Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือฝึกอบรมลุกเสือ เนตรนารี-จราจร

คู่มือฝึกอบรมลุกเสือ เนตรนารี-จราจร

Published by DaiNo Scout, 2021-08-04 23:07:04

Description: คู่มือฝึกอบรมลุกเสือ เนตรนารี จราจร2564

Search

Read the Text Version

ชอื่ วิชา สัญญาณไฟจราจร สญั ญาณจราจรและสัญญาณนกหวีด (1) (2) (3) 97 บทเรียนที่ ๗ เวลา ๒๔๐ นาที ขอบขา่ ยรายวิชา ๑. พระราชบญั ญตั ิจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ๒. สญั ญาณไฟจราจร สญั ญาณจราจรและสัญญาณนกหวดี ในการจราจร จุดหมาย เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522 การใช้สัญญาณไฟจราจร มีทกั ษะในการใชส้ ญั ญาณจราจรโดยใช้สญั ญาณมอื และสญั ญาณนกหวีด วตั ถปุ ระสงค์ เมือ่ จบบทเรียนน้แี ล้ว ผูเ้ ขา้ รับการฝึกอบรมควรจะสามารถ ๑. บอกสัญญาณไฟจราจร สญั ญาณจราจร และสัญญาณนกหวดี ได้อย่างถกู ต้อง ๒. อธิบายพระราชบัญญัตกิ ารจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ๓. ฝึกปฏบิ ัตกิ ารใช้สญั ญาณมอื สัญญาณนกหวดี ในการจราจรได้ ๔. ดำเนนิ การจัดการจราจรโดยใชส้ ญั ญาณมือสญั ญาณนกหวีดได้ วิธสี อน/กิจกรรม 40 นาที คาบที่ 1 50 นาที 1. นำเขา้ สู่บทเรยี น 90 นาที เพลง/เกม 5๐ นาที 10 นาที 2. บรรยายประกอบส่ือและวดี ีทัศน์ เรื่องพระราชบญั ญัตกิ ารจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ การใช้สญั ญาณไฟจราจร สัญญาณมือและสัญญาณนกหวดี ในการจราจร คาบท่ี 2 อธิบาย สาธิตและฝึกภาคปฏิบตั ิการใช้สญั ญาณมอื และสญั ญาณนกหวดี ในการจราจร คาบที่ 3 1. ฝึกทบทวนและทดสอบการใช้สญั ญาณมือและสัญญาณนกหวดี ในการจราจร 2. สรปุ บทเรียน สอื่ การสอน ๑. เพลง/เกม ๒. วดี ที ศั น์เกย่ี วกบั การจราจร ๓. Power Point เร่อื ง การใช้สัญญาณไฟ สัญญาณมือ สญั ญาณนกหวดี และเครื่องหมายจราจร 4. พระราชบัญญตั ิจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒

98 การประเมินผล ๑. วธิ กี ารวัดผล 1.1 การทดสอบ 1.2 การปฏบิ ัติกจิ กรรม ๒. เกณฑ์การประเมนิ 2.๑ ทดสอบผา่ นร้อยละ ๖๐ 2.๒ ฝกึ ปฏิบตั ิสญั ญาณมือและสญั ญาณนกหวดี เอกสารอ้างอิง/แหล่งข้อมูล ๑. พระราชบญั ญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ๒. คำส่ัง กองบงั คบั การตำรวจจราจร ที่ ๓๐๕/๒๕๕๗ ลงวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

99 เนอื้ หาวชิ า ท่าสัญญาณจราจร ตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ ได้กำหนดท่าสัญญาณจราจร เพื่อเป็นการปฏิบัติเป็นแบบอย่างเดียวกัน และเป็นหลักการที่ฝึกปฏิบัติของเจ้าพนักงานจราจรและพนักงาน เจ้าหน้าที่ทีเ่ ปน็ แบบอยา่ งเดยี วกันและถกู ต้องตามกฎหมายจราจรทางบกได้กำหนดดงั นี้ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ (๓๓) “สัญญาณจราจร” หมายความว่า สัญญาณใด ๆ ไม่ว่าจะแสดงด้วยธง ไฟ ไฟฟ้า มือ แขน เสียงนกหวีด หรือด้วยวิธีอื่นใด สำหรับให้ผู้ขับขี่ คนเดนิ เท้า หรือคนท่จี งู ข่ี หรือไล่ต้อนสตั ว์ ปฏบิ ตั ติ ามสัญญาณ มาตรา ๒๔ ผู้ขับขี่ต้องปฏบิ ัติตามสัญญาณจราจรท่ีพนกั งานเจ้าหนา้ ทแ่ี สดงให้ปรากฏขา้ งหนา้ ในกรณี ตอ่ ไปนี้ (๑) เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ยืน และเหยียดแขนซ้ายออกไปเสมอระดับไหล่ ผู้ขับขี่ซึ่งขับรถมา ทางด้านหลังของพนกั งานเจ้าหน้าที่ต้องหยดุ รถ แต่ถ้าพนักงานเจ้าหนา้ ที่ลดแขนข้างที่เหยียดออกไปนั้นลงและ โบกมอื ไปขา้ งหน้า ให้ผ้ขู ับข่ีซ่งึ หยุดรถอย่ทู างดา้ นหลงั ขบั รถผา่ นไปได้ (๒) เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ยืน และเหยียดแขนข้างใดข้างหนึ่งออกไปเสมอระดับไหล่และตั้งฝ่ามือขน้ึ ผู้ขับขี่ซึ่งขับรถมาทางด้านที่เหยียดแขนข้างนั้นของพนักงานเจ้าหน้าที่ต้องหยุดรถ แต่ถ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ พลิกฝ่ามอื ทตี่ ัง้ อย่นู ั้น แลว้ โบกผ่านศีรษะไปทางดา้ นหลัง ให้ผขู้ ับขีซ่ ่ึงหยุดรถอย่นู ้ันขับรถผ่านไปได้ (๓) เมื่อพนักงานเจา้ หน้าท่ยี นื และเหยียดแขนทงั้ สองข้างออกไปเสมอระดบั ไหลแ่ ละตง้ั ฝ่ามือขึ้น ผู้ขับข่ี ซงึ่ ขบั รถมาทางดา้ นทีเ่ หยยี ดแขนทงั้ สองขา้ งของพนกั งานเจา้ หน้าที่ ตอ้ งหยุดรถ (๔) เมื่อพนกั งานเจ้าหน้าที่ยืน และยกแขนขวาท่อนล่างต้ังฉากกับแขนท่อนบนและต้ังฝา่ มอื ขึ้น ผู้ขับขี่ ซึ่งขับรถมาทางด้านหน้าของพนักงานเจ้าหน้าที่ต้องหยุดรถ แต่ถ้าพนักงานเจ้าหน้าที่พลิกฝ่ามือที่ตั้งอยู่น้ัน โบกไปด้านหลัง ให้ผู้ขับขี่ซึ่งหยดุ รถอย่ทู างด้านหนา้ ของพนกั งานเจา้ หนา้ ทข่ี ับรถผ่านไปได้ (๕) เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ยืน และยกแขนขวาท่อนล่างตั้งฉากกับแขนท่อนบนและตั้งฝ่ามือข้ึน ส่วนแขนซา้ ยเหยียดออกไปเสมอระดบั ไหล่ ผู้ขับขี่ซึง่ ขับรถมาทางด้านหนา้ และด้านหลังของพนักงานเจา้ หนา้ ที่ ตอ้ งหยดุ รถ การหยดุ รถตามมาตรานี้ ให้หยดุ หลงั เสน้ ให้รถหยุด ในกรณที ท่ี างเดินรถใดไม่มีเสน้ ให้รถหยุด ให้ผู้ขับขี่ หยดุ รถห่างจากพนกั งานเจา้ หนา้ ที่ในระยะไม่น้อยกว่าสามเมตร การแสดงสัญญาณจราจรของพนักงานเจ้าหน้าท่ีตามมาตรานี้ พนักงานเจ้าหน้าทีจ่ ะใช้ไฟฉายเรืองแสง หรืออุปกรณเ์ รืองแสงอนื่ ด้วยก็ได้ มาตรา ๒๕ ผ้ขู ับข่ีตอ้ งปฏบิ ตั ิตามสญั ญาณจราจรท่พี นกั งานเจา้ หนา้ ท่ไี ดแ้ สดงดว้ ยเสียงสัญญาณ นกหวีดในกรณีตอ่ ไปน้ี (๑) เม่ือพนกั งานเจ้าหนา้ ที่ใช้เสยี งสัญญาณนกหวดี ยาวหนงึ่ คร้ัง ใหผ้ ขู้ ับข่ีหยดุ รถทนั ที (๒) เมอื่ พนกั งานเจา้ หน้าทีใ่ ชเ้ สียงสญั ญาณนกหวีดสนั้ สองครัง้ ตดิ ตอ่ กนั ให้ผูข้ ับขี่ขับรถผ่านไปได้

100 ทา่ สัญญาณจราจร มี ๒ ท่าใหญ่ ๆ คือ ๑. ทา่ ห้ามรถ หรือใหร้ ถหยุด ๒. ทา่ ปล่อยรถ หรอื ใหร้ ถไป ขั้นตอนในการออกคำส่ัง ครูฝกึ จะใช้คำสง่ั ว่า “ห้ามรถดา้ นหน้า ทำ” พอสน้ิ เสียง “ทำ” ผู้รับการฝึกเริม่ ปฏิบตั แิ ละเม่ือใช้คำสั่งว่า “ให้รถทางดา้ นหน้าไปได้ ทำ” พอสน้ิ เสยี งจงึ ปฏิบัติหรือถ้าเห็นวา่ การปฏิบัตไิ มพ่ ร้อมก็จะส่ังให้เอามือลงเพื่อจะ ได้สั่งปฏิบัตใิ หมต่ ่อ ขัน้ ตอนในการปฏบิ ัตทิ า่ สญั ญาณตา่ ง ๆ การปฏิบตั ทิ กุ ๆ ทา่ จะต้องเร่มิ ตน้ จากท่าตามระเบียบพกั ดงั นี้ ๑. ท่าห้ามรถ หรอื ใหร้ ถหยุด ๑.๑ ห้ามรถทางด้านหน้า มี ๑ จงั หวะ การปฏิบัติ : ยกแขนขวาทอ่ นลา่ งตง้ั ฉากกับแขนขวาทอ่ นบนและให้ขนานกับพ้นื ตงั้ ฝ่ามอื ขนึ้ โดยฝา่ มอื หนั ไปด้านหนา้ น้วิ มอื ท้ังห้าเรยี งชิดตดิ กัน

101 ๑.๒ หา้ มรถทางดา้ นหลัง มี ๓ จงั หวะ การปฏบิ ัติ ๑.๒.๑ สลัดหน้าไปทางด้านหลงั ทางซ้ายเพื่อมองรถขา้ งหลงั ๑.๒.๒ ยกแขนซา้ ยเหยยี ดออกไปเสมอระดับไหล่ หรอื ขนานกบั พ้นื หนั ฝ่ามอื ไปทางด้านหนา้ นิ้วมือท้ังห้าเรียงชิดติดกัน ๑.๒.๓ สลดั หน้ากลับ ๑.๓ ห้ามรถทางดา้ นขวา มี ๔ จังหวะ ๑.๓.๑ สลัดหนา้ ไปทางขวา เพ่อื มองรถทางดา้ นขวา ๑.๓.๒ ยกแขนขวาเหยยี ดออกไปเสมอระดบั ไหล่หรือขนานกับพนื้ ควำ่ ฝ่ามือลงขนานกบั พ้นื นวิ้ มอื ทง้ั หา้ เรียงชดิ ติดกนั ๑.๓.๓ หักฝา่ มอื ขึ้นดใู ห้พอสวยงามน้ิวมือเรยี งชดิ ติดกัน ๑.๓.๔ สลดั หน้ากลับ

102 ๑.๔ ห้ามรถทางดา้ นซ้าย มี ๔ จังหวะ ๑.๔.๑ สลดั หน้าไปทางซา้ ย เพอ่ื มองรถทางด้านซา้ ย ๑.๔.๒ ยกแขนซ้ายเหยยี ดออกไปเสมอระดบั ไหลห่ รอื ขนานกบั พ้ืน คว่ำฝ่ามอื ลงขนานกบั พื้น นิว้ มือทงั้ หา้ เรียงชดิ ติดกัน ๑.๔.๓ หกั ฝา่ มือข้นึ ดูใหพ้ อสวยงาม นิ้วมือเรียงชิดติดกัน ๑.๔.๔ สลดั หน้ากลับ ๒. ทา่ ปลอ่ ยรถหรือให้รถไป ต้องมาจากทา่ ห้ามรถ ๒.๑ ปล่อยรถทางด้านหนา้ มี ๔ จังหวะ ๒.๑.๑ หักแขนไปทางด้านหน้า ประมาณ ๙๐ องศา ฝา่ มือหนั เขา้ หาตวั ๒.๑.๒ สลัดมอื และแขนชว่ งล่างไปข้างหน้าให้ขนานกับพื้น ฝ่ามือหงายขึ้น ๒.๑.๓ โบกมือและแขนช่วงลา่ งไปดา้ นหลงั ๓ คร้งั หรอื หลายคร้ัง แล้วแตค่ วามจำเปน็ ๒.๑.๔ เก็บมือไวใ้ นท่าตามระเบยี บพกั

103 ๒.๒ ปล่อยรถทางด้านหลังมี ๔ จังหวะ ๒.๒.๑ สลัดหน้าไปทางด้านหลงั ทางซา้ ย เพื่อมองรถทางด้านหลงั ๒.๒.๒ ลดมอื และแขนซา้ ยลง ทำมุมประมาณ ๔๕ องศากบั ลำตวั ๒.๒.๓ เปิดมือไปทางด้านหลังพอประมาณแล้วโบกมือไปขา้ งหนา้ ๓ คร้งั หรอื หลายคร้ัง แลว้ แต่ความจำเปน็ ๒.๒.๔ เก็บมือไปอย่ใู นท่าตามระเบยี บพักพรอ้ มกบั สลัดหน้ากลับ ๒.๓ ปลอ่ ยรถทางดา้ นขวา มี ๔ จังหวะ ๒.๓.๑ สลัดหนา้ ไปทางขวา เพ่ือมองดูรถทางด้านขวา ๒.๓.๒ พลกิ ฝ่ามือข้นึ ๒.๓.๓ โบกมอื และแขนชว่ งล่างผา่ นศีรษะไปทางด้านหลงั ๓ คร้ัง ๒.๓.๔ เกบ็ มอื อยู่ในท่าตามระเบียบพักพร้อมสลัดกลับมาอยูใ่ นท่าตรง

104 ๒.๔ ปล่อยรถทางดา้ นซ้าย มี ๔ จังหวะ ๒.๔.๑ สลัดหน้าไปทางซ้าย เพ่อื มองดรู ถทางด้านซ้าย ๒.๔.๒ พลกิ ฝ่ามอื ขึน้ ๒.๔.๓ โบกมอื และแขนชว่ งล่างผ่านศรี ษะไปทางดา้ นหนา้ ๓ ครัง้ ๒.๔.๔ เกบ็ มืออยู่ในท่าตามระเบยี บพักพร้อมสลดั กลับมาอยูใ่ นท่าตรง หมายเหตุ ท่าสัญญาณจราจร ทา่ ห้ามรถ ท่าปล่อยรถ ผ้เู รยี นจะต้องพยายามฝกึ ใหเ้ กิดทกั ษะ และถ้าต้องใช้ พร้อมๆ กนั กท็ ำตาม ไปตามลำดับข้ันตอนทีล่ ะข้ันตอน ไมใ่ ช้พรอ้ มกนั สญั ญาณนกหวดี มี ๒ อยา่ งคือ ๑. ใชเ้ สยี งสญั ญาณนกหวดี ยาวหน่งึ ครัง้ ให้ผู้ขับข่ีหยุดรถทนั ที ๒. ใช้เสียงสัญญาณนกหวดี ส้ัน ๒ ครั้ง ตดิ ตอ่ กันให้ผู้ขบั ขข่ี ับรถผา่ นไปได้ นอกจากท่าสัญญาณจราจรแล้ว จะต้องใช้สัญญาณนกหวีดให้เป็นและถูกต้องด้วย และจะต้องควบคู่ กันไปเพราะในขณะปฏิบัติหน้าที่จราจรนั้นบางครั้งใช้แต่สัญญาณมือผู้ขับรถอาจไม่ได้มองเรา จะต้องใช้เสียง นกหวดี ซึ่งทำให้การไดย้ ินหรอื ถ้าจะใช้แต่เสยี งนกหวีดกไ็ มไ่ ด้เพราะผู้ขับขรี่ ถอาจไมไ่ ด้ยนิ ดงั นัน้ ตอ้ งใช้พร้อมกัน ทง้ั สองอย่าง ข้อสำคัญ การเป่านกหวีดให้เป่าแรงเต็มที่และเฉียบขาดทุกครั้ง และใช้เฉพาะเพื่อให้สัญญาณเท่านั้น ผู้ที่อมนกหวีดไว้แล้ว ทำให้เกิดเสียงทุกครั้งที่หายใจออกหรือเป่าตลอดเวลา ทำให้เกิดความรำคาญ เป็นการพรำ่ เพรื่อซึ่งจะหมดความหมายและไม่ศักดิ์สิทธิ์ การปฏิบัติหน้าที่เป็นหมู่ หรือหลายคนควรให้หัวหนา้ เปน็ ผ้เู ปา่ คนเดียว การใชท้ ่าสัญญาณมือพร้อมกบั สัญญาณนกหวดี ๑. การเป่านกหวีดให้รถหยุด เป่าเมอ่ื ใช้สัญญาณมือห้ามรถหยดุ เรียบร้อยแล้ว โดยเป่ายาวหน่งึ ครง้ั ๒. ถ้าเปา่ นกหวีดให้รถไปได้ เปา่ เมื่อกำลงั ใช้สญั ญาณมือหรือในขณะท่โี บกมอื พร้อมกบั เปา่ นกหวดี เสยี งสั้น ๆ ๒ คร้ัง

105 การยนื อำนวยการจราจร ๑. ยืนในจดุ ทม่ี องเหน็ ถนนไดท้ ุกดา้ น เพอ่ื มองเห็นปรมิ าณรถแต่ละด้านว่ามากน้อยเพยี งใด ๒. เป็นจดุ ท่ปี ลอดภยั ไมก่ ดี ขวางการจราจร ๓. ไมม่ สี ิ่งบดบงั ตัวเจา้ หน้าที่ผู้ปฏิบัติ อาจทำใหผ้ ู้ขับข่ีรถมองไม่เห็น เช่น ตโู้ ทรศัพท์ เสาไฟฟา้ และตน้ ไม้ ๔. ใหผ้ ขู้ ับขร่ี ถมองเห็นได้เดน่ ชัด เมื่อให้สัญญาณมือในการอำนวยการจราจร ๕. เป็นจดุ ท่ีมองเหน็ สญั ญาณไฟจราจรหรือผคู้ วบคุมสัญญาณไฟจราจรไดด้ ี ๖. ยืนอย่ใู นทีเ่ หมาะสมสง่าผ่าเผย ๗. ไม่เคยี้ วหมากฝรงั่ หรือแสดงกิริยาไมเ่ หมาะสม เช่น บดิ ขีเ้ กยี จ หาว เรอ เป็นตน้ การควบคมุ จราจรดว้ ยสัญญาณมอื ๑. กอ่ นใชส้ ญั ญาณมือต้องดจู งั หวะสญั ญาณไฟใหถ้ กู ตอ้ ง เมือ่ อำนวยการจราจรตามจังหวะสัญญาณไฟ จราจรท่ีมผี ู้ควบคุมสัญญาณไฟจราจรอยู่ ๒. กอ่ นห้ามรถด้วยสญั ญาณมอื ใหด้ คู วามเรว็ ของรถคนั แรกและรถคันหลงั รวมท้ังระยะหา่ งของรถ ทจ่ี ะห้ามว่าเหมาะสมเพียงพอกับระยะทจ่ี ะให้รถหยุดหรอื ไม่

106 ชอ่ื วชิ า ฝึกปฏิบัติทา่ สญั ญาณจราจรและสัญญาณนกหวีด บทเรียนที่ ๘ เวลา ๑๕๐ นาที ขอบข่ายรายวชิ า ๑. พระราชบัญญตั จิ ราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ๒. ลักษณะการเป่าเสียงสัญญาณนกหวดี ในการปฏิบัติหนา้ ที่ ๓. การปฏบิ ตั ิหน้าที่ทา่ สัญญาณจราจร ๔. การเรยี นรู้เรอื่ งสัญญาณไฟจราจรเบือ้ งตน้ จุดหมาย เพอื่ ให้ผู้เขา้ รบั การฝึกอบรมมีความรู้ความเขา้ ใจในการฝกึ ปฏิบัติในท่าสญั ญาณจราจรและสัญญาณ นกหวีดได้ถกู วิธีต้องและสามารถนำความรู้ทีไ่ ด้ไปบำเพ็ญประโยชนต์ อ่ สถานศึกษาและชมุ ชน สงั คม เป็นการ ชว่ ยเจ้าหน้าทตี่ ำรวจจราจรได้อีกทางหน่งึ ด้วย วัตถปุ ระสงค์ เมอ่ื จบบทเรียนนี้แลว้ ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมควรสามารถ ๑. ฝึกปฏบิ ัติในการใช้สญั ญาณท่ามือและสัญญาณนกหวดี ได้ ๒. บอกสัญญาณไฟจราจร สัญลักษณ์จราจรและสัญญาณนกหวดี ไดถ้ กู ต้อง ๓. สามารถปฏิบตั ิหน้าที่ในบรเิ วณสถานศกึ ษาได้ วิธีสอน/กจิ กรรม ๑. นำเขา้ สู่บทเรยี น ๓๐ นาที เพลง / เกม ๒. บรรยายประกอบสื่อและวดี ที ัศน์ เรอื่ ง สัญญาณท่าจราจรและสญั ญาณนกหวีด ๔๐ นาที ๓. อธิบาย สาธติ และการฝกึ ภาคปฏิบัตสิ ัญญาณท่ามือและสญั ญาณนกหวีด ๔๐ นาที ๔. ฝกึ ทบทวนและทดสอบการใช้ สัญญาณมอื และสญั ญาณนกหวีดในการจราจร 35 นาที 5. สรปุ บทเรียน ๕ นาที สือ่ การสอน ๑. แผนภูมิ เพลง/เกม ๒. วีดที ัศน์ท่ีเกี่ยวกบั การจราจร ๓. Power Point เรือ่ ง การใชส้ ัญญาณไฟจราจร สญั ลกั ษณจ์ ราจร สัญญาณนกหวีดและเครอื่ งหมาย จราจร ๔. พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ การประเมินผล ๑. วิธกี ารวดั ผล ๑.๑ การปฏิบตั กิ ิจกรรม ๑.๒ การทดสอบ

107 ๒. เกณฑก์ ารประเมณิ ๒.๑ การทดสอบผ่านร้อยละ ๖๐ ๒.๒ ทดสอบการปฏิบัติสญั ญาณมอื และสญั ญาณนกหวีด เอกสารอ้างอิง/แหล่งขอ้ มลู ๑. พระราชบญั ญตั จิ ราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ๒. คำส่ังกองบงั คบั การตำรวจจราจรที่ ๓๐๕/๒๕๕๗ ลงวันที่ ๒๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

ชื่อวิชา กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี จราจร 108 ขอบขา่ ยรายวชิ า บทเรยี นท่ี 9 1. ความหมายและองค์ประกอบของโครงการ/โครงงาน/กิจกรรม เวลา 105 นาที 2. การวางแผนจัดทำโครงการ/ โครงงาน/กิจกรรม 3. ข้นั ตอนการจัดทำโครงการ/โครงงาน/กจิ กรรม 4. การรับเกยี รติบตั รคุณธรรม โดยการปฏิบัตหิ น้าท่ีการจราจร จุดหมาย เพ่ือให้ผู้เขา้ รับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และมที ักษะในการจดั ทำโครงการ/โครงงาน/กิจกรรม และปฏิบตั หิ น้าที่การจราจรจนได้รับเกียรติบตั รคุณธรรม วตั ถปุ ระสงค์ เมื่อจบบทเรียนน้แี ล้ว ผู้เข้ารับการฝึกอบรมควรจะสามารถ 1. เขียนโครงการ/โครงงาน/กจิ กรรม เกยี่ วกบั กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารีจราจรได้ 2. นำโครงการ/โครงงาน/กจิ กรรม ท่ีจดั ทำไปใช้ในสถานศกึ ษาของตนเองได้ 3. ปฏิบัตงิ านการจราจรไม่น้อยกว่า 50 คร้ัง ระยะเวลาไมน่ ้อยกวา่ 1 ปี เพอ่ื รับเกยี รตบิ ัตรคณุ ธรรม วิธสี อน/กจิ กรรม 1. นำเข้าสู่บทเรียนโดยนำเสนอตวั อยา่ งกิจกรรมส่งเสรมิ ลกู เสือ เนตรนารี จราจร ดว้ ยสือ่ เชน่ วีดีทัศน์ เพลง แผน่ พบั แผน่ ป้าย เป็นต้น 15 นาที 2. ใหค้ วามร้เู รอื่ งการวางแผนจัดทำโครงการ/โครงงาน/กิจกรรม และการจัดกิจกรรมเกีย่ วกับ การจราจร โดยใช้ Power point เรื่องการวางแผนจัดทำโครงการ/โครงงาน/กจิ กรรม และใบความรู้ เรื่อง การจัดทำโครงการ/โครงงาน/กิจกรรม 20 นาที 3. แบง่ กลุ่ม มอบหมายให้วางแผนจัดทำโครงการ/โครงงาน/กิจกรรม ลูกเสอื เนตรนารีจราจร จำนวน 1 โครงการ/โครงงาน/กิจกรรม ๒๕ นาที 4. ตัวแทนแตล่ ะกลุ่มนำเสนอโครงการ/โครงงาน/กจิ กรรม 20 นาที 5. ชี้แจงเกณฑ์การปฏิบัตงิ านเพ่ือขอรบั เกียรตบิ ัตรคณุ ธรรม 15 นาที 6. สรุปและประเมินผล ๑๐ นาที ส่อื การสอน 1. วดี ีทศั น์/เพลง กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารีจราจร 2. Power point เร่ือง การวางแผนกจิ กรรมโครงการ/โครงงาน/กจิ กรรม 3. แผ่นพับ แผน่ ป้าย 4. ใบความรู้ เรือ่ ง การจดั ทำโครงการ/โครงงาน/กิจกรรม 5. กระดาษ Flipchart ปากกาเคมี 6. สมุดปฏิบตั งิ านของลกู เสือ เนตรนารี จราจร

109 การประเมนิ ผล 1. การสังเกต 2. การปฏิบัติกจิ กรรม เรือ่ ง การจดั ทำโครงการ/โครงงาน/กิจกรรม เอกสารอ้างอิง/แหล่งขอ้ มูล 1. คำสงั่ กองบังคับการตำรวจจราจรที่ 305/2557 ลงวันท่ี 29 พฤษภาคม 2557 2. ตวั อย่างการเขียนโครงการ/โครงงาน/กิจกรรม 3. แบบฟอรม์ การเขยี นโครงการ/โครงงาน/กจิ กรรม 4. แหลง่ เรียนร้ใู นชมุ ชน 5. ขอ้ มูลทาง Internet เนอื้ หาวิชา การจัดทำโครงการ/โครงงาน/กจิ กรรม

110 ใบความร้ทู ี่ 9 เรือ่ ง การจดั ทำโครงการ/โครงงาน การจดั ทำโครงการ/โครงงาน/กจิ กรรม เพื่อดำเนนิ การตามแผนงานอย่างใดอย่างหนึ่งน้ัน สามารถทำให้ ผู้ปฏิบัติงานทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยมีขั้นตอน และมองเห็นปัญหาในการปฏิบัติงานได้อย่างชัดเจน ยิ่งขึ้น รวมทั้งมองเห็นแนวทางในการแก้ปญั หาอีกดว้ ย การเสนอแนะให้จัดทำโครงการ/โครงงาน/กจิ กรรมนั้น จำเป็นต้องระดมความรู้ ความสามารถ งบประมาณและทรัพยากรอื่นๆ ที่จำเป็น ซึ่งบางโครงการ/โครงงาน/ กิจกรรม อาจไม่จำเปน็ ตอ้ งดำเนนิ การของบประมาณสนับสนนุ เลยกไ็ ด้ แต่การเขียนโครงการ/โครงงาน/กจิ กรรม จะต้องทำให้ถกู ข้นั ตอน โดยการเสนอความคดิ เหน็ มแี นวทางในการเขยี นโครงการ/โครงงาน/กิจกรรม ดังตอ่ ไปน้ี 1. โครงการ/โครงงาน/กิจกรรม คือ งานหรือกิจกรรมทีร่ ะบรุ ายละเอยี ดต่างๆ เพ่ือที่จะนำไปปฏิบัติให้ บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ในแผน วัตถุประสงค์เดียวอาจมีหลายโครงการ/โครงงาน/กจิ กรรม ก็ได้ แต่ โครงการ/โครงงาน/กิจกรรม นน้ั จะต้องมีสว่ นประกอบที่ระบรุ ายละเอียดอยา่ งชัดเจนและสามารถขับเคล่ือนได้ ดงั น้ี (1) ชือ่ โครงการ/โครงงาน/กจิ กรรม (2) หลกั การและเหตุผล (3) วัตถุประสงค์ (4) เปา้ หมาย (5) วธิ ดี ำเนินงาน (6) ระยะเวลา (7) สถานที่ (8) งบประมาณ (9) ผู้รับผิดชอบ (10) หน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ ง (11) ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั (12) การประเมนิ ผล 2. แนวทางในการเขยี นโครงการ/โครงงาน/กจิ กรรม (1) ช่ือโครงการ/โครงงาน/กิจกรรม เป็นการกำหนดช่ือโครงการ/โครงงาน/กิจกรรม ในเร่ืองที่จะ ทำ (2) หลักการและเหตุผล ควรระบุหลักการ ว่ามีความจำเป็นและมีความเหมาะสมอย่างไร จะเกิด ประโยชนอ์ ยา่ งไร (3) วัตถปุ ระสงค์ ผลที่ตอ้ งการใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงค์ แสดงให้เหน็ แนวทางในการปฏิบัติงานได้อย่าง ชดั เจนและเข้าใจง่าย (4) เป้าหมาย ขอบข่ายงานที่จะทำงานใหบ้ รรลุ โดยระบุคณุ ภาพ ปริมาณงาน (5) วิธดี ำเนินงาน เปน็ การบอกรายละเอียดของการดำเนนิ งาน หรอื วิธกี ารดำเนนิ งานใหบ้ รรลตุ าม วตั ถุประสงค์ เร่ิมตง้ั แต่การเตรยี มงาน การศึกษาและสำรวจข้อเทจ็ จรงิ ตา่ งๆ การเสนอขออนุมัติโครงการ/ โครงงาน/กจิ กรรม การเร่มิ ปฏิบตั ิงานจนถงึ ส้นิ สดุ การปฏบิ ตั งิ าน

111 (6) ระยะเวลา เปน็ การกำหนดวันเร่ิมโครงการ/โครงงาน/กิจกรรม วันสิ้นสุดโครงการ/โครงงาน/ กจิ กรรม หรอื ช่วงเวลาท่ีดำเนินงานนนั้ ๆ (7) สถานท่ี การระบสุ ถานที่ หรือบริเวณท่ีจะดำเนินโครงการ/โครงงาน/กจิ กรรม (8) งบประมาณ แยกรายละเอียดงบประมาณรายรับ-รายจา่ ยท้งั หมดไว้ให้ชดั เจน หากไมม่ ี งบประมาณที่จะใชใ้ ห้ระบุว่า ไม่ใชง้ บประมาณ (9) ผรู้ ับผดิ ชอบ ให้ระบุชอื่ ผู้รบั ผดิ ชอบหรอื หนว่ ยงานท่ีรับผดิ ชอบ (10) หน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง หนว่ ยหลกั ท่ีสนบั สนุน สง่ เสริม ในการดำเนนิ งานตามโครงการ/ โครงงาน/กจิ กรรม (11) การประเมินผล รวบรวมข้อมูล วิเคราะหข์ ้อมลู เพื่อนำผลมาใช้ในการเพ่มิ คุณภาพและ ประสทิ ธภิ าพของการดำเนินโครงการ/โครงงาน/กจิ กรรม (12) ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ บั การระบผุ ลของโครงการ/โครงงาน/กจิ กรรม ทค่ี าดว่าเมื่อเสรจ็ ส้ิน โครงการ/โครงงาน/กิจกรรม โดยให้สอดคล้องกับวัตถุประสงคข์ องโครงการ/โครงงาน/กจิ กรรม

112 (ตวั อย่าง) โครงการ/โครงงาน/กจิ กรรม 1. ชอ่ื โครงการ/โครงงาน/กิจกรรม โครงการลูกเสอื เนตรนารี จราจร 2. หลกั การและเหตผุ ล ด้วยสภาพปัญหาการจราจรบริเวณโดยรอบของสถานศึกษาปัจจุบันไม่คล่องตัว เกิดผลกระทบ ต่อประชาชนผู้ใช้รถใช้ถนนในการสัญจรไปมา โดยเฉพาะในช่วงเวลาเช้าและเวลาเย็น และช่วงเวลาเร่งด่วน อีกทัง้ ก่อให้เกดิ มลพษิ ทางอากาศและการจราจรติดขัด (ชอื่ สถานศึกษา) ................................................. ตระหนกั ถงึ ปญั หาดังกลา่ ว จึงสนบั สนนุ หน่วยลูกเสือ เนตรนารจี ราจรของสถานศึกษาไปร่วมอำนวยความสะดวก และจัดการจราจรบริเวณโดยรอบของสถานศึกษา รว่ มกบั สถานตี ำรวจ..................................ในพื้นที่ 3. วัตถุประสงค์ 1..เพอื่ ใหล้ ูกเสอื เนตรนารีจราจร นำความรู้ ความเข้าใจ เกยี่ วกบั กฎหมายจราจรไปประยกุ ตใ์ ช้ ในชีวิตประจำวัน และสามารถปฏบิ ัตงิ านรว่ มกบั เจา้ หนา้ ที่ตำรวจจราจรในพนื้ ท่ีได้อย่างถกู ตอ้ ง 2..เพ่อื ใหล้ ูกเสือ เนตรนารจี ราจร กระทำตนในการเปน็ จติ อาสาทด่ี ีช่วยเหลือสงั คม 3..เพ่อื เปน็ การประชาสัมพนั ธ์กจิ กรรมของหนว่ ยลูกเสอื เนตรนารีจราจร ใหเ้ ป็นทร่ี ู้จกั ของบคุ คลทั่วไป 4. เปา้ หมาย 1..เชงิ ปรมิ าณ : ลกู เสือ เนตรนารจี ราจร จำนวน 48 คน 2..เชิงคุณภาพ : ลูกเสือ เนตรนารีจราจร จำนวน 48 คน สามารถปฏิบตั งิ านด้านการอำนวยความสะดวก ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ 5. วธิ ดี ำเนนิ งาน 1. เสนอโครงการเพอื่ ขออนมุ ตั ิ 2. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน 3. กำหนดกรอบแนวทางการดำเนนิ งาน 4. ลกู เสือ เนตรนารจี ราจร แต่ละคนปฏิบัตงิ าน ปีการศึกษาละไมน่ อ้ ยกวา่ 50 คร้ัง 5. ตดิ ตามประเมินผล 6. สรปุ รายงานหนว่ ยงานท่เี กยี่ วขอ้ ง 6. สถานที่ ตามที่สถานศึกษากำหนดตามความเหมาะสม 7. ระยะเวลา ระยะเวลา 1 ปกี ารศกึ ษา พ.ศ. .......... 8. งบประมาณ จำนวน - บาท (.....................................................)

113 9. ผรู้ ับผดิ ชอบ 1. หนว่ ยลูกเสอื เนตรนารีจราจร (ช่ือสถานศกึ ษา).......................... 2. ....................................................................... 3. ....................................................................... 10. หนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้อง 1. กองบงั คบั การตำรวจจราจร 2. กองบังคับการตำรวจภูธรจังหวดั ....................................................... 3. สถานีตำรวจ………………………………………………………………… 11. การประเมินผล จากการสงั เกต จากการตอบแบบสอบถาม 12. ผลที่คาดวา่ จะได้รบั 1. ลกู เสอื เนตรนารีจราจร นำความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกบั กฎหมายจราจรไปประยกุ ต์ใช้ ในชวี ิตประจำวัน และสามารถปฏิบตั งิ านร่วมกับเจ้าหนา้ ที่ตำรวจจราจรในพน้ื ทีไ่ ด้อย่างถูกตอ้ ง 2..ลกู เสือ เนตรนารีจราจร กระทำตนในการเป็นจิตอาสาทีด่ ชี ว่ ยเหลอื สงั คม 3..เป็นการประชาสัมพันธก์ จิ กรรมของหนว่ ยลกู เสือ เนตรนารี จราจร ให้เป็นท่รี จู้ กั ของบุคคลทวั่ ไป

114 แบบฟอร์มการเขยี นโครงการ/โครงงาน/กิจกรรม 1. ช่ือโครงการ/โครงงาน/กิจกรรม ………………………………………………… 2. หลักการและเหตุผล ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... 3. วตั ถปุ ระสงค์ 1..................................................................................................................................................... 2... ................................................................................................................................................ 3.................................................................................................................................................... 4. เป้าหมาย 1...เชิงปริมาณ : .......................................................................................................... 2...เชงิ คุณภาพ : ……………………………………………………................................................ 5. วิธีดำเนินงาน 1................................................................................................................................................ 2................................................................................................................................................ 3................................................................................................................................................ 6. สถานท่ี 1..................................................................................................................................................... 2... ................................................................................................................................................. 3..................................................................................................................................................... 7. ระยะเวลา ....................................................................................................................................................... 8. งบประมาณ ....................................................................................................................................................... 9. ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ/โครงงาน .....................................................................................................................,................................. 10. หน่วยงานที่เก่ยี วขอ้ ง ๑...................................................................................................................................................... ๒...................................................................................................................................................... ๓......................................................................................................................................................

115 11. การประเมนิ ผล 1.................................................................................................................................................. 2... ............................................................................................................................................. 12. ผลทคี่ าดว่าจะไดร้ ับ 1................................................................................................................................................. 2... ............................................................................................................................................ ๓...................................................................................................................................................... ลงชอื่ .................................................... ผู้เสนอโครงการ/โครงงาน/กจิ กรรม (.....................................................) ลงชอื่ .................................................... ทีป่ รึกษาโครงการ/โครงงาน/กจิ กรรม (.....................................................) ลงชอ่ื .................................................... ผู้เหน็ ชอบโครงการ/โครงงาน/กิจกรรม (.....................................................) ลงชอ่ื .................................................... ผอู้ นมุ ตั ิ (.....................................................)

116 แบบประเมินการปฏบิ ัติกจิ กรรม เรือ่ ง การจดั ทำโครงการ/โครงงาน/กจิ กรรม กลุ่ม/หมู่ ............................................................................ สถานศึกษา............................................................ ข้อ รายการประเมนิ ระดับคุณภาพ 432 1 1 การมีส่วนร่วมของสมาชกิ 2 ความคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ 3 ความถกู ต้องของการจัดทำโครงการ/โครงงาน/ กิจกรรม 4 วธิ ีการนำเสนอ 5 ความเป็นไปไดข้ องโครงการ รวม ................................................................... (................................................................) ผู้กำกับกลมุ่ /กองลกู เสอื เนตรนารี.......................................

เกณฑก์ ารประเมิน 117 หัวข้อท่ีประเมนิ ดมี าก (๔) ระดับคณุ ภาพ / คะแนน ปรบั ปรุง (๑) ๑. การมสี ่วนรว่ ม สมาชิก ๓ คน ขึ้น ของสมาชิก ทุกคนมสี ว่ นร่วม ดี (๓) พอใช้ (๒) ไปไม่ไดม้ สี ว่ นร่วม ๒. ความคิดริเริม่ ปฏิบัตไิ ม่ไดเ้ ลย สรา้ งสรรค์ ๑. ใหม่ไม่ซ้ำใคร สมาชกิ ๑ คน สมาชกิ ๒ คน ๒. มปี ระโยชน์ ไม่ไดม้ สี ่วนร่วม ไมไ่ ดม้ ีส่วนรว่ ม ผดิ ๕ ข้อขน้ึ ไป ๓. ความถูกต้อง ๓. ประยุกต์เป็น ของการจัดทำ รปู แบบใหม่ ปฏิบตั ิได้ ๒ ข้อ ปฏิบตั ไิ ด้ ๑ ขอ้ ปฏิบัตไิ ด้ ๑ ขอ้ โครงการ/โครงงาน/ ถูกต้องทุกข้ันตอน กิจกรรม ตามแนวทางการ ใน ๓ ขอ้ ใน ๓ ขอ้ ปฏบิ ัตไิ ด้ ๑ ข้อ ๔. วิธกี ารนำเสนอ จดั ทำโครงการ/ โครงงาน/กิจกรรม ผดิ ๑ - ๒ ข้อ ผดิ ๒ - ๔ ข้อ ๕. ความเปน็ ไปได้ ๑. นำเสนอน่าสนใจ ของโครงการ/ ๒.เสยี งดงั ฟังชดั เจน ปฏิบตั ไิ ด้ ๓ ขอ้ ปฏิบัตไิ ด้ ๒ ขอ้ โครงงาน/กจิ กรรม ๓. วาจาสภุ าพ ๔. ตามกำหนดเวลา ปฏิบตั ไิ ด้ ๓ ข้อ ปฏิบตั ไิ ด้ ๒ ข้อ ๑. ปฏบิ ตั ิได้จรงิ ๒. มีประโยชน์ ๓. มคี วามคมุ้ ค่า ๔. ยึดหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง

ภาคผนวก

หลกั สตู รการฝกึ อบรมลูกเสือ เนตรนารีจราจร เวลา/นาที ๙๐ วชิ า เรอ่ื ง ๑๐๕ ๑ ปฐมนเิ ทศ/พธิ ีเปดิ /ทดสอบกอ่ นเรยี น ๑๒๐ ๒ บทบาทหน้าที่ลกู เสอื เนตรนารจี ราจร ๗๕ ๓ พระราชบญั ญตั จิ ราจรทางบกและกฎหมายทเ่ี กีย่ วขอ้ ง ๑๒๐ ๔ เครื่องหมายจราจรและสัญญาณจราจร ๖๐ ๕ การสงั เกต การจดจำและการรายงานเหตุ ๑๐๕ ๖ การเดนิ เท้าและโดยสารรถประจำทางอยา่ งปลอดภัย ๙๐ ๗ การปฐมพยาบาล ๑๕๐ ๘ สัญญาณไฟจาจร สญั ญาณจราจรและสัญญาณนกหวดี (ภาคทฤษฎ)ี ๑๐๕ ๙ ฝกึ ปฏิบัติท่าสญั ญาณจราจรและสญั ญาณนกหวีด ๗๕ ๑๐ การจดั ทำโครงการลกู เสือ เนตรนารจี ราจร ๗๕ ๑๑ การประเมินผล ทดสอบหลงั เรยี นและพธิ ีปิด ๑๒ กจิ กรรมกลมุ่ สมั พนั ธ์ ๑๙ ชม. ๓๐ นาที รวม

กำหนดการฝกึ อบรมลูกเสอื เนตรนารีจราจร ว/ด/ป เวลา วชิ า เวลาอบรม 90 นาที วนั ท่ี 1 08.00 – 08.30 น. ลงทะเบยี น 105 นาที 08.30 - 10.00 น. - ปฐมนิเทศ 60 นาที - ทดสอบกอ่ นเรยี น 75 นาที - พิธเี ปดิ การฝึกอบรม 60 นาที 60 นาที - พิธเี ปิดรอบเสาธง 105 นาที - ชแ้ี จงวัตถุประสงคแ์ ละแนะนำวิทยากร 90 นาที - กลมุ่ สมั พนั ธ์ 90 นาที 60 นาที 10.00 - 10.15 น. อาหารวา่ งและเครื่องด่มื /นันทนาการ 105 นาที 10.15 – 12.00 น. บทบาทหนา้ ที่ลูกเสอื เนตรนารจี ราจร 60 นาที 60 นาที 12.00 – 13.00 น. พักรบั ประทานอาหารกลางวนั 13.00 – 14.00 น. พระราชบัญญตั ิจราจรทางบกและกฎหมายทีเ่ ก่ียวขอ้ ง (1) 14.00 – 14.15 น. อาหารวา่ งและเครื่องดื่ม/นันทนาการ 14.15 – 15.30 น. เคร่อื งหมายจราจรและสัญญาณจราจร 15.30 – 16.30 น. การสังเกต การจดจำและการรายงานเหตุ (1) วนั ที่ 2 08.00 – 09.00 น. รายงานตวั / กลมุ่ สัมพันธ์ 09.00 – 10.00 น. การเดินเท้าและโดยสารรถประจำทางอยา่ งปลอดภัย 10.00 - 10.15 น. อาหารว่างและเคร่อื งด่มื /นันทนาการ 10.15 – 12.00 น. การปฐมพยาบาล 12.00 – 13.00 น. พกั รับประทานอาหารกลางวัน 13.00 – 13.15 น. กจิ กรรมกลุม่ สมั พันธ์ 13.15 – 14.45 น. สญั ญาณไฟจราจร สญั ญาณจราจรและสัญญาณนกหวดี 14.45 – 15.00 น. อาหารวา่ งและเครอื่ งด่ืม 15.00 – 16.30 น. ฝึกปฏิบัตทิ า่ สญั ญาณจราจรและสญั ญาณนกหวีด (1) วนั ท่ี 3 08.00 – 09.00 น. รายงานตวั / กลุ่มสัมพันธ์ 09.00 – 10.00 น. ฝึกปฏิบัตทิ า่ สัญญาณจราจรและสญั ญาณนกหวีด (2) 10.00 - 10.15 น. อาหารว่างและเครอ่ื งดืม่ /นนั ทนาการ 10.15 – 12.00 น. กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารีจราจร (การจัดทำโครงการ/โครงงาน/กจิ กรรม) 12.00 – 13.00 น. พกั รับประทานอาหารกลางวนั 13.00 – 14.00 น. พระราชบญั ญัติจราจรทางบกและกฎหมายทเี่ กี่ยวขอ้ ง (2) 14.00 – 14.15 น. อาหารว่างและเคร่ืองด่ืม /นนั ทนาการ 14.15 – 15.15 น. การสงั เกต การจดจำและการรายงานเหตุ (2) 15.15 – 16.30 น. - สรุปประเมินผล - ทดสอบหลงั บทเรยี น - พธิ มี อบวฒุ ิบัตรและปิดการฝึกอบรม - พธิ ปี ดิ รอบเสาธง หมายเหตุ กำหนดการนอ้ี าจเปลี่ยนแปลงไดต้ ามความเหมาะสม

ตารางการฝึกอบรมลูก วัน/ 07.00 - 08.00 - 08.30 - 09.00 - 09.15 - 11.00 น เวลา 08.00 น. 08.30 น. 09.00 น. 09.15 น. รายงานตัว - ปฐมนเิ ทศ พธิ ีเปิด ทดสอบ - ชแี้ จงวตั ถุประสงค วนั ท่ี - แนะนำ ก่อนการ การฝึกอบรม 1 วทิ ยากร ฝกึ อบรม - บทบาทหนา้ ที่ของ ลูกเสือ เนตรนารี กลมุ่ สมั พนั ธ์ การเดินเท้าและโดยสารรถประจำท วนั ที่ 2 วนั ที่ กลุ่มสัมพันธ์ ฝกึ ปฏิบตั ิท่าสญั ญาณจราจรและ 3 สญั ญาณนกหวีด หมายเหตุ 1. ตารางนอ้ี าจปรบั เปลี่ยนไดต้ ามความเหมาะสม 2. เวลา 10.15 - 10.30 น. และ 14.30 - 14.15 น. พกั รับประทานอ

กเสือ เนตรนารี จราจร น. 11.00 - 12.00 น. 12.00 - 13.00 - 14.00 - 16.00 – 13.00 น. 14.00 น. 16.00 น. 16.30 น. ค์ พ.ร.บ.จราจรทาง เครื่องหมาย การสังเกตจดจำ สรุป บกและกฎหมาย จราจร และรายงานเหตุ ง อ่ืนทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ทาง การปฐมพยาบาล การปฐม ท่าสัญญาณ สรุป เบอ้ื งตน้ และ ฝึกปฏบิ ตั ิ พยาบาล จราจรและ ะ การเขียนโครงการ เบ้อื งตน้ และ สัญญาณ และการ ดำเนินงาน ฝึกปฏบิ ัติ นกหวีด อภปิ ราย - ทดสอบหลงั การฝึกอบรม 15 นาที ซักถาม - พิธีปดิ อาหารวา่ ง (อาจพักในเวลา)



















แบบทดสอบก่อนเรียน – หลงั เรยี น โครงการฝึกอบรมลกู เสือ เนตรนารี จราจร ****************** 1. บทบาทลูกเสอื เนตรนารีจราจร เกดิ ข้นึ เมอ่ื ใด ก. ระหวา่ งการฝกึ อบรมลกู เสือฯ ข. เมอื่ สำเร็จการอบรมฯ ค. เมื่อไดร้ บั บตั รประจำตัวฯ ง. เมอ่ื ไดส้ มุดบันทกึ การปฏิบัตงิ าน 2. ขอ้ ใดเป็นขอบเขตการปฏิบัตหิ น้าที่ของลกู เสือ เนตรนารีจราจร ก. เปน็ ผูช้ ว่ ยเจ้าหนา้ ทตี่ ำรวจ ในการอำนวยความสะดวกการจราจร โดยใชส้ ัญญาณมือ ข. เป็นผู้ชว่ ยเจา้ หน้าทต่ี ำรวจ ในการอำนวยความสะดวกการจราจร โดยใช้สัญญาณนกหวดี ค. ปฏบิ ตั ิหนา้ ทเี่ ฉพาะบนบาทวถิ ีหรอื รมิ ทางเดนิ รถ หา่ งจากขอบถนน 1 ก้าว บริเวณหนา้ โรงเรยี น ง. ถูกทกุ ข้อ 3. การจราจร หมายความว่าอย่างไร ก. การใชท้ างของผขู้ ับขี่ ข. การใช้ทางของผูข้ ับขี่ คนเดนิ เท้า ค. การใช้ทางของผขู้ ับขี่ คนเดินเท้าหรือคนทีจ่ งู ข่ี หรอื ไลต่ ้อนสัตว์ ง. ไมม่ ขี ้อใดถูก 4. สญั ญาณเสียงแตรสำหรับรถยนต์และรถจกั รยานยนต์ ให้ได้ยนิ ในระยะไม่นอ้ ยกว่ากเี่ มตร ก. 60 เมตร ข. 90 เมตร ค. 100 เมตร ง. 110 เมตร 5. บรเิ วณสญั ญาณไฟจราจร เมอ่ื ไฟสีเหลืองปรากฏควรกระทำในขอ้ ใด ก. ให้ผ้ขู ับขห่ี ยดุ รถหลังเสน้ ใหห้ ยุดรถ ข. ให้ผู้ขบั ข่ีเตรยี มหยุดรถหลังเส้นใหร้ ถหยดุ ค. ผูข้ ับข่ที ีไ่ ด้เลยเส้นหยดุ รถไปแลว้ ให้เลยไปได้ ง. ถูกทกุ ข้อ 6. การจอดรถ ตอ่ ไปนี้ ข้อใดถกู ต้อง ก. ห้ามจอดรถบนทางเทา้ ข. ห้ามจอดรถบนสะพานหรอื ในอโุ มงค์ ค. หา้ มจอดรถในทางรว่ มทางแยกหรอื ในระยะสบิ เมตรจากทางรว่ มทางแยก ง. ถูกทกุ ขอ้

7. เมอ่ื เจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรให้สัญญาณมือห้ามใหร้ ถหยดุ ผู้ขับข่ีท่ีขบั รถมา จะตอ้ งหยุดรถให้ห่างจากพนกั งาน เจา้ หน้าทีไ่ ม่นอ้ ยกวา่ กี่เมตร ก. 1 เมตร ข. 2 เมตร ค. 3 เมตร ง. 4 เมตร 8. ภาพปา้ ยจราจรน้ี หมายความว่าอย่างไร ก. ห้ามหยุดรถ ข. หา้ มเข้า ค. ห้ามผ่าน ง. ห้ามจอดรถ 9. ภาพปา้ ยจราจรน้ี หมายความว่าอย่างไร ก. ให้รถสวนทางมากอ่ น ข. ห้ามแซง ค. ใหร้ ถสวนทางหยดุ รถ ง. สวนทางกันได้แตต่ อ้ งระวงั 10. ภาพจราจรนี้ หมายความว่าอยา่ งไร ก. เขตห้ามแซง ข. เตอื นรถกระโดด ค. ทางร่วม ง. ถนนข้างหนา้ ทางขรขุ ระ 11. การสงั เกตและจดจำยานพาหนะประเภทรถยนต์ ควรสังเกตและจดจำส่ิงใดเปน็ สำคัญ ก. สรี ถ รุ่น ยหี่ ้อ ป้ายทะเบยี น ข. สีรถ ป้ายทะเบียน ไฟทา้ ย เสาวิทยุ ค. รุ่น ทะเบยี น ขนาดล้อยาง ไฟท้าย ง. ทะเบยี น สติกเกอร์ ไฟท้าย ขนาดท่อไอเสยี 12. เม่ือประสบเหตุมีคนรา้ ยวิ่งราวสรอ้ ยคอทองคำต่อหนา้ ท่าน สิง่ ท่ีควรจดจำลักษณะของผรู้ า้ ย คอื ข้อใด ก. เพศ อายุ รปู ร่าง ลักษณะเสื้อผา้ ทส่ี วมใส่ ข. เพศ รองเทา้ นาฬกิ า สำเนียงพูด ค. เพศ รอยสกั ดวงตา ทรงผม ง. เพศ ดวงดา สำเนียงพดู รอยสกั

13. ข้อใดถกู ตอ้ งท่ีสุดในการเดินทางข้ามถนนดว้ ยความปลอดภยั ก. ขา้ มทางมา้ ลายหรอื สะพานลอย ข. ขา้ มแยกท่ีสัญญาณไฟจราจรสามารถข้ามได้ ค. จับมอื กันรอรถวิ่งผ่านค่อยข้าม ง. ถูกทุกขอ้ 14. ถ้าผขู้ ับข่รี ถจักรยานยนตไ์ มส่ วมหมวกนริ ภัย จะมีโทษอยา่ งไร ก. ปรบั ไม่เกนิ 400 บาท ข. ปรับไม่เกิน 500 บาท ค. จำคกุ 1 เดือน ปรบั 400 บาท ง. จำคกุ 1 เดือน ปรับ 500 บาท 15. ขอ้ ใดถูกต้องท่ีสุด ในการเดินทางโดยรถไฟฟ้า ก. เม่อื รถไฟฟ้ามาถงึ รีบวิ่งเพ่ือเข้าหรือออกจากตัวรถไฟฟา้ ข. ยืนพิงประตูรถไฟฟ้าได้ ค. ยืนรอรถไฟฟา้ ตรงทางเขา้ ออกหลังเสน้ สีเหลอื ง ง. ยืนรอรถไฟฟา้ หลงั เส้นสีเหลอื ง 16. หากผูป้ ่วยกระดูกหัก การปฐมพยาบาลเบื้องตน้ ควรทำอย่างไร ก. ดงึ กระดูกนนั้ ออกมา ข. เข้าเฝอื กชวั่ คราว ค. รัดกระดูกกลบั เขา้ ไปทเี่ ดิม ง. เอาผ้าปิดไว้เพ่อื ไมใ่ ห้ตกใจ 17. เมื่อพบเหตผุ ู้ปว่ ยฉกุ เฉนิ เราควรแจ้งขอ้ มลู อะไรบ้าง ในการประสานขอรถพยาบาล ก. เหตุการณ์อะไรเกดิ ขึน้ เบอรโ์ ทรกลับ ข. สถานท่ีเกดิ เหตุ ค. จำนวนผู้บาดเจ็บ/ เพศ วัย อายุ ง. ถูกทกุ ข้อ 18. ผปู้ ว่ ยชาย 1 ราย อายุ 25 ปี เกิดอบุ ัตเิ หตพุ ลัดตกจากทสี่ งู 2 เมตร มีอาการปวดหลงั มาก เราพบผปู้ ว่ ยเป็นคนแรก เราควรชว่ ยเหลอื อย่างไร ก. ช่วยยกผูป้ ่วยขนึ้ แล้วพาไปห้องปฐมพยาบาล ข. ตรวจรา่ งกายเบ้อื งตน้ ให้ผู้ปว่ ยนอนนงิ่ ๆ แลว้ รบี ขอความชว่ ยเหลอื ค. หายาแกป้ วดให้ผู้ป่วยทานก่อน หลังจากนั้นพามาโรงพยาบาล ง. ถูกทุกขอ้

๑๙. การจดั ทำโครงงานเปน็ หนา้ ทีข่ องผู้ใด ก. ลกู เสือ เนตรนารี ข. ผกู้ ำกับกองลกู เสือ ค. ผู้กำกับกลุ่มลูกเสอื ง. ผ้อู ำนวยการลูกเสอื โรงเรยี น ๒๐. การจดั ทำโครงงานลกู เสือ เนตรนารจี ราจร มีความสำคัญอยา่ งไร ก. เพื่อวางแผนการปฏิบตั ิงาน ข. เพ่อื กำหนดข้นั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน ค. เพ่อื ให้ลูกเสอื เนตรนารจี ราจร ไดก้ ระทำตน เปน็ จิตอาสาชว่ ยเหลือสงั คม ง. ถกู ทกุ ขอ้ --------------------------------

เฉลย 1. ค. 2. ง. 3. ค. 4. ก. 5. ง. 6. ง. 7. ค. 8. ข. 9. ข. 10.ง. 11.ก. 12.ก. 13.ก. 14.ข. 15.ง. 16.ข. 17.ง. 18.ข. 19.ก. 20.ง.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook