่ ่อไป ดังนั้นสภาพแวดล้อมย่อมมีผลต่อทิศทางและการ เปลี่ยนแปลงและแนวโน้มของความหลากหลายของส่ิงมีชีวิต บนโลกสิ่งแวดล้อมท่ีหลากหลายเป็นผลมาจาก ความหลากหลายของ ระบบนิเวศ ในโลกมีระบบนิเวศมากมายหลายชนิด กระจัดกระจายตามภูมิศาสตร์ต่างๆ ระบบ นิเวศแต่ละประเภทจะมชี นดิ ของสิง่ มชี วี ิตท่ีพบไมเ่ หมือนกันทั้งนี้เนื่องจากมปี ัจจยั ทางกายภาพท่ี ส่ิงมีชีวิต ตอ้ งการไมเ่ หมอื นกัน ความหลากหลายทางพันธุกรรม ความหลากหลายของสปีชีส์และความหลากหลายของระบบนิเวศ เป็นองค์ประกอบสาคัญที่ก่อให้เกิดความหลากหลายทางชวี ภาพ ซงึ่ ความหลากหลายทางชวี ภาพก่อใหเ้ กิดความ สมดลุ ของโลก โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 20 การศกึ ษาความหลากหลายของสง่ิ มชี วี ติ ส่ิงมีชีวิตที่พบในปัจจุบันเป็นผลมาจากการเกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตในช่วงระยะเวลากว่า 3,500 ลา้ นปี โดยในแต่ละยุคจะมีสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นใหม่หรือสูญพันธุ์ไปบ้าง บางส่วนก็ทิ้งร่องรอย แสดงให้เห็นถึงความ รุ่งโรจน์ของสปีชีส์น้ัน แต่ส่วนใหญ่สูญหายไปโดยไม่ปรากฏร่องรอย นักธรณีวิทยา (Geologist) และนักบรรพ ชีวิน(Palaeontologist) ได้พยายามสร้างตารางเวลาเพ่ือบันทึกลำดับเหตุการณ์ กำเนิดของสิ่งมีชีวิตต่างๆใน ช่วงเวลาที่ผ่านมา โดยใช้หลักฐานซากดึกดำบรรพ์ (fossil) ท่ีสามารถคานวณอายุได้ ดังแสดงในตารางธรณี กาล (Geologic time scale) โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 21 แบบฝึกที่ 1 เร่อื ง ความหลากหลายทางชวภาพ ตอนท่ี 1 ให้ผเู้ รยี นศกึ ษาความหมายของความหลากหลายทางชวี ภาพ พจิ ารณาภาพแลว้ จบั คู่ ขอ้ ความที่มคี วามสัมพนั ธก์ นั กบั รปู ภาพ ความหลากหลายทางพันธกุ รรม ความหลากหลายทางสปีชสี ์ ความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความหลากหลายทางชวี ภาพ 1. (ที่มา http://pair36.blogspot.com/2009/12/1_15.html) 2. (ทม่ี า http://schoolworkhelper.net/frogs-species- overview/) โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 22 3. (ที่มา http://schoolworkhelper.net/frogs-species-overview/) 4. (ที่มา http://aris.ormansu.gov.tr/index.php?q=en/biodiversity/biodiversity) ตอนที่ 2 ใหผ้ เู้ รยี นศกึ ษาขอ้ มลู จากตารางธรณกี าลแลว้ ตอบคาถามตอ่ ไปนี้ 1. สง่ิ มชี ีวติ พวกแรกที่เกดิ ขึ้นบนโลก คือสง่ิ มีชวี ติ ใด มีอายกุ ี่ล้านปี --------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------- โดย นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 23 2. เรมิ่ มีพืชเกิดข้ึนในยคุ ใด --------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------- โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 24 3. จากตารางธรณกี าลการสญู พันธข์ุ องสง่ิ มีชีวติ จานวนมากเกดิ ประมาณกีค่ รง้ั และเกดิ ในยุคใดบ้าง ------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------- 4. สิ่งมีชีวติ ทมี่ ีเซลลย์ คู ารโิ อตเรมิ่ เกิดข้นึ ในมหายุคใดและเกดิ ขนึ้ เม่อื ใด ------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------ ------------------------------------------------------------------------------------------------------ 5. เรม่ิ ปรากฏมนุษย์ในยคุ ใดและเม่ือประมาณกี่ปที ่ีผา่ นมา ------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------- ------------------------------------------------------------------------------------------------- โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 25 ใบความรทู้ ี่ 3 เรือ่ ง การจดั หมวดหมขู่ องสง่ิ มชี วี ติ **************************** ปัจจุบันนคี้ าดว่ามสี ิ่งมีชีวิตชนดิ ต่างๆ ทีส่ ามารถจาแนกชนิดได้อยู่ในโลกนี้ถึง 1.4 ล้านชนิด และคาดว่าจะมี จานวนสิ่งมชี วี ติ อกี ประมาณ 4 - 30 ล้านชนดิ ทีย่ งั ไม่ไดร้ บั การคน้ พบและจัดจำแนก การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตจะ อาศัยลักษณะต่างๆเป็นหลักโดยเปรียบเทียบความเหมือนหรือแตกต่าง ซึ่งความเหมือนของส่ิงมีชีวิตเกิดจากการท่ี สง่ิ มีชวี ิตเหลา่ น้ันผ่านขบวนการ ทางวิวัฒนาการท่ีเหมือนกัน ดังน้ันการจัดหมวดหมู่จึงเป็นการบอกว่าสิ่งมีชีวิตแต่ ละกลุ่มมีความสัมพันธ์กับส่ิงมีชีวิตอีกกลุ่มหนึ่งหรือไม่ ลักษณะของสิ่งมีชีวิตท่ีนามาใช้ในการจัดหมวดหมู่ เช่น ลักษณะทาง สัณฐานวิทยา(Morphological Characteristics)นอกจากนี้ยังอาจใช้ลักษณะทางกายวิภาค(anatomy) และสรีรวิทยา(physiology) มาใช้ในการจัดจำแนกสงิ่ มชี ีวติ ออกเป็นหมวดหมไู่ ด้ การจัดจำ แนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่ไม่ใช่เพียงเป็นการบอกช่ือชนิดขอ งสิ่งมีชีวิตเท่าน้ันแต่จะต้อง สามารถบ่งบอกถงึ ลำดับของส่งิ มชี วี ิตและตาแหน่งในการเกิดขึ้นของชนิดในขบวนการวิวัฒนาการได้ด้วย การศึกษาชนิด ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและความสัมพันธ์ในเชิงวิวัฒนาการระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างๆ เรียกว่า อนุกรมวิธาน Taxonomyหรือ Systematics แต่นักชีววิทยาบางส่วนอาจจะแยกทั้งสองศาสตร์นี้ออกจากกัน โดยถือว่า Taxonomy เป็นการศกึ ษาเพ่ือให้คาอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตนั้นๆ (Description of Species) ส่วน Systematics เป็น การศึกษาเพื่อจัดกลุ่มของสิ่งมีชีวิตท่มี วี ิวัฒนาการมา เหมือนกันให้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน ซ่ึงสามารถใช้ในการอธิบาย ความสมั พนั ธ์ของชาตวิ งศว์ านและนามาจัดเปน็ ประวตั ชิ าติพนั ธุ์ (Phylogeny) ของส่งิ มีชีวติ กลมุ่ ต่างๆ ได้ อนุกรมวิธาน(Taxonomy) จะทาการจัดจาแนกสิ่งมีชีวิต (Classification) โดยการจัดลาดับหมวดหมู่ของ สงิ่ มีชีวติ เริ่มจดั เปน็ กลุ่มใหญก่ ่อน แลว้ จึงแบ่งแยกออกเปน็ กลมุ่ ย่อยๆ อีกหลายระดับ โดยพิจารณาจากกลุ่มใหญ่สุด ของสิ่งมีชีวิต คือ อาณาจักร(Kingdom) กลุ่มย่อยรองลงมา สาหรับสัตว์เรียกไฟลัม (Phylum) สาหรับพืชในอดีต เรียก ดิวิชัน(Division)ปจั จบุ ันใชไ้ ฟลมั เชน่ เดียวกับสตั ว์ ในไฟลมั หนง่ึ ๆแยกออกเป็นคลาส หลาย คลาส(Class)หรือชั้น ในแต่ละคลาสแยกออกเป็นหลายออร์เดอร์(Order)หรืออันดับ แต่ละออร์เดอร์แยกออกเป็นหลาย แฟมิลี (Family)หรือวงศ์ ในแต่ละแฟมิลียังแยกออกเป็น จีนัส (Genus)หรือสกุล แต่ละจีนัสแบ่งย่อยออกเป็นหลาย สปีชีส์ (species)หรือชนดิ โดย นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 26 อาณาจักร (Kingdom) ดิวชิ ัน (Division)หรือไฟลัม (Phylum) คลาสหรือชนั้ (Class) ออร์เดอรห์ รอื อนั ดบั (Order) แฟมิลี่หรือวงศ์ (Family) จีนัสหรือสกุล (Genus) สปชี ีส์หรือชนดิ (species) ในระหว่างกลุ่มอาจมีกลุ่มย่อยอีก เช่น Sub Kingdom, Sub division เป็นต้น พืชแต่ละชนิด อาจมีลักษณะต่างกัน เล็กนอ้ ย เรยี กวา่ พันธ์ุ สิง่ มชี วี ติ ท่ีจดั อยใู่ นสปีชสี ์ เดียวกนั ต้องมีความสัมพนั ธใ์ กลช้ ิดกนั ทางบรรพบรุ ษุ สามารถสืบพนั ธก์ุ นั ได้ ลูกทไี่ ด้จะต้องไมเ่ ปน็ หมนั ตวั อยา่ งการจะเรยี กมนุษยส์ ายพนั ธุ์ปจั จบุ ันโดยใชห้ ลกั อนุกรมวิธาน จะเรยี กไดด้ งั นี้ Kingdom Animalia Phylum Chordata Subphylum Vertebrate Class Mammalia Subclass Theria Order Primates Family Hominidae Genus Homo Species Homo sapiens โดย นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 27 ชอื่ ของสง่ิ มชี วี ติ ช่อื ของส่งิ มชี ีวติ โดยปกตแิ ลว้ การเรยี กช่อื ของส่งิ มีชวี ิต มีดงั นี้ คือ 1. ชอื่ พนื้ เมอื ง (Local name) เรยี กตามทอ้ งถ่ิน 2. ชือ่ สามัญ (Common name) คือชื่อท่ีเรยี กกันทั่วๆ ไป อาจเรียกตามลกั ษณะรูปรา่ ง ถน่ิ กาเนดิ หรือ สถานทอ่ี ย่กู ็ไดเ้ ช่น ปากกาทะเล หอยมุก เป็นตน้ ซึ่งช่ือดงั กลา่ วอาจเรียกต่างกัน ในแต่ละท่ที าใหเ้ กิด ความเข้าใจผดิ ได้ 3. ชื่อวิทยาศาสตร์(Scientific name) คาโรลสั ลนิ เนยี ส (Carolus Linnaeus)นกั พฤกษศาสตร์ชาวสวเี ดน ผู้ท่ไี ด้รับการยกย่องว่าเปน็ บิดาแห่งอนุกรมวิธานเปน็ คนกาหนดช่อื วทิ ยาศาสตรข์ องส่ิงมชี วี ิตโดยใช้ ระบบ ทวนิ าม (Binomail Nomenclature) ประกอบดว้ ยสอง ส่วนหลกั และอกี หน่ึงสว่ นรอง คือ สว่ นแรกเป็น สว่ นของ ชือ่ สกุล (Generic Name) สว่ นที่สองเป็นชอ่ื ที่ ระบุสปีชีส(์ Specific Epithet) ทง้ั สองส่วนต้อง ทาใหเ้ ปน็ คาในภาษาลาตินเสมอ ช่อื จีนัสตวั แรกเขียนด้วยอักษรตัวพมิ พใ์ หญเ่ สมอ ตัวแรกของสปชี ีสเ์ ป็น ชื่อตัวพมิ พเ์ ล็กธรรมดา ตอ้ งเขียนใหต้ ่างจากอกั ษรอื่นการพมิ พ์หรอื เขียนชอื่ วทิ ยาศาสตรจ์ ะต้องขีดเส้นใต้ หรือพมิ พ์หรอื เขยี นเปน็ ตวั เอนไมต่ ้องขีดเส้นใต้ ทั้ง 2 ชื่อไมต่ ดิ กันหรืออาจมีสว่ นท่สี ามก็คอื ช่ือผตู้ ้ังหรอื ผูค้ นพบส่งิ มีชีวติ ชนดิ นน้ั เรยี กระบบนว้ี ่า การตั้งชื่อแบบทวนิ าม (Binomial Nomenclature) ตวั อย่างเชน่ ชื่อวิทยาศาสตรข์ องถ่ัวลนั เตา คอื Pisum sativum L. Genus คอื Pisum Species คอื sativum ผูต้ ้งั ชอื่ คอื L. ย่อมาจาก Linn. หรอื Carolus Linnaeus การระบุชนิดของสง่ิ มีชีวติ สง่ิ มชี วี ิตมคี วามหลากหลายแตกต่างกนั นกั วิทยาศาสตร์มเี ครอื่ งมือที่ใช้ในการระบุชนิดของสิ่งมีชีวิต คือ ไดโคโตมัสคีย์ (Dichotomous) คอื เคร่ืองมือในการแบ่งกลุ่มย่อยส่งิ มีชีวติ โดยเปรียบเทยี บความแตกต่างทีละคู่ ของโครงสร้างลกั ษณะหนึ่ง หรือหลายลักษณะ การแบ่งสิ่งมีชีวิตทีละ 2 กลุ่มทำให้พิจารณาได้ง่าย ไม่สับสน และส่ิงมีชีวติ แต่ละกลุม่ จะมไี ดโคโตมสั คยี ์ทเ่ี หมาะสมเฉพาะ ใชแ้ ยกกลมุ่ ยอ่ ยของสิ่งมีชวี ติ นัน้ ชนดิ ของ ไดโคโตมัสคีย์ ( Dichotomous Key) คู่มอื วิเคราะห์เป็นเพยี งเครอ่ื งมอื ทส่ี ร้างข้ึนเพือ่ ช่วยใน การตรวจสอบชนิดและชือ่ วิทยาศาสตรโ์ ดยใชล้ ักษณะสาคญั เชน่ นิสัย ถิ่นทอ่ี ย่แู ละโครงสรา้ งทางสัณฐานวทิ ยาตา่ งๆ มาเขยี นเปรยี บเทยี บกนั เป็นคๆู่ โดยไม่มีคาบรรยายลักษณะเช่น แบบคขู่ นาน (Bracketed Key) การนำ เอาลักษณะที่แตกตา่ งตรงขา้ มกันอยา่ งเด่นชดั มาเปรียบเทยี บกนั เปน็ คๆู่ จึงมลี กั ษณะเปน็ 2 หวั ข้อและมหี มายเลขกำกบั (นยิ มใช้ใชใ้ นงานทางดา้ นสัตววทิ ยา) ข้อดคี ือพิมพง์ า่ ย อา่ น งา่ ย เพราะนาลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ ง ตรงขา้ ม โครงสร้าง เดียวกนั มาวางพิมพเ์ รยี งเข้าคู่ เปรยี บเทยี บกัน หมายเลขที่อยู่ ทา้ ยสุดของเสน้ ปะ เปน็ เลขบอกให้ตดิ ตามพจิ ารณาในคตู่ ่อไปซง่ึ มหี มายเลขอย่ดู า้ นหนา้ เป็นเลขเดยี วกัน โดย นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 28 แบบสรุปความ (Synoptical Key) เป็นการอธบิ ายลักษณะต่างๆอย่างละเอียดแต่ เขียนเป็นหัวขอ้ แตล่ ะขอ้ ยาวหลายบรรทดั (ปจั จบุ นั ไมค่ อ่ ยนิยมใช้) แบบเยอื้ งเขา้ ขา้ งใน (Indented Keyหรือ Yoked Key) เป็นการนำเอาลกั ษณะทแี่ ตกตา่ งตรงขา้ มกนั อย่างเด่นชัดมาเปรียบเทยี บกันเป็นคู่ๆเช่นเดียวกับแบบคู่ขนาน แต่จะพิมพ์เย้ืองเข้าขา้ งในของลักษณะท่ี แตกตา่ งกันแตล่ ะคู่ คูท่ ีต่ ่างกนั จะเรยี งอย่ใู นตำแหนง่ ตรงกัน และใชอ้ กั ษรหรือหมายเลขกากับตัวเดียวกันเป็น แบบซง่ึ นยิ มใชใ้ นทางพฤษศาสตร์ การใชร้ ปู วิธาน (Dichotomous Key) เมอ่ื ไดต้ วั อยา่ งสง่ิ มชี วี ิตที่ไมร่ จู้ ักชื่อนามาตรวจสอบหาช่อื ต้องเลอื กใช้ รปู วธิ านให้ตรงกับจดุ ประสงค์ เลอื กรูปวธิ านที่เกยี่ วขอ้ ง จากนั้นจึงนาไปตรวจสอบกับรูปวิธานเม่ือได้ชื่อของส่ิงมีชีวิต แล้ว ควรอา่ นคำบรรยายลักษณะน้นั ๆเพ่ือตรวจสอบความถูกตอ้ ง การสรา้ งรูปวธิ าน เมอื่ มีตวั อย่างสงิ่ มีชวี ติ และมีความประสงคจ์ ะสรา้ งรูปวธิ านให้ปฏบิ ตั ิตามข้ันตอนตอ่ ไปน้ี 1. นาส่ิงมชี วี ติ เหลา่ นั้นมาศกึ ษาลกั ษณะตา่ งๆ 2. สร้างตารางเปรียบเทยี บสง่ิ มชี วี ิตกับลักษณะของสง่ิ มีชีวติ 3. เขียนรปู วธิ านนยิ มแบง่ ลกั ษณะออกเป็นค่ซู งึ่ จะทาใหส้ งิ่ มชี วี ิตออกเป็นสองกลมุ่ 4. เลือกลกั ษณะท่แี บ่งสง่ิ มีชวี ติ ออกเป็นสองกลุม่ นามาเขียนรูปวิธาน เช่น ลักษณะนิสัย ถ่ินท่ีอยู่ ลักษณะ โครงสรา้ งทส่ี งั เกตไดช้ ดั เจน โดย นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 29 แบบฝกึ ที่ 2 : ความหลากหลายของสงิ่ ชวี ติ ตอนท่ี 1 ให้ผเู้ รยี นสบื คน้ ชอื่ วทิ ยาศาสตรข์ องส่งิ มีชีวติ ทรี่ ะบุใหต้ อ่ ไปนี้ เขียนให้ถูกตอ้ ง พรอ้ มท้งั แยก สว่ นประกอบทง้ั 3 สว่ นของชือ่ วทิ ยาศาสตร์ ช่อื สามญั ชื่อวทิ ยาศาสตร์ จนี ัส สปีชสี ์ ผตู้ ง้ั ชอื่ กระเจ๊ยี บแดง ฝรงั่ ขมิน้ กระเทียม ตะขบฝรัง่ . หางนกยงู ไทย มะพร้าว มะขาม ตอนท่ี 2 : 1. ให้ผเู้ รยี นศกึ ษาตวั อยา่ งการสรา้ งไดโคโตมสั คยี ใ์ นการจาแนกแมลงตอ่ ไปนี้ 2. ใหล้ งมอื สร้างไดโคโตมสั คียข์ องสงิ่ มีชวี ิตท่ีกำหนดให้ แมงปอ แมลงทบั (ท่ีมา http://pantip.com/topic/30619053 (ท่ีมา http://www.biogang.net [2558,กรกฎาคม 12]) [2558 ,กรกฎาคม 12]) โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 30 ผีเส้อื ด้วง (ที่มา:https://myfreezer.wordpress.com (ทีม่ า:http://pailampang.blogspot.com [2558 ,กรกฎาคม 12]) [2558 ,กรกฎาคม 12]) แมลงเต่าทอง จ้ิงหรดี (ที่มา:http://www.newmana.com (ท่มี า http://www.biogang.net [2558 ,กรกฎาคม 12]) [2558 ,กรกฎาคม 12]) ขนั้ ตอนที่ 1 ศกึ ษาลกั ษณะของแมลงแตล่ ะชนดิ แมลงปอ คือ แมลงท่ีมีตัวอ่อนอาศัยอยู่ในน้า ตัวเต็มวัยมีชีวิตอยู่บนบกมีปีกบินได้ แมลงปอมีการ เจริญเติบโตแบบเปน็ ข้ันตอนประเภทไมส่ มบูรณแ์ บบ คอื มรี ะยะไข่ ตัวออ่ น และตัวเต็มวัย ไม่มีระยะดักแด้ โดยระยะ ไข่และตวั อ่อนมีชวี ติ อยู่ในนา้ ตัวอ่อนที่อย่ใู นน้ามรี ปู ร่างแตกตา่ งจากตัวเตม็ วยั มาก เมื่อตัวอ่อนเจริญเติบโตเต็มที่แล้ว จะลอกคราบครัง้ สดุ ทา้ ย กลายเปน็ ตัวเต็มวัยทมี่ ีปีกและจะใช้ชวี ิตบนบกไดตอ่ ไป อา้ งอิงจาก วกิ ิพเี ดยี ,แมลงปอ,กรกฎาคม 2558,จาก https://th.wikipedia.org/wiki โดย นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 31 แมลงทบั เป็นแมลงในอนั ดบั แมลงปีกแขง็ (Coleoptera) แมลงทบั มรี ปู ร่างโดยรวม คอื มลี าตวั ยาวโคง้ นูน สว่ นท่ีเปน็ ปีกแข็งมีความแขง็ มาก หัวมขี นาดเล็กซ่อนอยู่ใต้อกปล้องแรกซึ่งโค้งมนเรียวไปทางหัวเช่ือมกับอกปล้อง กลางซ่ึงกว้างกว่าส่วนอ่ืนๆ ท้องมนเรียวไปทางปลายหาง ปีกแข็งหุ้มส่วนท้องจนหมด มีหนวดทเ่ี ป็นแบบใบไม้ มี ลักษณะเด่น คือ มีสีสันท่สี วยงามมากหลายชนิด หลายสกุลมีสเี งางามแวววาวราวกับอัญมณีหลายชนิดเป็นสที ี่ หลากหลาย ทง้ั นา้ เงนิ , แดง , ดาและเหลือง จงึ ทำใหแ้ มลงทับถูกมนุษย์จับนามาใชท้ าเป็นเครื่องประดับต่าง ๆมา นานแลว้ ในหลายชนชาติ แมลงทบั เมอ่ื ขยายพันธจุ์ ะเจาะเขา้ ไปวางไขใ่ นต้นไม้หรือวางไข่ไว้ในดินใกล้รากของไม้ท่ีตัว หนอนจะกินเปน็ อาหาร จึงนับเป็นแมลงศัตรูพืชอีกจาพวกหน่ึงซึ่งแมลงทับใช้เวลาในการเป็นไข-่ ตัวหนอน - ดักแด้ ราว 1 ปี เหมอื นเชน่ แมงคมี หรอื ดว้ งกวา่ ง อันเปน็ แมลงปกี แขง็ แตกต่างวงศก์ นั แมลงทับนบั เป็นแมลงปีกแข็งท่ีบินได้ เรว็ และสูงมากและเมือ่ ถกู รบกวนจะมพี ฤติกรรมแกล้งตาย โดยจะอยเู่ ฉยๆ หรือหล่นจากต้นไม้ทเ่ี กาะอยูเ่ พ่ือลวงศตั รู ให้เข้าใจผิดวา่ ตายแลว้ อา้ งองิ จาก วิกิพีเดยี ,แมลงทบั ,กรกฎาคม 2558,จาก https://th.wikipedia.org/wiki ผเี สอื้ มปี ีกเป็นแผ่นบางสองคู่ ลาตัว ปกี และขาปกคลมุ ดว้ ยเกล็ดขนาดเลก็ มากคลา้ ยฝนุ่ เม่ือมองด้วยตา เปล่า เกล็ดเหลา่ นท้ี ำใหเ้ กดิ สีต่าง ๆ กัน ปากเปน็ งวงยาวมว้ นเข้าอยใู่ ตห้ วั ได้ มีทั้งชนิดหากนิ ในเวลากลางวนั เรยี ก ผเี สื้อกลางวัน และชนดิ หากนิ ในเวลากลางคืน เรยี ก ผีเสอ้ื กลางคนื มีวงชวี ติ เรมิ่ แรกตงั้ แต่ระยะไข่ ระยะหนอน ระยะ ดกั แด้ ตราบจนระยะการเปลี่ยนสัณฐานเข้าสรู่ ะยะการโตเตม็ วยั ทมี่ ปี กี หลากสตี ้องตาผคู้ น ในทางกฏี วทิ ยาการจดั จาแนกแมลงกลมุ่ น้ี โดยการใชเ้ สน้ ปกี ในการจัดจาแนก อา้ งองิ จาก วกิ ิพีเดยี ,ผีเสือ้ ,กรกฎาคม 2558,จาก https://th.wikipedia.org/wiki ด้วงหรือแมลงปกี แขง็ มลี ักษณะเดน่ โดยรวม คอื ในวัยเต็มตวั จะมปี ีก 2 คู่ โดยปีกคู่หน้าเป็นปีกท่ีมีความ แข็งเท่ากันหรอื เกอื บเทา่ กนั ตลอดทง้ั แผ่น ส่วนปีกคูห่ ลงั เป็นแผ่นปีกใหญ่ค่อนข้างโปร่งแสง เมื่อเวลาเกาะอยปู่ ีกคู่ หลังจะพับซอ้ นกันอย่างมีระเบยี บและซอ่ นอยู่ภายใต้ปีกค่หู นา้ อยา่ งมดิ ชดิ และเมือ่ ตอ้ งการบิน ปีกคู่หลังน้ีจะกาง ออก โดยการเปดิ กางออกของปกี คู่หน้าขึ้นกอ่ นทจี่ ะเหยียดกางปกี คหู่ ลังนี้ออกมาบนิ อยา่ งรวดเรว็ ปีกคหู่ นา้ จงึ ทา หน้าทเ่ี สมือนเกราะปอ้ งกนั ตวั และปกี ค่หู ลัง ในขณะที่บนิ ปกี คู่หนา้ นีจ้ ะไม่ช่วยในการบินแตจ่ ะช่วยในการทรงตัว สว่ นหวั มตี ารวม 1 คู่ มสี ว่ นน้อยเทา่ นนั้ ทีม่ ตี าเดยี่ ว 1-2 ตาดว้ ย มหี นวด ส่วนของปากประกอบไปดว้ ย สว่ นต่าง ๆ แต่สว่ นทีแ่ ขง็ และมพี ละกาลงั มากทสี่ ุด คือ กรามปาก นอกจากนแ้ี ลว้ ยังมสี ว่ นของริมฝปี ากบน รมิ ฝีปากล่างชว่ ยในการสง่ ผา่ นอาหารเข้าปาก ส่วนอก สว่ นอกของดว้ งสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ปล้อง คือ อกปล้องแรก ซึ่งมีขนาดใหญ่อยู่ติดกับ ส่วนหวั เปน็ ส่วนอกปล้องเดียวทีส่ ามารถมองเห็นได้จากด้านบน ซ่ึงอกส่วนนี้อาจดูคล้ายส่วนหัวมาก แต่หาก สังเกตใหด้ จี ะเหน็ รอยต่อของสว่ นหวั กับอกปลอ้ งแรกนี้แยกจากกนั ชดั เจน , อกปลอ้ งสองและป้องสาม มักถูกปีก แข็งปิดคลุมดา้ นบนไว้ ส่วนของอกปลอ้ งทง้ั 3 มีขาติดอยกู่ ับปลอ้ งละ 1 คู่ อกปล้องกลางหรืออกปลอ้ งท่ีสอง มี ปีกแข็งหรอื ปกี คู่หน้าตดิ อยู่ โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 32 สว่ นทอ้ ง โดยปกตแิ ล้วจะมี 7 ปล้อง แตบ่ างชนิดกม็ ี 8 ปลอ้ ง ปล้องทอ้ งแต่ละปล้องมแี ผ่นแข็งแต่ ละแผ่นคลมุ ไว้ทงั้ ด้านบน และดา้ นลา่ ง ส่วนของท้องมักถูกปีกแข็งคู่หน้าคลุมไวจ้ นมิด แต่บางคร้ังก็มีส่วน ปลายสดุ โผลย่ ่นื ออกมา อา้ งอิงจาก วกิ ิพีเดยี ,ดว้ ง,กรกฎาคม 2558,จาก https://th.wikipedia.org/wiki แมลงเตา่ ทอง มีช่วงการเจรญิ เติบโตครบทัง้ 4 ระยะ คอื ระยะตัวเต็มวยั ระยะไข่ ระยะตัวอ่อนและระยะ ดักแด้ ตัวเต็มวยั หลังจากฟักออกจากดักแด้จะเป็นแมลงปีกแขง็ ลาตัวยาว 3-6 มลิ ลิเมตร ลาตัวมีลักษณะมันวาว มีหลายสตี ามชนดิ อาทิ สีน้าตาลแดง สีแดง สีเหลอื งปนน้าตาลแดงและสีเหลืองเป็นตน้ ส่วนหวั และอกมีขนาดเลก็ มากเมื่อเทยี บกับสว่ นทอ้ ง ปกี แตล่ ะขา้ งมลี ายหยักขวาง 2 เส้น โดยส่วนปีกอาจมไี ดห้ ลายสี แต่ทกุ ชนิดจะมจี ุดสีดา แต้มติดบนส่วนปกี จดุ นีอ้ าจมี 4 จุดหรอื มากกวา่ และมักพบจุดแต้มสีดาที่แต้มเช่ือมกันบรเิ วณกึ่งกลางโคนปีกที่ เช่ือมตดิ กับสว่ นอก บางชนิดอาจมหี นวดแตบ่ างชนิดไม่มหี นวด อาจมีขนปกคลุม และอาจไม่ มีขนปกคลุมขามี 6 ขา สดี า ขาคู่แรกอยทู่ ีส่ ่วนอก ส่วนขาอีก 2 คู่ อยทู่ ่ตี อนตน้ ตดิ กบั สว่ นอก 1 คู่และตอนกลางของส่วนท้อง 1 คู่ ขา มลี ักษณะเปน็ ปลอ้ งตอ่ กัน 3 ปล้อง แบง่ เป็นโคนขา ขาและเทา้ ท่เี ป็นปลอ้ งสดุ ทา้ ย มีระยะตวั เตม็ วัยประมาณ 55- 92 วัน มีวงจรชีวติ ประมาณ 71-117 วนั อา้ งองิ จาก ปสสุ ตั ว.์คอม,แมลงเตา่ ทองและแมลงเตา่ ลาย,กรกฎาคม 2558,จาก http://pasusat.com/ จงิ้ หรีด เป็นแมลงท่ีมีลาตวั ขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ขาคู่หลังส่วนต้นมีขยายใหญ่และแขง็ แรง ใช้สาหรับ กระโดด ขาคหู่ นา้ มขี นาดเล็กกว่าขาค่หู ลงั มาก ใช้สาหรบั เดินและเข่ยี อาหาร มีหนวดยาว 2 เสน้ ขนาดเทา่ เสน้ ผม คนเรา ความยาวหนวดประมาณ 3-5 ซม. และมากกว่าลาตวั หนวดมีหน้าที่รบั ความรูส้ กึ และรับกล่ินอาหาร มี ปากเป็นแบบกดั กนิ ปีกขวาทบั ปกี ซ้าย ปกี คู่ หนา้ ปกคลมุ ด้วยฟิล์มบางๆการทาเสียงเสียงจิ้งหรีดเกิดจากการใช้ ขอบปีกคู่หนา้ ถูเสียดสีกันจน ทำใหเ้ กิดเสียง เสียงที่ทาขึ้นใช้เพ่ือการสื่อสารและช่วยดึงดูดเพศตรงข้ามเพ่ือหา คูผ่ สมพนั ธ์ุ อา้ งองิ จาก ปสุสตั ว.์ คอม,จิ้งหรีดและการเลีย้ งจ้ิงหรีด,กรกฎาคม 2558,จาก http://pasusat.com/ โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 33 ขัน้ ที่ 2 สร้างแผนผังพจิ ารณาความแตกตา่ งของแมลงออกเป็นรายคู่ ขัน้ ที่ 3 การนาเอาลักษณะทีแ่ ตกต่างตรงขา้ มกนั อย่างเดน่ ชัดมาเปรียบเทยี บกนั เปน็ คๆู่ จงึ มี ลักษณะเป็น 2 ใน 1 หัวข้อและมีหมายเลขกากับ 1. ก) แมลงปีกแขง็ ดูขอ้ 2 ข) แมลงปกี ออ่ น ดูข้อ 3 ดขู อ้ 4 2. ก) ขนาดตวั ยาวมากกวา่ 1 cm แมลงเตา่ ทอง ข) ตวั ขนาดเลก็ ยาวไมเ่ กนิ 1 cm ผีเสื้อ 3. ก) ปากเป็นงวงยาวม้วนเขา้ ข) ปากแบบกดั ดูขอ้ 5 4. ก) ปีกสเี ขียวอมนา้ เงนิ แมลงทบั ดว้ ง ข) ปกี มสี ีนา้ ตาลเขม้ จ้ิงหรดี 5. ก) ปกี สามารถทาใหเ้ กดิ เสยี งได้ แมลงปอ ข) ปกี แผอ่ อกและโปรง่ แสง โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 34 ขนั้ ที่ 4 อธบิ ายลักษณะของแมลงแต่ละชนดิ ทีไ่ ด้จากการจัดจาแนก แมลงเต่าทองเป็นแมลงปกี แขง็ ลาตัวขนาดเลก็ ยาวไมเ่ กนิ 1 เซนตเิ มตร ผีเสื้อเปน็ แมลงปกี ออ่ น ปากเปน็ งวงมว้ นเข้า แมลงทับ เป็นแมลงปกี แขง็ ขนาดตวั ยาวมากกวา่ 1 เซนติเมตร มีปกี สเี ขยี วอมน้าเงนิ แวววาว ดว้ ง เปน็ แมลงปีกแขง็ ขนาดตวั ยาวมากกว่า 1 เซนตเิ มตร มีปีกสนี า้ ตาลเข้ม จ้ิงหรดี เป็นแมลงปีกอ่อนปากแบบกดั มีปีกท่ีสามารถทาใหเ้ กดิ เสยี งได้ แมลงปอ เปน็ แมลงปีกอ่อน ปากแบบกัด มีปีกทีแ่ ผอ่ อกและโปรง่ แสง 2. ให้ผเู้ รยี นสร้างไดโคโตมสั คยี ์ สง่ิ มชี วี ิตที่กาหนดให้ตอ่ ไปนี้ ดอกราชพฤกษ์ ดอกกลว้ ยไมแ้ วนดา้ (ทีม่ า: http://schoolweb.eduzones.com (ทมี่ า:https://sites.google.com/ [2558 ,กรกฎาคม 14]) [2558 ,กรกฎาคม 14]) ดอกซมิ ปอร์ ดอกลาดวน (ทม่ี า: http://mcot-web.mcot.net (ที่มา:http://www.nanagarden.com [2558 ,กรกฎาคม 14]) [2558 ,กรกฎาคม 14]) โดย นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 35 ดอกกลว้ ยไมร้ าตรี ดอกบวั (ท่มี า: http://mablambit001.blogspot.com (ท่มี า: http://topicstock.pantip.com [2558 ,กรกฎาคม 14]) [2558 ,กรกฎาคม 14]) ดอกจาปา ดอกชบา (ทม่ี า: http://www.pakping.com (ทีม่ า: http://wallpaper.thaiware.com [2558 ,กรกฎาคม 14]) [2558 ,กรกฎาคม 14]) โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 36 ดอกพดุ แกว้ ดอกประดู่ (ท่ีมา: http://rspg.dusit.ac.th (ที่มา: http://www.zabzaa.com [2558,กรกฎาคม 14]) [2558,กรกฎาคม 14]) ขัน้ ตอนที่ 1 สืบคน้ ลักษณะของดอกไมแ้ ตล่ ะชนดิ ดอกราชพฤกษ์ ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- อา้ งองิ จาก ----------------------------------------------------------------------------------------------- โดย นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 37 ดอกกล้วยไม้แวนดา้ ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- อา้ งองิ จาก ----------------------------------------------------------------------------------------------- ดอกซมิ ปอร์ ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- อ้างองิ จาก ----------------------------------------------------------------------------------------------- ดอกลาดวน โดย นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 38 ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- อา้ งองิ จาก ----------------------------------------------------------------------------------------------- ดอกกลว้ ยไม้ราตรี ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- อ้างองิ จาก ----------------------------------------------------------------------------------------------- ดอกบัว โดย นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 39 ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- อ้างอิงจาก ----------------------------------------------------------------------------------------------- ดอกจาปา ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- อ้างองิ จาก ----------------------------------------------------------------------------------------------- ดอกชบา โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 6 40 ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- อา้ งองิ จาก ----------------------------------------------------------------------------------------------- โดย นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 41 ดอกพุดแก้ว ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- อ้างองิ จาก ----------------------------------------------------------------------------------------------- ดอกประดู่ ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- อา้ งองิ จาก ----------------------------------------------------------------------------------------------- โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 42 ขนั้ ที่ 2 สรา้ งแผนผงั พิจารณาความแตกตา่ งของดอกไม้แตล่ ะชนดิ ออกเปน็ รายคู่ ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 43 ข้นั ท่ี 3 การนาเอาลกั ษณะท่แี ตกต่างตรงขา้ มกนั อยา่ งเดน่ ชดั มาเปรียบเทยี บกนั เปน็ ค่ๆู จึงมี ลักษณะเปน็ 2 ใน 1 หวั ขอ้ และมหี มายเลขกากบั -------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------- โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 44 ขั้นท่ี 4 อธบิ ายลกั ษณะของดอกไมแ้ ตล่ ะชนิดทีไ่ ดจ้ ากการจดั จำแนก ดอกราชพฤกษ…์ ………………………………….……………………………………………………………………………………………………. ดอกกล้วยไมแ้ วนด้า………………………………………………………………………………………………………………………..…. ดอกซมิ ปอร…์ ………………………………………………………………………………………………………………………………….………... ดอกลาดวน………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ดอกกล้วยไมร้ าตร…ี …………………………….………………………………………………………………………..…………….…… ดอกบวั ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ดอกจาปา…………………………………………………………………………………………………………….…………..……….….. ดอกชบา………………………………………………………………………………………………………………………..……………….…. ดอกพดุ แกว้ …………………………………………………………………………………………………………………………..………. ดอกประด…ู่ ………………………………………………………………………………….……………………………..…..…………….. โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 45 ใบความรูท้ ี่ 3 เร่อื ง กาเนดิ ของชวี ติ สงิ่ มชี วี ิตเกิดขึน้ มาได้อยา่ งไรไมม่ นี กั วิทยาศาสตรท์ า่ นใดสามารถพสิ ูจน์ ไดอ้ ย่างชัดเจนมีเพยี งสมมตฐิ าน เกย่ี วกบั การกาเนดิ ของสง่ิ มชี วี ติ เทา่ นน้ั ซง่ึ นกั วทิ ยาศาสตรใ์ นอดีตหลายท่าน ตง้ั สมมตฐิ านเพอื่ อธิบายถงึ กาเนิดของ สงิ่ มีชวี ติ ชนดิ แรกบนโลก สงิ่ มชี วี ิตมีกาเนิดมาบนโลกนเ้ี ม่อื ไรและเกดิ ขึ้นไดอ้ ย่างไร เป็นความอยากรู้ของมนุษย์มานานแล้ว ในสมัย โบราณ มคี วามเชือ่ ว่าส่งิ มชี ีวิตมีกาเนิดมาจากพระเจ้าสร้างขึ้น บ้างก็เช่ือว่า ชีวิตเกิดข้ึนเองโดยธรรมชาติ แล้ว เปล่ียนแปลงมาเปน็ ส่ิงมีชีวิตตาม ทฤษฎีการเกิดเองโดย ธรรมชาติ (Spontaneous Theory) ซึ่งมีนักปราชญ์ สมัยก่อนๆ สนบั สนนุ แนวคิดน้ี เช่น ทาเลส (Thales) อนาซแิ มนเดอร์ (Anaximader) หรือ Aristotle เปน็ ต้น ในยุคสมยั ตอ่ มา ความรู้และวทิ ยากรตา่ ง ๆ เจริญมากข้นึ ความคดิ เห็นเกี่ยวกบั กาเนิดของสง่ิ มชี ีวิตเรมิ่ เปลีย่ นแปลงไปและขัดแยง้ กบั ความคดิ เดมิ อยบู่ ้างเชน่ ฟรานเซลโก เรดิ (Francisco Redi) หลุย ปลาสเตอร์ (Louise Pasteur) ไดท้ ดลองโดยออกแบบและสรา้ งเคร่อื งมอื ขนึ้ มาและไดข้ อ้ สรปุ ว่าสง่ิ มีชวี ิตเกิดมาจากสง่ิ มชี ีวิต เสมอ แตก่ ย็ งั ไมไ่ ด้คาตอบแน่ชัดว่า สิ่งมชี ีวิตเรมิ่ แรกเกดิ ขนึ้ มาได้อย่างไร ความคิดในยคุ สมยั ปัจจบุ นั วทิ ยาศาสตร์ไดเ้ จริญกา้ วหนา้ มากข้นึ โดยเฉพาะความรทู้ างดา้ นชีวเคมแี ละ อนิ ทรยี ์เคมี แนวคิดเกี่ยวกบั การเกดิ ของสงิ่ มีชวี ติ จงึ เปล่ยี นไปจากเดมิ และพยายามพสิ ูจน์ใหเ้ หน็ ไดช้ ัดเจนว่า สง่ิ มชี วี ติ มกี าเนดิ ขึ้นมาไดอ้ ยา่ งไร เชน่ ฮัลเดน (J.B.S. Haldane) 1924, มูทเนอร์ (R. Bentner) และ โอปารนิ (A.I. oparin) บุคคลทง้ั สามไดก้ ลา่ ว วา่ สิง่ มีชวี ติ ประกอบขนึ้ ดว้ ยสารอนิ ทรยี ซ์ ึง่ ตอ้ งมีธาตคุ ารบ์ อน , ไนโตรเจน , ไฮโดรเจนและออกซเิ จนประกอบอยู่ทา ใหเ้ ชอ่ื วา่ โลกในสมยั แรกระยะหนึง่ นนั้ มภี าวะเหมาะสมทท่ี ำใหธ้ าตทุ ้งั 4 ชนดิ มาประกอบกันได้แล้วกลายเปน็ สารประกอบสว่ นหนึ่งของสงิ่ มชี วี ติ ตอ่ มา ฮาโรล ซี อเู รย์ (Harold C. Urey) และสแทนสีย์ แอลมลิ เลอร์ (Stanley Lo Miller) 1930 และ 1953 ไดพ้ ิสูจนแ์ ละทดลองให้เห็นวา่ สารอินทรียเ์ กดิ จากสารอนนิ ทรีย์ โดยเอาไอนา้ แอมโมเนยี มเี ทนและไฮโดรเจน มารวมกนั โดยใช้กระแสไฟฟ้าช่วยทำใหเ้ กดิ เป็นสารอนิ ทรยี ป์ ระเภทโปรตีนข้ึน ค.ศ.1961 เมลวนิ เคลวนิ (Mellrin Calvin) ไดท้ ดลองคล้ายกบั สแทนลยี ์มลิ เลอร์โดยผ่านรังสีแกมมาเขา้ ไป ปรากฏวา่ ไดส้ ารประกอบหลายชนดิ ที่พบในสิง่ มชี วี ติ จงึ ลงความเห็นวา่ อินทรียส์ ารรวมถงึ สง่ิ มีชีวติ อาจเกดิ จาก อนินทรียส์ ารได้ แนวคดิ เกี่ยวกบั ววิ ฒั นาการทางเคมี (chemical evolution) เมอ่ื พ้นื ผิวโลกเร่ิมเยน็ ลง การรวมกลมุ่ ของ กลมุ่ ก๊าซและสารตา่ ง ๆ รอบๆ ผวิ โลก ซ่ึงประกอบไปดว้ ยออกซเิ จน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน คารบ์ อนและธาตหุ นกั อืน่ ๆ เชน่ เหลก็ นิเกลิ เงนิ ซลิ ิกอน และอลมู ิเนยี มเปน็ ต้น ซ่ึงเปน็ จุดเริม่ ต้นของการวิวฒั นาการทางเคมขี องโลก เปน็ การเปลย่ี นแปลงท่ใี ช้เวลานบั ลา้ นปี สรุปเปน็ 6 ระยะดงั น้ี ระยะท่ี 1 การเกดิ นา้ แอมโมเนียและมเี ทน จากการรวมกนั ของสารต่างๆ คือ ออกซเิ จน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และคารบ์ อน โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 46 ระยะท่ี 2 การเกดิ นา้ ตาล กลเี ซอรนี กรดไขมนั กรดอมโิ น ไพรมิ ิดีนและเพยี วรนิ ระยะที่ 3 การเกดิ แปง้ โปรตนี ลปิ ดิ และกรดนวิ คลอี คิ ระยะท่ี 4 การเกดิ นิวคลโี อโปรตีนจากพน้ื ฐานการเกดิ สารประกอบดงั กลา่ ว ซึ่งเปน็ องคป์ ระกอบพืน้ ฐาน ของสง่ิ มชี ีวติ จงึ ทาใหว้ ิวัฒนาการทางชวี ภาพถือกาเนดิ เป็นสง่ิ มีชีวติ ขน้ึ ระยะที่ 5 การเกิดเซลลร์ ะยะเริ่มแรก และบรรพบรุ ษุ ของพืชและสัตว์ ซ่ึงมสี มมุตฐิ านท่ีอธิบายวา่ อนิ ทรยี ์ สารตา่ ง ๆ ซึง่ อยอู่ ยา่ งอดุ มทงั้ ในทะเลและมหาสมทุ รจะมาจบั กล่มุ กนั ซ่งึ โอปารนิ เรยี กชื่อว่า โคอเซอเวต (CO acervate) ไดอะเซอรเ์ วตจะมหี น่วยโปรตนี เปน็ องคป์ ระกอบ หนว่ ยโปรตนี ทล่ี ะลายนา้ จะทาใหเ้ กิดประจไุ ฟฟา้ ซึง่ พรอ้ มที่จะดงึ น้าและอนิ ทรยี ์ สารอื่นๆ มารวมกนั ทาใหม้ ีขนาดใหญแ่ ละซบั ซอ้ นขน้ึ และแปรสภาพกลายเปน็ ชวี ิต หนว่ ยแรกขึ้น ซึง่ ตอ่ มาเรยี กว่า เซลล์ (Cell) ระยะท่ี 6 เกดิ สงิ่ มชี วี ติ ทเี่ ปน็ บรรพบรุ ุษของพืชและสัตว์ เมือ่ สง่ิ มีชวี ิตเริม่ เพมิ่ ปรมิ าณมากข้ึน ทาใหต้ อ้ ง กรอาหารและเกลอื แร่มากขนึ้ จนอาหารและเกลือแรท่ ม่ี อี ยเู่ ดิมอยา่ งอุดมสมบรู ณ์ ไม่เพยี งพอต่อความต้องการ เซลล์ ทข่ี าดอาหารกต็ ายลง ท่ีเหลือเปน็ เซลล์ทม่ี คี วามสามารถพเิ ศษในการปรบั ตัว (adapt) และนำสง่ิ แวดล้อม มาทาให้ เกิดประโยชน์ต่อการดารงชีวิต การปรบั ตัวมีวธิ กี ารตา่ งๆ กนั อนั เป็นสาเหตใุ หว้ ิถกี ารดารงชวี ติ แตกต่างกัน ซ่งึ เป็น จุดเริม่ ตน้ ของการวิวฒั นาการของสง่ิ มชี วี ติ มาจนถึงปจั จุบัน ถงึ แม้ว่าสารอินทรยี ท์ ี่เป็นองคป์ ระกอบของสิ่งมีชีวิตจะเกดิ จากวิวฒั นาการของสารเคมี แต่กย็ งั มีขอ้ สงสัยว่า สารอนิ ทรียเ์ หลา่ น้ปี ระกอบข้นึ เป็นเซลล์ไดอ้ ยา่ งไร ตอ่ มาซิดนีย์ ฟอกซ์ (Sidney Fox) นกั ชีวเคมีชาวอเมรกิ นั และคณะ ไดแสดงใหเ้ หน็ วา่ เซลลเ์ รม่ิ แรกเกิด จากกรดอะมิโนได้รบั ความรอ้ นและมกี ารรวมกลมุ่ กนั ซ่งึ มสี มบัตหิ ลายประการที่คลา้ ยกับเซลลข์ องสงิ่ มชี วี ติ เช่น มี การเจรญิ เติบโต สามารถเพมิ่ จำนวนโดยการแตกหน่อและมกี ระบวนการเมแทบอลซิ มึ เกิดขึ้น กาเนิดของเซลลโ์ พรคารโิ อต และเซลล์ยูคารโิ อต จากแนวความคิดของนกั วิทยาศาสตรเ์ ก่ยี วกบั กาเนดิ ของสิ่งมีชวี ิตซ่ึงเป็นท่ียอมรับมากทส่ี ดุ ในปัจจุบันก็คือ สิ่งมชี ีวติ กาเนิดมาจากวิวัฒนาการของสารเคมีโดยเซลล์เริ่มต้นเกิดจากโปรตีนที่ได้รับความร้อนแล้วรวมตัวกัน กลายเป็นเซลล์อย่างง่ายและเซลล์เริม่ ต้นทเ่ี กิดข้ึน คือ เซลล์แบบโพรคาริโอต (Prokaryotic cell) ซ่ึงปัจจุบัน หลงเหลอื อยเู่ พยี งสิ่งมชี วี ติ กลุม่ เดียวคอื แบคทีเรยี ลกั ษณะสำคัญของเซลลโ์ พรคาริโอตคือในเซลล์ไมพ่ บนวิ เคลียสพบเพียงสารพันธุกรรมท่ีเกาะกลุ่มกัน เรียกวา่ นวิ คลีออยด์ (Nucleoid) ภายในเซลล์ไมพ่ บออร์กาแนลลท์ ม่ี ีเยือ่ หมุ้ ทุกประเภท (เช่น RER, SER Golgi body,Lysosome, Vacuole, Mitochondria, Chloroplast) พบเพียงไรโบโซมขนาด 70s มีผนังเซลล์ที่มอี งคป์ ระกอบแตกตา่ งจากพืชและพบเย่อื ห้มุ เซลลโ์ ดยเซลล์จะมีขนาดเล็กกว่าเซลลพ์ ืชและ เซลล์สัตวซ์ ง่ึ เปน็ เซลลท์ พ่ี บในปจั จุบันมาก นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าส่ิงมีชีวิตพวกโพรคาริโอตในยุคเริ่มแรกมีการดำรงชีวิตอย่างหลากหลายเน่ือง โลกในยุคน้ันมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอและพวกโพรคาริโอตน้ีเองท่ีเป็นส่วน สาคัญท่ีทาให้บรรยากาศบนโลกมี ปริมาณก๊าซออกซเิ จนเพิม่ มากขึ้นเน่อื งจากบางชนดิ สามารถสงั เคราะหแ์ สงและปล่อยก๊าซออกซิเจนออกมาได้ เช่น สาหร่ายสีเขียวแกมนา้ เงิน (Blue green algae) โดย นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 47 ภาพ วิวฒั นาการของเซลลโ์ พรคารโิ อต มาเปน็ เซลลย์ คู าริโอต (ท่ีมา http://www.slideshare.net [2558 ,กรกฎาคม 12]) เม่ือโลกมีปริมาณก๊าซออกซิเจนเพิ่มมากข้ึนทาให้เซลล์โพรคาริโอตมีการวิวัฒนาการมาเป็น เซลล์ยูคาริโอต (Eukaryotic cell) ซ่งึ สว่ นใหญ่เซลล์กล่มุ นีจ้ ะหายใจโดยใช้ก๊าซออกซิเจนโดยการเปลี่ยนแปลงจากเซลลโ์ พรคารโิ อตมาเปน็ ยูคา รโิ อตน้นั จะเกิดจากการทเี่ ยื่อห้มุ เซลลข์ องเซลลพ์ วกโพรคารโิ อตเจริญเข้ามาห่อหุม้ ส่วนของสารพันธุกรรมจนเกิดเป็นนิวเคลียส และเกิดเป็นออร์กาเนลล์ที่มีเยื่อหุ้มเกิดขึ้นในบรรดาออร์กาเนลล์ต่างๆของเซลล์ยูคาริโอต นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า ไมโทคอนเดรยี และคลอโรพลาสต์เป็นสิ่งมีชีวิตพวกโพรคาริโอต ซึ่งมีขนาดเซลล์เล็กกว่ายูคาริโอตมาก เข้ามาอาศัยอยู่ในเซลล์ ยูคารโิ อต และมีววิ ัฒนาการร่วมกันมายาวนานจงึ อยู่ร่วมกนั ตลอดมา โดยหลักฐานทสี่ นับสนุนแนวคิดดงกล่าว มี 3 ประการ คือ ประการทห่ี นึ่ง ไมโทคอนเดรยี และคลอโรพลาสต์ มี DNA เปน็ ของตวั เอง ประการที่สองไมโทคอนเดรยี และคลอโรพลาสต์มีเย่ือ หุ้มสองชั้นซึง่ คอ่ นขา้ งจะแตกต่างจากออร์กาเนลล์อื่นๆซึ่งมเี ยอ่ื หุ้มเพียงช้ันเดียว โดยนักวิทยาศาสตร์วิเคราะห์ว่าเยอ่ื หุม้ ช้ันนอก เปรียบเหมือนผนังเซลลข์ องเซลล์พวกโพรคาริโอต ส่วนเยอื่ หุ้มช้ันในเปรยี บเสมอื นเยอ่ื หุม้ เซลล์ และประการท่ีสามไมโทคอนเด รยี และคลอโรพลาสตส์ ามารถเพิ่มจานวนตัวเองได้ซึ่งทงั้ สามประการน้แี สดงให้เห็นว่าไมโทคอนเดรียและคลอโรพลาสต์เคยเป็น สิ่งมีชวี ติ พวกโพรคารโิ อต ทดี่ ารงชีวติ แบบอสิ ระมาก่อนแลว้ คอ่ ยมาอาศยั อยูใ่ นเซลลย์ ูคารโิ อตแบบพงึ่ พา โดย นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 48 สว่ นประกอบของเซลล์ เซลลโ์ พรคาริโอต เซลลย์ คู าริโอต 1. ขนาดเซลล์ (ขนาดเสน้ ผา่ น 1-10 ไมโครเมตร 10-100 ไมโครเมตร ศนู ยก์ ลาง) โดย นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 49 2. นิวเคลียร์บอดี( nuclear body ) เรยี ก “นวิ คลีออยด์” เรยี ก “นวิ เคลยี ส” 3. นวิ เคลยี รเ์ มมเบรน (nuclear ไมม่ ี มี membrane) 4. โครโมโซม เป็นวงกลมประกอบดว้ ยDNAและโปรตีน เป็นแท่งประกอบด้วย DNA และโปรตนี ฮีสโตน 5. จานวนโครโมโซม 6. นิวคลีโอลสั ทค่ี ล้าย ฮีสโตน (histone) 7. การแบ่งเซลล์ 1 >1 8. เย่อื หมุ้ เซลล์ ไมม่ ี มี 5. ไรโบโซม แบง่ ตวั จาก 1 เป็น2 (binary ไมโทซสิ (mitosis) และ มี ไมโอซิส ส าหรับสรา้ ง 6. ออรแ์ กเนลล์ที่มีเยอ่ื หมุ้ (ไมโทคอนเดรีย, คลอโรพลาสต์ เอน fission) และไม่มีไมโอซิส (meiosis) เซลล์ สืบพันธุ์ (sex cell) เนือ่ งจาก สงิ่ มชี ีวติ เป็น โดพลาสมิกเรติคูลมั ,กอลจิ-แอพ พาราตสั , แวคิวโอล และ เพราะสงิ่ มีชีวิต เปน็ ชนดิ แฮพลอยด์ ชนิดดิพลอยด์ (diploid) ไลโซโซม) 7. การสงั เคราะหแ์ สง (haploid) ประกอบดว้ ยชั้นฟอสโฟลิพิด 2 ชน้ั ประกอบดว้ ยชน้ั ฟอสโฟลพิ ิด (phospholipid bilayer)ทไี่ ม่มี 2 ชน้ั (phospholipid bilayer ) ท่ีมี คารโ์ บไฮเดรต และ สเตอรอล (sterol) คารโ์ บไฮเดรต และสเตอรอล สามารถเกดิ เอน ไม่ สามารถเกดิ เอนโดไซโทซิส โดไซโทซิส และเอกโซไซโทซสิ (endocytosis) และเอก- โซไซโทซิส (exocytosis) 80 S 70 S (50 S และ 30 S) (60 S และ 40 S) ไม่มี มี เกดิ ทีเ่ ยื่อหมุ้ เซลล์ เกดิ ท่คี ลอโรพลาสต์ ตารางที่ 1 แสดงความแตกตา่ งของเซลลโ์ พรคารโิ อต และเซลลย์ ูคาริโอต โดย นางสาวณัฐธนัญา บุญถึง กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 50 สว่ นประกอบของเซลล์ เซลล์โพรคารโิ อต เซลล์ยคู าริโอต 8. สายใยไมโทตกิ ไมม่ ี มี (mitotic spindle) 9.ไซโทสเกลเลตอน ไมม่ ี มี 10. เอนไซมท์ ่ีเกี่ยวข้องกบั อยู่ทีเ่ ยื่อหุ้มเซลล์ อยทู่ ่ีไมโทคอนเดรีย กระบวนการหายใจและระบบ ถา่ ยทอดอเิ ลก็ ตรอน ยูแบคทเี รีย(Eubacteria) มผี นงั เซลลพ์ ืช สาหรา่ ย และรา มี 11.ผนงั เซลล์ เซลล์ ประกอบด้วย เพปติโด ผนงั เซลลป์ ระกอบดว้ ย ไกลแคน (Peptidoglycan) เซลลโู ลส (cellulose) หรอื ไค 12. ออร์แกเนลลท์ ่ใี ช้ อารเ์ คยี แบคทเี รยี ตนิ (chitin)เซลลส์ ตั ว์และ โปร สาหรบั การเคลื่อนที่ (Archaebacteria) มผี นงั เซลล์ โตซวั ไมม่ ผี นงั เซลล์ ประกอบดว้ ยโปรตนี 13. ชนิดของสงิ่ มีชีวิต คารโ์ บไฮเดรตทซ่ี บั ซ้อน หรอื มแี ฟลเจลลา และซิเลียท่ีประกอบด้วย โมเลกลุ ที่คลา้ ยเพปตโิ ดไกลแคน ไมโครทูบลู โดยไมโครทบู ูลมกี าร มีแฟลเจลลา ซึ่งแต่ละอันไม่ จดั เรยี งตัวในรปู แบบจาเพาะและ ถูก ห้มุ ด้วยเยอื่ หมุ้ ไมม่ ีซเี ลยี ถกู ห้มุ ดว้ ยเยื่อหมุ้ เซลล์สัตว์ เซลลพ์ ชื เซลลส์ าหรา่ ย แบคทเี รยี (ยูแบคทเี รยี และ เซลลโ์ ปรโตซัว และเซลล์รา อารเ์ คียแบคทเี รยี ) โดย นางสาวณัฐธนัญา บญุ ถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook