Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรโรงเรียนบ้านยวนโปะ ปี 65 เล่มหลักสูตร

หลักสูตรโรงเรียนบ้านยวนโปะ ปี 65 เล่มหลักสูตร

Published by Amara Petai, 2022-05-21 10:15:15

Description: หลักสูตรโรงเรียนบ้านยวนโปะ ปี 65 เล่มหลักสูตร

Search

Read the Text Version

๑ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นบานยวนโปะ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาตรงั เขต ๑ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒ ประกาศโรงเรียนบานยวนโปะ เรื่อง ใหใ ชหลักสูตรโรงเรียนบานยวนโปะ พุทธศกั ราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ………………………………. ตามท่ีโรงเรียนบานยวนโปะ ไดประกาศใชหลักสูตรโรงเรียนบานยวนโปะ พุทธศักราช ๒๕๖๕ โดยเร่ิม ใชหลักสูตรดังกลาวกับนักเรียนทุกระดับชั้นในปการศึกษา ๒๕๖๓ เพ่ือใหสอดคลองรับกับนโยบายเรงดวนของ รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อใหผูเรียนพัฒนาทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห มีเวลาในการทำ กิจกรรมเพ่ือพัฒนาความรู ความสามารถและทักษะ การปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม การสรา งวินัย การมีจิตสำนึก รับผิดชอบตอสังคม ยึดม่ัน ในสถาบันชาติศาสนา พระมหากษัตริย และมีความภาคภูมิใจในความเปนไทย ตลอดจนการเรยี นการสอนในวชิ าประวตั ิศาสตร และหนาที่พลเมือง รวมถึงการสอนศีลธรรมแกน ักเรยี น โรงเรียน บานยวนโปะไดดำเนินการจัดทำหลักสูตรโรงเรียนบานยวนโปะ พุทธศักราช ๒๕๖๕ สอดคลองตามประกาศ กระทรวงศึกษาธกิ าร เรื่อง การบริหารจดั การเวลาเรียน และปรับมาตรฐานและตวั ชีว้ ดั สอดคลอ งกับ คำส่ัง สพฐ. ท่ี ๑๒๓๙/๖๐ และประกาศ สพฐ.ลงวันท่ี ๘ มกราคม ๒๕๖๐ เปนทเี่ รยี บรอยแลว ท้ังน้ีหลักสูตรโรงเรียนไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน เมื่อวันท่ี ๒๐ เมษายน ๒๕๖๕ จึงประกาศใหใ ชหลกั สูตรโรงเรียนตงั้ แตบัดน้เี ปน ตนไป ประกาศ ณ วันท่ี ๓๐ เดอื น เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๕ ลงชอ่ื สรุ พล พลสังข ลงชอื่ (นายสุรพศ พลสงั ข) (นางอมรา เพทาย) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ผอู ำนวยการโรงเรยี นบา นยวนโปะ โรงเรียนบา นยวนโปะ หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓ คำนำ กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร วทิ ยาศาสตร และสาระภมู ิศาสตรในกลุมสาระการเรียนรสู ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม หลกั สูตรสถานศึกษา โรงเรียนบานยวนโปะ พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ตาม คำสั่งกระทรวงศกึ ษาธิการท่ี สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวนั ที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคำส่ังสำนกั งานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ใหเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรยี นรูและตัวช้ีวัด กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบานยวนโปะ พุทธศักราช ๒๕๖๓ โดยใหโรงเรียนใชหลักสูตรในปการศึกษา ๒๕๖๓ ใหใชในชั้นประถมศึกษาปที่ ๑-๖ และปการศึกษา ๒๕๖๓ ใหใชในทุกชั้นป โดยกำหนดใหเปนหลักสูตรแกนกลางของประเทศ กำหนดจุดหมาย และมาตรฐานการ เรยี นรเู ปนเปาหมายและกรอบทศิ ทางในการพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหม ีพัฒนาการเต็มตามศกั ยภาพ สง เสริมทักษะ วิชาการ ทักษะอาชีพ และทักษะชีวิต มีคุณภาพและมที กั ษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑ เพื่อใหสอดคลองกับนโยบายและเปาหมาย ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานโรงเรียน บานยวนโปะ จึงไดทำหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบานยวนโปะ พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสาระภูมิศาสตร ในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพื่อนำไปใชประโยชนและเปนกรอบในการวางแผน และพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา และออกแบบการจดั การเรียนการสอน โดยมีเปาหมายในการพัฒนาคุณภาพ ผูเรียน ใหมีกระบวนการนำหลักสูตรไปสูการปฏิบัติ โดยมีการกำหนดวิสัยทัศน จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของ ผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค มาตรฐานการเรียนรแู ละตัวชี้วัด โครงสรางเวลาเรยี น ตลอดจนเกณฑการวัด และประเมนิ ผล ใหมีความสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู เปดโอกาสใหโรงเรียนสามารถกำหนดทิศทางในการ จดั ทำหลักสูตรการเรียนการสอน ในแตละระดับตามความพรอมและจุดเนน โดยมีกรอบแกนกลางเปนแนวทางท่ี ชดั เจน เพ่ือตอบสนองนโยบายไทยแลนด ๔.๐ มีความพรอมในการกาวสูสังคมคณุ ภาพ มีความรูอยางแทจ ริง และ มีทักษะในศตวรรษท่ี ๒๑ มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่กำหนดไวในเอกสารน้ี ชวยทำใหหนวยงานท่ีเก่ียวของ ในทุกระดับ เห็นผลคาดหวังท่ีตองการพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซ่ึงจะสามารถชวยใหหนวยงานท่ี เก่ียวของในระดับทองถ่ิน และสถานศึกษารวมกันพัฒนาหลักสูตรไดอยางม่ันใจ ทำใหการจัดทำหลักสูตรในระดับ สถานศึกษามีคุณภาพและมีความเปนเอกภาพยิ่งขึ้น อีกท้ังยังชวยใหเกิดความชัดเจนเรื่องการวัดและประเมินผล การเรียนรู ชวยแกปญหาการเทียบโอนระหวางสถานศึกษา ดังน้ันในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับ ต้ังแต ระดับชาติจนกระท่ังถึงระดับสถานศึกษา จะตองสะทอนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัดท่ีกำหนดไว ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน รวมทั้งเปนกรอบทศิ ทางในการจัดการศึกษาทกุ รูปแบบ และครอบคลุม ผเู รยี นทกุ กลมุ เปา หมายในระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔ การจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จะประสบความสำเร็จตามเปาหมายที่คาดหวังได ทุกฝายท่ี เก่ยี วของทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครวั และทุกคนตอ งรวมกันรับผิดชอบ โดยรวมกนั ทำงานอยา งเปน ระบบ และ ตอเน่ือง วางแผนดำเนินการ สงเสริมสนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแกไข เพ่ือพัฒนาเยาวชนของชาติ ไปสคู ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรทู ีก่ ำหนดไว ลงชือ่ (นางอมรา เพทาย) ผูอำนวยการโรงเรียนบานยวนโปะ หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

สารบญั ๕ เรื่อง หนา ประกาศโรงเรียน คำนำ ๑ ความนำ ๒ วิสยั ทศั น ๓ สมรรถนะสำคัญของผเู รียน ๔ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค ๕ โครงสรางเวลาเรยี น ๑๖ คำอธบิ ายรายวิชา ๑๗ ๒๓ กลุม สาระการเรยี นรภู าษาไทย ๓๐ กลุมสาระการเรยี นรูคณิตศาสตร ๓๗ กลุมสาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๕๙ กลมุ สาระการเรยี นรูสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๖๖ กลุมสาระการเรยี นรูส ุขศึกษาและพลศึกษา ๗๘ กลุมสาระการเรยี นรูศิลปะ ๘๕ กลุมสาระการเรียนรกู ารงานอาชีพ ๙๒ กลุม สาระการเรียนรูภาษาตา งประเทศ ๑๐๐ กิจกรรมพฒั นาผูเรียน ๑๐๑ กิจกรรมแนะแนว ๑๐๗ กิจกรรมนักเรยี น ๑๐๙ กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน ๑๑๗ คำอธิบายรายวิชากิจกรรมชมุ นุม เกณฑการจบการศึกษา ภาคผนวก หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๖ ความนำ กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสาระภูมิศาสตรในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคำสั่ง กระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคำสั่งสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพื้นฐาน ท่ี ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ใหเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) โดยมีคำสั่งใหโรงเรียน ดำเนนิ การใชห ลักสตู รในปการศึกษา ๒๕๖๑ โดยใหใ ชในชั้นประถมศึกษาปท ่ี ๑ และ ๔ ตัง้ แตป การศึกษา ๒๕๖๑ เปนตนมา ใหเปนหลักสูตรแกนกลางของประเทศ โดยกำหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมาย และกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผูเรียนมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรูใน ศตวรรษท่ี ๒๑ เพือ่ ใหส อดคลองกบั นโยบายและเปา หมายของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน โรงเรียนบานยวนโปะ จึงไดทำการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานยวนโปะ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐ ในกลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสาระภูมิศาสตรในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพ่ือ นำไปใชป ระโยชนและเปน กรอบในการวางแผนและพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน โดย มีเปาหมายในการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ใหมีกระบวนการนำหลักสูตรไปสูการปฏิบัติ โดยมีการกำหนดวิสัยทัศน จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผเู รยี น คุณลักษณะอันพงึ ประสงค มาตรฐานการเรยี นรูและตัวชี้วดั โครงสรางเวลา เรียน ตลอดจนเกณฑการวัดประเมินผลใหมีความสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู เปดโอกาสใหโรงเรียน สามารถกำหนดทิศทางในการจัดทำหลักสูตรการเรียนการสอนในแตละระดับตามความพรอมและจุดเนน โดยมี กรอบแกนกลางเปนแนวทางที่ชัดเจนเพ่ือตอบสนองนโยบายไทยแลนด ๔.๐ มีความพรอมในการกาวสูสังคม คุณภาพ มีความรูอยางแทจ ริง และมที ักษะในศตวรรษที่ ๒๑ มาตรฐานการเรียนรูและตัวชวี้ ัดท่ีกำหนดไวในเอกสารน้ี ชวยทำใหหนวยงานที่เกี่ยวของ ในทุกระดับเห็น ผลคาดหวังท่ีตองการในการพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถชวยใหหนวยงานท่ี เก่ียวของในระดับทองถ่ินและสถานศึกษารวมกันพัฒนาหลักสูตรไดอยางม่ันใจ ทำใหการจัดทำหลักสูตรในระดับ สถานศึกษามีคุณภาพและมีความเปนเอกภาพยิ่งขึ้น อีกท้ังยังชวยใหเกิดความชัดเจนเร่ืองการวัดและประเมินผล การเรียนรู และชวยแกปญหาการเทียบโอนระหวางสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับตั้งแต ระดับชาติจนกระท่ังถึงสถานศึกษา จะตองสะทอนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัดท่ีกำหนดไวใน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมทั้งเปนกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุม ผูเ รียนทกุ กลมุ เปา หมายในระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน การปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้ ยังคงหลักการและโครงสรางเดิมของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คือ ประกอบดวย ๘ กลุมสาระการเรียนรู ไดแก กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ และภาษาตางประเทศ แตมุงเนนการปรับปรุงเน้ือหาใหมีความทันสมัย ทันตอการเปล่ียนแปลง และความเจริญกาวหนาทางวิทยาการตางๆ คำนึงถึงการสงเสริมใหผูเรียนมีทักษะที่จำเปนสำหรับการเรียนรูใน ศตวรรษท่ี ๒๑ เปนสำคัญ เตรียมผูเรียนใหมีความพรอมท่ีจะเรียนรูในส่ิงตางๆ พรอมที่จะประกอบอาชีพเมื่อจบ การศึกษา หรือสามารถศึกษาตอในระดับท่ีสูงขึ้น สามารถแขงขันและอยูรวมกับประชาคมโลกได โดยมีเง่ือนไข และระยะเวลาการใชมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสาระ หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๗ ภูมิศาสตรในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ให เปนไปดงั นี้ ๑. ปก ารศึกษา ๒๕๖๑ ใหใ ชใ นชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ และ ๔ ๒. ปก ารศกึ ษา ๒๕๖๒ ใหใชใ นชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ ๑, ๒, ๔ และ ๕ ๓. ตัง้ แตป ก ารศึกษา ๒๕๖๓ เปนตนไป ใหใชท ุกชนั้ เรยี น นอกจากนี้ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ ไดมีคำส่ังท่ี 646/2560 ลงวันท่ี 26 เมษายน 2560 แตงต้ังคณะอนุกรรมการจัดทำหลักสูตรดานการปองกันการทุจริตซึ่งประกอบดวย ผูทรงคุณวุฒิหรือผูเชี่ยวชาญจากหนวยงานดานการศึกษา และหนวยงานที่เก่ียวของในการจัดทำหลักสูตรการ เรียน การสอน จากทั้งภายในและภายนอกหนวยงาน รวมทั้งผูทรงคุณวุฒิจากองคกรภาคเอกชนเพ่ือดำเนินการ จัดทำหลักสูตรหรือชุดการเรียนรูและส่ือประกอบการเรียนรู ดานการปองกันการทุจริต นำไปใชในการเรียนการ สอน ใหกับนักเรียน นักศึกษาในทุกระดับชั้นเรียนท้ังในสวนของการศึกษาตั้งแตระดับปฐมวัยอนุบาล ประถมศึกษา มธั ยมศึกษา และอุดมศึกษา ท้งั ภาครัฐและเอกชน รวมทงั้ อาชีวศกึ ษาและการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือใหครอบคลุมกลุมเปาหมายที่เกี่ยวของกับการศึกษาท้ังระบบ รวมทั้งบุคลากรภาครัฐ และรัฐวิสาหกิจ รวมทั้งภาคประชาชน เพ่ือเปนการปลูกฝงจิตสำนึกในการแยกแยะ ประโยชนสวนตนกับ ประโยชนสวนรวม จิตพอเพียงตานทุจริต และสรางพฤติกรรมท่ีไมยอมรับและไมทนตอการทุจริต เพ่ือเปนการ ปองกนั การทจุ ริต โดยเรมิ่ ปลูกฝง นักเรยี นตัง้ แตปฐมวยั จนถงึ ประถมศึกษาปท ี่ 6 ดังนั้น โรงเรียนบานยวนโปะ จึงไดปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาใหสอดคลองกับหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสาระภูมิศาสตร ในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และรายวิชาเพิ่มเติม การปองกันการทุจริต เพ่ือ นำไปใชเปนกรอบในการจัดกระบวนการเรียนรู โดยมีเปาหมายในการพัฒนาผูเรียนตามมาตรฐานการเรียนรูใหมี ความรู ความสามารถ ทกั ษะกระบวนการเรียนรู และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค โดยใหมีกระบวนการนำหลักสูตรไปสูการปฏิบัติ โดยการกำหนดวสิ ัยทศั น หลักการ จุดหมาย สมรรถนะ สำคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค มาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด โครงสรางเวลาเรียน ตลอดจน เกณฑก ารวดั ประเมินผลใหม ีความสอดคลองกับมาตรฐานการเรยี นรูและตวั ช้วี ัด พระบรมราโชบายดานการศกึ ษาในหลวงรัชกาลท่ี ๑๐ การศึกษาตอ งมุงสรา งพ้นื ฐานใหแ กผ ูเรยี น ๔ ดาน ๑. มที ัศนคติที่ถูกตองตอบา นเมือง ๑) มีความรู ความเขา ใจตอ ชาตบิ านเมือง ๒) ยดึ มั่นในศาสนา ๓) มน่ั คงในสถาบนั พระมหากษัตรยิ  ๔) มคี วามเอื้ออาทรตอครอบครัวและชมุ ชนของตน ๒. มพี ้ืนฐานชีวิตที่ม่ันคง มคี ณุ ธรรม ๑) รูจ กั แยกแยะสง่ิ ที่ผิด – ชอบ / ช่ัว - ดี ๒) ปฏบิ ตั ิแตส ่งิ ทชี่ อบ สง่ิ ทดี่ งี าม ๓) ปฏิเสธสง่ิ ท่ผี ดิ ส่ิงท่ชี ั่ว ๔) ชวยกนั สรางคนดใี หแ กบ านเมอื ง หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๘ ๓. มีงานทำ มอี าชีพ ๑) การเล้ียงดูลูกหลานในครอบครัว หรือการฝกฝนอบรมในสถานศึกษา ตองมุงใหเด็กและ เยาวชนรกั งาน สูงาน ทำจนงานสำเร็จ ๒) การฝกฝนอบรมทั้งในหลักสูตรและนอกหลักสูตร ตองมีจุดหมายใหผูเรียนทำงานเปน และมงี านทำในที่สดุ ๓) ตองสนบั สนนุ ใหผ สู ำเรจ็ หลักสตู ร มีอาชพี มีงานทำ สามารถเลยี้ งตัวเองและครอบครัว ๔. เปนพลเมอื งดี ๑) การเปน พลเมอื งดี เปนหนาทีข่ องทกุ คน ๒) ครอบครัว สถานศึกษาและสถานประกอบการ ตองสงเสริมใหทุกคนมีโอกาสทำหนาที่เปน พลเมืองดี ๓) การเปนพลเมืองดี คือ เห็นอะไรที่จะทำเพ่ือบานเมืองไดก็ตองทำ เชน งานอาสาสมัคร งานบำเพ็ญประโยชน งานสาธารณกุศล ใหท ำดว ยความมนี ้ำใจ และความเออ้ื อาทร วสิ ัยทศั นหลกั สตู รสถานศกึ ษา ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช ๒๕๖5 หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา นยวนโปะ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เปนหลักสูตรท่ีมุงพัฒนาผูเรียนทุกคนเปนบุคคลแหงการเรียนรูสู มาตรฐานสากลและเปน มนุษยท ่ีมีความสมดุลทง้ั รางกาย ความรูคคู ุณธรรม มีความเปนผูน ำของสังคมมีจติ สำนกึ ใน ความเปนพลเมืองไทยและเปนพลโลกโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงยึดม่ันในการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข มีความรูและทักษะพื้นฐานสามารถใชนวัตกรรมและเทคโนโลยี รวมทั้งเจตคติทจี่ ำเปนตอการศึกษาในการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชวี ิตโดยมุงเนน ผูเรียนเปนสำคัญบน พ้นื ฐานความเชอื่ วา ทกุ คนสามารถเรียนรูและพฒั นาตนเองไดเตม็ ตามศักยภาพ เปาประสงคห ลักสูตร ๑. เพื่อใหผูเรียนทุกคนไดรับการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค มีการพัฒนา เต็มตามศักยภาพ มีทักษะชีวิต มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเปนแนวทางการดำเนินชวี ติ เปนผูนำท่ีดขี องสังคมและมีความสามารถในการใชเทคโนโลยีเพื่อการ เรียนรูและการส่อื สารอยางหลากหลาย ผเู รียนมศี ักยภาพเปนพลโลก ๒. เพื่อใหสถานศึกษามีระบบการบริหารและจัดการศึกษาดวยระบบคุณภาพ เพ่ือรองรับการกระจาย อำนาจอยางทั่วถึง ๓. เพอ่ื ใหบ ุคลากรทุกคนมที ักษะวิชาชพี ในการพฒั นาการเรียนการสอนและใชน วตั กรรมเทคโนโลยที ่ี ทันสมัยยกระดบั การจัดการเรียนการสอนเทยี บเคียงมาตรฐานสากล ๔. เพอื่ ใหก ารใชงบประมาณและทรัพยากรของทกุ หนว ยงานเปนไปตามเปาหมายไดอ ยางมีประสิทธิภาพ และประสิทธผิ ลสงู สุด หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๙ วสิ ยั ทศั นโ รงเรียน โรงเรียนบานยวนโปะ เปนสถานศกึ ษาท่ีจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานใหประชากรในวัยเรียนและเด็กที่มีความ ตองการพิเศษอยางทั่วถงึ มคี ุณภาพตามมาตรฐานทกี่ ำหนด ผเู รียนมีคณุ ธรรมนำความรู จัดกระบวนการเรยี นรบู น พ้นื ฐานของความเปน ไทย มุงสง เสริมดนตรไี ทยควบคกู บั ความเปน สากล ยึดหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง พันธกจิ ๑. จดั การศึกษาภาคบังคบั อยา งทัว่ ถึงและเทา เทียม ๒. พฒั นาผเู รียนใหมคี ุณธรรมนำความรูต ามเกณฑม าตรฐานการศึกษา ๓. พฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มคี วามรูค วามสามารถในการจดั การ เรียนรูใหมีประสิทธิภาพโดยเนน ผเู รยี นเปน สำคญั ๔. พัฒนาระบบการบริหารจัดการใหมีประสทิ ธภิ าพสง ผลตอ คุณภาพของผเู รยี น ๕. พฒั นาแหลงเรยี นรูแ ละภูมิปญ ญาทองถ่ินโดยความรวมมือของทุกภาคสวนของสงั คมเพอ่ื พัฒนาเปน ชมุ ชนแหงการเรียนรู เปา ประสงค ๑. นักเรยี นไดร บั บริการทางการศกึ ษาอยางท่ัวถงึ และมคี ุณภาพตามเกณฑม าตรฐาน ๒. โรงเรยี นมีหลกั สูตรสถานศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพไดมาตรฐาน ๓. นักเรียนมคี วามสามารถในการนำเทคโนโลยไี ปประยุกตใชใ นชวี ติ ประจำวนั ๔. บุคลากรไดร ับการพฒั นาสูม าตรฐานวิชาชพี ๕. โรงเรียนมภี มู ิทศั นส วยงามและแหลง เรียนรตู ามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งอยา งหลากหลาย ๖. โรงเรียนไดร บั ความรวมมือจากชมุ ชนในการจดั การศกึ ษา สมรรถนะสำคญั ของผเู รียนและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค ในการพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานยวนโปะ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖5) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) มุงเนน พัฒนาผูเรยี นใหมีคุณภาพตามมาตรฐานท่ีกำหนด ซึ่งจะชวยใหผูเรียนเกิดสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึง ประสงค ดงั น้ี สมรรถนะสำคัญของผูเรียน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานยวนโปะ พุทธศักราช ๒๕๖๕ มุงใหผูเรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดังน้ี ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรมในการใชภาษา ถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและ ประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลัก เหตุผลและความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชว ิธีการส่ือสาร ท่ีมีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีตอตนเอง และสังคม หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๐ ๒. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิด อยาง สรา งสรรค การคดิ อยางมีวจิ ารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพ่ือนำไปสูก ารสรา งองคความรูหรอื สารสนเทศเพื่อ การตดั สนิ ใจเกยี่ วกบั ตนเองและสังคมไดอยางเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ท่ีเผชิญได อยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและการ เปลี่ยนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการปองกันและแกไขปญหา และมกี าตัดสินใจท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบท่เี กิดขึน้ ตอ ตนเอง สงั คมและสง่ิ แวดลอม ๔. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการตาง ๆ ไปใชในการดำเนิน ชีวิตประจำวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเน่ือง การทำงาน และการอยูรวมกันในสังคมดวยการ สรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยงตาง ๆ อยางเหมาะสม การปรับตัวให ทันกบั การเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ ม และการรจู ักหลกี เล่ียงพฤติกรรมไมพึงประสงคท ีส่ ง ผลกระทบ ตอตนเองและผอู ่ืน ๕. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยีดานตาง ๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทำงาน การ แกป ญ หาอยา งสรางสรรค ถูกตอ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบานยวนโปะ (ฉบับพุทธศักราช ๒๕๖๕) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค เพื่อใหสามารถอยูรวมกับผูอื่นใน สังคมไดอยางมีความสุข ในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี ๑. รักษช าติ ศาสน กษัตรยิ  ๒. ซือ่ สตั ยส ุจรติ ๓. มวี นิ ยั ๔. ใฝเ รียนรู ๕. อยอู ยา งพอเพียง ๖. มุงมัน่ ในการทำงาน ๗. รักความเปน ไทย ๘. มีจติ เปนสาธารณะ คา นยิ มหลักของคนไทย ๑๒ ประการ: ๑. ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ๒. ซอ่ื สัตย เสยี สละ อดทน มีอดุ มการณในสง่ิ ท่ีดงี ามเพือ่ สว นรวม ๓. กตญั ูตอ พอแม ผปู กครอง ครบู าอาจารย ๔. ใฝหาความรู หมั่นศกึ ษาเลา เรียนทงั้ ทางตรง และทางออม ๕. รักษาวฒั นธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม ๖. มศี ีลธรรม รักษาความสัตย หวงั ดตี อ ผูอืน่ เผ่อื แผและแบงปน ๗. เขา ใจเรียนรูก ารเปนประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมขุ ท่ีถูกตอง หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๑ ๘. มีระเบียบวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผูนอยรูจ กั การเคารพผูใ หญ ๙. มสี ตริ ตู ัว รคู ิด รทู ำ รปู ฏบิ ตั ิตามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัว ๑๐. รจู ักดำรงตนอยโู ดยใชหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จ พระเจา อยูห ัว รจู กั อดออมไวใชเม่ือยามจำเปน มไี วพอกินพอใช ถาเหลอื ก็แจกจายจำหนา ย และ พรอ มที่จะขยายกิจการเมอ่ื มีความพรอม เม่ือมภี ูมิคุม กันทดี่ ี ๑๑. มคี วามเขม แข็งทงั้ รางกาย และจิตใจ ไมย อมแพตอ อำนาจฝา ยต่ำ หรอื กิเลส มคี วามละอายเกรง กลวั ตอบาปตามหลักของศาสนา ๑๒. คำนงึ ถึงผลประโยชนของสวนรวม และของชาติมากกวาผลประโยชนของตนเอง หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๒ โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี นบานยวนโปะ โครงสรางหลักสตู รเวลาเรยี นโรงเรียนบานยวนโปะ กลุมสาระการเรียนรู/ กจิ กรรม เวลาเรียน(ชั่วโมง/ป)  กลุม สาระการเรยี นรู ระดบั ประถมศกึ ษา ป. ๑ ป. ๒ ป. ๓ ป. ๔ ป. ๕ ป. ๖ ภาษาไทย คณิตศาสตร ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 80 80 80 ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ประวตั ิศาสตร ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ศลิ ปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ การงานอาชพี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ภาษาตา งประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ รวมเวลาเรียน (พนื้ ฐาน) 200 200 200 ๘๐ ๘๐ ๘๐  รายวชิ าเพิ่มเตมิ ๘80 ๘80 ๘80 ๘๘๐ ๘๘๐ ๘๘๐ การปอ งกันการทจุ ริต รวมเวลาเรยี น (เพ่มิ เติม) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐  กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรยี น ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ - กจิ กรรมลกู เสอื /เนตรนารี - ชุมนุม ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ รวมเวลาเรยี น (กิจกรรมพฒั นาผเู รียน) ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ รวมเวลาเรยี นทง้ั หมด ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑,๐๔๐ ชวั่ โมง/ป ๑,๐๔๐ ชั่วโมง/ป *กจิ กรรมชมุ นุมนักเรยี นเลอื กเรียนตามความสนใจ ไดแก 1. ชุมนุมรักการอาน 2. ชุมนุมจิตอาสา 3. ชุมนุมดนตรี 4. ชมุ นุมกฬี า **ผูเ รยี นปฏบิ ัติกจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน ผนวกในกจิ กรรมลูกเสือ/เนตรนารี หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๓ หนา ทีพ่ ลเมอื ง บูรณาการและวดั ผลรวมในกลุม สาระสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม กจิ กรรมลดเวลาเรียนเพมิ่ เวลารู บรู ณาการในกลุม สาระการเรียนรู ดงั ตอ ไปนี้ ๑. กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย ๒. กลุมสาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ๓. กลุมสาระการเรียนรูว ทิ ยาศาสตร จำนวนชั่วโมงที่จัดใหนักเรียนระดับประถมศึกษา ( ป.๑-ป.๓ ) เรียนท้ังป เทากับ ๑,๐๔๐ ชั่วโมง ระดับชั้นประถมศึกษา ( ป.๔-ป.๖ ) เทากับ ๑,๐๔๐ ชั่วโมง แผนการเรียนรู/จุดเนนการพัฒนาผูเรียนท่ีตองการ เนนเปนพิเศษ คือกลุมสาระการเรียนรทู ักษะภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร เพื่อพัฒนาการ อา นออก เขียน ได ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร คิดวิเคราะห คิดสังเคราะห คิด สรา งสรรคท่ีดี มีประโยชน มคี วามสนใจใฝรใู ฝเรยี น โดยจัด การเรียนการสอนและวัดผลประเมินผลเปน รายป สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๑-๖ นั้น จากการประเมินผลระดับโรงเรียน ระดับทองถิ่น และ ระดับชาติ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน มีมติรวมกันใหจัดทำโครงการ สอนเสริมประสบการณพเิ ศษเพือ่ เพิ่มศักยภาพนกั เรยี น จำนวนช่ัวโมง ๑๒๐ ชั่วโมง ตั้งแตชั้นประถมศึกษาปท่ี ๑ - ๖ โดยไมนำคะแนนและระดับผลการเรียน ในรายวิชาสอนเสริมไปคิดรวมและตัดสินการเล่ือนชั้นของนักเรียน ใน โครงสรา งของหลักสูตรโรงเรยี นบา นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ มีรายวชิ าและจำนวนชว่ั โมงดงั นี้ โครงการสอนเสริมประสบการณพิเศษเพ่ือเพม่ิ ศักยภาพนักเรียน ชน้ั ป.๑-๓ จำนวน ๓ ชวั่ โมง / สัปดาห ๑. วชิ า ภาษาไทย จำนวน ๑ ช่ัวโมง ๑ ช่ัวโมง ๒. วิชา คณติ ศาสตร จำนวน ๑ ช่วั โมง ๓. วชิ า วทิ ยาศาสตร จำนวน ๑ ชั่วโมง ๑ ช่ัวโมง โครงการสอนเสรมิ ประสบการณพ เิ ศษเพอ่ื เพมิ่ ศกั ยภาพนักเรยี น ๑ ช่วั โมง ชนั้ ป.๔-๖ จำนวน ๓ ชัว่ โมง / สัปดาห ๑. วิชา ภาษาไทย จำนวน ๒. วิชา คณิตศาสตร จำนวน ๓. วชิ า วิทยาศาสตร จำนวน โครงสรางหลกั สูตรชั้นป เปนโครงสรางที่แสดงรายละเอียดเวลาเรียนของรายวิชาพืน้ ฐาน รายวิชา / กิจกรรม เพิ่มเติมและกิจกรรมพัฒนาผูเ รยี นในแตล ะชนั้ ป หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๔ โครงสรา งหลักสตู รชน้ั ประถมศกึ ษาปท่ี ๑ โรงเรียนบานยวนโปะ รหสั กลมุ สาระการเรียนรู/กิจกรรม เวลาเรยี น (ชม./ป) ท ๑๑๑๐๑ รายวชิ าพนื้ ฐาน (๘๘๐) ค ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๒๐๐ ว ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร ๑ ๒๐๐ ส ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ๑ ส ๑๑๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๑ 80 พ ๑๑๑๐๑ ประวัติศาสตร ๑ 40 ศ ๑๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๑ ๔๐ ง ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๑ ๔๐ อ ๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ๔๐ ส ๑๑๒๓๑ ภาษาอังกฤษ ๑ ๔๐ 200 รายวชิ าเพม่ิ เติม (๔๐) หนา ที่พลเมือง ๔๐ (๑๒๐) กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน ๔๐ แนะแนว กจิ กรรมนักเรียน ๓๐ ๔๐ • ลูกเสือ เนตรนารี ๑๐ • ชุมนมุ (๑,๐๔๐) กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน ๑ รวมเวลาเรยี นท้งั หมด *กิจกรรมชมุ นมุ นักเรียนเลือกเรียนตามความสนใจ ไดแก 1. ชุมนุมรักการอาน 2. ชมุ นุมจิตอาสา 3. ชุมนุมดนตรี 4. ชมุ นมุ กฬี า **ผูเรยี นปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน ผนวกในกิจกรรมลูกเสอื /เนตรนารี หนาทีพ่ ลเมอื ง บรู ณาการและวดั ผลรวมในกลุมสาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม กจิ กรรมลดเวลาเรยี นเพมิ่ เวลารู บูรณาการในกลุมสาระการเรียนรู ดังตอ ไปน้ี ๑. กลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย ๒. กลุมสาระการเรียนรูค ณติ ศาสตร ๓. กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๕ โครงสรา งหลกั สูตรช้ันประถมศกึ ษาปที่ ๒ โรงเรยี นบา นยวนโปะ รหัส กลมุ สาระการเรียนร/ู กิจกรรม เวลาเรยี น (ชม./ป) ท ๑๒๑๐๑ รายวิชาพื้นฐาน (๘๘๐) ค ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ ๒๐๐ ว ๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร ๒ ๒๐๐ ส ๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๒ ส ๑๒๑๐๒ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๒ 80 พ ๑๒๑๐๑ ประวตั ิศาสตร ๒ ๔๐ ศ ๑๒๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๒ ๔๐ ง ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๒ ๔๐ อ ๑๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๒ ๔๐ ส ๑๒๒๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ ๔๐ ๒๐๐ รายวิชาเพิ่มเติม (๔๐) การปอ งกนั การทจุ รติ ๔๐ (๑๒๐) กิจกรรมพฒั นาผูเ รียน ๔๐ แนะแนว กิจกรรมนกั เรยี น ๓๐ ๔๐ • ลกู เสือ เนตรนารี ๑๐ • ชมุ นุม (๑,๐๔๐) กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน ๑ รวมเวลาเรียนทั้งหมด *กจิ กรรมชมุ นุมนักเรยี นเลอื กเรยี นตามความสนใจ ไดแก 1. ชุมนมุ รกั การอา น 2. ชุมนมุ จติ อาสา 3. ชุมนมุ ดนตรี 4. ชุมนุมกีฬา **ผูเรยี นปฏบิ ัตกิ จิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน ผนวกในกิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี หนา ท่พี ลเมือง บรู ณาการและวดั ผลรวมในกลุม สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กจิ กรรมลดเวลาเรยี นเพ่มิ เวลารู บรู ณาการในกลมุ สาระการเรียนรู ดังตอไปนี้ ๑. กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ๒. กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ๓. กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๖ โครงสรา งหลกั สูตรชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๓ โรงเรยี นบา นยวนโปะ รหัส กลมุ สาระการเรยี นรู/กจิ กรรม เวลาเรียน (ชม./ป) ท ๑๓๑๐๑ รายวิชาพนื้ ฐาน (๘๘๐) ค ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๒๐๐ ว ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร ๓ ๒๐๐ ส ๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๓ ส ๑๓๑๐๒ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ ๘๐ พ ๑๓๑๐๑ ประวตั ิศาสตร ๓ ๔๐ ศ ๑๓๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๓ ๔๐ ง ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๓ ๔๐ อ ๑๓๑๐๓ การงานอาชีพ ๓ ๔๐ ส ๑๓๒๐๓ ภาษาอังกฤษ ๓ ๔๐ ๒๐๐ รายวชิ าเพ่มิ เติม (๔๐) การปอ งกันการทุจรติ ๔๐ (๑๒๐) กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน ๔๐ แนะแนว กจิ กรรมนักเรียน ๓๐ ๔๐ • ลกู เสอื เนตรนารี ๑๐ • ชมุ นมุ (๑,๐๔๐) กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณะประโยชน ๑ รวมเวลาเรียนทงั้ หมด *กจิ กรรมชมุ นุมนักเรยี นเลือกเรียนตามความสนใจ ไดแก 1. ชมุ นมุ รกั การอาน 2. ชุมนุมจติ อาสา 3. ชมุ นมุ ดนตรี 4. ชุมนุมกีฬา **ผูเรียนปฏิบัตกิ ิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน ผนวกในกิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี หนา ท่พี ลเมอื ง บรู ณาการและวัดผลรวมในกลุมสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กจิ กรรมลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลารู บรู ณาการในกลมุ สาระการเรียนรู ดงั ตอไปนี้ ๑. กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย ๒. กลุม สาระการเรยี นรูคณิตศาสตร ๓. กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๗ โครงสรางหลักสูตรชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๔ โรงเรยี นบานยวนโปะ รหสั กลุมสาระการเรียนรู/กิจกรรม เวลาเรียน (ชม./ป) ท ๑๔๑๐๑ รายวิชาพื้นฐาน (๘๘๐) ค ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ๑๖๐ ว ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร ๔ ๑๖๐ ส ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๔ ๑๒๐ ส ๑๔๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๔ พ ๑๔๑๐๑ ประวตั ศิ าสตร ๔ ๘๐ ศ ๑๔๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๔ ๔๐ ง ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๔ ๘๐ อ ๑๔๑๐๑ การงานอาชพี ๔ ๘๐ ส ๑๔๒๐๔ ภาษาองั กฤษ ๔ ๘๐ ๘๐ รายวิชาเพ่ิมเติม (๔๐) การปอ งกันการทุจรติ ๔๐ (๑๒๐) กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น ๔๐ แนะแนว กิจกรรมนกั เรียน ๓๐ ๔๐ • ลูกเสือ เนตรนารี ๑๐ • ชมุ นุม (๑,๐๔๐) กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน ๑ รวมเวลาเรยี นทง้ั หมด *กิจกรรมชมุ นมุ นักเรยี นเลอื กเรียนตามความสนใจ ไดแก 1. ชมุ นมุ รักการอาน 2. ชมุ นุมจิตอาสา 3. ชมุ นมุ ดนตรี 4. ชมุ นมุ กฬี า **ผูเรยี นปฏบิ ัตกิ จิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน ผนวกในกจิ กรรมลูกเสือ/เนตรนารี หนา ที่พลเมือง บูรณาการและวัดผลรวมในกลุมสาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม กจิ กรรมลดเวลาเรยี นเพ่มิ เวลารู บูรณาการในกลมุ สาระการเรยี นรู ดังตอไปนี้ ๑. กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย ๒. กลุมสาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ๓. กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๘ โครงสรางหลกั สูตรชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๕ โรงเรยี นบา นยวนโปะ รหัส กลมุ สาระการเรยี นรู/กิจกรรม เวลาเรียน (ชม./ป) ท ๑๕๑๐๑ รายวิชาพนื้ ฐาน (๘๘๐) ค ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ๑๖๐ ว ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร ๕ ๑๖๐ ส ๑๕๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๕ ๑๒๐ ส ๑๕๑๐๒ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๕ พ ๑๕๑๐๑ ประวตั ศิ าสตร ๕ ๘๐ ศ ๑๕๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๕ ๔๐ ง ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๕ ๘๐ อ ๑๕๑๐๑ การงานอาชีพ ๕ ๘๐ ส ๑๕๒๐๕ ภาษาองั กฤษ ๔ ๘๐ ๘๐ รายวิชาเพ่มิ เติม (๔๐) การปองกันการทุจรติ ๔๐ (๑๒๐) กิจกรรมพฒั นาผเู รียน ๔๐ แนะแนว กจิ กรรมนักเรียน ๓๐ ๔๐ • ลูกเสือ เนตรนารี ๑๐ • ชุมนุม (๑,๐๔๐) กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณะประโยชน ๑ รวมเวลาเรียนทงั้ หมด *กิจกรรมชมุ นุมนักเรียนเลือกเรียนตามความสนใจ ไดแก 1. ชมุ นุมรกั การอาน 2. ชมุ นมุ จติ อาสา 3. ชุมนมุ ดนตรี 4. ชุมนมุ กฬี า **ผูเรยี นปฏบิ ตั ิกจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน ผนวกในกิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี หนาทีพ่ ลเมือง บรู ณาการและวัดผลรวมในกลุมสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กิจกรรมลดเวลาเรยี นเพิม่ เวลารู บูรณาการในกลมุ สาระการเรียนรู ดงั ตอไปนี้ ๑. กลุม สาระการเรยี นรภู าษาไทย ๒. กลมุ สาระการเรียนรูคณติ ศาสตร ๓. กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๑๙ โครงสรางหลกั สูตรชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ โรงเรยี นบา นยวนโปะ รหัส กลมุ สาระการเรียนร/ู กจิ กรรม เวลาเรียน (ชม./ป) ท ๑๖๑๐๑ รายวิชาพนื้ ฐาน (๘๘๐) ค ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ ๑๖๐ ว ๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร ๖ ๑๖๐ ส ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๖ ๑๒๐ ส ๑๖๑๐๒ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๖ พ ๑๖๑๐๑ ประวตั ศิ าสตร ๖ ๘๐ ศ ๑๖๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๖ ๔๐ ง ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๖ ๘๐ อ ๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ ๖ ๘๐ ส ๑๖๒๐๖ ภาษาองั กฤษ ๖ ๘๐ ๘๐ รายวิชาเพ่มิ เติม (๔๐) การปองกันการทุจรติ ๔๐ (๑๒๐) กิจกรรมพฒั นาผเู รียน ๔๐ แนะแนว กจิ กรรมนักเรียน ๓๐ ๔๐ • ลูกเสือ เนตรนารี ๑๐ • ชุมนุม (๑,๐๔๐) กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณะประโยชน ๑ รวมเวลาเรียนทงั้ หมด *กิจกรรมชุมนุมนักเรียนเลือกเรยี นตามความสนใจ ไดแก 1. ชมุ นุมรักการอาน 2. ชมุ นุมจติ อาสา 3. ชุมนมุ ดนตรี 4. ชุมนมุ กฬี า **ผูเรยี นปฏบิ ัติกจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน ผนวกในกิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี หนา ท่พี ลเมอื ง บูรณาการและวัดผลรวมในกลุมสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กิจกรรมลดเวลาเรยี นเพิม่ เวลารู บูรณาการในกลุม สาระการเรยี นรู ดังตอ ไปนี้ ๑. กลุม สาระการเรยี นรภู าษาไทย ๒. กลมุ สาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร ๓. กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๐ กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย รายวชิ าของโรงเรยี นบานยวนโปะ รายวิชาพ้นื ฐาน จำนวน ๒๐๐ ชัว่ โมง จำนวน ๒๐๐ ช่วั โมง ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ จำนวน ๒๐๐ ชวั่ โมง ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ จำนวน ๑๖๐ ชั่วโมง ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ จำนวน ๑๖๐ ช่ัวโมง ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ จำนวน ๑๖๐ ชวั่ โมง ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ ************************************************************* กลมุ สาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร จำนวน ๒๐๐ ชัว่ โมง รายวิชาพ้ืนฐาน จำนวน ๒๐๐ ชวั่ โมง จำนวน ๒๐๐ ช่วั โมง ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร ๑ จำนวน ๑๖๐ ชว่ั โมง ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร ๒ จำนวน ๑๖๐ ช่ัวโมง ค ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร ๓ จำนวน ๑๖๐ ช่ัวโมง ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร ๔ ค ๑๕๑๐๑ คณิตศาสตร ๕ ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร ๖ ************************************************************* กลุมสาระการเรียนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จำนวน ๘๐ ชวั่ โมง รายวชิ าพื้นฐาน จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง จำนวน ๘๐ ชวั่ โมง ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ๑ จำนวน ๑๒๐ ชวั่ โมง ว ๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๒ จำนวน ๑๒๐ ช่ัวโมง ว ๑๓๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๓ จำนวน ๑๒๐ ชั่วโมง ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๔ ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๕ ว ๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๖ ************************************************************* หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๑ กลุมสาระการเรียนรสู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม จำนวน ๔๐ ช่วั โมง รายวชิ าพ้นื ฐาน จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง ส ๑๑๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๑ จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง ส ๑๒๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๒ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง ส ๑๓๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๓ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง ส ๑๔๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๔ ส ๑๕๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๕ ส ๑๖๑๐๑ สังคมศกึ ษาฯ ๖ ส ๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร ๑ จำนวน ๔๐ ช่วั โมง ส ๑๒๑๐๒ ประวัติศาสตร ๒ จำนวน ๔๐ ช่วั โมง ส ๑๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร ๓ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ส ๑๔๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร ๔ จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง ส ๑๕๑๐๒ ประวัตศิ าสตร ๕ จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง ส ๑๖๑๐๒ ประวัติศาสตร ๖ จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง รายวิชาเพ่ิมเตมิ จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง ส ๑๑๒๐๑ การปอ งกนั การทจุ รติ ๑ จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง ส ๑๒๒๐๒ การปอ งกันการทจุ ริต ๒ จำนวน ๔๐ ช่วั โมง ส ๑๓๒๐๓ การปอ งกนั การทุจริต ๓ จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง ส ๑๔๒๐๔ การปองกันการทุจริต ๔ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ส ๑๕๒๐๕ การปอ งกนั การทุจริต ๕ จำนวน ๔๐ ช่วั โมง ส ๑๖๒๐๖ การปอ งกนั การทุจรติ ๖ ************************************************************* กลมุ สาระการเรยี นรูสุขศกึ ษาและพลศกึ ษา จำนวน ๔๐ ช่วั โมง รายวิชาพ้นื ฐาน จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง พ ๑๑๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๑ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง พ ๑๒๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๒ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง พ ๑๓๑๐๑ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๓ จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง พ ๑๔๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔ พ ๑๕๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๕ พ ๑๖๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๖ ************************************************************* หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๒ กลุมสาระการเรียนรูศลิ ปะ จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง รายวิชาพื้นฐาน จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง ศ ๑๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๑ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง ศ ๑๒๑๐๑ ศิลปะ ๒ จำนวน ๘๐ ชวั่ โมง ศ ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๓ จำนวน ๘๐ ช่ัวโมง ศ ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๔ ศ ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๕ ศ ๑๖๑๐๑ ศิลปะ ๖ ************************************************************* กลมุ สาระการเรียนรกู ารงานอาชีพ จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง รายวิชาพื้นฐาน จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชีพฯ ๑ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชพี ฯ ๒ จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชพี ฯ ๓ จำนวน ๘๐ ช่ัวโมง ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชพี ฯ ๔ ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ฯ ๕ ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชพี ฯ ๖ ************************************************************* กลมุ สาระการเรียนรูภ าษาตา งประเทศ(องั กฤษ) จำนวน ๒๐๐ ชั่วโมง รายวชิ าพื้นฐาน จำนวน ๒๐๐ ช่วั โมง จำนวน ๒๐๐ ชัว่ โมง อ ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง อ ๑๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๒ จำนวน ๘๐ ชว่ั โมง อ ๑๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ จำนวน ๘๐ ชั่วโมง อ ๑๔๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๔ อ ๑๕๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ อ ๑๖๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๖ ************************************************************* หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๓ อธบิ ายรายวชิ า กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๔ ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๑ เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. คำอธิบายรายวชิ า ฝกอานออกเสียงคำ คำคลองจอง และขอความสั้นๆ บอกความหมายของคำและขอความ ตอบคำถาม เลาเรื่องยอ คาดคะเนเหตุการณ เลือกอานหนังสือตามความสนใจอยางสม่ำเสมอ นำเสนอเรื่องท่ีอาน บอก ความหมายของเคร่ืองหมายหรือสัญลักษณสำคัญที่มักพบเห็นในชีวิตประจำวัน มีมารยาทในการอาน ฝกคัด ลายมือดวยตัวบรรจงเตม็ บรรทัด เขยี นส่อื สารดว ยคำและประโยคงา ยๆ มมี ารยาทในการเขยี น ฝกทักษะในการฟง ฟงคำแนะนำ คำส่ังงายๆและปฏิบัติตาม ตอบคำถาม เลาเร่อื ง พูดแสดงความคดิ เห็น และความรูสึกจากเรือ่ งที่ฟง และดู พูดสอื่ สารไดตามวัตถุประสงค เนน มารยาทในการฟง การดูและการพดู ฝกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทย เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ เรยี บเรยี งคำเปนประโยคงา ยๆ ตอคำคลอ งจองงายๆ บอกขอคิดท่ีไดจากการอานหรือการฟงวรรณกรรมรอยแกวและรอยกรองสำหรับเด็ก ฝกทองจำบท อาขยานตามท่ีกำหนดและบทรอยกรองตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอาน กระบวนการเขยี น กระบวนการ แสวงหาความรู กระบวนการกลุม กระบวนการคิด การฝกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การต้ังคำถาม ตอบคำถาม ใช ทักษะการฟง การดแู ละการพูด พดู แสดงความคิดเห็น กระบวนการสรางความคดิ รวบยอด เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ ส่ือสารไดถูกตอง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคาของการ อนุรักษภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและสามารถนำไปประยกุ ตใชกบั ชวี ิตประจำวนั ไดอยางถกู ตองเหมาะสม มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั ท ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘ ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕ ท ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔ ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ รวม ๕ มาตรฐาน ๒๒ ตัวช้ีวดั หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๕ ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ คำอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน กลุมสาระการเรียนรูภ าษาไทย ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๒ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. คำอธิบายรายวชิ า ฝกอานออกเสียงคำ คำคลองจอง ขอความ และบทรอยกรองงายๆ อธิบายความหมายของคำและ ขอความที่อาน ตั้งคำถาม ตอบคำถาม ระบุใจความสำคัญและรายละเอียด แสดงความคิดเห็นและคาดคะเน เหตุการณ เลือกอานหนังสือตามความสนใจอยางสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องท่ีอาน อานขอเขียนเชิงอธิบาย และ ปฏบิ ตั ิตามคำส่งั หรือขอ แนะนำ มีมารยาทในการอา น ฝกคัดลายมือดวยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนเรื่องส้ันๆ เก่ียวกับประสบการณ เขียนเร่ืองส้ันๆ ตาม จินตนาการ มมี ารยาทในการเขียน ฝกทักษะการฟง ฟงคำแนะนำ คำสั่งที่ซับซอนและปฏิบัติตาม เลาเรื่อง บอกสาระสำคัญของเร่ือง ตั้ง คำถาม ตอบคำถาม พูดแสดงความคิดเห็น ความรูสึก พูดส่ือสารไดชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค มีมารยาทในการ ฟง การดูและการพดู ฝกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทย เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ เรียบเรียงคำเปนประโยคไดตรงตามเจตนาของการสื่อสาร บอกลักษณะคำคลองจอง เลือกใชภาษาไทยมาตรฐาน และภาษาถิน่ ไดเหมาะสมกบั กาลเทศะ ฝก จบั ใจความสำคัญจากเรอื่ ง ระบุขอคิดท่ีไดจากการอานหรอื การฟงวรรณกรรมสำหรับเด็ก เพ่ือนำไปใช ในชีวิตประจำวัน รองบทรองเลนสำหรับเด็กในทองถ่ิน ทองจำบทอาขยานตามท่ีกำหนดและบทรอยกรองที่มี คุณคาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอาน กระบวนการเขยี น กระบวนการแสวงหาความรู กระบวนการกลุม กระบวนการคิดวิเคราะห กระบวนการสื่อความ กระบวนการแกปญหา การฝกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้ง คำถาม ตอบคำถาม ใชทกั ษะการฟง การดแู ละการพดู พดู แสดงความคิดเห็น กระบวนการสรา งความคดิ รวบยอด เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ ส่ือสารไดถูกตอง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคาของการ อนุรักษภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและสามารถนำไปประยุกตใชก บั ชีวติ ประจำวนั ไดอยางถกู ตองเหมาะสม มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘ ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ป.๒/๖, ป.๒/๗ ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ รวม ๕ มาตรฐาน ๒๗ ตัวชี้วัด หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๖ คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๓ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. คำอธิบายรายวิชา ฝกอานออกเสียงคำ ขอความ เรอ่ื งส้ัน ๆ และบทรอยกรองงายๆ อธิบายความหมายของคำและขอความ ท่ีอาน ตั้งคำถาม ตอบคำถามเชิงเหตุผล ลำดับเหตุการณ คาดคะเนเหตุการณ สรุปความรู ขอคิดจากเรื่องที่อาน เพื่อนำไปใชในชีวิตประจำวัน เลือกอานหนังสือตามความสนใจอยางสม่ำเสมอและนำเสนอเร่ืองที่อาน อาน ขอเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคำส่ังหรือขอแนะนำ อธิบายความหมายของขอมูลจากแผนภาพ แผนที่ และ แผนภมู ิ มีมารยาทในการอา น ฝกคัดลายมือดวยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย เขียนบันทึกประจำวัน เขียนเรื่องตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน ฝกทักษะการฟง การดูและการพูด เลารายละเอียด บอกสาระสำคัญ ต้ังคำถาม ตอบคำถาม พูดแสดง ความคิดเหน็ ความรสู ึก พดู สือ่ สารไดช ัดเจนตรงตามวัตถุประสงค มีมารยาทในการฟง การดแู ละการพูด ฝกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ ระบุชนิด หนาที่ของคำ ใช พจนานุกรมคนหาความหมายของคำ แตงประโยคงายๆ แตงคำคลองจองและคำขวัญ เลือกใชภาษาไทยมาตรฐาน และภาษาถน่ิ ไดเหมาะสมกับกาลเทศะ ระบุขอคิดท่ีไดจากการอานวรรณกรรม เพื่อนำไปใชในชีวิตประจำวัน รูจักเพลงพ้ืนบาน เพลงกลอมเด็ก เพ่ือปลูกฝงความชื่นชมวัฒนธรรมทองถิ่น แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับวรรณคดีท่ีอาน ทองจำบทอาขยานตามท่ี กำหนดและบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอาน กระบวนการเขียน กระบวนการ แสวงหาความรู กระบวนการกลุม กระบวนการคิดวิเคราะห กระบวนการส่ือความ กระบวนการแกปญหา การฝก ปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การต้ังคำถาม ตอบคำถาม ใชทักษะการฟง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสรา งความคิดรวบยอด เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ ส่ือสารไดถูกตอง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคาของการ อนุรักษภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งและสามารถนำไปประยุกตใชกับชวี ติ ประจำวันไดอยางถูกตองเหมาะสม มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙ ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ รวม ๕ มาตรฐาน ๓๑ ตัวช้วี ดั หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๗ ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. คำอธิบายรายวิชา ฝกอานออกเสียงบทรอ ยแกวและบทรอยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยคและสำนวนจากเรื่องที่ อา น อานเร่ืองสั้น ๆ ตามเวลาท่ีกำหนดและตอบคำถามจากเร่ืองที่อาน แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเร่ืองที่ อาน คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน โดยระบุเหตุผลประกอบ สรุปความรูและขอคิดจากเร่ืองท่ีอาน เพ่ือ นำไปใชในชีวิตประจำวัน เลือกอานหนังสือท่ีมีคุณคาตามความสนใจอยางสม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็น เกีย่ วกับเรื่องที่อาน มีมารยาทในการอาน ฝก คัดลายมอื ดว ยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทดั เขียนสอ่ื สารโดย ใชค ำไดถ ูกตอ ง ชัดเจนและเหมาะสม เขยี นแผนภาพโครงเรอ่ื งและแผนภาพความคิดเพื่อใชพฒั นางานเขียน เขยี น ยอความจากเร่ืองสั้น ๆ เขียนจดหมายถึงเพื่อนและมารดา เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาคนควา เขยี นเร่อื งตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน ฝกทักษะการฟง การดูและการพูด จำแนกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นเรื่องที่ฟงและดู พูดสรุปจากการฟง และดู พูดแสดงความรู ความคิดเห็นและความรูสึกเกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู ตั้งคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผล จากเรื่องท่ีฟงและดู พูดรายงานเร่ืองหรือประเด็นที่ศึกษาคนควาจากการฟง การดูและการสนทนา มีมารยาทใน การฟง การดูและการพูด ฝกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำในบริบทตาง ๆ ระบุชนิดและหนาท่ีของคำในประโยค ใชพจนานุกรมคนหาความหมายของคำ แตงประโยคไดถูกตองตามหลัก ภาษา แตง บทรอ ยกรองและคำขวญั บอกความหมายของสำนวน เปรยี บเทยี บภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได ระบุขอคิดจากนิทานพ้ืนบานหรือนิทานคติธรรมอธิบายขอคิดจากการอานเพื่อนำไปใชในชีวิตจริงรอง เพลงพื้นบานทองจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทรอยกรองที่มคี ุณคาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอาน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู กระบวนการกลุม กระบวนการคิดวิเคราะหและสรุปความ กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการสอ่ื ความกระบวนการแกปญหา การฝกปฏบิ ัติอธบิ ายบนั ทึก การ ตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใชท ักษะการฟง การดแู ละการพดู พดู แสดงความคิดเหน็ กระบวนการสรางความคิดรวบยอด เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สื่อสารไดถูกตอง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคาของการ อนุรักษภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนำความรไู ปใชใหเกิดประโยชนโดยใชวิธีการของเศรษฐกิจพอเพยี งและ สามารถนำไปประยกุ ตใชกับชีวติ ประจำวนั ไดอยางถกู ตองเหมาะสม มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖ ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗ ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตวั ชว้ี ัด หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๘ ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๕ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. คำอธิบายรายวชิ า ฝก อานออกเสียงบทรอยแกว และบทรอ ยกรอง อธบิ ายความหมายของคำ ประโยคและขอความท่ีเปน การ บรรยายและการพรรณนา อธิบายความหมายโดยนัย แยกขอเท็จจริง ขอคิดเห็น วิเคราะห แสดงความคิดเห็น อานงานเขียนเชิงอธิบาย คำส่ัง ขอแนะนำ และปฏิบัติตาม เลือกอานหนังสือท่ีมีคุณคาตามความสนใจ มีมารยาท ในการอาน ฝกคัดลายมือดวยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนส่ือสาร เขียนแผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพ ความคิด เขียนยอความ เขียนจดหมายถึงผูปกครองและญาติ เขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็น กรอกแบบ รายการตา ง ๆ เขียนเร่อื งตามจนิ ตนาการ มีมารยาทในการเขยี น ฝกทักษะการฟง การดูและการพูด พูดแสดงความรู ความคิดเห็นและความรูสึก ต้ังคำถาม ตอบคำถาม วเิ คราะหค วาม พดู รายงาน มีมารยาทในการฟง การดูและการพดู ระบุชนิดและหนาที่ของคำในประโยค จำแนกสวนประกอบของประโยค เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐาน และภาษาถิน่ ใชคำราชาศัพท บอกคำภาษาตางประเทศในภาษาไทย แตงบท รอยกรอง ใชส ำนวนไดถ ูกตอง สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน ระบุความรู ขอคิดจากการอานวรรณคดีและวรรณกรรมที่ สามารถนำไปใชในชีวิตจริง อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม ทองจำบทอาขยานตามท่ีกำหนดและบท รอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอาน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู กระบวนการกลุม กระบวนการคิดวิเคราะหและสรุปความ กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการส่ือ ความ กระบวนการแกป ญหา การฝก ปฏบิ ัติ อธบิ าย บันทึก การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใชทกั ษะการฟง การดูและ การพูด พดู แสดงความคดิ เห็น กระบวนการสรา งความคดิ รวบยอด เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ ส่ือสารไดถูกตอง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคาของการ อนรุ ักษภาษาไทย และตวั เลขไทย สามารถนำความรไู ปใชใ หเกิดประโยชนโดยใชวธิ ีการของเศรษฐกิจพอเพียงและ สามารถนำไปประยุกตใ ชกับชีวิตประจำวันไดอ ยา งถกู ตองเหมาะสม มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘ ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙ ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗ ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตัวชว้ี ดั หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๒๙ ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. คำอธิบายรายวชิ า ฝกอานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยคและขอความที่เปน โวหาร อานเร่ืองสั้นๆ อยางหลากหลาย แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องที่อาน วิเคราะหและแสดงความ คิดเห็นเก่ียวกับเร่ืองท่ีอานเพื่อนำไปใชในการดำเนินชีวิต อานงานเขียน เชิงอธิบาย คำสั่ง ขอแนะนำ และปฏิบัติ ตาม อธิบายความหมายของขอ มลู จากการอานแผนผัง แผนที่ แผนภมู ิและกราฟ เลือกอานหนงั สอื ตามความสนใจ และอธิบายคณุ คาทไ่ี ดรบั มมี ารยาทในการอาน ฝกคัดลายมือดวยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและคร่ึงบรรทัด เขียนส่ือสารโดยใชคำไดถูกตอง ชัดเจน และ เหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิดเพ่ือใชพัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ เขียนยอความ จากเรื่องอาน เขียนจดสวนตัว กรอกแบบรายการตาง ๆ เขียนเร่ืองตามจินตนาการและสรางสรรค มีมารยาทใน การเขียน ฝก ทักษะการฟง การดูและการพดู พูดแสดงความรู ความเขาใจจดุ ประสงคของเร่ืองที่ฟง และดู ตั้งคำถาม และตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเร่ืองที่ฟงและดู วิเคราะหความนาเชื่อถือจากเรื่องที่ฟงและดูสื่อโฆษณาอยางมี เหตุผล พูดรายงานเร่ืองหรือประเด็นที่ศึกษาคนควาจากการฟง การดูและการสนทนา พูดโนมนาวอยางมีเหตุผล และนาเชือ่ ถือ มมี ารยาทในการฟง การดูและการพดู ฝกวิเคราะหชนิดและหนาที่ของคำในประโยค ใชคำไดเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล รวบรวมและ บอกความหมายของคำภาษาตางประเทศท่ีใชในภาษาไทย ระบุลักษณะของประโยค แตงบทรอยกรอง วเิ คราะหเปรยี บเทยี บสำนวนทเี่ ปนคำพังเพยและสุภาษติ ฝกแสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน เลานิทานพื้นบานทองถิ่นตนเองและนิทาน พื้นบานของทองถ่ินอื่น อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอานและนำไปประยุกตใชในชีวิตจริง ทองจำ บทอาขยานตามท่ีกำหนดและบทรอย โดยใชกระบวนการอาน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู กระบวนการกลุม กระบวนการคิดวิเคราะหและสรุปความ กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการสื่อ ความ กระบวนการแกป ญหา กระบวนการสังเกต กระบวนกรแยกขอ เทจ็ จรงิ กระบวนการคน ควา กระบวนการใช เทคโนโลยใี นการสอ่ื สาร กระบวนการใชทกั ษะทางภาษา การฝกปฏิบัติ อธบิ าย บันทึก การต้ังคำถาม ตอบคำถาม ใชท กั ษะการฟง การดูและการพดู พูดแสดงความคดิ เห็น กระบวนการสรา งความคิดรวบยอด เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ ส่ือสารไดถูกตอง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคาของการ อนุรักษภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรูไปใชใหเ กิดประโยชนโดยใชวิธีการของเศรษฐกจิ พอเพียงและ สามารถนำไปประยุกตใ ชก ับชีวติ ประจำวันไดอ ยางถกู ตองเหมาะสม มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ รวม ๕ มาตรฐาน ๓๔ ตัวชวี้ ัด หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๐ อธิบายรายวิชา กลมุ สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๑ ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร ๑ คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน กลมุ สาระการเรียนรูค ณติ ศาสตร ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. คำอธิบายรายวชิ า ศกึ ษา ฝก ทกั ษะการคิดคำนวณและฝก แกปญหา จำนวนนับ ๑ ถึง ๑๐๐ และ ๐ บอกและแสดงจำนวนสิ่ง ตา ง ๆ ตามจำนวนท่ีกำหนด อานและเขยี นตัวเลขฮนิ ดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับทีห่ ลัก คา ของเลขโดดในแต ละหลัก และเขียนแสดงจำนวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบจำนวนนับไมเกิน ๑๐๐ และ ๐ โดยใชเคร่ืองหมาย = ≠ > < เรียงลำดบั จำนวนต้ังแต ๓ ถึง ๕ จำนวน และหาคาของตวั ไมท ราบคาในประโยคสัญลกั ษณแ สดงการบวก การลบ การแกโจทยปญหาการบวก การลบ ของจำนวนนับไมเ กิน ๑๐๐ และ ๐ ความยาวและน้ำหนัก สรางโจทย ปญหาพรอมทั้งแสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาการบวก การลบ ของจำนวนนับไมเกิน ๑๐๐ และ ๐ ระบุ จำนวนที่หายไปในแบบรูปของจำนวนท่ีเพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละ ๑ ทีละ ๑๐ รูปท่ีหายไปในแบบรูปซ้ำของรูป เรขาคณิตและรูปอ่ืน ๆ ที่สมาชิกใน แตละชุดท่ีซ้ำมี ๒ รูป วัดและเปรียบเทียบความยาวเปนเซนติเมตร เปนเมตร น้ำหนักเปนกิโลกรัมเปนขีด และใชหนวยที่ไมใชหนวยมาตรฐาน จำแนกรูปสามเหลี่ยม รูปส่ีเหล่ียม วงกลม วงรี ทรงส่ีเหล่ียมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย ใชขอมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบของโจทย ปญหา เมือ่ กำหนดรปู ๑ รูปแทน ๑ หนว ย มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ค ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕ ค ๑.๒ ป.๑/๑ ค ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ ค ๒.๒ ป.๑/๑ ค ๓.๑ ป.๑/๑ รวมทั้งหมด ๑๐ ตัวชี้วัด หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๒ ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร ๒ อธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลุม สาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร ช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี ๒ เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. คำอธิบายรายวชิ า ศึกษา ฝกทักษะการคิดคำนวณและฝกแกปญหา จำนวนนับ ๑ ถึง ๑,๐๐๐ และ ๐ บอกและแสดง จำนวนส่ิงตาง ๆ ตามจำนวนที่กำหนด อานและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับที่หลัก คาของ เลขโดดในแตละหลัก และเขยี นแสดงจำนวนในรูปกระจาย เปรยี บเทยี บจำนวนนับไมเกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ โดยใช เครื่องหมาย = ≠ > < เรียงลำดับจำนวนนับไมเกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ต้ังแต ๓ ถึง ๕ จำนวน และหาคาของตัว ไมทราบคา ในประโยคสัญลักษณแสดงการบวก การลบ การแกโจทยปญหาการบวก การลบของจำนวนนับไมเกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ หาคาของตัวไมทราบคาในประโยคสัญลักษณแสดงการคูณของจำนวน ๑ หลักกับจำนวนไมเกิน ๒ หลกั และประโยคสัญลกั ษณแสดงการหารทีต่ วั ตง้ั ไมเกิน ๒ หลัก ตวั หาร ๑ หลกั โดยทผ่ี ลหารมี ๑ หลกั ทงั้ หาร ลงตัวและหารไมลงตัว หาผลลัพธการบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนับไมเกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหา คำตอบของโจทยปญหา ๒ ข้ันตอนของจำนวนนับไมเกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหา เกี่ยวกับเวลาท่ีมีหนวยเดี่ยวและเปนหนวยเดียว วัดและเปรียบเทียบความยาวเปนเมตรและเซนติเมตร พรอมท้ัง แสดงวิธีการหาคำตอบของโจทยปญหาการบวก การลบความยาวท่ีมีหนวยเปนเมตรและเซนติเมตร วัดและ เปรียบเทียบน้ำหนักเปนกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด พรอมทั้งแสดงวิธีการหาคำตอบของโจทยปญหาการ บวกการลบเก่ยี วกบั นำ้ หนักทมี่ หี นว ยเปน กิโลกรมั และกรัม กโิ ลกรมั และขีด วัดและเปรียบเทียบปริมาตรและความ จุเปนลิตร จำแนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหลยี่ มและวงกลม ใชขอมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบ ของโจทยป ญ หา เมอ่ื กำหนดรูป ๑ รูปแทน ๒ หนวย ๕ หนว ยหรอื ๑๐ หนวย มาตรฐาน/ตัวชี้วดั ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘ ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖ ค ๒.๒ ป.๒/๑ ค ๓.๑ ป.๒/๑ รวม ๑๖ ตัวชี้วัด หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๓ ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร ๓ คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน กลุมสาระการเรียนรคู ณติ ศาสตร ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๓ เวลา ๒๐๐ ช่ัวโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. คำอธิบายรายวชิ า อานและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณตาง ๆ บอก อานและเขียน เศษสวนท่ีแสดงปริมาณส่ิงตาง ๆ และแสดงสิ่งตาง ๆ ตามเศษสวนที่กำหนด เปรียบเทียบเศษสวนท่ีตัวเศษเทา กัน โดยท่ีตัวเศษนอยกวาหรือเทากับตัวสวน หาคาของตัวไมทราบคาในประโยคสัญลักษณแสดงการบวกและการลบ ของจำนวนนับไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาคาของตัวไมทราบคาในประโยคสัญลักษณแสดงการคูณของจำนวน ๑ หลักกับจำนวนไมเกิน ๔ หลักและจำนวน ๒ หลักกับจำนวน ๒ หลัก หาคาของตัวไมทราบคาในประโยค สัญลักษณแสดงการหารท่ีตัวต้ังไมเกิน ๔ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก และหาผลลัพธการบวก ลบ คูณ หารระคนและ แสดงวิธีการหาคำตอบของโจทยป ญหา ๒ ข้ันตอนของจำนวนนับไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาผลบวกและแสดง วิธีหาคำตอบของโจทยปญหาการบวกของเศษสวนท่ีมีตัวสวนเทากันและผลบวกไมเกิน ๑ และหาผลลบพรอมทั้ง แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหารการลบของเสษสวนที่มีตัวสวนเทากัน ระบุจำนวนท่ีหายไปในแบบรูปของ จำนวนที่เพิ่มข้ึนหรือลดลงทีละเทา ๆ กัน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาเก่ียวกับเงิน เวลาและระยะเวลา เลอื กใชเ ครือ่ งมอื ความยาวท่ีเหมาะสม วัดและบอกความยาวของสิ่งตา ง ๆ เปนเซนติเมตรและมิลลเิ มตร เมตรและ เซนติเมตร คาดคะเนความยาวเปนเมตรและเปนเซนติเมตร เปรียบเทียบความยาวและแสดงวิธีหาคำตอบของ โจทยปญ หาเก่ยี วกับระหวา งเซนตเิ มตรกับมลิ ลเิ มตร เมตรกับเซนติเมตร กโิ ลเมตรกับเมตร จากสถานการณตาง ๆ เลือกใชเคร่ืองชั่งท่ีเหมาะสม วัดและบอกน้ำหนักเปนกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม คาดคะเนน้ำหนักเปน กิโลกรัมและเปนขีด เปรียบเทียบน้ำหนักและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาเกี่ยวกับน้ำหนักที่มีหนวยเปน กิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม จากสถานการณตาง ๆ เลือกใชเคร่ืองตวงท่ีเหมาะสม วัดและเปรียบเทียบ ปริมาตร ความจุเปนลิตรและมิลลิลิตร คาดคะเนและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาเก่ียวกับปริมาตรและ ความจุเปนลิตรและมิลลิเมตร ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติท่ีมีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร เขียนแผนภูมิ รูปภาพและใชขอมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบของโจทยปญหา เขียนตารางทางเดียวจากขอมูลท่ีเปน จำนวนนบั และใชข อ มลู จากตารางทางเดยี วในการหาคำตอบของโจทยปญหา มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐ , ป.๓/๑๑ ค ๑.๒ ป.๓/๑ ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐, ป.๓/๑๑, ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓ ค ๒.๒ ป.๓/๑ ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ รวม ๒๘ ตัวชี้วัด หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๔ ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร ๔ คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน กลุมสาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๔ เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. คำอธิบายรายวิชา ศึกษา ฝกทักษะการอานและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับท่ี มากกวา ๑๐๐,๐๐๐ พรอมทั้งเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับท่ีมากกวา ๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณตาง ๆ บอก อานและเขียนเศษสว น จำนวนคละแสดงปริมาณส่ิงตาง ๆ และแสดงส่ิงตา ง ๆ ตามเศษสวน จำนวนคละที่ กำหนด เปรยี บเทยี บ เรียงลำดบั เศษสวนและจำนวนคละท่ตี ัวสวนตัวหนง่ึ เปนพหูคณู ของอกี ตวั หน่งึ อา นและเขียน ทศนิยมไมเกิน ๓ ตำแหนง แสดงปริมาณของส่งิ ตาง ๆ ตามทศนิยมท่ีกำหนด เปรียบเทียบและเรียงลำดบั ทศนิยม ไมเกิน ๓ ตำแหนง และประมาณผลลัพธของการบวก การลบการคูณ การหาร จากสถานการณตาง ๆ อยาง สมเหตุสมผล หาคาของตัวไมทราบคาในประโยคสัญลักษณ แสดงการบวก การลบของจำนวนนับที่มากกวา ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ แสดงการคูณของจำนวนหลายหลัก ๒ จำนวน ท่ีมีผลคูณไมเกิน ๖ หลัก และแสดงการหารที่ ตวั ตั้งไมเกิน ๖ หลกั ตวั หารไมเกนิ ๒ หลกั หาผลลัพธก ารบวก ลบ คณู หารระคนของจำนวนนบั และ ๐ แสดงวิธี หาคำตอบของโจทยปญหา ๒ ข้ันตอนของจำนวนนับที่มากกวา ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ สรา งโจทยปญหา ๒ ขั้นตอน ของจำนวนนับ และ ๐ พรอมท้ังหาคำตอบ หาคำตอบและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาการบวก การลบ ของเศษสวนและจำนวนคละที่ตัวสวนตัวหน่ึงเปนพหูคูณของอีกตัวหน่ึง หาผลบวก ผลลบของทศนิยมไมเกิน ๓ ตำแหนง และแสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทยป ญหาการบวก การลบ ๒ ขนั้ ตอนของทศนยิ มไมเ กนิ ๓ ตำแหนง แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาเกี่ยวกับเวลา วัดและสรางมุมโดยใชโพรแทรกเตอร แสดงวิธีหา คำตอบของโจทยป ญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรปู และพื้นที่ของรูปสี่เหลยี่ มมุมฉาก จำแนกชนิดของมุม บอกชือ่ มุม สวนประกอบของมุมและเขียนสัญลักษณแสดงมุม สรางรูปส่ีเหลี่ยมมุมฉากเมื่อกำหนดความยาวของดาน และใช ขอมูลจากแผนภมู ิแทง ตารางสองทางในการหาคำตอบของโจทยป ญหา มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘, ป.๔/๙, ป.๔/๑๐, ป.๔/๑๑, ป.๔/๑๒, ป.๔/๑๓, ป.๔/๑๔, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๖ ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒ ค ๓.๑ ป.๔/๑ รวม ๒๒ ตัวช้ีวดั หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๕ ค ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร ๕ อธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน กลมุ สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๕ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. คำอธิบายรายวิชา เขียนเศษสวนที่มีตัวสวนเปนตัวประกอบของ ๑๐ หรือ ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรูปทศนิยม แสดงวิธีหา คำตอบของโจทยปญหาโดยใชบัญญัติไตรยางศ หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหารของเศษสวนและจำนวนคละ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป ญหาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษสวน ๒ ขัน้ ตอน หาผลคณู ของทศนิยม ที่ ผลคูณเปนทศนิยมไมเกิน ๓ ตำแหนง หาผลหารทตี่ ัวตง้ั เปนจำนวนนับหรือทศนิยมไมเกิน ๓ ตำแหนง และตัวหาร เปนจำนวนนับ ผลหารเปนทศนิยมไมเกิน ๓ ตำแหนง แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาการบวก การลบ การ คูณ การหารทศนยิ ม ๒ ข้นั ตอน และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทยป ญหารอ ยละไมเ กนิ ๒ ขัน้ ตอน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาเก่ียวกับความยาว น้ำหนัก ที่มีการเปลี่ยนหนวยและเขียนในรูป ทศนิยม แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาเก่ียวกับปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากและความจุของภาชนะทรง ส่ีเหล่ียมมุมฉาก ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมและพ้ืนที่ของรูปส่ีเหล่ียมดานขนานและรูปส่ีเหลี่ยมขนมเปยก ปูน สรางเสนตรงหรือสวนของเสนตรงใหขนานกับเสนตรงหรือสวนของเสนตรงที่กำหนดให จำแนกรูปส่ีเหลี่ยม โดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สรางรูปสี่เหลี่ยมชนิดตาง ๆ เมื่อกำหนดความยาวของดานและขนาดของมุมหรือ เมอ่ื กำหนดความยาวของเสนทแยงมุม และบอกลักษณะของปรซิ มึ ใชข อมูลจากกราฟเสน ในการหาคำตอบของโจทยปญ หา และเขยี นแผนภมู ิแทง จากขอ มลู ทเ่ี ปนจำนวนนับ มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ , ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙ ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ รวม ๑๙ ตัวช้ีวัด หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๖ ค ๑๖๑๐๑ คณติ ศาสตร ๖ คำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลุม สาระการเรยี นรูคณติ ศาสตร ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๖ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. คำอธบิ ายรายวิชา เปรียบเทียบ เรียงลำดับ เศษสวนและจำนวนคละจากสถานการณตาง ๆ เขียนอัตราสวนแสดงการ เปรียบเทียบปริมาณ ๒ ปริมาณจากขอความหรือสถานการณ โดยท่ีปริมาณแตละปริมาณเปนจำนวนนับ หา อัตราสวนที่เทากับอัตราสวนท่ีกำหนดให หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจำนวนนับไมเกิน ๓ จำนวน แสดงวิธีหา คำตอบของโจทยปญหาโดยใชความรเู ก่ียวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลัพธของการบวก ลบ คณู หารระคนของ เศษสวนและจำนวนคละ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาเศษสวนและจำนวนคละ ๒ – ๓ ข้ันตอน หาผลหาร ของทศนิยมที่ตัวหารและผลหารเปนทศนิยมไมเกิน ๓ ตำแหนง แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาการบวก การ ลบ การคูณ การหารทศนิยม ๓ ข้ันตอน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาอัตราสวน ปญหารอยละ ๒ – ๓ ข้ันตอน แสดงวธิ คี ดิ และหาคำตอบของปญ หาเกีย่ วกับแบบรูป แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทยปญหาเกย่ี วกับปริมาตรของรูปเรขาคณติ สามมติ ิทปี่ ระกอบดวยทรงสีเ่ หล่ียมมุม ฉาก และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาเก่ียวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยม ความยาว รอบรปู และพ้ืนที่ของวงกลม จำแนกรูปสามเหลี่ยมโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สรางรูปสามเหลี่ยมเม่ือกำหนด ความยาวของดานและขนาดของมุม บอกลักษณะของรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดตาง ๆ ระบรุ ูปเรขาคณิตสามมติ ิท่ี ประกอบจากรูปคลแี่ ละระบุรปู คลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ ใชขอ มูลจากแผนภมู ิรูปวงกลมในการหาคำตอบของโจทยป ญหา มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙, ป.๖/๑๐, ป.๖/๑๑ ค ๑.๒ ป.๖/๑ ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓ ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ ค ๓.๑ ป.๖/๑ รวม ๒๐ ตัวชวี้ ดั หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๗ อธบิ ายรายวชิ า กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๘ คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๑ กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ เวลา ๘๐ ชั่วโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. คำอธิบายรายวชิ า ศกึ ษาวเิ คราะห ระบชุ ่ือพืชและสัตวท่ีอาศยั อยบู รเิ วณตา ง ๆ จากขอมูลทร่ี วบรวมได บอกสภาพแวดลอมที่ เหมาะสมกับการดำรงชีวิตของสัตวในบริเวณที่อาศัยอยู ระบุช่ือ บรรยายลักษณะและบอกหนาท่ีของสวนตาง ๆ ของรางกายมนุษย สัตว และพืชรวมทั้งบรรยายการทำหนาที่รวมกันของสวนตาง ๆ ของรางกายมนุษยในการทำ กิจกรรมตาง ๆ จากขอมูลที่รวบรวมได ตระหนักถึงความสำคัญของสวนตาง ๆ ของรางกายตนเอง โดยการดูแล สว นตาง ๆ อยางถูกตอ ง ใหปลอดภัย และรักษาความสะอาดอยเู สมอ อธิบายสมบตั ิทสี่ ังเกตไดข องวสั ดุทีใ่ ชทำวตั ถุ ซ่ึงทำจากวัสดุชนิดเดียวหรือหลายชนิดประกอบกัน โดยใชหลักฐานเชิงประจักษ ระบุชนิดของวัสดุและจัดกลุม วัสดุตามสมบัติที่สังเกตได บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ ระบุ ดาวท่ีปรากฏบนทองฟาในเวลากลางวันและกลางคืนจากขอมูลท่ีรวบรวมได อธิบายสาเหตุที่มองไมเห็นดาวสวน ใหญในเวลากลางวันจากหลักฐานเชิงประจักษ อธิบายลักษณะภายนอกของหิน จากลักษณะเฉพาะตัวท่ีสังเกตได แกปญหาอยางงายโดยใชการลองผิดลองถูก การเปรียบเทียบ แสดงลำดับข้ันตอนการทำงานหรือการแกปญหา อยา งงายโดยใชภาพ สัญลกั ษณ หรอื ขอ ความ เขียนโปรแกรมอยา งงาย โดยใชซอฟตแ วรหรือส่ือ ใชเ ทคโนโลยใี น การสราง จัดเก็บ เรียกใชขอมูลตามวัตถุประสงค ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย ปฏิบัติตามขอตกลงใน การใชค อมพิวเตอรร ว มกนั ดแู ลรกั ษาอปุ กรณเบ้ืองตน ใชง านอยางเหมาะสม โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรสืบเสาะหาความรู สำรวจ ใชหลักฐานเชิงประจักษรวบรวมขอมูล ตรวจสอบการสืบคนขอมูล ใชเทคโนโลยสี ารสนเทศและอภิปรายเพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขา ใจ สามารถ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรูไปใชในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรมและคานยิ มทเี่ หมาะสม รหัสตวั ชี้วดั ว ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ว ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ว ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ว ๒.๓ ป.๑/๑ ว ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ว ๓.๒ ป.๑/๑ ว ๔.๒ ป.๑/๑, ป.๑.๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕ รวมทั้งหมด ๑๕ ตัวช้ีวดั หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๓๙ คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน ว ๑๒๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๒ กลมุ สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๒ เวลา ๘๐ ชั่วโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. คำอธิบายรายวิชา ศึกษาวิเคราะห ระบุวาพืชตองการแสงและน้ำ เพื่อการเจริญเติบโต โดยใชขอมูลจากหลักฐานเชิง ประจักษ ตะหนักถึงความจำเปนท่ีพืชตองไดรับน้ำและแสงเพ่ือการเจริญเติบโต โดยดูแลพืชใหไดรับส่ิงดังกลาว อยา งเหมาะสม สรางแบบจำลองที่บรรยายวฏั จกั รชีวิตของพืชดอก เปรียบเทยี บลักษณะของสิง่ มีชีวิตและไมมีชวี ิต จากขอมูลที่รวบรวมได เปรียบเทียบสมบัติการดูดซับน้ำของวัสดุโดยใชหลักฐานเชิงประจักษ และระบุการนำ สมบัติ การดูดซับน้ำของวัสดุไปประยุกตใชในการทำวัตถุของชีวิตประจำวัน อธิบายสมบัติที่สังเกตไดของวัสดุท่ี เกิดข้ึนจากการนำวัสดุมาผสมกันโดย โดยใชหลักฐานเชิงประจักษ เปรียบเทียบสมบัติท่ีสังเกตไดของวัสดุ เพื่อ นำมาทำเปนวัตถุในการใชงานตามวัตถุประสงคและอธบิ ายการนำวัสดุที่ใชแลว กลับมาใชใหม โดยใชหลักฐานเชิง ประจักษ ตระหนักถึงประโยชนของการนำวัสดุท่ีใชแลวกลับมาใชใหม โดยการนำวัสดุที่ใชแลวกลับใชใหม บรรยายแนวการเคล่ือนท่ีของแสงจากแหลงกำเนิดแสง และอธิบายการมองเห็นวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ ตระหนักในคุณคาของความรูของการมองเห็น โดยเสนอแนะแนวทางการปองกันอันตรายจากการมองวัตถทุ ี่อยูใน บรเิ วณท่ีมีแสงสวา งไมเ หมาะสม ระบุสวนประกอบของดิน และจำแนกชนิดของดิน โดยใชลักษณะเน้ือดนิ และการ จับตัวเปนเกณฑ อธิบายการใชประโยชนจากดิน จากขอมูลท่ีรวบรวมได แสดงลำดับข้ันตอนการทำงานหรือการ แกปญหาอยางงายโดยใชภาพ สัญลักษณ หรือขอความ เขียนโปรแกรมอยางงายโดยใชซอฟตแวรหรือส่ือ และ ตรวจหาขอผิดพลาดของโปรแกรม ใชเทคโนโลยีในการสราง จัดหมวดหมู คนหา จัดเก็บ เรียกใชขอมูลตาม วตั ถปุ ระสงค ใชเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา งปลอดภัย ปฏิบตั ิตามขอตกลงในการใชคอมพิวเตอรร วมกัน ดูแลรกั ษา อุปกรณเ บอื้ งตน ใชง านอยางเหมาะสม โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรสืบเสาะหาความรู สำรวจ ใชหลักฐานเชิงประจักษรวบรวมขอมูล ตรวจสอบการสืบคนขอมูล ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ เขียนโปรแกรมอยางงายและอภิปรายเพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรูไปใชในชีวิตประจำวัน มีจิตวทิ ยาศาสตร จรยิ ธรรม คณุ ธรรมและคา นยิ มท่ีเหมาะสม รหัสตัวช้ีวดั ว ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ ว ๑.๓ ป.๒/๑ ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ ว ๒.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ว ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ว ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ รวมทั้งหมด ๑๖ ตัวชีว้ ดั หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๐ คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน ว ๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ๓ กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๓ เวลา ๘๐ ชั่วโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. คำอธิบายรายวิชา ศึกษาวิเคราะห บรรยายสิ่งที่จำเปนตอการดำรงชีวิต และการเจริญเติบโตของมนุษยและสัตว โดยใช ขอมูลที่รวบรวมได ตระหนักถึงประโยชนของอาหาร น้ำ และอากาศ โดยการดูแลตนเองและสัตวใหไดรับส่ิง เหลาน้ีอยางเหมาะสม สรางแบบจำลองที่บรรยายวัฏจักรชีวิตของสัตวและเปรียบเทียบวัฏจักรชีวิตของสัตวบาง ชนดิ ตระหนักถึงคุณคา ของชีวิตสัตว โดยไมท ำใหว ัฏจักรชวี ิตของสัตวเปล่ยี นแปลง อธบิ ายวาวตั ถปุ ระกอบขึน้ จาก ชิ้นสวนยอย ๆ ซ่ึงสามารถแยกออกจากกันไดและประกอบกันเปนวัตถุชิ้นใหมได โดยใชหลักฐานเชิงประจักษ อธิบายการเปล่ยี นแปลงของวัสดุเมื่อทำใหรอ นข้ึนหรือทำใหเย็นลง โดยใชหลักฐานเชิงประจกั ษ ระบุผลของแรงท่ี มีตอการเปล่ียนแปลง การเคลื่อนท่ีของวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ เปรียบเทียบและยกตัวอยางแรงสัมผัสและ แรงไมสัมผัสที่มีผลตอการเคลื่อนท่ีของวัตถุ โดยใชหลักฐานเชิงประจักษ จำแนกวัตถุโดยใชการดึงดูดกับแมเหล็ก เปนเกณฑจากหลักฐานเชิงประจักษ ระบุขั้วแมเหล็กและพยากรณผลที่เกิดข้ึนระหวางขั้วแมเหล็กเมื่อนำมาเขา ใกลกันจากหลักฐานเชิงประจักษ ยกตัวอยางการเปลี่ยนพลังงานหน่ึงไปเปนอีกพลังงานหน่ึงจากหลักฐานเชิง ประจักษ บรรยายการทำงานของเคร่ืองกำเนิดไฟฟาและระบแุ หลง พลังงานในการผลติ ไฟฟา จากขอมูลท่รี วบรวม ได ตระหนักในประโยชนและโทษของไฟฟา โดยนำเสนอวิธีการใชไฟฟาอยางประหยัดและปลอดภัย อธิบายแบบ รูปเสนทางการขึ้นและลงของดวงอาทิตยโดยใชหลักฐานเชิงประจักษ อธิบายสาเหตุการณเกิดปรากฏการณข้ึน และตกของดวงอาทิตย การเกิดกลางวันกลางคืนและการกำหนดทิศโดยใชแบบจำลอง ตระหนักถึงความสำคัญ ของดวงอาทิตย โดยบรรยายประโยชนของดวงอาทิตยตอส่ิงมีชีวิต ระบุสวนประกอบของอากาศ บรรยาย ความสำคัญของอากาศและผลกระทบของมลพิษทางอากาศตอสิ่งมีชีวิตจากขอมูลท่ีรวบรวมได ตระหนักถึง ความสำคัญของอากาศ โดยนำเสนอแนวทางการปฏิบัติตนในการลดการเกิดมลพิษทางอากาศ อธิบายการเกิดลม จากหลักฐานเชิงประจักษ บรรยายประโยชนและโทษของลม จากขอมูลที่รวบรวมได แสดงอัลกอริทึมในการ ทำงานหรอื การแกปญหาอยา งงา ยโดยใชภาพ สัญลกั ษณ หรือขอ ความ เขียนโปรแกรมอยางงา ย โดยใชซอฟตแ วร หรือสื่อ และตรวจหาขอผิดพลาดของโปรแกรม ใชอินเตอรเน็ตคนหาความรู รวบรวม ประมวลผล และนำเสนอ ขอมูล โดยใชซอฟตแวรตามวัตถุประสงค ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย ปฏิบัติตามขอตกลงในการใช อนิ เทอรเน็ต โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรสืบเสาะหาความรูโดยการใชอินเทอรเน็ต สำรวจ ใชหลักฐานเชิง ประจักษ รวบรวมขอมูล ตรวจสอบการสืบคนขอมูล ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ เขียนโปรแกรมอยางงายและ อภิปรายเพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถส่ือสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นำ ความรไู ปใชใ นชีวติ ประจำวัน มีจติ วิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรมและคานิยมทเี่ หมาะสม รหัสตวั ช้ีวัด ว ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ว ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ ว ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ว ๒.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ว ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ว ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ว ๔.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕ รวมท้ังหมด ๒๕ ตัวช้ีวดั หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๑ ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๔คำอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๔ เวลา ๑๒๐ ชวั่ โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. คำอธิบายรายวชิ า ศึกษาวิเคราะห บรรยายหนาท่ีของราก ลำตน ใบ และดอกของพืชดอก โดยใชขอมูลที่รวบรวมได จำแนกส่ิงมีชีวิตโดยใชความเหมือนและความแตกตางของลักษณะของสิ่งมีชีวิต ออกเปนกลุมพืช กลุมสัตวและ กลุมท่ีไมใชพืชและสัตว จำแนกพืชออกเปนพืชดอกและพืชไมมีดอก โดยใชการมีดอกเปนเกณฑ โดยใชขอมูลที่ รวบรวมได จำแนกสัตวออกเปนสัตวมีกระดูกสันหลังและสัตวไมมีกระดูกสันหลัง โดยใชการมีกระดูกสันหลังเปน เกณฑ โดยใชข อมูลที่รวบรวมได บรรยายลักษณะเฉพาะที่สงั เกตไดของสัตวมีกระดูกสันหลังในกลุมปลา กลุมสตั ว สะเทินน้ำสะเทินบก กลุมสัตวเลื้อยคลาน กลุมนกและกลุมสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ำนม และยกตัวอยางสิ่งมีชีวิตในแต ละกลุม เปรียบเทยี บสมบัติทางกายภาพดานความแขง็ สภาพยดื หยุน การนำความรูและการนำไฟฟาของวัสดุโดย ใชห ลักฐานเชิงประจักษจากการทดลองและระบกุ ารนำสมบัติเรื่องความแขง็ สภาพยืดหยุน การนำความรูและการ นำไฟฟาของวัสดุไปใชในชีวิตประจำวันผานระบบการออกแบบชิ้นงาน แลกเปลี่ยนความคิดกับผูอื่นโดยการ อภิปรายเก่ียวกับสมบัติทางกายภาพของวัสดุอยางมีเหตุผลจากการทดลอง เปรียบเทียบสมบัติของสสารทั้ง ๓ สถานะ จากขอมูลท่ีไดจากการสงั เกตมวล การตอ งการที่อยู รปู รา งและปริมาตรของสสาร ใชเ คร่ืองมือเพ่ือวัดมวล และปริมาตรของสสารท้ัง ๓ สถานะ ระบุผลของแรงโนมถวงท่ีมีตอวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ ใชเครื่องช่ัง สปริงในการวัดน้ำหนักของวัตถุ บรรยายมวลของวัตถุท่ีมีผลตอการเปล่ียนแปลง การเคล่ือนท่ีของวัตถุจาก หลกั ฐานเชิงประจักษ จำแนกวัตถุเปนตัวกลางโปรงใส ตัวกลางโปรง แสงและวัตถทุ ึบแสง จากลักษณะการมองเห็น สง่ิ ตาง ๆ ผานวัตถุน้ันเปนเกณฑโดยใชหลักฐานเชิงประจักษ อธิบายแบบรปู เสนทางการข้ึนและตกของดวงจันทร โดยใชหลักฐานเชิงประจักษ สรา งแบบจำลองที่อธิบายแบบรูป การเปลี่ยนแปลงรปู รางปรากฏของดวงจันทรและ พยากรณรูปรางปรากฏของดวงจันทร สรางแบบจำลองแสดงองคประกอบของระบบสุริยะ และอธิบาย เปรียบเทียบคาบการโคจรของดาวเคราะหตาง ๆ จากแบบจำลอง ใชเหตุผลเชิงตรรกะในการแกปญหา การ อธิบาย การทำงาน การคาดการณผลลัพธ จากปญหาอยางงาย ออกแบบ และเขียนโปรแกรมอยางงาย โดยใช ซอฟตแวรหรือสื่อ และตรวจหาขอผิดพลาดและแกไข ใชอินเทอรเน็ตคนหาความรู และประเมินความนาเชื่อถือ ของขอมูล รวบรวม ประเมิน นำเสนอขอมูลและสารสนเทศโดยใชซอฟตแวรที่หลากหลาย เพ่ือแกปญหาใน ชีวิตประจำวัน ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย เขาใจสิทธิและหนาที่ของตน เคารพในสิทธิของผูอื่น แจง ผเู กย่ี วของเมือ่ พบขอ มลู หรือบคุ คลท่ีไมเ หมาะสม โดยใชกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร การสบื เสาะหาความรู การสำรวจตรวจสอบ ใชหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ รวบรวมขอมูล การสืบคนขอมูลโดยการใชอินเทอรเน็ต บันทึก จัดกลุมขอมูล ใชเหตุผลเชิงตรรกะ ใชเทคโนโลยี สารสนเทศ เขียนโปรแกรมอยางงาย แลกเปลี่ยนความคิดกับผูอ่ืนและการอภิปรายเพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถนำเสนอ สอื่ สารส่ิงท่ีเรียนรู มีความสามารถในการตัดสนิ ใจ เห็นคุณคาของการนำความรูไปใช ประโยชนใ นชวี ติ ประจำวนั มจี ติ วิทยาศาสตร จรยิ ธรรม คุณธรรม และคานิยมทีเ่ หมาะสม หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๒ รหสั ตัวชี้วัด ว ๑.๒ ป.๔/๑ ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ ว ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ ว ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ว ๒.๓ ป.๔/๑ ว ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ว ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕ รวมท้ังหมด ๒๑ ตัวชวี้ ดั หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๓ ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๕คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๕ เวลา ๑๒๐ ชว่ั โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. คำอธิบายรายวชิ า ศึกษาวิเคราะห บรรยายโครงสรางและลักษณะของส่ิงมีชีวิตท่ีเหมาะสมกับการดำรงชีวิต ซ่ึงเปนผลมา จากการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตในแตละแหลงที่อยู อธิบายความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต และ ความสัมพันธระหวางส่ิงมีชีวิตกับสิ่งไมมีชีวิต เพื่อเปนประโยชนตอการดำรงชีวิต เขียนโซอาหารและระบุบทบาท หนาท่ีของสิ่งมีชีวิตที่เปนผูผลิตและผูบริโภคในโซอาหาร ตระหนักในคุณคาของส่ิงแวดลอมท่ีมีตอการดำรงชีวิต ของส่งิ มชี ีวิต โดยมสี วนรวมในการดแู ลรักษาส่งิ แวดลอม อธบิ ายลกั ษณะทางพันธุกรรมท่มี ีการถา ยทอดจากพอแม สลู ูกของพืช สตั ว และมนษุ ย แสดงความอยากรอู ยากเห็น โดยการถามคำถามเกี่ยวกับลักษณะท่ีคลายคลึงกันของ ตนเองกับพอแม อธิบายการเปล่ียนสถานะของสสาร เม่ือทำใหสสารรอนข้ึนหรือเย็นลง โดยใชหลักฐานเชิง ประจักษ อธิบายการละลายของสารในน้ำ โดยใชหลักฐานเชิงประจักษ วิเคราะหการเปล่ยี นแปลงของสารเมื่อเกิด การเปล่ียนแปลงทางเคมี โดยใชหลักฐานเชิงประจักษ วิเคราะหและระบุการเปล่ียนแปลงท่ีผันกลับไดและการ เปลี่ยนแปลงท่ีผันกลับไมได อธิบายวิธีการหาแรงลัพธของแรงหลายแรงในแนวเดียวกันที่กระทำตอวัตถุในกรณีท่ี วัตถุอยูน่ิงจากหลักฐานเชิงประจักษ เขียนแผนภาพแสดงแรงที่กระทำตอวัตถุที่อยูในแนวเดียวกันและแรงลัพธท่ี กระทำตอวัตถุ ใชเครอื่ งชั่งสปรงิ ในการวดั แรงกระทำตอวัตถุ ระบุผลของแรงเสียดทานที่มีตอการเปลี่ยนแปลงการ เคลื่อนที่ของวัตถุจากหลักฐานเชิงประจักษ เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงที่อยูในแนวเดียวกันที่ กระทำตอวัตถุ อธิบายการไดยินเสียงผานตัวกลางจากหลักฐานเชิงประจักษ ระบุตัวแปร ทดลอง และอธิบาย ลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสียงต่ำ ออกแบบการทดลองและอธิบายลักษณะและการเกิดเสียงดัง เสียงคอย วัด ระดับเสียงโดยใชเครื่องมือวัดระดับเสียง ตระหนักในคุณคาของความรูเร่ืองระดับเสียง โดยเสนอแนะแนวทางใน การหลีกเลี่ยงและลดมลพิษทางเสียง เปรียบเทียบความแตกตางของดาวเคราะหและดาวฤกษจากแบบจำลอง ใชแ ผนที่ดาวระบุตำแหนงและเสนทางการขึ้นและตกของกลุมดาวฤกษบนทองฟา และอธบิ ายแบบรูปเสนทางการ ข้ึนและตกของกลุมดาวฤกษบนทองฟาในรอบป เปรียบเทียบปริมาณน้ำในแตละแหลง และระบุปริมาณน้ำที่ มนุษยสามารถนำมาใชประโยชนไดจากขอมูลที่รวบรวมได ตระหนักถึงคุณคาของน้ำโดยนำเสนอแนวทางการใช น้ำอยางประหยัดและการอนุรักษน้ำ สรางแบบจำลองที่อธิบายการหมุนเวียนของน้ำในวัฏจักรน้ำ เปรียบเทียบ กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำคางและน้ำคางแข็ง จากแบบจำลอง เปรียบเทียบกระบวนการเกิดฝน หิมะ และ ลูกเห็บ จากขอมูลท่ีรวบรวมได ใชเหตุผล เชิงตรรกะในการแกปญหา การอธิบายการทำงาน การคาดการณ ผลลัพธ จากปญหาอยางงาย ออกแบบ และเขียนโปรแกรมที่มีการใชเหตุผลเชิงตรรกะอยางงาย ตรวจหา ขอ ผิดพลาดและแกไ ข ใชอินเทอรเน็ตคนหาขอมูล ติดตอ ส่อื สารและทำงานรวมกัน ประเมินความนาเชอื่ ถอื ของ ขอมูล รวบรวม ประเมิน นำเสนอขอมูลและสารสนเทศตามวัตถุประสงคโดยใชซอฟตแวรหรือบริการบน อินเทอรเน็ตที่หลากหลาย เพื่อแกปญหาในชีวิตประจำวัน ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย มีมารยาท เขาใจสทิ ธแิ ละหนา ทขี่ องตน เคารพในสิทธิของผอู น่ื แจง ผเู กี่ยวของเมื่อพบขอ มลู หรือบุคคลท่ีไมเหมาะสม โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสำรวจตรวจสอบ การคาดการณ ผลลัพธ ใชหลักฐานเชิงประจักษ รวบรวมขอมูล การสืบคนขอมูลโดยการใชอินเทอรเน็ต บันทึก จัดกลุมขอมูล ใช เหตผุ ลเชงิ ตรรกะ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ เขียนโปรแกรมอยางงาย แลกเปลย่ี นความคิดกับผอู ื่นและการอภิปราย เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถนำเสนอ ส่ือสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็น คุณคาของการนำความรูไปใชประโยชนในชีวิตประจำวันมีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมที่ เหมาะสม หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๔ รหสั ตัวช้ีวัด ว ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ว ๑.๓ ป๕/๑, ป.๕/๒ ว ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ว ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ว ๒.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ว ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ว ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ว ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ รวมท้ังหมด ๓๒ ตัวชวี้ ดั หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๕ คำอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน ว ๑๖๑๐๑ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๖ กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๖ เวลา ๑๒๐ ช่ัวโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. คำอธิบายรายวิชา ศึกษาวิเคราะห ระบุสารอาหารและบอกประโยชนของสารอาหารแตละประเภทจากอาหารท่ีตนเอง รับประทาน บอกแนวทางในการเลือกรับประทานอาหารใหไดสารอาหารครบถวน ในสัดสวนท่ีเหมาะสมกับเพศ และวัย รวมท้ังความปลอดภัยตอสุขภาพ ตระหนักถึงความสำคัญของสารอาหาร โดยการเลือกรบั ประทานอาหาร ที่มีสารอาหารครบถวน ในสัดสวนที่เหมาะสมกับเพศและวัย รวมท้ังความปลอดภัยตอสุขภาพ สรางแบบจำลอง ระบบยอยอาหาร และบรรยายหนาท่ีของอวัยวะในระบบยอยอาหาร รวมท้ังอธิบายการยอ ยอาหารและการดูดซึม สารอาหาร ตระหนักถึงความสำคัญของระบบยอยอาหาร โดยการบอกแนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบ ยอยอาหารใหทำงานเปนปกติ อธิบายและเปรียบเทียบการแยกสารผสมโดยการหยิบออก การรอน การใช แมเหล็กดึงดูด การรนิ ออก การกรอง และการตกตะกอน โดยใชหลักฐานเชิงประจกั ษ รวมทั้งระบุวิธีแกปญหาใน ชีวิตประจำวันเก่ียวกับการแยกสาร อธิบายการเกิดและผลของแรงไฟฟาซ่ึงเกิดจากวัตถุการผานการขัดถู โดยใช หลักฐานเชิงประจักษ ระบุสวนประกอบและบรรยายหนาที่ของแตละสวนประกอบของวงจรไฟฟาอยางงายจาก หลักฐานเชิงประจักษ เขียนแผนภาพและตอวงจรไฟฟาอยางงาย ออกแบบการทดลองและทดลองดวยวิธีท่ี เหมาะสมในการอธบิ ายวิธีการและผลของการตอ เซลลไฟฟาแบบอนุกรม ตระหนักถึงประโยชนข องความรขู องการ ตอเซลลไฟฟาแบบอนุกรมโดยบอกประโยชนและการประยุกตใชในชีวิตประจำวัน ออกแบบการทดลองและ ทดลองดว ยวิธีท่ีเหมาะสมในการอธิบายการตอหลอดไฟฟาแบบอนุกรมและแบบขนาน ตระหนักถึงประโยชนของ ความรูของการตอหลอดไฟฟาแบบอนุกรมและแบบขนาน โดยบอกประโยชน ขอจำกัด และการประยุกตใชใน ชวี ิตประจำวัน อธิบายการเกิดเงามืดเงามวั จากหลักฐานเชิงประจักษ เขียนแผนภาพรังสีของแสงแสดงการเกิดเงา มืด เงามัว สรางแบบจำลองที่อธิบายการเกิด และเปรียบเทียบปรากฏการณสุริยุปราคาและจันทรุปราคา อธิบาย พฒั นาการของเทคโนโลยีอวกาศ และยกตัวอยางการนำเทคโนโลยีอวกาศมาใชประประโยชนในชีวิตประจำวันจาก ขอมูลท่ีรวบรวมได เปรียบเทียบกระบวนการเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร และอธิบายวัฏจักรหินจาก แบบจำลอง บรรยายและยกตัวอยางการใชป ระโยชนของหินและแรใ นชีวติ ประจำวันจากขอมูลท่ีรวบรวมได สรา ง แบบจำลองที่อธิบายการเกิดซากดึกดำบรรพและคาดคะเนสภาพแวดลอมในอดีตของซากดึกดำบรรพ เปรียบเทียบการเกิดลมบก ลมทะเล และมรสุม รวมท้ังอธิบายผลที่มีตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมจากแบบจำลอง อธิบายผลของมรสุมตอ การเกิดฤดูของประเทศไทยจากขอ มูลท่ีรวบรวมได บรรยายลักษณะและผลกระทบของน้ำ ทวม การกัดเซาะชายฝง ดินถลม แผนดินไหว สึนามิ ตระหนักถึงผลกระทบของภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัย โดนนำเสนอแนวทางในการเฝาระวังและปฏิบัติตนใหปลอดภัยจากภัยธรรมชาติและธรณีพิบัติภัยที่อาจเกิดใน ทองถิ่น สรางแบบจำลองที่อธิบายการเกินปรากฏการณเรือนกระจก และผลของปรากฏการณเรือนกระจกตอ สิง่ มีชีวติ ตระหนักถึงผลกระทบของปรากฏการณเรือนกระจก โดยนำเสนอแนวทางการปฏิบัติตนเพ่ือลดกจิ กรรม ท่ีกอใหเกิดแกสเรือนกระจก ใชเหตุผลเชิงตรรกะในการอธิบายและออกแบบวิธีการแกปญหาท่ีพบใน ชีวิตประจำวัน ออกแบบและเขียนโปรแกรมอยางงาย เพ่ือแกปญหาในชีวิตประจำวัน ตรวจหาขอผิดพลาดของ โปรแกรมและแกไข ใชอ ินเทอรเ น็ตในการคนหาขอมูลอยางมีประสทิ ธภิ าพ ใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศทำงานรว มกัน อยางปลอดภัย เขาใจสิทธิและหนาท่ีของตน เคารพในสิทธิของผูอื่น แจงผูเกี่ยวของเมื่อพบขอมูลหรือบุคคลที่ไม เหมาะสม หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๖ โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสำรวจตรวจสอบ การคาดคะเน ใช หลักฐานเชิงประจักษ รวบรวมขอมูล การสืบคนขอมูลโดยการใชอินเทอรเน็ต บันทึก จัดกลุมขอมูล ใชเหตุผลเชิง ตรรกะ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ออกแบบ เขียนโปรแกรมอยางงายและการอภิปรายเพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถนำเสนอ สื่อสารส่ิงที่เรยี นรู มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณคาของการนำความรู ไปใชป ระโยชนใ นชวี ติ ประจำวันมจี ติ วทิ ยาศาสตร จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา นิยมท่ีเหมาะสม รหัสตวั ช้ีวดั ว ๑.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕ ว ๒.๑ ป๖/๑ ว ๒.๒ ป.๖/๑ ว ๒.๓ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘ ว ๓.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ว ๔.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ รวมทั้งหมด ๒๘ ตัวชี้วดั หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๗ อธิบายรายวชิ า กลมุ สาระการเรียนรู สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๘ คำอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน ส ๑๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนาฯ ๑ กลุมสาระการเรยี นรูส ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศกึ ษาปที่ ๑ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. คำอธิบายรายวิชา สังเกต ศึกษาคนควา รวบรวมขอมูล อภปิ ราย ความหมาย ความสำคัญ องคประกอบเบือ้ งตนของศาสนา ประโยชน ประวัติ ศาสดาของศาสนา สรปุ ใจความสำคัญของคัมภีร ความคิดหลักของศาสนา สรปุ หลกั จริยธรรม การบำเพ็ญประโยชน วิธีปฏิบัติ การใชภาษาเก่ียวกับศาสนพิธี พิธีกรรมในวันสำคัญ ฝกปฏิบัติการบริหาร จติ การเจริญปญญาเบื้องตน เปรียบเทียบ การทำความดี ปฏิบัติตนตามคำแนะนำ รวบรวมขั้นตอน ของศาสนพธิ ี คุณลักษณะของการเปนพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตยมีความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย ความกลาหาญ ความ เสียสละ การเคารพสิทธิและหนาท่ี วัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน การแกปญหาความขัดแยงในครอบครัว กฎ กติกา ความหมาย ความสำคัญของรัฐธรรมนูญ ประโยชนของรายรับ-รายจาย ตนทุนผลประโยชนท่ีไดรับ ทรัพยากรในทองถ่ิน ระบบเศรษฐกิจพอเพียง อาชีพของครอบครัวและชุมชน การซื้อขายแลกเปล่ียนสินคาและ บริการ ในชีวิตประจำวัน ลักษณะทางกายภาพของบาน โรงเรียน และชุมชน องคประกอบของ แผนผัง การ เขียนแผนที่เบื้องตนอยางงาย ทรัพยากรธรรมชาติ การพึ่งพาอาศัยซ่ึงกันและกัน ผลเสียการทำลาย ทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอมทางสังคม การสรางสรรค ส่ิงแวดลอม การอนุรักษสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ และทางสงั คม โดยใชก ระบวนการทางสังคม กระบวนการสบื คน กระบวนการกลุมและกระบวนการแกปญ หา เพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี คุณลักษณะอันพึงประสงคในดานรักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตย มวี ินัย ใฝเ รยี นรู รักความเปนไทย มีจติ สาธารณะ สามารถดำเนินชวี ิตอยางสันตสิ ุขในสงั คมไทย และสงั คมโลก สามารถนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและสามารถนำไปประยุกตใชกบั ชีวติ ประจำวนั ไดอยา งถกู ตองเหมาะสม มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ส ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ ส ๑.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ ส ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ ส ๒.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ ส ๓.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ ส ๓.๒ ป.๑/๑ ส ๕.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕ ส ๕.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ รวม ๘ มาตรฐาน ๒๔ ตัวช้วี ดั หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๔๙ คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ส ๑๒๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ศาสนาฯ ๒ กลุม สาระการเรียนรูสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี ๒ เวลา ๔๐ ชวั่ โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. คำอธิบายรายวิชา สังเกต ศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูล อภิปราย ความหมาย ความสำคัญ องคประกอบเบื้องตนของ ศาสนา ประวัติศาสนา ศาสดาของศาสนา คัมภรี  และการใชภาษาของศาสนา รวบรวมหลักจรยิ ธรรม การบำเพ็ญ ประโยชนตอครอบครัว โรงเรยี น และชุมชน หลักปฏิบัติการอยูรว มกันอยางเปนสุข ศาสนพิธี และพิธีกรรมในวัน สำคัญของศาสนา การบริหารจิต การเจริญปญญาเบื้องตน การทำความดีของบุคคลในครอบครัว และโรงเรียน การปฏบิ ตั ติ นตามคำแนะนำเกย่ี วกับศลี ธรรม จรยิ ธรรม คานยิ มทด่ี ีงาม การเปนพลเมอื งดี ในสังคมประชาธปิ ไตย การยอมรับ การเคารพสิทธิ และหนาที่ของตนเอง เปนสมาชิกท่ีดีของครอบครัว สิทธิของบุคคลที่พึงไดรับการ คุมครอง การขัดเกลาของสงั คม คานยิ ม ความเชื่อ ประเพณี วัฒนธรรม และภมู ิปญญาของทองถนิ่ ความสมั พันธ ของสมาชิกในครอบครัว บทบาทหนาท่ีของตนเอง การแกปญหาความขัดแยง ขอตกลง กฎ กติกา ระเบียบใน โรงเรียน ความหมาย และความสำคัญของรัฐธรรมนูญ ประโยชนของรายรับ–รายจายของครอบครัว ตัดสินใจ เลือกอยางเหมาะสม เศรษฐกจิ พอเพยี ง อาชพี ของชุมชน การซื้อขาย แลกเปล่ียนสินคาและบรกิ าร ประโยชนของ ธนาคาร ภาษีท่ีเก่ียวของในชีวิตประจำวันลักษณะทางกายภาพ องคประกอบของแผนผังแผนท่ี ตำแหนง ระยะ ทศิ ทาง ทรัพยากรธรรมชาตริ ูคณุ คาของธรรมชาติ การสรางสรรคส ิ่งแวดลอมทางสังคม การเปรียบเทยี บประชากร กับสิ่งแวดลอม การฝกสังเกตสิ่งตางๆรอบตัว โดยใชกระบวนการสังคม กระบวนการสืบคน กระบวนการ กลุม กระบวนการแกป ญ หา เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี คณุ ลักษณะอันพึงประสงคในดานรักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสตั ย มีวินัย ใฝเรียนรู รกั ความเปนไทย มีจติ สาธารณะ สามารถดำเนินชีวิตอยางสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนำไปประยกุ ตใชก ับชีวติ ประจำวนั ไดอยางถูกตองเหมาะสม มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ดั ส ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗ ส ๑.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ส ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ ส ๒.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ส ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ ส ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ส ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ ส ๕.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ รวม ๘ มาตรฐาน ๒๘ ตัวช้วี ัด หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)

๕๐ คำอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน ส ๑๓๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนาฯ ๓ กลมุ สาระการเรียนรสู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๓ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. คำอธิบายรายวชิ า สังเกต ศึกษาคนควา รวบรวมขอมูล อภิปราย แสดงความคิดเห็น สรุปใจความสำคัญความหมาย ความสำคัญ องคประกอบของศาสนา ประโยชน ประวัติศาสดาของศาสนา ภาษา ที่ใชในคัมภีรของศาสนาที่ตน นับถือ หลักจริยธรรมในการพัฒนาตน การบำเพ็ญประโยชนตอครอบครัว โรงเรียน วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ ศาสนพิธี พธิ กี รรมในวันสำคญั ของศาสนา การบริหารจติ การเจริญปญญา สติ สมั ปชญั ญะ ความรำลกึ ได ความรตู วั ช่นื ชม การทำความดีของบุคคลในครอบครัว และโรงเรียน ศีลธรรม จริยธรรม คานิยมที่ดีงาม การเปนพลเมืองดีใน สังคม ประชาธิปไตย การเคารพสิทธิและหนาที่ของ ตนเอง บทบาทสิทธิ เสรีภาพ หนาที่ สถานภาพ สิทธิของ บุคคลท่ีพึงไดรับการคุมครอง การขัดเกลาของสังคม คานิยม ความเช่ือ ประเพณี การอนุรักษวัฒนธรรม และภูมิ ปญญา ของทองถิ่น การสรางความดี การแกปญหาความขัดแยง กฎ กติกา ระเบียบในชุมชน ความสำคัญของ กฎหมายรัฐธรรมนูญ รายรับ–รายจาย ผลประโยชนท่ีผูบริโภคไดรับการตัดสินใจเลือกอยางเหมาะสม ระบบ เศรษฐกิจพอเพียง อาชีพในชุมชนการแลกเปล่ียน สินคาและบริการความสำคัญของธนาคาร ภาษีที่เก่ียวของใน ชีวิตประจำวัน องคประกอบทางกายภาพ ลักษณะ ความเก่ียวของแผนผัง แผนที่ ตำแหนง ระยะทิศทาง เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร ทรัพยากรธรรมชาติ การพ่ึงพาอาศัยกัน ส่ิงแวดลอมทางสังคม การอนุรักษ การใช พลังงาน การดูแลรักษาส่ิงแวดลอม การรูจักสังเกตสิ่งตางๆรอบตัว โดยใชกระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิด วิเคราะห กระบวนการกลุม กระบวนการเผชญิ สถานการณและแกปญหา เพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มี คณุ ลักษณะอันพึงประสงคในดานรกั ชาติ ศาสน กษัตริย ซอ่ื สัตย มีวินยั ใฝเ รียนรู รักความเปนไทย มีจติ สาธารณะ สามารถดำเนินชีวิตอยางสันติสุขในสังคมไทย และสังคมโลก สามารถนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนำไปประยกุ ตใชก ับชวี ิตประจำวันไดอยา งถกู ตองเหมาะสม มาตรฐาน/ตัวชวี้ ัด ส ๑.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕ , ป.๓/๖ , ป.๓/๗ ส ๑.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ ส ๒.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ ส ๒.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ ส ๓.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ ส ๓.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ ส ๕.๑ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ ส ๕.๒ ป.๓/๑ , ป.๓/๒ , ป.๓/๓ , ป.๓/๔ , ป.๓/๕ , ป.๓/๖ รวม ๘ มาตรฐาน ๓๑ ตวั ชวี้ ดั หลกั สูตรโรงเรียนบา้ นยวนโปะ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook