Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา เหล่าทหารสื่อสาร ปี5

วิชา เหล่าทหารสื่อสาร ปี5

Published by military2 student, 2022-05-20 02:41:32

Description: วิชา เหล่าทหารสื่อสาร ปี5

Search

Read the Text Version

เราจะสบื สาน รกั ษา และตอ่ ยอด และครองแผ่นดินโดยธรรม เพอ่ื ประโยชน์สขุ แหง่ อาณาราษฎรตลอดไป พระปฐมบรมราชโองการ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชิรเกลา้ เจา้ อยหู่ วั

พระมหากษตั รยิ ไ์ ทย พระมหากษตั รยิ ไ์ ทยทรงเปน็ จอมทพั ไทยมาทกุ ยคุ ทกุ สมยั สืบทอดกันมาต้ังแต่บรรพบุรุษที่ได้รวบรวมเผ่าไทย ตั้งขึ้นเป็น ราชอาณาจกั รไทย ณ ผนื แผ่นดินไทยแหง่ นี้ คำ� วา่ “พระมหากษตั รยิ ”์ หมายถึง นักรบผยู้ ่งิ ใหญ่ หรอื จอมทัพ เพราะในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ชาติท่ีเข้มแข็ง เทา่ นน้ั จงึ จะดำ� รงคงความเปน็ ชาตอิ ยไู่ ด้ ชาตทิ อ่ี อ่ นแอ กจ็ ะตกไป เปน็ ผทู้ อี่ ยใู่ นครอบครองของชาตอิ น่ื ความเขม้ แขง็ ทสี่ ำ� คญั ยงิ่ คอื ความเข้มแข็งทางการทหาร ความเขม้ แข็งในดา้ นอน่ื ๆ เปน็ ส่วน ประกอบ ซงึ่ กจ็ ะขาดเสียมิได้ เนือ่ งจากการศกึ มิไดท้ ำ� อย่ตู ลอดไป ระยะเวลาว่างศึกมีอยู่มากกว่า ในห้วงเวลาดังกล่าว ก็จะมีการ สร้างเสริมความแข็งแกร่งในด้านต่าง ๆ เพ่ือความเจริญรุ่งเรือง ของประเทศ และความอยดู่ กี นิ ดขี องอาณาประชาราษฎร์ ชาตไิ ทย เปน็ ชาตทิ ี่มอี ารยธรรมสงู มาแต่โบราณกาล ดังนัน้ องค์ประกอบ อนั เปน็ แบบฉบบั แสดงถงึ ความเปน็ จอมทพั ไทยจงึ มอี ยา่ งครบถว้ น สมบูรณ์ มีสัญลักษณ์ท่ีเป็นเอกลักษณ์ของไทย มีความสง่างาม สมพระเกียรตยิ ศแห่งจอมทัพไทย

ค่มู อื นกั ศึกษาวชิ าทหารชาย ชั้นปี ท่ี 5 (เหลา่ ทหารส่ือสาร)



คำ� น�ำ การฝกึ นกั ศกึ ษาวชิ าทหาร มวี ตั ถปุ ระสงคท์ างดา้ นยทุ ธการ คอื การผลติ กำ� ลงั พล ส�ำรองระดับผู้บังคับบัญชาให้กับกองทัพ เพื่อเป็นการเตรียมกำ� ลังพลส�ำรองท่ีเข้มแข็ง ไวใ้ หพ้ รอ้ มสำ� หรบั การปอ้ งกนั ประเทศ วตั ถปุ ระสงคท์ างดา้ นยทุ ธศาสตร์ คอื การปลกู ฝงั เยาวชนให้เป็นผู้มีระเบียบวินัย มีอุดมการณ์ความรักชาติ ปกป้องและเทิดทูนสถาบัน พระมหากษัตริย์ มีจิตอาสา เป็นพลเมืองคุณภาพของประเทศ โดยใช้หลักสูตรการฝึก วิชาทหาร สำ� หรบั นกั ศึกษาวิชาทหาร ชัน้ ปีที่ 1 - 5 ของกระทรวงกลาโหม หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน ได้จัดท�ำ “คู่มือนักศึกษาวิชาทหาร” ประจ�ำ ปีการศึกษา 2563 เพื่อให้นักศึกษาวิชาทหารได้ค้นคว้าหาความรู้ และท�ำความเข้าใจ เน้ือหาวิชาต่าง  ๆ ท่ีก�ำหนดไว้ตามหลักสูตร (ภาคปกติ) 80 ช่ัวโมง โดยประกอบด้วย วิชาทหารที่ส�ำคัญ ท่ีนักศึกษาวิชาทหารแต่ละช้ันปีควรรู้และน�ำไปปฏิบัติได้ เพื่อ ตอบสนองวัตถปุ ระสงคด์ ้านยุทธการ และวชิ าทัว่ ไป มงุ่ เนน้ การตอบสนองวตั ถปุ ระสงค์ ดา้ นยุทธศาสตร์ดว้ ยการปลูกฝังและเสริมสร้างใหน้ กั ศกึ ษาหาความรู้ ก่อน หรอื ภายหลัง จากการรับการฝึก - สอน หวังว่า คู่มือนักศึกษาวิชาทหารเล่มน้ี จะเป็นแหล่งข้อมูล ด้านวิชาการ ในการศึกษาค้นคว้าเพ่ือให้มีความพร้อมส�ำหรับการเป็นก�ำลังพลส�ำรอง ระดับผ้บู งั คบั บัญชา และการเปน็ พลเมอื งคุณภาพของประเทศในอนาคต สบื ไป พลโท (ปราการ ปทะวานชิ ) ผู้บัญชาการหน่วยบญั ชาการรักษาดินแดน

หลักสตู รประกอบเวลา และคะแนนสอบประจ�ำวิชา นศท. ชน้ั ปที ี่ 5 ชาย (เหล่าทหารสื่อสาร) คะแนน ชัว่ โมง ลำ� ดับ เรือ่ ง ประ �จำ ิวชา ่รวมกิจกรรม งานมอบ 1. ภาคปกติ 80 1.1 การฝึกการใช้กระบส่ี �ำหรับนายทหาร (8) 1.2 วชิ าแบบธรรมเนียมทหาร (4) 10 1.3 วชิ าการกำ� ลงั ส�ำรอง (4) 10 1.4 วิชาผ้นู �ำ (8) 20 1.5 วิชาฝ่ายอ�ำนวยการ (4) 10 1.6 วชิ าอาวธุ (4) 10 1.7 วิชาเหลา่ ทหารสอื่ สาร (24) 50 1.8 วิชาศาสตร์พระราชา (8) 20 1.9 วชิ าปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย (4) 10 1.10 วชิ าพลเมอื งดวี ิถีประชาธปิ ไตย (4) 10 2. ภาคสนาม 54 2.1 การฝึกภาคสนาม 7 วนั (4) 30 2.2 ฝึกความชำ� นาญเฉพาะตำ� แหน่ง (4) 50 2.3 ฝึกยงิ ปืนในปา่ (4) 50 2.4 ฝึกยิงปนื ในเวลากลางคนื (4) 30 2.5 ฝึกปรับการยงิ ป. และ ค. (10) 60 2.6 ฝกึ การปฏิบัตทิ างยุทธวิธีของ มว.ปล.

หลักสตู รประกอบเวลา และคะแนนสอบประจ�ำวชิ า นศท. ชน้ั ปีที่ 5 ชาย (เหล่าทหารสื่อสาร) คะแนน ชวั่ โมง ลำ� ดบั เรอื่ ง ประ �จำ ิวชา ่รวมกิจกรรม งานมอบ 2.7 ฝกึ ตรวจสภาพความพรอ้ มรบ (4) 30 2.8 ฝกึ ปัญหาต่อเน่อื งทางยุทธวธิ ี (20) 150 2.9 ปลกู ฝงั อุดมการณค์ วามรกั ชาติ (2) - 2.10 สร้างการรับรู้ (2) - 3. เบด็ เตล็ด 12 3.1 การปฐมนเิ ทศ (4) - 3.2 การสอบภาคปฏิบตั ิ (4) 100 3.3 การสอบภาคทฤษฎี (4) 200 150 850 50 100 รวม 1,000

สารบญั หนา้ เหลา่ ทหารสอื่ สาร 1-11 บทท่ี 1 ภารกจิ การจดั หนว่ ยทหารส่ือสาร 12-20 บทที่ 2 ยทุ โธปกรณป์ ระเภทสาย 21-42 บทที่ 3 ยุทโธปกรณ์ประเภทวทิ ย ุ 43-48 บทที่ 4 หลกั นิยมการสอ่ื สารทางยุทธวธิ ี 49-53 บทท่ี 5 คำ� สงั่ การส่ือสาร 54-69 บทที่ 6 การสงครามอิเลก็ ทรอนิกส ์ ภาคผนวก

บทท่ี เหล่าทหาร ่ืสอสาร 1 ภารกจิ การจัดหน่วยทหารสื่อสาร 1. ภารกิจกรมการทหารสื่อสาร 1.1 วางแผน อ�ำนวยการ ประสานงาน แนะน�ำ ก�ำกับการ วจิ ัยและพฒั นา เก่ียวกับการผลิตจัดหา ส่งก�ำลังซ่อมบ�ำรุงบริการในกิจการของเหล่าทหารส่ือสาร อุปกรณ์สายส่อื สาร 1.2 วางแผน อ�ำนวยการ ประสานงาน แนะน�ำ ก�ำกับการ วจิ ยั และพฒั นา เกี่ยวกับการสื่อสาร กิจการโทรคมนาคม คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ท้ังปวง สนับสนุนระบบควบคุมบังคับบัญชา และการสื่อสาร ตลอดจนการสงครามข่าวสาร ของกองทพั บก 1.3 กำ� หนดหลกั นยิ มและทำ� ตำ� รา ตลอดทงั้ การฝกึ และศกึ ษา ทงั้ นี้ เกยี่ วกบั กิจการ และสง่ิ อุปกรณ์ของเหล่าทหารสอ่ื สาร เจ้ากรมการทหารสอื่ สาร ผู้บังคบั บัญชา รับผดิ ชอบ 2. การแบ่งมอบ เปน็ สว่ นราชการขน้ึ ตรงกองทพั บก 3. ขอบเขตความรับผดิ ชอบและหนา้ ทท่ี ส่ี �ำ คัญ 3.1 ปฏบิ ตั กิ ารสอื่ สารสนบั สนนุ ระบบควบคมุ บงั คบั บญั ชา และการสอ่ื สาร รวมทั้งให้การเสนอแนะ ค�ำแนะน�ำทางวิชาการเกี่ยวกับกิจการสายส่ือสารและการ สารสนเทศ

3.2 เสนอนโยบาย วางแผน อำ� นวยการ ประสานงาน กำ� กบั การ และดำ� เนนิ การ เกย่ี วกบั การสง่ กำ� ลงั และซอ่ มบำ� รงุ อปุ กรณส์ ายสอื่ สาร ใหก้ บั หนว่ ยตา่ ง ๆ ของกองทพั บก 3.3 วิจัย พัฒนา ก�ำหนดหลักนิยม จัดท�ำต�ำราและคู่มือเกี่ยวกับวิทยาการ สง่ิ อปุ กรณส์ ายสอ่ื สาร รวมทงั้ เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ การสงครามอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 3.4 วางแผน อำ� นวยการ จดั ทำ� หลกั สตู ร แผนการสอนและดำ� เนนิ การฝกึ ศกึ ษา กำ� ลงั พลเหลา่ ทหารสอ่ื สาร และเหลา่ ทหารอนื่ ตามทไี่ ดร้ บั มอบ 4. ผงั การจดั หน่วยของกรมการทหารสอ่ื สาร กรมการทหารสือ่ สาร 2 เหลา่ ทหารส่อื สาร กองกำ� ลังพล กแอลงะยกุทารธขก่าาวร กองส่งกำ� ลงั บำ� รุง กองปลัดบัญชี กองการเงนิ กองวทิ ยาการ กองจัดหา กองการกระจายเสยี ง และวทิ ยโุ ทรทศั น์ กองการภาพ กองผลิตส่งิ อปุ กรณ์ กองคลงั สื่อสาร กอแงซล่อะมอเเิ คลร็กื่อทงรมออื นสกิ ื่อสส์ าร สายส่อื สาร กองบริการ โรงเรียนทหารส่อื สาร ศเทูนคยโ์โนทโรลคยมสี นาารคสมนแเทลศะ

กองกำ� ลงั พล 1. หนา้ ท่ี 1.1 ใหค้ ำ� ปรกึ ษาแกผ่ บู้ งั คบั บญั ชาฝา่ ยอำ� นวยการในเรอ่ื งงานธรุ การทว่ั ไป 1.2 ด�ำเนินงานเก่ียวกับการธุรการและการธุรการก�ำลังพล ภายในกรมการ ทหารสอื่ สาร 1.3 เกบ็ รกั ษา แบบธรรมเนยี ม ระเบยี บขอ้ บงั คบั คำ� สง่ั ตา่ ง ๆ ของทางราชการ 1.4 วางแผน อำ� นวยการ ประสานงาน ดำ� เนนิ การกจิ การกำ� ลงั พลเหลา่ ทหาร สอื่ สาร 1.5 บนั ทกึ และรายงานสถติ ผิ ลงานตามหนา้ ที่ 2. การจดั กองกำ� ลงั พล แผนกธรุ การและกำ� ลงั พล แผนกจดั การ แผนกปกครอง แผนกเตรยี มพล เหล่าทหาร ่ืสอสาร 3 กองยทุ ธการและการขา่ ว 1. หนา้ ที่ 1.1 วางแผน อำ� นวยการ ประสานงาน กำ� หนดนโยบาย การกำ� หนดหลกั นยิ ม ในการปฏบิ ตั กิ ารทางยทุ ธวธิ ี และการสง่ กำ� ลงั บำ� รงุ ของเหลา่ ทหารสอื่ สาร การจดั การหนว่ ย ทหารสอื่ สาร ตลอดจนการดำ� เนนิ การเกย่ี วกบั การขา่ วกรองทางเทคนคิ ของเหลา่ ทหารสอื่ สาร รวมทงั้ การรกั ษาความปลอดภยั 1.2 บนั ทกึ และรายงานสถติ ผิ ลงานตามหนา้ ที่ 2. การจดั กองยทุ ธการและการขา่ ว แผนกแผน แผนกการขา่ ว และ รปภ. แผนกฝกึ และศกึ ษา

กองสง่ กำ� ลงั บำ� รงุ 1. หนา้ ท่ี 1.1 วางแผน อำ� นวยการ และกำ� กบั ดแู ลเกยี่ วกบั การสง่ กำ� ลงั บำ� รงุ สง่ิ อปุ กรณ์ สายสอ่ื สารใหก้ บั หนว่ ยตา่ ง ๆ ในกองทพั บกและประสานงานในกจิ การ สง่ กำ� ลงั บำ� รงุ อน่ื ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั สายงานสอื่ สาร 1.2 บนั ทกึ และรายงานสถติ ผิ ลงานตามหนา้ ท่ี 2. การจดั กองสง่ กำ� ลงั บำ� รงุ แผนกความตอ้ งการ แผนกควบคมุ แผนกสง่ กำ� ลงั และซอ่ มบำ� รงุ 4 เหลา่ ทหารส่อื สาร กองปลดั บญั ชี 1. หนา้ ที่ 1.1 วางแผน อำ� นวยการ และกำ� กบั ดแู ลเกยี่ วกบั การสง่ กำ� ลงั บำ� รงุ สงิ่ อปุ กรณ์ สายสอื่ สารใหก้ บั หนว่ ยตา่ ง ๆ ในกองทพั บกและประสานงานในกจิ การ สง่ กำ� ลงั บำ� รงุ อน่ื ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั สายงานสอ่ื สาร 1.2 บนั ทกึ และรายงานสถติ ผิ ลงานตามหนา้ ท่ี 2. การจดั กองปลดั บญั ชี แผนกงบประมาณ แผนกควบคมุ ภายใน แผนกตรวจสอบและวเิ คราะห์

กองการเงนิ 1. หนา้ ท่ี 1.1 ด�ำเนินการ เบิกรับ จ่าย การบัญชีเงินของหน่วยให้เป็นตามระเบียบ แบบแผน 1.2 เสนอแนะ และให้ค�ำปรกึ ษาทางด้านการเงนิ และการบญั ชแี ก่ผ้บู งั คบั บญั ชา 1.3 บนั ทกึ และรายงานสถติ ผิ ลงานตามหนา้ ท่ี 2. การจดั กองการเงนิ แผนกบญั ชี แผนกควบคมุ การจา่ ยเงนิ แผนกรบั จา่ ยเงนิ กองวทิ ยาการ เหล่าทหาร ่ืสอสาร 5 1. หนา้ ท่ี 1.1 จัดทำ� หลกั นยิ ม และต�ำราเก่ยี วกับการสอื่ สารทางยทุ ธวิธี การสงคราม อิเลก็ ทรอนกิ ส์ และด�ำเนนิ การเกย่ี วกับการใช้ความถ่วี ทิ ยุ 1.2 วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาเครื่องมือส่ือสารของกองทัพบก ตลอดจน การก�ำหนดคณุ ลกั ษณะเฉพาะของส่งิ อปุ กรณ์สายส่อื สาร 1.3 จัดท�ำหลักนิยม ออกแบบผลิต และการใช้อักษรลับ และการส่งก�ำลัง บำ� รุงอกั ษรลบั 1.4 ด�ำเนินการเก่ียวกับกิจการห้องสมุด และประวัติศาสตร์พิพิธภัณฑ์เป็น ส่วนรวม 1.5 บันทกึ และรายงานสถติ ผิ ลงานตามหน้าท่ี

2. การจดั กองวทิ ยาการ แผนกวิชาการ แผนกวจิ ยั พฒั นา แผนกการอกั ษรลบั แผนกหอ้ งสมดุ และพพิ ธิ ภณั ฑ์ 6 เหลา่ ทหารส่อื สาร กองจัดหา 1. หน้าท่ี 1.1 เตรยี มการ อำ� นวยการ ดำ� เนนิ การจดั หา จา้ งเหมาสงิ่ อปุ กรณส์ ายสอื่ สาร และสายยุทธบรกิ ารอ่นื ทีเ่ ก่ยี วข้อง 1.2 วางแผน ด�ำเนินการจัดหาส่ิงอุปกรณ์ให้สอดคล้องกับแผนการจัดหา ของกองทพั บก 1.3 ก�ำหนดนโยบายการจดั หาให้กบั หน่วยทีเ่ กีย่ วข้อง 1.4 ก�ำกับดแู ล และติดตามผลการด�ำเนินการจัดหาให้เป็นไปตามนโยบาย ที่ก�ำหนด 1.5 เสนอแนะผบู้ งั คบั บญั ชาเกย่ี วกบั วธิ กี ารจดั หาสงิ่ อปุ กรณแ์ ละการบรกิ าร 1.6 ตรวจสอบ และรายงานผลการจดั หา 1.7 บันทกึ และรายงานสถติ ผิ ลงานตามหน้าท่ี 2. การจดั กองจดั หา แผนกควบคมุ จดั หา แผนกจดั หา 1 แผนกจัดหา 2

กองการกระจายเสยี งวิทยุและโทรทศั น์ 1. หน้าท่ี 1.1 ดำ� เนนิ งานกจิ การกระจายเสยี ง ถ่ายทอดเสยี ง ขยายเสยี งวทิ ยโุ ทรทศั น์ โฆษณาตามความต้องการ ของกองทัพบก 1.2 ซ่อมสร้าง ดัดแปลง ค้นคว้า ทดลองเคร่ืองอิเล็กทรอนิกส์ที่เก่ียวข้อง ตลอดจนทำ� การควบคมุ ดูแล ทางเทคนคิ ในการปฏบิ ัติงานของสถานวี ิทยุกระจายเสียง 1.3 บันทึกและรายงานสถติ ิผลงานตามหน้าท่ี 2. การจัด กองการกระจายเสยี ง วทิ ยแุ ละโทรทศั น์ แผนก แผนก แผนก แผนก เหล่าทหาร ่ืสอสาร 7 กระจายเสยี ง ขยายเสียง วิทยุโทรทศั น์ ซ่อมบำ� รงุ กองการภาพ 1. หน้าท่ี 1.1 ด�ำเนินการถ่ายภาพน่งิ ภาพยนตร์ และเทปบนั ทกึ ภาพเกี่ยวกบั การฝึก การศึกษาการประชาสมั พันธ์ การปฏบิ ตั กิ ารทางจติ วิทยาให้กบั หน่วยต่าง ๆ ในกองทพั บก 1.2 บันทกึ ภาพเหตกุ ารณ์งานพธิ ตี ่าง ๆ ของกองทัพบก 1.3 ด�ำเนินการถ่ายท�ำรูปติดบัตรประจ�ำตัวทหารกองประจ�ำการ และ ด�ำเนินการพัฒนาฝึกอบรมเก่ียวกับกิจการภาพ เพื่อเพ่ิมความช�ำนาญให้กับก�ำลังพล ในกองทพั บก 1.4 บันทึกและรายงานสถติ ผิ ลงานตามหน้าท่ี

2. การจัด กองการภาพ แผนกภาพยนตร์ แผนกภาพน่งิ แผนกบริการการภาพ และเทปบนั ทกึ ภาพ 8 เหลา่ ทหารส่อื สาร กองผลติ สงิ่ อุปกรณส์ ายสอื่ สาร 1. หน้าท่ี 1.1 ใหข้ อ้ เสนอแนะและคำ� ปรกึ ษาหารอื แกผ่ บู้ งั คบั บญั ชา และฝา่ ยอำ� นวยการ ในเรือ่ งเก่ยี วกบั ววิ ฒั นาการ ของเครือ่ งสอ่ื สารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 1.2 วางแผน แนะนำ� กำ� กบั ดแู ล แกไ้ ขเกยี่ วกบั ววิ ฒั นาการของเครอื่ งสอื่ สาร อิเล็กทรอนกิ ส์ ร่วมกับหน่วยเกย่ี วข้องอ่ืน ๆ 1.3 ออกแบบ ค้นคว้า ทดลอง และพัฒนาเครื่องส่ือสารอิเล็กทรอนิกส์ แบตเตอรแ่ี ห้งและอปุ กรณ์เกี่ยวกบั การนี้ 1.4 ด�ำเนินการผลติ เครื่องส่ือสารอเิ ล็กทรอนกิ ส์ และอปุ กรณ์ท่เี กีย่ วข้องกับ การนี้ รวมท้งั แบตเตอรแ่ี ห้งเพอื่ สนบั สนุนกองทพั บก 1.5 ด�ำเนนิ การฝึกเจ้าหน้าทใ่ี ห้มคี วามช�ำนาญในการผลติ 1.6 บนั ทึกและรายงานสถติ ิผลงานตามหน้าท่ี 2. การจดั กองผลติ สง่ิ อปุ กรณ์ สายสอื่ สาร แผนกธรุ การ แผนกควบคมุ แผนกกาสรผนลบั ติสนนุ แผนกผลิตสง่ิ อปุ กรณ์ การผลติ สายส่ือสาร

กองคลังส่อื สาร 1. หน้าท่ี 1.1 อ�ำนวยการ ก�ำกับดูแลการบริหารงานคลัง การจ�ำหน่ายส่ิงอุปกรณ์ สายสื่อสาร 1.2 ควบคุมสถานภาพสิ่งอุปกรณ์สายส่ือสารให้เป็นไปตามนโยบายการ ส่งก�ำลังบ�ำรุง 1.3 บันทกึ และรายงานสถติ ิผลงานตามหน้าท่ี 2. การจดั กองคลงั สอื่ สาร แผนกควบคมุ แผนกเกบ็ รักษา แผนกแผน กองร้อยคลงั สิ่งอปุ กรณ์ และควบคุมงาน ส่ือสารเขตหลงั เหล่าทหาร ่ืสอสาร 9 กองซอ่ มเคร่อื งมอื สื่อสารอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 1. หน้าท่ี 1.1 ควบคุม อ�ำนวยการ และด�ำเนินการซ่อมบ�ำรุงเครื่องส่ือสาร อิเล็กทรอนิกส์ที่มีใช้อยู่ในกองทัพบก และหน่วยอ่ืน ท่ีได้รับมอบหมาย รวมท้ังการซ่อม และดัดแปลงกล่องวงจรของเคร่อื งสอ่ื สารชนดิ ต่าง ๆ 1.2 บันทกึ และรายงานสถติ ผิ ลงานตามหน้าท่ี

2. การจดั กองซอ่ มเครอ่ื งมอื สอ่ื สาร อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ แผนกธรุ การ แผนกแผน แผนกส่งกำ� ลัง แผนกซ่อมเครอ่ื ง และควบคุม ช้ินส่วน อิเลก็ ทรอนกิ ส์ แผนกซ่อม แผนกซ่อมเคร่อื ง แผนกเปรยี บเทยี บ แผนกสื่อสารสนบั สนนุ คอมพิวเตอร์ สือ่ สาร มาตรฐานและ การบนิ ทบ. และวงจร ซ่อมเครอ่ื งวดั อิเลก็ ทรอนกิ ส์ 10 เหลา่ ทหารส่อื สาร กองบริการ 1. หน้าท่ี 1.1 ดำ� เนนิ การสนบั สนนุ หนว่ ยตา่ ง ๆ ของกรมการทหารสอ่ื สาร เกย่ี วกบั การ รกั ษาการณก์ ารพลาธกิ าร การสวสั ดกิ าร การบนั เทงิ การสรรพาวธุ การขนสง่ การยทุ ธโยธา การพมิ พ์ การรกั ษาพยาบาล การบริการลูกมอื และแรงงาน ตลอดท้งั การฝึกอบรมทหาร ภายในหน่วย 1.2 บันทกึ และรายงานสถติ ผิ ลงานตามหน้าท่ี 2. การจดั กองบรกิ าร แผนกยทุ ธโยธา แผนกสวสั ดกิ าร แผนกขนส่ง แผนกพลาธกิ าร แผนกการพมิ พ์ แผนกสรรพาวธุ กองร้อยบรกิ าร หมวดพยาบาล

โรงเรียนทหารส่อื สาร 1. หน้าท่ี 1.1 อ�ำนวยการ และด�ำเนินการฝึกศึกษา และอบรมก�ำลังพลเหล่าทหาร สอื่ สารและเหล่าอน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วข้องตามนโยบายของกองทพั บก รวมทง้ั บงั คบั บญั ชาผู้เข้ารบั การฝึกศึกษาของโรงเรยี นทหารส่อื สาร 1.2 บนั ทึกและรายงานสถติ ิผลงานตามหน้าท่ี 2. การจดั โรงเรยี นทหารสอื่ สาร กองบญั ชาการ กองการศึกษา กองพนั นักเรยี น ศนู ย์โทรคมนาคมและเทคโนโลยสี ารสนเทศ เหล่าทหาร ่ืสอสาร 11 1. หน้าท่ี 1.1 วางแผน ดำ� เนนิ การ ประสานงาน กำ� กบั ดแู ลตลอดจนพฒั นาระบบการ สื่อสาร ระบบโทรคมนาคมและระบบสนเทศ สนบั สนุนกองทพั บก 1.2 บันทกึ และรายงานสถติ ิผลงานตามหน้าท่ี 2. การจัด ศนู ยโ์ ทรคมนาคมและ เทคโนโลยสี ารสนเทศ แผนกธรุ การ กองการสือ่ สาร กอสงาเรทสคนโเนทโศลยี วกิศอวกงแรผรมนรแะลบะบ กองโทเรคครมือนข่าายคมและ

บทท่ี ยุทโธปกรณป ระเภทสาย 1. วิทยุถา่ ยทอด RL-420 1.1 กล่าวท่วั ไป RL-420 เป็นเครื่องวิทยุถ่ายทอดทางยุทธวิธีท�างานในย่าน 760.0 - 960.0 MHz รับ - ส่งสัญญาณ Digital ในระบบ Time Division Multiplex (TDM) ท่ ี Data 12 เหลา่ ทหารส่อื สาร Rate 256, 512, 1024 หรือ 2048 Kb/s สามารถเลอื กให้ท�างานใน Automatic Power Output ได้ โดยเคร่อื งจะปรบั Power Output ให้มคี ่าเหมาะสมในระดับทเ่ี ครื่องรับของ คู่สถานรี บั สัญญาณที่มีคณุ ภาพเพยี งพอต่อการใช้งาน 1.2 คณุ ลกั ษณะทางเทคนคิ ย่านความถ่ ี 760.0 - 960.0 MHz ความกว้างของความถ่ ี 4 x 50 MHz. Duplex spacing Fixed or variable จา� นวนช่องความถ ่ี 2000 ช่อง ระยะห่างระหว่างช่อง 100 KHz. อิมพีแดนซ์ของสายอากาศ 50 โอห์ม Modulation FM/UHF ก�าลงั ออกอากาศ HIGH 15 W LOW 1 W AUTO 0.1 - 15 W

แหล่งจ่ายก�ำลงั ไฟ (Power Supply) AC Power Supply 185 - 276 VAC 45 - 65 Hz DC Power Supply 21 - 32 VDC ส้ินเปลอื งก�ำลงั ไฟ 200 W 2. วทิ ยถุ า่ ยทอด RL-421A 2.1 กล่าวท่วั ไป RL-421A เป็นเคร่อื งวทิ ยุถ่ายทอดทางยุทธวธิ ที �ำงานในย่าน 760.0 - 960.0 MHz รบั - ส่งสญั ญาณ Digital ในระบบ Time Division Multiplex (TDM) ที่ Data Rate 256, 512, 1024 หรือ 2048 Kb/s สามารถเลือกให้ทำ� งานใน Automatic Power Output ได้ โดย เครอ่ื งจะปรบั Power Output ใหม้ คี า่ เหมาะสมในระดบั ทเ่ี ครอ่ื งรบั อกี สถานหี นง่ึ รบั สญั ญาณ มีคุณภาพเพียงพอต่อการใช้งานเท่าน้ัน เพื่อหลีกเลี่ยงการส่งออกอากาศมากเกินความ จำ� เปน็ และปอ้ งกนั การดกั ฟงั จากขา้ ศกึ ไดอ้ กี ดว้ ย นอกจากนนั้ ยงั ปรบั ปรงุ ใหท้ ำ� งานในระบบ ECCM (Electronic Counter Counter Measure) ท�ำให้เคร่ืองมีขีดความสามารถท�ำงานใน Frequency Hopping Mode ได้ 2.2 คณุ ลกั ษณะทางเทคนคิ เหล่าทหาร ่ืสอสาร 13 ย่านความถ่ี 760.0 - 960.0 MHz ความกว้างของความถ่ี 4 x 50 MHz. Duplex spacing Fixed or variable จำ� นวนช่องความถ่ ี 2000 ช่อง ระยะห่างระหว่างช่อง 100 KHz. อมิ พแี ดนซ์ของสายอากาศ 50 โอห์ม Modulation FM/UHF ก�ำลงั ออกอากาศ HIGH > 10 W LOW -10 dB To -16 dB Below HIGH AUTO 0 dB To -20 dB Below HIGH (In 16 Steps) แหล่งจ่ายกำ� ลงั ไฟ (Power Supply) AC Power Supply 185 - 276 VAC 45 - 65 Hz DC Power Supply 21 - 32 VDC ส้ินเปลืองกำ� ลังไฟ 200 W

3. วทิ ยุถ่ายทอด RL-422A 3.1 กล่าวท่วั ไป RL-422A เป็นเคร่อื งวิทยุถ่ายทอดทางยุทธวิธที �ำงานในย่าน 610.0 - 960.0 MHz รบั - ส่งสญั ญาณ Digital ในระบบ Time Division Multiplex (TDM) ที่ Data Rate 256, 512, 1024 หรือ 2048 Kb/s สามารถเลือกให้ทำ� งานใน Automatic Power Output ได้ โดย เครอื่ งจะปรบั Power Output ใหม้ คี า่ เหมาะสมในระดบั ทเี่ ครอื่ งรบั อกี สถานหี นงึ่ รบั สญั ญาณ มีคุณภาพเพียงพอต่อการใช้งานเท่าน้ัน เพื่อหลีกเลี่ยงการส่งออกอากาศมากเกินความ จำ� เปน็ และปอ้ งกนั การดกั ฟงั จากขา้ ศกึ ไดอ้ กี ดว้ ย นอกจากนน้ั ยงั ปรบั ปรงุ ใหท้ ำ� งานในระบบ ECCM (Electronic Counter Counter Measure) ท�ำให้เคร่ืองมีขีดความสามารถท�ำงานใน Frequency Hopping Mode ได้ 3.2 คุณลกั ษณะทางเทคนคิ ย่านความถ่ี 610.0 - 960.0 MHz 14 เหลา่ ทหารส่อื สาร Duplex ilf ter bandwidth 20 MHz. ระยะห่างระหว่างช่อง 125 KHz. Duplex space Fixed or variable, min 50 MHz. จำ� นวนช่องความถ ่ี 2800 ช่อง Modulation Binary FM Mod. ก�ำลังออกอากาศ HIGH > 10 W. LOW -10 dB to -16 dB below HIGH AUTO 0 dB to -20 dB below HIGH แหล่งจ่ายกำ� ลังไฟ (Power Supply) AC Power Supply 185 - 276 VAC 45 - 65 Hz. DC Power Supply 21 - 32 VDC ส้นิ เปลืองกำ� ลังไฟ 200 W

4. วทิ ยุถา่ ยทอด RL-432A 4.1 กล่าวทว่ั ไป RL-432A เปน็ เครอ่ื งวทิ ยถุ า่ ยทอดทางยทุ ธวธิ ที ำ� งานในยา่ น 1350.0 - 1850.0 MHz รบั - ส่งสญั ญาณ Digital ในระบบ Time Division Multiplex (TDM) ที่ Data Rate 256, 512, 1024 หรือ 2048 Kb/s สามารถเลอื กให้ท�ำงานใน Automatic Power Output ได้ โดยเครื่อง จะปรับ Power Output ให้มีค่าเหมาะสมในระดับ ที่เคร่ืองรับอีกสถานีหนึ่งรับสัญญาณ มีคุณภาพเพียงพอต่อการใช้งานเท่าน้ัน เพื่อหลีกเลี่ยงการส่งออกอากาศมากเกินความ จำ� เปน็ และปอ้ งกนั การดกั ฟงั จากขา้ ศกึ ไดอ้ กี ดว้ ย นอกจากนนั้ ยงั ปรบั ปรงุ ใหท้ ำ� งานในระบบ ECCM (Electronic Counter Counter Measure) ท�ำให้เครื่องมีขีดความสามารถท�ำงานใน Frequency Hopping Mode ได้ 4.2 คุณลกั ษณะทางเทคนคิ ย่านความถ่ี 1350.0 - 1850.0 MHz Duplex filter bandwidth 24 MHz. ระยะห่างระหว่างช่อง 125 KHz. Duplex space Fixed or variable, min 50 MHz. เหล่าทหาร ่ืสอสาร 15 จำ� นวนช่องความถ ่ี 4000 ช่อง Modulation FM/UHF ก�ำลังออกอากาศ HIGH > 7 W. LOW -10 dB to -16 dB below HIGH AUTO 0 dB to -20 dB below HIGH MANUAL 0 dB to -20 dB below HIGH แหล่งจ่ายกำ� ลังไฟ (Power Supply) AC Power Supply 110 - 230 VAC 45 - 65 Hz. DC Power Supply 21 - 32 VDC ส้นิ เปลอื งกำ� ลังไฟ 200 W

ชุดวิทยุ RL Series 5. วิทยุถา่ ยทอด RL-532A 5.1 กล่าวท่วั ไป RL-532A ได้รับการออกแบบผลิตและมีไว้ส�าหรับการใช้งานทางยุทธวิธี RL-532A ประกอบดว้ ยฟงั กช์ นั EPM เพอ่ื ใหก้ ารปอ้ งกนั ทเี่ ปน็ ไปไดน้ อ้ ยทสี่ ดุ ตอ่ การตรวจจบั การคน้ หาตา� แหนง่ การลาดตระเวน และการรบกวน เนอื่ งจากการเปลยี่ นสมู่ าตรฐานพลเรอื น สา� หรับอินเตอร์เฟสเครอื ข่าย RL-532A จงึ มสี ่วนต่อประสานส�าหรับมาตรฐาน EUROCOM 16 เหลา่ ทหารส่อื สาร ทางทหารและมาตรฐาน ITU V.11 และ G.703 ทางพลเรอื น RL-532A ยังมีความสามารถ ในการเช่อื มต่อและใช้งานคอมพวิ เตอร์, เราเตอร์, สวิตช์ 5.2 คุณลกั ษณะทางเทคนคิ ย่านความถ ่ี 1350.0 - 2690.0 MHz ระยะห่างระหว่างช่อง 125 KHz Duplex space minimum 50 MHz. Modulation FSK/16 QAM/64 QAM ก�าลงั ออกอากาศ 5 W (+37 dBm) มาตรฐานการเช่อื มต่อ (Port Interface) Router Interface: IEEE802.3 Ethernet 10/100BASE-T, ITU V.11 TDM interface: Eurocom D/1 ITU V.11 G.703 HDB3

แหล่งจ่ายกา� ลงั ไฟ (Power Supply) DC Power Supply 19 - 32 VDC สน้ิ เปลอื งกา� ลงั ไฟ <150 W วิทยถุ ่ายทอด RL-532A 6. วทิ ยุถ่ายทอด TRC-4000 6.1 กล่าวท่วั ไป วทิ ยถุ า่ ยทอด TRC-4000 เปน็ วทิ ยถุ า่ ยทอดสนามรนุ่ ลา่ สดุ ทที่ างกองทพั บก จัดหามาเป็นของ บริษัท THALES ประเทศฝรั่งเศส ท�างานแบบ Light Of Sight (LOS) เห ่ลาทหาร ่ืสอสาร 17 ม ี Data rate ให้เลือกใช้งานคอื 2, 8 หรือ 34 Mb/s ย่านความถตี่ ้ังแต่ 4.4 – 5.0 GHz. (Full duplex) ซึง่ ตัววทิ ยถุ ่ายทอดจะตดิ ต้ังอยู่บนยอดเสาทค่ี วามสงู สูงสุด 20 เมตร ก�าลัง ออกอากาศสามารถกา� หนดได้ต้งั แต่ - 4.5 dB. ถึง +35.5 dB. และไปเพ่มิ เกนทีส่ ายอากาศ 6.2 คณุ ลกั ษณะทางเทคนคิ ย่านความถ ่ี 4.4 – 5.0 GHz ระยะห่างระหว่างช่อง 125 KHz จา� นวน HF Channel 4800 Channel Minimal Duplex separation 80 MHz at Data 34 Mbits 60 MHz at Data 8 Mbits Modulation QPSK Protocol D1/B5 256 ถงึ 2,048 KB/s G.703 2,048 KB/s ถึง 8 Mb/s V.11 2,048 KB/s ถงึ 8 Mb/s

ก�ำลงั ออกอากาศ - 4.5 ถึง +35.5 dBm แหล่งจ่ายกำ� ลงั ไฟ (Power Supply) DC Power Supply 19 - 33 VDC 18 เหลา่ ทหารส่อื สาร วิทยุถ่ายทอด TRC-4000 7. เครือ่ งชมุ สายสนามอัตโนมตั ิ DX-111 7.1 กล่าวท่วั ไป เครอื่ งชมุ สายสนามอตั โนมตั ิ DX-111 เปน็ ชมุ สายสนามอเนกประสงคแ์ บบ Digital ซง่ึ ได้รวบรวมเอาคุณสมบตั ขิ อง Multiplex, Switching และ Control System ไว้ในชดุ เดียวกนั ซง่ึ มลี ักษณะดงั น้ี 1. Multiplex แบบ TDM-DM ในระบบ 32 CH 2. Switching แบบ Circuit Switching ต่อใช้งานโทรศพั ท์ได้ 16 คู่สาย 3. Control System โดย DX-111 นนั้ สามารถควบคมุ และแจกจา่ ยการบรกิ าร ของชุมสาย 7.2 คุณลกั ษณะทางเทคนคิ TDM Port 3 Port EXPORT 1 PORT TDM Port Bit Rate 64, 128, 256, 512 และ 1024 Kb/s Subscriber 16 (Analogue หรอื Digital) Subscriber Bit Rate 16 หรือ 32 Kb/s

แหล่งจ่ายกำ� ลังไฟ (Power Supply) 200 - 250 VAC AC Voltage 21 - 32 VDC DC Voltage 200 W ส้ินเปลืองกำ� ลังไฟ เคร่ืองชมุ สายสนามอัตโนมัติ DX-111 8. เครอื่ งควบคมุ ระบบการส่อื สาร DX-200B เหล่าทหาร ่ืสอสาร 19 8.1 กล่าวทว่ั ไป DX-200B คือ เป็นเคร่ืองชุมสายอัตโนมัติทางยุทธวิธีแบบ Digital ควบคุม ระบบสื่อสาร ท�ำหน้าที่สลับสายทางยุทธวิธีแบบหลายสื่อ มีส่วนประกอบที่ส�ำคัญอยู่ 3 ส่วน คือ 1. SWITCHING MODUL CPX-200 ท�ำหน้าที่เป็นเคร่ือง Multiplex และ Switching Subscriber 2. PACKET SWITCH MODUL SP-200 ท�ำหน้าท่เี ป็นเครื่อง Switching Data 3. MULTIPLEXER MODUL DMU-220 ท�ำหน้าทเ่ี ป็นเครือ่ ง Switching Sub- scriber 8.2 คณุ ลกั ษณะทางเทคนคิ ความจุ (Capacity) 1024 Channel (16 Kb/s Per Ch) Time Slot Channel คละกนั ได้ ด้วย Bit Rate ตั้งแต่ 16, 32, 64, 128 ถงึ 256 Kb/s

TDM Port จ�านวน 5 Port แต่ละ Port เลือกตั้ง Bit Rate ได้ตง้ั แต่ 256, 512, 1024 ถึง 2048 Kb/s เป็นอิสระกัน ในแต่ละ Port Subscriber ใชง้ านไดท้ งั้ Analog และ Digital จา� นวน 15 ตา� แหน่ง 8.3 การบรกิ าร (Service) Normal Call Sole User Switched Hotline Precedence/Pre-emption Conference Broadcast Party Line 20 เหลา่ ทหารส่อื สาร เครอื่ งควบคมุ ระบบการสอื่ สาร DX-200B CPX-200 SP-200 DMU-220

บทท่ี เห ่ลาทหาร ่ืสอสาร 21 ยุทโธปกรณประเภทวิทยุ 1. ชดุ วทิ ยุ AN/PRC-77, AN/VRC-64, AN/GRC-160 1.1 ชุดวทิ ย ุ AN/PRC-77 เป็นชุดวทิ ยุ VHF/FM มลี ักษณะภายนอกเหมือน เคร่ืองวิทย ุ AN/PRC-25 ทุกประการเพยี งแต่ AN/PRC-77 มีวงจรเป็น Transistors ล้วน ๆ มกี ารปรบั ปรงุ แกไ้ ขขดี ความสามารถในการสง่ ตอ่ ใหด้ ขี นึ้ และสามารถสง่ ขา่ วดว้ ยเครอื่ ง รกั ษาความปลอดภยั ทางคา� พดู (X-MODE) ไดเ้ ครอื่ งวทิ ย ุ AN/PRC-77 ใชแ้ ทนเครอ่ื งวทิ ยุ AN/PRC-25 ส่วนประกอบสา� คญั ชดุ วิทยุ AN/PRC–77 เครอื่ งรบั - ส่ง RT-841/PRC-77 ชุดขยายแหล่งกา� ลงั ไฟฟ้า OA-3633 หรอื AM-2060 แบตเตอร ี่ BA-386/PRC-25 หรือ BA-4386/U หรือ BA-386/U หรือ BA-3386/40 การควบคมุ ระยะไกล AN/GRA-39 หรอื AN/GRA-6 พร้อมด้วย สาย CX-7474/U

การส่งต่อ สายรวม MK-456/GRC น้�ำหนัก 10.7 กก. พร้อมแบตเตอร่ี ระดบั หน่วยทีใ่ ช้งาน มว. - พนั .ร. 1.2 คณุ ลกั ษณะทางเทคนคิ แบบของการใช้งาน ขณะส่ง ค�ำพูด (300 - 3500Hz) ร่วมกับ 150Hz tone squelch ขณะรับ ค�ำพดู (ไม่มี SQ), ค�ำพูด (มี SQ) ย่านความถ ่ี 30.00 - 75.95 MHz ระยะส่อื สารในการวางแผน 8 กม. (AT–271) 5 กม. (AT–892) จำ� นวนช่องการส่อื สาร 920 ช่องแต่ละช่องห่างกัน 50 KHz. ก�ำลังไฟ 12.5 - 15 VDC แหล่งกำ� เนิดไฟ 22 เหลา่ ทหารส่อื สาร สะพายหลัง แบตเตอรี่ BA-386/PRC-25 หรอื BA-4386/U หรอื BA-398/U หรอื BA-3386/40 ติดตง้ั บนยานยนต์ แบตเตอรยี่ านยนต์ 24 VDC ประจำ� ที่ PP-2953 (แปลงไฟ 115/230 VAC เป็น 25.5 VDC) ก�ำลงั ออกอากาศ 1.5 - 4 W สายอากาศ AT-892/PRC-25 (3 ฟุต) AT-271/PRC-25 (10 ฟตุ ) AT-912 หรอื AS-1729 ตดิ ตงั้ บนยานยนต์ (10 ฟตุ ) AT-9984 หรอื RC-292 ตดิ ตง้ั ประจ�ำท่ี การปรบั ตง้ั ความถ่ ี ครั้งละ 1 ช่อง การตดั เสียงรบกวน 150 Hz. สามารถต้งั ความถีล่ ่วงหน้าได้ 2 ช่อง

สว นประกอบชุดวิทยุ AN/PRC–77 1.3 การประกอบชดุ วทิ ยุ ส่วนประกอบ AN/PRC-77 AN/VRC-64 AN/GRC-160 1 1 RT-841 1 1 1 0 1 OA-3633 0 แบตเตอร่ี 1 เห ่ลาทหาร ่ืสอสาร 23 ชดุ วิทยุ AN/GRC–160 2. ชดุ วิทยุ AN/VRC-12, 43-49 2.1 ความมุ่งหมายและการใช้งาน 2.1.1 ชุดวิทยุแบบนี้เป็นชุดวิทยุที่มีรัศมีการท�างานในระยะใกล้ ท�าการ ติดต่อด้วยค�าพูดเป็นแบบ FM. ใช้ท�าการติดต่อระหว่างยานยนต์กับยานเกราะ ชุดวิทยุ ประกอบด้วยเคร่อื งรบั - ส่ง 1 - 2 เคร่ือง หรอื อาจมีเครอ่ื งรับช่วย 1 - 2 เครื่อง เพอ่ื อา� นวย ความสะดวกในการตดิ ต่อสอ่ื สาร

2.1.2 สามารถใช้ตดิ ต้งั เป็นสถานสี ่งต่อ เพื่อเพ่มิ ระยะการติดต่อได้ 2.1.3 ชดุ ตดิ ตง้ั บนยานยนตจ์ ะม ี CONTROL BOXS, สายเคเบลิ และอปุ กรณ์ อน่ื ๆ เพอื่ เพมิ่ ความสะดวกในการใชง้ าน ตลอดจนการตดิ ตอ่ ภายในดว้ ย CONTROL BOXS, สายเคเบลิ และอปุ กรณอ์ น่ื ๆ เพอ่ื ความสะดวกในการใชว้ ทิ ย ุ การตดิ ตอ่ ภายนอกและภายในรถ 2.1.4 สามารถติดต้ังประจ�าที่ได้ โดยใช้ร่วมกับเคร่ืองแปลงไฟสลับ PP- 2953/U จะแปลงไฟ 220 หรอื 110 VAC เปน็ ไฟ DC 24 V แหลง่ จา่ ยไฟนสี้ ามารถใชก้ บั เครอ่ื ง รับ - ส่ง หรอื เครอื่ งรบั ช่วยได้ 1 เครอ่ื ง และสามารถเพม่ิ ระยะการตดิ ต่อให้ไกลขึ้น โดยใช้ ร่วมกับชุดเสาอากาศ RC-292 ได้ด้วย 2.1.5 ในการประกอบเปน็ ชดุ วทิ ยตุ า่ ง ๆ นนั้ เราใชเ้ ครอ่ื งรบั - สง่ 2 ชนดิ คอื RT-246/VRC RT-524/VRC - BAND SW. มตี �าแหน่ง AUTO ใช้เปล่ียน - BAND SW. ไม่มีต�าแหน่ง AUTO ใช้ ความถี่เปล่ียนอัตโนมัติ โดยกดปุมใด เปลี่ยนความถด่ี ้วย MANUAL ปุมหนง่ึ ใน 10 ปุม - ไมม่ ี SPEAKER SW.ON - OFF ไมม่ ลี า� โพง - มี SPEAKER SW.ON - OFF มีล�าโพง 24 เหลา่ ทหารส่อื สาร ในตวั เครอื่ ง ในตัวเครอ่ื ง - POWER SW. มีต�าแหน่ง REMOTE ใช้ - POWER SW. ไม่มตี �าแหน่ง REMOTE กบั C-2742/VRC เลอื กความถโ่ี ดยอตั โนมตั ิ - มีขว้ั ต่อ REMOTE ไปยงั C-2742/VRC - ไม่มีข้ัว ต่อ REMOTE เครือ่ งรบั - สง RT-246/VRC เครอื่ งรับ - สง RT-524/VRC

เครื่องรับชวย R-442/VRC 2.2 คุณลกั ษณะทางเทคนคิ เครือ่ งรบั - สง่ RT-246/VRC และ RT-524/VRC ระดับหน่วยท่ใี ช้งาน กองพนั - กองพล ย่านความถ ่ี BAND A 30.00 - 52.95 MHz BAND B 53.00 - 75.95 MHz การตัง้ ความถ ่ี 10 แชนแนล (เฉพาะ RT-246/VRC) จ�านวนแชนแนล 920 แชนแนล ความห่างระหว่างแชนแนล 50 KHz เห ่ลาทหาร ่ืสอสาร 25 แบบของการ MODULATE FM แบบของสัญญาณ ค�าพูด กา� ลังออกอากาศ HIGH 35 วัตต์ (อย่างน้อย) LOW 1 - 3 วัตต์ รศั มีการท�างาน (เม่อื ออกอากาศในตา� แหน่ง HIGH) ประจา� ท่ ี 20 ไมล์ (32 กม.) เคลอ่ื นท ่ี 15 ไมล์ (24 กม.) สายอากาศ แบบตั้ง CENTER-FED แบบของ SQUELCH NOISE (7,300 Hz.) และ TONE (150 Hz.) เครื่องรบั ชว่ ย R-442/VRC ย่านความถ ่ี BAND A 30.00 - 52.95 MHz BAND B 53.00 - 75.95 MHz

จ�ำนวนแชนแนล 920 แชนแนล ความห่างระหว่างแชนแนล 50 KHz แบบของการ MODULATE FM แบบของสัญญาณ คำ� พดู แบบของ SQUELCH NOISE (7,300 Hz.) และ TONE (150 Hz.) สายอากาศ แบบตัง้ 3 ท่อน ความดงั ของเสยี ง ลำ� โพง 600 โอห์ม 500 mW. หูฟัง 600 โอห์ม 150 mW. 2.3 การประกอบชดุ วิทยุ ส่วนประกอบชุดและชิ้นส่วนอะไหล่ของชุดวิทยุ AN/VRC-12, AN/VRC-43 ถงึ AN/VRC-49 มดี งั นี้ 26 เหลา่ ทหารส่อื สาร ลำ� ดับ รายการ จ�ำนวนต่อชดุ วทิ ยุ 1. เครื่องรบั - ส่ง RT-246/VRC 12 43 44 45 46 47 48 49 2. เครือ่ งรบั ช่วย R-442/VRC 3. เครือ่ งรับ - ส่ง RT-524/VRC 1112- - - - 4. ฐานเครอ่ื ง (รบั - ส่ง) MT-1209/VRC 1-2- -12- 5. ฐานเคร่อื ง (รับช่วย) MT-1898/VRC - - - -1112 6. สายอากาศ AT-912/VRC (AS-1729/VRC) 11121112 7. ชุดควบคมุ วิทยุ C-2299/VRC 1-2- -12- 8. ฐานเสาอากาศ AB-15/GR 11121112 9. ท่อนเสาอากาศ MS-116A, MS-117A, MS-118A - - -1- - -1 10. สายเคเบลิ CX-4720/U ยาว 10 ฟตุ 1-2- -12- 11. สายเคเบลิ CX-4721/U 1-2- -12- 11111111 1 - 21 - 121

ชดุ วทิ ยุ AN/VRC-12 เห ่ลาทหาร ่ืสอสาร 27 ชุดวิทยุ AN/VRC-43 ชดุ วิทยุ AN/VRC-44 ชุดวิทยุ AN/VRC-45 ชุดวิทยุ AN/VRC-46

ชุดวิทยุ AN/VRC-47 ชดุ วิทยุ AN/VRC-48 28 เหลา่ ทหารส่อื สาร ชุดวทิ ยุ AN/VRC-49 3. ชดุ วิทยใุ นย่าน VHF/FM CNR-900 3.1 คณุ ลกั ษณะทางเทคนคิ ระดบั หน่วยท่ีใช้งาน มว. - กองพล ย่านความถ ่ี 30 - 87.975 MHz. จ�ำนวนช่องการสอ่ื สาร 2,320 ช่อง (แต่ละช่องห่างกัน 25 KHz.) การต้งั ความถล่ี ่วงหน้า 10 ช่อง แบบของการมอดูเลต Narrow-band FM อตั ราเรว็ ในการ HOP มากกว่า 100 Hop/sec. ความแตกต่างของ TOD ไม่เกิน 4.5 นาที

กำ� ลงั ออกอากาศ สะพายหลัง : LO 0.25 วัตต์ ตดิ ตั้งบนยานยนต์ : MD 4 วัตต์ : HI 4 วตั ต์ สะพายหลงั 20 W. : HI 20 วัตต์ ยานยนต์ระยะไกล : LO 0.25 วัตต์ : MD 4 วตั ต์ : HI 50 วตั ต์ แหล่งจ่ายก�ำลงั งาน สะพายหลัง 10 - 14.5 VDC (ปกติ 12 VDC) จาก NiCd, อัลคาไลน์หรอื ลิเธยี ม ติดตงั้ บนยานยนต์ 22 - 30 VDC (ปกติ 28 VDC) จาก แบตเตอรีร่ ถยนต์ โหมดใช้งาน : รบั อย่างเดียว : รับ - ส่ง : Scanning เหล่าทหาร ่ืสอสาร 29 : Hailing : สถานีถ่ายทอด การป้องกนั สัญญาณผิดโหมด : เสยี งกระจ่าง (Clear) : เข้ารหสั (Secure) : ความถีก่ ้าวกระโดด (Anti - Jamming) 3.2 การประกอบชดุ วิทยุ VRC- VRC- VRC- VRC- VRC- PRC- VRC- 745(*) 750(*) 1460(*) 1465(*) 1600(*) (LR) (LR) (SR/SR) (LR/LR) (SR) Component 730(*) 742(*) 11221 (MP) (SR) ----- ----- Receiver Transmitter RT-7330(*) 1 1 ----- Battery Cover Cy-7320 1 - ----- Short Whip Antenna AT-980 1 - 11221 Long Whip Antenna AT-290 1 - Antenna Matching Unit AB-288 1 - Handset H-250/u 1 1

3.2 การประกอบชดุ วิทยุ (ต่อ) PRC- VRC- VRC- VRC- VRC- VRC- VRC- Component 730(*) 742(*) 745(*) 750(*) 1460(*) 1465(*) 1600(*) (MP) (SR) (LR) (LR) (SR/SR) (LR/LR) (SR) Backpack Carrying Harness, ST-731 1 - - - - - - Control Handset H-739 1(0) - - - - - - Portable Loudspeaker LSA-108/M 1(0) - - - - - - Accessory Bag CW-503M 1(0) - - - - - - Mounting Base MT-2010 - - - - - -1 Vehicular Adaptor VA-1224 - - - - - -1 Mounting Base MT-7375 - 11111 - Vehicular Adaptor VA-7376 - -1- - - - Vehicular Adaptor VA-7377 - - -111- Power Amplifier AM-7350B - -11-1- Vehicular Antenna AS-1288 - 111221 30 เหลา่ ทหารส่อื สาร Vehicular Loudspeaker LS-454 - 11122 - Power Cable CX-8120 - 11111 - Coaxial Cable CG-409 - 11122 - Coaxial Cable CG-1773 - 111221 Cable CX-4720 Vehicular - - - - - -1 Loudspeaker LSA-100M - - - - - -1 หมายเหตุ : 1. โดยปกติแล้วแท่นเคร่ือง (MT-7375 or MT-1600), แท่นเสาอากาศ, CG-1773, CX-4720 และ CX-8120 เป็นชิ้นส่วนท่ีใช้งานกับรถยนต์ 2. ตัว S แสดงว่าเป็นวิทยุที่มีการเข้ารหัส, ก้าวกระโดด และข้อมูล เช่น PRC-730(S) ตวั ย่อ : MP - ชุดสะพายหลงั SR/SR - ระยะใกล้ เคร่อื งคู่ SR - ระยะใกล้ LR/LR - ระยะไกล เครื่องคู่ LR - ระยะไกล 0 - เผือ่ เลือก

ชุดวทิ ยุ PRC-730 สะพายหลงั เห ่ลาทหาร ่ืสอสาร 31 ชุดวทิ ยุ VRC–742 ติดตั้งบนยานยนตร ะยะใกล ชดุ วิทยุ VRC–745 ตดิ ตั้งบนยานยนตระยะไกล

32 เหลา่ ทหารส่อื สาร ชดุ วทิ ยุ VRC-750 ตดิ ตง้ั บนยานเกราะ ชุดวทิ ยุ VRC–1460 ตดิ ตง้ั บนยานยนตระยะใกล เครื่องคู (RETRANS) ชุดวิทยุ VRC–1465 ติดต้งั บนยานยนตร ะยะไกล เคร่ืองคู (RETRANS)

ชุดวิทยุ GRC–1600 ตดิ ตั้งประจาํ ที่ 4. ชุดวิทยุ HF-2000 4.1 คุณลกั ษณะทางเทคนคิ กองร้อย - กรม ระดบั หน่วยทใ่ี ช้งาน ย่านความถ่ ี 1.5 - 29.9999 MHz. จา� นวนช่อง/ความห่าง 285,000/100 Hz. (SPACE) จ�านวนช่องต้งั ล่วงหน้า : 20 CH. (Parameter) เห ่ลาทหาร ่ืสอสาร 33 : 10 COMSEC KEYS. : 10 ECCM TABLES & : 2 AUTOCALL TABLES โหมดการใชง้ าน FIXED FREQ : CLEAR (CLR) : SEC (COMSEC) FREQ HOP : AJ [ANTI - JAMMING (ECCM)] แบบสญั ญาณปอ้ งกนั 3 แบบ : เสียงธรรมดา (CLEAR) : เสยี งเขา้ รหสั (SECURE): ENCRYPTION/ DECRYPTION : ปอ้ งกนั การรบกวน (ANTI - JAMMING): FREQ.HOPPING

แบบการตง้ั ความถ่ี 3 แบบ : AUTO - CALL (การเลือกความถ่ีท่ีดี ทส่ี ุดโดยอตั โนมัติ) : การเลือกต้งั โดยบุคคล : การรับ - ส่งคนละความถี่ (DUAL) = SEMI -DUPLEX แบบของ SQUELCH (SQ.) SQ - SEL.C : เป็น SQ. แบบรหสั ดิจิตอล SQ - SYLAB : SYLABIC SQ. เป็น SQ. แบบเก่าทีใ่ ช้ กบั วทิ ยุ HF/SSB ท่ัวไป SQ - OFF : ยกเลิกการใช้ SQ. (ปิด SQ.) ก�ำลงั ออกอากาศ (LO, MI, HI) PRC-2200 : 5, 10, 20 W. VRC-2100 : 20, 50, 100 W. ก�ำลังงานท่ใี ช้ 34 เหลา่ ทหารส่อื สาร PRC-2200 : 10.5 - 14.5 VDC (LITHIUM BATT., NI - CAD BATT.) VRC-2100 : 22 - 32 VDC 4.2 ส่วนประกอบชดุ วิทยุ 4.2.1 ชุดวทิ ยุ VRC-2100 (BASIC ITEMS) ลำ� ดบั รายการ จ�ำนวน 1. Receiver/Transmitter RT-2001 1 2. Antenna Coupler, CP-2103 1 3. Adapter, 12/24 V, AD-1224V/HF 1 4. Handset, D-250/GR 1 5. Loudspeaker, Portable, LS-100M/HF 1 6. Antenna, Whip, 15 feet, AT-1715 1 7. Bracket, Antenna Base, MP-49 1

4.2.1 ชุดวทิ ยุ VRC-2100 (BASIC ITEMS) (ต่อ) จ�านวน 1 ลา� ดบั รายการ 1 8. Mounting, MT-2010/HF 1 9. Dipole Antenna Kit, AT-1742 1 10. Cable, DC Power, CX-4720/T (3 each) 1 11. Cable, RF Jumper, CX-1746A/HF (0.7 meter) 1 12. Operator’s Manual, VRC-2020 13. Operator’s Manual, PRC-2200 ชดุ วิทยุ VRC-2100 จา� นวน เห ่ลาทหาร ่ืสอสาร 35 1 4.2.2 ชุดวิทย ุ VRC-2020 (OPTIONAL ITEMS) 1 ลา� ดับ รายการ 1 1 1. Handset, Control, H-739 1 2. Key, Telegraph, KY-116 1 3. Cable Assy, Key, CX-1852S (1.8 meter) 1 4. Microphone, Dynamic, M-80/U 1 5. Headset, H-140A/U 6. Teletypewriter Adapter, AD-2165 7. Keyloader, G-10N Set 8. Remote Control Group, GRA-7300B

4.2.3 ชุดวิทยุ PRC-2200 จ�ำนวน 1 ลำ� ดบั รายการ 1 1. Receiver/Transmitter RT-2001 1 2. Antenna Coupler, CP-2003 1 3. Handset, H-250/U 1 4. Antenna Whip Kit, AT-1741H 1 5. Carrying Harness, ST-2243 6. Battery, Rechargeable, NiCd, TNC-2188 5. ชุดวทิ ยุ HF-6000 (2000T) 5.1 กล่าวท่วั ไป ชุดวทิ ยุ HF-6000 เป็นชดุ วทิ ยุแบบ HF/SSB สามารถใช้งานในแบบสะพาย หลัง, ตดิ ตั้งบนยานยนต์และตดิ ตง้ั ประจ�ำท่สี ามารถใช้งานใน EW ได้โดยใช้ระบบเข้ารหัส 36 เหลา่ ทหารส่อื สาร และความถี่ก้าวกระโดดเป็นวิทยุที่พัฒนาข้ึนมาจากชุดวิทยุ HF-2000 สามารถส่ือสารได้ ทงั้ แบบคำ� พดู , โทรเลข, ขอ้ มลู , ขอ้ ความสน้ั ๆ และตวั เลข สามารถเพม่ิ เตมิ อปุ กรณเ์ ผอื่ เลอื ก GPS เข้าไปในเครอ่ื งได้ ชุดวทิ ยุ HF-6000 สามารถประกอบเป็นชดุ วทิ ยอุ ่ืนได้ ดังนี้ PRC-6020 ใช้งานในแบบสะพายหลัง ก�ำลงั ออกอากาศสงู สดุ 20 W VRC-6020 ใชต้ ดิ ตง้ั บนยานยนตส์ ามารถถอดมาใชง้ านในแบบสะพายหลงั ได้ ก�ำลงั ออกอากาศสูงสดุ 20 W VRC-6100 ใช้ติดตงั้ บนยานยนต์ก�ำลังออกอากาศสูงสดุ 100 W VRC-6200 ใชต้ ดิ ตงั้ บนยานยนตก์ ำ� ลงั ออกอากาศสงู สดุ 125 W มี GPS ในตวั GRC-6400 ตดิ ตง้ั ประจ�ำทกี่ ำ� ลงั ออกอากาศสูงสุด 400 W GRC-6600 ตดิ ตั้งประจ�ำท่กี ำ� ลงั ออกอากาศสงู สดุ 1 kW 5.2 คุณลกั ษณะทางเทคนคิ ย่านความถ ่ี 1.5 - 29.9999 MHz. จ�ำนวนช่อง/ความห่าง 285,000/10 Hz. (SPACE)

โหมดการใช้งาน : CLEAR : COMSEC (SEC) : ECCM ชนิดของการติดต่อสอ่ื สาร : Voice-Analog and Digital (option), Data, Burst, CW ชนดิ ของการปรุงคลื่น : USB, LSB, AM* การตง้ั ความถ่ีล่วงหน้า : 100 channel parameters : 10 COMSEC keys : 10 ECCM hopset tables : 10 ALE tables* ก�ำลังไฟใช้งาน : PRC-6020: 12V nominal, NiCad & Lithium batteries : VRC-6020: 12/24 VDC nominal, MIL-STD- 1275AT : VRC-6100/VRC-6200: 24 VDC nominal, เหล่าทหาร ่ืสอสาร 37 MIL-STD-1275AT : GRC-6400/GRC-6600: 110/220 VAC ก�ำลงั ออกอากาศ : PRC-6020/VRC-6020: 5W/10W/20W/ Adaptive* : VRC-6100/VRC-6200: 20W/50W/100W : GRC-6400: 100W/200W/400W : GRC-6600: 200W/500W/1000W

5.3 การประกอบชดุ วทิ ยุ PRC-6020 VRC-6020 Component VRC-6100 VRC-6200 Receiver/Transmitter RT-6001 GRC-6400 Receiver/Transmitter RT-6201 GRC-6600 Antenna, Whip, 9 feet, AT-1741R 38 เหลา่ ทหารส่อื สาร Carrying Harness, ST-6020 111 - 1 1 Handset, H-250/U - - -1- - Antenna, Whip, 15 feet, AT-1715 1- - - - - Broadband dipole/semi delta Antenna 1- - - - - Vehicular Adapter, VA-6100 11111 1 Mounting Base, MT-6010 - 111 - - 100W Power Amplieif r, AM-2102 - 1(1) 1(1) 1(1) 1 1 400W Power Amplifier, AM-6401 - -1- - - 1000W Power Ampliefi r, AM-6601 -1- - - - Interface unit, IU-6000 - -1- - - Mounting Base, MT-2122 - - - -1 - Mounting Base, MT-1029 ----- 1 Mounting Base, MT-6400 - -1-1 1 100W Antenna Coupler, CP-2103 - -1- - - Mounting Base for CP, MT-2123 - - -1- - 125W Antenna Coupler, CP-6200 - - - -1 1 Mounting Base for CP, MT-6200 - -11- - 12/24 DC Adapter, AD-1228 - -11- - AC/DC Power Supply, PS-2400M - - -1- - AC/DC Power Supply, PS-1200 - - -1- - -1- - - - - 1(1) 1(1) 1(1) - - - - - -1 1

5.3 การประกอบชดุ วิทย ุ (ต่อ) Component PRC-6020 VRC-6020 Interconnecting cables (RF, power & control) VRC-6100 Loudspeaker, LS-108M VRC-6200 Loudspeaker, LS-454/U GRC-6400 GRC-6600 - 11111 1(2) - - - 1 1 - -11- - เห ่ลาทหาร ่ืสอสาร 39

6. สายอากาศ OE-254 6.1 กล่าวทว่ั ไป สายอากาศ OE-254 เป็นสายอากาศแบบใช้ดนิ เทยี ม (Artiicf ial Ground หรอื 40 เหลา่ ทหารส่อื สาร Ground Plane) ชนิดครอบคลุมทั้งย่าน (broad band) ใช้งานทดแทนสายอากาศ RC-292 โดยไม่เปลี่ยนความยาวของสายอากาศ เม่ือความถ่ีใช้งานเปลี่ยนแปลงไป ใช้งานได้ อเนกประสงค์ ติดต้ังประจ�าที่ ใช้เพ่ือวัตถุประสงค์ในการเพ่ิมระยะ การติดต่อของเคร่ือง รบั - ส่งวทิ ย ุ FM ที่ใช้งานทางยทุ ธวิธี 6.2 คุณลกั ษณะทางเทคนคิ ย่านความถ่ ี 30 - 88 MHz. ก�าลงั ส่งของวทิ ยทุ ่ีทนได้ 350 วัตต์ ระยะสอ่ื สารเพอื่ ใช้ในการวางแผน ประมาณ 2 เท่า ของระยะ การสอื่ สารของเครอ่ื งวทิ ยนุ นั้ ๆ เม่อื ใช้สายอากาศวิป มาตรฐานทางทหาร SPEC MIL-A-49204


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook