Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรโรงเรียนบ้านยวนโปะ ปี 65 เล่มหลักสูตร

หลักสูตรโรงเรียนบ้านยวนโปะ ปี 65 เล่มหลักสูตร

Published by Amara Petai, 2022-05-21 10:15:15

Description: หลักสูตรโรงเรียนบ้านยวนโปะ ปี 65 เล่มหลักสูตร

Search

Read the Text Version

๑๐๑ กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น โครงสรางและอตั ราเวลาการจดั กจิ กรรม ระดบั ประถมศึกษา ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ๑. กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๒. กิจกรรมนักเรยี น ๒.๑ ลูกเสือ-เนตรนารี ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๒.๒ กจิ กรรมชุมนุม ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๓. กิจกรรมเพอ่ื สังคม ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ และสาธารณประโยชน เวลาเรยี นรวม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑. กิจกรรมแนะแนว วตั ถุประสงค ๑. เพื่อผูเรยี นคนพบความถนัด ความสามารถ ความสนใจของตนเอง รกั ละเหน็ คณุ คาในตนเองและผอู นื่ ๒. เพ่ือใหผเู รียนแสวงหาความรูจากขอมูล ขาวสาร แหลงเรียนรู ท้ังดานการศึกษา อาชีพสว นตัว สังคม เพ่ือนำไปใชในการวางแผน เลือกแนวทางการศึกษาอาชีพไดอยางเหมาะสมสอดคลองกับศักยภาพ ของตนเอง ๓. เพ่ือใหผ ูเรยี นไดพัฒนาบคุ ลิกภาพ และรบั ตวั อยใู นสังคมไดอยา งมคี วามสุข ๔. เพ่ือใหผ เู รยี นมคี วามรู มที ักษะ มคี วามคดิ สรางสรรค ในงานอาชีพและมีเจตคตทิ ดี่ ีตออาชีพสจุ ริต ๕. เพ่ือใหผ ูเรยี นมีคา นยิ มทดี่ ีงามในการดำเนินชวี ิต สรางเสรมิ วนิ ยั คณุ ธรรมและจริยธรรมแกนักเรยี น ๖. เพือ่ ใหผ เู รยี นมจี ติ สำนกึ ในการรบั ผิดชอบตอตนเอง ครอบครัว สังคม และประเทศชาติ แนวการจัดกิจกรรม โรงเรียนบานยวนโปะ ไดจัดกิจกรรมแนะแนวเพ่ือชวยเหลือและพัฒนาผูเรียน ดังน้ี ๑. จัดกิจกรรมเพ่ือใหครูไดรูจักและชวยเหลือผูเรียนมากข้ึน โดยใชกระบวนการทางจิตวิทยา การ จัดบริการสนเทศ โดยใหมีเอกสารเพื่อใชในการสำรวจขอมูลเกี่ยวกับตัวผูเรียน ดวยการสังเกต สัมภาษณ การใชแบบสอบถาม การเขียนประวัติ การพบผูปกครองกอนและระหวางเรียน การเยี่ยม บานนักเรียน การใหความชวยเหลือผูเรียนเรื่องสุขภาพจิต เศรษฐกิจ การจัดทำระเบียนสะสม สมุด รายงานประจำตัวนกั เรียน และบตั รสขุ ภาพ ๒. การจัดกิจกรรมพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ โดยทำแบบทดสอบเพื่อรูจักและเขาใจตนเอง มีทักษะ ในการตัดสินใจ การปรบั ตวั การวางแผนเพอื่ เลอื กศกึ ษาตอ เลอื กอาชีพ ๓. การจัดบริการใหคำปรึกษาแกผูเรียนรายบุคคล และรายกลุม ในดานการศึกษา อาชีพ และสวนตัว โดยมีผูใหคำปรึกษาท่ีมีคุณวุฒิ และมีความเชี่ยวชาญในเรื่องการใหคำปรึกษา ตลอดจนมีหองให คำปรึกษาทเี่ หมาะสม ๓.๑ ชว ยเหลือผูเรียนทป่ี ระสบปญ หาดานการเงิน โดยการใหท นุ การศกึ ษาแกผเู รยี น ๓.๒ ตดิ ตามเกบ็ ขอมลู ของนักเรยี นท่สี ำเร็จการศกึ ษา หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๐๒ ๒. กิจกรรมนกั เรยี น ๑. กจิ กรรมลูกเสือ กิจกรรมลกู เสอื - เนตรนารี ผูเ รยี นในระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๑-๖ ทุกคน ไดฝ กอบรมวิชาลูกเสือ - เนตรนารี เพอ่ื สงเสริมหลักการ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยเ ปนประมุข สง เสริมความสามัคคี มวี ินยั และบำเพ็ญประโยชน ตอ สงั คม โดยดำเนินการจัดกิจกรรมตามขอ กำหนดของคณะกรรมการลูกเสือแหง ชาติ วตั ถปุ ระสงค พระราชบญั ญัตลิ ูกเสอื พทุ ธศักราช๒๕๕๑ มาตรา ๘ ไดกำหนดวตั ถปุ ระสงคข องการฝก อบรม เพอ่ื พฒั นา ลูกเสือทั้งทางกาย สติปญญา จิตใจ และศีลธรรมใหเปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ และชวยสรางสรรคสังคม เพ่ือใหเกิดความสามัคคี และความเจริญกาวหนา ทั้งน้ีเพ่ือความสงบสุข และความมั่งคงของประเทศชาติตาม แนวทางดงั ตอไปน้ี ๑. ใหมนี ิสยั ในการสังเกต จดจำ เช่ือฟง และพึ่งตนเอง ๒. ใหม คี วามซอ่ื สตั ยส ุจรติ มีระเบียบวนิ ัย และเหน็ อกเห็นใจผอู น่ื ๓. ใหรูจ กั บำเพ็ญตนเพ่อื สาธารณประโยชน ๔. ใหร จู ักทำการฝมือและฝกฝนการทำกิจกรรมตา งๆตามความเหมาะสม ๕. ใหร จู ักรกั ษาและสง เสรมิ จารตี ประเพณี วฒั นธรรม และความม่ังคงชองชาติ แนวการจัดกิจกรรม กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๑-๓ เปดประชุมกอง ดำเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมใหศึกษาวิเคราะห วางแผน ปฏิบัติกิจกรรมตามมาตรฐาน โดยเนนระบบหมู สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม ปดประชุมกอง โดยใหผูเรียนศึกษา และฝก ปฏิบตั ดิ ังนี้ ๑. เตรียมลูกเสือสำรอง นิยายเร่ือเมาคลี ประวัติการเร่ิมกิจกรรมลูกเสือสำรอง การทำความ เคารพเปนหมู (แกรนดฮาวล) การทำความเคารพเปนรายบุคคล การจับมือซาย ระเบียบ แถวเบ้ืองตน คำปฏญิ าณ กฎ และคติพจนของลูกเสือสำรอง ๒. ลูกเสือสำรองดาวดวงท่ี ๑ , ๒ และ ๓ อนามัย ความสามารถเชิงทักษะ การสำรวจ การ คนหาธรรมชาติ ความปลอดภัย บริการ ธง และประเทศตางๆ การฝมือ กิจกรรมกลางแจง การบันเทิง การผูกเง่ือน คำปฏิญาณ และกฎของลูกเสือสำรองโดยใชกระบวนการทำงาน กระบวนการแกปญหา กระบวนการกลุม กระบวนการจัดการ กระบวนการคิดริเริ่ม สรางสรรค กระบวนการฝกปฏิบัติ ทางลูกเสือ กระบวนการทางเทคโนโลยี และภูมิปญญา ทองถ่ินไดอ ยางเหมาะสม เพือ่ ใหม ีความรู ความเขาใจในกิจกรรมลูกเสอื สามารถปฏิบัตติ ามคำปฏญิ าณ กฎ และคตพิ จนข องลกู เสือ สำรอง มีนิสัยในการสังเกต จดจำ เช่ือฟง และพ่ึงตนเอง ซ่ือสัตย สุจริต มีระเบียบวินัย และเห็นอกเห็นใจผูอื่น บำเพ็ญตนเพื่อสาธารณประโยชน รูจักทำการฝมือ พัฒนากาย จิตใจ และศีลธรรม ทั้งน้ีโดยไมเกี่ยวของกับลัทธิ ทางการเมอื งใดๆ สนใจและอนรุ กั ษธ รรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม นำไปใชใ นชวี ิตประจำวันไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๐๓ กจิ กรรมลกู เสอื - เนตรนารี ช้ันประถมศึกษาปท ่ี ๔-๖ เปดประชุมกอง ดำเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมใหศึกษา วิเคราะห วางแผน ปฏิบัติกิจกรรมตามมาตรฐาน โดยเนนระบบหมู สรุปการปฏิบัติกิจกรรม ปดประชุมกอง โดยใหผูเรียนศึกษาและ ปฏบิ ัตใิ นเรอ่ื ง ๑. ลูกเสือตรี ความรเู ก่ียวกับขบวนการลกู เสือ คำปฏญิ าณและกฎของลูกเสือสามัญ กจิ กรรมกลางแจง ระเบยี บแถว ๒. ลูกเสือโท การรูจักดูแลตนเอง การชวยเหลือผูอื่น การเดินทางไปยังสถานที่ตางๆ ทักษะทางวิชา ลกู เสอื งานอดิเรกและเรอ่ื ทีน่ าสนใจ คำปฏิญาณ และกฎของลูกเสือ ระเบียบแถว ๓. ลูกเสือเอก การพ่ึงพาตนเอง การบริการ การผจญภัย วิชาการของลูกเสือ ระเบียบแถว โดยใช กระบวนการทำงาน กระบวนการแกป ญหา กระบวนการกลุม กระบวนการจัดการ กระบวนการคิด ริเริ่ม สรางสรรค กระบวนการฝกปฏิบัติทางลูกเสือ กระบวนการทางเทคโนโลยี และภูมิปญญา ทอ งถิน่ ไดอยา งเหมาะสม เพ่ือใหม ีความรูความเขาใจในกิจกรรมลูกเสือ สามารถปฏิบัติตามคำปฏิญาณ กฎ และคติพจนของลูกเสือ สามัญ มีนิสัยในการสังเกต จดจำ เชื่อฟง และพึ่งตนเอง ซื่อสัตย สุจริต มีระเบียบวินัย และเห็นอกเห็นใจผูอ่ืน บำเพ็ญตนเพ่ือสารธารณประโยชน รูจักทำการฝมือ พัฒนากาย จิตใจ และศีลธรรม ท้ังน้ีโดยไมเกี่ยวของกับลัทธิ ทางการเมืองใดๆ สนใจและอนุรักษธรรมชาติและส่ิงแวดลอม และนำไปใชในชีวิตประจำวันไดอยางมี ประสทิ ธภิ าพ หมายเหตุ ผูเรียนไดปฏิบัติกิจกรรม และผานการทดสอบแลว จะไดรับเคร่ืองหมายลูกเสือตรี ลูกเสือโท และลกู เสือเอก ๒. กจิ กรรมชุมนุม วตั ถปุ ระสงค ๑. เพ่อื ใหผเู รยี นไดปฏิบตั ิกิจกรรมตามความสนใจ ความถนัด และความตอ งการของตน ๒. เพ่ือใหผูเรียนไดพัฒนาความรู ความสามารถดานการคิดวิเคราะห สังเคราะห ใหเกิด ประสบการณท้ังทางวชิ าการและวิชาชพี ตามศักยภาพ ๓. เพ่อื สงเสริมใหผ เู รยี นใชเวลาใหเ กิดประโยชนต อตนเองและสวนรวม ๔. เพ่อื ใหผูเรยี นทำงานรวมกบั ผอู ่ืน ไดตามวิถีประชาธปิ ไตย แนวการจัดกิจกรรม การจดั กจิ กรรมตามความสนใจ (ชมุ นมุ ) ผูเรียนสามารถเลือกเขาเปน สมาชกิ ชมรม วางแผนการดำเนิน กจิ กรรมรว มกนั โดยมีชมรมท่หี ลากหลาย เหมาะสมกับเพศ วัย และความสนใจของผูเรียน ประกอบดวยกจิ กรรม ดานคุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม อนุรักษส่ิงแวดลอม สงเสริมประชาธิปไตย สงเสริมการเรียนรู และคาย วชิ าการ การศึกษาดงู าน การฝกปฏิบตั ิ การบรรยายพเิ ศษดงั ตัวอยางพอสังเขปตอไปน้ี ๑. กจิ กรรมพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ ศลี ธรรมและจรยิ ธรรม จดั สอนจรยิ ธรรมในหองเรียน จดั ให มีการปฏบิ ัติกจิ กรรมเนื่องในวนั สำคัญท้ังทางชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย โดยผูเ รียนมสี วนรวม ในการจดั กิจกรรมท้ังในดานวฒั นธรรม ประเพณี กฬี า และศีลปะ ๒. กจิ กรรมพัฒนาทักษะชวี ิต จัดกิจกรรมแขงขันกีฬาสที ุกชวงชัน้ โดยผูเรียนไดฝกทักษะการทำงาน และการแกป ญหาทกุ ขน้ั ตอน หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๐๔ ๓. กจิ กรรมสงเสริมนิสัยรักการทำงาน จัดกิจกรรมวันวิชาการโดยผูเรยี นมโี อกาสปฏิบัติจริง และฝก ทักษะการจัดการ ๔. กิจกรรมเพื่ออนุรักษส่ิงแวดลอมและวัฒนธรรม โดยจัดกิจกรรมสืบสานวัฒนธรรมไทย เชน ประเพณไี หวค รู ประเพณีลอยกระทง ๕. กจิ กรรมสง เสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย จัดใหมีการเลอื กคณะกรรมการนักเรียน โดย ใหน ำกระบวนการประชาธิปไตยไปใชใ นการรวมวางแผนดำเนินงานพฒั นาโรงเรยี น ๖. กิจกรรมคนดีของสังคม จัดใหมีการบรรยายใหความรู เพ่ือปองกันปญหาโรคติดตอรายแรง ปญ หายาเสพตดิ ปญ หาวยั รุน ใหค วามรูเ พอื่ ปลกู ฝงใหเ ปนสุภาพบรุ ษุ สุภาพสตรี ๗. กิจกรรมสงเสริมการเรียนรู โดยจัดแหลงเรียนรู ไดแก หองสมุด หองปฏิบัติการทางภาษา หอ งปฏิบตั กิ ารทางวิทยาศาสตร หอ งเทคโนโลยีสารสนเทศ ๘. กิจกรรมสงเสริมสุขภาพและอนามัย ใหบริการหองพยาบาล มีบริการใหความรูแกผูเรียน เพื่อ ปองกันโรคระบาดอยางทนั เหตกุ ารณ ๓. กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน วัตถปุ ระสงค ๑. เพอ่ื ใหผ ูเรยี นบำเพญ็ ตนใหเ ปน ประโยชนตอ ครอบครวั โรงเรียน ชมุ ชน และประเทศชาติ ๒. เพ่ือใหผูเรียนออกแบบกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารประโยชนอยางสรางสรรคตามความถนัด และความสนใจในลกั ษณะอาสาสมคั ร ๓. เพื่อใหผูเรียนพัฒนาศักยภาพในการจัดกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนไดอยางมี ประสทิ ธภิ าพ ๔. เพ่ือใหผูเรียนปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนจนเกิดคุณธรรม จริยธรรมตาม คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค ๕. เพอ่ื ใหผูเรยี นมจี ิตสาธารณะและใชเ วลาวา งใหเกดิ ประโยชน แนวการจดั กจิ กรรม การจดั กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน เปนกจิ กรรมท่สี ง เสรมิ ใหผเู รียนไดทำประโยชนตาม ความสามารถ ความถนัดและความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพ่ือแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความ เสียสละตอสังคม มีจิตใจมุงทำประโยชนตอครอบครัว ชุมชนและสังคมกิจกรรมสำคัญ ไดแก กิจกรรมบำเพ็ญ ประโยชน กิจกรรมสรางสรรคสังคม กิจกรรมดำรงรักษา สืบสาน ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม กิจกรรมพัฒนา นวัตกรรมและเทคโนโลยี เว ล า เรี ย น ส ำ ห รั บ กิ จ ก ร ร ม เพ่ื อ สั ง ค ม แ ล ะ ส า ธ า ร ณ ป ร ะ โย ช น ใน ส ว น กิ จ ก ร ร ม เพ่ื อ สั ง ค ม แ ล ะ สาธารณประโยชน จดั สรรเวลาใหผ เู รยี นระดบั ประถมศกึ ษาปท่ี ๑-๖ รวม ๖ ป จำนวน ๖๐ ช่วั โมง(เฉลี่ยปละ ๑๐ ชัว่ โมง) การจดั กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน ในระดับประถมศกึ ษาปท่ี ๑-๖ เปนการจดั กิจกรรม ภายในเวลาเรียน โดยใหผูเรียนรายงานแสดงกรเขารวมกิจกรรมลงในสมุดบันทึก และมีผูรับรองผลการเขารวม กจิ กรรมทกุ ครง้ั หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๐๕ แนวทางการประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู รียน โรงเรียนบานยวนโปะ กำหนดแนวทางในการประเมินกิจกรรมพฒั นาผูเรียนดังน้ี ๑. การประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผูเรยี นรายกจิ กรรม มแี นวทางปฏบิ ัติดงั น้ี ๑.๑ การตรวจสอบเวลาเขารวมกิจกรรมของผูเรียน ไมนอยกวารอยละ ๘๐ ของเวลาเรียนตลอดป การศกึ ษา ๑.๒ ประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน/ชิ้นงานของผูเรียน ผูเรียน ตองไดรบั การประเมินทุกผลการเรียนรู และผานทุกผลการเรียนรู โดยแตละผลการเรียนรูผานไมนอยกลารอยละ ๕๐ หรอื มคี ุณภาพในระดับ ๑ ข้ึนไป ๑.๓ ผูเรียนมีเวลาเขารวมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรมและผลงาน/ช้ินงานของผูเรียนตามเกณฑ ขอ ๑.๑ และขอ ๑.๒ ถือวาผูเรียนมีผลการเรียน “ผ” ผานการประเมินกิจกรรมและนำผลการประเมนิ ไปบันทึก ในระเบยี นแสดงผลการเรยี น ๑.๔ ผูเรียนมีเวลาเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเ รียน การปฏิบตั ิกจิ กรรมและผลงานไมเปนไปตามเกณฑ ขอ ๑.๑ และขอ ๑.๒ ถือวาผูเรียนมีผลการเรียน “มผ” โรงเรียนตองจัดซอมเสริมใหผูเรียนทำกิจกรรมในสวนท่ี ผูเรียนไมไดเขารวมหรือไมไดทำจนครบถวน แลวจึงเปลี่ยนผลการเรียนจาก “มผ” เปน “ผ” และนำผลการ ประเมนิ ไปบันทกึ ในระเบยี นแสดงผลการเรียน ๒. การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผูเรยี นเพื่อการตดั สนิ มีแนวปฏบิ ตั ิดงั นี้ ๒.๑ กำหนดใหผูรับผิดชอบในการรวบรวมขอมูลเก่ียวกับการรวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนของผูเรียน ทุกคนตลอดระดบั การศกึ ษา ๒.๒ ผรู ับผิดชอบสรปุ และตดั สินการรวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนของผูเรียนเปนรายบุคคลตามเกณฑ ท่โี รงเรียนกำหนด ผูเรียนจะตอ งผานกิจกรรม ๓ กิจกรรมสำคญั ดงั น้ี ๒.๒.๑ กจิ กรรมแนะแนว ๒.๒.๒ กิจกรรมนักเรยี น ไดแก ๑. กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี ๒. กจิ กรรมชุมนมุ ๒.๒.๓ กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน ๒.๓ การนำเสนอผลการประเมนิ ตอ คณะกรรมการกลุมสาระการเรยี นรแู ละกิจกรรมพัฒนาผูเรยี น ๒.๔ เสนอผูบรหิ ารโรงเรียนพิจารณาอนุมัติผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียนผานเกณฑการจบ แตล ะระดบั การศกึ ษา หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๐๖ อธิบายรายวิชา กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๐๗ กิจกรรมพัฒนาผูเรียน คำอธบิ ายรายวิชากจิ กรรมพัฒนาผเู รียน กจิ กรรมแนะแนว ชั้นประถมศกึ ษาปท ี ๑ - ๖ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง/ป ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. รูจักและเขาใจตนเอง รักและเห็นคุณคาในตนเองและผูอื่น มีวุฒิภาวะทางอารมณ มีเจตคติท่ีดีตอการมี ชวี ิตทีด่ มี ีคณุ ภาพ มที ักษะในการดำเนินชีวิต สามารถปรับตัวใหดำรงชวี ิตอยูในสังคมไดอ ยางมีความสุข รูจ ักตนเอง ในทุกดาน รูความถนัด ความสนใจ และบุคลิกภาพของตนเอง รูและเขาใจโลกของงานอาชีพอยางหลากหลาย มี เจตคติที่ดีตออาชีพสุจรติ รูขอมูลอาชีพ สามารถเลือกตนแนวทางในการประกอบอาชีพไดอยางเหมาะสม มีการ เตรียมตัวสูอาชีพ สามารถวางแผนเพ่ือประกอบอาชีพตามท่ีตนเองมีความถนัดและสนใจ มีคุณลักษณะพ้ืนฐานที่ จำเปนในการประกอบอาชีพและพัฒนางานใหประสบความสำเร็จเพื่อสรางฐานะทางเศรษฐกิจใหกับตนเอง ครอบครัว ชมุ ชนและประเทศชาติ พฒั นาตนเองในดานการเรียนอยา งเต็มศักยภาพ รูจักแสวงหาความรูใฝรูใฝเรียนใหเปน คนดมี ีความรแู ละ ทักษะทางวิชาการ รูจักแสวงหาและใชขอมูลประกอบการวางแผนการเรียนหรือการศึกษาตอไดอยางมี ประสิทธิภาพ มีวิธีการเรียนรู มีทักษะการคิด แกปญหาอยางสรางสรรค คิดเปน ทำเปน มีคุณธรรม จริยธรรม เออื้ อาทรและสมานฉันท เพ่ือดำรงชวี ติ อยรู วมกันอยางสงบสขุ ตามวถิ ชี ีวติ เศรษฐกิจพอเพยี ง เพ่ือใหผูเรียนเกิดการเรียนรู รูจัก เขาใจ รักและเห็นคุณคาในตนเองและผูอื่น เกิดการเรยี นรูสามารถวาง แผนการเรียนรู อาชีพ รวมท้ังการดำเนินชีวิตและมีทักษะทางสังคม เกิดการเรียนรูสามารถปรับตัวไดอยาง เหมาะสม อยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข พึ่งตนเองไดมีทักษะในการเลือกแนวทางการศึกษา การงานและ อาชีพ ชวี ิตและสังคม มีสขุ ภาพจิตท่ีดีและจิตสำนึกในการทำประโยชนตอครอบครัว สังคมและประเทศชาติตาม หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ผลการเรยี นรู ๑. เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรู รูจกั เขา ใจ รัก และเหน็ คณุ คาในตนเองและผูอื่น ๒. เพอื่ ใหผ ูเ รยี นเกิดการเรยี นรู สามารถวางแผนการเรยี น การศกึ ษาตอ อาชีพ รวมท้ังการดำเนนิ ชีวติ และมที ักษะทางสังคม ๓. เพือ่ ใหผูเรียนเกดิ การเรียนรู สามารถปรบั ตวั ไดอยางเหมาะสม และอยรู วมกับผูอน่ื ไดอยาง เหมาะสม ๔. สามารถประยุกตใ ชห ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงได รวม ๔ ผลการเรยี นรู หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๐๘ คำอธิบายรายวิชากิจกรรมพัฒนาผเู รียน กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น กจิ กรรมนกั เรียน (เตรยี มลูกเสือสำรองและลูกเสอื สำรองดาวดวงที่ ๑) ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๑ เวลา ๓๐ ชวั่ โมง/ป ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. เปดประชุมกอง ดำเนินการตามกระบวนการของลูกเสือและจัดกิจกรรมโดยใหศึกษา วิเคราะห วางแผน ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู โดยเนนระบบหมูและปฏิบตั ิกิจกรรมตามคำปฏิญาณและกฎของลูกเสือสำรอง เรยี นรูจากการคิดและปฏิบัตจิ ริงใชสัญลักษณสมาชกิ ลกู เสือสำรองทม่ี คี วามเปนเอกลักษณร ว มกนั ศึกษาธรรมชาติ ในชุมชนดวยความสนใจ ใฝรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม ปดประชุมกอง ในเรอ่ื งตอ ไปนี้ ๑. เตรียมลูกเสือสำรอง นิยายเมาคลี ประวัติการเร่ิมกิจการลูกเสือ การทำความเคารพหมู (แกรนดฮาวล) การทำความเคารพเปนรายบุคคล การจับมือซาย ระเบียบแถว เบื้องตน คำ ปฏญิ าณ กฎและคตพิ จนข องลูกเสอื สำรอง ๒. ลกู เสือสำรองดาวดวงที่ ๑ อนามัย ความสามารถเชิงทกั ษะ การสำรวจ การคนหาธรรมชาติ ความ ปลอดภัย บริการ ธงและประเทศตาง ๆ การฝมือ กิจกรรมกลางแจง การบันเทิง การผูกเงื่อน คำ ปฏญิ าณและกฎของลูกเสือสำรอง เพ่ือใหมีความรู ความเขาใจในกิจกรรมลูกเสือสำรองดาวดวงท่ี ๑ สามารถปฏิบัติตามคำปฏิญาณ กฎ และคติพจนของลูกเสือสำรอง มีนิสัยในการสังเกต จดจำ เชื่อฟงและพ่ึงตนเอง มีความซื่อสัตย สุจริต มีระเบียบ วินัย และเห็นอกเห็นใจผูอ่ืน รูจักบำเพ็ญตนเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน รูจักทำการฝมือและฝกฝนทำ กิจกรรมตาง ๆ ตามความเหมาะสม รักษาและสงเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรมและความม่ันคงของชาติ และ สามารถประยกุ ตใ ชหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผลการเรยี นรู ๑. มนี ิสัยในการสังเกต จดจำ เชื่อฟง และพ่ึงพาตนเองได ๒. มคี วามซื่อสัตย สจุ ริต มีระเบียบวินยั และเห็นอกเห็นใจผูอ่ืน ๓. บำเพ็ญตนเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน ๔. ทำการฝมือและฝกฝนการทำกจิ กรรมตา ง ๆ ตามความเหมาะสม ๕. รักษาและสงเสริมจารตี ประเพณี วัฒนธรรมประเพณี ภูมปิ ญญาทองถนิ่ และ ความมั่นคง ๖. อนรุ ักษทรพั ยากรธรรมชาติ สิง่ แวดลอมและลดภาวะโลกรอ น ๗. สามารถประยุกตใ ชห ลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได รวม ๗ ผลการเรียนรู หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๐๙ คำอธบิ ายรายวิชากจิ กรรมพัฒนาผูเ รียน กิจกรรมพัฒนาผเู รียน กจิ กรรมนกั เรยี น (ลกู เสอื สำรองดาวดวงท่ี ๒) ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๒ เวลา ๓๐ ชั่วโมง/ป ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. เปดประชุมกอง ดำเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมใหศึกษา วิเคราะห วางแผน ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตามฐานการเรียนรู โดยเนนระบบหมู และปฏิบัติตามคำปฏญิ าณ คตพิ จนและกฎของลูกเสือสำรอง ศึกษาเรียนรูจากการคิดและปฏิบัติจริงใชสัญลักษณสมาชิกลูกเสือสำรองท่ีมีความเปนเอกลักษณรวมกัน ศึกษา ธรรมชาติในชุมชนดวยความสนใจใฝร ูต ามวิถเี ศรษฐกิจพอเพียง สรุปผลและปฏิบตั กิ ิจกรรม ปด ประชุมกองในเรื่อง ตอไปน้ี ลูกเสือสำรองดาวดวงท่ี ๒ นิยายเมาคลี ประวัติการเร่ิมกิจการลูกเสือ การทำความเคารพหมู (แกรนฮาวล) การทำความเคารพเปนรายบุคคล การจับมือซาย ระเบียบแถว คำปฏิญาณ กฎ และคติพจนของ ลูกเสือสำรอง อนามัย ความสามารถเชิงทักษะ การสำรวจ การคนหาธรรมชาติการอนุรักษทรัพยากรในชุมชน ทองถ่ิน ความปลอดภัย บริการ การผูกเง่ือน ธง และประเทศตางๆ การฝมือที่ใชวัสดุเหลือใชในทองถิ่น กิจกรรม กลางแจง การบันเทิงที่สงเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตและอนุรักษภูมิปญญาทองถิ่น อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ มลดภาวะโลกรอ น เพอื่ ใหมีความรู ความเขาใจในกิจกรรมลูกเสอื สำรองดาวดวงท่ี ๒ สามารถปฏิบัติตามคำปฏิญาณ กฎและ คติพจนของลูกเสือสำรอง มีนิสัยในการสังเกต จดจำ เชื่อฟงและพึ่งตนเอง มีความซื่อสัตยสุจริต มีระเบียบวินัย และเห็นอกเห็นใจ รูจักบำเพ็ญเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน รูจักทำการฝมือและฝกฝนทำกิจกรรมตาง ๆ ตามความเหมาะสม รักษาและสงเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดลอ ม ความมั่นคงของชาติ และสามารถประยกุ ตใชห ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผลการเรียนรู 1. มนี ิสัยในการสงั เกต จดจำ เชอ่ื ฟง และพ่ึงตนเองได 2. มีความซื่อสตั ย สุจริต มรี ะเบียบวนิ ยั และเห็นอกเห็นใจผูอ นื่ 3. บำเพ็ญตนเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน 4. ทำการฝม ือและฝกฝนทำกจิ กรรมตา ง ๆ ตามความเหมาะสม 5. รักษาและสงเสริมจารีตประเพณี วฒั นธรรม ภูมิปญ ญาทองถน่ิ และความมัน่ คงของชาติ 6. อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ ม ลดภาวะโลกรอน สามารถประยุกตใ ชหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงได รวม ๖ ผลการเรียนรู หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๑๐ คำอธิบายรายวชิ ากจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น กจิ กรรมพฒั นาผูเรยี น กิจกรรมนกั เรียน (ลูกเสอื สำรองดาวดวงที่ ๓) ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๓ เวลา ๓๐ ช่ัวโมง/ป ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. เปดประชุมกอง ดำเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมใหศึกษา วิเคราะห วางแผน ปฏบิ ัติกจิ กรรมตามฐานการเรยี นรู โดยเนน ระบบหมู และปฏบิ ัติตามคำปฏิญาณ คติพจนและกฎของลูกเสอื สำรอง ศึกษาเรียนรูจากการคิดและปฏิบัติจริงใชสัญลักษณสมาชิกลูกเสือสำรองท่ีมีความเปนเอกลักษณรวมกัน ศึกษา ธรรมชาติในชุมชนดว ยความสนใจใฝรูตามวิถเี ศรษฐกิจพอเพียง สรุปผลและปฏิบตั กิ ิจกรรม ปดประชุมกองในเรอ่ื ง ตอไปน้ี ลูกเสือสำรองดาวดวงท่ี ๓ นิยายเมาคลี ประวัติการเร่ิมกิจการลูกเสือ การทำความเคารพหมู (แกรนฮาวล) การทำความเคารพเปนรายบุคคล การจับมือซาย ระเบียบแถว คำปฏิญาณ กฎ และคติพจนของ ลูกเสือสำรอง อนามัย ความสามารถเชิงทักษะ การสำรวจ การคนหาธรรมชาติการอนุรักษทรัพยากรในชุมชน ทอ งถิ่น ความปลอดภัย บริการ การผูกเง่ือน ธง และประเทศตาง ๆ การฝมือท่ีใชว ัสดุเหลือใชในทองถ่ิน กิจกรรม กลางแจง การบันเทิงที่สงเสริมสุขภาพกายสุขภาพจิตและอนุรักษภูมิปญญาทองถิ่น อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดลอมลดภาวะโลกรอ น เพื่อใหมคี วามรู ความเขา ใจในกิจกรรมลูกเสือสำรองดาวดวงท่ี ๓ สามารถปฏิบัติตามคำปฏญิ าณ กฎและ คติพจนของลูกเสือสำรอง มีนิสัยในการสังเกต จดจำ เชื่อฟงและพ่ึงตนเอง มีความซื่อสัตยสุจริต มีระเบียบวินัย และเห็นอกเห็นใจ รูจักบำเพ็ญเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน รูจักทำการฝมือและฝกฝนทำกิจกรรมตาง ๆ ตามความเหมาะสม รักษาและสงเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ ม ความมนั่ คงของชาติ และสามารถประยกุ ตใ ชห ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ผลการเรียนรู ๑. มีนิสัยในการสังเกต จดจำ เชือ่ ฟงและพ่ึงตนเองได ๒. มีความซื่อสตั ย สจุ รติ มีระเบียบวินัย และเห็นอกเห็นใจผอู ่ืน ๓. บำเพ็ญตนเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน ๔. ทำการฝมือและฝกฝนทำกิจกรรมตา ง ๆ ตามความเหมาะสม ๕. รักษาและสงเสรมิ จารตี ประเพณี วฒั นธรรม ภูมปิ ญญาทองถ่ินและความมน่ั คงของชาติ ๖. อนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอม ลดภาวะโลกรอน สามารถประยุกตใชห ลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงได รวม ๖ ผลการเรยี นรู หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๑๑ คำอธิบายรายวชิ ากจิ กรรมพัฒนาผูเรยี น กิจกรรมพฒั นาผูเ รียน กจิ กรรมนักเรียน (ลูกเสือสามัญ (ลกู เสือตร)ี ) ช้นั ประถมศึกษาปที่ ๔ เวลา ๓๐ ชัว่ โมง/ป ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. เปดประชุมกอง ดำเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมโดยใหศึกษา วเิ คราะห วางแผน ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู โดยเนนระบบหมู และปฏิบัติกิจกรรมตามคำปฏิญาณ คติพจน และกฎของ ลูกเสือสามัญ เรียนรูจากการคิดและปฏิบัติจริง ใชสัญลักษณสมาชิกลูกเสือสามัญที่มีความเปนเอกลักษณรวมกัน ศึกษาธรรมชาติในชุมชนดวยความสนใจ ใฝรูและมีจิตสำนึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น ลดภาวะโลกรอนและประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความรูเก่ียวกับ กระบวนการลูกเสือ ประวัติของ Load Baden Powell พระราชประวัติสังเขปของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกลาเจาอยูหัว วิวัฒนาการของกระบวนการ ลูกเสือไทยและลูกเสือโลก การทำความเคารพ การแสดงรหัส การ จับมือซาย กิจกรรมกลางแจง ระเบียบแถวทามือเปลา ทามือไมพลวง การใชสัญญามือและนกหวีด การตั้งแถว และการเรียนแถว เพื่อใหม ีความรู ความเขาใจในกจิ กรรมลูกเสือสามญั สามารถปฏิบัตติ ามคำปฏญิ าณ กฎ และคติพจนของ ลูกเสือสามัญ มีนิสัยในการสังเกต จดจำ เช่ือฟง และพึ่งตนเอง มีความซื่อสัตย สุจริต มีระเบียบวินัย และเห็นอก เห็นใจผูอื่น บำเพ็ญตนเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน ทำการฝมือและฝกฝนการทำกิจกรรมตาง ๆ ตามความ เหมาะสม ความถนดั และความสนใจ รักษาและสงเสรมิ จารีตประเพณี วัฒนธรรมและความม่ันคง ประโยชนและ สามารถประยกุ ตใชห ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผลการเรยี นรู 1. มีนิสยั ในการสังเกต จดจำ เช่ือฟง และพง่ึ ตนเองได 2. มีความซ่ือสัตยสุจรติ มรี ะเบียบ วนิ ยั และเหน็ อกเห็นใจผูอ่ืน 3. บำเพ็ญตนเพอ่ื สงเสริมและสาธารณะประโยชน 4. ทำการฝม ือและฝกฝนทำกิจกรรมตา ง ๆ ตามความถนดั และความสนใจ 5. รักษาและสงเสริมจารตี ประเพณี วฒั นธรรม ภมู ิปญญาทองถิ่น และความมั่นคงของชาติ 6. อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ลดภาวะโลกรอน 7. สามารถประยุกตใชหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวม ๗ ผลการเรียนรู หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๑๒ กจิ กรรมพฒั นาผเู รยี น คำอธิบายรายวิชากิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรมนักเรียน ( กิจกรรมลูกเสือสามัญ (ลูกเสอื โท) ) ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี ๕ เวลา ๓๐ ช่วั โมง/ป ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. เปดประชุมกองดำเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมโดยใหศึกษา วิเคราะห วางแผน ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู โดยเนนระบบหมู และปฏิบัติกิจกรรมตามคำปฏิญาณ คติพจนและกฎของ ลูกเสือสามัญ เรียนรูจากคิดและปฏิบัติจริง ใชสัญลักษณสมาชิกลูกเสือสามัญท่ีมีความเปนเอกลักษณรวมกัน ศกึ ษาธรรมชาติในชุมชนดว ยความสนใจ ใฝร ู มีจิตสำนึกในการอนุรกั ษ ทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม ภูมิปญญา ทองถิ่น ลดภาวะโลกรอนและการประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใชทักษะในทางวิชาลูกเสือ การ รจู ักดูแลตนเอง การชวยเหลอื ผอู ่ืน การเดนิ ทางไปยงั สถานทตี่ า ง ๆ ทำงานอดิเรก และเรอื่ งที่สนใจ เพื่อใหม ีความรู ความเขาใจในกจิ กรรมลูกเสือสามญั สามารถปฏิบตั ติ ามคำปฏิญาณ กฎ และคติพจนของ ลูกเสือสามัญ มีนิสัยในการสังเกต จดจำ เช่ือฟง และพ่ึงตนเอง มีความซ่ือสัตย สุจริต มีระเบียบวินัย และเห็นอก เห็นใจผูอื่น บำเพ็ญตนเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน ทำการฝมือและฝกฝนการทำกิจกรรมตาง ๆ ตามความ เหมาะสม ความถนัด และความสนใจ รักษาและสงเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรมและความม่ันคง ประโยชนและ สามารถประยุกตใ ชหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผลการเรยี นรู 1. มีนสิ ัยในการสังเกต จดจำ เชื่อฟงและพงึ่ ตนเองได 2. มคี วามซื่อสัตยสุจรติ มีระเบียบ วินยั และเหน็ อกเห็นใจผูอน่ื 3. บำเพญ็ ตนเพอ่ื สงเสริมและสาธารณะประโยชน 4. ทำการฝมือและฝกฝนทำกจิ กรรมตาง ๆ ตามความถนัดและความสนใจ 5. รักษาและสง เสริมจารีตประเพณี วฒั นธรรม ภูมปิ ญญาทองถ่ิน และความมั่นคงของชาติ 6. อนรุ กั ษทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ ม ลดภาวะโลกรอน 7. สามารถประยุกตใชห ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รวม ๗ ผลการเรยี นรู หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๑๓ คำอธิบายรายวชิ ากิจกรรมพัฒนาผูเ รียน กิจกรรมพฒั นาผูเ รยี น กิจกรรมนกั เรียน ( กจิ กรรมลูกเสอื สามัญ (ลูกเสอื เอก)) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ๖ เวลา ๓๐ ชว่ั โมง/ป ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. เปดประชุมกองดำเนินการตามกระบวนการของลูกเสือ และจัดกิจกรรมโดยใหศึกษา วิเคราะห วางแผน ปฏิบัติกิจกรรมตามฐานการเรียนรู โดยเนนระบบหมู และปฏิบัติตามคำปฏิญาณ คติพจน และกฎของลูกเสือ สามัญ วิชาการของลูกเสือ ระเบียบแถว การพึ่งตนเอง การผจญภัย การใชสัญลักษณ สมาชิกลูกเสือสามัญ ท่ีมี ความเปนเอกลักษณรวมกัน เรียนรูจากการคิดและปฏิบัติจริง ศึกษาธรรมชาติ วัฒนธรรมประเพณี ภูมิปญญา ทองถิ่นดวยความสนใจ ใฝรู และประยุกตใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการปฏิบัติกิจกรรมเพื่อการ อนรุ กั ษทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละลดภาวะโลกรอน เพื่อใหมีความรู ความเขาใจในกิจกรรมลูกเสือสามัญ สามารถปฏิบัติตามคำปฏิญาณ กฎ และคติพจนของ ลูกเสือสามัญ มีนิสัยในการสังเกต จดจำ เช่ือฟง และพ่ึงตนเอง มีความซ่ือสัตย สุจริต มีระเบียบวินัย และเห็นอก เห็นใจผูอื่น บำเพ็ญตนเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน ทำการฝมือและฝกฝนการทำกิจกรรม ตาง ๆ ตามความ เหมาะสม ความถนดั และความสนใจ รักษาและสงเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรมและความมั่นคง ประโยชนและ สามารถประยุกตใชห ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผลการเรยี นรู 1. มนี สิ ยั ในการสังเกต จดจำ เชือ่ ฟงและพึง่ ตนเองได 2. มีความซ่ือสัตยสุจรติ มรี ะเบยี บ วินยั และเหน็ อกเห็นใจผูอืน่ 3. บำเพ็ญตนเพอื่ สงเสริมและสาธารณะประโยชน 4. ทำการฝม ือและฝกฝนทำกจิ กรรมตา ง ๆ ตามความถนัดและความสนใจ 5. รกั ษาและสงเสริมจารีตประเพณี วัฒนธรรม ภูมปิ ญญาทองถ่ิน และความมนั่ คงของชาติ 6. อนรุ กั ษทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ลดภาวะโลกรอน 7. สามารถประยุกตใ ชป รัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง รวม ๗ ผลการเรียนรู หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๑๔ คำอธบิ ายรายวชิ ากจิ กรรมพัฒนาผเู รียน กจิ กรรมพัฒนาผูเรียน กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน ช้ันประถมศกึ ษาปท ี ๑ - ๖ เวลา ๑๐ ชวั่ โมง/ป ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ฝกปฏิบัติกิจกรรมดวยความสมัครใจผานกิจกรรมท่ีหลากหลาย ฝกการทำงานท่ีสอดคลองกับชีวิตจริง ตลอดจนสะทอนความรู ทักษะ และประสบการณ สำรวจและใชขอมูลประกอบการวางแผนอยางเปนระบบ เนน ทักษะการคิดวิเคราะห และใชความคิดสรางสรรค การบริการดานตาง ๆ ท่ีเปนประโยชนตอตนเองและสวนรวม เสริมสรางความมีน้ำใจ เอ้ืออาทร ความเปนพลเมืองดีและความรับผิดชอบตอตนเอง ครอบครัวและสังคม คิด ออกแบบกิจกรรมบำเพ็ญประโยชนในลักษณะอาสาสมัคร จิตอาสา เพื่อแสดงความรับผิดชอบตอสังคมตาม แนวทางวถิ ชี ีวิตเศรษฐกิจพอเพยี ง เพ่ือใหผูเรียนบำเพ็ญตนใหเปนประโยชนตอครอบครัว โรงเรียน ชุมชน สังคมและประเทศชาติ สามารถ ออกแบบการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนอยางสรางสรรคตามความถนัดและความสนใจใน ลักษณะอาสาสมัคร พัฒนาศักยภาพตนเองในการจัดกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนไดอยางมี ประสิทธิภาพเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนจนเกิดคุณธรรม จริยธรรม ตามคุณลักษณะอันพึงประสงค มีจิต สาธารณะและใชเ วลาวา งใหเกิดประโยชน และสามารถประยกุ ตใชห ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได ผลการเรียนรู 1. บำเพญ็ ตนใหเ ปนประโยชนตอครอบครวั โรงเรียน ชุมชน สังคมและประเทศชาติ 2. ออกแบบการจดั กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชนอ ยางสรางสรรค ตามความถนัดและ ความสนใจในลกั ษณะอาสาสมัคร 3. สามารถพัฒนาศกั ยภาพในการจดั กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชนไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ 4. ปฏบิ ตั กิ ิจการเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชนจ นเกดิ คุณธรรม จริยธรรมตามคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค 5. สามารถประยุกตใ ชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได รวม ๕ ผลการเรยี นรู หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๑๕ กิจกรรมพัฒนาผเู รียน คำอธิบายรายวชิ ากิจกรรมพัฒนาผูเรยี นกิจกรรมนกั เรยี น (กิจกรรมชมุ นุม) ชั้นประถมศกึ ษาปที ๑ - ๖ เวลา ๔๐ ชัว่ โมง/ป ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ปฏิบัตกิ ิจกรรมตามความสนใจ ความถนัด และความตองการ เพือ่ พฒั นาความรู ความสามารถดา นการ คดิ วิเคราะห สังเคราะหใหเ กิดประสบการณทัง้ ดานวิชาการ และพ้ืนฐานอาชีพ ทกั ษะชีวติ และสงั คมตามศักยภาพ อยางรอบดาน เพ่ือความเปนมนุษยที่สมบูรณ มีความสามารถในการส่ือสาร มีทักษะการคิด แกปญหา ความสามารถในการใชเทคโนโลยี พัฒนาทักษะในการทำงานและการอยูรวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุข รกั ชาติ ศาสน กษัตริย ซ่ือสัตยสุจรติ มวี ินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงมั่นในการทำงานรักความเปนไทย มีจิต สาธารณะ เพื่อใหผูเรียนไดปฏิบัติกิจกรรมตามความสนใจ ความถนัด และความตองการของตน ไดพัฒนาความรู ความสามารถดานการคิดวิเคราะห สงั เคราะห ใหเกดิ ประสบการณท้ังทักษะทางวิชาการ ทักษะอาชีพ ทักษะชีวิต และสังคมตามศักยภาพ ใชเวลาวางใหเกิดประโยชนตอตนเองและสวนรวม คิดเปน ทำได ทำงานรวมกับผูอ่ืนได ตามวถิ ีประชาธปิ ไตย และประยุกตหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดอยา งเหมาะสม ผลการเรยี นรู 1. ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตามความสนใจ ความถนัดและความตองการของตน 2. มีความรู ความสามารถดา นการคิดวิเคราะห สงั เคราะหใหเกิดประสบการณ ทัง้ ทางวชิ าการและ วิชาชพี ตามศกั ยภาพ 3. ใชเวลาวา งใหเ กดประโยชนต อตนเองและสว นรวม 4. มงุ มน่ั ในการทำงานและทำงานรว มกับผอู ่ืนไดตามวิถีประชาธปิ ไตย 5. ประยกุ ตใชหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไดอยา งเหมาะสม รวม ๕ ผลการเรยี นรู หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๑๖ เกณฑก ารจบการศึกษา หลกั สูตรโรงเรยี นบา นยวนโปะ (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศักราช ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กำหนดเกณฑส ำหรับการจบการศกึ ษา ดังน้ี เกณฑการจบระดับประถมศึกษา ๑. ผูเรียนเรียนรายวชิ าพ้ืนฐาน จำนวน ๘๘๐ ชวั่ โมง และรายวิชาเพิ่มเติมจำนวน ๔๐ ช่ัวโมง และมี ผลการประเมินรายวชิ าพ้นื ฐานผา นทุกรายวชิ า ๒. ผูเ รยี นตองมีผลการประเมนิ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขยี น ระดบั “ผา น” ขึ้นไป ๓. ผเู รยี นมีผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค ระดบั “ผาน” ขึน้ ไป ๔. ผูเรยี นตองเขา รว มกจิ กรรมพัฒนาผูเรยี นและไดร บั การตดั สินผลการเรยี น “ผาน” ทุกกจิ กรรม การจัดการเรียนรู การจัดการเรยี นรูเปนกระบวนการสำคัญในการนำหลักสูตรสูการปฏิบตั ิ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน เปนหลักสูตรท่ีมีมาตรฐานการเรียนรู สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน เปน เปาหมายสำหรบั พฒั นาเดก็ และเยาวชน ในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณสมบัติตามเปาหมายหลักสูตร ผูสอนพยายามคัดสรร กระบวนการเรียนรู จัดการเรียนรูโดยชวยใหผูเรียนเรียนรูผานสาระที่กำหนดไวในหลักสูตร ๘ กลุมสาระการเรียนรู รวมท้ังปลูกฝง เสรมิ สรา งคุณลักษณะอันพึงประสงค พฒั นาทกั ษะตางๆ อนั เปนสมรรถนะสำคญั ใหผเู รียนบรรลุตามเปา หมาย ๑. หลักการจัดการเรยี นรู การจัดการเรียนรูเพ่ือใหผูเรียนมีความรูความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู สมรรถนะสำคัญ และ คุณลักษณะอันพึงประสงคตามที่กำหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยยึดหลักวา ผูเรียนมี ความสำคัญท่ีสุด เช่ือวาทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได ยึดประโยชนท่ีเกิดกับผูเรียน กระบวนการจัดการเรียนรตู องสง เสริมใหผูเรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศกั ยภาพ คำนงึ ถึงความ แตกตางระหวา งบุคคลและพัฒนาการทางสมองเนนใหความสำคัญท้งั ความรู และคณุ ธรรม ๒. กระบวนการเรยี นรู การจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ ผูเรียนจะตองอาศัยกระบวนการเรียนรูท่ีหลากหลาย เปน เครื่องมือท่ีจะนำพาตนเองไปสูเปาหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรูท่ีจำเปนสำหรับผูเรียน อาทิ กระบวนการเรยี นรแู บบบรู ณาการ กระบวนการสรา งความรู กระบวนการคดิ กระบวนการทางสงั คม กระบวนการ เผชิญสถานการณและแกปญหา กระบวนการเรียนรูจากประสบการณจริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทำจริง กระบวนการจดั การ กระบวนการวจิ ยั กระบวนการเรยี นรกู ารเรยี นรขู องตนเอง กระบวนการพฒั นาลักษณะนิสัย กระบวนการเหลานี้เปนแนวทางในการจัดการเรียนรูท่ีผูเรียนควรไดรับการฝกฝน พัฒนา เพราะจะ สามารถชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดดี บรรลุเปาหมายของหลกั สูตร ดังน้นั ผูสอน จึงจำเปนตองศึกษาทำความ เขาใจในกระบวนการเรยี นรตู า ง ๆ เพื่อใหสามารถเลอื กใชใ นการจดั กระบวนการเรยี นรูไดอยา งมีประสิทธภิ าพ หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๑๗ ๓. การออกแบบการจัดการเรยี นรู ผูสอนตองศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาใหเขาใจถึงมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะสำคัญของ ผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค และสาระการเรียนรูท่ีเหมาะสมกับผูเรียน แลวจึงพิจารณาออกแบบการ จัดการเรียนรูโดยเลือกใชวิธีสอนและเทคนิคการสอน ส่ือ/แหลงเรียนรู การวัดและประเมินผล เพื่อใหผูเรียนได พัฒนาเต็มตามศกั ยภาพและบรรลุตามเปาหมายท่ีกำหนด ๔. บทบาทของผสู อนและผูเรียน การจัดการเรียนรูเพ่ือใหผูเรียนมีคุณภาพตามเปาหมายของหลักสูตร ทั้งผูสอนและผูเรียนควรมีบทบาท ดังน้ี ๔.๑ บทบาทของผสู อน ๑) ศึกษาวเิ คราะหผ ูเรียนเปนรายบุคคล แลวนำขอมูลมาใชในการวางแผนการจัดการเรียนรู ท่ี ทา ทายความสามารถของผเู รยี น ๒) กำหนดเปาหมายที่ตองการใหเกิดข้ึนกับผูเรียน ดานความรูและทักษะกระบวนการ ท่ีเปน ความคดิ รวบยอด หลกั การ และความสัมพันธ รวมทัง้ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค ๓) ออกแบบการเรียนรูและจัดการเรียนรูท่ีตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคลและ พัฒนาการทางสมอง เพอ่ื นำผเู รียนไปสูเ ปาหมาย ๔) จัดบรรยากาศท่ีเอื้อตอการเรยี นรู และดแู ลชว ยเหลอื ผูเรยี นใหเ กิดการเรยี นรู ๕) จัดเตรียมและเลือกใชสื่อใหเหมาะสมกับกิจกรรม นำภูมิปญญาทองถิ่น เทคโนโลยีท่ี เหมาะสมมาประยุกตใชในการจัดการเรียนการสอน ๖) ประเมนิ ความกา วหนา ของผเู รียนดว ยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกบั ธรรมชาติของวชิ า และระดบั พัฒนาการของผูเรยี น ๗) วิเคราะหผลการประเมินมาใชในการซอมเสริมและพัฒนาผูเรียน รวมทั้งปรับปรุงการจัดการ เรียนการสอนของตนเอง ๔.๒ บทบาทของผูเรยี น ๑) กำหนดเปา หมาย วางแผน และรบั ผิดชอบการเรยี นรขู องตนเอง ๒) เสาะแสวงหาความรู เขาถึงแหลงการเรียนรู วิเคราะห สังเคราะหขอความรู ต้ังคำถาม คิดหา คำตอบหรือหาแนวทางแกป ญหาดว ยวิธกี ารตางๆ ๓) ลงมือปฏิบตั ิจรงิ สรุปสิง่ ท่ีไดเรียนรดู ว ยตนเอง และนำความรูไปประยกุ ตใ ชใ นสถานการณตา งๆ ๔) มปี ฏสิ มั พนั ธ ทำงาน ทำกิจกรรมรวมกบั กลุมและครู ๕) ประเมนิ และพัฒนากระบวนการเรียนรูของตนเองอยา งตอเน่ือง สื่อการเรยี นรู ส่ือการเรียนรูเปนเครื่องมือสงเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู ใหผูเรียนเขาถึงความรู ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรไดอยางมีประสิทธิภาพ สื่อการเรียนรูมี หลากหลายประเภท ท้ังส่ือธรรมชาติ ส่ือส่ิงพิมพ ส่ือเทคโนโลยี และเครือขา ย การเรยี นรตู างๆ ท่ีมีในทองถ่ิน การ เลอื กใชสือ่ ควรเลอื กใหมคี วามเหมาะสมกบั ระดับพฒั นาการ และลลี าการเรยี นรูท ห่ี ลากหลายของผูเรียน การจัดหาสื่อการเรียนรู ผูเรียนและผูสอนสามารถจัดทำและพัฒนาข้ึนเอง หรือปรับปรุงเลือกใชอยางมี คุณภาพจากส่ือตางๆ ที่มีอยูรอบตัวเพ่ือนำมาใชประกอบในการจัดการเรียนรูที่สามารถสงเสริมและสื่อสารให ผูเรียนเกิดการเรียนรู โดยสถานศึกษาควรจัดใหมีอยางพอเพียง เพ่ือพัฒนาใหผูเรียน เกิดการเรียนรูอยางแทจริง สถานศึกษา เขตพ้นื ท่ีการศึกษา หนวยงานทเ่ี กี่ยวขอ งและผมู ีหนาท่ีจัดการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ควรดำเนินการดังน้ี หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๑๘ ๑. จัดใหมีแหลงการเรียนรู ศูนยสื่อการเรียนรู ระบบสารสนเทศการเรียนรู และเครือขาย การเรียนรูทมี่ ีประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพ่อื การศึกษาคนควา และการแลกเปลี่ยนประสบการณ การเรยี นรู ระหวางสถานศกึ ษา ทอ งถ่นิ ชมุ ชน สังคมโลก ๒. จัดทำและจัดหาสื่อการเรียนรูสำหรับการศึกษาคนควาของผเู รียน เสริมความรูใหผสู อน รวมท้ังจัดหา สิง่ ที่มอี ยูใ นทองถิ่นมาประยกุ ตใ ชเ ปน ส่ือการเรียนรู ๓. เลือกและใชสื่อการเรียนรูที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคลอง กับวิธีการ เรียนรู ธรรมชาตขิ องสาระการเรียนรู และความแตกตางระหวา งบุคคลของผเู รยี น ๔. ประเมนิ คุณภาพของส่ือการเรียนรูท่ีเลือกใชอ ยา งเปน ระบบ ๕. ศกึ ษาคนควา วิจยั เพ่ือพัฒนาสือ่ การเรียนรใู หสอดคลอ งกับกระบวนการเรยี นรูของผูเรียน ๖. จัดใหมีการกำกับ ติดตาม ประเมินคุณ ภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกับส่ือและการใชส่ือ การเรียนรเู ปนระยะๆ และสม่ำเสมอ ในการจดั ทำ การเลือกใช และการประเมนิ คณุ ภาพสื่อการเรยี นรทู ่ีใชในสถานศกึ ษา ควรคำนงึ ถึงหลักการ สำคัญของส่ือการเรียนรู เชน ความสอดคลองกับหลักสูตร วัตถุประสงคการเรียนรู การออกแบบกิจกรรมการ เรียนรู การจัดประสบการณใหผูเรียน เน้ือหามีความถูกตองและทันสมัย ไมกระทบความม่ันคงของชาติ ไมขัดตอ ศลี ธรรม มกี ารใชภ าษาที่ถกู ตอ ง รูปแบบการนำเสนอท่ีเขาใจงาย และนาสนใจ การวัดและประเมินผลการเรียนรู การวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเ รยี นตองอยูบนหลักการพ้ืนฐานสองประการ คือ การประเมินเพ่ือ พัฒนาผูเรียนและเพ่ือตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรูของผูเรียน ใหประสบผลสำเร็จนั้น ผูเรียนจะตองไดรับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพ่ือใหบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู สะทอนสมรรถนะ สำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียนซึ่งเปนเปาหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรูในทุก ระดับไมวาจะเปนระดับช้ันเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา และระดับชาติ การวัดและ ประเมินผลการเรียนรู เปนกระบวนการพัฒนาคุณภาพผูเรียนโดยใชผลการประเมินเปนขอมูลและสารสนเทศที่ แสดงพัฒนาการ ความกาวหนา และความสำเร็จทางการเรียนของผูเรียน ตลอดจนขอมูลท่ีเปนประโยชนตอการ สง เสริมใหผ ูเรียนเกดิ การพฒั นาและเรยี นรอู ยางเต็มตามศักยภาพ การวัดและประเมินผลการเรียนรู แบงออกเปน ๔ ระดับ ไดแก ระดับช้ันเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับ เขตพื้นทกี่ ารศึกษา และระดับชาติ มีรายละเอยี ด ดังน้ี ๑. การประเมินระดับช้ันเรียน เปนการวัดและประเมินผลที่อยูในกระบวนการจัดการเรียนรู ผูสอน ดำเนินการเปนปกติและสม่ำเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใชเทคนิคการประเมินอยางหลากหลาย เชน การ ซกั ถาม การสังเกต การตรวจการบาน การประเมินโครงงาน การประเมินชน้ิ งาน/ ภาระงาน แฟม สะสมงาน การ ใชแบบทดสอบ ฯลฯ โดยผูสอนเปนผูประเมินเองหรือเปดโอกาสใหผูเรียนประเมินตนเอง เพ่ือนประเมินเพื่อน ผปู กครองรว มประเมิน ในกรณที ่ีไมผ านตัวช้ีวดั ใหมกี ารสอนซอมเสริม การประเมินระดับช้ันเรียนเปนการตรวจสอบวา ผูเรียนมีพัฒนาการความกาวหนาในการเรียนรู อัน เปนผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม และมากนอยเพียงใด มีสิ่งท่ีจะตองไดรับการพัฒนา ปรับปรุงและสงเสริมในดา นใด นอกจากนี้ยังเปนขอมูลใหผูสอนใชป รบั ปรงุ การเรียนการสอนของตนดวย ทั้งน้ีโดย สอดคลอ งกบั มาตรฐานการเรียนรแู ละตวั ชว้ี ัด ๒. การประเมินระดบั สถานศึกษา เปนการประเมินทสี่ ถานศึกษาดำเนินการเพือ่ ตัดสนิ ผล การเรียนของ ผูเรียนเปนรายป/รายภาค ผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน คุณลักษณะ อันพึงประสงค และ กิจกรรมพัฒนาผูเรียน นอกจากนี้เพ่ือใหไดขอมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา วาสงผลตอการ หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๑๙ เรียนรูของผูเรียนตามเปาหมายหรือไม ผูเรียนมีจุดพัฒนาในดานใด รวมท้ังสามารถนำผลการเรียนของผูเรียนใน สถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเปนขอมูลและสารสนเทศเพื่อ การปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทำแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจัด การศึกษาตอคณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พน้ื ฐาน ผปู กครองและชมุ ชน ๓. การประเมินระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา เปนการประเมินคุณภาพผูเรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือใชเปนขอมูลพื้นฐานในการพัฒนา คุณภาพการศึกษาของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดำเนินการโดยประเมินคุณภาพ ผลสัมฤทธิ์ของผูเรียนดวยขอสอบมาตรฐานที่จัดทำและดำเนินการโดยเขตพื้นท่ีการศึกษา หรือดวยความรวมมือ กับหนวยงานตนสงั กัด ในการดำเนินการจัดสอบ นอกจากนี้ยังไดจากการตรวจสอบทบทวนขอมลู จากการประเมิน ระดับสถานศกึ ษาในเขตพนื้ ที่การศึกษา ๔. การประเมนิ ระดับชาติ เปน การประเมินคุณภาพผูเรยี นในระดับชาตติ ามมาตรฐานการเรียนรตู าม หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน สถานศึกษาตอ งจัดใหผูเรียนทุกคนทเ่ี รียน ในชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๓ ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๖ เขา รบั การประเมิน ผลจากการประเมนิ ใชเ ปน ขอมูลในการเทยี บเคียงคณุ ภาพการศึกษาใน ระดับตา ง ๆ เพอื่ นำไปใชในการวางแผนยกระดบั คณุ ภาพการจดั การศึกษา ตลอดจนเปน ขอ มลู สนบั สนนุ การ ตดั สนิ ใจในระดับนโยบายของประเทศ ขอมูลการประเมินในระดับตางๆ ขางตน เปนประโยชนตอสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวนพัฒนา คุณภาพผูเรียน ถือเปนภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาท่ีจะตองจัดระบบดูแลชวยเหลือ ปรับปรุงแกไข สงเสริมสนับสนุนเพื่อใหผูเรียนไดพัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพ้ืนฐานความแตกตางระหวางบุคคลท่ีจำแนกตาม สภาพปญหาและความตองการ ไดแก กลุมผูเรียนทั่วไป กลุมผูเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษ กลุมผูเรียนท่ีมี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่ำ กลุมผูเรียนที่มีปญหาดานวินัยและพฤติกรรม กลุมผูเรียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุม ผูเรียนท่ีมีปญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุมพิการทางรา งกายและสติปญญา เปนตน ขอมูลจากการประเมินจึง เปนหัวใจของสถานศึกษาในการดำเนินการชวยเหลือผูเรียนไดทันทวงที ปดโอกาสใหผูเรียนไดรบั การพัฒนาและ ประสบความสำเรจ็ ในการเรียน สถานศึกษาในฐานะผูรับผิดชอบจัดการศึกษา จะตองจัดทำระเบียบวาดวยการวัดและประเมินผลการ เรียนของสถานศึกษาใหสอดคลองและเปนไปตามหลักเกณฑและแนวปฏิบัติที่เปนขอกำหนดของหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน เพ่อื ใหบ ุคลากรที่เกย่ี วขอ งทกุ ฝา ยถือปฏบิ ัตริ ว มกัน เกณฑการวัดและประเมนิ ผลการเรยี น ๑. การตดั สิน การใหร ะดับและการรายงานผลการเรยี น ๑.๑ การตดั สนิ ผลการเรยี น ในการตดั สนิ ผลการเรียนของกลมุ สาระการเรียนรู การอา น คิดวิเคราะหและเขยี น คุณลักษณะ อันพงึ ประสงค และกิจกรรมพัฒนาผูเรียนน้นั ผูส อนตอ งคำนึงถึงการพฒั นาผเู รยี นแตละคนเปนหลัก และตองเกบ็ ขอ มูลของผูเรียนทุกดานอยางสมำ่ เสมอและตอเน่ืองในแตละภาคเรยี น รวมทง้ั สอนซอมเสริมผูเรยี นใหพ ัฒนาจนเตม็ ตามศักยภาพ ระดับประถมศกึ ษา (๑) ผเู รยี นตอ งมีเวลาเรยี นไมนอ ยกวารอยละ ๘๐ ของเวลาเรียนท้งั หมด (๒) ผูเรียนตองไดรับการประเมินทกุ ตวั ชี้วัด และผานตามเกณฑทสี่ ถานศกึ ษากำหนด หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๒๐ (๓) ผูเรยี นตอ งไดร บั การตัดสนิ ผลการเรยี นทกุ รายวิชา (๔) ผูเรยี นตองไดรบั การประเมนิ และมีผลการประเมินผานตามเกณฑท ี่สถานศึกษากำหนด ใน การอาน คิดวเิ คราะห และเขียน คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค และกิจกรรมพฒั นาผเู รียน การพิจารณาเลื่อนช้ัน ถาผูเรียนมีขอบกพรองเพียงเล็กนอย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นวา สามารถพัฒนาและสอนซอมเสริมได ใหอยูในดุลพินจิ ของสถานศึกษาที่จะผอนผันใหเลื่อนชั้นได แตหากผูเรียนไม ผานรายวิชาจำนวนมาก และมีแนวโนมวาจะเปนปญหาตอการเรียนในระดับช้ันท่ีสูงขึ้น สถานศึกษาอาจต้ัง คณะกรรมการพจิ ารณาใหเ รยี นซ้ำชน้ั ได ทัง้ นใี้ หคำนึงถึงวุฒภิ าวะและความรคู วามสามารถของผเู รยี นเปนสำคญั ๑.๒ การใหร ะดับผลการเรยี น ระดับประถมศกึ ษา ในการตัดสินเพ่อื ใหร ะดับผลการเรียนรายวิชา สถานศึกษาสามารถใหระดับผล การเรยี นหรอื ระดับคุณภาพการปฏิบัตขิ องผูเรียน เปนระบบตัวเลข ระบบตวั อักษร ระบบรอยละ และระบบทใ่ี ช คำสำคัญสะทอ นมาตรฐาน การประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงคนั้น ใหระดับผล การ ประเมินเปน ดีเยีย่ ม ดี และผาน การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน จะตองพิจารณาทั้งเวลาการเขารวมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรม และผลงานของผูเ รียน ตามเกณฑท ี่สถานศึกษากำหนด และใหผ ลการเขา รวมกิจกรรมเปนผา น และไมผ าน ๑.๓ การรายงานผลการเรียน การรายงานผลการเรียนเปนการสื่อสารใหผูปกครองและผูเรียนทราบความกาวหนาในการเรียนรู ของผูเรียน ซ่ึงสถานศึกษาตองสรุปผลการประเมินและจัดทำเอกสารรายงานใหผูปกครองทราบเปนระยะๆ หรือ อยา งนอยภาคเรยี นละ ๑ ครง้ั การรายงานผลการเรยี นสามารถรายงานเปน ระดับคณุ ภาพการปฏิบัติของผเู รยี นทส่ี ะทอ นมาตรฐาน การเรียนรกู ลุม สาระการเรยี นรู ๒. เกณฑการจบการศกึ ษา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กำหนดเกณฑกลางสำหรับการจบการศึกษาเปน ๑ ระดับ คือ ระดบั ประถมศึกษา ๒.๑ เกณฑการจบระดบั ประถมศึกษา (๑) ผูเรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพ่ิมเติมตามโครงสรางเวลาเรียนท่ี หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานกำหนด (๒) ผูเรียนตองมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผานเกณฑการประเมินตามท่ีสถานศึกษา กำหนด (๓) ผเู รยี นมผี ลการประเมนิ การอาน คิดวเิ คราะห และเขยี นในระดบั ผานเกณฑการประเมนิ ตามทีส่ ถานศกึ ษากำหนด (๔) ผูเรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคในระดับผานเกณฑการประเมินตามท่ี สถานศกึ ษากำหนด (๕) ผูเรียนเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและมีผลการประเมินผานเกณฑการประเมินตามที่ สถานศึกษากำหนด สำหรับการจบการศึกษาสำหรับกลุมเปาหมายเฉพาะ เชน การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสำหรับผูมี ความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสำหรบั ผูดอยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย ใหคณะกรรมการ ของสถานศึกษา เขตพ้ืนท่ีการศึกษา และผูที่เกย่ี วของ ดำเนินการวดั และประเมินผล การเรียนรูต ามหลักเกณฑใน หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๒๑ แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรูของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสำหรับกลุมเปาหมาย เฉพาะ เอกสารหลกั ฐานการศึกษา เอกสารหลักฐานการศึกษา เปนเอกสารสำคัญที่บันทึกผลการเรียน ขอมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวของกับ พัฒนาการของผูเรยี นในดานตา ง ๆ แบง ออกเปน ๒ ประเภท ดังนี้ ๑. เอกสารหลักฐานการศึกษาทีก่ ระทรวงศกึ ษาธิการกำหนด ๑.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน เปนเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียนของ ผูเรียนตามรายวิชา ผลการประเมนิ การอาน คิดวิเคราะหและเขยี น ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของ สถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียน สถานศึกษาจะตองบันทึกขอมูลและออกเอกสารน้ีให ผเู รยี นเปนรายบคุ คล เมื่อผูเรียนจบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ ๖) ๑.๓ แบบรายงานผูสำเร็จการศึกษา เปนเอกสารอนุมัติการจบหลักสูตรโดยบันทึกรายช่ือและ ขอ มูลของผจู บการศึกษาระดับประถมศกึ ษา (ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๖) ๒. เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาท่สี ถานศึกษากำหนด เปนเอกสารที่สถานศึกษาจัดทำขึ้นเพื่อบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู และขอมูลสำคัญ เก่ียวกับผูเรียน เชน แบบรายงานประจำตวั นักเรียน แบบบันทกึ ผลการเรียนประจำรายวิชา ระเบียนสะสม ใบรับรองผลการเรยี น และ เอกสารอน่ื ๆ ตามวัตถปุ ระสงคข องการนำเอกสารไปใช การเทียบโอนผลการเรียน สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผูเรียนในกรณีตางๆไดแก การยายสถานศึกษา การเปลี่ยน รปู แบบการศึกษา การยายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเขารับการศึกษาตอ การศึกษาจากตา งประเทศ และขอเขาศึกษาตอในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบโอนความรู ทักษะ ประสบการณจากแหลงการเรียนรู อืน่ ๆ เชน สถานประกอบการ สถาบนั ศาสนา สถาบันการฝกอบรมอาชีพ การจดั การศกึ ษาโดยครอบครวั การเทียบโอนผลการเรียนควรดำเนินการในชวงกอนเปดภาคเรียนแรก หรือตนภาคเรียนแรก ที่ สถานศึกษารับผูขอเทียบโอนเปนผูเรียน ทั้งน้ี ผูเรียนท่ีไดรับการเทียบโอนผลการเรียนตองศึกษาตอเนื่องใน สถานศึกษาที่รับเทียบโอนอยางนอย ๑ ภาคเรียน โดยสถานศึกษาท่ีรับผูเรียนจากการเทียบโอนควรกำหนด รายวชิ า/จำนวนหนวยกิตทจี่ ะรบั เทยี บโอนตามความเหมาะสม การพิจารณาการเทยี บโอน สามารถดำเนนิ การได ดังน้ี ๑. พจิ ารณาจากหลกั ฐานการศกึ ษา และเอกสารอน่ื ๆ ท่ีใหข อ มูลแสดงความรู ความสามารถของผเู รียน ๒. พิจารณาจากความรู ความสามารถของผเู รยี นโดยการทดสอบดว ยวิธีการตา งๆ ทั้งภาคความรูและ ภาคปฏิบัติ ๓. พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัติในสภาพจริง การเทียบโอนผลการเรียนใหเปนไปตาม ประกาศ หรือ แนวปฏิบตั ิ ของกระทรวงศึกษาธิการ การบริหารจดั การหลกั สตู ร ในระบบการศึกษาที่มีการกระจายอำนาจใหทองถิ่นและสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนาหลักสูตรนั้น หนว ยงานตางๆ ท่ีเก่ียวของในแตล ะระดับ ต้ังแตระดับชาติ ระดับทองถ่ิน จนถงึ ระดับสถานศึกษา มีบทบาทหนาท่ี และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน สงเสริม การใชและพัฒนาหลักสูตรใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหการดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษามีประสิทธิภาพ สงู สดุ อนั จะสงผลใหก ารพฒั นาคณุ ภาพผูเ รยี นบรรลุตามมาตรฐานการเรยี นรทู กี่ ำหนดไวในระดับชาติ หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๒๒ ระดับทองถิ่น ไดแก สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา หนวยงานตนสังกัดอ่ืน ๆ เปนหนวยงานที่มีบทบาทใน การขับเคล่ือนคุณภาพการจัดการศึกษา เปนตัวกลางท่ีจะเชื่อมโยงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานที่ กำหนดในระดับชาติใหสอดคลองกับสภาพและความตองการของทองถิ่น เพื่อนำไปสูการจัดทำหลักสูตรของ สถานศึกษา สงเสริมการใชและพัฒนาหลักสูตรในระดับสถานศึกษา ใหประสบความสำเร็จ โดยมีภารกิจสำคัญ คือ กำหนดเปาหมายและจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ในระดับทองถิ่นโดยพิจารณาใหสอดคลองกับส่ิงที่ เปนความตองการในระดับชาติ พัฒนาสาระ การเรียนรูทองถิ่น ประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับทองถิ่น รวมทั้งเพ่ิมพูนคุณภาพการใชหลักสูตรดวยการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาบุคลากร สนับสนนุ สงเสริม ตดิ ตามผล ประเมนิ ผล วเิ คราะห และรายงานผลคณุ ภาพของผเู รียน สถานศึกษามีหนาที่สำคัญในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวางแผนและดำเนินการใชหลักสูตร การเพิม่ พูนคุณภาพการใชหลักสตู รดวยการวิจยั และพฒั นา การปรบั ปรงุ และพัฒนาหลักสตู รจดั ทำระเบียบการวัด และประเมนิ ผล ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาตองพิจารณาใหสอดคลอ ง กับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน และรายละเอียดท่ีเขตพื้นที่การศึกษา หรือหนวยงาน สังกัดอื่นๆ ในระดับทองถ่ินไดจัดทำเพ่ิมเติม รวมท้ัง สถานศึกษาสามารถเพิ่มเติมในสวนท่ีเกี่ยวกับสภาพปญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปญญาทองถิ่น และ ความตองการของผูเรียน โดยทุกภาคสว นเขามามสี ว นรวมในการพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๒๓ คำส่งั สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาตรงั เขต ๑ ที่ ...... / ๒๕๖๔ เร่อื ง แตง ตง้ั คณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและงานวิชาการสถานศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ********************************* เพื่อใหการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบานยวนโปะ เปนไป อยางมีประสิทธิภาพสอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ หมวด ๔ มาตรา ๒๗ ท่ี กำหนดใหส ถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐานมีหนาท่ีจดั ทำสาระของหลักสูตรเพื่อความเปนไทย ความเปนพลเมืองท่ีดขี องชาติ การดำรงชีวิต และการประกอบอาชพี ตลอดจนเพ่ือการศกึ ษาตอ ในสวนที่เกี่ยวกบั สภาพของปญหาในชุมชน และ สังคม ภูมิปญญาทองถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงคเพื่อเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคมและ ประเทศชาติ และสอดคลองกับระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงาน วชิ าการสถานศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ.๒๕๔๔ อาศัยอำนาจตามมาตรา ๓๗ แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.๒๕๔๖ และท่ีแกไขเพ่ิมเติม จึงแตงต้ังคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน โรงเรียนบา นยวนโปะ ปการศึกษา ๒๕๖๕ ดังนี้ ๑. นางอมรา เพทาย ผอู ำนวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ ๒. นางสาวพชิ ชาพร ชายภกั ตร หวั หนาการเรยี นรปู ฐมวยั กรรมการ ๓. นางสาว หัวหนากลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย กรรมการ ๔. นาย หัวหนากลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร กรรมการ ๕. นาย หวั หนากลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี กรรมการ ๖. นาย หัวหนา กลมุ สาระการเรยี นรูสังคมศึกษาฯ กรรมการ ๗. นางสาว หวั หนา กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ กรรมการ ๘.นาย หวั หนา กลมุ สาระการเรียนรสู ุขศึกษาและพลศึกษา กรรมการ ๙. นาย หวั หนากลุมสาระการเรยี นรูศิลปะฯ กรรมการ ๑๐. นาย หวั หนากลมุ สาระการเรยี นรภู าษาตางประเทศ กรรมการ ๑๑. นางสาว หวั หนางานแนะแนว กรรมการ ๑๒. นาย หวั หนางานวดั ผลและประเมินผล กรรมการ ๑๓. นาย หวั หนา ฝา ยวิชาการ กรรมการและเลขานุการ หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๒๔ ใหคณะกรรมการทีไ่ ดรบั การแตงต้งั มีหนาทแี่ ละดำเนนิ การจัดการตามข้นั ตอนทก่ี ำหนด ดงั นี้ ๑. วางแผนการดำเนินงานวิชาการ กำหนดสาระรายละเอียดของหลักสูตรระดับสถานศึกษาและแนว ทางการจัดสัดสวนสาระการเรียนรู และกิจกรรมพัฒนาผูเรียนของสถานศึกษา ใหสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน สภาพเศรษฐกิจ สงั คม ศลิ ปวัฒนธรรม ภูมปิ ญญาทองถิ่น ๒. จัดทำคูมือการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการของสถานศึกษา นิเทศ กำกับ ติดตาม ใหคำปรึกษา เกย่ี วกับการพัฒนาหลกั สตู ร การจัดกระบวนการเรยี นรู การวัดและประเมินผลและการแนะแนวใหสอดคลอ งและ เปน ไปตามหลักสูตรการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ๓. สงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร การจัดกระบวน การเรียนรู การวัด และประเมินผลและการแนะแนวใหเปนไปตามจดุ หมายและแนวทางการดำเนินการของหลักสตู ร ๔. ประสานความรวมมือจากบุคคล หนวยงาน องคกรตาง ๆ และชุมชน เพ่ือใหการใชหลักสูตรเปนไป อยางมปี ระสิทธภิ าพและมคี ณุ ภาพ ๕. ประชาสัมพันธหลักสูตรและการใชหลักสูตรแกนักเรียน ผูปกครอง ชุมชนและผูเกี่ยวของและนำ ขอ มูลปอนกลบั จากฝา ยตาง ๆ มาพิจารณาเพือ่ ปรบั ปรุงและพัฒนาหลกั สูตรของสถานศึกษา ๖. สงเสริมสนบั สนุนการวจิ ยั เก่ียวกับการพฒั นาหลักสตู ร และกระบวนการเรียนรู ๗. ติดตามผลการเรียนของนักเรยี นเปนรายบุคคล ระดับช้ัน และชวงชั้น ระดับวชิ า กลมุ วิชา ในแตล ะป การศึกษา เพอ่ื ปรับปรุงแกไ ข และพัฒนาการดำเนินงานดา นตา ง ๆ ของสถานศกึ ษา ๘. ตรวจสอบทบทวน ประเมินมาตรฐาน การปฏิบัติงานของครู และการบริหารหลักสูตรระดับ สถานศึกษาในรอบปท่ีผานมา แลว ใชผลการประเมิน เพื่อวางแผนพัฒนาการปฏิบัติงานของครูและการบริหาร หลกั สูตรปการศึกษาตอ ไป ๙. รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการบรหิ ารหลักสูตรของสถานศกึ ษา โดยเนนผลการพฒั นาคณุ ภาพ นักเรียนตอคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรระดับเหนือสถานศึกษา สาธารณชน และผูเก่ยี วของ ๑๐. ใหดำเนนิ การประชมุ คณะกรรมการอยา งนอยภาคเรียนละ ๒ คร้ัง ทัง้ นี้ใหผูไ ดรบั การแตง ต้ัง ปฏิบตั ิหนา ที่ทไ่ี ดรับมอบหมายอยางมีประสทิ ธิภาพ และบรรลตุ ามวัตถุประสงค ทตี่ ้งั ไว ต้ังแตบัดน้ีเปน ตน ไป ส่ัง ณ วนั ท่ี ๒๔ เดอื น เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๕ (ลงช่ือ) (นางชุลกร ทองดว ง) ผอู ำนวยการสำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต ๑ หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๒๕ คำส่ังโรงเรียนบานยวนโปะ ท่ี / ๒๕๖๕ เรอื่ ง แตงตง้ั คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและงานวชิ าการสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ********************************* เพื่อใหการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ สอดคลองกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ หมวด ๔ มาตรา ๒๗ ท่ีกำหนดใหสถานศึกษาข้ัน พ้ืนฐานมีหนาท่ีจัดทำสาระของหลักสูตรเพื่อความเปนไทย ความเปนพลเมืองท่ีดีของชาติ การดำรงชีวิต และการ ประกอบอาชีพ ตลอดจนเพื่อการศึกษาตอ ในสวนท่ีเกี่ยวกับสภาพของปญหาในชุมชน และสังคม ภูมิปญญา ทองถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงคเพ่ือเปนสมาชิกท่ีดีของครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ และ สอดคลองกับระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาขั้น พน้ื ฐาน พ.ศ. ๒๕๔๔ อาศัยอำนาจตามมาตรา ๓๗ แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และท่ีแกไขเพ่ิมเติม จึงแตงต้ังคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน โรงเรยี นบานยวนโปะ ปก ารศึกษา ๒๕๖๕ ดงั น้ี ๑. นางอมรา เพทาย ผูอำนวยการ ประธานกรรมการ ๒. นายสุรพศ พลสงั ข ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา กรรมการ ๓. นางจรยิ า ปุยพล กรรมการผูแทนองคก รปกครองสว นทองถน่ิ กรรมการ ๔. นางประคิ่น ศรสี ุข ผูท รงคณุ วุฒิ กรรมการ ๕. นายนกิ ร ชัยภกั ดี ผทู รงคณุ วุฒิ กรรมการ ๖. นายไกรวลั ชยั ภกั ดี ผูแทนศษิ ยเกา กรรมการ ๗. นายวัชระ เกนิ เหลอื ผูแทนผูป กครองนักเรยี น กรรมการ ๘. พระอธิการทิพนัชเตชปญโญ ผแู ทนศาสนา กรรมการ ๙. นางยพุ ดี ศรีนม่ิ ครู กรรมการ ๑๐. นางยินดี คงเอียด ครู กรรมการ ๑๑. นายคมกฤช ทิพยศ รี ครู กรรมการ ๑๒. นางสาวพิลาวัณย ลีแสวงสุข ครู กรรมการ ๑๓. นางสาวพิชชาพร ชายภกั ตร ครู กรรมการ ๑๔. นายพัทธดนย สมั ฤทธ์ิ ครู กรรมการ ๑๕. นายธีระวทุ ธ มุขแสง ครู กรรมการ หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๒๖ ๑๖. นางสาวจฑุ ามาศ พลหลา เจาหนาท่ธี ุรการ กรรมการ ๑๗. นางสุพรรณี ศรสี มัย ครู กรรมการ/เลขานกุ าร คณะกรรมการดำเนนิ การ มหี นาท่ีและดำเนนิ การจัดการตามขน้ั ตอนทีก่ ำหนด ดังนี้ ๑. วางแผนการดำเนินงานวิชาการ กำหนดสาระรายละเอียดของหลักสูตรระดับสถานศึกษาและแนว ทางการจัดสัดสวนสาระการเรียนรู และกิจกรรมพัฒนาผูเรียนของสถานศึกษา ใหสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และสภาพเศรษฐกิจ สังคม ศิลปะวฒั นธรรม ภูมปิ ญญาทองถน่ิ ๒. จัดทำคูมือการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการของสถานศึกษา นิเทศ กำกับ ติดตาม ใหคำปรึกษา เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร การจัดกระบวนการเรียนรู การวัดและประเมินผลและการแนะแนวใหส อดคลอ งและ เปนไปตามหลกั สูตรการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ๓. สงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรเก่ียวกับการพัฒนาหลักสูตร การจัดกระบวน การเรียนรู การวัด และประเมินผลและการแนะแนวใหเปนไปตามจดุ หมายและแนวทางการดำเนินการของหลักสูตร ๔. ประสานความรวมมือจากบุคคล หนวยงาน องคกรตาง ๆ และชุมชน เพื่อใหการใชหลักสูตรเปนไป อยางมปี ระสทิ ธิภาพและมคี ณุ ภาพ ๕. ประชาสัมพันธหลักสูตรและการใชหลักสูตรแกนักเรียน ผูปกครอง ชุมชนและผูเก่ียวของและนำ ขอมูลปอนกลบั จากฝายตา ง ๆ มาพจิ ารณาเพ่ือปรับปรงุ และพัฒนาหลักสตู รของสถานศึกษา ๖. สงเสริมสนับสนนุ การวิจยั เก่ียวกับการพฒั นาหลกั สูตร และกระบวนการเรียนรู ๗. ติดตามผลการเรียนของนักเรียนเปนรายบุคคล ระดับชั้น และชวงชั้น ระดับวิชา กลมุ วิชา ในแตละป การศึกษา เพอื่ ปรับปรุงแกไ ข และพฒั นาการดำเนนิ งานดา นตาง ๆ ของสถานศึกษา ๘. ตรวจสอบทบทวน ประเมินมาตรฐาน การปฏิบัติงานของครู และการบริหารหลักสูตรระดับ สถานศึกษาในรอบปที่ผานมา แลว ใชผลการประเมิน เพื่อวางแผนพัฒนาการปฏิบัติงานของครูและการบริหาร หลกั สตู รปการศึกษาตอ ไป ๙. รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานและผลการบริหารหลกั สูตรของสถานศกึ ษา โดยเนนผลการพัฒนาคุณภาพ นักเรียนตอคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรระดับเหนือสถานศึกษา สาธารณชน และผูเก่ียวของ ๑๐. ใหดำเนนิ การประชมุ คณะกรรมการอยา งนอ ยภาคเรยี นละ ๒ คร้งั ท้งั นี้ใหผูไดรับการแตงตั้งปฏิบัติหนาที่ท่ีไดรับมอบหมายอยางมีประสิทธภิ าพ และบรรลุตามวัตถปุ ระสงค ทีต่ ง้ั ไว ตั้งแตบ ัดนีเ้ ปนตน ไป สัง่ ณ วันที่ ๓๐ เดอื น มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๕ (ลงชื่อ) (นางอมรา เพทาย) ผูอำนวยการโรงเรียนบา นยวนโปะ หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๒๗ หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook