Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือฝึกอบรมลุกเสือ เนตรนารี-จราจร

คู่มือฝึกอบรมลุกเสือ เนตรนารี-จราจร

Published by DaiNo Scout, 2021-08-04 23:07:04

Description: คู่มือฝึกอบรมลุกเสือ เนตรนารี จราจร2564

Search

Read the Text Version

47 ลักษณะ ๓ การใชท้ างเดินรถ หมวด ๑ การขบั รถ มาตรา ๓๒ ในการใช้ทางเดินรถผู้ขบั ขีต่ ้องใช้ความระมัดระวังไม่ใหร้ ถชนหรือโดนคนเดินเท้า ไม่ว่าจะอยู่ ณ ส่วนใดของทาง และต้องให้สัญญาณเตือนคนเดินเท้าให้รู้ตัวเมื่อจำเป็น โดยเฉพาะอย่างย่ิง เดก็ คนชราหรือคนพิการทีก่ ำลังใช้ทาง ผ้ขู บั ขีต่ ้องใช้ความระมัดระวงั เปน็ พิเศษในการควบคมุ รถของตน มาตรา ๓๓ ในการขับรถ ผู้ขับขี่ต้องขับรถในทางเดินรถด้านซ้ายและต้องไม่ล้ำกึ่งกลางของ ทางเดนิ รถ เว้นแตใ่ นกรณีต่อไปนี้ ใหเ้ ดนิ ทางขวาหรือลำ้ ก่งึ กลางของทางเดนิ รถได้ )๑( ด้านซา้ ยของทางเดินรถมสี ิ่งกดี ขวางหรอื ถกู ปิดการจราจร )๒( ทางเดนิ รถนน้ั เจา้ พนักงานจราจรกำหนดใหเ้ ป็นทางเดินรถทางเดียว )๓( ทางเดนิ รถน้ันกว้างไมถ่ ึงหกเมตร มาตรา ๓๕ รถทม่ี คี วามเรว็ ช้าหรือรถที่มีความเร็วต่ำกว่าความเรว็ ของรถคนั อื่นท่ีขับในทิศทาง เดยี วกนั ผู้ขบั ข่ตี ้องขับรถใหใ้ กลข้ อบทางเดนิ รถด้านซ้ายเทา่ ท่ีจะกระทำได้ ผู้ขับขี่รถบรรทุก รถบรรทุกคนโดยสาร รถจักรยานยนต์ในทางเดินรถซึ่งได้แบ่งช่องเดินรถ ในทิศทางเดียวกันไว้ตั้งแต่สองช่องขึ้นไป หรือได้จัดช่องเดินรถประจำทางด้านซ้ายไว้โดยเฉพาะ ต้องขับรถ ในชอ่ งเดินรถดา้ นซา้ ยสดุ หรือใกล้เคียงกับช่องเดนิ รถประจำทาง แล้วแตก่ รณี ความในวรรคสองมิให้ใช้บังคับแก่รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลที่มีน้ำหนักไมเ่ กินหนึ่งพันหกร้อย กิโลกรมั และรถยนตน์ ั่งสว่ นบุคคลเกนิ เจด็ คน ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ มาตรา ๓๘ การให้ไฟสัญญาณของผขู้ ับขี่รถยนตห์ รือรถจักรยานยนตใ์ หป้ ฏิบัติ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) เมอ่ื จะหยดุ รถ ผขู้ ับขีต่ อ้ งให้ไฟสญั ญาณสแี ดงที่ทา้ ยรถ (๒) เมื่อจะเลี้ยวรถ เปลี่ยนช่องเดินรถ หรือแซงขึ้นหน้ารถคันอื่น ผู้ขับขี่ต้องให้สัญญาณ ยกเลี้ยวสีเหลืองอำพัน หรือให้ไฟสัญญาณกระพริบสีขาวหรือสีเหลืองอำพันที่ติดอยู่หน้ารถหรือข้างรถ และไฟสัญญาณกระพริบสีแดงหรือสีเหลืองอำพันที่ติดอยู่ท้ายรถไปในทิศทางที่จะเลี้ยว เปลี่ยนช่องเดินรถ หรือแซงข้ึนหน้ารถคนั อื่น (๓) เมื่อจะให้รถคันอื่นแซงขึ้นหน้า ผู้ขับขี่ต้องให้ไฟสัญญาณยกเลี้ยวสีเหลืองอำพัน หรือให้ ไฟสัญญาณกระพริบสแี ดงหรือสีเหลอื งอำพันท่ตี ิดอยูท่ า้ ยรถทางดา้ นซ้ายของรถ มาตรา ๔๐ ผู้ขับขี่ต้องขับรถใหห้ ่างรถคันหน้าพอสมควรในระยะท่ีจะหยุดรถได้โดยปลอดภัย ในเม่ือจำเป็นตอ้ งหยุดรถ ผู้ขับขี่ซึ่งขับรถขึ้นสะพานหรือทางลาดชันต้องใช้ความระมัดระวังไม่ให้รถถอยหลังไป โดนรถคันอน่ื มาตรา ๔๑ ทางเดินรถใดที่มีเคร่ืองหมายจราจรให้เป็นทางเดินรถทางเดียว ให้ผู้ขับข่ีขับรถไป ตามทศิ ทางทีไ่ ดก้ ำหนดไว้ มาตรา ๔๓ ห้ามมใิ ห้ผูข้ ับขี่ขับรถ )๑( ในขณะหยอ่ นความสามารถในอันท่จี ะขบั )๒( ในขณะเมาสรุ าหรอื ของเมาอยา่ งอ่ืน )๓( ในลกั ษณะกีดขวางการจราจร )๔( โดยประมาทหรอื น่าหวาดเสยี ว อันอาจเกดิ อันตรายแกบ่ ุคคลหรือทรัพย์สนิ

48 )๕( ในลักษณะที่ผิดปกติวิสัยของการขับรถตามธรรมดา หรือไม่อาจแลเห็นทางด้านหน้า หรือด้านหลัง ดา้ นใดดา้ นหน่ึงหรอื ท้ังสองด้านไดพ้ อแก่ความปลอดภัย )๖( คร่อมหรือทับเส้นหรือแนวแบ่งช่องเดินรถ เว้นแต่เมื่อเปลี่ยนช่องเดินรถ เลี้ยวรถ หรอื กลบั รถ )๗( บนทางเท้าโดยไม่มีเหตุอันสมควร เว้นแตร่ ถลากเขน็ สำหรับทารก คนปว่ ยหรอื คนพกิ าร )๘( โดยไมค่ ำนงึ ถงึ ความปลอดภยั หรือความเดือดรอ้ นของผอู้ นื่ )๙( ในขณะใชโ้ ทรศัพท์เคลอื่ นท่ี เวน้ แต่การใชโ้ ทรศพั ทเ์ คลือ่ นท่โี ดยใช้อุปกรณ์เสรมิ สำหรับการ สนทนาโดยผขู้ ับขีไ่ มต่ ้องถือหรอื จับโทรศัพทเ์ คลื่อนทน่ี ้ัน มาตรา ๔๓ ทวิ หา้ มมิให้ผขู้ บั ขี่เสพยาเสพติดใหโ้ ทษตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ หรือ เสพวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ทั้งนี้ ตามที่ผู้ บัญชาการตำรวจแห่งชาตกิ ำหนดโดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา ให้เจ้าพนักงานจราจร พนักงานสอบสวน พนักงานเจ้าหน้าท่ี หรือผู้ตรวจการมอี ำนาจจัดใหม้ ี การตรวจสอบผขู้ ับขี่รถบางประเภทตามท่ผี ู้บญั ชาการตำรวจแห่งชาติกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษาว่า ได้เสพยาเสพติดให้โทษหรือเสพวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทตามวรรคหนึ่งหรือไม่ และหากผลการ ตรวจสอบในเบือ้ งตน้ ปรากฏว่าผู้ขับขีน่ ัน้ ไม่ไดเ้ สพก็ให้ผขู้ บั ขน่ี ้นั ขับรถต่อไปได้ ในกรณีที่ผู้ขับขี่ตามวรรคสองไม่ยอมให้ตรวจสอบ ให้เจ้าพนักงานจราจร พนักงานสอบสวน พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือผู้ตรวจการมีอำนาจกักตัวผู้นั้นไว้ เพื่อดำเนินการตรวจสอบได้ภายในระยะเวลาเท่าท่ี จำเป็นแห่งกรณีเพื่อให้การตรวจสอบเสร็จสิ้นไปโดยเร็ว และเมื่อผู้น้ันยอมรับการตรวจสอบแล้ว หากผลการ ตรวจสอบในเบอ้ื งตน้ ปรากฏว่าไม่ได้เสพ ก็ใหป้ ล่อยตวั ไปทันที การตรวจสอบตามมาตรานี้ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง [คำว่า “ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ” แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติจราจร ทางบก (ฉบับท่ี ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๙] มาตรา ๔๓ ตรี ในกรณีมเี หตอุ ันควรเชอื่ วา่ ผ้ขู บั ขี่ผู้ใดฝา่ ฝนื มาตรา ๔๓ (๑) หรอื (๒) ผ้ตู รวจการ มีอำนาจส่งั ให้ผู้นัน้ หยุดรถและสัง่ ใหม้ กี ารทดสอบตามมาตรา ๑๔๒ ดว้ ย มาตรา ๔๓ จัตวา ในกรณีที่ผู้ตรวจการพบว่าผู้ขับขี่ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๔๓ (๑) หรือ (๒) หรือ มาตรา ๔๓ ทวิ วรรคหนึ่ง ให้ผู้ตรวจการส่งตัวผู้นั้นพร้อมพยานหลักฐานในเบื้องต้นแก่พนักงานสอบสวน ผูม้ อี ำนาจโดยเรว็ แตต่ อ้ งไม่เกนิ หกช่วั โมงนับแตเ่ วลาที่พบการกระทำความผิดดังกลา่ ว เพอ่ื ดำเนินคดีตอ่ ไป มาตรา ๔๓ เบญจ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรา ๔๓ ทวิ และมาตรา ๔๓ ตรี ให้ผู้ตรวจการ แสดงบัตรประจำตัวของตนซึ่งออกตามกฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบกหรือกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ต่อผู้ซ่ึง เก่ียวขอ้ ง หมวด ๒ การขับแซงและผา่ นขึ้นหน้า มาตรา ๔๔ ผู้ขับขี่ซึ่งประสงค์จะขับรถแซงเพื่อขึ้นหน้ารถอื่นในทางเดินรถ ซึ่งไม่ได้ แบง่ ช่องทางเดนิ รถไว้ ตอ้ งให้สญั ญาณโดยกระพริบไฟหน้าหลายครั้ง หรือให้ไฟสัญญาณยกเลี้ยวขวา หรือให้เสยี ง สัญญาณดังพอที่จะให้ผู้ขบั ขี่ซึง่ ขับรถคนั หน้าให้สญั ญาณตอบตามมาตรา ๓๗ )๓( หรือมาตรา ๓๘ )๓( และเมื่อ เห็นวา่ ไม่เปน็ การกดี ขวางรถอน่ื ที่กำลังแซงแลว้ จึงจะแซงข้นึ หน้าได้

49 การแซงต้องแซงด้านขวาโดยมีระยะห่างจากรถที่ถูกแซงพอสมควร เมื่อเห็นว่าได้ขับผ่านข้ึน หน้ารถทีถ่ กู แซงไปในระยะท่หี ่างเพียงพอแลว้ จงึ จะขับชดิ ด้านซา้ ยของทางเดินรถได้ มาตรา ๔๕ หา้ มมใิ หผ้ ู้ขบั ข่ีขับรถแซงเพอื่ ขน้ึ หนา้ รถอน่ื ด้านซา้ ย เวน้ แตใ่ นกรณีต่อไปน้ี )๑( รถท่ีจะถูกแซงกำลังเล้ยี วขวาหรอื ใหส้ ัญญาณว่าจะเลี้ยวขวา )๒( ทางเดนิ รถนน้ั ไดจ้ ัดแบ่งเป็นช่องเดนิ รถในทศิ ทางเดียวกันไวต้ ง้ั แตส่ องชอ่ งขน้ึ ไป การขับรถแซงด้านซ้ายตาม )๑( หรือ )๒( จะกระทำได้เมือ่ ไมม่ ีรถอื่นตามมาในระยะกระชั้นชิด และมคี วามปลอดภัยพอ มาตรา ๔๖ ห้ามมใิ ห้ผู้ขับขีข่ ับรถแซงเพ่อื ขึ้นหน้ารถอื่นในกรณีต่อไปนี้ )๑( เมอ่ื รถกำลังขนึ้ ทางชัน ขึ้นสะพาน หรอื อยู่ในทางโคง้ เวน้ แต่จะมีเคร่ืองหมายจราจรให้แซง ได้ )๒( ภายในระยะสามสบิ เมตรกอ่ นถงึ ทางข้าม ทางร่วมทางแยก วงเวยี นหรือเกาะทีส่ รา้ งไว้ หรอื ทางเดินรถที่ตัดขา้ มทางรถไฟ )๓( เมอื่ มหี มอก ฝน ฝ่นุ หรอื ควัน จนทำใหไ้ ม่อาจเห็นทางข้างหนา้ ได้ในระยะหกสบิ เมตร )๔( เม่ือเข้าที่คับขันหรอื เขตปลอดภัย มาตรา ๔๗ ห้ามมิให้ผู้ขับขี่ขับรถแซงหรือผ่านขึ้นหน้ารถอื่นล้ำเข้าไปในเส้นกึ่งกลางของ ทางเดินรถที่กำหนดไว้ หรือที่มีเครื่องหมายจราจรแสดงเขตอันตราย หรือเขตให้ใชค้ วามระมัดระวังบนทางเดิน รถ ในกรณีทที่ างเดนิ รถด้านซา้ ยมสี ่ิงกีดขวางท่ีเปน็ อุปสรรคแก่การจราจรและทางเดนิ รถด้านขวามี ความกว้างเพียงพอ ผู้ขับขี่จะขับรถหลกี สิ่งกีดขวางล้ำเข้าไปในเส้นก่ึงกลางของทางเดินรถทีเ่ จ้าพนักงานจราจร กำหนดไว้ก็ได้ ในเมือ่ ไมก่ ีดขวางการจราจรของรถท่สี วนทางมา มาตรา ๔๘ ห้ามมิใหผ้ ู้ขับขี่ขับรถแซงหรือผา่ นขึน้ หน้ารถคนั อื่นล้ำเข้าไปในช่องเดินรถประจำ ทาง เว้นแต่ในกรณีที่มีสิ่งกีดขวางการจราจรในทางเดินรถข้างหน้าหรือเมื่อต้องปฏิบัติตามคำสั่งของ เจา้ พนกั งานจราจร แตท่ ้ังนจี้ ะขบั รถอย่ใู นชอ่ งเดนิ รถประจำทางได้เพยี งเทา่ ทจ่ี ำเป็นเทา่ นัน้ มาตรา ๔๙ เมื่อได้รับสัญญาณขอแซงขึ้นหน้าจากรถคันที่อยู่ข้างหลัง ผู้ขับขี่ซึ่งขับรถที่มี ความเรว็ ช้าหรอื รถทีใ่ ช้ความเร็วตำ่ กว่าความเร็วของรถอืน่ ท่ีขบั ไปในทิศทางเดียวกัน ต้องยอมใหร้ ถท่ใี ช้ความเร็ว สงู กว่าผา่ นขึ้นหน้า ผ้ขู บั ข่ีทถ่ี กู ขอทางตอ้ งให้สญั ญาณตอบตามมาตรา ๓๗ (๓) หรือ มาตรา ๓๘ (๓) เมื่อเห็นว่า ทางเดินรถข้างหน้าปลอดภัยและไมม่ ีรถอื่นสวนทางมาในระยะกระช้นั ชิด และต้องลดความเร็วของรถและขับรถ ชิดดา้ นซา้ ยของทางเดินรถเพ่อื ใหร้ ถที่จะแซงผา่ นขน้ึ หนา้ ไดโ้ ดยปลอดภยั หมวด ๓ การออกรถ การเลี้ยวรถและการกลับรถ มาตรา ๕๐ การขับรถออกจากที่จอด ถ้ามีรถจอดหรือมสี ิ่งกีดขวางอยูข่ ้างหน้า ผู้ขับขี่ต้องให้ สญั ญาณดว้ ยมอื และแขนตามมาตรา ๓๗ หรือไฟสัญญาณตามมาตรา ๓๘ และจะขบั รถไปไดเ้ มอื่ เห็นวา่ ปลอดภัย และไมเ่ ปน็ การกีดขวางการจราจรของรถอื่น มาตรา ๕๑ การเลี้ยวรถ ใหป้ ฏิบตั ิดงั น้ี )๑( ถ้าจะเลี้ยวซ้าย )ก( ในกรณีทีไ่ ม่ได้แบง่ ชอ่ งเดนิ รถไว้ ให้ผู้ขับขี่ขบั รถชดิ ทางเดนิ รถด้านซา้ ย

50 )ข( ในกรณีที่มีการแบ่งช่องเดินรถไว้ และมีเครื่องหมายจราจรแสดงให้เลี้ยวซ้ายได้ ใหผ้ ู้ขับขขี่ ับรถในช่องเดนิ รถสำหรบั รถท่ีจะเลย้ี วซ้าย ทั้งน้ี กอ่ นถึงทางเลยี้ วไม่น้อยกวา่ สามสิบเมตร )ค( ในกรณีทมี่ ชี ่องเดินรถประจำทางอยู่ทางเดินรถดา้ นซ้ายสดุ ให้ผ้ขู ับข่ีขับรถชิดช่องเดิน รถประจำทางก่อนถึงทางเลี้ยวไม่น้อยกว่าสามสิบเมตร และจะเลี้ยวรถผ่านเข้าไปในช่องเดินรถประจำทางได้ เฉพาะในบรเิ วณทม่ี ีเครื่องหมายจราจรให้เล้ียวรถผ่านได้เทา่ นน้ั )๒( ถา้ จะเลย้ี วขวา )ก( สำหรับทางเดินรถที่ไม่ได้แบ่งช่องเดินรถไว้ ให้ผู้ขับขี่ขับรถชิดทางด้านขวาของแนว กงึ่ กลางของทางเดินรถกอ่ นถึงทางเล้ยี วไมน่ ้อยกว่าสามสิบเมตร )ข( สำหรับทางเดินรถที่ได้แบ่งช่องเดินรถในทิศทางเดียวกันไว้ตั้งแต่สองช่องขึ้นไป ให้ผู้ขับขี่ขับรถชิดทางด้านขวาสุดของทางเดินรถหรือในช่องที่มีเครื่องหมายจราจรแสดงให้เลี้ยวขวาได้ ทั้งนี้ กอ่ นถึงทางเลีย้ วไม่น้อยกวา่ สามสิบเมตร )ค( ในกรณีทีม่ ีช่องเดินรถประจำทางอยู่ทางเดินรถดา้ นขวาสุด ให้ผู้ขับข่ีขับรถชดิ ช่องเดนิ รถประจำทางก่อนถึงทางเลี้ยวไม่น้อยกว่าสามสิบเมตร และจะเลี้ยวรถผ่านเข้าไปในช่องเดินรถประจำทางได้ เฉพาะในบรเิ วณที่มีเครอ่ื งหมายจราจรให้เลี้ยวรถผ่านได้เทา่ นั้น )ง( สำหรับทางเดินรถที่มีเจ้าพนักงานจราจรหรือพนักงานเจ้าหน้าที่แสดงสัญญาณจราจร ด้วยมอื และแขน ให้ผู้ขบั ขขี่ บั รถเลยี้ วขวาผา่ นไปไดโ้ ดยไม่ต้องอ้อมเจา้ พนกั งานจราจรหรอื พนักงานเจ้าหนา้ ที่ )จ( เมื่อรถอยู่ในทางร่วมทางแยก ผู้ขับขี่ต้องให้รถที่สวนมาในทางเดินรถทางเดียวกันผ่าน ทางร่วมทางแยกไปกอ่ น เมื่อเห็นวา่ ปลอดภยั แลว้ จงึ ให้เลยี้ วขวาไปได้ )๓( ถ้าจะเลย้ี วออ้ มวงเวียนหรือเกาะที่สร้างไว้ ใหผ้ ู้ขับขีข่ ับรถอ้อมไปทางซ้ายของวงเวียนหรือ เกาะนั้น ในกรณีตาม )๑( และ )๒( ผ้ขู ับขี่ต้องใช้ความระมดั ระวงั และตอ้ งหยุดใหท้ างแกผ่ ทู้ ่กี ำลงั ขา้ มทางและรถที่กำลังผ่านทางรว่ มทางแยกจากทางด้านอน่ื ก่อน เวน้ แตใ่ นกรณที ่ีมรี ถเลี้ยวซ้ายและเลยี้ วขวา พร้อมกัน ใหร้ ถเลย้ี วซ้ายให้ทางแกร่ ถเล้ียวขวากอ่ น มาตรา ๕๒ ในทางเดินรถที่สวนกันได้ ห้ามมิให้ผู้ขับขี่กลับรถหรือเลี้ยวรถทางขวาในเมื่อมี รถอื่นสวนหรือตามมาในระยะน้อยกว่าหนึ่งร้อยเมตร เว้นแต่เมื่อเห็นว่าปลอดภัยและไม่เป็นการกีดขวาง การจราจรของรถอ่นื มาตรา ๕๓ หา้ มมใิ ห้ผู้ขับข่ี )๑( เลยี้ วรถหรอื กลับรถในทางเดนิ รถท่มี เี ครอ่ื งหมายห้ามเลีย้ วขวา หา้ มเล้ียวซ้าย หรอื หา้ มกลบั รถ )๒( กลบั รถทีเ่ ขตปลอดภัย ท่คี บั ขัน บนสะพาน หรอื ในระยะหนึ่งรอ้ ยเมตรจากทางราบของเชิง สะพาน )๓( กลบั รถทีท่ างรว่ มทางแยก เว้นแต่จะมีเครอ่ื งหมายจราจรใหก้ ลับรถในบริเวณดงั กลา่ วได้

51 หมวด ๔ การหยดุ รถและจอดรถ มาตรา ๕๕ ห้ามมใิ ห้ผ้ขู ับขี่หยุดรถ )๑( ในช่องเดินรถ เว้นแต่หยุดชิดขอบทางด้านซ้ายของทางเดินรถในกรณีที่ไม่มีช่องเดินรถ ประจำทาง )๒( บนทางเท้า )๓( บนสะพานหรอื ในอโุ มงค์ )๔( ในทางรว่ มทางแยก )๕( ในเขตท่ีมีเครื่องหมายจราจรหา้ มหยุดรถ )๖( ตรงปากทางเข้าออกของอาคารหรือทางเดนิ รถ )๗( ในเขตปลอดภยั )๘( ในลกั ษณะกดี ขวางการจราจร ความในวรรคหนึ่งมิให้ใช้บังคับแก่ผู้ขับขี่ซึ่งจำเป็นต้องหยุดรถเพราะมีสิ่งกีดขวางอยู่ ในทางเดินรถ หรือเครื่องยนต์หรือเครื่องอุปกรณ์ของรถขัดข้องหรือในกรณีที่ปฏิบัติตามสัญญาณจราจร หรอื เครอ่ื งหมายจราจร มาตรา ๕๖ ในกรณที ่เี ครอื่ งยนต์หรอื เคร่ืองอุปกรณ์ของรถขัดข้องจนต้องจอดรถในทางเดินรถ ผู้ขบั ข่ีต้องนำรถใหพ้ น้ ทางเดินรถโดยเรว็ ทีส่ ุด ในกรณีตามวรรคหนึง่ ถ้าจำเป็นต้องจอดรถอยู่ในทางเดินรถ ผู้ขับขี่ต้องจอดรถในลักษณะทีไ่ ม่ กีดขวางการจราจร และต้องแสดงเครื่องหมายหรือสัญญาณตามลกั ษณะและเงอื่ นไขทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๕๗ เว้นแต่จะได้มีบทบัญญัติ กฎ หรือข้อบังคับตามพระราชบัญญัตินี้กำหนดไว้เป็น อย่างอนื่ หา้ มมิให้ผูข้ ับขจี่ อดรถ )๑( บนทางเท้า )๒( บนสะพานหรอื ในอุโมงค์ )๓( ในทางรว่ มทางแยก หรอื ในระยะสิบเมตรจากทางร่วมทางแยก )๔( ในทางข้าม หรอื ในระยะสามเมตรจากทางข้าม )๕( ในเขตทม่ี เี ครอ่ื งหมายจราจรหา้ มจอดรถ )๖( ในระยะสามเมตรจากทอ่ น้ำดบั เพลงิ )๗( ในระยะสิบเมตรจากท่ีตดิ ตงั้ สญั ญาณจราจร )๘( ในระยะสิบหา้ เมตรจากทางรถไฟผา่ น )๙( ซ้อนกันกบั รถอ่นื ทจ่ี อดอยู่ก่อนแล้ว )๑๐( ตรงปากทางเขา้ ออกของอาคารหรือทางเดนิ รถ หรอื ในระยะห้าเมตรจากปากทางเดินรถ )๑๑( ระหว่างเขตปลอดภัยกับขอบทาง หรือในระยะสิบเมตรนับจากปลายสุดของ เขตปลอดภัยทงั้ สองข้าง )๑๒( ในทีค่ ับขัน )๑๓( ในระยะสิบห้าเมตรก่อนถึงเครื่องหมายหยุดรถประจำทางและเลยเครื่องหมายไปอีก สามเมตร )๑๔( ในระยะสามเมตรจากต้ไู ปรษณีย์ )๑๕( ในลกั ษณะกีดขวางการจราจร

52 มาตรา ๕๘ การจอดรถในทางเดินรถที่ผู้ขับขี่ไม่อาจอยู่ควบคุมรถนั้น ผู้ขับขี่ต้องหยุด เคร่ืองยนต์และห้ามลอ้ รถนัน้ ไว้ การจอดรถในทางเดินรถที่เป็นทางลาดหรอื ชนั ผู้ขับข่ีตอ้ งหันลอ้ หน้าของรถเข้าขอบทาง มาตรา ๕๙ เจา้ พนักงานจราจรหรอื พนกั งานเจา้ หนา้ ท่ีมีอำนาจสัง่ ใหผ้ ขู้ ับขีเ่ คล่ือนย้ายรถที่หยุด หรอื จอดอยู่อนั เป็นการฝา่ ฝนื บทแหง่ พระราชบัญญตั นิ ้ีได้ เจ้าพนักงานจราจร หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากเจ้าพนักงานจราจร หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ภายใต้การควบคุมดูแลของบุคคลดังกล่าว มีอำนาจเคลื่อนย้ายรถที่หยุดหรือจอดอยู่ อันเป็นการฝ่าฝืนบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัตินี้ หรือใช้เครื่องมือบังคับไม่ให้เคลื่อนย้ายรถดังกล่าวได้ตาม หลักเกณฑ์และวิธีการท่ีผ้บู ญั ชาการตำรวจแหง่ ชาตกิ ำหนด การเคลื่อนย้ายรถหรอื ใช้เคร่ืองมือบังคับให้รถที่หยุดหรือจอดอยู่ไมใ่ ห้เคลื่อนย้ายได้ตามวรรค สองเจ้าพนักงานจราจร หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากเจ้าพนักงานจราจรหรือพนักงาน เจา้ หนา้ ที่ ไม่ต้องรับผิดสำหรบั ความเสียหายใด ๆ ท่ีเกิดขนึ้ จากการปฏิบตั ิตามมาตราน้ี เวน้ แตค่ วามเสียหายนั้น จะเกดิ ขน้ึ จากการกระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ เจ้าของรถหรือผู้ขับขี่ต้องชำระค่าใช้จ่ายในการที่รถถูกเคลื่อนย้ายหรือการใช้เครื่องมือบังคับ ไมใ่ ห้เคลอื่ นยา้ ย ตลอดจนคา่ ดูแลรักษารถระหวา่ งท่อี ยู่ในความครอบครองของเจ้าพนักงานจราจรหรือพนักงาน เจ้าหน้าที่ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากเจ้าพนักงานจราจรหรือพนกั งานเจ้าหนา้ ท่ี ทั้งนี้ ตามอัตราที่กำหนดใน กฎกระทรวง เงินที่ได้จากเจ้าของรถหรือผู้ขับขี่ซึ่งชำระตามวรรคสี่ เป็นรายได้ที่ไม่ต้องนำส่ง กระทรวงการคลัง และให้นำมาเป็นค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติการตามมาตรานี้ตามระเบียบที่ผู้บัญชาการตำรวจ แห่งชาตกิ ำหนด ในกรณีที่เจ้าของรถหรือผู้ขับขี่ไม่ชำระค่าใช้จ่ายและค่าดูแลรักษาตามวรรคสี่ เจ้าพนักงาน จราจรหรือพนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจยึดหน่วงรถนั้นไว้ได้จนกว่าจะได้รับชำระค่าใช้จ่ายและค่าดูแลรักษา ดังกล่าว โดยในระหว่างที่ยึดหน่วงนั้นให้คำนวณค่าดูแลรักษาเป็นรายวัน ถ้าพ้นกำหนดสามเดือนแล้ว เจ้าของรถหรอื ผขู้ บั ข่ยี งั ไมช่ ำระค่าใชจ้ ่ายและคา่ ดูแลรกั ษาดังกลา่ ว ให้เจ้าพนกั งานจราจรหรอื พนกั งานเจ้าหน้าที่ มีอำนาจนำรถนั้นออกขายทอดตลาดได้ เงินที่ได้จากการขายทอดตลาด เมื่อได้หักค่าใช้จ่าย ในการขายทอดตลาด ค่าใช้จ่ายและค่าดูแลรักษาที่ค้างชำระแล้ว เหลือเงินเท่าใดให้คืนแก่เจ้าของหรือผู้มีสิทธิ ท่ีแท้จรงิ ตอ่ ไป [คำว่า “ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ” แก้ไขเพิ่มเตมิ โดยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติจราจร ทางบก )ฉบบั ท่ี ๑๑( พ.ศ. ๒๕๕๙] มาตรา ๖๐ การหยุดรถหรือการจอดรถในทางเดินรถนอกเขตเทศบาล ผู้ขับขต่ี ้องหยุดรถหรือ จอดรถ ณ ทซี่ ่งึ ผขู้ บั ข่ีซ่งึ ขับรถอื่นจะเหน็ ได้ในระยะไมน่ ้อยกว่าหนงึ่ ร้อยหา้ สิบเมตร มาตรา ๖๑ ในเวลาที่มีแสงสว่างไม่เพียงพอที่ผู้ขับขี่จะมองเห็นรถที่จอดในทางเดินรถได้ โดยชัดแจ้งในระยะไม่น้อยกว่าหนึ่งร้อยห้าสิบเมตร ผู้ขับขี่ซึ่งจอดรถในทางเดินรถหรื อไหล่ทางต้องเปิดไฟ หรือใช้แสงสว่างตามประเภท ลักษณะ และเงื่อนไขท่ีกำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๖๒ ในทางเดนิ รถตอนใดที่มีทางรถไฟผา่ น ถา้ ปรากฏว่า )๑( มีเคร่อื งหมายหรือสญั ญาณระวังรถไฟแสดงว่ารถไฟกำลังจะผา่ น )๒( มีส่ิงปดิ กัน้ หรือมีเจ้าหนา้ ท่ีให้สัญญาณแสดงว่ารถไฟกำลังจะผ่าน )๓( มีเสียงสัญญาณของรถไฟหรือรถไฟกำลังแล่นผ่านเข้ามาใกล้อาจเกิดอันตรายในเม่ือ จะขบั รถผ่านไป

53 ผู้ขับขี่ต้องลดความเร็วของรถและหยุดรถให้ห่างจากทางรถไฟไม่น้อยกว่าห้าเมตร เมื่อรถไฟ ผา่ นไปแลว้ และมีเครอื่ งหมายหรอื สัญญาณใหร้ ถผ่านได้ ผู้ขับขจ่ี ึงจะขบั รถผ่านไปได้ มาตรา ๖๓ ในทางเดนิ รถตอนใดทม่ี ีทางรถไฟผ่านไมว่ ่าจะมีเครอ่ื งหมายระวงั รถไฟหรอื ไม่ ถ้า ทางรถไฟนั้นไม่มีสัญญาณระวังรถไฟหรือสิ่งปิดกั้น ผู้ขับขี่ต้องลดความเร็วของรถและหยุดรถห่ างจาก ทางรถไฟในระยะไมน่ ้อยกว่าหา้ เมตร เม่ือเห็นว่าปลอดภัยแล้วจงึ จะขับรถผา่ นไปได้ มาตรา ๖๔ ในขณะที่ผู้ขับขี่รถโรงเรียนหยุดรถในทางเดินรถเพื่อรับส่งนักเรียนขึ้นหรือลง ใหผ้ ูข้ บั ขีซ่ ึ่งขับรถอน่ื ตามมาในทิศทางเดียวกนั หรือสวนกันกบั รถโรงเรยี นใช้ความระมัดระวังและลดความเร็วของ รถ เมอ่ื เหน็ ว่าปลอดภยั จึงให้ขบั รถผา่ นไปได้ ลักษณะ ๕ ข้อกำหนดเก่ยี วกับความเร็วของรถ มาตรา ๖๗ ผู้ขับขี่ต้องขับรถด้วยอัตราความเร็วตามที่กำหนดในกฎกระทรวงหรือ ตามเคร่ืองหมายจราจรทีไ่ ด้ตดิ ตง้ั ไว้ในทาง เครื่องหมายจราจรที่ติดตั้งไว้ตามวรรคหนึ่ง จะกำหนดอัตราความเร็วขั้นสูงหรือขั้นต่ำก็ได้ แตต่ ้องไมเ่ กินอัตราความเร็วทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๖๘ ผู้ขับขี่ซึ่งจะเลีย้ วรถ ให้รถอื่นแซงหรือผ่านขึ้นหน้า จอดรถ หยุดรถ หรือกลับรถ ต้องลดความเรว็ ของรถ มาตรา ๖๙ ผู้ขับขี่ซึ่งขับรถในทางเดินรถบนเนินเขา บนสะพาน ที่เชิงสะพาน ที่แคบ ทางโค้ง ทางลาด ที่คับขัน หรือที่มีหมอก ฝน ฝุ่น หรือควัน จนทำให้ไม่อาจเห็นทางข้างหน้าได้ในระยะหกสิบ เมตร ตอ้ งลดความเรว็ ของรถในลักษณะทจ่ี ะใหเ้ กดิ ความปลอดภัย มาตรา ๗๐ ผขู้ บั ขีซ่ ง่ึ ขับรถเข้าใกลท้ างร่วมทางแยก ทางข้าม เส้นให้รถหยดุ หรอื วงเวยี น ตอ้ ง ลดความเร็วของรถ ลกั ษณะ ๑๐ รถจกั รยาน มาตรา ๗๙ ทางใดทไ่ี ดจ้ ัดทำไวส้ ำหรับรถจักรยาน ผูข้ บั ขรี่ ถจักรยานตอ้ งขับในทางน้นั มาตรา ๘๐ รถจักรยานที่ใช้ในทางเดินรถ ไหล่ทาง หรือทางที่จัดทำไว้สำหรับรถจักรยาน ผู้ขบั ขีร่ ถจกั รยานตอ้ งจดั ใหม้ ี )๑( กระด่ิงท่ใี หเ้ สยี งสัญญาณได้ยนิ ไดใ้ นระยะไมน่ อ้ ยกวา่ สามสบิ เมตร )๒( เครื่องหา้ มลอ้ ท่ใี ช้การไดด้ ี เมอื่ ใชส้ ามารถทำใหร้ ถจักรยานหยดุ ไดท้ นั ที )๓( โคมไฟติดหน้ารถจักรยานแสงขาวไม่น้อยกว่าหนึ่งดวงที่ให้แสงไฟส่องตรงไปข้างหน้า เห็นพ้นื ทางไดช้ ดั เจนในระยะไม่น้อยกว่าสบิ ห้าเมตร และอยใู่ นระดับต่ำกว่าสายตาของผู้ขับขี่ซึง่ ขบั รถสวนมา )๔( โคมไฟติดท้ายรถจักรยานแสงแดงไม่นอ้ ยกวา่ หนงึ่ ดวงท่ีใหแ้ สงสวา่ งตรงไปข้างหลังหรือติด วตั ถสุ ะทอ้ นแสงสีแดงแทน ซงึ่ เม่ือถูกไฟสอ่ งให้มแี สงสะทอ้ น มาตรา ๘๑ ในเวลาต้องเปิดไฟตามมาตรา ๑๑ หรือมาตรา ๖๑ ผู้ขับขี่รถจักรยานอยู่ใน ทางเดินรถ ไหล่ทาง หรือทางที่จัดทำไว้สำหรับรถจักรยานต้องจุดโคมไฟแสงขาวหน้ารถเพื่อให้ผู้ขับขี่หรือ คนเดนิ เทา้ ซงึ่ ขบั รถหรอื เดนิ สวนมาสามารถมองเหน็ รถ

54 มาตรา ๘๒ ผู้ขบั ขรี่ ถจักรยานต้องขบั ให้ชิดขอบทางด้านซ้ายของทางเดนิ รถ ไหล่ทาง หรือทางที่ จัดทำไวส้ ำหรับรถจกั รยานใหม้ ากท่สี ดุ เท่าทีจ่ ะทำได้ แตใ่ นกรณที ี่มชี ่องเดนิ รถประจำทางดา้ นซ้ายสดุ ของทางเดิน รถต้องขบั ขรี่ ถจกั รยานใหช้ ดิ ช่องเดินรถประจำทางนั้น มาตรา ๘๓ ในทางเดินรถ ไหล่ทาง หรือทางที่จัดทำไว้สำหรับรถจักรยาน ห้ามมิให้ผู้ขับข่ี รถจักรยาน )๑( ขบั โดยประมาทหรอื น่าหวาดเสียวอันอาจเกิดอันตรายแก่บุคคลหรือทรัพยส์ นิ )๒( ขบั โดยไมจ่ ับคันบังคบั รถ )๓( ขบั ขนานกันเกนิ สองคัน เว้นแตข่ ับในทางท่ีจัดไวส้ ำหรบั รถจักรยาน )๔( ขบั โดยน่งั บนท่อี ืน่ อนั มใิ ช่อานท่จี ดั ไว้เป็นที่นง่ั ตามปกติ )๕( ขับโดยบรรทุกบุคคลอื่น เว้นแต่รถจักรยานสามล้อสำหรับบรรทุกคน ทั้งนี้ ตามเงื่อนไขที่ เจา้ พนักงานจราจรกำหนด )๖( บรรทุกหรอื ถอื สงิ่ ของ หีบหอ่ หรอื ของใด ๆ ในลักษณะทีเ่ ป็นการกีดขวางการจับคันบังคับ รถหรืออนั อาจจะเกิดอันตรายแก่บุคคลหรอื ทรพั ย์สิน )๗( เกาะหรือพว่ งรถอน่ื ท่กี ำลงั แล่นอยู่ ลักษณะ ๑๑ รถบรรทุกคนโดยสาร มาตรา ๘๕ ห้ามมิให้เจ้าของรถบรรทกุ คนโดยสารหรอื ผู้ขับขี่รถบรรทกุ คนโดยสารรับบรรทุก ศพหรือคนที่เป็นโรคเรื้อนหรอื โรคติดต่อที่ต้องแจ้งความตามกฎหมายวา่ ด้วยโรคติดต่อรว่ มไปกับคนโดยสารอืน่ เว้นแต่ )๑( ในกรณีที่รถบรรทุกคนโดยสารนั้นไม่ใช้บรรทุกคนโดยสารอื่น จะบรรทุกคนที่เป็น โรคเรือ้ นหรือโรคตดิ ต่อที่ต้องแจง้ ความตามกฎหมายวา่ ดว้ ยโรคติดต่อกไ็ ด้ )๒( ในกรณีท่รี ถบรรทุกคนโดยสารนัน้ ไม่ใช้บรรทุกคนโดยสารอน่ื จะบรรทุกศพร่วมไปกับญาติ หรือผ้มู หี น้าทเี่ กยี่ วข้องกบั ศพน้นั กไ็ ด้ มาตรา ๘๖ ห้ามมิให้เจ้าของรถบรรทุกคนโดยสาร ผู้ขับขี่รถบรรทุกคนโดยสาร ผู้เก็บ ค่าโดยสาร หรือบุคคลใดที่มีส่วนได้เสียเกี่ยวกับรถบรรทุกคนโดยสาร เรียกให้คนขึ้นรถโดยส่งเสียงอื้ออึง หรอื ในลักษณะทก่ี ่อความรำคาญให้แก่คนโดยสารหรือผูอ้ ื่น หรอื ต้อน ดึง เหนี่ยว หรอื ยึดยื้อ คนหรือสิ่งของของ คนนน้ั เพ่ือใหค้ นขึ้นรถบรรทุกคนโดยสารคันใดคันหนึ่ง มาตรา ๘๗ ห้ามมิให้เจ้าของรถบรรทุกคนโดยสาร ผู้ขับขี่รถบรรทุกคนโดยสาร หรือผู้เก็บ คา่ โดยสาร ปฏิเสธไมร่ บั จ้างบรรทุกคนโดยสารโดยไม่มเี หตอุ ันสมควร มาตรา ๘๘ ผู้ขับขี่รถบรรทุกคนโดยสารต้องหยุดรถและส่งคนโดยสารที่เครื่องหมายหยุดรถ ประจำทางหรอื ณ สถานที่ตามท่ตี กลงกันไว้ แลว้ แต่กรณี มาตรา ๘๙ ห้ามมิให้ผขู้ ับขี่รถบรรทุกคนโดยสารหรอื ผเู้ ก็บค่าโดยสารรับบรรทกุ คนโดยสารเกิน จำนวนทก่ี ฎหมายกำหนด ในการนบั จำนวนคนโดยสารให้ถอื ว่าเด็กอายุไม่เกินสบิ ปจี ำนวนสองคนเทา่ กบั คนโดยสารหน่ึง คน มาตรา ๙๐ ห้ามมใิ ห้ผูข้ ับขีร่ ถบรรทกุ คนโดยสาร )๑( ขบั รถเทยี่ วเรห่ าคนขึน้ รถ

55 )๒( จอดรถเปน็ คันหวั แถวของรถคันอ่นื ห่างจากเครอื่ งหมายจราจรเกนิ หนึ่งเมตร )๓( จอดรถห่างจากท้ายรถคนั หนา้ เกินหนึง่ เมตร มาตรา ๙๑ ห้ามมใิ ห้ผ้ขู บั ขรี่ ถบรรทุกคนโดยสารหรือผเู้ กบ็ ค่าโดยสาร )๑( สบู บหุ รห่ี รอื คุยกันในขณะขบั รถหรอื ในขณะทำหน้าท่เี ก็บค่าโดยสาร )๒( กล่าววาจาไม่สุภาพ เสียดสี ดูหมิ่น ก้าวร้าว หรือแสดงกิริยาในลักษณะดังกล่าว ต่อคนโดยสารหรอื ผู้อืน่ มาตรา ๙๒ เมื่อจะเติมน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดไวไฟที่มีจุดวาบไฟในอุณหภูมิยี่สิบเอ็ดองศา เซลเซียส หรือต่ำกว่านั้น ผู้ขับขี่รถบรรทุกคนโดยสารต้องหยุดเครื่องยนต์และต้องให้คนโดยสารลงจากรถ ทุกคนด้วย ลกั ษณะ ๑๒ รถแทก็ ซ่ี มาตรา ๙๓ ห้ามมใิ ห้ผู้ขบั ขีร่ ถแทก็ ซี่ปฏิเสธไม่รับจ้างบรรทกุ คนโดยสาร เวน้ แตก่ ารบรรทุกนั้น น่าจะก่อใหเ้ กดิ อันตรายแกต่ นหรอื แกค่ นโดยสาร ในกรณีทีผ่ ู้ขับขีร่ ถแท็กซี่มีความประสงค์จะไม่รบั จา้ งบรรทุกคนโดยสารให้แสดงป้ายงดรับจ้าง บรรทกุ คนโดยสาร วิธีการแสดงป้ายและลักษณะของป้ายงดรับจ้างบรรทุกคนโดยสารให้เป็นไปตามกฎหมายว่า ดว้ ยรถยนต์ มาตรา ๙๔ ห้ามมิให้ผู้ขับขี่รถแท็กซี่รับบรรทุกคนโดยสารเกินจำนวนที่ได้กำหนดไว้ ในใบอนญุ าตตามกฎหมายวา่ ดว้ ยรถยนต์ ในการนับจำนวนคนโดยสารให้ถือว่าเด็กอายุไมเ่ กินสบิ ปจี ำนวนสองคนเทา่ กบั คนโดยสารหนงึ่ คน มาตรา ๙๕ ห้ามมใิ หผ้ ้ใู ด )๑( เรียกให้คนขึ้นรถแท็กซี่โดยส่งเสียงอื้ออึงหรือในลักษณะที่ก่อความรำคาญให้แก่ คนโดยสารหรือผู้อ่ืน )๒( ตอ้ น ดงึ เหนย่ี ว หรอื ยึดย้อื คนหรอื ส่งิ ของของคนนั้น เพื่อใหค้ นขน้ึ รถแท็กซี่คันใดคันหน่งึ มาตรา ๙๖ ห้ามมิใหผ้ ูข้ ับขีร่ ถแท็กซ่ีเรียกเก็บค่าโดยสารเกินอัตราทป่ี รากฏจากมาตรแทก็ ซี่ ลกั ษณะและวิธกี ารใช้มาตรแทก็ ซีใ่ ห้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๙๗ คนโดยสารต้องชำระคา่ โดยสารตามอัตราที่ปรากฏจากมาตรแทก็ ซี่ มาตรา ๙๘ บทบญั ญตั ิมาตรา ๙๖ และมาตรา ๙๗ จะใช้บังคบั ในท้องทีใ่ ด และจะใช้บังคับกับ รถแทก็ ซีท่ ุกประเภทหรือบางประเภทโดยมีเง่อื นไขอย่างใด ให้เปน็ ไปตามท่ีกำหนดในพระราชกฤษฎกี า ในท้องที่ใดที่มิได้มีพระราชกฤษฎกี าตามวรรคหนึ่งใช้บังคับ ห้ามมิให้ผู้ขับขี่รถแทก็ ซี่ในท้องท่ี นั้นเรียกเกบ็ คา่ โดยสารเกินราคาท่ีตกลงกนั ไว้กับคนโดยสาร และคนโดยสารต้องชำระค่าโดยสารตามที่ตกลงไว้ น้นั บทบัญญัติในวรรคสองให้ใช้บังคับแก่กรณีของรถแท็กซี่ประเภทที่มิได้กำหนดไว้ในพระราช - กฤษฎีกาตามวรรคหนง่ึ ด้วย มาตรา ๙๙ ในขณะขับรถ หา้ มมิให้ผขู้ บั ขี่รถแท็กซี่

56 )๑( สูบบุหรี่ เปิดวิทยุ หรือกระทำด้วยประการใด ๆ ในลักษณะที่ก่อความรำคาญให้แก่ คนโดยสาร )๒( ยื่นมือ แขน หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายออกนอกรถ เว้นแต่เป็นการกระทำเพื่อให้ สัญญาณตามมาตรา ๓๗ )๓( จบั คันบังคับรถด้วยมือเพียงขา้ งเดยี ว เว้นแต่มีเหตจุ ำเปน็ )๔( ใช้เสยี งสญั ญาณเม่อื เข้าไปในบริเวณโรงพยาบาล สถานทที่ ำงาน หรือสถานศกึ ษา )๕( ใช้เสียงสัญญาณแตรเพอ่ื เรง่ รถอน่ื )๖( แซงหรอื ตัดหนา้ รถอื่นในลักษณะฉวดั เฉวียนเป็นที่น่าหวาดเกรงว่าจะเกิดอนั ตราย )๗( ขับรถเข้าในบริเวณบ้านของผอู้ ่ืน )๘( รับคนโดยสารภายในบริเวณที่เจ้าพนักงานจราจรได้กำหนดเครื่องหมายจราจรห้ามรับ คนโดยสาร )๙( กล่าววาจาไม่สุภาพ เสียดสี ดูหมิ่น ก้าวร้าว หรือแสดงกริยาในลักษณะดังกล่าวต่อ คนโดยสารหรอื ผ้อู ื่น มาตรา ๑๐๐ ผู้ขับข่รี ถแทก็ ซีต่ ้องพาคนโดยสารไปยงั สถานที่ทว่ี า่ จา้ งตามเสน้ ทางทส่ี ั้นท่ีสุดหรือ เส้นทางทีไ่ มอ่ อ้ มเกนิ ควร และตอ้ งสง่ คนโดยสาร ณ สถานที่ตามท่ตี กลงกนั ไว้ ห้ามมิให้ผู้ขบั ขี่รถแท็กซี่พาคนโดยสารไปทอดทงิ้ ระหว่างทางไมว่ า่ ด้วยประการใด ๆ มาตรา ๑๐๑ ผู้ขับขี่รถแท็กซี่ต้องแต่งกายและมีเครื่องหมายเย็บติดหรือปักไว้ที่เครื่อง แต่งกาย ลักษณะเครื่องแต่งกายและเครื่องหมายให้เป็นไปตามที่ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติประกาศ กำหนดในราชกจิ จานุเบกษา ความในวรรคหนึ่งให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดหกสิบวันนับแต่วันที่ประกาศของผู้บัญชาการ ตำรวจแห่งชาติใช้บังคบั [คำว่า “ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ” แก้ไขเพิ่มเตมิ โดยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติจราจร ทางบก )ฉบบั ที่ ๑๑( พ.ศ. ๒๕๕๙] มาตรา ๑๐๒ เมื่อรัฐมนตรีเห็นสมควร ให้ผู้ประกอบการรับจ้างบรรทุกคนโดยสารโดย ใชร้ ถแท็กซใ่ี นทอ้ งทใี่ ดตอ้ งจอดพักรถ ณ สถานทที่ ีใ่ ดเปน็ การเฉพาะกใ็ หก้ ระทำไดโ้ ดยตราเปน็ พระราช-กฤษฎกี า ในพระราชกฤษฎกี าดังกลา่ ว ให้ระบุทอ้ งท่ี และวธิ กี ารเกี่ยวกบั การจัดใหม้ ที ่จี อดพกั รถดว้ ย ลกั ษณะ ๑๓ คนเดินเท้า มาตรา ๑๐๓ ทางใดที่มีทางเท้าหรือไหล่ทางอยู่ข้างทางเดินรถ ให้คนเดินเท้าเดินบนทางเท้า หรือไหลท่ าง ถา้ ทางน้ันไมม่ ีทางเทา้ อยูข่ า้ งทางเดินรถใหเ้ ดินรมิ ทางด้านขวาของตน มาตรา ๑๐๔ ภายในระยะไม่เกินหนึ่งร้อยเมตรนับจากทางข้าม ห้ามมิให้คนเดินเท้าข้ามทาง นอกทางข้าม มาตรา ๑๐๕ คนเดนิ เทา้ ซึ่งประสงค์จะข้ามทางเดินรถในทางขา้ มท่มี ไี ฟสัญญาณจราจรควบคุม คนเดินเทา้ ให้ปฏบิ ัติตามไฟสญั ญาณจราจรทป่ี รากฏต่อหน้าดังตอ่ ไปนี้

57 )๑( เมื่อมีสัญญาณจราจรไฟสีแดง ไม่ว่าจะมีรูปหรอื ข้อความเป็นการห้ามมิให้คนเดินเท้าข้าม ทางเดินรถด้วยหรือไม่ก็ตาม ให้คนเดินเท้าหยุดรออยู่บนทางเท้า บนเกาะแบ่งทางเดินรถหรือในเขตปลอดภัย เว้นแต่ทางใดที่ไมม่ ที างเทา้ ให้หยุดรอบนไหล่ทางหรอื ขอบทาง )๒( เมือ่ มสี ัญญาณจราจรไฟสีเขียว ไมว่ ่าจะมรี ปู หรอื ขอ้ ความเป็นการอนญุ าตให้คนเดินเท้าข้าม ทางเดินรถด้วยหรือไมก่ ต็ าม ใหค้ นเดินเท้าข้ามทางเดินรถได้ )๓( เมื่อมีสัญญาณจราจรไฟสีเขียวกระพริบทางด้านใดของทาง ให้คนเดินเท้าที่ยังมิได้ข้าม ทางเดินรถหยุดรอบนทางเท้า บนเกาะแบ่งทางเดินรถหรือในเขตปลอดภัย แต่ถ้ากำลังข้ามทางเดินรถ ให้ข้าม ทางเดนิ รถโดยเรว็ มาตรา ๑๐๖ คนเดินเท้าซึ่งประสงค์จะข้ามทางเดินรถในทางข้ามหรือทางร่วมทางแยกที่มี สญั ญาณจราจรควบคมุ การใชท้ างให้ปฏิบตั ิดังต่อไปนี้ )๑( เมื่อมีสัญญาณจราจรไฟสีแดงให้รถหยุดทางด้านใดของทาง ให้คนเดินเท้าข้ามทางเดินรถ ตามท่ีรถหยุดน้ัน และต้องข้ามทางเดินรถภายในทางข้าม )๒( เมื่อมีสัญญาณจราจรไฟสีเขียวให้รถผ่านทางด้านใดของทาง ห้ามมิให้คนเดินเท้าข้าม ทางเดินรถดา้ นน้ัน )๓( เมอื่ มีสญั ญาณจราจรไฟสีเหลอื งอำพันหรือไฟสเี ขยี วกระพริบทางด้านใดของทาง ใหค้ นเดิน เท้าที่ยังมิได้ข้ามทางเดินรถหยุดรอบนทางเท้าบนเกาะแบ่งทางเดินรถ หรือในเขตปลอดภัย แต่ถ้ากำลังข้าม ทางเดนิ รถอย่ใู นทางขา้ ม ใหข้ า้ มทางเดินรถโดยเรว็ มาตรา ๑๐๗ คนเดินเท้าซึ่งประสงค์จะข้ามทางเดินรถในทางที่มีพนักงานเจ้าหน้าที่แสดง สญั ญาณจราจรใหป้ รากฏไมว่ ่าจะเปน็ สญั ญาณด้วยมือและแขน หรอื เสยี งสัญญาณนกหวีด ให้ปฏิบัติตามมาตรา ๑๐๖ โดยอนุโลม มาตรา ๑๐๘ ห้ามมใิ ห้ผูใ้ ดเดนิ แถว เดินเป็นขบวนแห่ หรอื เดนิ เปน็ ขบวนใด ๆ ในลกั ษณะท่ีเป็น การกีดขวางการจราจร เวน้ แต่ )๑( เป็นแถวทหารหรอื ตำรวจ ท่มี ผี ้คู วบคุมตามระเบยี บแบบแผน )๒( แถวหรอื ขบวนแห่หรือขบวนใด ๆ ทีเ่ จ้าพนกั งานจราจรไดอ้ นญุ าตและปฏบิ ัตติ ามเงื่อนไขที่ เจา้ พนักงานจราจรกำหนด มาตรา ๑๐๙ ห้ามมิให้ผู้ใดกระทำด้วยประการใด ๆ บนทางเท้าหรือทางใด ๆ ซึ่งจัดไว้สำหรบั คนเดนิ เท้าในลกั ษณะทเี่ ปน็ การกดี ขวางผูอ้ ื่นโดยไม่มเี หตอุ ันสมควร มาตรา ๑๑๐ หา้ มมใิ ห้ผใู้ ดซ้ือ ขาย แจกจ่าย หรือเรีย่ ไรในทางเดนิ รถหรือออกไปกลางทางโดย ไมม่ ีเหตุอนั สมควรหรือเป็นการกดี ขวางการจราจร ลักษณะ ๑๗ เบด็ เตล็ด มาตรา ๑๒๐ ห้ามมิให้ผู้ขับขี่ขับรถถอยหลังในลักษณะที่ไม่ปลอดภัยหรือเป็นการกีดขวาง การจราจร มาตรา ๑๒๑ ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ต้องนั่งคร่อมบนอานที่จัดไว้สำหรับให้ผู้ขับข่ี รถจักรยานยนต์นั่ง ถ้าพนักงานเจ้าหน้าทีไ่ ด้กำหนดไว้ในใบค่มู อื จดทะเบียนให้บรรทุกคนโดยสารได้ คนโดยสาร จะต้องนงั่ ซอ้ นทา้ ยผ้ขู ับขร่ี ถจกั รยานยนต์ และนัง่ บนอานท่ีจดั ไว้สำหรับคนโดยสารหรอื น่งั ในท่นี ่ังพว่ งขา้ ง

58 มาตรา ๑๒๒ ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์และคนโดยสารรถจักรยานยนตต์ ้องสวมหมวกทีจ่ ัดทำขึ้น โดยเฉพาะเพื่อปอ้ งกนั อนั ตรายในขณะขับขีแ่ ละโดยสารรถจกั รยานยนต์ ห้ามมิให้ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ตามวรรคหนึ่งขับขี่รถจักรยานยนต์ในขณะที่คนโดยสาร รถจักรยานยนตม์ ไิ ดส้ วมหมวกที่จดั ทำข้นึ โดยเฉพาะเพื่อปอ้ งกันอนั ตราย ลักษณะและวิธีการใช้หมวกเพื่อป้องกันอันตรายตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามที่กำหนดใน กฎกระทรวง ความในวรรคหนง่ึ มใิ ห้ใช้บงั คับแกภ่ ิกษุ สามเณร นักพรต นกั บวช หรือผนู้ ับถือลัทธศิ าสนาอื่นท่ี ใช้ผา้ หรอื สิ่งอ่ืนโพกศีรษะตามประเพณีนิยมน้นั หรือบุคคลใดท่ีกำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๑๒๓ หา้ มมิใหผ้ ู้ขบั ขี่รถยนตย์ อมให้ผอู้ ืน่ นั่งท่นี ั่งตอนหนา้ แถวเดยี วกบั ทีน่ ั่งผขู้ บั ข่รี ถยนต์ เกินสองคน ผ้ขู บั ข่รี ถยนตต์ อ้ งรัดร่างกายด้วยเข็มขัดนิรภัยไว้กบั ทีน่ ่ังในขณะขับข่ีรถยนต์ และต้องจัดให้คน โดยสารรถยนตร์ ัดรา่ งกายไวก้ บั ทนี่ ่งั ด้วยเขม็ ขัดนริ ภัยขณะโดยสารรถยนต์ และคนโดยสารรถยนตด์ งั กล่าวตอ้ งรัด ร่างกายด้วยเขม็ ขัดนริ ภัยไว้กับท่ีนงั่ ในขณะโดยสารรถยนตด์ ้วย ประเภทหรอื ชนดิ ของรถยนต์ ลักษณะและวธิ ีการใช้เข็มขัดนริ ภยั ตามวรรคสอง ให้เป็นไปตามท่ี ผบู้ ัญชาการตำรวจแห่งชาตกิ ำหนด โดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา [คำว่า “ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ” แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติจราจร ทางบก (ฉบับท่ี ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๙] มาตรา ๑๒๔ ห้ามมิให้ผู้ใดกระทำด้วยประการใด ๆ อันเป็นเหตุให้ผู้ขับขี่มองไม่เห็นทางด้าน หนา้ หรือด้านข้างของรถได้โดยสะดวกในขณะขบั รถ หรอื ในลักษณะทีเ่ ปน็ การกดี ขวางการควบคุมบงั คบั รถ ห้ามมิให้ผู้ใดเกาะ ห้อยโหน หรือยื่นส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายออกไปนอกตัวถังรถยนต์ โดยไม่สมควร หรือน่ังหรอื ยนื ในหรือบนรถยนตใ์ นลกั ษณะที่อาจก่อใหเ้ กิดอันตราย ในขณะทร่ี ถยนต์เคล่ือนท่ีอยู่ ในทางเดนิ รถ ห้ามมิให้ผู้ใดขึ้นหรือลงรถโดยสารประจำทาง รถบรรทุกคนโดยสาร รถโรงเรียน หรอื รถแทก็ ซ่ี ในขณะทรี่ ถดงั กลา่ วหยุดเพอ่ื รอสัญญาณไฟจราจรหรอื หยดุ เพราะติดการจราจร ห้ามมิให้ผู้ขับขี่หรือผู้เกบ็ ค่าโดยสาร รถโดยสารประจำทาง รถบรรทุกคนโดยสาร รถโรงเรียน หรือรถแท็กซี่ ยนิ ยอมให้ผใู้ ดกระทำการใด ๆ ตามวรรคสองหรอื วรรคสาม มาตรา ๑๒๕ การขับรถผ่านทางแคบระหวา่ งภูเขาหรอื ระหว่างเนิน หรือการขับรถในทางเดนิ รถบนภูเขาหรือบนเนิน ผู้ขับขี่ต้องขบั รถให้ชิดขอบทางด้านซ้าย และเมื่อถึงทางโค้งผู้ขับขี่ต้องใช้เสียงสัญญาณ เพื่อเตอื นรถอ่นื ทีอ่ าจสวนมา

59 กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๔ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตามความในพระราชบญั ญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ----------------------------- อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แห่งพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ และมาตรา ๑๒๒ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติจราจรทางบก (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๒๒ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ออกกฎกระทรวงไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ ในกฎกระทรวงน้ี \"หมวกนิรภัย\" หมายความว่า หมวกที่จัดทำขึ้นโดยเฉพาะเพื่อป้องกันอนั ตรายในขณะขับข่ี และโดยสารรถจกั รยานยนต์ \"หมวกนิรภัยแบบปิดเต็มหน้า\" หมายความวา่ หมวกนริ ภยั ท่ีเปลือกหมวกเป็นรูปทรงกลมปิด ด้านข้าง ดา้ นหลงั ขากรรไกร และคาง ในกรณีท่มี บี ังลม บังลมต้องทำจากวสั ดโุ ปร่งใสและไมม่ สี ี \"หมวกนิรภัยแบบเต็มใบ\" หมายความว่า หมวกนิรภัยที่เปลือกหมวกเป็นรูปทรงกลม ปิดด้านข้าง และด้านหลังเสมอแนวขากรรไกรและต้นคอด้านหลัง ด้านหน้าเปิดเหนือคิ้วลงมาตลอดถึง ปลายคาง ในกรณีทม่ี บี ังลม บังลมต้องทำจากวัสดโุ ปรง่ ใสและไม่มีสี \"หมวกนริ ภัยแบบครง่ึ ใบ\" หมายความว่า หมวกนิรภัยท่ีเปลือกหมวกเปน็ รูปคร่ึงทรงกลมปิด ดา้ นข้างและด้านหลงั เสมอระดับหู ในกรณที ม่ี บี งั ลม บงั ลมตอ้ งทำจากวสั ดุโปร่งใสและไม่มีสี ข้อ ๒ หมวกนิรภัยให้ใช้ได้ ๓ แบบ คือ หมวกนิรภัยแบบปิดเต็มหน้าหมวกนิรภัยแบบ เตม็ ใบและหมวกนริ ภัยแบบครง่ึ ใบ ในกรณีทีไ่ ดม้ ีการกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอ์ ุตสาหกรรมสำหรบั หมวกนิรภัยแบบใดไว้ตาม กฎหมายว่าด้วยมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแล้ว หมวกนิรภัยที่จะใช้ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน ผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม ข้อ ๓ ในขณะขับขี่หรือโดยสารรถจักรยานยนต์ ผู้ขับขี่และคนโดยสารต้องสวมหมวกนริ ภยั โดยจะตอ้ งรดั คางดว้ ยสายรดั คางหรอื เขม็ ขัดรัดคางให้แนน่ พอท่ีจะป้องกนั มิใหห้ มวกนริ ภัยหลุดจากศีรษะได้หาก เกดิ อุบตั เิ หตุ ใหไ้ ว้ ณ วันท่ี ๓๑ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ พลตำรวจเอก เภา สารสนิ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย

60 กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๒๒) ออกตามความในพระราชบญั ญตั จิ ราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ---------------------------- อาศยั อำนาจตามความในมาตรา ๕ และมาตรา ๖๗ วรรคหนง่ึ แห่งพระราชบัญญัติจราจรทาง บก พ.ศ. ๒๕๒๒ รฐั มนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยออกกฎกระทรวงไว้ ดังตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ ในกรณปี กติ ให้กำหนดความเรว็ สำหรับรถ ดังต่อไปนี้ (๑) สำหรับรถบรรทกุ ที่มนี ้ำหนกั รถรวมทงั้ น้ำหนกั บรรทุกเกนิ ๑,๒๐๐ กิโลกรัมหรือรถบรรทุก คนโดยสาร ให้ขับในเขตกรุงเทพมหานคร เขตเมืองพัทยา หรือเขตเทศบาลไมเ่ กนิ ชั่วโมงละ ๖๐ กิโลเมตร หรือ นอกเขตดังกลา่ วให้ขบั ไม่เกินชว่ั โมงละ ๘๐ กิโลเมตร (๒) สำหรับรถยนต์อื่นนอกจากรถที่ระบุไว้ใน (๑) ขณะที่ลากจูงรถพ่วงรถยนต์บรรทุกที่มี น้ำหนักรถรวมทั้งน้ำหนักบรรทุกเกิน ๑,๒๐๐ กิโลกรัม หรือรถยนต์สามล้อให้ขับในเขตกรุงเทพมหานคร เขตเมอื งพทั ยา หรอื เขตเทศบาล ไม่เกนิ ช่ัวโมงละ ๔๕ กโิ ลเมตร หรอื นอกเขตดงั กล่าวให้ขับไม่เกินชัว่ โมงละ ๖๐ กิโลเมตร (๓) สำหรับรถยนต์อื่นนอกจากรถที่ระบุไว้ใน (๑) หรือ (๒) หรือรถจักรยานยนต์ ให้ขับในเขต กรงุ เทพมหานคร เขตเมืองพทั ยา หรอื เขตเทศบาล ไม่เกนิ ชวั่ โมงละ ๘๐ กิโลเมตร หรอื นอกเขตดังกลา่ วให้ขับไม่ เกนิ ช่วั โมงละ ๑๐๐ กโิ ลเมตร ข้อ ๒ ในเขตทางที่มีเคร่ืองหมายจราจรแสดงว่าเป็นเขตอันตรายหรือเขตให้ขบั รถช้า ๆ ให้ลด ความเร็วลงและเพ่ิมความระมดั ระวังข้นึ ตามสมควร ข้อ ๓ ในกรณีที่มีเครื่องหมายจราจรกำหนดอัตราความเร็วต่ำกว่าที่กำหนด ในข้อ ๑ ให้ขับ ไมเ่ กนิ อัตราความเร็วทีก่ ำหนดไวน้ ัน้ ข้อควรปฏบิ ตั แิ ละข้อห้าม ทางใดทจ่ี ัดทำสำหรบั รถจกั รยาน ผขู้ บั ขี่รถจกั รยานตอ้ งขับข่ใี นทางน้ัน การขับขร่ี ถจักรยานตอ้ งขับให้ชิด ขอบทางด้านซ้ายของทางเดินรถ ไหล่ทาง หรือทางสำหรับรถจักรยานให้มากที่สุด ในกรณีที่มีช่องทาง เดนิ รถ ไหล่ทาง หรือทางสำหรับรถจกั รยานให้มากทีส่ ุด ในกรณที ่มี ีช่องทางเดนิ รถประจำทางด้านซ้ายสุดต้องขับ ข่ใี หช้ ิดช่องเดนิ รถประจำทาง หา้ มผู้ขบั ข่ีรถจกั รยาน ขับในลักษณะ 1. ขบั โดยประมาทหรอื นา่ หวาดเสียว อันอาจเกิดอนั ตรายแก่บุคคลหรือทรัพยส์ นิ 2. ขบั โดยไม่จับคันบงั คบั รถ 3. ขับขนานกนั เกนิ สองคนั เว้นแต่ขับในทางทีจ่ ัดไว้สำหรบั รถจกั รยาน 4. ขบั โดยนั่งบนทอ่ี นื่ มใิ ช่อานที่จดั ไวเ้ ป็นที่นงั่ ตามปกติ 5. ขับโดยบรรทุกบุคคล 6. บรรทุกหรือถอื ส่งิ ของหบี ห่อ หรือของใด ๆ ในลกั ษณะกีดขวางการจับคนั บงั คบั รถอนั อาจเกิด อันตรายแก่บคุ คลหรือทรพั ย์สนิ 7. เกาะหรือพว่ งรถอนื่ ทกี่ ำลงั แลน่ อยู่ 8. กลับรถในเมอ่ื มีรถอืน่ สวน หรือตามมาในระยะนอ้ ยกว่าหนงึ่ รอ้ ยห้าสบิ เมตร

61 ชื่อวชิ า การเดินทางและการใช้ยานพาหนะอยา่ งปลอดภัย บทเรียนท่ี 5 เวลา 60 นาที ขอบข่ายรายวิชา ๑. หลักความปลอดภยั ในการเดนิ ทางและการใช้ยานพาหนะ 2. การใช้บริการขนส่งสาธารณะอย่างปลอดภยั จดุ หมาย เพอ่ื ใหผ้ ู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการเดินทางและการใชบ้ ริการขนส่ง สาธารณะอยา่ งปลอดภัย วัตถุประสงค์ เม่ือจบบทเรยี นน้แี ลว้ ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมควรจะสามารถ ๑. บอกวธิ ีการเดินเท้าบนถนนและการขา้ มถนนอย่างปลอดภัย ๒. ระบวุ ธิ กี ารใช้บริการขนส่งสาธารณะอย่างปลอดภยั ได้ 3. อธบิ ายหลกั ความปลอดภัยในการเดินทางและการใชย้ านพาหนะได้ 4. นำความรเู้ กย่ี วกับการใชร้ ถใช้ถนนไปใช้ในชวี ิตประจำวันได้ วธิ กี ารสอน/กิจกรรม ๑. บรรยายประกอบวดี ีทศั น์ 2. แสดงบทบาทสมมติการเดนิ เทา้ บนถนนและการข้ามถนน 3. ระดมสมองวิธีการใชบ้ ริการขนส่งสาธารณะอย่างปลอดภยั 4. รายงานผลการระดมสมองและสรปุ ประเมนิ ผล ส่ือการสอน ๑. ภาพคู่มอื กิจกรรมพิเศษยุวกาชาดและจราจร ๒. วดี ีทศั น์การใช้บรกิ ารขนส่งสาธารณะ ๓. หนงั สือรู้กฎ มวี ินยั มนี ้ำใจ ปลอดภัยแน่นอน การประเมินผล ๑. การสงั เกต ๒. การฝึกปฏบิ ัติ เอกสารอ้างอิง/แหล่งขอ้ มลู ๑. ภาพประกอบเก่ียวกับการเดินทางโดยปลอดภัย 2. เอกสารประกอบโครงการเสริมสร้างวินัยจราจรสำนักการจราจรและขนสง่ กรงุ เทพมหานคร

62 เน้ือหาวชิ า การเดนิ เท้าและโดยสารรถประจำทางโดยปลอดภยั ๑. ผูเ้ ดนิ ถนนตอ้ งระมัดระวงั เมอื่ เดนิ ในถนนทีไ่ ม่มที างเท้า ให้เดนิ ชดิ ขอบทางด้านขวามือของตนเองและ เดนิ แถวเรยี งหนึ่งเพอ่ื ให้เหน็ รถท่สี วนทางมาอยา่ งชดั เจและไม่กีดขวางทางผู้อน่ื กรณมี ีเดก็ เล็กก็ใหจ้ งู มือ ๒. การเดินข้ามถนนที่มีสัญญาณไฟจราจร ต้องปฏิบัติตามสัญญาณไฟคือ มองเห็นรูปสัญลักษณ์ คนข้ามสเี ขียวและปฏิบัตติ ามสญั ญาณไฟคนข้าม อีกทง้ั ต้องแน่ใจวา่ ผ้ขู ับขไ่ี ดห้ ยุดรถเพ่อื ใหค้ นข้ามถนนจรงิ ๆ จึง จะขา้ มไปได้ ๓. เมื่อต้องการใช้สะพานลอยตอ้ งมีสติ ไม่เล่นซุกซน ไม่หยอกล้อ จะทำให้เกดิ อันตรายอาจจะกีดขวาง การใช้ทางของผู้อน่ื และควรเดินชิดขวา

63 ๔. หากมสี ่ิงกดี ขวางทางเดินจำเปน็ ตอ้ งเดนิ ลงจากทางเท้าคนเดนิ เทา้ ต้องมองขวา มองซา้ ยให้แนใ่ จว่าไม่ มีรถ โดยต้องเดนิ อย่างระมดั ระวงั และรวดเร็ว เม่อื พน้ สง่ิ กีดขวางแลว้ ใหก้ ลบั ไปเดินบนทางเท้าเช่นเดิม ๕. การข้ามถนนที่ไม่มีทางม้าลาย ไม่ว่าถนนเล็กหรือใหญ่ต้องหยุดห่างจากขอบถนนหนึ่งก้าว ให้ยกมือขวาขึ้นเพ่ือให้ผู้ขับขี่มองเห็นว่ากำลังจะข้ามถนนแล้ว มองขวา ซ้าย และมองขวาอีกครั้งเมื่อถนนว่าง ให้เดนิ ขา้ มถนนอย่างรวดเรว็ แต่ห้ามวิ่ง ๖. การขา้ มทางรถไฟ จะต้องจงู มอื เดก็ เล็กขณะขา้ มทางรถไฟทกุ ครั้งและตอ้ งหยดุ บริเวณดา้ นหลงั เคร่ือง กันทางรถไฟ เพื่อมองขบวนรถไฟที่วิ่งมา ฟังเสียงรถไฟ เสียงสัญญาณเตือนและเสียงหวูดรถไฟ คิดว่าจะข้าม อยา่ งไร เมอื่ ไร และปฏบิ ตั ิหลังจากขบวนรถไฟวิ่งผา่ นไปโดยมองและฟังเสียงรถไฟขณะเดนิ ขา้ ม สาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตขุ องคนเดนิ เทา้ ๑. วฒุ ิภาวะ ๒. ระยะการตดั สนิ ใจ ๓. ไมร่ กู้ ฎหมาย ๔. ไมป่ ฏิบตั ิตามกฎหมาย ๕. รีบรอ้ นเกินไป ๕. ใจไม่อยูก่ ับตวั การเดนิ ถนนอยา่ งถูกตอ้ งและปลอดภยั ๑. ตอ้ งขา้ มบริเวณทางขา้ มทางมา้ ลาย สะพานลอย ๒. กอ่ นข้าม มองขวาและมองซ้าย เหน็ ว่าปลอดภัยจงึ ข้าม 3. ถนนที่มีทางขา้ มในระยะ 100 เมตร ผ้ใู ช้ถนนตอ้ งเดนิ ขา้ มถนนตรงทางขา้ ม ๕. ถนนทีม่ ที างเทา้ ตอ้ งเดนิ บนทางเท้าชิดขา้ งใน

64 ๖. หา้ มเดนิ เล่นหยอกลอ้ หรอื วิ่งเลน่ บนทางเทา้ ๗. ถา้ ไม่มที างเทา้ ใหเ้ ดินบนไหลท่ างชิดด้านใน ๘. เพอื่ ความปลอดภยั ให้เดินสวนทางกบั รถ เพราะจะได้มองเห็นรถทส่ี วนมา ๙. ตอ้ งขา้ มในขณะทไ่ี ดร้ บั สัญญาณไฟแดงให้รถหยดุ เสยี กอ่ นถึงข้าม ระวังอีกด้านหน่งึ ท่ใี ห้ไฟเขียว อาจเลย้ี วซา้ ยหรือเล้ียวขวามาได้ การโดยสารรถประจำทาง รถโดยสาร หมายความว่า รถบรรทกุ คนโดยสารตามทก่ี ำหนดไว้และเรียกเกบ็ ค่าโดยสาร เป็นรายคนตามอตั ราท่วี างไว้เปน็ ระยะทางหรอื ตลอดทาง ผเู้ กบ็ ค่าโดยสาร หมายความวา่ ผ้ซู ึง่ รบั ผดิ ชอบในการเกบ็ คา่ โดยสาร และดแู ลคนโดยสาร ท่ีอยปู่ ระจำรถบรรทุกคนโดยสาร การหยดุ หมายถงึ การหยุดรถในทางเดนิ รถ ผ้ขู ับข่ตี ้องใหส้ ญั ญาณด้วยมอื และแขน หรือไฟสัญญาณ กอ่ นในระยะไมน่ อ้ ยกว่า 30 เมตร การจอด จะตอ้ งจอดทางด้านซา้ ยมอื ของขอบทางและให้ด้านซา้ ยของรถขนานชิดขอบทางหรอื ไหล่ทางในระยะหา่ งไมเ่ กนิ 25 เซนตเิ มตร ห้ามมิให้เจา้ ของรถบรรทุกโดยสารหรอื ผขู้ ับขี่รถบรรทุกคนโดยสาร รบั บรรทุกศพ หรอื คนท่ีเป็นโรค เรือ้ นหรอื โรคตดิ ต่อร่วมไปกับคนโดยสารอนื่ หา้ มมใิ หเ้ จา้ ของผู้ขับขรี่ ถบรรทุกโดยสาร ผู้เก็บค่าโดยสาร หรอื บุคคลใดที่มีสว่ นไดส้ ว่ นเสียเรยี กให้ คนขึ้นรถโดยสง่ เสียงอ้ือองึ ก่อใหเ้ กิดความรำคาญแก่คนโดยสารหรือผู้อ่ืน ดึงเหนี่ยว หรือยดื ยื้อคน หรือสง่ิ ของ เพื่อให้คนขึน้ รถคันนน้ั หา้ มมิใหเ้ จา้ ของ ผู้ขบั ขี่ หรอื ผ้เู ก็บค่าโดยสารปฏเิ สธไมร่ บั คนโดยสารโดยไม่มีเหตุอันควร ผ้ขู ับขร่ี ถบรรทกุ คนโดยสารต้องหยุดและส่งคนโดยสารที่เครอ่ื งหมายหยดุ รถประจำทาง หา้ มมิใหผ้ ู้ขบั ขรี่ ถบรรทกุ โดยสารรับบรรทกุ ทุกคนโดยสารเกินกำหนด หา้ มมิใหผ้ ู้ขับขี่และผเู้ กบ็ ค่าโดยสารสบู บุหร่ี หรือคุยขณะปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี และกล่าววาจาไม่สภุ าพเสยี ดสี ดู หม่นิ ก้าวรา้ วหรือแสดงกริ ิยาในลักษณะดังกลา่ วต่อคนโดยสารหรือผูอ้ นื่ ผู้โดยสารตอ้ งชำระค่าขนสง่ และค่าบรกิ ารอย่างอื่นตามอตั ราที่กำหนด ผ้โู ดยสารต้องปฏบิ ตั ติ ามขอ้ กำหนดว่าด้วยความปลอดภัยและความสงบเรียบรอ้ ยตามทก่ี ำหนด ตลอดเวลาท่อี ยู่ในระหว่างการโดยสาร สำหรบั การโดยสารรถประจำทางให้ปลอดภยั ตอ้ งไปหยดุ ยนื รอรถประจำทางอย่บู นทางไหลท่ างท่ีป้าย หยุดรถประจำทาง ไม่ควรไปหยดุ ยืนรอหรือลงไปในทางเดนิ รถ เพราะจะทำให้เกะกะ กีดขวางทางเดนิ รถ หรือ อาจจะเกิดอันตรายได้ เมื่อรถประจำทางมาจอดชิดขอบทาง และหยุดสนิทแล้วจึงขึ้นรถ ถ้ามีเด็กควรจะให้เด็กขึ้นไปก่อน เมื่อมีที่น่ังควรนั่งใหเ้ รียบรอ้ ยและถ้ามีท่ีนั่งติดกับหน้าต่างไม่ควรยืน่ อวัยวะส่วนใดส่วนหนึง่ ออกไปนอกตัวถงั รถ เป็นอันขาดเพราะจะทำให้เกิดอันตราย จากรถที่แซงขึ้นไป หรือรถที่สวนมา ถ้าไม่มีที่นั่งก็ยืนอยู่ภายใน ของรถ ไม่ยืนเกะกะหรือเกาะห้อยโหนอยู่ท่ีบันได หรือตรงทางประตูขึ้น – ลงเพราะกีดขวาง และไม่ขึ้นรถ ที่กำลังหยุดรอสัญญาณไฟหรอื ขณะทีร่ ถตดิ หรือกระโดดข้ึนระหว่างปา้ ย

65 การลงจากรถประจำทางก็ต้องให้รถหยุดชิดขอบทาง ตรงป้ายหยุดรถ และหยุดสนทิ เสียก่อนจึงจะลง จากรถ ถ้ามีเด็กไปด้วยผู้ใหญ่ควรจะลงไปก่อนเด็กแล้วนำเด็กลงทีหลัง เพราะจะไม่เกิดอันตรายกับเด็ก จากรถที่แซงขึ้นมา การลงจากรถประจำทางไม่ควรกระโดดขึ้นหรือลงในขณะที่รถกำลังวิ่งอยู่จะพล้ังพลาดเกิด อนั ตรายได้ หรือว่าลงไปในขณะทรี่ ถจอดไมช่ ิดขอบทางบรเิ วณป้าย เพราะอาจจะเกดิ อนั ตรายจากรถท่ีแซงข้ึนมา ทางด้านซ้ายได้ การโดยสารรถส่วนตัว หรือรถสาธารณะ ควรปฏิบัติให้ถูกต้อง คือ ขึ้นหรือลงในที่ที่ซึ่งกฎหมายได้ กำหนดไว้ การจอดรถให้จอดชิดขอบทางและขึ้นหรือลงทางด้านซ้าย หรือด้านที่ชิดขอบทาง การขึ้นหรือลง ดา้ นขวาจะทำให้เกิดอนั ตรายจากรถทแี่ ซงข้ึนไปหรือรถที่สวนมาได้ และผทู้ ีเ่ ปิดประตูจะมีความผิดตามกฎหมาย อกี ด้วย การรอรถประจำทาง ๑. ตอ้ งรอที่ปา้ ยรถประจำทาง ๒. ยืนอยูบ่ นบาทเทา้ ๓. ขน้ึ หรือลงเมื่อรถหยดุ สนิท ๔. ห้ามข้ึนหรือลงนอกป้ายหรอื บรเิ วณที่รถติดสัญญาณไฟแดง การโดยสารรถประจำทาง ๑. หา้ มยืนบริเวณบนั ไดรถหรอื ห้อยโหน ๒. เมือ่ ขึ้นรถประจำทางแลว้ เดนิ เข้าด้านใน ๓. หาที่นั่งให้เรยี บรอ้ ย ๔. ไม่ย่นื อวัยวะส่วนหนึ่งสว่ นใดออกนอกรถ

66 อย่าห้อยโหนหรอื ขน้ึ ไปบนหลังคา อย่ายืนห้อยโหน อย่าปีนขนึ้ ไปบนหลงั คารถอาจได้รบั อนั ตราย เมอ่ื ลงจากรถประจำทางอยา่ ขา้ มถนนทนั ที ๑. เมือ่ ลงจากรถประจำทางอยา่ ข้ามถนนทันที เพราะรถท่ีวงิ่ ผ่านไปมาอาจมองไม่เหน็ เนอ่ื งจาก ออกจากจดุ กำบัง ๒. ห้ามข้ามถนนบรเิ วณด้านหนา้ รถประจำทางเพราะคนขับอาจมองไม่เหน็ คนข้าม ๓. ให้รถประจำทางออกรถไปเสียกอ่ น เหน็ ว่าปลอดภัยแล้วจึงขา้ ม

67 มารยาทและความปลอดภัยในการใช้รถตู้โดยสาร 1..ไม่ควรนำอาหารหรอื ขนมข้นึ มารบั ประทานเพราะกลน่ิ อาจไปรบกวนผู้อื่น รวมทง้ั อาจ หกเลอะเทอะเปื้อนเบาะและพืน้ รถตู้ 2. ไม่ควรสง่ เสยี งดังหรือหยอกล้อกนั เพราะอาจจะทำให้ผขู้ ับรถตู้ไมม่ สี มาธิ 3. ไมค่ วรยื่นมอื หรืออวัยวะใดๆ ออกไปนอกรถเพราะอาจเกิดอันตรายหรอื บาดเจ็บได้ 4. ถ้าติดอยู่ในรถต้คู วรใช้สญั ญาณแตรเรยี กคนมาชว่ ยเหลอื ความปลอดภัยในการใชร้ ถยนต์ส่วนตวั ๑. จะต้องคาดเขม็ ขัดกอ่ นออกเดนิ ทางทกุ ครง้ั ๒. เมือ่ ไดย้ นิ เสยี งรถพยาบาล เราควรชะลอรถและขับใหช้ ดิ ทางด้านซ้าย เพอื่ ให้รถพยาบาลขบั ผ่านไป ได้อยา่ งสะดวก ซึ่งถอื เปน็ การขบั ขอ่ี ย่างมนี ำ้ ใจกบั เพอ่ื นรว่ มทาง ๓. การขึ้นลงรถต้องให้รถจอดสนทิ ก่อน และก่อนจะเปดิ ประตูทางดา้ นซ้ายใหม้ องดกู ่อนวา่ มีรถมา หรอื ไม่ เม่ือเหน็ วา่ ปลอดภยั จึงลงจากรถ ๔. ตอ้ งเตรยี มตวั ให้พรอ้ ม ให้ความร่วมมอื ปฏบิ ัติตามกฎและป้ายเครอ่ื งหมายตา่ งๆ เพ่ือความปลอดภยั แกผ่ ใู้ ช้รถใชถ้ นนอื่นด้วย

68 การขบั รถยนต์อยา่ งปลอดภยั ๑. ต้องมใี บอนญุ าตขบั ข่ี ๒. กอ่ นขบั ขี่ตอ้ งตรวจสภาพรถทกุ คร้ัง ตอ้ งตรวจความพรอ้ มของรถยนต์ ๓. ตอ้ งดคู วามพร้อมของร่างกาย ๔. ต้องศกึ ษาเสน้ ทาง ๕. ต้องปฏบิ ตั ติ ามกฎจราจรโดยเคร่งครัด การน่งั แท็กซใ่ี หป้ ลอดภัย การนงั่ แทก็ ซใ่ี ห้ปลอดภัย ก่อนข้นึ รถแท็กซีท่ กุ คร้งั ควรจะตอ้ งตรวจเชค็ รายละเอยี ด ดงั นี้ 1. ตรวจเช็คป้ายทะเบียนขนส่งถูกต้องหรือไม่ รถคนั ดังกล่าวยี่ห้ออะไร สีรถอะไร 2. ตรวจเชค็ เลขระบุขา้ งรถว่า ตรงกับป้ายทะเบยี นหรอื ไม่ 3. เม่ือเขา้ ไปนง่ั ในรถแล้ว ควรเลือกทนี่ งั่ ดา้ นหลังคนขบั เพ่อื ไม่ใหค้ นขับเอยี งตัวมาได้ง่าย 4. เชค็ สต๊กิ เกอร์ป้ายทะเบยี นรถที่ตดิ ไว้ขา้ งประตู รวมถงึ ดใู บอนญุ าตขบั ขที่ ี่ติดไวห้ นา้ รถวา่ มีขอ้ มูล ถกู ตอ้ งหรอื ไม่ 5. ถา่ ยภาพป้ายทะเบยี นรถส่งใหก้ บั คนใกลช้ ดิ หรืออาจโทรศัพท์บอกขอ้ มูลของรถและคนขบั รวมถึงบอกเส้นทางท่ีกำลังใช้อยู่ให้คนใกล้ตวั ทราบ 6. อย่าคุยเรอ่ื งส่วนตัวกับคนขบั รถ และอย่าบอกคนขับวา่ ไมร่ ้เู ส้นทาง หากคนขับรถถามว่าไปทางไหนดี ควรบอกไปว่า ไปทางไหนก็ได้ แตใ่ ห้เลือกเสน้ ทางทีร่ ถไม่ค่อยตดิ และไมเ่ ข้าซอนเปล่ียว 7. พยายามสังเกตพฤตกิ รรมของคนขับ หากพบว่า คนขบั ปรบั กระจกเพอ่ื มองระดับหนา้ อกหรือ หนา้ ขาของผโู้ ดยสารใหร้ ะวงั ตัวไวท้ ันที ทางที่ดเี ม่ือตอ้ งเดินทางตามลำพัง ควรใส่ชุดที่คอ่ นข้างมดิ ชิด เพ่อื ความ ปลอดภยั 8. หากเหน็ คนขับขยับมือมายงั ช่องแอร์บอ่ ยครงั้ หรอื หากผโู้ ดยสารเร่ิมมีอาการผิดปกติ เช่น ร้สู กึ เวียน หวั คล่ืนไส้ หรอื รูส้ ึกเหมอื นจะเปน็ ลม ควรหาทปี่ ลอดภยั ท่ีมีแสงสว่างมากๆ มีคนเยอะๆ เพือ่ ลงจากรถ แลว้ รีบ โทรศัพท์บอกคนใกลช้ ดิ ทันที จากน้ันพยายามสดู อากาศบริสุทธเิ์ ข้าออกอยา่ งช้าๆ เพ่อื ใหร้ สู้ กึ ดีข้ึน 9. ตัง้ สติไว้ตลอดเวลา อย่าเผลอหลับระหวา่ งทาง และอยา่ ชะล่าใจว่าเปน็ เสน้ ทางที่คุ้นเคย 10. เวลาลงรถ ควรลงประตูหลงั ด้านซ้ายมือคนขับ เพ่ือไมใ่ ห้คนขับลงจามรถเข้ามาประชดิ ตัวเราได้ 11. สำรวจสิ่งของติดตวั และนำลงให้ครบถว้ น

69 การใชร้ ถไฟฟา้ อยา่ งปลอดภยั ๑. ไมค่ วรเล่นหรือนำอาหารไปทานบนรถ ๒. ไม่ควรยนื รอขวางทางเข้า - ออก และในทางแก่คนที่ออกจากรถกอ่ น จงึ ค่อยเข้าไป ๓. ห้ามยนื พิงประตูรถไฟฟา้ (อยา่ ประมาท) ๔. หา้ มย่ืนมอื หรือสิ่งของออกไปกีดขวางประตรู ถไฟฟา้ ๕. ให้ยืนรอหลังเส้นท่กี ำหนดไว้ ๖. ควรปฏบิ ตั ิตามกฎและข้อบงั คบั อยา่ งเคร่งครัดเพราะจะช่วยให้ปลอดภยั จากอุบตั ิเหตไุ ดม้ ากขนึ้ ๗. ใหส้ งั เกตเวลาที่ประตไู ฟฟา้ กำลังจะปดิ จะมีสญั ญาณดังถ่ๆี อย่ารีบวิ่งเพื่อที่จะเขา้ หรือออกจาก ตัวรถไฟฟา้ ๘. หากทำส่ิงของตกลงไปที่รางของรถไฟฟ้าหา้ มลงไปเก็บเองใหแ้ จ้งเจา้ หน้าทเี่ ป็นผู้เก็บให้ ๙. ขณะท่จี ะเขา้ หรอื ออกจากตวั รถไฟฟา้ จะตอ้ งระมัดระวงั ชอ่ งระหว่างรถไฟฟา้ กับชานชาลา การเดินทางปลอดภัยทางเรือ ๑. ควรยืนรอเรือโดยสารบนท่า หากตอ้ งยืนรอบนโปะ๊ ไม่ควรยืนใหช้ ิดขอบโป๊ะมากเกนิ ไป ให้ยืนรอ ภายในเขตเสน้ ทก่ี ำหนดไว้ (ให้ปฏิบัตติ ามป้ายกำหนดนำ้ หนักและจำนวนคน) ๒. ขน้ึ เรือเม่อื เจา้ หนา้ ท่ีคลอ้ งเชอื กเรอื กบั เสาโปะ๊ เรยี บร้อยแล้ว ๓. ไม่แยง่ กนั ขนึ้ เรอื หาทีเ่ กาะหรือยืนให้ม่ันคง หา้ มหยอกล้อหรือเลน่ ๔. หา้ มเดนิ ไป - มาบนเรอื ในขณะเรือแลน่ ๕. ควรใส่เสอื้ ชชู พี ทุกคร้ังที่โดยสารเรอื ๖. ไมข่ ึ้นเรือโดยสารเกินจำนวนคนทก่ี ำหนด ๗. เมอื่ ลงเรอื ให้รบี เดนิ เข้าไปดา้ นใน อย่ายนื ตรงบรเิ วณท้ายเรอื ๘. ต้องฟงั และปฏิบตั ติ ามคำแนะนำของนายท่าอย่างเคร่งครัด และหากมีอาการเมาเรอื ใหแ้ จ้ง เจ้าหนา้ ท่ีประจำเรอื

70 การเดินทางโดยรถจกั รยาน 1. ต้องหมนั่ ตรวจสอบอปุ กรณ์ ไดแ้ ก่ กระดง่ิ เบรก ไฟส่องสว่างหน้ารถจกั รยาน ขาตั้งรถจักรยาน ตัวรถจกั รยาน 2. ห้ามขับขร่ี ถจักรยานโดยเกาะหรอื พว่ งรถคันอนื่ ทก่ี ำลังวิง่ อยู่ 3. เมอื่ ขับขรี่ ถจักรยานถงึ ทางแยกใหม้ องขวาและมองซ้ายอีกคร้งั มองรถคันอนื่ วา่ จอดสนิทแลว้ จงึ ขบั ขผี่ ่านไปได้ 4. เม่อื ขบั ขร่ี ถจักรยานแล้วต้องข้ามถนนใหใ้ ช้หลัก หยุด มอง ฟัง คดิ ปฏิบตั ิ (1) ต้องหยดุ และลงจากรถจกั รยานใหห้ ่างจากขอบถนนหรือไหลท่ างในระยะท่ีปลอดภัย โดยมองและฟงั เสยี งยานพาหนะรอบๆ จากทศิ ทางตา่ งๆ (2) หยุดให้ขา้ ม ปฏบิ ตั โิ ดยเดนิ จงู รถจกั รยาน (3) ขับขร่ี ถจกั รยานข้ามถนนจะตอ้ งมองและฟงั เสยี งพาหนะรอบๆ ตวั ดว้ ย 5. ควรขับขรี่ ถจักรยานในทางเดินรถไหล่ทางหรือทางทีท่ ำไว้สำหรบั รถจักรยาน ขับโดยจบั คนั บังคบั รถและนงั่ บนอานทจ่ี ัดไวเ้ ป็นทน่ี ั่งเสมอ 6. ควรเรยี นรู้การใช้สญั ญาณมอื และเขนเปน็ สัญญาณจราจร การขับขร่ี ถจักรยานทีถ่ ูกตอ้ ง ๑. ตอ้ งใชร้ ถจักรยานเหมาะสมกบั ตวั ๒. ตอ้ งมคี วามชำนาญในการขับขี่ ๓. ต้องร้กู ฎจราจรและต้องปฏบิ ัตติ ามอย่างเคร่งครดั ๔. ต้องใช้รถที่มีสภาพทสี่ มบรู ณ์ และมอี ปุ กรณค์ รบถ้วน 5. ตอ้ งมีอปุ กรณค์ รบถ้วน กระดิง่ ห้ามล้อหนา้ และหลัง โคมไฟหน้าไฟท้าย 6. สวมหมวกสำหรับผขู้ บั ขี่ 7. สวมรองเท้าหุม้ ส้น 8. สวมเสื้อผา้ สะท้อนแสง เมื่อขับขี่ในเวลากลางคืน

71 การเดนิ ทางปลอดภยั ในการโดยสารรถจักรยานยนต์ ๑. สวมหมวกนริ ภยั ขนาดพอดกี ับศีรษะและล็อคสายรดั คางให้แน่น ๒. ผขู้ ับข่รี ถจักรยานยนตไ์ มส่ วมหมวกนิรภยั มีโทษปรบั ไม่เกิน 500 บาท ผู้นงั่ ซ้อนท้ายไมส่ วมหมวก นิรภยั มีโทษปรับไมเ่ กิน 1,000 บาท 3. รถจักรยานยนต์ซอ้ นทา้ ยได้ไม่เกนิ 1 คน โดยนั่งคร่อมอาน ระวงั เชอื กรองเท้า สายเป้ สายกระตกิ น้ำ หรอื ชายกระโปรงเขา้ ไปในลอ้ รถ จับให้แน่น เพ่อื ปอ้ งกนั พลัดตกจากรถ บรรทุกสิง่ ของได้ไมเ่ กนิ 50 กโิ ลกรมั

ชื่อวิชา การปฐมพยาบาล 72 บทเรยี นที่ 6 เวลา ๑๐๕ นาที ขอบขา่ ยรายวชิ า ๑. การปฐมพยาบาล ๒. การเคล่อื นย้ายผู้ป่วย ๓. การขอความช่วยเหลือ ๔. การปฏิบตั กิ ารชว่ ยฟน้ื คนื ชพี )CPR( จดุ หมาย เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถทำการปฐมพยาบาลและเคลื่อนย้ายผู้เจ็บป่วยได้อย่างถูกต้อง และปลอดภยั สามารถขอความช่วยเหลอื หรือปฏิบตั กิ ารชว่ ยฟนื้ คืนชีพ )CPR( ไดถ้ ูกต้อง วตั ถปุ ระสงค์ เม่อื จบบทเรยี นนีแ้ ล้ว ผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรมควรจะสามารถ ๑. ปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ผู้ป่วยเจ็บได้อยา่ งถกู ตอ้ ง ๒. เคลอ่ื นย้ายผู้ปว่ ยเจบ็ ได้อยา่ งปลอดภยั และถูกต้อง ๓. ขอความช่วยเหลือได้อยา่ งถกู ต้อง ๔. ปฏบิ ัตกิ ารชว่ ยฟ้ืนคืนชีพไดอ้ ย่างถูกต้อง วธิ ีการสอน/กิจกรรม 2๐ นาที 45 นาที ๑. นำเขา้ สบู่ ทเรยี นโดยการบรรยายนำให้ความรู้เกย่ี วกบั การปฐมพยาบาล ๒. แบ่งกลุม่ เปน็ ฐาน เรยี นรตู้ ามฐาน/ฝกึ ปฏบิ ัติ 30 นาที 10 นาที 2.1 การปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ 2.2 การเคลื่อนยา้ ยผู้ปว่ ยเจ็บ 2.3 การขอความชว่ ยเหลือและการชว่ ยฟื้นคืนชพี (CPR) ๓. แสดงบทบาทสมมตติ ามสถานการณ์ท่กี ำหนด 4. สรุปและประเมินผล สื่อการสอน ๑. คมู่ อื การปฐมพยาบาลสภากาชาดไทย ๒. Power Point การปฐมพยาบาล ๓. รูปภาพตวั อยา่ งการปฐมพยาบาลและการเคลื่อนยา้ ยผู้ปว่ ย ๔. หนุ่ จำลองการทำ CPR การประเมินผล ๑. การสงั เกต ๒. การแสดงบทบาทสมมติ และการฝกึ ปฏบิ ตั ิ

73 เอกสารอา้ งองิ /แหล่งข้อมลู - คูม่ ือปฐมพยาบาลสภากาชาดไทย ปี ๒๕๒๒ - ค่มู อื การปฐมพยาบาลและการกู้ชพี ขน้ั พืน้ ฐาน สำหรับกำลงั พลกองทัพเรือ กรมแพทยท์ หารเรอื ปี ๒๕๕๓ เน้ือหาวิชา การปฐมพยาบาล หมายถึง การชว่ ยเหลือเบอื้ งต้นแกผ่ ู้ปว่ ยเจ็บ กอ่ นทจี่ ะนำส่งโรงพยาบาล หรือได้รับ การดแู ลจากบคุ ลากรทางการแพทย์ตอ่ ไป การขอความช่วยเหลอื เมื่อผปู้ ่วยเจ็บท่จี ำเป็นต้องสง่ โรงพยาบาล ควรใหข้ อ้ มลู ทจ่ี ำเป็นเพอ่ื ให้การ ช่วยเหลือมีประสทิ ธภิ าพมากขึ้น ได้แก่ • เหตุการณท์ ่ีเกิดขึน้ และเวลาทเ่ี กดิ เหตุถ้าสามารถทราบได้ • สถานทเ่ี กิดเหตุโดยละเอยี ด • จำนวนผู้บาดเจ็บและอาการของผู้บาดเจ็บที่ประเมนิ ได้ • การปฐมพยาบาลทีไ่ ดช้ ่วยเหลือไปแลว้ และที่กำลังชว่ ยอยู่ • จำนวนผชู้ ว่ ยเหลือ • ช่ือ – นามสกุล ของผู้แจง้ และเบอรโ์ ทรศพั ท์ติดต่อกลับ การประเมินการบาดเจบ็ เป็นการประเมนิ การบาดเจ็บอน่ื ๆ ทีไ่ ม่รนุ แรง มขี ้นั ตอนดังนี้ 1. สัมภาษณ์ผู้ป่วยเจบ็ โดยใช้คำถามง่ายๆ ไม่ใช้เวลานาน 2. ตรวจการหายใจ ชีพจร สีผิวและอุณหภูมิ การหายใจผิดปกติ ได้แก่ หายใจมีเสียงผิดปกติ หายใจเร็วหรือช้ากว่าปกติ หายใจแล้วรู้สกึ เจ็บ เปน็ ตน้ ชีพจรที่ผิดปกติ ไดแ้ ก่ เต้นเร็วหรือจงั หวะและความแรง ไมส่ ม่ำเสมอ เปน็ ตน้ สผี ิวและอุณหภมู ิ เชน่ ผิดหนังซดี ขาวแสดงวา่ มกี ารเสียเลือด ผิวหนังแดงและร้อนแสดงว่ามี เลอื ดมาค่ังมาก เป็นต้น 3. การตรวจร่างกายตัง้ แตศ่ รี ษะจรดเท้า • ควรตรวจต้งั แต่ศีรษะ ใบหนา้ คอ ไหล่ แขน ๒ ข้าง มือ ทรวงอก หลงั ทอ้ ง สะโพก ขา ๒ ข้าง และเท้า ตามลำดับ • ตรวจจมกู หู ปาก สงั เกตเลอื ดหรอื นำ้ ทีไ่ หลออกมา • ตรวจคอ ให้ผปู้ ่วยเจ็บหันคอ สังเกตความเจบ็ ปวดการเคลือ่ นไหวท่ผี ดิ ปกติ • ตรวจไหล่ ให้ผู้ป่วยเจ็บยกไหล่ สงั เกตความเจ็บปวด การเคลื่อนไหวทีผ่ ดิ ปกติ • ตรวจทรวงอกและท้อง ใหผ้ ู้ป่วยเจ็บหายใจเข้าออกลกึ ๆ สังเกตความเจ็บปวด การเคลื่อนไหวทีผ่ ิดปกติ • ตรวจแขนทีละขา้ ง ให้ผูป้ ่วยเจบ็ ขยบั แขนทลี ะขา้ ง หมนุ แขน งอแขน สังเกตความเจบ็ ปวด การเคลอื่ นไหวที่ผดิ ปกติ • ตรวจขาทีละขา้ ง ให้ผู้ป่วยเจบ็ ขยบั นิว้ เทา้ ขอ้ เท้า เทา้ ยกและงอเข่า สงั เกตความเจ็บปวด การเคลื่อนไหวทผ่ี ดิ ปกติ

74 สัญญาณชพี (ในผใู้ หญ)่ ๖๐ – ๑๐๐ ครง้ั /นาที ชพี จร ๑๖ – ๒๐ ครั้ง/นาที ๓๖.๕ – ๓๗.๕ องศาเซลเซยี ส การหายใจ ๙๐/๖๐ – ๑๔๐/๙๐ มลิ ลเิ มตรปรอท อณุ หภูมิ ความดันโลหิต ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิเม่อื พบผู้ป่วยเจ็บ ประเมนิ สถานการณ์ ปลอดภยั ไม่ปลอดภยั ประเมนิ สภาพผูป้ ่วย หา้ มเข้าช่วยเหลือ เจ็บ แจง้ เจา้ หน้าท่ีทันที ไมร่ ้สู กึ ตัว ร้สู ึกตัว ไม่หายใจ หายใจ ปฏบิ ตั กิ ารกู้ หายใจ ชีพขัน้ พนื้ ฐาน ตรวจการบาดเจ็บ ปฐมพยาบาล นำส่งสถานพยาบาล

75 ห่วงโซ่ความอยู่รอด (Chain of Survival) ผู้ประสบภาวะคุกคามต่อชีวิต (Life threatening) คือ หัวใจวาย หยุดหายใจ หัวใจหยุดเต้น สำลัก อุบัติเหตุต่าง ๆ เช่น จมน้ำ ไฟฟ้าดูด ฯลฯ มีโอกาสรอดชีวิตสูง ถ้าผู้ประสบเหตุให้การช่วยเหลือ โดยการปฏบิ ัตติ ามขนั้ ตอนของห่วงโซค่ วามอยู่รอด ดังนี้ ๑. โทรศพั ทข์ อความชว่ ยเหลือจากระบบบรกิ ารฉุกเฉนิ ทางการแพทย์ทันที ทีห่ มายเลข ๑๖๖๙ ๑๕๕๔ หรือ ๑๙๑ ๒. การปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพ )CPR) โดยให้การช่วยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุ ตามอาการที่ตรวจพบ เช่น หยดุ หายใจ ใหช้ ่วยหายใจโดยการเป่าปากเพือ่ ใหม้ อี อกซิเจนเข้าส่รู ่างกาย หวั ใจหยดุ เต้นให้ช่วยกดหน้าอก เพื่อให้มีการไหลเวยี นของโลหติ ท่ีจะช่วยให้ผปู้ ว่ ยเจบ็ มโี อกาสรอดชีวิตสูงข้นึ ข้ันตอนนเ้ี ป็นการซื้อเวลาให้ผู้ป่วย เจบ็ ไดร้ ับออกซเิ จนเขา้ สรู่ ่างกายและมีการไหลเวียนโลหิตไปเลย้ี งอวยั วะสำคญั ๓. กระต้นุ หัวใจด้วยไฟฟ้า (Early Defibrillation) เพ่ือช่วยใหห้ วั ใจกลับมาเต้นเปน็ ปกติ ถา้ ทำไดร้ วดเร็ว ผปู้ ว่ ยเจบ็ จะมโี อกาสรอดชวี ิตสงู ขึ้น ๔. การดูแลขั้นสูง (Advance Care) เป็นการรักษาโดยการให้ยาและการใส่ท่อช่วยการหายใจ โดยบคุ ลากรทางการแพทย์ ณ จุดเกิดเหตแุ ละในโรงพยาบาล เพื่อให้ผู้ป่วยเจบ็ กลับคืนสภู่ าวะปกติ จดั ทำโดย : สถาบนั การแพทยฉ์ ุกเฉนิ แห่งชาติ

76 การปฏิบัติการช่วยฟ้ืนคนื ชพี (Cardio Pulmonary Resuscitation : CPR) เปน็ การชว่ ยเหลอื ระบบการหายใจและระบบการไหลเวยี นโลหิตเม่ือเกิดภาวะการหยุดหายใจและหัวใจ หยุดเต้นกระทันหัน เพื่อช่วยให้โลหิตมีการไหลเวียน ทำให้เนื้อเยื่อต่างๆ ของร่างกาย โดยเฉพาะสมองได้รับ ออกซิเจนเพียงพอ จนกระท่งั ระบบต่าง ๆ กลบั มาทำหนา้ ทไ่ี ด้ตามปกติ ดังนั้นเมื่อเกิดอุบัติเหตุต่างๆ ที่ทำให้ผู้ป่วยเจ็บเกิดภาวะหยุดหายใจและหัวใจหยุดเต้น ผู้ประสบเหตุ ไมค่ วรปลอ่ ยเวลาใหส้ ญู เสยี โดยไมไ่ ดท้ ำการชว่ ยเหลือ เพราะโอกาสรอดชวี ติ ของผู้ป่วยเจ็บจะลดลงทกุ นาทีท่ีผ่าน ไป สิ่งสำคัญในการช่วยเหลือเมื่อประสบเหตุคือ โทรศัพท์ขอความช่วยเหลือจากระบบบริการฉุกเฉิน ทางการแพทยท์ นั ที สาเหตุท่ที ำใหเ้ กดิ ภาวะหยดุ หายใจและหวั ใจหยุดเต้น ๑. ระบบการไหลเวียนโลหิตและหวั ใจลม้ เหลวจากภาวะโรคหัวใจ ช็อกจากการเสยี เลือดและอบุ ตั ิเหตุ ตา่ ง ๆ เปน็ ต้น ๒. ทางเดนิ หายใจถูกอดุ ตันจาการสำลักอาหาร หรือการสำลักควัน ๓. อบุ ัติเหตุต่าง ๆ เช่น ไฟฟา้ ดดู จมน้ำ ได้รับยาเกนิ ขนาด แพย้ า ขาดอากาศ อาการและอาการแสดง ๑. หมดสติ (Unconsciousness) ไม่มกี ารตอบสนองเม่ือถกู ปลกุ หรอื เรียก ๒. หยุดหายใจ (No Breathing) ไม่มกี ารเคลือ่ นไหวขึ้นลงของทรวงอก หรือหนา้ ทอ้ ง ๓. หัวใจหยุดเต้น (No Circulation) ไมม่ สี ัญญาณการไหลเวยี นโลหิต คือ ไม่มีการหายใจ ไม่มีการไอ และไม่มีการเคลือ่ นไหวของร่างกาย ขน้ั ตอนการปฏิบัตกิ ารช่วยชีวติ ๑. เมื่อพบคนหมดสตติ รวจดูความปลอดภัยก่อนเขา้ ไปช่วยเหลอื เช่น ตึกถล่ม ไฟฟ้าชอ็ ต แก๊สระเบดิ เป็นต้น ๒. ตรวจระดบั ความรู้สกึ ตวั โดยการเรยี กผู้ปว่ ยเจ็บ และตที ่ไี หลเ่ บาๆ

77 ๓. รอ้ งขอความช่วยเหลือ และพลิกผู้ป่วยเจบ็ ให้นอนหงายราบบนพื้นเรยี บแข็ง ๔. ถ้าผ้ปู ว่ ยเจ็บไมต่ อบสนอง ให้ชว่ ยการไหลเวียนโลหติ โดยการกดหน้าอก 30 คร้งั ด้วยอัตราเร็วมาก ว่า 100 คร้งั ต่อนาที กดลกึ 2 นว้ิ หรือ 5 เซนติเมตร )ใชม้ อื ข้างหนึ่งวางและใชม้ ืออีกขา้ งวางทับแล้วใชส้ นั มอื กด ท่ีก่ึงกลางหนา้ อก( ๕. เปิดทางเดินหายใจ โดยใช้สันมือกดหน้าผาก ใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางของมืออีกข้างเชยคางให้หน้า แหงนขึ้น และช่วยหายใจโดยการเปา่ ปาก 2 ครงั้ คร้งั ละ 1 วนิ าที

78 ๖. หลังจากนั้นให้กดหนา้ อกสลบั กบั การเปา่ ปากด้วยอตั รา 30 ต่อ 2 )นับเปน็ 1 รอบ( ประเมนิ ผลการ กชู้ ีพ ทกุ 5 รอบ )ใชเ้ วลา 2 นาท(ี ในกรณที ่ีผู้ปฏิบตั ิการก็ชีพมาชว่ ยเหลอื เพ่มิ ขึน้ ควรสลบั หน้าทขี่ องผ้กู ดหนา้ อกกบั ผู้ที่เปา่ ปากทุก 2 นาที หรือทกุ 5 รอบ หมายเหตุ : ในกรณีท่ีไม่สามารถเปา่ ปากได้ สามารถใช้การกดหนา้ อกอย่างต่อเนื่อง ด้วยอัตราเร็วมากกว่า 100 ครง้ั ต่อนาที การห้ามเลือดและการปฐมพยาบาลบาดแผล • การห้ามเลือด • เลือดกำเดาไหล • แผลถลอก • แผลฟกชำ้ • แผลถูกของมคี ม แผลฉีกขาด • แผลที่มีอวัยวะถกู ตัดขาด • แผลทม่ี วี สั ดุปักคา • แผลจากสารเคมี • แผลโดนความรอ้ น การห้ามเลอื ด ข้นั ตอนการหา้ มเลือด 1. เปดิ สิ่งปกปิดให้เหน็ บริเวณทแ่ี ผลเลอื ดออก 2. ใช้มือหรอื ผ้าสะอาดกดตรงบาดแผลโดยตรง

79 3. ยกบริเวณทเี่ ลือดออกให้สูงกวา่ หัวใจ 4. ถา้ เลือดไมห่ ยุดให้กดบริเวณเส้นเลือดแดงใหญท่ ่ไี ปสู่บาดแผล 5. เมอ่ื เลอื ดหยุดให้ปิดแผลดว้ ยผ้าสะอาดหลายๆชั้น พันทบั ด้วยผา้ หรือผ้ายืดให้แน่น 6. กรณเี ลอื ดออกซำ้ ใหเ้ พมิ่ ความหนาของผ้าท่ีกดแล้วใชผ้ า้ หรอื ผา้ ยดื พันทับอกี ครั้ง

80 ๗. ส่งตอ่ โรงพยาบาล เลือดกำเดาไหล • เลอื ดกำเดาไหลเป็นภาวะที่เสน้ เลอื ดฝอยแตกบรเิ วณหนงั จมกู สว่ นใหญ่เกิดบริเวณทอ่ี ยู่ ตรง กลางระหวา่ งรูจมกู ทงั้ สองขา้ ง ทำให้เลอื ดไหลออกมา • สาเหตุ เกิดจากอุบตั ิเหตุ อากาศแหง้ ความดนั โลหิตสูง เปน็ หวดั เปน็ ตน้ การปฐมพยาบาล 1. น่งั ก้มหน้า 2. ใช้มือบีบจมกู ให้หายใจทางปาก 5 – 10 นาที ข้อควรระวัง 1. ถ้านัง่ เงยหนา้ จะทำใหเ้ ลือดไหลงลงคอและทำให้อาเจียนได้ 2. การสงั่ นำ้ มกู แคะจมูกหรือขยจ้ี มูกทำใหเ้ ลือดออกอกี 3. ในผปู้ ่วยเจ็บท่ีได้รับอบุ ัตเิ หตุ ถา้ มนี ำ้ ใส ๆ ไหลออกจมกู ให้รีบขอความชว่ ยเหลอื และสง่ โรงพยาบาล แผลถลอก เป็นแผลเปิดชนิดตืน้ ๆ ท่ผี วิ หนงั ชนั้ นอกหลุดลอกออก มีเลือดเลก็ น้อย การปฐมพยาบาล 1. ล้างแผลด้วยนำ้ สะอาดและสบจู่ นหมดส่ิงสกปรก 2. ใช้ผ้าสะอาดกดแผล เพ่อื ใหเ้ ลอื ดหยุด 3. ใส่ยาสำหรบั แผลสด เช่น เบตาดีน อาจปดิ แผลหรือไมก่ ไ็ ด้

81 ขอ้ ควรระวัง 1. อาจพบการบาดเจบ็ ของอวยั วะภายใน 2. แผลถลอกทีม่ ีขนาดใหญอ่ าจตอ้ งทานยาปฏชิ ีวนะเพือ่ ปอ้ งกนั การตดิ เช้ือ 3. ไมค่ วรให้แผลเปียกนำ้ จนกว่าแผลจะแหง้ เพ่อื ป้องกนั การตดิ เช้อื แผลฟกช้ำ แผลฟกชำ้ เปน็ แผลท่เี กดิ จากการกระแทกไม่มรี อยฉกี ขาด หรือเลอื ดออกมาภายนอก แตม่ ีการฉกี ขาด ของเนอ้ื เยอ่ื ใต้ผวิ หนงั ทำให้เห็นเป็นรอยช้ำ บวม การปฐมพยาบาล 1. ประคบด้วยความเยน็ เชน่ ผา้ หอ่ น้ำแขง็ ภายใน 24 ช่ัวโมงแรกเพอ่ื ห้ามเลือด 2. หลัง 24 ชว่ั โมง ประคบดว้ ยความร้อนเพือ่ ลดอาการช้ำ บวม ขอ้ ควรระวัง 1. รอยฟกช้ำภายนอก อาจพบร่วมกับการบาดเจบ็ อวยั วะภายใน เช่น กระดูกหัก ตับแตก ม้ามแตก เปน็ ต้น 2. การใชค้ วามรอ้ นประคบตงั้ แตแ่ รกหลังเกดิ อุบัติเหตุ เช่น การใชย้ าหมอ่ ง ไขต่ ้ม ข้าวสุกรอ้ น อาจเปน็ สาเหตใุ หเ้ ลือดออกมากขึ้น แผลถกู ของมคี มและแผลฉีกขาด แผลถูกของมีคมและแผลฉีกขาดเปน็ แผลทม่ี ีการเปิดของผวิ หนัง ถ้าเปน็ แผลถูกของมีคมจะมีขอบเรียบ สว่ นแผลฉีกขาดเกิดจากของไมม่ ีคมบาดหรอื กระแทก จะมขี อบแผลไมเ่ รียบ อาจมีเลือดออกมากหรือน้อยขึ้นกับ ขนาด ความลกึ และตำแหน่งของแผล การปฐมพยาบาล ๑. ห้ามเลือดตามวธิ ที ่ถี ูกต้อง ๒. ถา้ แผลกวา้ งหรอื ลึกและมกี ้อนเลือด หรือส่งิ แปลกปลอมภายในแผลไม่ตอ้ งล้างแผล เพราะจะทำให้ เลือดออกมาอกี ใหป้ ดิ ห้ามเลือดและนำสง่ โรงพยาบาล ๓. ถ้าแผลเล็กตื้น ให้ล้างแผลด้วยน้ำสะอาดและสบู่ ซับให้แห้ง แล้วปิดด้วยผ้าปิดแผลหรือ พลาสเตอร์ โดยใหข้ อบแผลชดิ กัน

82 ขอ้ ควรระวัง อาจพบรว่ มกบั การบาดเจบ็ ของอวยั วะภายใน เช่น กระดูกหกั เสน้ เลอื ดฉกี ขาด แผลที่มีอวยั วะถกู ตัด แผลทีม่ อี วยั วะถูกตดั ขาด ส่วนมากเกดิ จากของมคี มตดั ขาด หรือเกิดจากการถกู กระชากหรือกดทบั อย่างรุนแรง การปฐมพยาบาล 1. ห้ามเลอื ดในส่วนทถี่ กู ตัดขาดโดยใช้ผ้าสะอาดกดลงบริเวณบาดแผลและพันทับด้วยผ้าให้แน่น พอควร ยกสว่ นน้นั ให้สงู ข้นึ 2. เก็บอวยั วะสว่ นที่ขาดใส่ถงุ พลาสตกิ ทส่ี ะอาด มดั ปากถุงใหแ้ นน่ แล้วแช่ในภาชนะทม่ี นี ้ำแขง็ 3. รีบนำผปู้ ่วยเจบ็ ส่งโรงพยาบาลพรอ้ มอวัยวะส่วนทข่ี าดหรือรีบขอความช่วยเหลือทนั ที ข้อควรระวัง 1. ไมค่ วรหา้ มเลอื ดดว้ ยการขนั ชะเนาะ 2. ห้ามแช่อวัยวะสว่ นท่ีขาดในน้ำเกลอื หรือน้ำเปล่า 3. ควรจดเวลาของการเกดิ อบุ ัติเหตไุ วด้ ้วย แผลทีม่ วี ัตถปุ กั คา แผลท่ีมวี ตั ถปุ ักคา อาจเกิดข้ึนได้กบั ทกุ สว่ นของร่างกาย เชน่ แขน ขา หน้าอก ชอ่ งท้อง ตา เปน็ ต้น

83 การปฐมพยาบาล 1. ใช้ผ้าสะอาดวางรอบ ๆ วัตถนุ ั้น แลว้ พันผา้ รอบๆวัตถุให้แน่น เพือ่ ไมใ่ ห้วัตถขุ ยบั 2. รีบนำผูป้ ่วยเจบ็ สง่ โรงพยาบาลหรอื รีบขอความชว่ ยเหลอื ทนั ที ข้อควรระวัง 1. ห้ามดึงวัตถุนั้นออกจากแผล เพราะอาจทำใหเ้ กดิ อนั ตรายตอ่ อวยั วะข้างเคยี ง หรอื ทำให้เลอื ดออก มากขึ้น 2. อาจจำเป็นต้องใชเ้ ครอื่ งมอื ตัดวัตถนุ ้ันออกจากสว่ นอืน่ เพ่อื ให้สว่ นทต่ี ดิ กบั ผู้ป่วยเจ็บ ไม่ต้องถกู ดึง ออกหรือขยบั แผลจากสารเคมี แผลจากสารเคมี อาจเกิดจากกรดหรือด่างเข้มข้น ทำให้ผิวหนังถูกทำลายและเกิดแผลที่รุนแรง ผู้ปว่ ยเจ็บนน้ั มอี าการปวดแสบรอ้ นมาก ผวิ หนังอาจถูกทำลายลกึ ถึงชน้ั กลา้ มเน้อื การปฐมพยาบาล ๑. ใชน้ ำ้ สะอาดไหลผ่านบริเวณแผลมากๆ อยา่ งนอ้ ย 10 นาที หรอื จนกว่าอาการปวดแสบรอ้ นจะลดลง 2. ถ้าเปน็ บรเิ วณมอื หรือขอ้ มือ ให้ถอดเครอ่ื งประดับออกให้หมด 3. ปดิ แผลด้วยผ้าสะอาด 4. รีบนำผปู้ ่วยเจบ็ ส่งโรงพยาบาลหรอื รบี ขอความช่วยเหลือทนั ที ขอ้ ควรระวัง 1. งดจบั ต้องแผลโดยไม่จำเป็น 2. ห้ามทายา โลชน่ั หรอื ครมี ทุกชนิดบริเวณบาดแผล แผลโดนความรอ้ น • แผลโดนความร้อน อาจเกดิ จากเปลวไฟ น้ำรอ้ น ไฟฟ้า วัสดหุ รือเครอื่ งมือเครอ่ื งใช้ทม่ี ีความร้อน • ความรุนแรงขึน้ อยกู่ บั ปรมิ าณความรอ้ น ระยะเวลาทไ่ี ดร้ ับ ขนาดและตำแหน่งของอวยั วะท่โี ดน ความรอ้ น • ความรุนแรงของแผลโดนความรอ้ น แบ่งได้ 3 ระดบั

84 ระดับท่ี 1 ผวิ หนังเป็นสแี ดง ปวดแสบ ระดบั ที่ 2 ผิวหนังพองมีน้ำใสๆอยขู่ ้างใน รอ้ นเลก็ น้อย เช่น ผวิ ไหม้จากแดด ปวดแสบร้อนมาก สว่ นมากแผลจะแห้งหรอื หาย ภายใน 5 – 10 วัน ระดบั ที่ 3 ผวิ หนงั ถกู ทำลายลึกตลอดชั้นของหนังแท้ จนเห็นลกั ษณะไหม้เกรยี ม หรอื เห็นเปน็ เนอ้ื สขี าว อาจลึกถงึ กล้ามเน้อื และกระดกู ทำใหเ้ จ็บปวดมาก การปฐมพยาบาล 1. ใช้นำ้ สะอาดราดหรอื แชบ่ รเิ วณแผลเป็นเวลาอย่างน้อย 10 นาที 2. ถอดเครื่องประดับบรเิ วณทโ่ี ดนความรอ้ นออก 3. ปดิ แผลดว้ ยผ้าสะอาด 4. ถ้ามีแผลโดนความรอ้ นเปน็ บริเวณกวา้ ง หรอื บริเวณอวยั วะสำคัญ เช่น ใบหน้า คอ อวัยวะเพศ ใหร้ ีบ นำสง่ โรงพยาบาล

85 ข้อควรระวัง 1. ผู้ป่วยเจบ็ ท่ีโดนไฟคลอก โดนความรอ้ นบริเวณใบหน้า อาจมปี ัญหาทางเดินหายใจรว่ มด้วย 2. ผูป้ ่วยเจบ็ ทโ่ี ดนไฟฟ้าชอ็ ต ต้องระวังเรือ่ งหัวใจเตน้ ผิดปกตหิ รอื หยุดเต้น 3. ผู้ปว่ ยเจบ็ ท่ีมีแผลบรเิ วณกวา้ ง อาจมีอาการช็อก 4. หา้ มใช้น้ำเยน็ จัดหรือน้ำแข็งราดบนแผล 5. ห้ามดึงส่งิ ที่ตดิ แนน่ ออกจากแผล เชน่ เส้อื กางเกง 6. งดจับต้องแผลโดยไม่จำเป็น 7. ห้ามทำให้ผิวหนงั ที่พองนำ้ แตก 8. หา้ มทายา ยาสีฟัน น้ำปลา หรือข้ีผึ้งลงบนแผล การปฐมพยาบาลผปู้ ว่ ยเจ็บกระดกู หกั ข้อเคลด็ ข้อเคล่อื น • กระดกู หกั • ขอ้ เคล็ด • ขอ้ เคลื่อน • การยกและเคลื่อนยา้ ยผู้ป่วยเจ็บ กระดูกหัก ชนิดของกระดกู หัก 1. กระดกู หกั แบบปิด เปน็ การหักโดยไมม่ ี 2. กระดกู หกั แบบเปิด เป็นการหกั แทงทะลุ การแทงทะลุออกนอกผิวหนัง ออกนอกผวิ หนงั หรอื มแี ผลเลอื ดไหล อาการและอาการแสดง 1. มีอาการบวม ชำ้ กดเจ็บในบริเวณท่ีบาดเจบ็ 2. มอี าการผิดรูป เชน่ บดิ โค้ง งอ หรือเคลื่อนไหวแลว้ ผิดปกติ 3. เวลาขยบั จะรู้สึกเจบ็ และมีเสยี งกรอบแกรบ 4. อวัยวะสั้นกว่าปกติ ซง่ึ จะเกิดข้ึนในกรณีทกี่ ระดกู หักและมกี ารซ้อนกันของกระดกู 5. มบี าดแผล เหน็ ปลายกระดกู โผลอ่ อกนอกผิวหนงั

86 การปฐมพยาบาล 1. ให้อวยั วะสว่ นที่บาดเจ็บอยนู่ ง่ิ ๆ และหยุดการเคลื่อนไหว 2. เขา้ เฝอื กชวั่ คราวโดยใช้วสั ดุทห่ี าได้ เชน่ ไม้ ร่ม กระดาษแข็ง ดามให้เหนือกวา่ และต่ำกว่าจุดที่ กระดูกหัก 1 ข้อ 3. ถา้ มบี าดแผลเปดิ รว่ มด้วย ให้ใช้ผา้ สะอาดปิดบริเวณบาดแผล และใช้ผ้าพนั ไวห้ ลวม ๆ ก่อนการดามกระดูก 4. รีบนำผปู้ ว่ ยเจ็บส่งโรงพยาบาลหรอื รบี ขอความช่วยเหลือทันที ข้อควรระวัง 1. หา้ มดงึ หรอื พยายามจดั สว่ นกระดกู ท่ีหกั ใหเ้ ขา้ ท่ี 2. ถ้ากระดูกทหี่ ักมีขนาดใหญ่ เช่น กระดกู ตน้ ขา อาจมีอาการชอ็ กจากการเสยี เลือดมาก ขอ้ เคลด็ • ข้อเคล็ดเปน็ การฉีกขาดของเอ็นทีอ่ ยู่รอบๆ ขอ้ และเยอื่ หมุ้ ขอ้ พบบอ่ ยบริเวณขอ้ เทา้ ข้อมอื และขอ้ เขา่ • สาเหตุ เกิดจากการเคลอ่ื นไหวอย่างรวดเรว็ มีการบิดหรือการเหวีย่ งอย่างรนุ แรงบริเวณข้อตอ่ เกนิ กวา่ ข้อนั้นจะสามารถทำได้ เชน่ การเดนิ สะดุดหรอื กา้ วพลาดจากการลงจากทส่ี งู • อาการและอาการแสดง ปวดมาก กดเจ็บ บวม อาจมีอาการชา และเคลอื่ นไหวข้อนน้ั ลำบาก หรอื ไม่ได้ เลย การปฐมพยาบาล 1. งดการใชข้ ้อหรืออวัยวะน้นั เพือ่ ใหข้ ้อท่ีบาดเจ็บอยู่นง่ิ ๆ หรือเคล่อื นไหวน้อยที่สดุ และจดั ใหอ้ ยู่ในทา่ ท่ี สบาย โดยใช้ผ้ายดื พนั รอบข้อนน้ั ให้แนน่ พอควร 2. ประคบดว้ ยความเย็นใน 24 ช่ัวโมงแรก หลังจากน้ันใหป้ ระคบดว้ ยความร้อน 3. พยายามยกขอ้ นั้นใหส้ งู ถ้าเป็นข้อมือ ข้อไหล่ ควรใชผ้ ้าสามเหลี่ยมคลอ้ งแขน เพอ่ื ลดอาการบวม 4. นำสง่ โรงพยาบาล เพื่อใหแ้ น่ใจวา่ เอ็นยึดขอ้ ฉีกขาดอยา่ งเดียวหรอื มีกระดูกหักร่วมดว้ ย

87 ขอ้ เคลื่อน 1. ขอ้ เคลอื่ นเปน็ ภาวะทห่ี วั กระดูกที่ประกอบเป็นข้อเคลอ่ื นออกจากตำแหน่งปกติ บรเิ วณท่ีพบได้บอ่ ย ได้แก่ ขอ้ มือ ขอ้ ศอก ข้อไหล่ ข้อสะโพก กระดกู สะบา้ และขากรรไกร 2. สาเหตุ เกิดจากการกระแทก การเหวีย่ ง การบิด หรือการกระชากอยา่ งแรงทขี่ ้อนน้ั 3. อาการและอาการแสดง ปวดมาก บวมรอบ ๆ ข้อ กดเจบ็ มอี าการฟกชำ้ ขอ้ ท่ไี ดร้ ับอนั ตรายจะผดิ รูปไป จากเดิม และความยาวของแขนหรือขาท่ไี ด้รับการบาดเจ็บ อาจสัน้ หรอื ยาวกว่าปกติ เคลื่อนไหวข้อนัน้ ไม่ได้ตามปกติ การปฐมพยาบาล 1. ให้พกั ขอ้ อยูน่ งิ่ ๆอย่าพยามยามดึงข้อทีเ่ คลอื่ นให้เขา้ ท่ี 2. ใชผ้ ้าพยงุ ดาม หรอื เข้าเผือกส่วนน้นั ใหอ้ ยใู่ นท่าพกั 3. รบี นำส่งโรงพยาบาลโดยเรว็ ข้อควรระวัง ห้ามใหอ้ าหาร ยา และน้ำทางปาก การเคลือ่ นย้ายผูป้ ่วย (Transportation of The injured) การเคล่อื นย้ายผ้ปู ว่ ย หมายถงึ การนำผูบ้ าดเจ็บซง่ึ ได้รบั การปฐมพยาบาลแลว้ ส่งต่อไปยงั โรงพยาบาลนำผูบ้ าดเจ็บออกจากบรเิ วณที่เกดิ เหตซุ งึ่ อาจมีอนั ตรายแกช่ ีวติ เพ่อื ให้การปฐมพยาบาลในสถานที่ท่ี ปลอดภยั หลกั การเคลือ่ นยา้ ยผบู้ าดเจ็บ ผชู้ ว่ ยเหลอื ๑. ไมย่ กผบู้ าดเจ็บตามลำพัง โดยเฉพาะผู้บาดเจบ็ ท่มี ีนำ้ หนกั มากกว่า ๒. กระดูกสันหลังของผ้ชู ว่ ยเหลอื อยู่ในแนวตรงในขณะยกผู้บาดเจ็บ เพ่ือป้องกันการบาดเจบ็ ของ หลงั ๓. ควรยกโดยให้น้ำหนกั ตัวผูบ้ าดเจบ็ ชดิ กับตวั ผ้ชู ่วยใหม้ ากท่ีสดุ ๔. กรณีทมี่ ผี ้ชู ว่ ยเหลอื เปน็ ทีม ต้องส่ือสารใหช้ ัดเจน ผบู้ าดเจ็บ ๑. ไมท่ ำให้การบาดเจ็บรนุ แรงมากข้นึ และไม่เพม่ิ การบาดเจ็บอื่น ๆ จากการเคลอ่ื นย้าย ๒. ตอ้ งได้รบั การปฐมพยาบาลกอ่ นการเคลือ่ นยา้ ย ยกเวน้ ในสถานการณ์จำเป็น เช่น ไฟไหม้ น้ำทว่ ม ฯลฯ

88 การเคลอื่ นย้ายโดยไม่ใช้อปุ กรณ์ กรณมี ีผชู้ ่วยเหลอื ๑ คน ๑. ทา่ เดินประคอง ใชส้ ำหรับผู้ปว่ ยเจ็บรสู้ ึกตัวดี และพอจะช่วยตัวเองได้ ไม่มีกระดูกขาหรือกระดกู สนั หลังหกั และผปู้ ว่ ยเจ็บตวั ใหญ่พอ ๆ กบั ผู้ชว่ ยเหลอื ๒. ทา่ อมุ้ หา้ มใช้ทา่ อุม้ กบั ผปู้ ่วยเจ็บทสี่ งสยั วา่ จะมกี ารหักของกระดูกสนั หลงั กระดูกขา และกระดกู เชงิ กราน ท่าอมุ้ กอดหนา้ ทา่ อุ้มกอดหลัง ทา่ อุม้ ทาบหลงั ทา่ อุ้มแบก เปน็ ท่าอุ้มยกคนท่หี มดสติ หรือคนทีร่ ับบาดเจบ็ จนไมส่ ามารถลุกข้ึนจากพ้ืนไดด้ ว้ ยตนเอง หา้ มใช้ในผปู้ ว่ ยเจ็บกระดกู สนั หลังหัก

89 ขนั้ ตอนท่าอุ้มแบก ขัน้ ตอนที่ ๑ ข้นั ตอนท่ี ๒ ขัน้ ตอนที่ ๓ ข้นั ตอนที่ ๔ ขน้ั ตอนท่ี ๕

90 ขัน้ ตอนที่ ๖ ขน้ั ตอนท่ี ๗ ขัน้ ตอนที่ ๘ กรณผี ู้ช่วยเหลือ ๒ คน ๑. ท่าประคองเดนิ ใช้สำหรับผู้ปว่ ยเจบ็ ที่ช่วยตัวเองได้ และไม่มีกระดูกขาหรือกระดกู สนั หลงั หัก

91 ๒. ท่าอมุ้ ประสานแคร่ ใช้สำหรับผู้ป่วยเจบ็ ทีศ่ ีรษะหรอื เท้า และรสู้ กึ ตวั ดี เพ่อื ให้ผูป้ ่วยเจบ็ สามารถ ยึดเกาะผ้อู ้มุ ไวไ้ ด้ ๓. ทา่ อมุ้ คกู่ อดหลัง เหมาะสำหรบั หามผู้ทีห่ มดสติเปน็ ระยะทางใกล้ ๆ ไม่ควรใชห้ ากสงสัยว่าผปู้ ว่ ยเจ็บมี กระดูกหักท่แี ขน ขา สนั หลงั หรือกระดกู เชิงกราน ๔. ท่าอุ้มคู่จับมือหรืออุ้มประสานมอื ใชส้ ำหรับผปู้ ่วยเจ็บที่หมดสติ อาจดัดแปลงท่าอมุ้ ทาบหลังมาใช้ได้ ผู้อุ้มแต่ละคนสอดแขนเขา้ ไปใตข้ าของผ้ปู ว่ ยเจ็บและจับข้อมอื ซง่ึ กนั และกันไว้

92 การเคลื่อนย้ายโดยการใช้อปุ กรณ์ เปลบานประตหู รือแผ่นกระดาน เปลผ้าหม่ เปลคานกบั ผ้าหม่ เปลคานกับเสอ้ื แจค็ เกต ภาวะฉกุ เฉินทางอายุรกรรม การสำลกั การสำลักเกดิ จากอาหารเขา้ ไปอดุ ก้ันทางเดนิ หายใจ มกั จะเกิดกบั ผทู้ กี่ ำลังกินอาหารและโดยเฉพาะ อาหารท่เี ปน็ ชนิ้ อยูใ่ นปาก แลว้ พูดคยุ หรือหัวเราะ กลืนเรว็ เกนิ ไปจนเกิดอาการสำลกั ทำให้อาหารไปตดิ อยู่บน คอหอย อาการและอาการแสดง พูดไม่มีเสียง พยายามเอานิ้วมือล้วง หรือเอามือกุมคอ พยายามไอ แต่ไอไม่ออก หายใจไม่ได้ เมือ่ ผูป้ ่วยเจ็บหายใจไม่ได้อยู่ 2 - 3 นาที จะหมดสตลิ ้มฟุบลง หัวใจหยุดเต้นภายใน 6 - 7 นาที ถ้าไม่ได้รับการ ช่วยเหลือ

93 การปฐมพยาบาล 1. กรณผี ู้ปว่ ยเจบ็ ยังไม่หมดสติ ใชว้ ิธกี ารรัดกระตกุ ท่ีทอ้ งเหนือสะดอื ใตล้ ิน้ ปีใ่ นทศิ ทางเฉียงขึ้น โดยให้ ผ้ทู ำการช่วยเหลอื เข้าไปทางขา้ งหลงั ของผู้ป่วยเจบ็ ทกี่ ำลงั ยืนอยู่ มือซ้ายกำหมัดตรงหนา้ ทอ้ งระหว่าสะดอื กบั ลิ้น ปีข่ องผู้ปว่ ย มือขวากำกำปัน้ ซ้าย หรือใช้วธิ ปี ระสานมือสองข้างเข้าดว้ ยกนั แลว้ รัดกระตกุ เข้าหาตัว ผู้ช่วยเหลือ อย่างแรง ๆ หลายครง้ั จนพูดออกมาได้ 2. กรณีผู้ป่วยเจ็บหมดสติ จับผู้ป่วยเจ็บนอนในท่านอนหงายราบ นั่งคร่อมแล้วใช้ส้นมือทั้ง2ข้าง วาง ซอ้ นกนั กดกระแทกทท่ี ้องเหนอื สะดอื ใตล้ ิ้นป่ี ในทศิ ทางเฉียงขึ้นไปทางศรี ษะของผู้ปว่ ยเจ็บ ทำ 5 คร้ัง แล้วเปิด ปากผู้ปว่ ยเจ็บ หากเห็นสง่ิ แปลกปลอมให้ล้วงออก หา้ มล้วงโดยไมเ่ ห็น จากนนั้ จงึ ตรวจการหายใจและเรม่ิ ต้นการ กชู้ ีพ

94 3. ในกรณีที่อยู่คนเดียวหรือไมมีคนช่วย อาจช่วยตนเองได้ โดยใช้กำปั้นของตัวเองวางตรงหน้าท้อง สว่ นบน แล้วกดกระแทกบรเิ วณลิ้นปี่ในทา่ โนม้ ตัวไปด้านหนา้ หรือกระแทกท้องกบั ขอบโตะ๊ หรอื โซฟา ชัก ปัจจุบนั ยงั ไมม่ วี ิธีใดท่ีสามารถหยดุ อาการชักได้ แมแ้ ตย่ ากันชักทผ่ี ู้ป่วยเจบ็ รบั ประทานเป็นประจำ ดงั นั้น จึงต้องปล่อยให้อาการชักดำเนินต่อไปจนสิ้นสุดระยะของอาการเอง การปฐมพยาบาลเป็นการป้องกันการ บาดเจ็บระหว่างชกั เมือ่ ผปู้ ่วยเจ็บหยดุ ชักแล้วอาจจะพดู ปลอบโยนหรอื บอกให้รวู้ ่ามอี าการชัก การปฐมพยาบาล 1. ป้องกันการบาดเจบ็ จากการลม้ 2. ให้ผปู้ ว่ ยเจบ็ นอนตะแคงเอยี งหนา้ ลงกบั พื้นในทา่ เงยคางขนึ้ 3. ดแู ลทางเดนิ หายใจ เช็ดหรือดดู เสมหะ นำ้ ลาย และส่งิ อาเจยี นออก 4. นำส่งโรงพยาบาล ขอ้ ควรระวัง 1. ไมน่ ำของแขง็ ใส่เข้าไปในปาก เพอ่ื งดั ฟัน 2. หา้ มมัดหรอื ต่อส้กู ับผูท้ ีก่ ำลังชัก 3. อยา่ ท้ิงผปู้ ่วยเจ็บไวต้ ามลำพัง เพือ่ ไปตามผอู้ น่ื 4. งดอาหารและน้ำระหวา่ งการชัก และหลังจากชกั ใหม่ๆ การจมนำ้ การจมน้ำทำให้เกดิ อันตรายจากการขาดออกซเิ จนไปเลยี้ งสมอง การช่วยชีวติ และการก้ฟู ืน้ คนื ชพี จึงเป็นปัจจัยสำคัญทที่ ำใหร้ อดชีวติ การปฐมพยาบาล 1. จดั ใหน้ อนตะแคงกงึ่ ควำ่ รบี ตรวจสอบการหายใจ 2. ถ้าไม่มกี ารหายใจ ใหช้ ว่ ยกู้ชพี ทันที 3. ใหค้ วามอบอุ่นกับรา่ งกายผู้จมนำ้ โดยถอดเส้ือผ้าท่เี ปยี กนำ้ ออกและใช้ผา้ แห้งคลมุ ตวั ไว้ 4. นำสง่ โรงพยาบาล

95 ข้อควรระวัง 1. กรณผี จู้ มน้ำมีประวัตกิ ารจมน้ำเนอื่ งจากการกระโดดนำ้ หรอื เล่นกระดานโต้คลืน่ การช่วยเหลือต้อง ระวังเรื่องกระดูกคอหัก โดยเฉพาะการเคลื่อนย้ายผู้จมน้ำ โดยเมื่อนำผู้จมน้ำถึงน้ำตื้นพอที่ผู้ช่วยเหลือจะยืน สะดวกแล้ว ใหใ้ ชไ้ มก้ ระดานแขง็ สอดใต้น้ำรองรบั ตวั ผู้จมนำ้ ใช้ผ้ารดั ตวั ผู้จม่ นำ้ ใหต้ ดิ กับไม้ไว้ 2. ไม่ควรเสยี เวลากับการพยายามเอาน้ำออกจากปอดหรอื กระเพาะอาหาร 3. หากไม่สามารถนำผู้จมน้ำขึ้นจากน้ำได้โดยเร็ว อาจเป่าปากบนผิวน้ำ โดยหลีกเลี่ยงการเป่าปาก ใต้นำ้ และหา้ มนวดหนา้ อกระหวา่ งอยใู่ นนำ้ โรคลมเหตุรอ้ นหรอื ฮีทสโตรก โรคลมเหตรุ ้อนหรือฮที สโตรก เปน็ กลมุ่ อาการท่ีเกิดจากความรอ้ นท่รี า่ งกายสร้างข้ึนรวมทั้งไดร้ บั จาก ภายนอก แต่รา่ งกายไมส่ ามารถระบายความร้อนออกไปไดท้ ัน ทำใหอ้ ณุ หภูมิภายในร่างกายสงู ขึ้นมากกอ่ ให้เกิด อันตรายตอ่ ระบบตา่ งๆ ของร่างกาย เป็นภาวะทม่ี อี ันตราย และอนั ตรายสูง สภาวะท่เี ปน็ อนั ตราย 1. ออกกำลังกายกลางแจง้ หรอื อยใู่ นสภาพแวดล้อมทม่ี ีความรอ้ นสูงเป็นระยะเวลานาน 2. ใส่เสื้อผา้ หนาทบึ ยากต่อการระเหยของเหงอ่ื 3. มีไข้ ดมื่ นำ้ ไม่เพียงพอ ท้องเสยี อาเจยี น อดนอน ดม่ื สุรามาก่อน สัญญาณอันตราย 1. มอี าการหนา้ มืด คลืน่ ไส้ อาเจยี น หมดแรง เดินเซ เปน็ ลม หนา้ แดง กระวนกระวาย มีพฤตกิ รรม เปล่ียนแปลง คลมุ้ คล่งั สับสน ชัก หมดสติ 2. ตวั ร้อนจดั 3. เหงื่อออกมาก จนสดุ ท้ายร่างกายจะไมม่ เี หง่ือออก การปอ้ งกัน 1. ในช่วงแรกของการฝึกค่อยๆเพิ่มระยะเวลาการออกกำลังกายกลางแจ้ง วันละ ½ ชั่วโมง จนพร้อม สมบูรณ์ภายในเวลา 7 วัน 2. จัดให้ดื่มน้ำ และมีช่วงพักที่เหมาะสมระหว่างออกกำลังกายกลางแจ้งหรืออยู่ในสภาพแวดล้อมที่มี อุณหภมู ิสงู 3. ใสเ่ สอื้ ผา้ ทีร่ ะบายความร้อนได้ดี 4. หลีกเล่ยี งการออกกำลงั กาย เมอื่ มไี ข้ ท้องเสีย อาเจยี น อดนอน 5. งดด่ืมสุราและเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ กอ่ นออกกำลงั กาย การปฐมพยาบาล 1. เมื่อพบผู้ที่มีอาการ ให้ทุกคนพักการออกกำลังกายกลางแจ้ง หรือออกจากสภาพแวดล้อมที่เป็น อนั ตรายทันที 2. นำผู้ป่วยเจ็บเขา้ ท่ีร่ม หรือสภาพแวดล้อมท่มี ีอากาศเยน็ หรอื อากาศถ่ายเทสะดวก 3. ถอดเส้อื ผา้ เพือ่ ให้ร่างกายระบายความร้อนได้อยา่ งรวดเรว็ 4. ทำการระบายความร้อน โดยเชด็ ตัวดว้ ยผา้ ชบุ นำ้ อุณหภมู ิปกติและพัดระบายความร้อนทวั่ ตวั

96 5. นำส่งโรงพยาบาลโดยเร็วทีส่ ดุ และทำการระบายความร้อนตลอดเวลาระหว่างการนำส่ง ช็อก ช็อก เป็นภาวะเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ ได้ไม่เพียงพอ อาจมีสาเหตุจากการเสียน้ำ เสียเลือด หัวใจ ลม้ เหลว แพ้อย่างรนุ แรง หรือจากการเจ็บปวดอยา่ งรนุ แรง อาการและอาการแสดง 1. ผู้ป่วยเจบ็ จะมีอาการกระหายนำ้ สับสน ซึมลง กระสบั กระสา่ ย จนถงึ หมดสติ จะตรวจพบว่าตัวเย็น ซดี ผวิ หนังช้นื ชีพจรเบาเร็ว หายใจเรว็ 2. ในกรณีช็อกจากการแพ้อย่างรุนแรง อาจมีอาการหน้า คอ และตัวบวมแดง หายใจลำบาก และมี เสียงวด๊ี การปฐมพยาบาล 1. จัดให้นอนหงายราบไม่หนนุ หมอน ตะแคงหน้า เพื่อป้องกันการสำลกั น้ำลายหรืออาเจยี น ยกปลาย เท้าให้สงู ประมาณ 1 ฟุต 2. หม่ ผ้าให้ความอบอุน่ 3. แกไ้ ขสาเหตุชอ็ ก เช่น ถา้ มเี ลอื ดออกให้ห้ามเลือด 4. รีบนำส่งโรงพยาบาล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook