Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือฝึกอบรมลุกเสือ เนตรนารี-จราจร

คู่มือฝึกอบรมลุกเสือ เนตรนารี-จราจร

Published by DaiNo Scout, 2021-08-04 23:07:04

Description: คู่มือฝึกอบรมลุกเสือ เนตรนารี จราจร2564

Search

Read the Text Version

คำนำ คู่มือการฝึกอบรมลูกเสือ เนตรนารี จราจร เป็นคู่มือสำหรับใช้ในการฝึกอบรมลูกเสือ เนตรนารี จราจร ให้มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจนเป็นไปในทิศทางเดียวกันในการพัฒนาหลักสูตรการจัดกิจกรรม ลูกเสือ ที่มุ่งหวังให้เยาวชนลูกเสือ เนตรนารี ได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพสู่ความเป็นเลิศ เสริมสร้าง ให้เยาวชนเป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัยตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ของความเป็นพล เมืองดี มีจิตสาธารณะ มีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม ชุมชน ชาติบ้านเมือง และโลก ด้วยกระบวนการลูกเสือ สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และสอดรับกับนโยบาย ยทุ ธศาสตร์ ของการลกู เสือโลกในเรือ่ งการพฒั นามวลกจิ กรรม (Youth Programme Development) สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรียน สป. จึงได้จัดทำคู่มือการฝึกอบรมลูกเสือ เนตรนารี จราจร ขึ้น ได้รวบรวมข้อมูลที่สำคัญจากการประชุมเชิงปฏิบัติการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรียน ประจำสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นำคู่มือที่ได้ไปใช้ประกอบการฝึกอบรมลูกเสือ เนตรนารี จราจรอย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพและ เป็นมาตรฐานเดียวกันและส่งเสริมให้ลูกเสือ เนตรนารี จราจร มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องกฎหมายจราจร และการใช้รถ ใช้ถนนอย่างปลอดภัย มีทักษะการใช้สัญญาณมือ สัญญาณนกหวีดในการปฏิบัติหน้าที่ อำนวยความสะดวกเรื่องการจราจรร่วมกับเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรและสามารถนำความรู้ ทักษะไปใช้ ในการบำเพ็ญประโยชนใ์ นเทศกาลวันสำคัญ เชน่ วันขึ้นปใี หม่ วันสงกรานต์ เปน็ ต้น ชว่ ยอำนวยความสะดวก ร่วมกับตำรวจจราจรสถานที่ต่าง ๆ เช่น สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (หมอชิต) สถานีขนส่งผู้โดยสาร กรุงเทพฯ (สายใต้ใหม)่ สถานรี ถไฟกรงุ เทพฯ (หัวลำโพง) และดำเนนิ ชีวติ ประจำวนั ได้อย่างถกู ต้อง ขอขอบคุณประธานคณะกรรมการดำเนนิ งาน คณะกรรมการและผู้แทนจากกองบังคับการ ตำรวจจราจร บก.จร. และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่ให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูลที่สำคัญต่อการจัดทำคู่มือ การฝึกอบรมลูกเสือ เนตรนารี จราจร ในคร้งั นี้ หวงั เป็นอย่างยิ่งวา่ คูม่ อื การฝกึ อบรมฯ เป็นประโยชน์ต่อการ จัดกจิ กรรมการฝึกอบรมลกู เสือ เนตรนารี จราจร ในโอกาสตอ่ ไป กลุม่ ส่งเสรมิ และพัฒนาการลูกเสอื สำนักการลูกเสอื ยวุ กาชาดและกจิ การนักเรยี น

สารบัญ หน้า ก ผ้อู ำนวยการฝกึ กลา่ วต้อนรบั และชีแ้ จงวัตถปุ ระสงค์ 1 บทเรียนที่ 1 บทบาทหน้าท่ีลูกเสอื เนตรนารี จราจร 9 บทเรียนท่ี 2 เคร่ืองหมายจราจรและสัญญาณจราจร บทเรยี นท่ี 3 การสงั เกต การจดจำและการรายงานเหตุ 30 บทเรียนท่ี 4 พระราชบัญญตั จิ ารจรทางบกและกฎหมายที่เกย่ี วขอ้ ง (1 และ 2) 40 บทเรยี นท่ี 5 การเดนิ ทางและการใชย้ านพาหนะอยา่ งปลอดภยั 61 บทเรียนท่ี 6 การปฐมพยาบาล 72 บทเรยี นท่ี 7 สญั ญาณไฟจราจร สญั ญาณจาราจรและสญั ญาณนกหวีด (1) (2) (3) 97 บทเรียนที่ 8 ฝึกปฏบิ ัตทิ ำสัญญาณจราจรและสัญญาณนกหวีด 106 บทเรยี นที่ 9 กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี จราจร 108 ภาคผนวก - หลกั สูตรการฝึกอบรมลกู เสือ เนตรนารี จราจร - กำหนดการฝึกอบรมลกู เสือ เนตรนารี จราจร - ตารางการฝกึ อบรมลูกเสอื เนตรนารี จราจร - คำส่ังกองบงั คบั การตำรวจจราจร ท่ี 305/2557 - คำส่งั สำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ที่ 2387/2561 และ ที่ 2756/2561 เรอ่ื ง แต่งตั้งคณะทำงานจดั โครงการประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ ารเพื่อจัดทำคู่มอื โครงการฝกึ อบรมลกู เสอื เนตรนารี จราจร - แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรยี น โครงการฝึกอบรมลูกเสือ เนตรนารี จราจร

ก ผ้อู ำนวยการฝกึ กล่าวต้อนรบั และชีแ้ จงวัตถุประสงค์ ขอบขา่ ยวิชา ๑. วัตถุประสงคข์ องการฝึกอบรม ๒. แนวความคิดและกลยุทธ์ทใี่ ช้ในการฝกึ อบรม ๓. ผลที่คาดหวังหลังการฝกึ อบรม ๔. วธิ กี ารประเมนิ ผลการฝกึ อบรม วัตถุประสงค์ เมื่อจบบทเรยี นนี้แลว้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมควรจะสามารถ ๑. เขา้ รับการฝึกอบรมไดบ้ รรลุผลอย่างมีคุณภาพ ๒. รจู้ ักคนุ้ เคยระหว่างผูเ้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมกับคณะผู้ใหก้ ารฝกึ อบรม ๓. ครองตนในการเขา้ รับการฝึกอบรมและผ่านการประเมินผลตามหลกั สูตร กจิ กรรม ๑. กลา่ วต้อนรับ ๒. บรรยายนำและชี้แจงวัตถปุ ระสงค์ ๓. แนะนำคณะผูใ้ หก้ ารฝึกอบรม ๔. ช้ีแจงวธิ กี ารฝึกอบรมและการประเมนิ ผล ๕. สรุปและประเมินผล การประเมนิ ผล ๑. การสงั เกต ๒. การสอบถาม

ชอ่ื วชิ า บทบาทหน้าท่ลี ูกเสือ เนตรนารี จราจร 1 นาที บทเรียนท่ี 1 เวลา 105 ขอบข่ายรายวิชา 1. บทบาทหน้าท่ีและความรบั ผิดชอบของลกู เสอื เนตรนารี จราจร 2. วตั ถุประสงค์ของการฝึกอบรม จุดหมาย เพอื่ ใหผ้ เู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมมีความรู้ ความเขา้ ใจบทบาทหน้าท่ีลกู เสอื เนตรนารี จราจร และสามารถ ปฏิบตั หิ นา้ ท่ลี กู เสอื เนตรนารี จราจรได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ วัตถุประสงค์ เมอื่ จบบทเรียนนี้แลว้ ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมควรจะสามารถ 1. บอกบทบาทหนา้ ท่ีและความรบั ผดิ ชอบของลูกเสอื เนตรนารี จราจรได้ 2. บอกวัตถปุ ระสงค์ของการฝึกอบรมบทบาทหนา้ ทล่ี ูกเสือ เนตรนารี จราจรได้ 3. นำความรู้ไปปฏบิ ัติหนา้ ทีล่ กู เสอื เนตรนารี จราจรได้ วิธสี อน/กจิ กรรม 1. ชี้แจงวตั ถุประสงคแ์ ละใช้คำถามนำเขา้ ส่บู ทเรยี น 2. บรรยายทบทวนความรเู้ กย่ี วกับอุดมการณ์ของลกู เสอื คำปฏิญาณและกฎของลกู เสอื 3. บรรยายความหมายและบทบาทหนา้ ที่ลกู เสือ เนตรนารี จราจร และวัตถุประสงค์ในการฝึกอบรม 4. อภิปรายกลมุ่ ตามใบงาน 5. รายงานผลการอภิปรายกลุ่ม 6. สรปุ และประเมินผล สอ่ื การสอน 1. Power point 2. ใบความรู้ 3. กระดาษปรู๊ฟ/ปากกา 4. ใบงาน การประเมินผล 1. การสังเกต 2. แบบประเมินผลการปฏิบตั กิ จิ กรรมกลุ่ม เอกสารอา้ งอิง/แหลง่ ขอ้ มูล 1. พระราชบัญญัตลิ กู เสอื พ.ศ. ๒๕๕๑ 2. คำสงั่ กองบงั คบั การตำรวจจราจร ที่ ๓๐๕/๒๕๕๗ ลงวนั ท่ี 29 พฤษภาคม 2557 3. โครงการฝึกอบรมวชิ าลกู เสอื เนตรนารีจราจร ประจำปี ๒๕๖1

2 ใบความร้ทู ี่ 1 เร่ือง บทบาทหนา้ ที่ของลูกเสือ เนตรนารี จราจร แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ถอื เปน็ แผนแม่บทหลักใน การพัฒนาประเทศที่ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นกฎหมายบังคับใช้ ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๙ ถึง วันที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๔ นน้ั มหี ลักการสำคญั คอื “ยึดคนเป็น ศูนยก์ ลางของการพัฒนา” ม่งุ สร้างคณุ ภาพชวี ติ ที่ดีสำหรับคนไทย พัฒนาคนให้มีความเป็นคนที่สมบูรณ์ มีวินัย ใฝ่รู้มีความรู้ มีทักษะ มีความคิดสร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดี รับผิดชอบต่อสังคม มีคุณธรรมและจริยธรรม ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะหน่วยงานหลัก ในภาคการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพคนของประเทศ ได้ตระหนักถึงความสำคัญ ดังกล่าว ดังนั้น ภายใต้ วิสัยทัศน์ “มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้คู่คุณธรรม มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุข ในสังคม” จึงได้มีการกำหนด ยุทธศาสตร์และวางเปา้ หมายที่สามารถตอบสนองการพัฒนาด้านต่าง ๆ คือ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๑ ยุทธศาสตร์พัฒนา หลักสูตรกระบวนการเรียนการสอน การวัดและ ประเมินผล ที่มุ่งหวังให้คนไทยมีคุณธรรมจรยิ ธรรม มีภูมิคุ้มกันตอ่ การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาประเทศ ในอนาคต ซึ่งตอบสนองการพัฒนาในด้านคุณภาพและด้านการตอบโจทย์ บริบททีเ่ ปลีย่ นแปลง ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ยทุ ธศาสตร์ผลติ พฒั นาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ทม่ี ่งุ หวงั ให้มีการผลิตครูได้สอดคล้องกับความต้องการในการจัดการศึกษาทุกระดับทุกประเภท และมีสมรรถนะ ตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถใช้ศักยภาพในการสอนได้อย่างเต็มที่ซึ่งตอบสนองการพัฒนาในด้านคุณภาพ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓ ยทุ ธศาสตร์ผลิตและพัฒนากำลังคนซง่ึ ตอบสนองการพัฒนาในด้านคุณภาพ และดา้ นการตอบโจทย์ บริบทที่เปลี่ยนแปลงกระทรวงศึกษาธิการ จึงได้มีนโยบายในการส่งเสริมกิจกรรมลูกเสือ ยุวกาชาด ด้านการจราจร เพอื่ ให้เยาวชนลกู เสอื เนตรนารไี ดบ้ ำเพญ็ ประโยชน์ ในการอำนวยความปลอดภัยด้านการจราจร ซึ่งจะทำให้เกิดความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนนมากยิ่งขึ้น และสิ่งที่สำคัญก็คือลูกเสือได้บำเพ็ญประโยชน์ ช่วยเหลือผู้อื่น ตามอุดมการณ์ของลูกเสือ ปฏิบัติหน้าที่ร่วมกับเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรได้อย่างถูกต้องสำนัก การลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จึงได้จัดการฝึกอบรมลูกเสือ เนตรนารี วิชาจราจรขึ้นเพอ่ื จะได้อำนวยความปลอดภยั ด้านจราจร และดแู ลสง่ เสรมิ ให้ลูกเสือ เนตรนารี จราจร ของสถานศึกษา ปฏิบัติหน้าที่ช่วยเหลือทางราชการร่วมกันเจ้าหน้าที่ตำรวจในพื้นที่ได้อย่างเหมาะสมและ มีประสิทธิภาพ

3 ใบความรทู้ ี่ 2 เร่ือง ความหมายบทบาทหน้าท่ีและความรบั ผิดชอบของลกู เสือ เนตรนารี จราจร --------------------------- มาตรา ๔ ตามพระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๑ “ลูกเสือ”หมายความว่า เด็กและเยาวชนทั้งชาย และหญิง ที่สมัครเข้าเป็นลูกเสือทั้งในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา ส่วนลูกเสือที่เป็นหญิงเรียกว่า “ เนตร นารี” บทบาทของลูกเสือ เนตรนารีจราจร คือ บุคคลที่สำเร็จการฝึกอบรมตามหลักสูตรตามคำสั่งกองบังคับ การตำรวจจราจร ที่ ๓๐๕/๒๕๕๗ เรื่อง ระเบียบวิธีการฝึกอบรมลูกเสือ เนตรนารี ลงวันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๗ และไดร้ ับบตั รประจำตัว ซ่ึงลงนามโดยผูบ้ ังคับการตำรวจจราจร โดยปฏิบัตติ ามหน้าท่ีและขอบเขตของ ลูกเสอื เนตรนารี ดังนี้ ๑. เป็นผู้ช่วยเหลือเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในการอำนวยความสะดวกจราจร โดยใช้สัญญาณมือ และสัญญาณ นกหวีด ปฏบิ ตั หิ น้าท่ี เฉพาะบทบาทวิถหี รือรมิ ทางเดินรถ ห่างจากถนน ๑ กา้ ว บริเวณหน้าโรงเรยี น ๒. การควบคุมจราจร โดยใช้สัญญาณมือและสัญญาณนกหวีดในผิวการจราจร อนุโลมให้ทำได้เฉพาะ ผวิ การจราจร อนุโลมให้ทำได้เฉพาะผวิ การจราจรในบรเิ วณโรงเรยี นเท่านัน้ ๓. ปฏิบัติงานตามโครงงานที่แต่ละโรงเรียนได้กำหนดไว้ คือจำนวน ๕๐ ครั้ง ภายในระยะเวลา ๑ ปี เม่ือครบกำหนดจะได้รบั เกยี รติคุณธรรม ซง่ึ ลงนามโดยผูบ้ งั คบั การตำรวจจราจร และผ้อู ำนวยการสำนักการลูกเสอื ยวุ กาชาดและกจิ การนักเรียน และจะได้เพิ่มพิเศษตามระเบียบไมเ่ ก่ียวกับคดลี ักษณะที่ ๑๘ บทที่ ๑ อนุ ๔ (๓) ได้คะแนนร้อยละ ๕ คะแนน

4 ใบความรู้ 2.1 บทบาทหน้าทขี่ องเยาวชนทีม่ ตี อ่ สังคมและประเทศชาติ มาตรา 4 ตามพระราชบัญญัติลกู เสือ พ.ศ. 2551 “ลูกเสือ” หมายความว่า เด็กและเยาวชน ทั้งชาย และหญงิ ท่สี มัครเข้าเปน็ ลูกเสอื ทัง้ ในสถานศกึ ษาและนอกสถานศึกษา สว่ นท่เี ป็นลกู เสือใหเ้ รียกว่า “เนตรนารี” สมาชิกทุกคนในสังคมย่อมตอ้ งมบี ทบาทหน้าที่ตามสถานภาพของตน ซง่ึ บทบาทและหน้าที่ของสมาชิก แต่ละคนจะมีความแตกต่างกันไป แต่ในหลักใหญ่และรายละเอียดจะเหมือนกัน ถ้าสมาชิกทุกคนในสังคม ไดป้ ฏบิ ตั ติ ามบทบาทหน้าท่ีของตนอย่างถกู ตอ้ งก็จะได้ ชือ่ ว่าเป็น \"พลเมืองทดี่ ขี องสังคมและประเทศชาติ\" และ ยังส่งผลให้ประเทศชาติพฒั นาอย่างยัง่ ยืน ดังนั้น สมาชิกในสังคมทุกคน โดยเฉพาะเยาวชนที่ถือว่าเป็นอนาคต ของชาติจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเรียนรู้และปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของตน เพื่อช่วยนำพาประเทศชาติ ให้พัฒนาสบื ไป เยาวชนกับการเป็นสมาชิกทด่ี ีของสงั คมและประเทศชาติ เยาวชน หมายถึง คนหนุ่มสาวทมี่ พี ลงั อันสำคัญที่จะสามารถช่วยกนั เสริมสร้างกจิ กรรมทีเ่ ปน็ ประโยชน์ ตอ่ การพัฒนาประเทศชาตใิ นอนาคต ดงั น้นั เยาวชนที่ดคี วรตระหนักในคณุ คา่ ของตนเอง และรว่ มแรงร่วมใจ สามัคคี และเสยี สละเพอ่ื สว่ นรวม ลักษณะของเยาวชนท่ีดี เยาวชนที่ดคี วรจะเป็นผู้ทีม่ คี ุณธรรม จรยิ ธรรม กลา่ วคอื จะตอ้ งมธี รรมะในการดำเนินชวี ติ ได้แก่ 1. การเสียสละต่อส่วนรวม เป็นคณุ ธรรมท่ชี ว่ ยในการพัฒนาประเทศชาตใิ หม้ ีความเจริญกา้ วหน้า เพราะถ้าสมาชิกในสังคมเห็นแกป่ ระโยชน์สว่ นรวม และยอมเสยี สละผลประโยชนส์ ่วนตน จะทำให้สังคมพฒั นา ไปอยา่ งรวดเร็วและมนั่ คง 2. การมีระเบยี บวินยั และความรับผดิ ชอบต่อหน้าท่ี เป็นคุณธรรมทีช่ ่วยให้คนในสังคมอยู่รว่ มกันได้ อย่างสงบสขุ เพราะถา้ สมาชกิ ในสงั คมยดึ มั่นในระเบียบวินัย รูแ้ ละเขา้ ใจสิทธิของตนเอง ไม่ละเมิดสิทธิผอู้ นื่ และ ต้ังใจปฏิบตั ิหน้าท่ีของตนใหด้ ีทสี่ ุด สงั คมน้ันก็จะมแี ต่ความสุข เชน่ ข้าราชการทำหนา้ ท่ีบรกิ ารประชาชนอยา่ งดี ที่สดุ กย็ ่อมทำให้เป็นทป่ี ระทบั ใจรักใครข่ องประชาชนผู้มารับบริการ 3. ความซือ่ สัตย์สจุ ริต เปน็ คุณธรรมที่มีความสำคัญ เพราะหากสมาชิกในสังคมยดึ ม่ันในความซ่อื สตั ย์ สุจรติ เช่น ไม่ลักทรพั ย์ ไมเ่ บยี ดเบยี นทรพั ยส์ นิ ของผอู้ น่ื หรือของประเทศชาติมาเปน็ ของตน รวมทง้ั ผนู้ ำประเทศ มคี วามซอื่ สตั ยส์ ุจริต ก็จะทำให้สังคมมแี ตค่ วามเจริญ ประชาชนมแี ต่ความสขุ 4. ความสามัคคี ความรกั ใครก่ ลมเกลียวปรองดองและร่วมมอื กนั ทำงานเพื่อประโยชนส์ ว่ นรวมจะทำให้ สังคมเป็นสงั คมที่เข้มแขง็ แต่หากคนในสงั คมเกิดความแตกแยกทัง้ ทางความคิดและการปฏิบัติตนในการอยู่ รว่ มกนั จะทำให้สงั คมออ่ นแอและลม่ สลายในท่สี ดุ 5. ความละอายและเกรงกลัวในการทำชวั่ ถ้าสมาชิกในสังคมมีหริ ิโอตปั ปะ มีความเกรงกลวั และละอาย ในการทำชวั่ สังคมกจ็ ะอยู่กันอย่างสงบสุข เชน่ นักการเมอื งจะต้องมีความซอ่ื สัตยส์ จุ ริตไมโ่ กงกนิ ไมเ่ ห็นแก่ ประโยชนพ์ วกพ้อง โดยตอ้ งเหน็ แกป่ ระโยชนข์ องประชาชนเปน็ สำคญั ประเทศชาตกิ ็จะสามารถพฒั นาไปได้ อย่างมัน่ คง ความสำคญั ของการเป็นเยาวชนทด่ี ี การเป็นเยาวชนที่ดีมคี วามสำคัญตอ่ ตนเองและประเทศชาติ ดงั นี้ 1. ความสำคัญต่อตนเอง เยาวชนที่ดตี อ้ งเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมในการดำเนนิ ชวี ติ คิดดี ทำดีเพ่ือ ตนเองและเพือ่ สว่ นรวม ปฏบิ ัติตนตามหน้าท่ีที่ไดร้ ับมอบหมาย จะทำให้มีสขุ ภาพกาย สขุ ภาพจิตที่ดี สรา้ ง สมั พนั ธภาพท่ดี ีระหว่างกนั และกนั เป็นท่ีรักของคนรอบข้าง

5 2. ความสำคัญตอ่ ส่วนรวม เม่ือเยาวชนไดร้ ับการปลุกฝังให้เป็นเยาวชนที่ดีแล้ว กจ็ ะเปน็ พลเมืองที่ดี ในอนาคต และถ้าประเทศชาติมีพลเมืองท่ีดี มคี วามรับผดิ ชอบปฏิบัติตามกฎระเบียบกตกิ าของสงั คม และ นำหลกั ประชาธปิ ไตยมาใชเ้ ป็นแนวทางในการกำหนดบทบาทและหน้าท่ีของตน ก็ยอ่ มทำให้การอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมเป็นไปอย่างสงบสุข 3. ความสำคัญต่อประเทศชาติ เม่ือสังคมมีเยาวชนทีด่ ี และมสี ่วนรว่ มในกิจกรรมทางสังคม ยอ่ มเป็น พ้ืนฐานทำให้เกดิ พลเมอื งดีในอนาคต และเม่อื สังคมมีพลเมืองทีด่ ี ย่อมนำมาซง่ึ การพัฒนาประเทศชาตใิ ห้ เจริญกา้ วหน้าต่อไปอยา่ งรวดเร็ว การปฏบิ ัตติ นเป็นเยาวชนทีด่ ตี ามสถานภาพและบทบาท 1. เยาวชนกับการเปน็ สมาชกิ ที่ดีของครอบครัว เยาวชนในสถานภาพของการเปน็ บุตรควรมบี ทบาทหน้าท่ี ดงั นี้ 1.1 เคารพเชือ่ ฟงั บิดามารดา 1.2 ชว่ ยเหลือบดิ ามารดาในทุกโอกาสท่ีทำได้ 1.3 ใช้จ่ายอย่างประหยัด ไมฟ่ ุ่มเฟอื ย สุรยุ่ สรุ า่ ย 1.4 มคี วามรกั ใครป่ รองดองในหมูพ่ ่นี อ้ ง 1.5 ตงั้ ใจศกึ ษาเล่าเรยี น 1.6 ประพฤตติ นให้สมกับเปน็ ผู้ดำรงวงศต์ ระกูล 2. เยาวชนกับการเป็นสมาชิกที่ดีของโรงเรียน เยาวชนในฐานะนกั เรียนควรมีบทบาทหนา้ ที่ ดงั น้ี 2.1 รบั ผิดชอบในหนา้ ทข่ี องนกั เรยี น คอื ตัง้ ใจเลา่ เรยี น ประพฤตติ นเป็นคนดี 2.2 เชอื่ ฟงั คำสัง่ สอนอบรมของครูอาจารย์ 2.3 กตัญญรู ู้คณุ ของครูอาจารย์ 2.4 รกั ใครป่ องดองกนั ในหมู่เพื่อนนกั เรียน 2.5 สง่ เสริมเพอ่ื นในทางที่ถกู ทค่ี วร 3. เยาวชนกบั การเป็นสมาชิกท่ีดีของชุมชน ชุมชนคอื สังคมขนาดเลก็ เช่นหมู่บ้านหรือกลุ่มคน โดยเยาวชนเป็น ส่วนหนงึ่ ของชมุ ชนทีต่ นอาศยั อยู่ จงึ ตอ้ งมีบทบาทหน้าทตี่ ่อชุมชน ดงั นี้ 3.1 รกั ษาสุขลักษณะของชมุ ชน เชน่ การทง้ิ ขยะใหเ้ ป็นท่ี ชว่ ยกำจัดสิง่ ปฏิกลู ตา่ ง ๆ เป็นต้น 3.2 อนุรกั ษ์สิง่ แวดลอ้ มในชมุ ชน เช่น ไมข่ ีดเขยี นทำลายโบราณวตั ถุในชมุ ชน ช่วยกนั ดแู ลสาธารณ สมบตั ิ 3.3 มีสว่ นรว่ มในการทำกจิ กรรมของชมุ ชน 4. เยาวชนกบั การเป็นสมาชกิ ที่ดีของประเทศชาติ 4.1 เข้ารบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน 12 ปี 4.2 ปฏบิ ัตติ นตามกฎหมาย 4.3 ใชส้ ิทธิในการเลือกตั้ง 4.4 ใช้ทรัพยากรอยา่ งค้มุ ค่า 4.5 สืบทอดประเพณวี ฒั นธรรมอนั ดีงามของไทย 4.6 ชว่ ยเหลือกิจกรรมตา่ ง ๆ ท่ีทางราชการจัดข้ึน 4.7 ประกอบอาชพี สุจรติ ด้วยความขยันหมัน่ เพยี ร 4.8 ประหยดั และอดออม เอกสารอา้ งองิ /แหล่งขอ้ มูล พระราชบัญญตั ลิ กู เสอื พ.ศ. 2551

6 ใบความรู้ท่ี 3 เรอ่ื ง วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม วัตถุประสงค์ ๑. เพอ่ื ให้ลูกเสือ เนตรนารมี ีความรู้ความเขา้ ใจในเรือ่ งกฎหมายจราจร และการใช้รถใช้ถนนอย่าง ปลอดภัยนำไปใช้ในการดำเนนิ ชวี ิตประจำวนั ได้อย่างปลอดภัยและมคี วามสขุ ๒. เพื่อให้ลกู เสือ เนตรนารี มีทักษะการใช้สญั ญาณมอื สัญญาณนกหวดี ในการปฏบิ ัตหิ นา้ ที่การอำนวย ความปลอดภยั ด้านการจราจร ๓. เพ่ือให้ลกู เสือ เนตรนารี จัดตง้ั เครอื ข่ายการบำเพ็ญประโยชน์ชว่ ยเหลือสงั คม ดา้ นการจราจรของ ลูกเสอื เนตรนารี ในสถานศึกษา ๔. เพอื่ ใหล้ ูกเสือ เนตรนารีเหน็ คุณค่าและเกดิ ทัศนคติที่ดขี องกิจกรรมลูกเสอื ในการฟน้ื ฟกู ิจกรรม ลูกเสอื เนตรนารี จราจร ในสถานศึกษาและส่งเสรมิ ใหเ้ ปน็ พลเมืองดี

7 ใบงาน เรื่อง บทบาทหนา้ ที่ลกู เสอื เนตรนารีจราจร คำชี้แจง จากใบความรู้ใหผ้ ูเ้ ข้ารบั การฝกึ อบรมอภปิ รายกลมุ่ สรุปความหมายและบทบาทหน้าท่ี ลูกเสือ เนตรนารีจราจร และการนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างไรบ้าง ให้สรุปเป็นผังความคิดลงในกระดาษเขียน แผนภูมแิ ละสง่ ผู้แทนนำเสนอในทปี่ ระชมุ กลุ่มละ 5 นาที

8 แบบประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลุ่ม เกณฑก์ ารให้คะแนน 4 คะแนน หมายถึง ระดับคณุ ภาพดมี าก 3 คะแนน หมายถงึ ระดับคุณภาพดี 2 คะแนน หมายถึง ระดบั คุณภาพปานกลาง 1 คะแนน หมายถึง ระดบั คณุ ภาพปรับปรงุ คำสง่ั ใหผ้ ู้ประเมนิ ใสเ่ ครอื่ งหมาย ✓ ลงในช่องระดับคณุ ภาพตามหวั ขอ้ ท่ีกำหนดให้ ข้อ รายการประเมิน ระดับคุณภาพ 432 1 1 ผลงานเปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ 2 ผลงานเสร็จทันเวลาทีก่ ำหนด 3 ผลงานมคี วามคดิ สร้างสรรค์ 4 เนื้อหาสาระของผลงานมคี วามสมบรู ณ์ 5 วิธกี ารนำเสนอผลงาน รวม เกณฑ์การประเมนิ ระดับคุณภาพ รายการประเมิน 1. ผลงานเปน็ ไปตาม 4 32 1 วัตถปุ ระสงค์ ผลงานสอดคลอ้ งกับ ผลงานไม่สอดคลอ้ ง จุดประสงคท์ ุกข้อ/ ผลงานสอดคลอ้ งกับ ผลงานสอดคล้องกบั กบั จดุ ประสงค์ 2. ผลงานเสร็จทันเวลาท่ี ทุกประเด็นสมบูรณ์ กำหนด จดุ ประสงค์เป็นสว่ น จุดประสงคบ์ างข้อ/ ไม่เสรจ็ 3. ผลงานมคี วามคิด เสร็จกอ่ นเวลา สรา้ งสรรค์ ใหญเ่ กือบทกุ ประเดน็ บางประเด็นสมบรู ณ์ ผลงานมขี ้อบกพรอ่ ง ผลงานถกู ต้องตาหลัก และไม่แปลกใหม่ 4. เน้ือหาสาระของ วิชาการและมีแนวคิด สมบรู ณ์ ผลงานมีความสมบูรณ์ แปลกใหม่และเป็น เนอ้ื หาสาระของ ระบบ เสรจ็ ตามเวลาที่ เสร็จช้ากวา่ เวลาที่ ผลงานไม่ถูกตอ้ งเปน็ 5. วิธกี ารนำเสนอผลงาน เนอ้ื หาสาระของ สว่ นใหญ่ ผลงานครบถว้ น กำหนด กำหนด มวี ธิ ีการนำเสนอ สมบูรณ์ ผลงานทน่ี า่ สนใจ มีวธิ ีการนำเสนอ ผลงานถกู ต้องตาม ผลงานถูกตอ้ งตาม พูดเสยี งเบา ออก ผลงานทนี่ ่าสนใจพดู เสียงอกั ขระไมช่ ัดเจน เสียงดังออกเสยี ง หลกั วิชาการและมี หลักวิชาการแต่ยงั ไม่ และไมค่ ล่องแคลว่ อักขระชดั เจน คลอ่ งแคลว่ แนวคดิ แปลกใหมแ่ ต่ มแี นวคดิ แปลกใหม่ ยังไมเ่ ปน็ ระบบ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ ผลงานครบถว้ นเปน็ ผลงานถูกต้องเป็น ส่วนใหญ่ บางประเดน็ มวี ธิ กี ารนำเสนอ มวี ธิ กี ารนำเสนอ ผลงานที่น่าสนใจ พูด ผลงานท่ีนา่ สนใจ พูด เสยี งดังออกเสยี ง เสยี งดงั ออกเสียง อักขระชัดเจนแต่ไม่ อกั ขระไมช่ ดั เจนและ คล่องแคล่ว ไม่คล่องแคลว่

ชอ่ื วิชา เครอ่ื งหมายการจราจรและสัญญาณจราจร 9 ขอบข่ายรายวชิ า บทเรียนท่ี 2 ๑. ความหมายเครอื่ งหมายจราจรและสัญญาณจราจร เวลา 75 นาที ๒. เครอื่ งหมายจราจร ๓. ข้ันตอนการนำไปปฏิบัติ จดุ หมาย เพ่ือให้ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมมคี วามรู้ ความเข้าใจและปฏิบตั ิเครอ่ื งหมายจราจรและสัญญาณจราจรได้ อย่างถกู ต้อง วัตถปุ ระสงค์ เม่อื จบบทเรยี นนแี้ ล้ว ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมควรจะสามารถ ๑. อธบิ ายความหมาย หลกั การของเครอื่ งหมายจราจรและสญั ญาณจราจรได้ ๒. บอกความสำคญั ของการจราจรและสัญญาณจราจรได้ ๓. บอกเคร่อื งหมายและสญั ญาณจราจรไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง วิธสี อน/กิจกรรม ๑. นำเขา้ สูบ่ ทเรียนดว้ ยสื่อ วดี ีทัศน์ Powerpoint ฯลฯ ๒. บรรยายเรื่องเครอื่ งหมายจราจรและสัญญาณจราจร ๓. สาธิต การใชส้ ัญญาณจราจร ๔. แบง่ กล่มุ แขง่ ขันตอบคำถามเกยี่ วกบั เครอ่ื งหมายและสัญญาณจราจร ๕. สรปุ และประเมินผล ส่อื การสอน ๑. วิดที ัศน์ ๒. Powerpoint ๓. อุปกรณ์ (นกหวดี แผ่นป้ายเครื่องหมายจราจรและสัญญาณจราจร) การประเมินผล ๑. การสังเกต ๒. สัมภาษณ์ ๓. ตอบคำถาม เอกสารอา้ งองิ /แหล่งขอ้ มลู พระราชบญั ญตั ิจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒

10 เนอ้ื หาวชิ า เคร่อื งหมายจราจรและความหมาย เครื่องหมายจราจร (Traffic Sign) หมายถึง สัญลักษณ์ทางจราจรที่ใช้ในการควบคุมการจราจร มักเป็นสัญญาณแสงหรือป้าย มีจุดประสงค์เพื่อกำหนดบังคับการเคลื่อนตัวของจราจร การจอด หรืออาจเป็น การเตอื น หรือแนะนำทางจราจร ดงั นี้ 1. สัญญาณไฟจราจร สัญญาณไฟจราจร โดยทั่วไปประกอบด้วยสัญญาณไฟสามสี ติดตั้งตามทางแยกต่าง ๆ เพื่อควบคุม การจราจรตามทางแยก โดยทงั้ สามสี ไดแ้ ก่ สีแดงใหร้ ถหยุด สเี หลอื งให้รถระวัง เตรยี มหยุด และสีเขยี วให้รถไปได้ สัญญาณไฟจราจรพิเศษอาจมีสีเหลืองเพียงสีเดียวกะพริบอยู่ ใช้สำหรับทางแยกที่ไม่พลุกพล่าน หมายถึง ให้ระมัดระวังว่ามีทางแยก และดูความเหมาะสมในการออกรถไดเ้ อง หรือ สัญญาณไฟจราจรสำหรบั การข้ามถนน หรอื สัญญาณไฟจราจรไวส้ ำหรบั เปลย่ี นเลน เปน็ ตน้ 2. ป้ายจราจร ปา้ ยจราจร เป็นป้ายทางการควบคุมการจราจร แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท - ปา้ ยบังคับ มักจะมพี นื้ สขี าว ขอบสแี ดง เป็นป้ายกำหนดต้องทำตาม เชน่ ห้ามเลย้ี วขวา - ปา้ ยเตือน มกั จะมีพ้ืนสีขาว ขอบสีดำ จะเปน็ ป้ายแจง้ เตือนว่ามอี ะไรอยขู่ ้างหนา้ - ป้ายแนะนำ เป็นปา้ ยทแี่ นะนำการเดินทางต่าง ๆ อาทิ ทางลัด ปา้ ยบอกระยะทาง เปน็ ตน้ 3. เครอื่ งหมายจราจรอน่ื ๆ - เคร่อื งหมายบนพื้นทางและขอบทางเท้า

เครือ่ งหมายจราจร ประเภทปา้ ยบังคบั 1 และ 11 รูปภาพเคร่ืองหมายจราจร แบง่ เป็น 2 ประเภทคือ 4. \"ห้ามแซง\" ๑. ป้ายบังคับที่แสดงความหมายตาม ความหมาย ห้ามมิใหข้ ับรถแซงขึ้นหน้ารถ รูปแบบและลกั ษณะทก่ี ำหนด คนั อื่นในเขตทางท่ตี ิดตงั้ ปา้ ย ๒. ป้ายบงั คับทแ่ี สดงด้วยข้อความและหรือ สัญลกั ษณ์ 1. \"หยดุ \" 5. \"หา้ มเข้า\" ความหมาย รถทกุ ชนดิ ตอ้ งหยดุ เมื่อเหน็ วา่ ความหมาย หา้ มมิให้รถทุกชนิดเขา้ ไป ปลอดภยั แลว้ จงึ ให้เคลอื่ นรถตอ่ ไปไดด้ ้วยความ ในทางท่ีติดตัง้ ป้าย ระมดั ระวงั 2. \"ใหท้ าง\" 6. \"หา้ มกลบั รถไปทางขวา\" ความหมาย รถทกุ ชนดิ ต้องระมัดระวังและ ความหมาย ห้ามมิให้กลับรถไปทางขวาไม่ ให้ทางแกร่ ถและคนเดนิ เทา้ ในทางขวางหน้าผ่านไป วา่ ด้วยวิธใี ดๆ ในเขตทางทต่ี ดิ ตัง้ ป้าย ก่อน เมือ่ เหน็ ว่าปลอดภัย และ ไมเ่ ป็นการกีดขวาง การจราจรที่บรเิ วณทางแยกน้นั แลว้ จึงให้เคลอื่ นรถตอ่ ไปไดด้ ว้ ยความระมดั ระวัง 3. \"ใหร้ ถสวนทางมากอ่ น\" 7. \"ห้ามกลบั รถไปทางซา้ ย\" ความหมาย ให้ผูข้ ับรถทกุ ชนิดหยดุ รถ ความหมาย ห้ามมิให้กลับรถไปทางซ้ายไม่ ตรงป้าย เพอ่ื ใหร้ ถทีก่ ำลงั แล่นสวนทางมาก่อน วา่ ด้วยวิธใี ด ๆ ในเขตทางท่ีติดตง้ั ป้าย ถา้ มรี ถข้างหน้าหยดุ รออยู่ก่อนก็ให้หยดุ รถรอถดั ต่อ กันมาตามลำดับ เมอื่ รถที่สวนทางมาได้ผ่านไป หมดแลว้ จึงใหร้ ถทีห่ ยดุ รอตามป้ายน้เี คล่ือนไปได้

12 8. \"หา้ มเลยี้ วซา้ ย\" 12. \"หา้ มรถจกั รยานยนต์\" ความหมาย หา้ มมิใหเ้ ล้ียวรถไปทางซา้ ย ความหมาย ห้ามรถจกั รยานยนต์ผ่านเขา้ ไป ในเขตทางท่ีตดิ ต้ังป้าย 9. \"หา้ มเลย้ี วขวา\" 13. \"หา้ มรถยนตส์ ามล้อ\" ความหมาย ห้ามมิให้เล้ยี วรถไปทางขวา ความหมาย หา้ มรถยนต์สามลอ้ ผ่านเข้าไป ในเขตทางท่ีติดตง้ั ปา้ ย 10. \"หา้ มรถยนต์\" 14. \"หา้ มรถสามล้อ\" ความหมาย ห้ามรถยนต์ทกุ ชนดิ ผ่านเข้าไป ความหมาย หา้ มรถสามล้อผ่านเข้าไปใน ในเขตทางที่ตดิ ตั้งป้าย เขตทางท่ีติดตง้ั ปา้ ย 11. \"ห้ามรถบรรทกุ \" 15. \"หา้ มรถจกั รยาน\" ความหมาย ห้ามรถบรรทุกทกุ ชนิดผา่ นเข้า ความหมาย หา้ มรถจักรยานผา่ นเข้าไปใน ไปในเขตทางท่ตี ิดตงั้ ป้าย เขตทางที่ตดิ ต้ังป้าย

13 16. \"หา้ มลอ้ เล่อื นลากเขน็ \" 20. \"หา้ มใชเ้ สยี ง\" ความหมาย หา้ มล้อเลอื่ นลากเขน็ ผ่านเข้า ความหมาย หา้ มมิใหใ้ ช้เสยี งสญั ญาณหรือ ไปในเขตทางทตี่ ิดต้งั ปา้ ย ทำให้เกิดเสยี งทก่ี อ่ การรบกวนด้วยประการใด ๆ ใน เขตทตี่ ิดตั้งปา้ ย 17. \"ห้ามรถยนต์ทใ่ี ชใ้ นการเกษตร\" 21. \"หา้ มคน\" ความหมาย ห้ามรถยนต์ที่ใช้ในการเกษตร ความหมาย ห้ามคนผา่ นเข้าไปในเขตทางที่ ทุกชนดิ ผา่ นเข้าไปในเขตทางทตี่ ิดตงั้ ป้าย ติดตั้งปา้ ย 18. \"ห้ามรถจักรยานยนตแ์ ละรถยนต์\" 22. \"ห้ามจอดรถ\" ความหมาย ห้ามรถจกั รยานยนตแ์ ละ ความหมาย ห้ามมิใหจ้ อดรถทกุ ชนิด รถยนต์ทกุ ชนิดผา่ นเข้าไปในเขตทางท่ีติดตง้ั ป้าย ระหว่างแนวน้นั เวน้ แต่ส่งคน หรือสง่ิ ของช่วั ขณะซึ่ง ต้องกระทำโดยมิชักช้า 19. \"หา้ มรถจักรยาน รถสามล้อ 23. \"หา้ มหยดุ รถ\" ความหมาย หา้ มมิใหห้ ยดุ รถหรอื จอดรถทุก รถจกั รยานยนต์\" ความหมาย ห้ามรถจกั รยาน รถสามลอ้ ชนดิ ตรงแนวนน้ั เป็นอนั ขาด รถจักรยานยนต์ ผา่ นเขา้ ไปในเขตทางท่ีติดต้งั ปา้ ย

14 24. \"หยุดตรวจ\" 27. \"หา้ มรถกว้างเกินกำหนด\" ความหมาย ให้ผขู้ ับรถหยุดรถที่ป้ายน้ี ความหมาย ห้ามมิใหร้ ถทกุ ชนดิ ท่มี ขี นาด เพอ่ื ให้เจา้ หนา้ ทีต่ รวจและเคลอื่ นรถตอ่ ไปไดเ้ มอ่ื กวา้ งเกนิ กำหนดเปน็ ตามจำนวนเลขใน \"เมตร\" ได้รับอนุญาตจากเจ้าหนา้ ที่ผู้ตรวจแลว้ เท่าน้ัน เครอื่ งหมายนั้น เข้าไปในเขตทางท่ตี ดิ ตั้งปา้ ย 25. \"จำกัดความเร็ว\" 28. \"หา้ มรถสงู เกนิ กำหนด\" ความหมาย ห้ามมิให้รถทุกชนิดทม่ี คี วามสงู ความหมาย หา้ มมิให้ผู้ขับรถทุกชนิดใช้ ความเร็วเกินกว่าที่กำหนดเปน็ กิโลเมตรต่อชวั่ โมง ของรถรวมท้ังของทบ่ี รรทกุ เกนิ กวา่ กำหนดเปน็ ตามจำนวนตัวเลขในแผ่นปา้ ยนั้นๆ ในเขตทางที่ ตาม จำนวนเลข ในเครื่องหมายเข้า \"เมตร\"ไปใน ตดิ ตั้งป้าย จนกว่าจะพน้ ที่สุดระยะที่จำกัดความเร็ว เขตทางหรืออโุ มงค์ทต่ี ิดตงั้ ปา้ ย น้นั 26. \"หา้ มรถหนักเกนิ กำหนด\" 29. \"ใหเ้ ดนิ รถทางเดยี วไปข้างหนา้ \" ความหมาย ห้ามมิให้รถทกุ ชนิดที่มนี ้ำหนัก ความหมาย ให้ขับรถตรงไปตามทิศทางที่ เกนิ กวา่ ที่กำหนดหรือเมอื่ รวมน้ำหนักรถกับ ป้ายกำหนด น้ำหนกั บรรทกุ เกนิ กว่าทกี่ ำหนดไวเ้ ปน็ ตาม \"ตัน\" จำนวนเลขในเครือ่ งหมายน้นั ๆ เขา้ ไปในเขตทางที่ ติดตง้ั ป้าย

15 30. \"ทางเดนิ รถทางเดยี วไปทางซ้าย\" 34. \"ให้เลย้ี วซ้าย\" ความหมาย ให้ขบั รถไปทางซ้ายแต่ทางเดียว ความหมาย ให้ขับรถเลยี้ วไปทางซา้ ยแต่ทางเดยี ว 31. \"ทางเดนิ รถทางเดียวไปทางขวา\" 35. \"ใหเ้ ลย้ี วขวา\" ความหมาย ใหข้ ับรถไปทางขวาแต่ทางเดยี ว ความหมาย ใหข้ ับรถเล้ียวไปทางขวาแต่ทางเดียว 32. \"ใหช้ ดิ ซ้าย\" 36. \"ให้เลีย้ วซ้ายหรอื เล้ียวขวา\" ความหมาย ให้ขบั รถผ่านไปทางซ้ายของป้าย ความหมาย ใหข้ ับรถไปทางซา้ ย หรอื ไป ทางขวา 33. \"ใหช้ ิดขวา\" 37. \"ใหไ้ ปทางซา้ ยหรอื ทางขวา\" ความหมาย ให้ขับรถผ่านไปทางขวาของป้าย ความหมาย ให้ขับรถผ่านไปทางด้านซา้ ย หรอื ทางดา้ นขวาของป้าย

16 38. \"วงเวยี น\" 3. ทางเดนิ รถทางเดยี วไปทางขวา ความหมาย ใหร้ ถทุกชนดิ เดินวนทางซ้าย หมายความว่า ทางข้างหน้าเป็นทางบังคับ ของวงเวยี นและรถที่เร่มิ จะเข้าสทู่ างร่วมบริเวณวง ใหเ้ ดนิ รถทางเดยี วไปทางขวาเท่านน้ั ห้ามมิให้ขบั รถ เวยี นต้องหยดุ ให้สทิ ธแิ ก่รถท่ีเลน่ อย่ใู นทางรอบวง ไปทางซ้าย เวียนไปกอ่ น ห้ามขับรถแทรกหรือตดั หนา้ รถท่อี ยู่ ในทางรอบบรเิ วณวงเวยี น 39. \"สุดเขตบังคับ\" 4. ใหช้ ดิ ซ้าย ความหมาย พน้ สดุ ระยะท่บี งั คับตาม หมายความว่า ใหข้ ับรถไปทางดา้ นซ้ายของ ความหมายของปา้ ยบงั คับท่ตี ิดตั้งไว้กอ่ น เครอ่ื งหมาย เครือ่ งหมายจราจร ประเภทป้ายบงั คับ 2 5. ใหช้ ดิ ขวา และ รูปภาพเครอื่ งหมายจราจร หมายความว่า ให้ขบั รถไปทางด้านขวาของ เครอ่ื งหมาย 1. ให้รถตรงไป 6. ให้ไปทางซ้ายหรอื ทางขวา หมายความวา่ ผู้ขับข่ีตอ้ งขบั รถตรงไปตาม หมายความว่า ให้ขับรถผา่ นไปทางดา้ นซ้าย ทศิ ทางที่ปา้ ยกำหนด เปน็ ทางเดินรถทางเดยี ว หรอื ทางดา้ นขวาของป้าย เท่านัน้ ห้ามมใิ ห้ไปทางซ้ายหรือไปทางขวา 2. ทางเดินรถทางเดยี วไปทางซา้ ย 7. ใหเ้ ล้ยี วซ้าย หมายความว่า ทางข้างหนา้ เป็นทางบงั คับ หมายความวา่ ใหข้ ับรถเลย้ี วไปทางซ้ายแต่ ให้เดินรถทางเดยี วไปทางซ้ายเท่านั้น ทางเดียว

17 8. ให้เลีย้ วขวา 12. วงเวียน หมายความวา่ ให้ขับรถเลยี้ วไปทางขวาแต่ หมายความว่า ให้รถทกุ ชนิดเดินวนทางซ้าย ทางเดียว ของวงเวยี น และรถทเ่ี ริม่ จะเข้าสทู่ างร่วมบริเวณวง เวียนตอ้ งหยุด ใหส้ ิทธิแก่รถท่เี ลน่ อย่ใู นทางรอบวง 9. ใหเ้ ลี้ยวซา้ ยหรอื เลีย้ วขวา เวียนไปก่อน หา้ มขับรถแทรกหรอื ตดั หนา้ รถทอ่ี ยู่ หมายความว่า ให้ขบั รถไปทางซ้าย หรอื ไป ในทางรอบบรเิ วณวงเวียน ทางขวา 13. ชอ่ งเดินรถประจำทาง หมายความวา่ ชอ่ งเดนิ รถทีต่ ิดต้ังป้ายเป็น 10. ใหต้ รงไปหรือเล้ยี วซ้าย หมายความว่า ผู้ขับข่ีตอ้ งขับรถตรงไปหรอื บริเวณท่ีกำหนดใหเ้ ป็นชอ่ งเดินรถประจำทาง เล้ยี วไปทางซา้ ยเท่านัน้ 14. ช่องเดนิ รถมวลชน หมายความว่า ชอ่ งเดินรถทต่ี ดิ ตัง้ ป้ายเป็น 11. ใหต้ รงไปหรอื เล้ยี วขวา หมายความวา่ ผู้ขบั ข่ีต้องขับรถตรงไปหรอื บริเวณทีก่ ำหนดให้เป็นชอ่ งเดินรถมวลชน และให้ ใชไ้ ดเ้ ฉพาะรถทมี่ จี ำนวนคนบนรถไม่นอ้ ยกวา่ เลยี้ วไปทางขวาเท่าน้นั ตัวเลขทรี่ ะบุในป้าย

15. ชอ่ งเดนิ รถจักรยานยนต์ 18 หมายความวา่ ช่องเดินรถท่ีติดตั้งปา้ ยเป็น เคร่ืองหมายจราจร ประเภทเตอื น แบ่งเป็น บรเิ วณที่กำหนดให้เป็นชอ่ งเดินรถจกั รยานยนต์ 3 ประเภทคอื 1. ปา้ ยเตือนตามรูปแบบและลักษณะที่ กำหนด 2. ป้ายเตือนทแี่ สดงดว้ ยขอ้ ความ และ/ หรอื สัญลกั ษณ์ 3. ป้ายเตือนในงานกอ่ สร้างต่าง ๆ 16. ช่องเดินรถจกั รยาน 1. \"ทางโคง้ ซ้าย\" หมายความว่า ชอ่ งเดินรถทต่ี ิดตง้ั ปา้ ยเป็น ความหมาย ทางขา้ งหนา้ โค้งไปทางซ้าย ให้ บริเวณที่กำหนดใหเ้ ป็นชอ่ งเดนิ รถจักรยาน ขบั รถให้ช้าลงพอสมควรและเดินรถชิดดา้ นซา้ ยดว้ ย ความระมดั ระวัง 17. เฉพาะคนเดิน 2. \"ทางโค้งขวา\" หมายความวา่ บริเวณท่ีติดต้งั ปา้ ยเป็น ความหมาย ทางข้างหน้าโค้งไปทางขวา ให้ บรเิ วณท่ีกำหนดใหใ้ ชไ้ ดเ้ ฉพาะคนเดนิ เท้าเท่านัน้ ขบั รถให้ช้าลงพอสมควรและเดนิ รถชิดดา้ นขวาด้วย ความระมดั ระวัง 18. ความเร็วขั้นตำ่ 3. \"ทางโค้งรัศมแี คบเลี้ยวซ้าย\" ความหมาย ทางข้างหนา้ โค้งรศั มแี คบไป หมายความวา่ บรเิ วณท่ตี อ้ งใช้ความเรว็ ไม่ ตำ่ กว่าทีก่ ำหนดเปน็ กโิ ลเมตรตอ่ ช่วั โมง ตาม ทางซ้าย ใหข้ บั รถใหช้ ้าลงพอสมควรและเดนิ รถชิด จำนวนตัวเลขทรี่ ะบุในปา้ ย ด้านซ้ายดว้ ยความระมดั ระวงั

19 4. \"ทางโค้งรศั มแี คบเลย้ี วขวา\" 7. \"ทางคดเค้ียวเริม่ ซ้าย\" ความหมาย ทางข้างหน้าเป็นทางคดเค้ียว ความหมาย ทางข้างหนา้ โคง้ รศั มีแคบไป ทางขวา ให้ขับรถให้ช้าลงพอสมควรและเดินรถชดิ โดยเริ่มไปทางซ้าย ให้ขับรถให้ช้าลงพอสมควรและ ดา้ นขวาดว้ ยความระมดั ระวงั เดนิ รถชดิ ด้านซ้ายด้วยความระมัดระวงั 5. \"ทางโค้งรัศมีแคบเรม่ิ ซา้ ย\" 8. \"ทางคดเค้ยี วเริม่ ขวา\" ความหมาย ทางข้างหน้าโคง้ รศั มแี คบไป ความหมาย ทางขา้ งหน้าเปน็ ทางคดเค้ียว ทางซา้ ยแล้วกลบั ให้ขับรถให้ช้าลงพอสมควรและ โดยเริม่ ไปทางขวา ให้ขับรถให้ชา้ ลงพอสมควรและ เดนิ รถชิดด้านขวาดว้ ยความระมัดระวัง เดินรถชิดด้านซา้ ยด้วยความระมัดระวงั 6. \"ทางโค้งรัศมแี คบเริม่ ขวา\" 9. \"ทางโทตดั ทางเอก\" ความหมาย ทางข้างหน้าโค้งรัศมแี คบไป ความหมาย ทางข้างหนา้ มที างโทตัด ใหข้ ับ ทางขวาแลว้ กลับ ให้ขบั รถให้ช้าลงพอสมควรและ รถด้วยความระมัดระวัง เดนิ รถชดิ ดา้ นขวาดว้ ยความระมัดระวงั

20 10. \"ทางโทแยกทางเอกทางซ้ายรูปตวั วาย\" 14. \"ทางโทแยกทางเอกเยอื้ งกนั เริ่มขวา\" ความหมาย ทางขา้ งหน้ามที างโทแยกจาก ความหมาย ทางข้างหนา้ มที างโทแยกไป ทางเอกไปทางซา้ ยเปน็ รูปตวั วาย ให้ขบั รถดว้ ย ทางขวาและหลังจากนัน้ มที างโทแยกไปทางซ้าย ให้ ความระมัดระวงั ขบั รถดว้ ยความระมดั ระวงั 11. \"ทางโทแยกทางเอกทางซ้าย\" 15. \"ทางโทเช่ือมทางเอกจากซา้ ย\" ความหมาย ทางข้างหนา้ มีทางแยกไป ความหมาย ทางข้างหนา้ มีทางโทเข้ามา ทางซ้ายใหข้ บั รถด้วยความระมัดระวัง เชื่อมดา้ นซา้ ย ใหข้ บั รถดว้ ยความระมดั ระวงั 12. \"ทางโทแยกทางเอกทางขวา\" 16. \"ทางโทเชื่อมทางเอกจากขวา\" ความหมาย ทางขา้ งหนา้ มีทางแยกไป ความหมาย ทางขา้ งหน้ามที างโทเข้ามา ทางขวาใหข้ ับรถด้วยความระมัดระวงั เช่ือมดา้ นขวา ใหข้ ับรถดว้ ยความระมัดระวงั 13. \"ทางโทแยกทางเอกเยือ้ งกันเริม่ ซา้ ย\" 17. \"วงเวียนขา้ งหน้า\" ความหมาย ทางขา้ งหน้ามีทางโทแยกไป ความหมาย ทางข้างหน้าจะเป็นทางแยกมี ทางซา้ ยและหลงั จากนัน้ มีทางโทแยกไปทางขวา ให้ วงเวยี น ใหข้ ับรถใหช้ า้ ลง และเดนิ รถดว้ ยความ ระมดั ระวงั ขบั รถดว้ ยความระมดั ระวงั

21 18. \"ทางแคบลงทง้ั สองดา้ น\" 21. \"สะพานแคบ\" ความหมาย ทางขา้ งหน้าแคบลงกว่าทางท่ี ความหมาย ทางขา้ งหน้ามสี ะพานแคบ กำลงั ผา่ นทง้ั สองดา้ น ผู้ขับรถจะตอ้ งขับรถให้ช้าลง รถเดนิ หลีกกันไม่ได้ ใหข้ บั รถให้ชา้ ลงและ และเพมิ่ ความระมัดระวงั ยง่ิ ข้นึ ขณะท่ีรถผา่ นทาง ระมดั ระวงั อันตรายจากรถทีจ่ ะสวนมา จากอีกฝา่ ย แคบผู้ขับรถจะตอ้ งระมัดระวงั มใิ หร้ ถชนหรอื เสยี ดสี หน่ึงของสะพาน ถ้ามีป้ายอน่ื ตดิ ตัง้ อยู่ กใ็ ห้ปฏิบตั ิ กัน ตามป้ายน้ัน ๆ ด้วย 19. \"ทางแคบด้านซ้าย\" 22. \"ทางข้ามทางรถไฟไมม่ ีเครือ่ งก้ันทาง\" ความหมาย ทางข้างหน้าดา้ นซา้ ยแคบลง ความหมาย ทางขา้ งหนา้ มีทางรถไฟตดั กว่าทางท่กี ำลงั ผา่ น ผขู้ บั รถต้องขบั รถให้ช้าลง และ ผา่ นและไม่มีเครอ่ื งก้นั ทาง ใหข้ บั รถให้ชา้ ลงใหม้ าก เพมิ่ ความระมัดระวงั ยง่ิ ขึ้น และสงั เกตดรู ถไฟท้ังทางขวาและทางซ้าย ถ้ามี รถไฟกำลังจะผ่านมาใหห้ ยดุ รถให้ห่างจากทางรถไฟ 20. \"ทางแคบดา้ นขวา\" อย่างนอ้ ย 5 เมตร แลว้ รอคอยจนกวา่ รถไฟน้นั ผา่ น ความหมาย ทางขา้ งหน้าดา้ นขวาแคบลง พ้นไปและปลอดภัยแลว้ จึงเคลื่อนรถต่อไปได้ ห้าม มิใหข้ บั รถตัดหนา้ รถไฟในระยะท่ีอาจจะเกดิ กวา่ ทางที่กำลังผ่าน ผขู้ บั รถต้องขบั รถให้ช้าลง และ อันตรายได้เปน็ อนั ขาด เพิ่มความระมดั ระวงั ยง่ิ ขนึ้ ความ 23. \"ทางข้ามทางรถไฟมีเครื่องก้นั ทาง\" ความหมาย หน้าทไี่ ด้กั้นทาง หรอื มเี ครื่อง ก้ันทางปดิ ก้ัน ถ้ามรี ถขา้ งหน้าหยุดรออยู่ก่อนก็ให้ หยุดรถถดั ต่อมาตามลำดับ เมอื่ เปิดเครอ่ื งกน้ั ทาง แลว้ ให้รถที่หยดุ รอเคลอื่ นท่ีตามกนั ได้

22 24. \"ทางขึน้ ลาดชัน\" 27. \"ผวิ ทางขรุขระ\" ความหมาย ทางขา้ งหนา้ เป็นทางลาดชัน ความหมาย ทางข้างหน้าขรุขระมากมีหลุม ขนึ้ เขาหรือขน้ึ เนิน สันเขาหรือสนั เนินอาจกำบงั มบี อ่ หรอื เป็นสนั ตดิ ต่อกัน ให้ขบั รถใหช้ ้าลงและ สายตาไม่ใหม้ องเหน็ รถท่ีสวนมา ให้ขับรถให้ช้าลง เพ่ิมความระมดั ระวงั และเดินรถใกลข้ อบทางดา้ นซ้ายให้มาก กับให้ ระมัดระวงั อนั ตรายจากรถทส่ี วนทางมา 25. \"ทางลงลาดชนั \" 28. \"ทางลน่ื \" ความหมาย ทางข้างหน้าลน่ื เมื่อผวิ ทาง ความหมาย ทางข้างหน้าเป็นทางลาดลง เขาหรอื ลงเนนิ ใหข้ ับรถให้ช้าลงเดินรถใกล้ขอบทาง เปยี กอาจเกิดอุบัตเิ หตไุ ดง้ ่าย ใหข้ ับรถให้ช้าลงให้ ด้านซ้ายให้มาก และผขู้ ับรถไมค่ วรปลดเกียรห์ รอื มาก และระมัดระวังการล่ืนไถล อยา่ ใช้หา้ มลอ้ โดย ดับเคร่อื งยนตเ์ ปน็ อนั ขาดในกรณที ี่เปน็ ทางลง เขา แรงและทนั ที การหยดุ รถ การเบารถ หรอื เลี้ยวรถ หรอื เนนิ ท่ชี ันมากใหใ้ ชเ้ กียร์ต่ำเพื่อความปลอดภัย ในทางล่นื ตอ้ งกระทำด้วยความระมัดระวังเป็นพิเศษ 26. \"เตอื นรถกระโดด\" 29. \"ผวิ ทางร่วน\" ความหมาย ทางขา้ งหน้าเปลยี่ นระดับอย่าง ความหมาย ทางข้างหน้ามวี สั ดุผิวทางหลุด กะทันหัน เช่น บริเวณคอสะพาน ทางขา้ มทอ่ กระเดน็ เมือ่ ขับรถด้วยความเร็วสงู ใหข้ ับรถให้ ช้าลง และระมัดระวงั อันตราย อันอาจเกิดจากวสั ดุผวิ ระบายน้ำ และคันชะลอความเรว็ เป็นต้น ใหข้ ับรถ ทาง ให้ชา้ ลงและเพ่ิมความระมดั ระวัง

23 30. \"สะพานเปดิ ได้\" 33. \"สนิ้ สดุ ทางคู่\" ความหมาย ทางขา้ งหน้าจะตอ้ งผา่ น ความหมาย ทางขา้ งหน้าเป็นทางรว่ มทไี่ ม่มี สะพานท่ีสามารถเปดิ ให้เรอื ลอด ใหข้ บั รถให้ช้าลง เกาะหรือสงิ่ อน่ื ใดแบ่งการจราจร ให้ขับรถช้าลงและ และระมดั ระวงั ในการหยุดรถ เม่อื เจ้าหนา้ ทจ่ี ะปิด ชิดดา้ นซ้ายของทาง และเพิ่มความระมดั ระวังย่งิ ขน้ึ ก้ันทางเพ่ือเปดิ สะพานให้เรอื ผา่ นเพ่อื ไม่ให้เกิด อนั ตรายตอ่ รถขา้ งหน้าและรถข้างหลัง 34. \"จุดกลบั รถ\" ความหมาย ทางขา้ งหนา้ จะมีที่กลบั รถ 31. \"ทางรว่ ม\" 35. \"สญั ญาณจราจร\" ความหมาย ทางขา้ งหน้ามีสัญญาณไฟ ความหมาย ทางขา้ งหนา้ จะมรี ถเข้ามารว่ ม ในทิศทางเดียวกันจากทางซา้ ยหรอื ทางขวาตาม จราจร ให้ขบั รถช้าลงและพรอ้ มทจี่ ะปฏิบัติตาม ลักษณะ สญั ลักษณ์ในป้าย ผู้ขบั รถจะตอ้ งขับรถให้ สัญญาณไฟจราจร ช้าลง และเดินรถด้วยความระมัดระวงั 32. \"ทางคูข่ า้ งหนา้ \" 36. \"หยุดข้างหน้า\" ความหมาย ทางขา้ งหนา้ เป็นทางคู่มเี กาะ ความหมาย ทางขา้ งหนา้ มีเคร่ืองหมาย หรอื สง่ิ อื่นใดแบง่ การจราจรออกเปน็ สองทางไปทาง หยดุ ตดิ ตั้งอยู่ ให้ผขู้ ับรถเตรียมพรอ้ มทจี่ ะหยดุ รถได้ หนง่ึ มาทางหนง่ึ ใหข้ บั รถชิดไปทางด้านซ้ายด้วย ทนั ที เม่อื ขับรถถงึ ป้ายหยดุ ความระมัดระวัง

24 37. \"ระวงั คนข้ามถนน\" 40. \"ระวงั อันตราย\" ความหมาย ทางข้างหนา้ มที างสำหรับคน ความหมาย ทางขา้ งหนา้ มอี ันตราย เช่น ขา้ มถนนหรือมหี มบู่ ้านราษฎรอยู่ขา้ งทาง ซ่ึงมีคน เกดิ อบุ ตั ิเหตุ ทางทรดุ เป็นต้น ให้ขับรถให้ชา้ ลงให้ เดนิ ขา้ มไปมาอยเู่ สมอ ใหข้ ับรถให้ชา้ ลงพอสมควร มาก และระมัดระวังอนั ตรายเปน็ พิเศษ และ ระมดั ระวังคนขา้ มถนน ถา้ มคี นกำลงั เดินข้าม ถนนให้หยุดรถให้คนเดนิ ข้ามถนนไปไดโ้ ดย 41. \"เขตห้ามแซง\" ปลอดภัย ความหมาย ใช้ติดต้ังทางด้านขวาของทาง 38. \"ระวงั คนขา้ มถนน\" หมายความว่า ทางชว่ งนนั้ มรี ะยะมองเหน็ จำกดั ผู้ ความหมาย ทางข้างหนา้ มโี รงเรียนต้งั อยู่ ขบั รถไมส่ ามารถมองเห็นรถทส่ี วนมาในระยะทีจ่ ะ แซงรถอื่นได้ ข้างทาง ใหข้ ับรถใหช้ ้าลงและระมัดระวังอบุ ัตเิ หตุ ซง่ึ อาจจะเกดิ ข้นึ แก่เดก็ นักเรียน ถ้ามีเด็กนักเรียน 42. \"เครอื่ งหมายลกู ศรคู่\" กำลงั เดินข้ามถนนให้หยดุ รถให้เด็กนักเรยี นข้าม ความหมาย มเี กาะหรือสง่ิ กีดขวางอย่กู ลาง ถนนไปไดโ้ ดย ปลอดภยั ถา้ เป็นเวลาท่โี รงเรยี น กำลังสอน ให้งดใช้เสียงสัญญาณและหา้ มทำใหเ้ กิด ทางจราจร ยวดยานสามารถผ่านไปได้ทัง้ ทางซ้าย เสยี งรบกวนด้วยประการใด ๆ และทางขวาของป้าย 39. \"ระวงั สัตว์\" 43. \"อุบัตเิ หตขุ ้างหนา้ \" ความหมาย ทางขา้ งหน้าอาจมีสัตว์ขา้ มทาง ความหมาย ทางขา้ งหนา้ มอี ุบตั ิเหตุเกิดขึ้น ใหข้ บั รถให้ช้าลง และระมดั ระวังอนั ตรายเปน็ พิเศษ อาจมียวดยานหรอื ส่ิงอื่นกดี ขวางทางจราจร

25 44. \"ทางเบ่ียงซา้ ย\" 47. \"คนทำงาน\" ความหมาย ทางข้างหนา้ มีการกอ่ สรา้ งทาง ความหมาย ทางข้างหนา้ มีคนงานกำลงั หลวง การจราจรจะตอ้ งเปลย่ี นแนวทางไปใช้ทาง ทำงานอยู่บนผวิ จราจรหรือใกล้ชิดกบั ผิวจราจร เบ่ยี งหรือทางช่วั คราวทางด้านซา้ ย 45. \"ทางเบี่ยงขวา\" 48. \"สำรวจทาง\" ความหมาย ทางข้างหนา้ มีเจ้าหน้าท่กี ำลัง ความหมาย ทางขา้ งหน้ามกี ารก่อสร้างทาง หลวง การจราจรจะต้องเปลยี่ นแนวทางไปใช้ทาง ทำการสำรวจทางอยบู่ นผิวจราจรหรอื ใกลช้ ดิ กบั ผิว เบ่ียงหรือทางช่วั คราวทางด้านขวา จราจร 46. \"เครื่องจกั รกำลงั ทำงาน\" ความหมาย ทางขา้ งหน้ามเี ครือ่ งจักรกำลัง ทำงานอยขู่ า้ งทาง และล้ำเขา้ มาในผิวจราจร หรอื ใกล้ผวิ จราจรเปน็ คร้งั คราว

26 เครอ่ื งหมายจราจร ประเภท เครอ่ื งหมายบนพน้ื ทาง 1. เส้นแบง่ ทศิ ทางจราจรปกติ 4. เส้นแบ่งทิศทางจราจร คู่ (เส้นประคู่ (เปน็ เส้นประสีขาว ขนาดกวา้ ง 15 เซนตเิ มตร ยาว เสน้ ทึบ เป็นเสน้ ทึบสขี าว ขนาดกว้าง) (10 200 เซนตเิ มตร เว้นชอ่ งห่าง 200 เซนติเมตร) เซนตเิ มตร ขนานไปกบั เสน้ ประสีขาวขนาดกว้าง ความหมาย ให้ขบั รถในดา้ นซา้ ย เล้ยี วขวา 10 เซนตเิ มตร ยาว 200 เซนตเิ มตร เว้นช่องห่าง หรอื แซงหนา้ รถคนั อน่ื ไดเ้ มื่อปลอดภยั 200 เซนตเิ มตร เส้นทง้ั สองมีระยะหา่ งกนั 15 เซนติเมตร) ความหมาย รถทางเสน้ ประอาจขา้ มหรือ แซงไดเ้ มือ่ ปลอดภัย 2. เส้นแบ่งทิศทางจราจรเตือน 5. เส้นแบง่ ทิศทางจราจร คู่ (เสน้ ทบึ คู่ (เปน็ เสน้ ประสีขาว ขนาดกวา้ ง 15 เซนตเิ มตร ยาว เสน้ ประ เปน็ เสน้ ทึบสีขาว ขนาดกว้าง) (10 300 เซนตเิ มตร เว้นชอ่ งหา่ ง 100 เซนติเมตร) เซนตเิ มตร ขนานไปกบั เส้นประสีขาวขนาดกวา้ ง ความหมาย ใหท้ ราบว่าจะถึงเขตทางข้าม 10 เซนตเิ มตร ยาว 200 เซนตเิ มตร เว้นช่องหา่ ง 200 เซนติเมตร เสน้ ทั้งสองมีระยะหา่ งกนั 15 แยก เขตห้ามแซง เว้นแตจ่ ะเปลยี่ นเสน้ ทางเดนิ รถ เซนตเิ มตร) หรอื กลบั รถ ขับข้ามเสน้ ไดแ้ ต่ต้องระวังเป็นพิเศษ ความหมายรถทางเสน้ ทบึ ห้ามแซง ขับรถ สงั เกตดูจะเหน็ วา่ เส้นจะยาวกวา่ เสน้ แบ่งทศิ ทาง ผ่าน หรือครอ่ มเส้นโดยเดด็ ขาด จราจรปกติ 3. เส้นแบง่ ทศิ ทางจราจรหา้ มแซง (เสน้ ทบึ สีขาว ขนาดกวา้ ง 15 เซนตเิ มตร) ความหมาย หา้ มแซงหรอื ขับรถผ่านคร่อม เส้นโดยเดด็ ขาด

27 6. เสน้ แบ่งทิศทางจราจร ห้ามแซงคู่ 9. เสน้ แบ่งช่องเดินรถหา้ มแซง (เป็น (เสน้ ทบึ คู่ เป็นเส้นทึบสขี าวขนาดกวา้ ง10 เส้นประสขี าว ขนาดกวา้ ง 10 เซนตเิ มตร) เซนตเิ มตร ขนานกันมรี ะยะห่างระหวา่ งเสน้ 15 ความหมาย ห้ามแซงโดยเดด็ ขาด ห้ามขับ เซนตเิ มตร) รถผา่ นหรือคร่อมเส้น หรอื กลับรถ ความหมาย ห้ามขบั รถผ่าน ขบั รถคร่อม เส้น หา้ มแซงโดยเดด็ ขาดทั้งสองทิศทาง 7. เสน้ แบ่งช่องเดินรถปกติ (เปน็ เส้นประ 10. เสน้ ขอบทาง (เสน้ ประสขี าว ขนาด กว้าง 10 เซนตเิ มตร ยาว 30 เซนติเมตร เว้นช่อง สีขาว ขนาดกว้าง 10 เซนตเิ มตร ยาว 100 ห่าง 60 เซนตเิ มตร) เซนติเมตร เว้นชอ่ งห่าง 300 เซนตเิ มตร) ความหมาย ใหข้ ับรถในชอ่ งทางจราจร ความหมาย ใหข้ ับรถในช่องเดินรถ ห้ามขับ ดา้ นขวาของเสน้ ครอ่ มเสน้ หรอื ทบั เสน้ เวน้ แตจ่ ะเปลย่ี นชอ่ งเดินรถ หรือกลับรถ 8. เครอื่ งหมาย เสน้ แบง่ ช่องเดนิ รถ\" 11. เส้นแบง่ เดินรถประจำทาง (เสน้ ทบึ สี เหลอื งขนาดกว้าง 20 เซนติเมตร) เตอื น\" หมายความว่า เส้นแบ่งช่องเดนิ รถประเภท เตอื นเปน็ เส้นประสขี าว ขนาดกว้าง 10 เซนติเมตร ความหมาย รถประจำทางหรือรถบรรทกุ คนโดยสารที่อธบิ ดีกรมตำรวจกำหนด ให้ใช้ช่องทาง ยาว 300 เซนติเมตร เวน้ ชอ่ งห่าง 100 เดินรถดา้ นซ้ายของเสน้ น้ี รถประเภทอนื่ หา้ มขับ เซนติเมตร ผา่ นเข้าไปในชอ่ งน้ี ความหมาย แสดงใหท้ ราบว่าใกล้จะถงึ เส้น แบ่งช่องเดินรถหา้ มแซง หา้ มขบั ครอ่ มเส้นชอ่ งเดิน รถ เวน้ แต่จะเปล่ยี นช่องเดนิ รถ

28 12. เส้นแบง่ ภายในชอ่ งเดินรถประจำทาง 15. เส้นแนวหยุด (เส้นขวางถนน เปน็ เส้น ความหมาย ให้รถประจำทางหรือรถท่ี ทบึ สขี าว ขนาดกว้าง 40 เซนติเมตร) กำหนดวิ่งในช่องทางไดท้ ้งั 2 ช่อง ทง้ั ซ้ายและขวา ความหมาย ให้ผขู้ ับรถหยุดรถกอ่ นถงึ แนว ของเส้นนี้ เสน้ ขวางทุกครัง้ เพ่ือดจู ังหวะรถวา่ งหรอื รอให้คน ข้าม ในทางข้ามข้างหนา้ ผ่านไปก่อนเมอื่ ปลอดภัย จงึ ขบั รถผา่ นไป 13. เส้นแบง่ ชอ่ งเดินรถประจำทาง 16. เสน้ ให้ทาง (เสน้ ขวางถนน เปน็ สามารถข้ามผ่านได้ (เส้นทึบสีเหลืองขนาดกวา้ ง เส้นประสีขาว ขนาดกวา้ ง 40 เซนตเิ มตร ยาว 60 20 เซนติเมตร ยาว 60 เซนตเิ มตร เวน้ ชอ่ งหา่ ง เซนตเิ มตร เว้นช่องห่าง 30 เซนติเมตร) 30 เซนติเมตร) ความหมาย เปน็ เส้นประสีขาวขา้ มถนนให้ ความหมาย รถประจำทางหรือรถบรรทกุ ผขู้ ับขขี่ ับรถให้ช้าลง แล้วดใู ห้รถอน่ื ทีอ่ อกจากทาง คนโดยสารทอี่ ธิบดีกรมตำรวจกำหนด ให้ใช่ช่องเดิน รว่ ม หรอื คนเดินเทา้ ในทางขา้ มทขี่ วางหนา้ ผ่านไป รถทางดา้ นซ้าย ของเสน้ น้ี รถประเภทอืน่ ให้ขับผา่ น กอ่ น เหน็ ปลอดภัยแล้วจึงขับรถผ่านไป ได้กรณีจะเขา้ ออกจากซอยหรอื เลย้ี ว 17. เส้นทแยงสำหรับทางแยก (เป็นเสน้ 14. จุดเรม่ิ ต้นชอ่ งเดนิ รถประจำทาง ทบึ สเี หลืองขนาดกวา้ ง 15 เซนตเิ มตร ลากทแยง ความหมาย รถประจำทางหรอื รถบรรทกุ ตดั กันทำมมุ 45 องศา ห่างกัน 200 เซนตเิ มตร คนโดยสารทอ่ี ธบิ ดกี รมตำรวจกำหนด ให้ผ่านเข้าไป ภายในกรองเสน้ ทบึ สีเหลอื ง ขนาดกวา้ ง 20 ในชอ่ งเดินรถประจำทางหลังจดุ น้ี รถประเภทอน่ื เซนติเมตร) หา้ มขบั เข้าไปในชอ่ งเดนิ รถประจำทางหลงั จุดนี้ ความหมาย เป็นเส้นทึบสีเหลอื งลากทแยง มุม หา้ มหยดุ รถทกุ ชนดิ ภายในกรอบเสน้ ทแยงน้ี

29 เครือ่ งหมายจราจร ประเภท เคร่ืองหมาย ลูกศรบนพ้นื 1. ลูกศรตรงไป 5. ลูกศรตรงไป หรอื เล้ยี วซ้าย ความหมาย ผขู้ บั ในชอ่ งที่มีลกู ศรนตี้ ้องขับ ความหมาย ผู้ขบั ในชอ่ งที่มีลกู ศรนี้ต้องขับ ตรงไปหรอื เล้ยี วซ้าย ห้ามขบั เลย้ี วไปทางขวา ตรงไป หา้ มขบั เลย้ี วซา้ ย หรอื ขวา 2. ลูกศรเลยี้ วซ้าย 6. ลกู ศรตรงไป หรอื เล้ียวขวา ความหมาย ผู้ขบั ในช่องทีม่ ีลูกศรนี้ต้องขบั ความหมาย ผู้ขบั ในช่องทีม่ ีลกู ศรนต้ี อ้ งขบั เลีย้ วซ้าย หา้ มขับตรงไปหรอื เลยี้ วขวา ตรงไปหรือเล้ียวขวา ห้ามขับเลี้ยวไปทางซา้ ย 3. ลกู ศรเลี้ยวขวา 7. ลูกศรตรงไปและเล้ยี วซา้ ย หรอื เลย้ี วขวา ความหมาย ผขู้ ับในช่องทม่ี ีลูกศรนี้ตอ้ งขบั ความหมาย ผูข้ ับในชอ่ งที่มีลกู ศรนี้ต้องขบั เล้ียวขวา ห้ามขบั ตรงไปหรอื เลี้ยวซ้าย ตรงไปหรือเล้ียวซา้ ยหรอื เล้ียวขวา 4. ลูกศรเล้ยี วซ้ายกบั เลยี้ วขวา 8. ลกู ศรเลยี้ วกลบั ความหมาย ผู้ขับในช่องทมี่ ีลูกศรนีต้ อ้ ง ความหมาย ผูข้ ับในช่องทีม่ ีลูกศรนีต้ อ้ งกลบั รถไปใช้ชอ่ งทางในทศิ ทางจราจรตรงข้าม เลยี้ วขับซ้ายหรือเลย้ี วขวา ห้ามขับตรงไป หา้ มขับตรงหรอื เลี้ยวซ้าย ตอ้ งดูความปลอดภัยจาก รถท่ีสวนมาทางจราจรตรงข้ามเมอ่ื ปลอดภยั จึงกลับรถได้

ช่อื วิชา การสงั เกต การจดจำและการรายงานเหตุ 30 ขอบข่ายรายวชิ า บทเรียนที่ 3 1. จดุ หมาย หลกั การ วิธีการในการสงั เกต จดจำและการรายงานเหตุ เวลา 120 นาที 2. ปัจจยั ทีช่ ว่ ยในการสงั เกต การจดจำและการรายงานเหตุ 3. ขน้ั ตอน วธิ ีการในการสงั เกต การจดจำและการรายงานเหตุ จุดหมาย เพื่อใหผ้ ูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมมคี วามรู้ ความเข้าใจและหลกั ปฏบิ ตั ิในการสงั เกต การจดจำ และการรายงานเหตุ วัตถปุ ระสงค์ เม่อื จบบทเรยี นนีแ้ ล้ว ผ้เู ข้ารบั การฝึกอบรมควรจะสามารถ ๑. อธบิ ายจดุ หมาย หลักการของการสังเกต การจดจำ และการรายงานเหตุ ๒. ระบคุ วามสำคญั ของการสังเกต การจดจำ และการรายงานเหตุ ๓. นำวิธกี ารสังเกต การจดจำ และการรายงานเหตุไปปฏิบัติได้อย่างถกู ต้อง วิธสี อน/กจิ กรรม 1. นำเขา้ สู่บทเรยี นชี้แจงวัตถุประสงค์ดว้ ยสื่อ วีดีทัศน์ Powerpoint ฯลฯ 20 นาที ๒. บรรยายให้ความรกู้ ารสังเกต การจดจำและการรายงานเหตุ 30 นาที ๓. แบง่ กลุม่ ทำกจิ กรรมโดยการสาธิตการระดมสมอง หรอื อภปิ รายกลมุ่ เก่ยี วกบั สงั เกต การจดจำและการรายงานเหตุ 60 นาที ๔. สรปุ และประเมนิ ผล 10 นาที สื่อการสอน 1. วีดที ัศน์ 2. Powerpoint 3. แบบรายงาน 4. บทบาทสมมุติ การประเมินผล 1. การสงั เกต 2. สมั ภาษณ์ เอกสารอา้ งองิ /แหลง่ ขอ้ มูล เอกสารประกอบการสงั เกต การจดจำและการรายงานเหตขุ องสถานตี ำรวจนครบาลทงุ่ มหาเมฆ

31 เน้อื หาวิชา การสงั เกต การจดจำ และการรายงานเหตุ การสงั เกตและการจดจำ การสังเกตและการจดจำ คือ การที่สมองสามารถจดจำภาพที่เห็นมาแล้วได้อย่างแจ้งชัด ฉะนั้น การสังเกตจึงจำเป็นต้องได้เห็นรายละเอียด ได้ศึกษารายละเอียดและจดจำได้ว่าภาพที่เห็นทั้งหมดน้ัน ประกอบด้วยรายละเอยี ดอะไรบ้าง ซ่งึ การสังเกตและจดจำจะต้องประกอบดว้ ยกระบวนการ ๓ ประการ ดงั น้ี ๑. การมองเห็น ๒. การสงั เกต ๓. การจดจำ การสังเกตและการจดจำในที่นี้ หมายถึง การสังเกตลักษณะบุคคลและวัตถุ ซึ่งในสมัยอียิปต์ การเผยแพร่ข่าวเกี่ยวกับลักษณะโจรผู้ร้าย ซึ่งเป็นลักษณะหนึ่งของการสังเกตจดจำลักษณะบุคคลและ วัตถุมาก่อนแล้ว ปัจจุบันการศึกษาเรื่องการสังเกตและจดจำลักษณะบุคคลและวัตถุจึงเป็นการศึกษาใน วชิ าต่างๆ เก่ียวกบั การสบื สวนสอบสวน ซ่ึงโรงเรียนสืบสวนได้รวบรวมแนวความคิดต่างๆ เกยี่ วกับการสงั เกตและ จดจำมารวมเข้าไว้ด้วยกันจึงเป็นศาสตร์แขนงหนึ่ง ที่ยังหากฎเกณฑ์ได้ไม่ชัดเจน เพราะไม่สามารถ คิดสร้างกฎเกณฑ์หรือสูตรสำเร็จได้แบบเดียวกับวิทยาศาสตร์ เพราะเป็นเรื่องเกี่ยวกับความสามารถและ ประสบการณข์ องแต่ละบุคคล ความสมั พันธ์ระหวา่ งการสบื สวนกบั การสังเกตและจดจำ คุณสมบัติของผู้ปฏิบัติหน้าท่ีสืบสวนประการหนึ่ง คือ ต้องเป็นผู้ทีม่ ีความสังเกตและจดจำเพื่อสามารถ ตดิ ตามเร่อื งราวต่าง ๆ ไว้ไดท้ ้ังหมด โดยสามารถสงั เกตเหน็ สงิ่ ใดแลว้ จดจำการกระทำต่าง ๆ ของผู้ถูกติดตามไม่ ปล่อยให้ผ่านไปง่าย ๆ โดยไม่สังเกตอะไรเลย คือ จะต้องหัดสังเกตอยู่เสมอตั้งแต่เรื่องเล็ก ๆ ซึ่งไม่สำคัญเลยไปจนถึงเรื่องสำคัญที่เกี่ยวกับคดี เช่น เวลานั่งรถยนต์รับจ้าง ควรสังเกตหมายเลขทะเบียนรถ คนขับ และรูปถ่ายที่ติดในบัตร ที่ติดไว้ในรถคันนั้นว่าเป็นบุคคลเดียวกันหรือไม่ เพราะบางคนที่ขับรถก็ไม่ใช่ บุคคลตามรูปถา่ ยในบัตรติดรถ เป็นตน้ หากผู้ปฏบิ ัติหน้าท่สี บื สวนมปี ฏภิ าณความสังเกตและจดจำลกั ษณะบุคคล พฤตกิ ารณ์ และสิ่งตา่ ง ๆ ได้มากแล้ว จะชว่ ยให้การสืบสวนสำเร็จผลได้ในเวลาอนั รวดเรว็ การสังเกตจดจำที่จะ นำมาใช้ประโยชนใ์ นการสืบสวนนัน้ ผู้ปฏบิ ัติหนา้ ท่สี ืบสวนจะต้องกระทำดว้ ยความสำนึกในหนา้ ที่ ฉะนัน้ จึงไม่ใช่ เป็นเพียงแต่สังเกตโดยทั่ว ๆ ไป แต่จะต้องจดจำรายละเอียดที่เล็กน้อยด้วย ด้วยเหตุนี้ผู้ปฏิบัติหน้าที่สืบสวน จะต้องจำไวเ้ สมอว่าเมื่อพบเหน็ เหตุการณ์ใด ๆ จะต้องพร้อมที่จะบรรยายเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถี่ถ้วน และ การที่จะบรรยายเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ได้ดีจะตอ้ งเป็นนกั สงั เกตทด่ี กี ่อน สามารถจดจำเหตกุ ารณน์ ั้น ๆ ได้อยา่ งถถี่ ว้ น การสังเกตจะตอ้ งประกอบด้วยลกั ษณะการสังเกตทด่ี ี ๓ ประการ ดงั น้ี 1. ความละเอยี ด 2. ความระมดั ระวงั 3. ความถูกต้อง จดุ มงุ่ หมายของการเรยี นการสอน การสังเกต และการจดจำลักษณะบุคคลและวัตถุ การฝกึ ใหล้ ูกเสือ เนตรนารี สามารถสังเกตและศกึ ษาการเรียนรลู้ กั ษณะบุคคล วัตถุและกิจกรรมพิเศษลกู เสือ เนตรนารจี ราจรนี้มีจดุ หมาย ดงั น้ี ๑. เพอื่ ฝกึ หดั ให้ลูกเสือ เนตรนารี เปน็ ผู้ท่มี ีความสังเกตและจดจำได้ดี ๒. เพื่อชว่ ยเพิ่มพูนประสทิ ธภิ าพเมื่อมกี ารสบื สวนสอบสวน ๓. เพ่อื ช่วยใหล้ กู เสอื เนตรนารี มีความสามารถในการบรรยายตำหนิรปู พรรณตา่ ง ๆ ได้ ๔. เพ่ือใหล้ กู เสอื เนตรนารี สามารถสงั เกตและจดจำไดภ้ ายในเวลาอันจำกัด

32 ๕.เพื่อช่วยให้เกิดประโยชน์ในด้านการสอบสวนเพราะ ลูกเสือ เนตรนารี บางครั้งอาจมี ความจำเป็นต้องให้ปากคำหรือให้การในเหตุการณ์ต่าง ๆ เมื่อสมาชิกยุวกาชาดผ่านการอบรมยวุ กาชาดจราจร แลว้ จะมคี วามรู้พนื้ ฐานเกีย่ วกับการสังเกตและจดจำได้ดี ปจั จยั ทช่ี ว่ ยในการสงั เกตและจดจำ ผู้สืบสวนจะต้องจดจำเรื่องราวต่าง ๆ ในคดีเกี่ยวกับการสังเกตจดจำเพื่อประโยชน์ในการสืบสวน การจดจำบคุ คลรวมทงั้ ตำหนริ ูปพรรณ ซง่ึ อาจจะไดจ้ ากภาพถ่ายหรือการพบปะ นอกจากนย้ี งั ตอ้ งจำสถานที่และ วัตถุสิ่งของในเรื่องนั้น ๆ ไว้ให้ดีที่สุดเท่าที่สามารถจะจำได้ด้วย ทั้งนี้เพราะในคดีอาญาเรื่องหน่ึง จะเป็นเรื่องของความสัมพันธ์อย่างแน่นแฟ้นระหว่างบุคคล สถานที่และวัตถุสิ่งของรวมกันเป็นเหตุการณ์ เรื่องใดเรื่องหนึ่งขึ้น ฉะนั้นในลักษณะของผู้สืบสวนจะต้องพยายามจดจำความสัมพันธน์ ั้น ๆ ในสถานที่ซึ่งเกดิ คดีอาญานั้นว่ามีบุคคลใดและวัตถุสิ่งของอันใดเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอยู่ในเหตุการณ์ ได้โดยไม่สับสน ถ้าพิจารณากันอย่างผิวเผนิ จะคิดวา่ การสังเกตจดจำเป็นเรอ่ื งธรรมดาใคร ๆ กส็ ามารถปฏิบัติได้ซึง่ ความ จริงก็เป็นเช่นนัน้ แต่การสังเกตจดจำที่ตอ้ งการจะนำไปใช้ประโยชน์ในดา้ นการสบื สวนสอบสวนเปน็ การทำงาน ต่อเนื่องกันของระบบประสาทและสมองที่กระทำต่อสิ่งเร้าอันหนึ่ง โดยพิจารณาจากเมื่อมีสิ่งเร้ามากระทบ ประสาทตดิ ตอ่ กนั ระหว่างงานต่าง ๆ พิจารณาถึงระบบประสาทท่ีกระทำต่อส่งิ เร้า เพื่อจดจำเร่อื งใดเร่ืองหน่ึงว่า สามารถจดจำได้ดีมากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับปลายกระแสประสาทสัมผัสของผู้นั้นว่ามีประสิทธิภาพมากน้อย เพยี งใด เพราะปลายประสาทสัมผสั เปรยี บเสมือนเครือ่ งรบั หรือเครอ่ื งช่วยในการสงั เกตจดจำ ประสาทสัมผัสดังกล่าวนี้ ได้แก่ จักษุสัมผัส โสตสัมผัส ชิวหาสัมผัส เป็นต้น และความกระชับตัวของ ระบบทางเดินของกระแสประสาทว่าสามารถรายงานไปสู่สมองได้คล่องแคล่วเกิดเป็นวงจรสะท้อนกลับได้ ครบถ้วนบรบิ รู ณ์หรอื ไม่ นอกจากนีบ้ รรยากาศ เวลา สิง่ แวดลอ้ ม และรสนิยมของบุคคลยังเป็นเคร่อื งชว่ ยเพมิ่ พูน ใหม้ กี ารสังเกต การจดจำได้ดดี ้วย ปัจจยั ทก่ี ่อใหเ้ กิดความผิดพลาดในการสงั เกตจดจำ การมีหู ตา ไว ได้ยินเรอื่ งได้เหน็ เหตุการณ์ท้งั หลายโดยลึกซึง้ ละเอียดถี่ถว้ นนนั้ ทำให้เราเข้าใจสงิ่ ตา่ ง ๆ ได้ ชัดเจน และวินิจฉัยเหตุการณ์ทั้งหลายได้โดยไม่มีการผิดพลาด แต่ในบางครั้งก็มีความผิดพลาดได้เช่นกัน ลอง สังเกตตวั เราเองในขณะทเี่ ดนิ ทางไปในที่แหง่ ใดแห่งหน่งึ ในระหว่างทางมขี องหรอื คนผ่านเราไปเปน็ อันมาก บาง ทีเรามองไม่เห็นจริง ๆ หรือในบางวันเราไม่ได้ยินเสียงนาฬิกาในบ้านที่ตีดังอยู่ทุกครึ่งชั่วโมง หรอื บางครง้ั อาจจะมีการรายงานอยา่ งผิด ๆ ฉะนนั้ ในการสังเกตจดจำจึงมีขอ้ ควรระวังว่าอาจจะมคี วามผิดพลาด ขน้ึ ได้ ความผดิ พลาดหรือไมแ่ นน่ อนนอี้ าจจะมาจากสาเหตุต่าง ๆ กัน ดงั นี้ 1. สภาวะทางจติ ใจหรืออารมณ์ ผ้สู ังเกตจดจำอาจต่นื เต้นเกนิ ไป ตกใจเกินไป หรอื เศรา้ โศกเกินไป ทำใหบ้ กพรอ่ งในเรือ่ งสงั เกต 2. ความแตกต่างของบคุ คลทางด้านความรู้สกึ หรือประสาทสัมผสั เชน่ ตาบอดสี หคู อ่ นขา้ งตึง สายตาส้ัน 3. ความใส่ใจตอ่ สง่ิ ใดโดยเฉพาะสภาวการณน์ น้ั เชน่ คดรี ถชนกัน ผู้หญิงอาจจำไดแ้ คเ่ พียงเส้ือผ้า หรอื สี ของรถ ผู้ชายอาจจำย่ีห้อหรือเลขทะเบียนรถได้ 4. ความพิสดารหรอื ความเคยชนิ เช่น ผสู้ ังเกตหรือพยานตกเขา้ ไปอย่ใู นห้องวิทยาศาสตร์ ซึ่งไม่เคยพบ เห็นมาก่อน 5. ความลมื เลอื นเหตุการณ์ท่เี กิดขึ้นมานานแล้ว อาจทำให้ลืมไปได้ 6. อคติ ความมีอคติหรือจินตนาการอาจจะทำใหเ้ รามองเหน็ ขอ้ เท็จจรงิ ผิดไปจากความเป็นจริงได้ท้ังนี้ เนื่องจากมโนคติของเราสรา้ งภาพใหม่ขึ้นมา โดยอาศัยรากฐานจากข้อเท็จจริง ประกอบกบั คติหรือจินตนาการ เชน่ ถ้าเปน็ จีนก็เขา้ ข้างจีน ภรรยากเ็ ข้าข้างสามี เปน็ ตน้

33 การจดจำตำหนริ ูปพรรณ คำแนะนำการจดจำตำหนิรูปพรรณบุคคล และยานพาหนะของคนร้าย การก่ออาชญากรรม การก่อการร้าย ถือได้ว่าเป็นผลจากการกระทำของบุคคลทั้งสิ้น ต้องมีบุคคล เขา้ มาเก่ยี วข้องในแง่ของผู้กระทำ ดังทเี่ ราเรยี กกนั ว่า “คนรา้ ย” หรือ “ผูร้ ้าย” ประกอบกับการวิวัฒนาการทาง เทคโนโลยี ปจั จบุ นั ได้เจริญกา้ วหนา้ ไปอย่างรวดเรว็ จงึ ทำให้คนรา้ ยมักจะใชย้ านพาหนะต่าง ๆ เพ่ือการหลบหนี อย่างรวดเร็ว พาหนะที่ใช้ เช่น รถยนต์ รถจักรยานยนต์ ฯลฯ ในช่วงเวลาที่คนร้ายลงมือกระทำความผิดและ หลบหนี นั้น คนร้ายย่อมพยายามจะใช้เวลาให้รวดเร็วที่สุด เพื่อมิให้มีผู้ใดพบเห็น และเพ่ือให้รอดพ้นจาก การสบื สวน ตดิ ตาม จบั กมุ ของเจ้าหน้าท่ีตำรวจ พนักงานรกั ษาความปลอดภัย ประชาชนท้งั หลายย่อมมีโอกาส ได้ พบเห็นการกระทำความผิดได้ง่ายกว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจ ทั้งนี้เนื่องจาก หากคนร้ายเห็นเจ้าหน้าที่ตำรวจ มักจะไม่กระทำความผดิ การจดจำตำหนิรูปพรรณของคนร้าย ยานพาหนะของคนร้ายได้ดีนั้น มีความสำคัญมากต่อการสืบสวน จับกุมผู้กระทำความผิดมาลงโทษ ทั้งนี้เนื่องจาก ถ้าท่านสามารถจดจำ รูปร่าง หน้าตา ตำหนิ รูปพรรณของ คนร้าย และลักษณะรูปพรรณคล้ายกับข้อมูลของท่าน หรือนำไปสเก็ตซ์ภาพคนร้าย และประกาศสืบจับ โดยทวั่ ไป ส่วนยานพาหนะท่ีใชน้ ัน้ ยอ่ มเปน็ แนวทางในการสบื สวนไปถึงตัวผเู้ ป็นเจ้าของ และผู้ที่ใช้ยานพาหนะ นั้นซึ่งอาจสันนิษฐานได้ว่าเป็นคนร้ายที่ได้กระทำความผิดอันเป็นประโยชน์ต่อสืบสวนการ ปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าท่ีตำรวจเป็นอย่างยิ่ง ผลงานของตำรวจที่ผ่านมามีเป็นจำนวนมากที่พลเมืองดีได้แสดงความสามารถ ในการสังเกต จดจำ ตำหนิ รูปพรรณคนร้าย และยานพาหนะท่ีใช้เป็นอย่างดี เป็นผลให้ตำรวจสามารถพิชติ คดี สำคญั ๆ แล้วไดต้ วั คนรา้ ยมาลงโทษในท่สี ดุ ในการน้ี จึงขอแนะนำวิธีการจดจำตำหนิรูปพรรณคนร้าย ลักษณะยานพาหนะต่าง ๆ มาให้ท่านได้ รับทราบ เพื่อเป็นแนวทางในการสังเกต จดจำ และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ตำหนิรูปพรรณของคนร้าย หากท่าน สามารถจดจำรายละเอียดไดม้ ากโอกาสท่ีทางตำรวจจะจับกมุ คนร้ายกม็ มี ากข้นึ ดว้ ย การใหร้ ูปพรรณสณั ฐานทถ่ี ูกต้องเป็นการชว่ ยเหลอื ตำรวจในการจบั คนร้าย โดยพจิ ารณาจากคุณลักษณะของ บุคคล ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑. ความสงู ๒. ผม (แบบ, สี) ๓. รูปหนา้ องคป์ ระกอบ ๔. เสื้อ (แบบ/สี) ๕. ตำหนอิ ่นื ๆ ๖. เชื้อชาติ อายุ ๗. รอยสกั ๘. รูปรา่ ง แผลเป็น ๙. ชนดิ อาวุธ ๑๐. สว่ นใดพิการ ๑๑. กางเกง (แบบ/ส)ี การสังเกต จดจำ ตำหนริ ูปพรรณบคุ คล 1. หลักการสงั เกต จดจำ ตำหนิรปู พรรณ ดังน้ี 1.1 สังเกต จดจำ ส่ิงที่ใหญ่เห็นได้ง่ายไปสสู่ ิง่ ท่ีเลก็ เห็นได้ยาก 1.2 สงั เกต จดจำ ลกั ษณะเดน่ ตำหนิไปสลู่ ักษณะปกติ ธรรมดา

34 1.3 อย่าจดจำทกุ สิ่งทุกอย่าง แต่ให้จดจำบางสิง่ บางอย่างทีท่ ่านจดจำได้อย่างแม่นยำ 1.4 เมอ่ื คนรา้ ยหลบหนไี ปแลว้ อยา่ ถามผ้อู นื่ วา่ เห็นอะไรแต่ให้รีบบนั ทึกตำหนริ ปู พรรณทท่ี า่ นเห็น และจดจำได้ลงในสมุดหรือกระดาษโดยทนั ที 1.5 มอบรายละเอียดให้กับเจ้าหนา้ ทต่ี ำรวจผู้มหี นา้ ที่เกยี่ วข้อง 2. สงิ่ ท่สี ามารถจดจำไดง้ า่ ยและควรจดจำกอ่ น 2.1 เพศ เปน็ ชาย หญงิ และเพศทางเลอื ก 2.2 วัยเดก็ วัยร่นุ ผูใ้ หญ่ แก่ ฯลฯ อายุ ประมาณเท่าใด 2.3 รูปร่าง สงู เตีย้ อว้ น ผอม สันทดั ฯลฯ 2.4 ผวิ เนอื้ ขาว ขาวเหลอื ง ดำ ซีด เหี่ยวย่น ฯลฯ 2.5 เชอ้ื ชาติ ดูจากใบหนา้ เปน็ คนไทย จนี ลูกครง่ึ แขก ฯลฯ 2.6 รูปหนา้ รูปไข่ กลม ยาว เหลีย่ ม ฯลฯ 2.7 ผม สั้น หงอก หนา หยกิ ตดั ทรงอะไร หวอี ยา่ งไร ฯลฯ 2.8 ปาก กวา้ ง แคบ ใหญ่ ริมฝีปากหนา บาง ฯลฯ 2.9 หู กาง ใหญ่ เลก็ ตง่ิ หแู หลม ฯลฯ 2.10 ตา เลก็ โต พอง โปน ตาชัน้ เดียว สองช้นั ตาเข สวมแวน่ ตา แว่นกนั แดด ฯลฯ 3. สง่ิ ท่ีเป็นจุดเด่นผดิ ปกติ ตำหนทิ ี่อาจจดจำได้ง่าย 3.1 ตำหนิ แผลเปน็ บนใบหนา้ ไฝ ปาน หดู เนือ้ ต่งิ มีลักษณะอย่างไร 3.2 แผลเปน็ มลี ักษณะอย่างไร ขนาดเทา่ ใด อยทู่ ส่ี ่วนไหนของร่างกาย 3.3 ลายสัก สักรปู อะไร สีอะไร อยทู่ ส่ี ว่ นไหนของรา่ งกาย 3.4 ความพิการ ตาบอด หหู นวก ใบ้ แขนขาด้วน ลีบ ปากเบ้ียว ฯลฯ 3.5 ทา่ ทางการเดิน เดินตัวตรง ตัวเอียง ขากะเผลก 3.6 สำเนยี งการพูด พดู ช้า เรว็ ตดิ อ่าง สำเนยี งเป็นคนไทย จีน ฝร่งั หรือสำเนยี งคนภาคใด 3.7 การกระทำบ่อยๆ สบู บุหรจี่ ัด พดู เอามือปิดปาก ติดยาเสพตดิ เวลาพูดเอามือล้วงกระเปา๋ 3.8 การแตง่ กาย จดจำเสื้อ กางเกง เชน่ แขนสั้น-ยาว ขาสัน้ -ยาว ฯลฯ แบบของเส้อื กางเกง เชน่ ยีน เสอ้ื ยดึ เสอ้ื เช้ติ เครือ่ งแบบ นักศึกษา สอี ะไร ลายแบบไหน มีตวั เลขอะไรหรือไม่ รองเท้าที่สวมเป็นชนดิ ใด สีอะไร แบบใด 3.9 เคร่ืองประดับ มีเครอ่ื งประดับอะไรบ้างที่เหน็ ไดช้ ดั เชน่ แวน่ ตา นาฬกิ า แหวน สร้อย กระเปา๋ ถือ 4. กรณีท่คี นรา้ ยมีการพรางใบหนา้ เช่น สวมแวน่ ตากนั แดด สวมหมวกกันนอ็ ค สวมหมวก สวมหน้ากาก คลมุ ศรี ษะดว้ ยถงุ ฯลฯ กใ็ หพ้ ยายามจดจำส่งิ ท่ีใช้พราง และจดจำสว่ นอื่น ๆ ของรา่ งกายท่ีไดพ้ ราง และจดจำไดง้ ่าย โดยมีลักษณะ การพรางตัว ดงั นี้ ๑. รูปร่าง สูง เตย้ี ล่ำสัน ใหญ่ เล็ก อว้ นพุงพลุ้ย อ้วนลำ่ ผอมบาง สนั ทัด ๒. ผวิ เนอ้ื ขาว ขาวเหลอื ง ดำ ดำแดง ซดี เปลง่ ปลง่ั เหยี่ วยน่ ตกกระ ๓. รปู หนา้ รปู ไข่ กลม ยาว สี่เหลยี่ ม หน้าอูม หน้ากระดกู ๔. ศีรษะ โต เล็ก กลม ทยุ โหนก เบยี้ ว หลิม ล้านอยา่ งไร ๕. ผม หงอก หงอกประปราย หนา บาง ดดั หยิก หยักโศรก ยอ้ ม ตัดทรงอะไร หวอี ยา่ งไร ๖. ตา เลก็ พอง โต โปน ลึก หร่ี ปรอื ตาชัน้ เดยี ว สองชนั้ ตาเข เหล่ ถ่วั ต๋ี สายตาสนั้ ใส่แว่น สอี ะไร

35 ๗. คว้ิ ดก บาง เรียว โคง้ ตรง ค้วิ ต่อ หางค้ิวชี้ หางคว้ิ ตก ๘. จมูก เลก็ ใหญ่ ยาว สนั้ ด้งั จมูกราบ ลกึ หัก โดง่ สนั จมูกตรง โคง้ งอน เหลีย่ ม คด ปลายจมูก แหลม บาน เชิด งุ้ม การสงั เกตจดจำยานพาหนะ 1. หลกั ในการสังเกตจดจำ 1.1 สงั เกตจดจำสิ่งท่ีใหญเ่ ห็นงา่ ยไปสูส่ ง่ิ ทเ่ี ลก็ เหน็ ยาก 1.2 สงั เกตจดจำตำหนิ รอยชน สตกิ เกอร์ จุดเด่นต่างๆ 1.3 พยายามสังเกต อย่าจดจำทุกส่ิงทกุ อย่าง แตใ่ ห้จดจำบางสิง่ ท่ที า่ นจำได้อยา่ งแมน่ ยำ 1.4 เม่อื คนร้ายไดห้ ลบหนไี ปแล้วอยา่ ถามผู้อ่ืนว่าเห็นอย่างไรแตใ่ ห้รีบบันทกึ ลกั ษณะเอาไวท้ ันที 1.5 มอบรายละเอยี ดใหก้ ับตำรวจหรอื ผูม้ ีหนา้ ทเ่ี ก่ียวข้อง 2. ส่ิงที่สามารถจดจำไดง้ า่ ยและควรจดจำก่อน 2.1 ประเภทรถจักรยานยนต์ รถเก๋งสว่ นบคุ คล รถยนต์แท็กซส่ี าธารณะ รถบรรทุก รถปิ๊กอัพ รถสามล้อเคร่อื ง รถจ๊ีบ ฯลฯ 2.2 สีของรถเป็นรถสใี ด บริเวณใดเป็นสชี นิดธรรมดา ลูไซด์ ฯลฯ 2.3 ความเก่า-ใหม่ เปน็ รถค่อนข้างเกา่ หรอื ใหม่ 2.4 ยหี่ ้อ เป็นรถยีห่ ้อใด รนุ่ ปี พ.ศ. ใด (ตอ้ งฝึกดแู ละจดจำย่ีหอ้ ต่างๆ) 2.5 หมายเลขทะเบียน ดูไดจ้ ากแผน่ ปา้ ยทะเบยี น ให้จดจำทง้ั ตัวอักษรและหมายเลข ถ้าเปน็ รถต่างจังหวัดให้จดจำชื่อจังหวัดไว้ดว้ ย แผ่นปา้ ยทะเบียนรถประเภทต่างๆ จะแตกต่างกนั ไป เช่น รถเกง๋ ส่วนบคุ คลแผ่นป้ายทะเบียนจะเป็นพ้ืน สีขาว ตัวเลขและตวั อกั ษรเป็นสีดำ (เปน็ ปา้ ยของทางราชการ) ตดิ ข้างหนา้ - หลัง รถแท็กซ่ี แผน่ ป้ายทะเบยี นจะ เป็นพื้นสีเหลือง ตัวอักษรสีดำ ติดทั้งข้างหน้า - หลัง รถจักรยานยนต์ แผ่นป้ายทะเบียนจะเป็นพื้น สขี าว ตวั เลขตวั อกั ษรสดี ำ ตดิ ข้างหลงั เพียงแผน่ เดยี ว อนึ่ง ในการสังเกตแผ่นป้ายทะเบียน พยายามสังเกตด้วยว่าเป็นแผ่นป้ายที่ติดไว้อย่างหลวมหรือ ตดิ อยา่ งแน่นหนา หรือมีการพรางเลข อกั ษรของแผน่ ปา้ ยนนั้ ๆ หรอื ไม่ดว้ ยวธิ ีการใด (ปจั จบุ นั คนร้ายมักใช้แผ่น ปา้ ยทะเบยี นปลอม หรือมกี ารพรางหมายเลขทะเบยี น และตวั อักษรให้ผิดไปจากความเปน็ จรงิ ) 3. ส่งิ ทเี่ ป็นตำหนิ รอยชนทเี่ ห็นไดช้ ดั 3.1 ตำหนิ เชน่ กระจกแตก สีลอก มีรอยเจาะท่ีตัวถังของรถ ฯลฯ 3.2 รอยชน รอยบบุ รถมีรอยถูกชนบริเวณใด มากนอ้ ยเพยี งใด มีรอยบบุ ทใี่ ด 3.3 จุดเดน่ เปน็ รถท่แี ตง่ เพ่อื ใช้แขง่ ขนั มเี สาอากาศ ติดอุปกรณพ์ ิเศษตา่ งๆ กบั รถ ฯลฯ 3.4 สติกเกอร์ ฟิล์มติดสติกเกอร์บรเิ วณใด เป็นรปู หรอื เครื่องหมาย หรือขอ้ ความใด มตี ดิ ฟิล์ม กรองแสงมากนอ้ ยทใ่ี ด อย่างไร 3.5 แผ่นปา้ ยท่ีตดิ กบั กระจกดา้ นหน้า ไดแ้ ก่ แผ่นปา้ ยวงกลม แสดงการเสยี ภาษี แผ่นปา้ ย ผ่านเข้า – ออกของสถานทีต่ า่ ง ๆ บางครง้ั ระบชุ ือ่ ไว้ทแี่ ผ่นปา้ ย ถ้าเห็นให้จดจำไว้ดว้ ย แผน่ ป้ายแสดงสิทธพิ เิ ศษตา่ ง ๆ เชน่ การจอดรถ การประกนั ภัย ฯลฯ การสังเกตยานพาหนะรถยนต์และรถจกั รยานยนต์ หมายเลขทะเบียนรถ ตำแหนง่ ท่ีตดิ ประเภทรถเก่า รถกระบะ รถบรรทกุ สีรถ สติกเกอร์ที่ตกแต่ง รถยนต์ ยหี่ อ้ รถ และรนุ่ ตำแหน่งป้ายวงกลม ปา้ ยผ่านเข้า-ออก สถานที่ส่วนบคุ คล ตำแหนง่ เสาวทิ ยุ โทรทัศน์ ชนดิ ไฟทา้ ย รูปลักษณะสง่ิ ประดบั เชน่ แขวนหน้ารถ ขา้ งหน้ารถ

36 จกั รยานยนต์ เลขทะเบียน ตำแหนง่ ที่ติด ประเภท วิบาก ผู้หญิง สรี ถ สตกิ เกอรท์ ตี่ กแตง่ ย่หี อ้ รนุ่ ไฟทา้ ย บังโคลน ท่อไอเสยี แบบและเสียง ทั้งหมดที่ไดแ้ นะนำมานี้เปน็ เพียงแนวทาง ในการที่ทา่ นจะใช้ในการสังเกต จดจำ ตำหนิ รูปพรรณของ บุคคล ลักษณะของยานพาหนะที่ต้องสงสัย การที่ท่านจะจดจำได้ดีนั้นขึ้นอยู่กับว่าท่านมีความสนใจและมีการ ฝึกฝนในการจดจำตามแนวทางมากน้อยเพียงใด วิธีการฝึกจดจำนั้นไม่ใช่ของยาก ท่านอาจฝึกฝนจดจำบุคคล ที่เดินผ่านไปมา หรือยานพาหนะที่ผ่านไปมา แล้วลองบันทึกสิ่งที่ท่านจำได้ แล้วนำไปตรวจสอบกับบุคคล ยานพาหนะจรงิ อยา่ งไรกต็ าม ขอ้ สำคัญของการสงั เกต จดจำจะเปน็ ประโยชน์ตอ่ การสบื สวนของตำรวจ กค็ ือข้อมูล ทแ่ี ม่นยำใกลเ้ คียงกบั ความเปน็ จรงิ มากที่สุด ดงั นัน้ หากทา่ นไมแ่ นใ่ จในข้อมูลใดๆ กไ็ มค่ วรใช้วิธเี ดาหรือคิดเอาเอง เพราะถา้ ให้ขอ้ มูลเหลา่ น้กี บั ตำรวจแล้ว อาจทำใหเ้ กดิ การไขว้เขว สบั สนแก่การปฏิบัตงิ านของตำรวจอยา่ งแนน่ อน หลักการสงั เกตและจดจำคนรา้ ย

37

38

39 หมายเลขโทรศพั ท์ฉุกเฉนิ ที่ควรรกู้ อ่ นเดินทาง ๑๙๑ เหตุดว่ น เหตรุ า้ ย ๑๙๙ อัคคภี ัย สัตว์เข้าบา้ น ๑๑๙๖ แจ้งอบุ ตั ิเหตุทางน้ำ ๑๕๔๓ สอบถามเสน้ ทางด่วน ๑๑๙๗ ศูนย์ควบคุมการจราจร ๑๑๙๒ แจ้งรถหาย ๑๑๙๓ ตำรวจทางหลวง ๑๑๕๕ ตำรวจทอ่ งเทย่ี ว ๑๖๗๗ ร่วมด้วยช่วยกนั ๑๖๖๙ หน่วยแพทยก์ ู้ชพี ๑๑๙๐ เหตุดว่ น เหตุร้าย ๑๑๘๒ กรมอตุ ุนยิ มวทิ ยา ๑๑๔๖ กรมทางหลวงชนบท ๑๖๙๑ แจ้งอุบัติเหตุ โรงพยาบาลตำรวจ ๑๑๕๔ หนว่ ยแพทย์ก้ชู พี วชริ พยาบาล ๑๒๐๐ แจง้ ปญั หาโทรคมนาคม ๑๗๘๔ กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ๑๖๙๐ การรถไฟแห่งประเทศไทย ๑๔๙๐ บขส. เส้นทางเดินรถ

ชื่อวิชา พระราชบญั ญตั จิ ราจรทางบกและกฎหมายทีเ่ ก่ียวข้อง (1 และ 2) 40 บทเรียนที่ 4 เวลา 120 นาที ขอบข่ายรายวชิ า ๑. พระราชบญั ญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ๒. พระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ. ๒๕๒๒ ๓. กฎกระทรวงฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๒๒) ออกตามความในพระราชบัญญตั ิจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒และ กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๔ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบญั ญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ จดุ หมาย เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อบัญญัติของพระราชบัญญัติจราจร ทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ และพระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ. ๒๕๒๒ รวมทั้งกฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๔ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ และสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่าง ถูกตอ้ ง วตั ถุประสงค์ เมือ่ จบบทเรยี นนแ้ี ล้ว ผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรมควรจะสามารถ ๑. อธบิ ายข้อบญั ญัตขิ องคำนยิ าม ตามพระราชบัญญัตจิ ราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ และพระราชบญั ญตั ิรถยนต์ พ.ศ. ๒๕๒๒ ได้ ๒. ระบคุ วามสำคัญพระราชบัญญัตจิ ราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ และพระราชบญั ญัติรถยนต์ พ.ศ. ๒๕๒๒ ได้ ๓. นำข้อกำหนดตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ และพระราชบัญญัติรถยนต์ พ.ศ. ๒๕๒๒ ไปใช้ในชีวิตประจำวนั และปฏิบัตหิ น้าที่ลกู เสือจราจรได้อยา่ งถกู ต้อง วธิ ีสอน/กจิ กรรม จัดกิจกรรมการฝกึ อบรมรายวิชานีอ้ อกเปน็ 2 คาบ คาบที่ 1 ๑. นำเข้าสู่บทเรียนด้วยสอื่ วีดีทัศน์ Power point ฯลฯ ๒๐ นาที ๒. บอกนยิ ามและขอ้ บญั ญตั ขิ องพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ๔๐ นาที และพระราชบัญญตั ริ ถยนต์ พ.ศ. ๒๕๒๒ คาบท่ี 2 1. แบง่ กลุ่ม ให้สมาชิกแต่ละกล่มุ อภิปรายกลุ่ม เรอื่ งพระราชบญั ญตั จิ ราจรทางบก 30 นาที พ.ศ. ๒๕๒๒พระราชบญั ญัตริ ถยนต์ พ.ศ. ๒๕๒๒ และกฎกระทรวงฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๒๒) ออกตามความในพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ และกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๑๔ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิ จราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ 2. ให้ผแู้ ทนแตล่ ะกล่มุ นำเสนอผลการอภิปราย 20 นาที 3. ใหว้ ทิ ยากรสรปุ และประเมินผล ๑๐ นาที

41 สอื่ การสอน ๑. วีดที ัศน์ ๒. Power point ๓. อุปกรณ์ (แผน่ ป้าย) ๔. ใบงาน การประเมนิ ผล ๑. การสังเกต ๒. แบบสอบถาม 3. รายงานผลการอภิปรายกลมุ่ เอกสารอ้างอิง/แหล่งขอ้ มูล 1. พระราชบัญญัตจิ ราจรทางบก พ.ศ. 2522 2. พระราชบญั ญัติรถยนต์ พ.ศ. ๒๕๒๒ 3. กฎกระทรวงฉบับท่ี ๑๔ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบัญญตั ิจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ และกฎกระทรวงฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๒๒) ออกตามความในพระราชบัญญตั ิจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒

42 เอกสารอา้ งอิง/แหลง่ ขอ้ มูล มาตรา ๔ ในพระราชบัญญตั ินี้ )๑( “การจราจร” หมายความว่า การใช้ทางของผู้ขับขี่ คนเดินเท้า หรือคนที่จูง ขี่ หรือ ไลต่ อ้ นสัตว์ )๒( “ทาง” หมายความว่า ทางเดนิ รถ ชอ่ งเดินรถ ชอ่ งเดินรถประจำทาง ไหลท่ าง ทางเทา้ ทาง ขา้ ม ทางร่วมทางแยก ทางลาด ทางโคง้ สะพาน และลานทีป่ ระชาชนใช้ในการจราจร และใหห้ มายความรวมถึง ทางส่วนบุคคลที่เจ้าของยินยอม ให้ประชาชนใช้ในการจราจรหรือที่เจ้าพนักงานจราจรได้ประกาศ ให้เปน็ ทางตามพระราชบัญญัตินดี้ ้วย แต่ไม่รวมไปถงึ ทางรถไฟ )๓( “ทางเดนิ รถ” หมายความวา่ พ้นื ท่ที ่ีทำไวส้ ำหรบั การเดนิ รถไม่วา่ ในระดบั พ้นื ดนิ ใต้หรอื เหนอื พ้ืนดนิ )๔( “ช่องเดินรถ” หมายความว่า ทางเดินรถท่ีจัดแบ่งเป็นช่องสำหรับการเดินรถโดย ทำเครื่องหมายเปน็ เส้นหรอื แนวแบ่งเป็นช่องไว้ )๖( “ทางเดินรถทางเดียว” หมายความว่า ทางเดินรถใดที่กำหนดให้ผู้ขับรถขับไปในทิศทาง เดยี วกนั ตามเวลาที่เจ้าพนกั งานจราจรกำหนด )๗( “ขอบทาง” หมายความวา่ แนวริมของทางเดินรถ )๘( “ไหลท่ าง” หมายความว่า พน้ื ที่ท่ีต่อจากขอบทางออกไปทางด้านขา้ งซงึ่ ยังมิไดจ้ ัดทำเปน็ ทางเทา้ )๙( “ทางร่วมทางแยก” หมายความว่า พื้นที่ที่ทางเดินรถตั้งแต่สองสายตัดผ่านกัน รวมบรรจบกนั หรือติดกนั )๑๐( “วงเวียน” หมายความว่า ทางเดินรถที่กำหนดให้รถเดินรอบเครื่องหมายจราจร หรอื สง่ิ ท่ีสร้างขึ้นในทางร่วมทางแยก )๑๑( “ทางเท้า” หมายความว่า พื้นที่ที่ทำไว้สำหรับคนเดินซึ่งอยู่ข้างใดข้างหนึ่งของทาง หรอื ทงั้ สองขา้ งของทาง หรือสว่ นที่อยูช่ ดิ ขอบทางซึ่งใช้เปน็ ทสี่ ำหรบั คนเดนิ )๑๒( “ทางข้าม” หมายความว่า พื้นที่ที่ทำไว้สำหรับให้คนเดินเท้าข้ามทางโดย ทำเครอ่ื งหมายเป็นเสน้ หรือแนวหรอื ตอกหมุดไวบ้ นทาง และใหห้ มายความรวมถงึ พืน้ ทีท่ ี่ทำให้คนเดินเท้าข้ามไม่ ว่าในระดับใตห้ รือเหนือพื้นดินด้วย )๑๔( “ที่คับขัน” หมายความว่า ทางที่มีการจราจรพลุกพล่านหรือมีสิ่งกีดขวาง หรือในที่ ซึง่ มองเหน็ หรือทราบได้ล่วงหน้าวา่ อาจเกิดอันตรายหรอื ความเสียหายแก่รถหรือคนได้งา่ ย )๑๕( “รถ” หมายความวา่ ยานพาหนะทางบกทกุ ชนดิ เวน้ แต่รถไฟและรถราง )๑๖( “รถยนต์” หมายความว่า รถทม่ี ีลอ้ ตง้ั แตส่ ามลอ้ และเดนิ ด้วยกำลงั เครื่องยนต์ กำลังไฟฟ้า หรอื พลังงานอน่ื ยกเว้นรถที่เดนิ บนราง )๑๗( “รถจักรยานยนต์” หมายความว่า รถที่เดินด้วยกำลังเครื่องยนต์ กำลังไฟฟ้า หรือพลงั งานอน่ื และมลี อ้ ไมเ่ กนิ สองลอ้ ถ้ามพี ว่ งข้างมีล้อเพม่ิ อกี ไมเ่ กินหน่ึงลอ้ )๑๘( “รถจกั รยาน” หมายความว่า รถทเ่ี ดนิ ดว้ ยกำลงั ของผู้ขบั ขท่ี มี่ ิใชเ่ ปน็ การลากเข็น )๒๘( “ผ้ขู บั ข”ี่ หมายความวา่ ผู้ขบั รถ ผู้ประจำเคร่อื งอปุ กรณก์ ารขนสง่ ตามกฎหมายว่าด้วย การขนส่ง ผลู้ ากเข็นยานพาหนะ )๒๙( “คนเดินเท้า” หมายความว่า คนเดินและให้รวมตลอดถึงผู้ใช้เก้าอี้ล้อสำหรับคนพิการ หรอื รถสำหรบั เด็กดว้ ย )๓๐( “เจา้ ของรถ” หมายความรวมถงึ ผ้มู รี ถไว้ในครอบครองดว้ ย

43 )๓๒( “ใบอนุญาตขับขี่” หมายความว่า ใบอนุญาตขับรถยนต์ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ ใบอนุญาตสำหรับคนขับรถตามกฎหมายว่าด้วยรถจ้าง ใบอนุญาตขับขี่ตามกฎหมายว่าด้วยล้อเลื่อน และ ใบอนญุ าตผู้ประจำเคร่ืองอปุ กรณก์ ารขนสง่ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการขนสง่ )๓๓( “สญั ญาณจราจร” หมายความว่า สัญญาณใด ๆ ไม่ว่าจะแสดงดว้ ยธง ไฟ ไฟฟ้า มอื แขน เสยี งนกหวีด หรือด้วยวิธอี ืน่ ใด สำหรบั ใหผ้ ู้ขบั ขี่ คนเดินเท้า หรือคนท่ีจูง ข่ี หรือไลต่ ้อนสัตว์ ปฏิบัติตามสัญญาณ นน้ั )๓๔( “เครอื่ งหมายจราจร” หมายความวา่ เครอ่ื งหมายใด ๆ ทีไ่ ด้ตดิ ต้งั ไว้ หรอื ทำให้ปรากฏ ในทางสำหรบั ให้ผขู้ ับขี่ คนเดินเทา้ หรอื คนท่จี งู ขี่ หรือไลต่ ้อนสตั ว์ ปฏบิ ัตติ ามเคร่ืองหมายน้ัน )๓๘( “พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี” หมายความว่า ตำรวจซึ่งปฏบิ ัติหน้าทค่ี วบคุมการจราจร หมวด ๑ ลักษณะของรถท่ีใช้ในทาง มาตรา ๖ ห้ามมิให้ผู้ใดนำรถที่มีสภาพไม่มั่นคงแข็งแรง หรืออาจเกิดอันตราย หรืออาจทำให้ เสือ่ มเสยี สุขภาพอนามยั แกผ่ ใู้ ช้ คนโดยสารหรือประชาชนมาใชใ้ นทางเดนิ รถ รถที่ใช้ในทางเดินรถ ผู้ขับขี่ต้องจัดให้มีเครื่องยนต์ เครื่องอุปกรณ์และหรือส่วนควบ คุม ที่ครบถ้วนตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ กฎหมายว่าด้วยการขนส่ง กฎหมายว่าด้วยล้อเลื่อน กฎหมายว่าด้วย รถลาก หรอื กฎหมายวา่ ดว้ ยรถจา้ ง และใชก้ ารไดด้ ี สภาพของรถที่อาจทำให้เสื่อมเสียสุขภาพอนามัยตามวรรคหนึง่ และวิธีการทดสอบ ให้เป็นไป ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการท่กี ำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๗ หา้ มมใิ หผ้ ู้ใดนำรถที่มไิ ด้ติดแผ่นป้ายเลขทะเบยี น แผน่ ป้ายเคร่ืองหมายเลขทะเบียน หรือป้ายประจำรถ ตามกฎหมายวา่ ด้วยรถยนต์ กฎหมายวา่ ด้วยการขนส่ง กฎหมายว่าด้วยล้อเลอ่ื น กฎหมายว่า ดว้ ยรถลาก หรือกฎหมายวา่ ด้วยรถจา้ ง มาใชใ้ นทางเดนิ รถ หมวด ๒ การใช้ไฟหรือเสยี งสัญญาณของรถ มาตรา ๑๑ ในเวลาทีม่ ีแสงสว่างไมเ่ พยี งพอทีจ่ ะมองเหน็ คน รถหรอื สิ่งกดี ขวางในทางได้โดยชดั แจ้งภายในระยะไม่นอ้ ยกว่าหน่ึงร้อยห้าสิบเมตร ผขู้ ับข่ซี ่งึ ขบั รถในทางตอ้ งเปิดไฟ หรือใชแ้ สงสว่างตามประเภท ลกั ษณะ และเงอื่ นไขทกี่ ำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๒ รถแตล่ ะชนดิ ที่ใช้ในทางเดินรถ ผ้ขู ับข่ตี อ้ งใชเ้ สียงสัญญาณโดยเฉพาะดงั ตอ่ ไปน้ี )๑( เสยี งแตร สำหรับรถยนตห์ รอื รถจกั รยานยนต์ และให้ไดย้ นิ ไดใ้ นระยะไม่น้อยกวา่ หกสิบเมตร )๒( เสียงระฆงั สำหรบั รถม้า และใหไ้ ด้ยินไดใ้ นระยะไม่น้อยกวา่ สามสิบเมตร )๓( เสียงกระด่ิง สำหรับรถจกั รยาน และใหไ้ ดย้ นิ ได้ในระยะไมน่ อ้ ยกวา่ สามสบิ เมตร ส่วนรถอื่นนอกจากท่ีกล่าวขา้ งต้น ผู้ขับขต่ี อ้ งใช้เสยี งสัญญาณตามทผ่ี ู้บญั ชาการตำรวจแห่งชาติ กำหนดโดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา [คำว่า “ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ” แก้ไขเพิ่มเตมิ โดยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติจราจร ทางบก )ฉบบั ที่ ๑๑( พ.ศ. ๒๕๕๙] มาตรา ๑๔ การใช้เสยี งสญั ญาณ ผขู้ บั ข่จี ะใชไ้ ด้เฉพาะเมือ่ จำเปน็ หรอื ป้องกันอุบัติเหตุเท่านั้น แตจ่ ะใชเ้ สียงยาวหรือซ้ำเกนิ ควรไมไ่ ด้

44 การใชเ้ สียงสัญญาณของรถ หรอื การกำหนดเงื่อนไขในการใช้เสียงสญั ญาณในเขตหรือท้องท่ีใด ใหผ้ ู้บัญชาการตำรวจแห่งชาตกิ ำหนดโดย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา [คำว่า “ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ” แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติจราจร ทางบก (ฉบบั ท่ี 11) พ.ศ. 2559] มาตรา ๑๕ รถที่บรรทุกของยื่นเกินความยาวของตัวรถ ขณะที่อยู่ในทางเดินรถ และในเวลา ต้องเปิดไฟตามมาตรา ๑๑ หรือมาตรา ๖๑ ผู้ขับขี่ต้องจุดไฟสัญญาณแสงแดง หรือในเวลากลางวนั ตอ้ งติดธงสี แดงไว้ที่ตอนปลายสดุ ของสิ่งทีบ่ รรทกุ น้ัน โดยจุดไฟสัญญาณหรือตดิ ธงไว้ให้มองเห็นได้ในระยะไมน่ อ้ ยกว่าหนงึ่ ร้อยหา้ สิบเมตร ไฟสัญญาณแสงแดงหรือธงสีแดงตามวรรคหนึ่ง จะใช้ชนิด ลักษณะ หรือจำนวนเท่าใด ให้ผบู้ ัญชาการตำรวจแหง่ ชาตกิ ำหนดโดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา [คำว่า “ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ” แก้ไขเพิ่มเตมิ โดยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติจราจร ทางบก (ฉบบั ที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๙] มาตรา ๑๖ ผู้ขับขี่ซึ่งขับรถบรรทุกของเหลวไวไฟที่มีจุดวาบไฟในอุณหภูมิยี่สิบเอ็ดองศา เซลเซียส หรือต่ำกว่าน้ัน หรือที่บรรจกุ ๊าซไวไฟ ต้องปฏิบัติตามมาตรา ๑๕ และมาตรา ๕๖ แต่ไฟสัญญาณท่ใี ช้ น้นั ต้องมิใชเ่ ป็นชนดิ ท่ีใช้เชื้อเพลงิ มาตรา ๑๗ ผู้ขับขี่ซึ่งขับรถที่ใช้บรรทุกวัตถุระเบิด หรือวัตถุอันตรายชนิดอื่นใด ต้องจัดให้มี ปา้ ยแสดงถึงวตั ถทุ ีบ่ รรทุกและเครื่องดบั เพลงิ และตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามเงื่อนไขในการปอ้ งกันอนั ตราย ลักษณะและวิธีการติดป้ายแสดงถึงวัตถุที่บรรทุกและเครื่องดับเพลิงตลอดจนเงื่อนไข ในการป้องกันอนั ตราย ใหเ้ ป็นไปตามทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง หมวด ๓ การบรรทุก มาตรา ๑๘[๖] รถที่ใช้บรรทุกคน สัตว์ หรือสงิ่ ของ จะใช้บรรทกุ ในลกั ษณะใดโดยรถชนิดหรือ ประเภทใด ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๙ ในกรณีที่มีความจำเป็นจะต้องบรรทุกคน สัตว์ หรือสิ่งของนอกเหนือไปจาก หลักเกณฑ์และวธิ ีการท่ีกำหนดในกฎกระทรวง เมื่อเจ้าของรถร้องขอเจ้าพนักงานจราจรจะผ่อนผันโดยอนุญาต เปน็ หนังสอื เปน็ การช่วั คราวเฉพาะรายกไ็ ด้ มาตรา ๒๐ ผู้ขับขี่ซึ่งขับรถบรรทุกคน สัตว์ หรือสิ่งของ ต้องจัดให้มีสิ่งป้องกันมิให้ คน สัตว์ หรือส่งิ ของท่บี รรทุกตกหลน่ ร่ัวไหล สง่ กลิน่ ส่องแสงสะท้อน หรือปลิวไปจากรถ อันอาจก่อเหตเุ ดือดร้อนรำคาญ ทำให้ทางสกปรกเปรอะเป้ือน ทำใหเ้ ส่อื มเสียสขุ ภาพอนามัยแก่ประชาชน หรอื ก่อใหเ้ กิดอันตรายแก่บุคคลหรือ ทรพั ยส์ นิ ลักษณะ ๒ สัญญาณจราจรและเครอ่ื งหมายจราจร มาตรา ๒๑ ผ้ขู ับขีต่ ้องปฏิบัตใิ ห้ถกู ต้องตามสัญญาณจราจรและเครือ่ งหมายจราจรที่ไดต้ ิดต้ังไว้ หรือทำให้ปรากฏในทาง หรือทพี่ นกั งานเจ้าหนา้ ท่แี สดงใหท้ ราบ

45 สัญญาณจราจร เครอื่ งหมายจราจร และความหมายของสัญญาณจราจรและเคร่ืองหมายจราจร ให้ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา และให้มีรูปตัวอย่างแสดงไว้ ในประกาศด้วย [คำว่า “ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ” แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติจราจร ทางบก )ฉบับที่ ๑๑( พ.ศ. ๒๕๕๙] มาตรา ๒๒ ผู้ขับขี่ต้องปฏิบัตติ ามสัญญาณจราจรหรือเครือ่ งหมายจราจรที่ปรากฏขา้ งหนา้ ใน กรณตี ่อไปนี้ )๑( สัญญาณจราจรไฟสีเหลืองอำพัน ให้ผู้ขับขี่เตรียมหยุดรถหลังเส้นให้รถหยุดเพื่อเตรียม ปฏบิ ตั ติ ามสญั ญาณทจี่ ะปรากฏตอ่ ไปดงั กลา่ วใน )๒( เวน้ แต่ผูข้ ับขท่ี ่ีไดเ้ ลยเส้นให้รถหยดุ ไปแล้วใหเ้ ลยไปได้ )๒( สัญญาณจราจรไฟสีแดงหรือเครื่องหมายจราจรสีแดงที่มีคำว่า “หยุด” ให้ผู้ขับขี่หยุดรถ หลงั เสน้ ใหร้ ถหยุด )๓( สญั ญาณจราจรไฟสเี ขยี วหรือเครือ่ งหมายจราจรสเี ขียวทมี่ ีคำวา่ “ไป” ให้ผ้ขู บั ข่ีขับรถตอ่ ไป ได้ เว้นแต่จะมีเครอื่ งหมายจราจรกำหนดไว้เป็นอยา่ งอ่ืน (๔) สัญญาณจราจรไฟลกู ศรสีเขยี วชใี้ ห้เลี้ยวหรอื ชใ้ี หต้ รงไป หรือสัญญาณจราจรไฟสีแดงแสดง พร้อมกับสัญญาณจราจรไฟลูกศรสีเขียวชี้ให้เลี้ยวหรือชี้ให้ตรงไป ให้ผู้ขับขี่เลี้ยวรถหรือขับรถตรงไปได้ตาม ทิศทางที่ลูกศรชี้ และต้องขับรถด้วยความระมัดระวัง และต้องให้สิทธิแก่คนเดินเท้าในทางข้ามหรือรถที่มา ทางขวากอ่ น (๕) สัญญาณจราจรไฟกระพริบสีแดง ถ้าติดตั้งอยู่ที่ทางร่วมทางแยกใดเปิดทางด้านใดให้ ผู้ขับขี่ที่มาทางด้านนั้นหยุดรถหลังเส้นให้รถหยุด เมื่อเห็นว่าปลอดภัยและไม่เป็นการกีดขวางการจราจรแล้ว จึงให้ขบั รถตอ่ ไปไดด้ ว้ ยความระมัดระวัง (๖) สัญญาณจราจรไฟกระพริบสีเหลืองอำพัน ถ้าติดตั้งอยู่ ณ ที่ใด ให้ผู้ขับขี่ลดความเร็ว ของรถลงและผ่านทางเดินรถน้ันไปด้วยความระมดั ระวัง ผู้ขับขี่ซึ่งจะขับรถตรงไปต้องเข้าอยู่ในช่องเดินรถที่มีเครื่องหมายจราจรแสดงให้ตรงไป ส่วนผู้ขับขี่ซึ่งจะเลี้ยวรถต้องเข้าอยูใ่ นช่องเดินรถที่มีเครื่องหมายจราจรแสดงให้เลี้ยว การเข้าอยู่ในช่องเดินรถ ดังกลา่ วจะต้องเขา้ ต้งั แตเ่ ริ่มมีเคร่อื งหมายจราจรแสดงใหป้ ฏบิ ตั ิเช่นนัน้ มาตรา ๒๓ ผู้ขับขี่ซึ่งขับรถในทางเดินรถที่มีสัญญาณจราจรไฟสีเขียวหรือไฟสีแดงติดตั้งไว้ เหนอื ช่องเดินรถ มากกวา่ สองชอ่ งขน้ึ ไปต้องปฏบิ ตั ิดงั ตอ่ ไปนี้ )๑( สัญญาณจราจรไฟสีแดงท่ที ำเป็นรปู กากบาทเฉียงอยูเ่ หนือชอ่ งเดนิ รถใด ห้ามมิให้ผู้ขับขี่ขับ รถในช่องเดินรถนั้น (๒) สญั ญาณจราจรไฟสีเขยี วท่ีทำเป็นรูปลูกศรอยู่เหนือชอ่ งเดนิ รถใด ให้ผขู้ บั ขี่ซ่ึงขับรถในช่อง เดินรถนนั้ ขับรถผา่ นไปได้ มาตรา ๒๔ ผ้ขู บั ขต่ี อ้ งปฏิบตั ติ ามสัญญาณจราจรทีพ่ นกั งานเจ้าหน้าท่ีแสดงใหป้ รากฏข้างหน้า ในกรณีต่อไปนี้ (๑) เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ยืน และเหยียดแขนซ้ายออกไปเสมอระดับไหล่ ผู้ขับขี่ซึ่งขับรถ มาทางด้านหลังของพนักงานเจ้าหน้าที่ต้องหยุดรถ แต่ถ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ลดแขนข้างที่เหยียดออกไปนั้นลง และโบกมือไปขา้ งหน้า ใหผ้ ูข้ บั ข่ีซ่งึ หยดุ รถอยูท่ างด้านหลังขบั รถผ่านไปได้ (๒) เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่ยืน และเหยียดแขนข้างใดข้างหนึ่งออกไปเสมอระดับไหล่และ ตั้งฝ่ามือขึ้น ผู้ขับขี่ซึ่งขับรถมาทางด้านที่เหยียดแขนขา้ งนั้นของพนกั งานเจ้าหน้าที่ต้องหยุดรถ แต่ถ้าพนักงาน เจ้าหน้าทพ่ี ลกิ ฝ่ามอื ทีต่ ั้งอย่นู ั้น แลว้ โบกผา่ นศีรษะไปทางดา้ นหลงั ให้ผูข้ บั ขซ่ี ่งึ หยุดรถอยู่น้ันขับรถผ่านไปได้

46 (๓) เมื่อพนกั งานเจ้าหน้าที่ยืน และเหยียดแขนทั้งสองข้างออกไปเสมอระดับไหล่และตั้งฝ่ามือ ขนึ้ ผ้ขู บั ขซี่ งึ่ ขบั รถมาทางด้านทีเ่ หยยี ดแขนทง้ั สองขา้ งของพนกั งานเจ้าหน้าทต่ี อ้ งหยดุ รถ (๔) เมือ่ พนกั งานเจา้ หนา้ ทยี่ ืน และยกแขนขวาท่อนล่างต้ังฉากกับแขนท่อนบนและต้ังฝ่ามือขึ้น ผู้ขับขี่ซึ่งขับรถมาทางด้านหน้าของพนักงานเจ้าหน้าที่ต้องหยุดรถ แต่ถ้าพนักงานเจ้าหน้าที่พลิกฝ่ามือ ทตี่ ้งั อยู่นัน้ โบกไปด้านหลัง ใหผ้ ูข้ ับขี่ซง่ึ หยดุ รถอยู่ทางด้านหนา้ ของพนกั งานเจ้าหน้าทีข่ บั รถผา่ นไปได้ (๕) เมื่อพนกั งานเจ้าหนา้ ท่ยี ืน และยกแขนขวาทอ่ นล่างตงั้ ฉากกับแขนท่อนบนและตั้งฝ่ามือขึ้น ส่วนแขนซ้ายเหยยี ดออกไปเสมอระดับไหล่ ผู้ขับขี่ซึ่งขับรถมาทางด้านหน้าและด้านหลังของพนักงานเจา้ หนา้ ท่ี ต้องหยดุ รถ การหยุดรถตามมาตรานี้ ให้หยุดหลังเส้นให้รถหยุด ในกรณีที่ทางเดินรถใดไมม่ ีเส้นให้รถหยดุ ใหผ้ ขู้ ับข่ีหยุดรถห่างจากพนกั งานเจ้าหน้าทใ่ี นระยะไม่น้อยกว่าสามเมตร การแสดงสัญญาณจราจรของพนักงานเจา้ หน้าที่ตามมาตราน้ี พนักงานเจา้ หน้าท่ีจะใช้ไฟฉาย เรืองแสงหรืออปุ กรณเ์ รืองแสงอื่นดว้ ยก็ได้ มาตรา ๒๕ ผู้ขับขี่ต้องปฏิบัติตามสัญญาณจราจรที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้แสดงด้วยเสียง สญั ญาณนกหวีดในกรณีต่อไปนี้ )๑( เม่ือพนักงานเจ้าหนา้ ท่ใี ช้เสยี งสญั ญาณนกหวดี ยาวหนงึ่ ครั้ง ให้ผู้ขบั ขี่หยุดรถทันที )๒( เม่ือพนกั งานเจ้าหนา้ ท่ใี ช้เสียงสญั ญาณนกหวีดส้ันสองครัง้ ติดตอ่ กัน ให้ผู้ขับขี่ขับรถผ่านไป ได้ มาตรา ๒๖ ในทางเดินรถที่มีสัญญาณจราจรหรือเครื่องหมายจราจรตามมาตรา ๒๒ หรือ สัญญาณจราจรตามมาตรา ๒๓ ถ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ควบคุมการจราจรในทางเดินรถนั้น เห็นสมควร เพื่อความปลอดภัยหรือความสะดวกในการจราจร จะให้สัญญาณจราจรเป็นอย่างอื่นก็ได้ ในกรณีเช่นนี้ ใหผ้ ู้ขับข่ปี ฏบิ ตั ิการเดนิ รถตามสญั ญาณท่ีพนกั งานเจ้าหน้าท่กี ำหนดให้ มาตรา ๒๗ สัญญาณจราจรหรือเครื่องหมายจราจรตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติน้ี เมื่อมีเหตุอันสมควร ให้ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติมีอำนาจแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้โดยประกาศใน ราชกจิ จานุเบกษา [คำว่า “ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ” แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติจราจร ทางบก )ฉบับท่ี ๑๑( พ.ศ. ๒๕๕๙] มาตรา ๒๘ หา้ มมิให้ผูใ้ ดนอกจากพนักงานเจ้าหนา้ ท่ีหรอื เจา้ พนกั งาน ทำ ตดิ ต้งั หรือทำให้ ปรากฏซ่งึ สัญญาณจราจร หรือเครอื่ งหมายจราจรในทางที่ผู้บญั ชาการตำรวจแหง่ ชาติกำหนดตามมาตรา ๒๑ [คำว่า “ผู้บญั ชาการตำรวจแห่งชาต”ิ แกไ้ ขเพิ่มเตมิ โดยมาตรา ๔ แห่งพระราชบญั ญัติจราจร ทางบก )ฉบับท่ี ๑๑( พ.ศ. ๒๕๕๙] มาตรา ๒๙ ห้ามมิให้ผู้ใดทำให้เสียหาย ทำลาย ซ่อนเร้น เปลี่ยนแปลง เคลื่อนย้าย ขีดเขียน หรือทำให้ไร้ประโยชน์ซึ่งสัญญาณจราจรหรือเครื่องหมายจราจรที่พนักงานเจ้าหน้าที่หรือเจ้าพนักงานติด ตั้งไว้ หรอื ทำให้ปรากฏในทาง มาตรา ๓๐ สัญญาณจราจรหรือเครื่องหมายจราจรที่ทำ ติดตั้ง หรือทำให้ปรากฏในทาง โดยฝ่าฝืนมาตรา ๒๘ หรือมาตรา ๒๙ เจ้าพนักงานจราจรมีอำนาจยึด รื้อถอน ทำลาย หรือทำให้สิ้นไป ซึง่ สญั ญาณจราจรหรอื เครอ่ื งหมายจราจรนน้ั ได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook