Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 002 ระเบียบแถว 4

002 ระเบียบแถว 4

Published by j.pranomsri, 2022-06-15 07:50:12

Description: 002 ระเบียบแถว 4

Search

Read the Text Version

ตอนท่ี ๑ หลกั การเบอ้ื งต้น บทท่ี ๑ ความมุ่งหมายของการฝึ กระเบียบแถว ข้อ ๑ การฝึกระเบียบแถวลูกเสือ มีความมุ่งหมายโดยท่ัวไปเพื่อฝึกให้ ลูกเสอื เป็นผมู้ ีระเบยี บวนิ ยั อนั ดงี าม รู้จกั ฟังคาบอกคาสั่งและปฏิบัติตามได้โดยถูกต้อง มงุ่ สง่ เสรมิ ให้เกิดความมานะอดทน ในอันที่จะบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ตามลักษณะ ของลูกเสือ ขอ้ ๒ โดยส่วนบคุ คล การฝึกระเบยี บแถวให้ผล ๒ ทาง คอื ทางร่างกาย และจิตใจ ในทางรา่ งกายเป็นผ้มู ีรา่ งกายแข็งแรง มีทรวดทรงสมส่วน มีท่าทางองอาจ ผ่ึงผาย และเป็นผู้มีประสาทตื่นตัว สามารถเคลื่อนไหวอิริยาบถได้คล่องแคล่วว่องไว ในทางจิตใจ ฝึกให้เป็นผู้มีอุดมคติในการรักษาเกียรติ วินัย กล้าหาญ อดทน และมี ความเชอ่ื มัน่ ในตนเองทจี่ ะปฏิบตั ิกิจการในหน้าที่ ขอ้ ๓ โดยสว่ นรวม การท่ไี ดท้ าการฝกึ ร่วมกนั ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือ ร่วมใจและความพร้อมเพรียง ย่อมก่อให้เกิดความสามัคคี และสามารถควบคุมกันได้ ด้วยความเป็นระเบียบเรียบร้อยสง่าผ่าเผยสมเกียรติของลูกเสือ ท้ังมุ่งฝึกให้สามารถ เปน็ ผู้นาและผู้ตามไดเ้ ป็นอย่างดดี ว้ ย ขอ้ ๔ เพอ่ื ให้ถึงซง่ึ ความมงุ่ หมายดงั กลา่ ว ผู้บังคับบัญชาลูกเสือนอกจาก จะทาการฝึกไปตามแบบฝึกนี้แล้ว จักต้องใส่ใจอบรมให้ลูกเสือรู้จักรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ รักหมู่คณะและเกียรติของตน จนสามารถเสียสละประโยชน์ตนเพื่อ ปฏิบตั หิ นา้ ท่ีของลูกเสอื ให้สมบูรณ์ ๑ เอกสารประกอบการผบู้ ังคบั บัญชาลูกเสอื เพอ่ื พฒั นาทักษะด้านระเบยี บแถวลกู เสอื

บทท่ี ๒ การจดั กาลงั ข้อ ๕ หนว่ ยลกู เสอื โดยปกติแบ่งออกเปน็ หมูล่ ูกเสอื กองลกู เสือ และกลมุ่ ลกู เสอื สาหรับกิจกรรมพเิ ศษ อาจจัดรวมกลุ่มลูกเสือเข้าเป็นหน่วยอย่างอ่ืน เปน็ ครัง้ คราวกไ็ ด้ ข้อ ๖ หมู่ลูกเสือ มีนายหมู่ลูกเสือเป็นผู้บังคับบัญชา และรองนายหมู่ ลกู เสือเป็นผู้ช่วยกับมีกาลังลกู เสือแลว้ แต่ประเภทลูกเสอื ข้อ ๗ กองลูกเสือ มีผู้กากับลูกเสือเป็นผู้บังคับบัญชา มีรองผู้กากับ ลูกเสือเป็นผู้ช่วยกับมีกาลังลูกเสือแล้วแต่ประเภทของลูกเสือในการปฏิบัติการ ถ้า จาเปน็ อาจจดั กองบังคับการขนึ้ ประกอบดว้ ยเจา้ หนา้ ทฝี่ า่ ยธุรการมจี านวนตามสมควร เข้าในกองลูกเสือน้นั ๆ กไ็ ด้ ข้อ ๘ กลมุ่ ลูกเสอื ประกอบดว้ ยกองลูกเสือ ๔ ประเภท คือ กองลูกเสือ สารอง กองลูกเสือสามัญ กองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ และกองลูกเสือวิสามัญ รวมกัน ประเภทละ ๑ กองเป็นอย่างน้อย หรือประกอบด้วยลูกเสือประเภทเดียวตั้งแต่ ๔ กองข้นึ ไป หรือถา้ มีลกู เสือ ๒ - ๓ ประเภทตอ้ งมปี ระเภทละ ๒ กองขนึ้ ไป อาวุธประจาตวั ขอ้ ๙ อาวุธประจาตวั มดี งั น้ี  ผู้บังคับบัญชาลูกเสือต้ังแต่ชั้นรองผู้กากับลูกเสือขึ้นไป ใช้ไม้ถอื (ยกเวน้ ผบู้ ังคบั บัญชาลกู เสอื สรอง)  นายหมู่ลูกเสือหรอื รองนายหมลู่ กู เสือที่ทาหนา้ ทแี่ ทน ใช้ไมพ้ ลองหรือไม้งา่ มพรอ้ มธงประจาหมู่  ลูกเสอื ใช้ไมพ้ ลองหรอื ไม้ง่ามตามประเภทของตน ๒ เอกสารประกอบการผู้บังคับบญั ชาลูกเสอื เพื่อพฒั นาทักษะด้านระเบยี บแถวลกู เสือ

การเรยี กนามและการบงั คบั บัญชาหน่วยลกู เสอื ขอ้ ๑๐ นามหนว่ ยลกู เสือ ระบชุ ่ือกองลูกเสือประเภทต่างๆท่ีได้รับอนุมัติ จัดตง้ั และช่อื โรงเรียนทสี่ งั กดั หมู่ใช้เคร่ืองหมายตามที่ได้กาหนดไว้ในกฎกระทรวงว่าด้วย เคร่อื งแบบลูกเสอื ข้อ ๑๑ ตามปกติผู้กากับลูกเสือ เป็นผู้บังคับบัญชาของกองลูกเสือ กรณที ่ีผกู้ ากบั ลูกเสือ ไม่อยู่หรือไมอ่ าจปฏบิ ตั ิหน้าที่ได้ ให้รองผ้กู ากับลูกเสือท่ีอาวุโสสูง ปฏิบัติหน้าท่ีแทน และเช่นเดียวกันสาหรับหมู่เม่ือนายหมู่ลูกเสือไม่อยู่ หรือไม่อาจ ปฏิบตั ิหน้าท่ีประจาได้กใ็ หร้ องนายหมูล่ กู เสอื ปฏบิ ัตหิ นา้ ทีแ่ ทน ๓ เอกสารประกอบการผูบ้ งั คบั บญั ชาลกู เสือเพื่อพัฒนาทักษะด้านระเบียบแถวลกู เสอื

บทที่ ๓ วิเคราะหศ์ พั ท์ ข้อ ๑๒ ศัพท์ต่างๆท่ีใช้ในการฝึกระเบียบแถวลูกเสือทั้งผู้ฝึกและลูกเสือ จาเปน็ ตอ้ งทราบ และเขา้ ใจความหมายไปในทางเดียวกัน ทั้งน้ีเพ่ือความสะดวกในการ ปฏิบตั ิ ข้อ ๑๓ การจัดรูปแถวของลูกเสือ ปกติจัดเป็นแถวตอนหรือแถวหน้า กระดาน และขบวน ทง้ั น้ีอาจจดั เป็นแถวชดิ หรือแยกหนว่ ยกไ็ ด้ ข้อ ๑๔ แถวตอน คือ แถวลูกเสือซึ่งจัดวางบุคคลซ้อนกันในทางลึก ระยะหา่ งระหว่างคนหนา้ กบั คนหลงั เรยี กวา่ ระยะตอ่ แถวตอนเรยี ง ๑ คอื แถวลกู เสือซ่ึงจัดเรียงซ้อนกันเป็นบุคคลในแถวลึก คนหลักอยหู่ น้าแถวเรียงลาดับตาแหนง่ ภายในหมู่ ระยะตอ่ ๑ ก้าว แถวตอนเรียง ๒ แถวตอนเรียง ๓ และแถวตอนเรียง ๔ คือ แถวตอน เรียง ๑ ยืนเรียงเคียงชิดกัน ๒, ๓ และ ๔ แถวตามลาดับ (ระยะเคียงเช่นแถวหน้า กระดาน) แถวหน้ากระดาน คือ แถวลูกเสือซึ่งอยู่เรียงเคียงเป็นแนวเดียวกัน ในทางกว้างระยะระหว่างบคุ คลจากศอกถงึ ศอก เรียกว่า ระยะเคียง แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว คือ แถวลูกเสือที่อยู่เรียงเคียงเป็นแนว เดียวกัน คนหลกั อย่ทู างขวา เรียงกันไปตามลาดับตาแหน่งภายในหมู่ ระยะเคียงศอก ถึงศอก แถวหน้ากระดาน ๒ แถว แถวหน้ากระดาน ๓ แถว และแถวหน้า กระดาน ๔ แถว คือ แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยวยืนซ้อนกัน ๒, ๓ และ ๔ แถว ตามลาดบั (ระยะต่อเชน่ แถวตอน) ขบวน คือ สว่ นต่างๆ ของหน่วยลูกเสือซึง่ จัดวางเปน็ สว่ น ๆ ภายในส่วน หนงึ่ ๆ จะจดั เป็นแถวหน้ากระดานหรอื แถวตอนกไ็ ด้ ๔ เอกสารประกอบการผูบ้ ังคับบญั ชาลกู เสือเพอื่ พัฒนาทกั ษะด้านระเบยี บแถวลกู เสือ

ตบั คือ ส่วนของแถวตอนท่มี ีลูกเสือ ๒, ๓ หรือ ๔ คน เคียงกันหรือส่วน ของแถวหน้ากระดานท่ีมีลูกเสือ ๒, ๓ หรือ ๔ คนซ้อนกัน ตับท่ีมีคนไม่ครบ เรียกว่า ตับขาด ข้อ ๑๕ คนหลกั คอื นายหมลู่ กู เสอื หรือลูกเสือ ที่ลูกเสืออ่ืนๆจะต้องถือ เป็นหลักสาหรับกาหนดการเดนิ หรอื กาหนดการจัดแถวตาม ในแถวตอนคอื ลูกเสือทีอ่ ยู่ ต้นขบวนของตอนหลักในแถวหน้ากระดานคอื หัวหนา้ ตบั ที่อย่ปู ีกขวา หน่วยหลัก คอื หน่วยท่ีหนว่ ยอนื่ ในกองเดยี วกันจะต้องถอื เป็นหลักในการ กาหนดการเดนิ หรอื เข้าแถวตาม โดยผบู้ งั คับหน่วยเป็นผกู้ าหนด แนว คือ ส่วนรวมของหน่วยลูกเสือ ท่ีอยู่เรียงเคียงกันไม่ว่าจะจัดแถว หรือขบวนอย่างไร และมรี ะยะเคยี งเท่าไร ปีกขวา (ซ้าย) คือ ส่วนที่อยู่ทางขวา (ซ้าย) ท่ีสุดของแนว นามของปีก ไมเ่ ปลี่ยนในเวลากลับแถว (คือเม่อื บอกกลบั หลังหันแลว้ ปกี ทีกาหนดไวไ้ มเ่ ปล่ียนแปลง เปน็ อยา่ งอ่ืน) ความลึกของขบวน คือ ระยะในทางลึกนับจากต้นขบวนถึงท้ายขบวน หรือจากคนที่อยู่หน้าสุดของหน่วยหรือต้นขบวนถึงคนท่ีอยู่หลังสุดของหน่วยหรือท้าย ขบวน หนว่ ยตามกนั คือ หน่วยทว่ี างไวซ้ ้อนกนั ในทางลกึ ไม่ว่าจะมีระยะต่อห่าง กันเท่าใด และจะอยูใ่ นทีห่ มายทางเดนิ เดยี วกนั หรือต่างที่หมายกันแตอ่ ยู่ใกล้กนั ก็ได้ หน่วยเคียงกัน คือ หน่วยที่อยู่เรียงกันในทางกว้างไม่ว่าจะมีระยะเคียง หา่ งกันเท่าใด และไมจ่ าเปน็ ต้องอยเู่ สมอกัน หนว่ ยข้างเคยี ง คือ หน่วยทีอ่ ยใู่ กลช้ ิดกับตนทางขวาทางซ้ายหรือท้ังสอง ขา้ ง ๕ เอกสารประกอบการผ้บู งั คบั บัญชาลกู เสอื เพ่ือพฒั นาทกั ษะดา้ นระเบยี บแถวลกู เสอื

เคร่ืองหมายต่างๆ ข้อ ๑๖ เครอื่ งหมายสาหรับใชใ้ นการอธบิ ายรูปต่างๆ ดังน้ี ผกู้ ากบั ลกู เสอื รองผู้กากับลกู เสอื นายหมลู่ ูกเสอื รองนายหมู่ลกู เสอื ลูกเสอื ๖ เอกสารประกอบการผบู้ ังคบั บัญชาลูกเสือเพอื่ พฒั นาทกั ษะด้านระเบียบแถวลกู เสอื

บทที่ ๔ วิธสี งั ่ การ ข้อ ๑๗ เมือ่ ผู้บงั คับบัญชาจะแจง้ ความประสงค์ของตนแก่ลูกเสือ ใช้วิธี สง่ั การดว้ ย (๑) คาบอก (๒) ทา่ สัญญาณ (๓) คาบอกและท่าสญั ญาณประกอบกัน (๔) แตรหรือนกหวดี (๕) คาสั่งด้วยปากหรือเขียน คาบอก ข้อ ๑๘ เพ่ือใหผ้ ูม้ ีหนา้ ทใี่ นการฝกึ ได้มคี วามเข้าใจและสามารถใช้คาบอก ตามท่กี าหนดไว้ในคู่มอื เลม่ น้ี เพ่ือสั่งการปฏิบัติท่าต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องไม่สับสนและ เป็นไปในแนวทางเดียวกัน จึงแนะนาให้ผู้ใชค้ ู่มอื ไดท้ ราบถงึ รายละเอยี ดเก่ียวกับการใช้ คาบอกดังต่อไปน้ี (๑) ประเภทคาบอก คาบอกที่กาหนดไว้คู่มือเล่มนี้แบ่งออกเป็น ๔ ประเภท คอื (ก) คาบอกแบง่ (ข) คาบอกเปน็ คา ๆ (ค) คาบอกรวด (ง) คาบอกผสม (๒) การใช้คาบอก ลักษณะที่ต่างกันของคาบอกประเภทต่างๆ จะเป็น เครื่องบ่งให้ทราบถึงลักษณะการปฏิบัติของท่าน้ัน ๆ แนวทางในการใช้น้าเสียงเพื่อส่ัง และเขียนไว้เห็นความแตกต่างกนั เดน่ ชัด โดยการแสดงเคร่อื งหมายไว้ (ก) คาบอกแบง่ เป็นคาบอกทีใ่ ชเ้ พ่อื ออกคาส่งั สาหรับท่าฝึกท่ีส่วน ใหญแ่ ลว้ มกั จะกาหนดไว้ให้ปฏิบัติได้เปน็ จงั หวะเดียวหรือแบ่งเป็นจังหวะ ๆ ได้ คาบอก ๗ เอกสารประกอบการผบู้ ังคับบญั ชาลกู เสือเพ่อื พฒั นาทกั ษะด้านระเบียบแถวลูกเสือ

แบ่งน้ี ผูใ้ ห้คาบอกจะตอ้ งเปล่งเสยี งบอกในคาแรกดว้ ยการลากเสียงค่อนข้างยาว แล้ว เว้นจังหวะไว้เลก็ นอ้ ยก่อนเปลง่ เสยี งบอกในคาหลังด้วยการเน้นเสียงหนักและสั้น การ เขยี นคาบอกชนดิ นีจ้ ะแสดงไว้ใหเ้ หน็ ดว้ ยการใช้เคร่ืองหมาย – ค่ันกลาง ไว้ระหว่างคา บอกคาหน้าและหลัง ตวั อยา่ งเช่น “ขวา-หนั ” เป็นตน้ (ข) คาบอกเป็นคา ๆ เป็นคาบอกที่ใชเ้ พอื่ ออกคาสั่งสาหรับท่าฝึกท่ี ส่วนใหญ่แล้วมักจะไม่กาหนดให้ปฏิบัติแบ่งเป็นจังหวะ ๆ ไว้ (แต่สามารถแบ่งการฝึก ออกเป็นตอน ๆ ได้) และจาเป็นตอ้ งใช้คาบอกยดื ยาว ซ่งึ อาจจะมหี ลายพยางค์ก็ได้ จึง จาเป็นต้องเวน้ จังหวะการบอกไวเ้ ป็นตอน ๆ หรือคา ๆ คาบอกเปน็ คา ๆ น้ี ผูใ้ หค้ าบอก จะต้องเปล่งเสียงบอกท้ังในคาแรกและคาหลังด้วย การวางน้าหนักไว้เท่า ๆ กัน โดย เว้นจงั หวะระหว่างคาไว้เล็กน้อย ไม่ตอ้ งลากเสียงยาวในคาแรกและเนน้ เสยี งหนักในคา หลังเหมือนเช่น คาบอกแบ่ง การเขียนคาบอกชนิดน้ีจะแสดงไว้ให้เห็นโดยการใช้ เคร่ืองหมาย ( , ) คั่นกลาง ระหว่างคาบอก คาหน้าและคาหลัง ตัวอย่าง เช่น “ตาม ระเบยี บ, พัก” เป็นตน้ (ค) คาบอกรวด เปน็ คาบอกทใ่ี ชเ้ พ่อื ออกคาสั่งสาหรับท่าฝึกท่ีส่วน ใหญ่แล้วมักจะไม่กาหนดให้ปฏิบัติแบ่งเป็นจังหวะ ๆ ไว้ (แต่สามารถแบ่งการฝึก ออกเป็นตอน ๆ ได้) และเป็นคาสั่งที่ไม่ยืดยาวหรือหลายพยางค์ จึงไม่มีความ จาเป็นต้องแบง่ จงั หวะการสัง่ ไว้เปน็ ตอน ๆ หรือคา ๆ คาบอกรวดน้ี ไม่วา่ จะมีก่ีพยางค์ กต็ าม ผูใ้ ห้คาบอกจะตอ้ งบอกรวดเดียวจบ โดยการวางระดับเสียงเป็นระดบั เดยี ว การ เขียนคาบอกชนิดน้ีจะแสดงไว้ให้เห็นโดยเขียนเป็นคาติดต่อกันท้ังหมด ไม่ใช้ เคร่อื งหมายใด ๆ ทัง้ ส้ิน ตัวอย่างเชน่ “ถอดหมวก” เป็นตน้ (ง) คาบอกผสม เปน็ คาบอกทม่ี ลี กั ษณะคล้ายคาบอกเปน็ คา ๆ จะ ผิดกับคาบอกเป็นคา ๆ ตรงท่ีคาบอกในคาหลังจะเป็นคาบอกแบ่ง เพราะฉะนั้น คาบอกประเภทน้ีจึงเป็นคาบอกท่ีใช้เพ่ือออกคาส่ังสาหรับท่าฝึกที่ส่วนใหญ่มักจะ กาหนดให้ปฏิบัติแบ่งเป็นจังหวะ ๆ ได้ตามลักษณะของคาบอกแบ่งผสมอยู่ในคาหลัง ของคาบอกผสมนี้เป็นหลัก คาบอกผสมน้ีผู้ให้คาบอกจะต้องเปล่งเสียงบอกในคาห้วง แรก เช่นเดียวกับคาบอกเป็นคา ๆ คือ วางน้าหนักเสียงไว้เท่า ๆ กัน ส่วนการเปล่ง เสียงในคาบอกห้วงหลังก็คงเปล่งเสียงในลักษณะเดียวกันกับคาบอกแบ่ง คือ เปล่งเสยี งบอกคาแรก ดว้ ยการลากเสยี งคอ่ นขา้ งยาว แลว้ เวน้ จังหวะไวเ้ ล็กน้อยก่อนท่ี ๘ เอกสารประกอบการผ้บู ังคับบัญชาลกู เสอื เพือ่ พฒั นาทกั ษะดา้ นระเบยี บแถวลูกเสือ

จะเปล่งเสียงบอกในคาหลังด้วยการเน้นเสียงหนักและส้ัน การเขียนคาบอกชนิดน้ีจะ แสดงไว้ให้เห็นโดยใช้เคร่ืองหมาย ( , ) คั่นกลางไว้ระหว่างคาบอกห้วงแรกและห้วง หลงั สว่ นคาบอกในห้วงหลงั คงใชเ้ ครอ่ื งหมาย – คัน้ กลางไว้ระหว่างคาบอกคาหน้ากับ คาหลงั ตวั อย่างเชน่ “ทางขวา , แลขวา – ทา” เป็นต้น ผังแสดงจังหวะการใชค้ าบอก หัน ตาม พัก ระเบยี บ ขวา รูปท่ี ๒ แสดงการบอกคาบอกเปน็ คา ๆ รูปที่ ๑ แสดงการบอกคาบอกแบ่ง ทา ถอดหมวก ทางขวา แลขวา รปู ที่ ๓ แสดงการบอกคาบอกรวด รปู ที่ ๔ แสดงการบอกคาผสม ๙ เอกสารประกอบการผบู้ ังคับบัญชาลกู เสอื เพื่อพัฒนาทักษะด้านระเบยี บแถวลูกเสอื

ท่าสัญญาณ ข้อ ๑๙ ท่าสญั ญาณในการฝึกระเบียบแถวใช้แทนคาบอกเม่ืออยู่ห่างไกล จากลกู เสือหรือเมอื่ ไมส่ ามารถจะใช้คาบอกให้ได้ยินท่ัวถึง หรือในกรณีท่ีต้องการความ สงบเงยี บ ขอ้ ๒๐ การสัง่ การด้วยทา่ สัญญาณ ใหใ้ ช้ท่าสัญญาณแขนและมือในการ ฝกึ ระเบยี บแถว ดังต่อไปนี้ (๑) เตรยี ม คอยฟังคาสั่ง หรือหยุด เหยียดแขนขวา ขึ้นตรงเหนือศีรษะ มอื แบหา้ นิ้วชิดกนั หันฝา่ มือไปขา้ งหนา้ ลูกเสอื หยดุ การเคล่อื นไหวหรอื กระทาการใด ๆ ทง้ั ส้นิ น่ิงคอยฟงั คาสง่ั โดยหันหนา้ ไปยงั ผ้บู ังคบั บัญชา ถา้ อยู่ในแถวยนื อยู่ในท่าตรง (๒) รวม หรือ กลับมา เหยียดแขนขวา มือแบหมุนเป็นวงกลมเหนือ ศรี ษะจากซา้ ยไปขวา (๓) จัดแถวหน้ากระดาน เหยียดแขนทั้งสองไปด้านข้างเสมอแนวไหล่ ฝา่ มอื แบไปข้างหนา้ จัดแถวหน้ากระดานให้ทิศทางแถวหันตรงหนา้ ผใู้ ห้สญั ญาณ (๔) จัดแถวตอน เหยียดแขนท้ังสองไปข้างหน้าในแนวเดียวกับไหล่ แขนขนานกนั ฝา่ มอื แบเข้าหากนั (๕) เคล่ือนท่ีไปทางหน้า, ทางขวา (ซ้าย), ก่ึงขวา (ซ้าย), ไปทางหลัง ผู้ให้ สัญญาณ หันหน้าไปยังทิศทางท่ีต้องการ ชูแขนขวาขึ้นเหนือศีรษะ ฝ่ามือแบไป ขา้ งหนา้ แลว้ ลดแขนลงข้างหนา้ เสมอแนวบ่า (๖) หมอบลงหรือเข้าท่ีกาบัง แขนขวาเหยียดตรงไปข้างหน้าเสมอแนว ไหล่ ฝ่ามอื แบคว่าลดแขนลงขา้ งหน้าแล้วกลับท่ีเดิมหลายๆครั้ง (๗) เร่งจังหวะหรือเร็วข้ึน แขนขวางอมือกาเสมอบ่า ชูขึ้นตรงเหนือ ศรี ษะแล้วลดลงหลายคร้งั หมายเหตุ ก่อนจะให้สัญญาณแต่ละท่านั้น ให้ทาสัญญาณข้อ (๑) ก่อนทุกครั้งไปเพื่อ เป็นการเตอื นใหร้ วู้ า่ จะใหส้ ัญญาณอะไร ๑๐ เอกสารประกอบการผู้บงั คบั บัญชาลกู เสอื เพ่ือพฒั นาทกั ษะดา้ นระเบยี บแถวลูกเสอื

แตรหรอื นกหวดี ข้อ ๒๑ เม่ือลูกเสืออยู่รวมกันในกรณีพิเศษหลาย กองอยู่ปะปนกับ ประชาชน หรือเม่ือไปเดินทางไกลและอยู่ค่ายพักแรมแต่ลาพัง หน่วยลูกเสือต่างๆ ทมี่ าร่วมกันหรือกองลกู เสอื อาจจัดให้ใชส้ ญั ญาณแตรเด่ียวขน้ึ ได้ ในการน้ใี ห้ใชส้ ัญญาณ แตรเด่ียวของลูกเสือตามระบไุ ว้แล้วในคมู่ ือสญั ญาณแตรเด่ยี วของลกู เสอื สาหรับการฝกึ ประจาวนั ก็ดี ในโอกาสทีอ่ ยู่ห่างไกลจากลูกเสอื ก็ดี ผู้บังคับบัญชาลกู เสอื อาจใช้สญั ญาณนกหวีดบังคับแถวลกู เสือ ดังน้ี (๑) หวดี ยาว ๑ ครง้ั (__) ถา้ เคลอื่ นทใ่ี ห้หยุด ถา้ หยดุ อยู่เตือน, เตรยี มตวั หรือคอยฟังคาสงั่ (๒) หวดี ยาว ๒ คร้งั (__ __) เดินต่อไป, เคลอื่ นท่ตี ่อไป, ทางานต่อไป (๓) หวดี ส้นั หนึง่ ครัง้ , หวดี ยาวหน่งึ ครั้ง สลบั กันไป (_ __ , _ __) เกิดเหตุ (๔) หวีดสน้ั ๓ ครัง้ หวีดยาว ๑ ครง้ั ตดิ ตอ่ กันไป ( _ _ _ __ , _ _ _ __) เรยี กนายหมู่ ฯ มารับคาสง่ั (๕) หวีดสนั้ ติดกันหลายๆคร้งั (_ _ _ _ _ _ _ _ _ _) ประชุม, รวม หมายเหตุ เม่ือจะใช้สญั ญาณ (๒) (๓) (๔) หรอื (๕) ให้ใช้สญั ญาณ (๑) ก่อนทกุ ครั้ง คาสง่ั ด้วยปากหรอื เขียน คาสั่งด้วยปาก เป็นถ้อยคาที่ผู้บังคับบัญชาลูกเสือจะพึงส่ังให้ลูกเสือ ปฏิบตั ิตามความตอ้ งการเปน็ สว่ นรวม เชน่ “ใหท้ ุกหมู่แยกทาการฝึกระเบยี บแถวภายใน เวลา ๓๐ นาที แล้วพักได้” และเช่นเดียวกัน ผู้บังคับบัญชาลูกเสืออาจจะสั่งเป็นลาย ลักษณ์อักษรให้ปฏิบัติตามความต้องการ โดยเขียนข้อความลงบนกระดาษและนาไป ใหแ้ ต่ละหม่ไู ด้ทราบ ๑๑ เอกสารประกอบการผู้บงั คับบัญชาลกู เสือเพ่ือพฒั นาทกั ษะด้านระเบยี บแถวลูกเสือ

ตอนที่ ๒ ระเบียบการฝึก บทที่ ๑ กาหนดการฝึ กลกู เสือทวั ่ ไป ขอ้ ๒๒ การฝึกระเบียบแถวลูกเสือในปีหน่ึงๆ ให้ทาการฝึกตามหลักสูตร ทก่ี าหนดไว้ สาหรบั ลูกเสอื ชนั้ ต่างๆ ในข้อบังคบั คณะลกู เสอื แห่งชาติ ดงั น้ี เฉพาะลกู เสอื ใหม่ ใหท้ าการฝกึ ในหลกั สูตรลูกเสอื ตรี ลกู เสือตรี ให้ทาการฝึกในหลักสตู รลกู เสอื โท และลกู เสอื โท ใหท้ าการฝกึ ในหลกั สตู รลกู เสอื เอก โดยแต่ละชั้นแบ่งการฝึกในปีหนึ่งๆ แบ่งออกเป็นภาคๆ ตามภาค เรียนประจาปี ทั้งนใ้ี หก้ าหนดทา่ ทจ่ี ะฝกึ ตามสมควรแกเ่ วลาในภาคหนงึ่ ๆเฉพาะอย่างย่ิง ในภาคท่ี ๒ ให้ถือเป็นภาคทบทวน หรือแล้วแต่โอกาสที่จะทาการฝึกได้ให้ครบถ้วน ตามทไ่ี ด้กาหนดไวใ้ นข้อบังคับคณะลูกเสอื แห่งชาติ สาหรบั ผูท้ จ่ี ะสอบช้ันลูกเสือ และ ตรวจสอบใหม่ประจาปสี าหรับผู้ทจี่ ะสอบชน้ั ลูกเสือได้ ข้อ ๒๓ สาหรับวิชาลูกเสือแขนงอื่นๆ ซึ่งกาหนดไว้ในหลักสูตรตาม ข้อบงั คับคณะลูกเสือแหง่ ชาติ ให้กาหนดไวใ้ นการกาหนดการฝกึ รวมกบั กาหนดการฝึก ระเบียบแถวลกู เสอื ข้อ ๒๔ กาหนดการฝกึ ท่ผี ู้กากับลกู เสอื ทาขนึ้ จะต้องชีแ้ จงให้แจ่มแจ้งถงึ ก. เรอ่ื งทจี่ ะทาการฝึก ข. ผลทต่ี อ้ งการ ในการกาหนดการฝึก ควรกาหนดเครื่องมือเครื่องใช้ ภูมิประเทศที่ใช้ใน การฝึก ฯลฯ ด้วย แต่ต้องระวังมิให้ล่วงล้าในส่ิงท่ีผู้บังคับบัญชาลูกเสือชั้นรองจะคิด และจดั การดว้ ยตนเอง ๑๒ เอกสารประกอบการผู้บังคบั บญั ชาลูกเสือเพ่อื พฒั นาทักษะดา้ นระเบียบแถวลกู เสือ

ข้อ ๒๕ กาหนดการฝึกดังกล่าวแล้ว ย่อมกาหนดข้ึนล่วงหน้าเป็นการ ประจา แต่เพื่อให้การฝึกเป็นไปโดยเหมาะสมกับเวลาที่มีอยู่ ผู้กากับลูกเสือควรได้ กาหนดรายการฝึกข้ึนเป็นสัปดาห์ อีกชั้นหน่ึงโดยบ่งถึงเวลาท่ีทาการฝึก เรื่องท่ีจะฝึก ความมุ่งหมาย ตลอดจนผลที่ต้องการแล้วประชุมชี้แจงกับผู้ฝึกจนเป็นท่ีเข้าใจ ส่วน ตารางการฝึกประจาวันนั้นเป็นเรื่องท่ีรองผู้กากับลูกเสือซึ่งเป็นผู้ฝึกกาหนดข้ึน โดยมี รายละเอยี ดถึงเวลา เรื่องท่ีจะฝึก ผลต้องการ ส่ิงที่ต้องระมัดระวัง และวิธีการฝึกใน เร่อื งนั้น ๆ ทง้ั นอี้ นุโลมและขยายจากกาหนดการฝกึ ที่ผกู้ ากบั ลกู เสือกาหนดไวน้ นั่ เอง ๑๓ เอกสารประกอบการผูบ้ งั คับบญั ชาลูกเสอื เพื่อพัฒนาทักษะดา้ นระเบยี บแถวลกู เสือ

บทที่ ๒ การฝึ กผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื ข้อ ๒๖ การฝึกผู้บังคับบัญชาลูกเสือ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถทา การบงั คบั บญั ชาและฝึกลกู เสือในความรับผดิ ชอบของตนได้ นายหมู่และรองนายหมลู่ ูกเสอื ขอ้ ๒๗ นายหมู่ลกู เสอื เป็นผูบ้ งั คบั บญั ชาของหมู่ลูกเสือ ซึ่งจะต้องทาตน เปน็ ตวั อยา่ งอันดีงามแก่ลูกเสือท่ัวไป ท้ังในด้านระเบียบวินัย และมรรยาท นอกจากนี้ ยังตอ้ งสามารถทาการฝึกลูกเสอื ใหม่ได้ ทั้งในการฝึกเป็นบุคคลและการฝึกเป็นหมู่ด้วย การฝึกรองนายหมูล่ ูกเสือใหท้ าการฝึกรวมไปกับนายหมู่ลกู เสือด้วย เพื่อให้ถึงซึ่งจุดประสงค์ดังกล่าว การฝึกนายหมู่และรองนายหมู่ลูกเสือ เป็นหน้าท่ีของรองผู้กากับลูกเสือและผู้กากับลูกเสือ ซ่ึงจะต้องทาการฝึกให้มีความรู้ ความสามารถในหนา้ ที่ดงั ต่อไปน้ี ก. หนา้ ที่ลูกแถวท่วั ไป ข. วธิ จี ัดการฝึก ฝึกเป็นบคุ คลและเป็นหมู่ ค. การนาหมู่ การฝึกนายหมู่และรองนายหมู่ลูกเสือให้ได้ผลดีน้ัน อยู่ท่ีรองผู้กากับ ลูกเสือและผู้กากับลูกเสือเอาใจใส่อย่างขะมักเขม้น แนะนาแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ จนนายหมู่ลูกเสือและรองนายหมู่ลูกเสือมีสมรรถภาพ ปฏิบัติหน้าท่ีของตนได้เป็น อย่างดี ผ้กู ากบั ลูกเสอื และรองผ้กู ากบั ลกู เสอื ข้อ ๒๘ ผู้กากับลูกเสือและรองผู้กากับลูกเสือ ย่อมมีหน้าที่ฝึกลูกเสือ ภายในกองของตนให้เป็นผู้มีสมรรถภาพตามความมุ่งหมายของแบบฝึกระเบียบแถว ลูกเสือน้ี ฉะนั้นตนเองจะต้องหมั่นศึกษาทบทวนความรู้ในการฝึกระเบียบแถว ให้มี ความเขา้ ใจนับแต่การใช้คาบอก คาสง่ั การทาทา่ ทางต่าง ๆ ตลอดจนวิธีดาเนินการฝึก ๑๔ เอกสารประกอบการผบู้ ังคบั บญั ชาลูกเสือเพือ่ พัฒนาทกั ษะด้านระเบยี บแถวลกู เสือ

ให้เหมาะสม นอกจากน้ียังจะต้องหากลวิธีในการปลุกใจลูกเสือให้กระตือรือร้น และ เอาใจใส่ต่อการฝึก วิธีแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆอยู่เสมอ ทั้งนี้อาจใช้วิธีการฝึกกันเอง ภายในกองหรอื ขอคาแนะนาจากหนว่ ยอ่ืน ในกรณีพเิ ศษ ทางสานักงานลกู เสอื จังหวัด หรือสานักงานลูกเสือแห่งชาติ อาจจะจัดให้มีการฝกึ อบรมผกู้ ากับหรือรองผ้กู ากับขึ้นเป็นครัง้ คราวก็ได้ ๑๕ เอกสารประกอบการผบู้ งั คับบัญชาลกู เสอื เพอ่ื พัฒนาทักษะดา้ นระเบียบแถวลกู เสอื

บทที่ ๓ วิธีจดั การฝึ ก ข้อ ๒๙ การฝึกระเบียบแถวลูกเสือให้ได้ผลดีสมความมุ่งหมายนั้น จาเป็นจะต้องมีวิธีการฝึกให้ถูกต้องและเหมาะสม ฉะน้ันผู้มีหน้าท่ีในการฝึก จะต้อง พยายามศึกษาพิจารณาระเบียบแบบแผนท่ีจะใช้ในการฝึก และกระทาไปด้วยความ ละเอียดรอบคอบ หม่นั ตรวจตราหากลวิธีให้การฝึกดาเนินไปด้วยความเรียบร้อยและ เป็นระเบียบเดียวกัน ห้ามเปล่ียนแปลงท่าที่กาหนดไว้หรือนาเอาท่าและคาบอกอื่นใด ทม่ี ไี ดก้ าหนดไวใ้ นแบบฝกึ มาใชใ้ นการฝึกโดยพลการเป็นอันขาด ก่อนทาการฝึกทุกคราว ผู้มีหน้าท่ีในการฝึกจะต้องเตรียมตัวล่วงหน้า อย่างรอบคอบเพือ่ ให้การฝกึ ไดผ้ ลสมบูรณ์ ไม่ขาดตกบกพร่องและมีลู่ทางแก้ไขเมื่อมี อปุ สรรคเกิดขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับตัวครูผู้ฝึก ผู้บังคับบัญชาลูกเสือจะต้อง ตรวจตราและอบรมใหม้ ีความชานิชานาญสมกับหน้าที่ สาหรับครูผู้ฝึกต้องพยายามปรับปรุงวิธีการฝึกให้ลูกเสือสนใจ อย่าให้ ซ้าซากจนอาจเป็นการเบื่อหน่าย พยายามให้ลูกเสือรู้สึกว่าได้ความรู้เพิ่มเติมใหม่อยู่ เสมอ การฝึกเป็นบุคคลควรใชว้ ธิ แี สดงท่าทางใหด้ ูแทนการอธบิ ายด้วยปากให้มากที่สุด การฝึกหมู่ก็ควรให้หมู่ที่ได้รับการฝึกมาดีแล้ว แสดงให้ดูเป็นตัวอย่าง โดยช้ีแจงให้ ตระหนักในความสาคัญของการปฏิบัติร่วมกันอันเป็นประโยชน์ของส่วนรวม และ แยกแยะข้อบกพร่องส่วนบุคคลให้เห็นว่า เป็นผลกระทบกระเทือนถึงส่วนรวมด้วย พยายามส่งเสรมิ ทุกวถิ ที างใหล้ กู เสือมคี วามตัง้ ใจและพยายามปฏิบัตใิ ห้ถูกตอ้ งอยู่เสมอ มกี ารยกยอ่ งชมเชยผู้ทาดใี ห้เกิดมกี าลังใจและเปน็ ตัวอยา่ งแก่ผู้อน่ื หน้าที่ผ้กู ากบั ลูกเสอื ข้อ ๓๐ ผู้กากบั ลูกเสอื เปน็ ผ้รู บั ผดิ ชอบการฝึกระเบียบแถวลูกเสือในกอง ของตน โดยปฏบิ ัติการดงั ต่อไปน้ี ๑. กาหนดการฝึกระเบียบแถวลูกเสือ และวิชาลูกเสือแขนงอ่ืน ๆ ตาม หลักสตู ร ในข้อบงั คบั คณะลูกเสอื แห่งชาตขิ ้นึ ไวเ้ ปน็ ภาคๆ ๑๖ เอกสารประกอบการผูบ้ งั คบั บัญชาลูกเสือเพ่ือพัฒนาทักษะด้านระเบียบแถวลูกเสือ

๒. กาหนดการฝึกเป็นรายสัปดาห์ให้แก่กองลูกเสือ ตามความเหมาะสม กับเวลาทมี่ ีอยู่ โดยแจง้ ขอ้ ปลกี ย่อยให้ละเอยี ดยิ่งข้นึ ๓. แบ่งแยกเคร่อื งมือเคร่อื งใช้ และสถานที่ในการฝึกใหแ้ กก่ องลูกเสอื ๔. ตรวจตราโดยท่ัวไปเกี่ยวกับการฝึกของกอง และประชุมชี้แจงแก้ไข ข้อบกพร่องใหท้ ันท่วงทอี ยเู่ สมอ ๕. ตรวจตารางการฝึกประจาวันท่ีรองผู้กากับลูกเสือทาข้ึน ให้ถูกต้อง ตรงกับท่ีตนไดก้ าหนดไว้ ๖. ฝึกฝนรองผู้กากับลูกเสอื และผทู้ าหนา้ ท่ีแทนให้มีความรู้ความสามารถ ในการฝึกระเบียบแถวลูกเสืออยู่เสมอ ทั้งน้ีเพ่ือให้เกิดความเข้าใจในการปฏิบัติไป ในทางเดียวกัน ต้องหม่ันตรวจการฝึกให้เป็นไปตามที่กาหนดไว้ และพยายามส่งเสริม ให้ทุกคนมกี าลงั ใจในการปฏิบัติหนา้ ทขี่ องตน ดว้ ยความเรียบร้อยอยู่เสมอ หนา้ ทรี่ องผู้กากบั ลูกเสอื ข้อ ๓๑ รองผู้กากับลูกเสือเป็นผู้ฝึกลูกเสือในกองของตน ทาตารางการ ฝกึ ประจาวัน ในหน้าที่ของตนเสนอต่อผู้กากับลูกเสือเพื่อรับความเห็นชอบ และตรวจ ตราให้ครูผู้ฝึกทาหน้าที่โดยเหมาะสม และเตรียมการฝึกอย่างละเอียดรอบคอบ ให้ เวลาแก่ครผู ู้ฝึกเพอ่ื เตรียมงาน สาหรับโอกาสต่อไปตามสมควร รองผูก้ ากับลกู เสือต้อง ตรวจการฝึกด้วยตนเองตลอดเวลา และพยายามแกไ้ ขการฝึกที่ขาดตกบกพร่องมิให้ฝัง ติดไปกับผู้รับการฝึกให้ทันท่วงทีทุกครั้งท่ีทาการฝึก รองผู้กากับลูกเสือจะต้อง เตรียมการให้ถ่ีถ้วนว่าจะฝึกเรื่องใด ด้วยวิธีใด และต้องการผลเพียงใด การฝึกแต่ละ คราวไม่ต้องคอยให้ลูกเสือทาได้โดยถูกต้องจึงจะเปลี่ยนไปฝึกเร่ืองอื่น ต้องรู้กลวิธี สับเปลี่ยนการฝึกให้เหมาะแก่เวลา ไม่ซ้าซากพยายามซักซ้อมความเข้าใจกับครูผู้ฝึก เสียกอ่ นลงมือ ให้ถูกต้องทั้งคาบอกและท่าที่ปฏิบัติกวดขันครูผู้ฝึกให้ปฏิบัติหน้าที่ด้วย ความเครง่ ครัด ตลอดจนการแต่งกายและท่าทางใหเ้ ป็นเยี่ยงอยา่ งแก่ลูกเสืออยู่เสมอ ๑๗ เอกสารประกอบการผูบ้ ังคับบัญชาลูกเสอื เพื่อพัฒนาทักษะดา้ นระเบยี บแถวลูกเสอื

หนา้ ท่ีครูผ้ฝู กึ ข้อ ๓๒ ครูผู้ฝึกได้แก่นายหมู่ลูกเสือ หรือรองนายหมู่ลูกเสือท่ีปฏิบัติ หน้าท่ีแทน จะต้องเอาใจใส่ในหน้าที่ของตนและพยายามที่จะทาการฝึกให้ได้ผลสม ความมุ่งหมาย ครูผู้ฝึกจะต้องศึกษาพิจารณาแบบแผนที่จะใช้ในการฝึกและหมั่นปฏิบัติ เพ่อื ใหส้ ามารถทาการฝึกได้ถูกต้อง ทุกคนจะต้องจดจาเรื่องที่จะฝึกและข้อบกพร่องที่ ต้องระวังและแกไ้ ขเป็นพิเศษตามท่ี ผู้ฝึกช้ีแจงไว้โดยแม่นยา ครูผู้ฝึกต้องเป็นเยี่ยงแก่ ลูกเสือทั้งในด้านระเบียบวินัยการแต่งกาย และท่าทาง เพราะครูผู้ฝึกเปรียบเหมือน กระจกเงาทล่ี ูกเสือคอยเอาใจใสแ่ ละปฏบิ ตั ิตาม การฝึกทุกคราวต้องทาไปให้เหมาะสม กับเวลาท่ีกาหนดโดยให้มีการพักผ่อนบ้างตามสมควร ตลอดเวลาที่ทาการฝึกจะต้อง กวดขนั ท่าทางของลูกเสือใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบโดยเคร่งครดั และต้งั ใจจริง ๑๘ เอกสารประกอบการผบู้ ังคับบัญชาลูกเสือเพือ่ พฒั นาทกั ษะด้านระเบียบแถวลูกเสือ

ตอนที่ ๓ วิธดี าเนนิ การฝกึ ระเบยี บแถวลกู เสือ บทที่ ๑ การเตรียมการ ข้อ ๓๓ ก่อนที่จะดาเนินการฝึกระเบียบแถวลูกเสือจาต้องมีการ เตรียมการในส่ิงตอ่ ไปน้ี ๑. ตัวครูผฝู้ กึ ๒. เครื่องมอื เคร่อื งใช้ ๓. สถานที่ ๔. กาหนดการฝกึ และตารางฝกึ ประจาวัน ๕. วิธีการ ขอ้ ๓๔ ตัวครผู ู้ฝึก โดยปรกตคิ ดั เลอื กจากนายหมู่ลูกเสือหรือรองนายหมู่ ลูกเสือ ผู้ซงึ่ ไดผ้ า่ นความรู้ในการฝกึ ระเบยี บแถวมาแล้วเป็นอย่างดี และให้รองผู้กากับ ลกู เสอื จัดการทบทวนความรูใ้ นการฝกึ ทกุ ท่าทก่ี าหนดไว้ในแบบฝึกระเบียบแถวลูกเสือน้ี ให้ถูกต้อง คล่องแคล่ว และกระฉับกระเฉงแข็งแรงจนเป็นตัวอย่างอันดีแก่ลูกเสือ ฝกึ ซ้อมการใช้คาบอกคาส่ังตลอดจนวิธีการฝึกต่าง ๆ จนสามารถทาหน้าทค่ี รูฝึกได้ ข้อ ๓๕ เครือ่ งมือเครอื่ งใช้ในการฝึก เช่น ไม้พลอง ไมง้ ่าม หุ่นท่ีใช้ในการ ฝึกทา่ พลอง ฯลฯ ตลอดจนตารางการฝึกประจาวัน ต้องเตรียมไว้ให้เรียบร้อยก่อนทา การฝกึ ขอ้ ๓๖ สถานทที่ ี่ใชใ้ นการฝกึ ควรเป็นสถานท่ีไม่รกรุงรัง เป็นท่ีราบเรียบ ไม่ช้ืนแฉะหรือมีสรรพวัตถุซ่ึงเป็นอันตรายต่อการปฏิบัติการฝึก มีบริเวณกว้างขวาง พอท่ีจะไม่ต้องทาการฝึกอย่างยัดเยียด อันอาจทาใหก้ ารฝกึ ได้ผลไมเ่ ต็มที่ ข้อ ๓๗ กาหนดการฝกึ และตารางฝึกประวัน ให้เตรียมการล่วงหน้าตาม กาหนดการฝกึ ลกู เสอื ท่ัวไป ในตอนท่ี ๒ บทท่ี ๑ และตรวจทานดใู ห้ ๑๙ เอกสารประกอบการผ้บู งั คับบญั ชาลูกเสือเพื่อพัฒนาทกั ษะดา้ นระเบยี บแถวลกู เสอื

ข้อ ๓๘ วิธีการฝึก ในท่ีนี้หมายถึงวิธีการที่จะปฏิบัติต้ังแต่ต้นจนจบของ ทกุ ครั้งท่ีมีการฝกึ ระเบียบแถว โดยแบง่ การฝึกคราวหน่ึงๆออกเป็น ๒ ตอน ตอนแรก เรียกว่า การฝึกเริ่มตน้ และตอนหลังเรียกว่า การฝกึ ทบทวน การฝึกเริ่มต้น เป็นการฝึกในท่าซึ่งลูกเสือยังไม่เคยทาการฝึกมาเลย เพงิ่ จะทาการฝึกในครั้งน้ีเปน็ ครั้งแรกซึง่ ตอ้ งใช้วธิ ีการอย่างหน่ึง ส่วนการฝึกทบทวนนั้นหมายความว่า ลูกเสือเคยได้ทาการฝึกมาแล้ว แต่ยังมีการบกพร่อง ซ่ึงจะต้องแก้ไขอีกจึงทาการฝึกทบทวนเพื่อให้ทาท่าเหล่านั้นได้ ถกู ตอ้ งตอ่ ไป นบั เปน็ วิธกี ารอกี อย่างหน่ึง ๒๐ เอกสารประกอบการผบู้ ังคบั บญั ชาลกู เสือเพอ่ื พฒั นาทักษะด้านระเบียบแถวลกู เสือ

บทท่ี ๒ วิธีฝึ กเป็ นบุคคล ข้อ ๓๙ การฝึกเป็นบุคคลมุ่งหมายให้ลูกเสือรู้จักจัดส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกายให้เป็นระเบียบเรียบร้อย และปลูกนิสัยให้ปฏิบัติตามคาสั่งผู้บังคับบัญชาด้วย ความแข็งแรง ถูกต้อง และคล่องแคล่วว่องไว ฉน้ันวิธีฝึกเป็นบุคคลจึงเป็นวิธีแก้ไข กิริยาท่าทางและทรวดทรงของลูกเสือให้สมลักษณะและฝึกให้ลูกเสือมีความรู้ในทาง ปฏิบัติเป็นรายบคุ คล นับว่าเป็นการฝึกเบ้ืองต้นเฉพาะตัวลูกเสือเพ่ือจะเป็นพ้ืนฐานไป ทาการฝึกเปน็ สว่ นรวมตอ่ ไป จุดประสงคส์ ่วนใหญ่ของวิธีฝึกเปน็ บคุ คลนั้น ให้ลูกเสือเขา้ ใจความหมาย ของท่าต่าง ๆ ที่ต้องการโดยให้ลูกเสือทาท่าด้วยตนเอง และมีผู้ฝึกคอยช่วยแนะนา เหตุน้ผี ฝู้ ึกจึงต้องกอปรด้วยไหวพริบรอบรู้ลักษณะและความสามารถของลูกเสือ และ ใช้วธิ ีฝึกใหเ้ หมาะแกล่ ูกเสอื เปน็ คนๆไป ขอ้ ๔๐ การฝึกท่ามือเปลา่ และท่าอาวุธเริ่มตน้ ปฏบิ ัติดังนี้ ผู้ฝึกเรียกลูกเสือในกองของตนโดยใช้คาบอกว่า “ครึ่งวงกลม, มาหา ขา้ พเจา้ ” ลูกเสอื มาเข้าแถวตามลาดบั หมูเ่ ป็นรูปครึ่งวงกลมตรงหน้า ให้ปีกขวาและปีก ซ้ายของแถวอยตู่ รงแนวไหล่ซา้ ยและขวาของผฝู้ ึก แสดงการเข้าแถวรูปครึง่ วงกลม ๒๑ เอกสารประกอบการผู้บงั คับบัญชาลูกเสอื เพ่ือพฒั นาทกั ษะดา้ นระเบยี บแถวลกู เสือ

เม่ือพร้อมแล้วผู้ฝึกสั่งให้นายหมู่ลูกเสือหรือรองนายหมู่ลูกเสือทาหน้าท่ี แทนออกมายืนประจาอยู่หน้าหมู่ของตนแล้วเริ่มอธิบายถึงท่าท่ีจะให้ทาการฝึกโดย ลาดบั ดงั น้ี ๑. จะฝึกทา่ อะไร ๒. มีประโยชน์อย่างไร ๓. ทาอย่างไร (ทาให้ด)ู ๔. ใชค้ าบอกอะไร (แบง่ หรอื รวด หรอื เป็นคา ๆ หรอื ผสมมีจงั หวะ หรือ ตอนอย่างไร) ๕. จงั หวะหนึ่ง ๆ หรือตอนหนึ่ง ๆ ทาอย่างไร (ทาเป็นจังหวะหรือตอนให้ดู โดยใหล้ กู เสอื ทาตาม ครูผ้ฝู ึกชว่ ยตรวจตรา) เมื่อลูกเสือมีความเข้าใจพอสมควรแล้วก็ให้แยกหมู่ออกทาการฝึกโดย กาหนดสถานทแ่ี ละเวลาให้แนน่ อน ระหว่างทาการฝึก ผู้ฝึกต้องตรวจตราการฝึกว่าได้เป็นไปโดยถูกต้อง เรียบร้อยสมดังความมุ่งหมายหรือไม่ เป็นต้นว่าการใช้คาบอกคาสั่ง การแบ่งจังหวะ หรือตอนในท่าต่าง ๆ ตลอดจนการปกครองบังคับบัญชาของนายหมู่ลูกเสือหรือรอง นายหมู่ลูกเสือท่ีทาหน้าท่ีแทนในฐานะครูผู้ฝึกมีข้อบกพร่องอันควรแก้ไขอย่างไร ทั้งน้ี ตลอดเวลาทที่ าการฝกึ ข้อ ๔๑ ในการฝึกท่ามือเปล่าและท่าอาวุธของหมู่หลังจากผู้ฝึกอธิบาย แล้ว ให้ลูกเสือเข้าแถวหน้ากระดานแถวเดี่ยวหรือ ๒ แถว แล้วแต่จานวนชนิดของการ ฝึกและพนื้ ท่ี ขอ้ ๔๒ เฉพาะท่าทม่ี ีจงั หวะซึ่งใชค้ าบอกแบง่ ขน้ั ตน้ ให้ปดิ จังหวะเสียก่อน คือบอกให้ทาทีละจังหวะ เมื่อเห็นว่าถูกต้องดีแล้ว จึงเปิดจังหวะคือบอกให้ทา ติดต่อกันไปทีเดียว วิธีบอกให้บอกรวม คานาและคาสัญญาณเป็นประโยคเดียวกัน แล้วต่อด้วยลาดับเลข คอื เมื่อบอก ๑ ให้ลูกเสอื ทาจังหวะ ๑ และเมือ่ บอก ๒ , ๓ ฯลฯ ลูกเสือจึงทาต่อไปตามจังหวะน้ัน จนจบท่า ตัวอย่าง ท่าขวาหันอยู่กับที่มี ๒ จังหวะ ผู้ฝึกบอกปิดจังหวะว่า “ขวาหัน จังหวะ ๑” และต่อไป “จังหวะ ๒” สาหรับท่าท่ีไม่มี จังหวะซ่ึงใช้คาบอกรวด ถ้าพอจะแยกออกเป็นตอน ๆ ได้ก็ให้ลูกเสือทาทีละตอนและ ค่อยทวคี วามเร็วของตอนเหล่านนั้ ข้ึนจนสามารถทาทา่ นัน้ ๆได้โดยรวดเร็ว ๒๒ เอกสารประกอบการผู้บงั คับบัญชาลกู เสือเพอื่ พัฒนาทกั ษะดา้ นระเบยี บแถวลูกเสือ

ท่าต่าง ๆ ที่ทาการฝกึ ต้องทาติดต่อกันไปนอกเสียจากจาเป็นจะต้องหยุด พักผ่อนเท่าน้ัน ในระหว่างพักผู้ฝึกและผู้ช่วยท่ีได้เห็นข้อบกพร่องต้องแจ้งให้ลูกเสือ ทราบอย่างยอ่ ๆ และท่าใดที่ลูกเสือทาไม่ถูกต้องโดยเห็นว่ายังไม่เข้าใจจริง ๆ ควรฝึก ทา่ นน้ั เสียใหมน่ บั แตเ่ รมิ่ ต้นมาเลยทีเดียว ๒๓ เอกสารประกอบการผบู้ งั คับบญั ชาลกู เสือเพือ่ พัฒนาทกั ษะด้านระเบยี บแถวลูกเสอื

บทท่ี ๓ วิธีฝึ กเป็ นหมู่ และกอง ข้อ ๔๓ วิธีฝึกเป็นหมู่ และกอง เป็นการฝึกลูกเสือเป็นจานวนมากตาม กาลังของหมู่และกอง และการฝึกดังกล่าวนี้จะได้ผลดีเพียงไรอยู่ท่ีการฝึกเป็นบุคคล มาก่อน ฉน้ันการฝึกเป็นบุคคลจึงนับว่าเป็นรากฐานอันสาคัญที่จะนามาใช้ในการฝึก เป็นหมู่และกอง วิธีฝึกเป็นหมู่และกองส่วนมากกระทาไปในรูปของแถวชิดและขบวน ซ่ึงต้องอาศัยความพร้อมเพรียงและความเป็นระเบียบเรียบร้อย เพ่ือให้ถึงซึ่ง จดุ ประสงค์ ข้อนผี้ ู้บงั คบั บัญชาลูกเสือจะต้องถอื โอกาสอบรมจติ ใจลูกเสอื ให้เกิดความ สามัคคี รักหมูร่ ักคณะไปในตัว การฝกึ เปน็ หมแู่ ละกอง จึงจะได้ผลสมดังความมงุ่ หมาย ขอ้ ๔๔ วิธีฝกึ เปน็ หมู่ และกอง ปฏบิ ตั ดิ งั น้ี ให้ผู้บังคับบัญชาของหน่วยย่อยลูกเสือต่าง ๆ ดาเนินการฝึกไปตามรูป แถวชิดของหมู่ และกอง ที่อยู่ในความรับผิดชอบของตน โดยลาดับวิธีฝึกของแต่ละ หน่วยออกไปดงั น้ี (๑) รูปแถวชิดตา่ ง ๆ หรอื รปู ขบวนของหน่วย (๒) การเขา้ แถวและการจดั แถวหรือขบวน (๓) การรวมและขยายอาวธุ (๔) การเปลี่ยนรูปแถวและการเปลยี่ นทศิ หนา้ แถวหรือขบวน ๒๔ เอกสารประกอบการผู้บังคับบญั ชาลูกเสือเพือ่ พัฒนาทกั ษะด้านระเบยี บแถวลกู เสือ

บทที่ ๔ การตรวจสอบ ขอ้ ๔๕ เมื่อลกู เสือแตล่ ะชนั้ ได้ทาการฝึกระเบียบแถวในภาคหน่ึง ๆ แล้ว ให้ผูก้ ากับลกู เสือทาการตรวจสอบประจาภาค เพือ่ ทราบผลการฝึกตามท่ีได้กาหนดการ ฝึกไปแลว้ ข้อ ๔๖ ในภาคที่ ๒ หลังจากตรวจสอบประจาภาคแล้ว ให้ทาการ ตรวจสอบใหญป่ ระจาปเี พอื่ สรุปผลการฝกึ ในภาคต่าง ๆ อีกครง้ั หนึ่ง การประเมนิ ผลเมอ่ื ทาการตรวจเสรจ็ ข้อ ๔๗ เมื่อได้ทาการตรวจสอบเสร็จครั้งหน่ึง ๆ ให้ผู้ตรวจสอบ ประเมินผลการฝกึ ที่หน่วยน้ันได้แสดงไปแล้วทุกคร้ังพร้อมท้ังคาแนะนาท่ีจะให้แก้ไขใน โอกาสตอ่ ไปด้วย ถ้าผู้บังคับบัญชาเหนือกว่าผู้ตรวจสอบอยู่ในท่ีตรวจน้ันด้วย จะให้ ข้อเสนอแนะตอ่ จากผู้ตรวจสอบอีกก็ได้ ๒๕ เอกสารประกอบการผบู้ ังคับบญั ชาลกู เสอื เพื่อพัฒนาทกั ษะด้านระเบยี บแถวลกู เสอื

ตอนท่ี ๔ การฝึกเปน็ บุคคล บทที่ ๑ เรอื่ งท่ีจะฝึ กเป็ นบุคคล ข้อ ๔๘ เร่ืองทจี่ ะฝกึ ลกู เสือเป็นบุคคลนั้น ส่วนใหญ่ได้แก่ ท่าต่าง ๆ ท่ีจะ ทาการฝึกซึ่งแยกออกได้ดังน้ี ๑. การฝกึ เปน็ บุคคลท่ามอื เปลา่ ๒. การฝกึ เป็นบคุ คลท่าถอื ไม้พลองหรือไม้ง่าม ๓. การฝกึ ใช้ไมพ้ ลองหรอื ไมง้ า่ มป้องกนั ตัว ข้อ ๔๙ การฝึกเป็นบุคคลท่ามือเปล่า เป็นการฝึกที่ให้ลูกเสือปฏิบัติท่า ต่างๆ โดยไม่มีอาวุธด้วยความกระฉับกระเฉงว่องไว ท้ังน้ีรวมทั้งเวลาอยู่กับท่ีและ ขณะเคลือ่ นที่ดว้ ย ข้อ ๕๐ การฝึกเป็นบุคคลท่าถือไม้พลองหรือไม้ง่ามป้องกันตัว เป็นการ ฝึกท่ีให้ลูกเสือปฏิบัติท่าต่าง ๆ ในขณะถือไม้พลองหรือไม้ง่ามด้วยความคล่องแคล่ว ว่องไว ซึง่ รวมทง้ั เวลาอยู่กบั ที่ และขณะเคลื่อนท่ดี ้วย ข้อ ๕๑ การฝึกใช้ไม้พลองหรือไม้ง่ามป้องกันตัว เป็นการฝึกท่ีให้ลูกเสือ รู้จักใช้ไม้พลองหรือไม้ง่ามเป็นอาวุธป้องกันตัวด้วยความคล่องแคล่วว่องไว รู้จัก ตัดสินใจโดยรวดเร็วและปฏิบัติการให้ถูกต้อง เม่ือมีอันตรายเกิดขึ้น ซ่ึงรวมท้ังการ ตอ่ ส้แู ละการป้องปัดใหต้ วั เองพ้นจากอันตราย ๒๖ เอกสารประกอบการผบู้ ังคบั บญั ชาลกู เสือเพื่อพฒั นาทักษะด้านระเบียบแถวลูกเสือ

บทที่ ๒ การฝึ กเป็ นบุคคลท่ามือเปล่า ๑. ท่าตรง คาบอก “แถว - ตรง” การปฏิบัติ ยืนให้ส้นเท้าชิด และอยู่ในแนวเดียวกันปลายเท้าแบะออกข้างละเท่ากัน ห่างกันประมาณ ๑ คืบ (ทามุม ๔๕ องศา) เข่าเหยียดตึงและบีบเข้าหากัน ลาตัวยืด ตรงอกผาย ไหล่เสมอกัน แขนทั้งสองห้อยอยู่ข้างตัวและเหยียดตรง พลิกศอกไป ข้างหน้าเล็กน้อย จนไหล่ตึงนิ้วมือเหยียดและชิดกัน น้ิวกลางติดขาตรงก่ึงกลาง ประมาณแนวตะเข็บกางเกงเปดิ ฝา่ มอื ออกเลก็ นอ้ ย ลาคอยืดตรงไม่ย่ืนคาง ตาแลตรง ไปขา้ งหนา้ ได้ระดบั นา้ หนักตวั อยบู่ นเท้าทงั้ สองเทา่ ๆ กนั และนงิ่ หมายเหตุ ๑. ท่าตรงเปน็ ทา่ เบือ้ งตน้ และเปน็ รากฐานของการปฏิบัติท่าอน่ื ๆ ๒. ใช้เปน็ ท่าสาหรบั แสดงการเคารพได้ทา่ หน่งึ ดา้ นหน้า ด้านข้าง ทา่ ตรง ๒๗ เอกสารประกอบการผู้บังคับบัญชาลูกเสอื เพือ่ พัฒนาทักษะด้านระเบียบแถวลกู เสือ

๒. ท่าพัก ก. ทา่ พกั ตามปกติ คาบอก “พัก” การปฏิบตั ิ หยอ่ นเขา่ ขวากอ่ น ตอ่ ไปจงึ หยอ่ นและเคลือ่ นไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และเปล่ียนเข่าพักได้ตามสมควร แต่เท้าท้ังสองคงอยู่กับที่ ห้ามพูด เมื่อได้ยินคาบอก ว่า “แถว” ให้ยืดตัวขึ้นและจัดทุกส่วนของร่างกายอยู่ในท่าตรง นอกจากเข่าขวา ครั้น เม่ือได้ยินคาบอกว่า “ตรง” ให้กระตุกเข่าขวาโดยเร็ว และแข็งแรงกลับไปอยู่ใน ลกั ษณะของท่าตรง ด้านหนา้ ด้านข้าง ท่าพักตามปกติ ข. ทา่ พักตามระเบยี บ คาบอก “ตามระเบียบ, พกั ” การปฏิบัติ แยกเท้าซ้ายออกไปทางซ้ายประมาณ ๓๐ ซม. (หรือประมาณเกือบคร่ึง ก้าวปกติ) อย่างแข็งแรงและองอาจ พร้อมกับจับมือไขว้หลัง ให้หลังมือเข้าหาตัว ๒๘ เอกสารประกอบการผู้บงั คับบัญชาลกู เสือเพอื่ พัฒนาทักษะดา้ นระเบียบแถวลูกเสอื

มอื ขวาทับมอื ซา้ ยนว้ิ หวั แม่มือขวาจบั นิ้วหัวแม่มือซ้าย หลังมือซ้ายแนบติดลาตัวในแนว ก่งึ กลางหลงั และอยู่ใตเ้ ข็มขดั เลก็ นอ้ ย ขาทั้งสองตงึ น้าหนักตัวอยู่บนเท้าทั้งสองเท่า ๆ กัน และนิ่ง เมื่อได้ยินคาบอกว่า “แถว - ตรง” ให้ชักเท้าซ้ายชิดเท้าขวาอย่าง แขง็ แรง พรอ้ มกับมอื ท้ังสองกลบั ไปอยใู่ นลักษณะทา่ ตรงตามเดิม ด้านหน้า ด้านข้าง ดา้ นหลงั ทา่ พกั ตามระเบยี บ ค. ทา่ พกั ตามสบาย คาบอก “ตามสบาย, พกั ” การปฏิบัติ หย่อนเข่าขวาก่อนเช่นเดียวกับ “พัก” ต่อไปจึงเคล่ือนไหวร่างกายอย่าง สบายและพูดจากันได้ แตเ่ ทา้ ขา้ งหนึง่ ต้องอย่กู ับท่ี ถา้ มิได้รบั อนญุ าตใหน้ ่งั จะนัง่ ไม่ได้ เม่ือไดย้ ินคาบอกวา่ “แถว - ตรง” ใหป้ ฏิบัติอย่างเดียวกบั ทา่ พักปกติ ๒๙ เอกสารประกอบการผู้บังคับบัญชาลกู เสอื เพื่อพัฒนาทกั ษะด้านระเบียบแถวลกู เสือ

ง. ทา่ พักนอกแถว คาบอก “พักแถว” การปฏิบัติ ต่างคนตา่ งแยกออกจากแถวทันที แต่ต้องอยู่ในบริเวณใกล้เคียงนั้น และ ไม่ทาเสียงอึกทึก เมื่อได้ยินคาบอกว่า “แถว” ให้รีบกลับมาเข้าแถวตรงที่เดิมโดยเร็ว ในรูปแถวเดิม และเมื่อจัดแถวเรียบร้อยแล้วให้อยู่ในท่าตรงจนกว่าจะมีคาบอกคาสั่ง ตอ่ ไป หมายเหตุ สาหรับทา่ พัก ท่าพัก เป็นท่าท่ีเปล่ียนอิริยาบถจากท่าตรง เพื่อผ่อนคลายความ เครง่ เครยี ดตามโอกาสต่าง ๆ คอื ๑. พักตามปกติใช้พักในโอกาสระหว่างฝึกสอน เพ่ืออธิบายหรือแสดง ตวั อย่างแก่ลูกเสอื ๒. พกั ตามระเบียบ ใชพ้ กั ในโอกาสเก่ยี วกับพิธีการต่าง ๆ เช่น ตรวจพล สวนสนาม หรอื อยู่ในแถวกองเกียรตยิ ศ ฯลฯ ๓. พักตามสบาย ใช้พักในโอกาสที่ต้องรอรับคาส่ัง เพื่อปฏิบัติต่อไปเป็น ระยะเวลานั้น ๆ ส้ัน ๆ เช่น เมือ่ ผคู้ วบคมุ แถวต้องไปรบั คาส่งั จากผูบ้ งั คับบญั ชา เป็นต้น ๔. พักนอกแถว ใช้พักในโอกาสที่ต้องรอรับคาสั่ง เพ่ือปฏิบัติต่อไปเป็น ระยะเวลานาน ๆ จ. ทา่ เลิกแถว คาบอก “เลิกแถว” การปฏบิ ตั ิ เมื่อได้ยินคาวา่ “เลกิ แถว” ให้ลกู เสอื ทกุ คนท่ีอยู่ในแถวกระจายออกไปจาก แถวโดยเรว็ ๓๐ เอกสารประกอบการผู้บังคบั บญั ชาลกู เสอื เพอื่ พัฒนาทกั ษะดา้ นระเบยี บแถวลูกเสือ

๓. ท่าเคารพ ๑. ทา่ วนั ทยหตั ถ์เม่ืออยู่กับท่ี ก. การหดั ขน้ั ต้น คาบอก “วันทยหตั ถ์” และ “มอื ลง” การปฏบิ ัติ ยกมือขวาข้นึ โดยเรว็ และแข็งแรง จัดน้ิวอย่างเดียวกับท่ารหัสของลูกเสือ ให้ปลายน้ิวช้ีแตะ ขอบล่างของหมวก ค่อนไปข้างหน้าเล็กน้อยในแนวหางตาขวา มือเหยยี ดตามแนวแขนขวาท่อนล่างน้ิวเหยียดตรงและเรียงชิดกัน ข้อมือไม่หักเปิดฝ่า มือข้ึนประมาณ ๓๐ องศา แขนขวาทอ่ นบนย่ืนไปทางขา้ ง อยปู่ ระมาณแนวไหล่ เมื่ออยู่ ทใี่ นท่แี คบ ใหล้ ดขอ้ ศอกลงได้ตามความเหมาะสม ร่างกายส่วนอ่ืนต้องไม่เสียลักษณะ ทา่ ตรง เม่ือไดย้ ินคาบอก “มือลง” ให้ลดมอื ลงอยู่ในท่าตรงโดยเรว็ และแขง็ แรง ทา่ วนั ทยหตั ถ์ หมายเหตุ ก. ท่าวนั ทยหตั ถ์ โดยปรกติต่อจากท่าตรงเป็นท่าเคารพ เม่ืออยู่ตามลาพัง นอกแถวของลูกเสือทุกประเภท สาหรับลูกเสือสารองให้ทาวันทยหัตถ์ ๒ นิ้ว คือ ยก มือขวาขึน้ แยกนิ้วช้ีกบั นิว้ กลางออกเหยียดตรง (รูปตัววี) และเมื่อจาเป็นก็ให้ทาจากท่า น่ังได้ ๓๑ เอกสารประกอบการผบู้ ังคับบญั ชาลูกเสือเพื่อพฒั นาทักษะดา้ นระเบียบแถวลกู เสือ

ข. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ เข้าแถวแสดงการเคารพด้วยท่าวันทยหัตถ์ (สวม หมวก) ค. ลูกเสือจะสวมหมวกหรือมิได้สวมหมวก ให้ทาวันทยหัตถ์ได้ ถ้าไม่ได้สวม หมวกให้ปลายนวิ้ แตะท่หี างควิ้ ขวา ข. เมอ่ื ผู้รับการเคารพเคลอื่ นทม่ี าจากทางขวาหรอื ทางซ้าย คาบอก “ทางขวา (ทางซ้าย), วนั ทยหตั ถ์” การปฏบิ ัติ ให้ลกู เสอื สะบดั หน้าไปยงั ผู้รบั การเคารพ พร้อมกับยกมอื ทาท่าวนั ทยหัตถ์ สายตามองจบั ตาผู้รบั การเคารพและหันหน้ามองตามจนผู้รับการเคารพไปจนกว่าผู้รับ การเคารพจะเคลือ่ นที่ผ่านหนา้ ไปทางซ้าย (ขวา) สองก้าวแล้วจึงสะบัดหน้ากลับมาอยู่ ในทา่ แลตรง พรอ้ มกบั ลดมือขวาลงมาอยู่ในทา่ อยา่ งรวดเรว็ และแข็งแรง ในการหัด เม่ือผู้รับการเคารพไม่เคล่ือนที่ผ่านก็ให้สะบัดหน้ากลับพร้อม กับลดมือลงตามคาบอกวา่ “มอื ลง” ค. เม่อื ผ้รู ับการเคารพเคล่อื นทีม่ าในทิศทางตรงหน้า คาบอก “ตรงหนา้ , วันทยหัตถ์” การปฏิบัติ ให้ลูกเสือยกมือขวาข้ึนทาท่าวันทยหัตถ์ สายตาจับผู้รับการเคารพ เม่ือ ผูร้ ับการเคารพแสดงการเคารพตอบแล้ว ให้ผูแ้ สดงการเคารพลดมือขวาลงมาอยู่ในท่า ตรงอยา่ งรวดเร็วและแข็งแรงเองโดยไมต่ อ้ งบอก ๒. ท่าแลขวาแลซา้ ย คาบอก “แลขวา (แลซ้าย) - ทา” การปฏิบัติ สะบัดหน้าไปทางขวา (ซ้าย) ประมาณก่ึงขวา (ซ้าย) ก่อนถึงผู้รับการ เคารพ ๓ กา้ ว ตามอง จบั ตาผู้รบั ความเคารพหันหน้าตามจนผู้รับการเคารพผ่านพ้นไป แล้ว ๒ ก้าว แล้วสะบดั หน้ากลับที่เดมิ ในการหดั เมื่อผู้รบั การเคารพไม่เคล่อื นที่ผา่ น ก็สะบัดหน้ากลับที่เดิมตาม คาบอกว่า “แล - ตรง” หมายเหตุ ท่าแลขวา (ซ้าย) เป็นท่าแสดงการเคารพ เม่ือลูกเสืออยู่ในแถว มือเปล่า หรือถืออาวุธท่ีทาท่าวันทยาวุธไม่ได้ และเป็นท่าแสดงการเคารพตามลาพัง นอกแถว ของลูกเสอื ในเม่ือไมส่ ามารถแสดงการเคารพด้วยทา่ วันทยหตั ถไ์ ด้ ๓๒ เอกสารประกอบการผ้บู งั คับบญั ชาลกู เสอื เพอ่ื พัฒนาทกั ษะดา้ นระเบยี บแถวลกู เสอื

ทา่ แลขวา (อยู่ในแถว) ทา่ แลขวา (อยู่ตามลาพังนอกแถว) ขอ้ แนะนา สาหรับทา่ เคารพ ก. การแสดงการเคารพ ในเวลาเคลื่อนที่แขนต้องไม่แกว่ง คงเหยียด ตรงตลอดปลายนว้ิ และมอื ห้อยอย่ขู า้ งตัว (มอื ไม่ติดขาเหมอื นอย่างอยกู่ ับที่) ๓๓ เอกสารประกอบการผบู้ งั คบั บัญชาลูกเสอื เพอ่ื พฒั นาทักษะด้านระเบยี บแถวลกู เสอื

ข. รัศมีแสดงการเคารพ ถือระยะท่ีมองเห็นเครื่องหมายหรือจาได้เป็น เกณฑ์ ค. ถ้าเข้าแถวรวมกับลูกเสือ ถืออาวุธเมื่อได้ยินคาบอกว่า “ทางขวา (ทางซ้าย) ระวัง, วันทยา - วุธ” ให้ทาท่าแลขวา (ซ้าย) พร้อมกับลูกเสือท่ีทาท่า วันทยาวธุ และทาท่า “แลตรง” เมอ่ื สนิ้ สุดคาบอกว่า “เรียบ - อาวุธ” พร้อมกับลูกเสอื ทีท่ าท่าเรียบอาวุธ ง. ในเวลาเคล่ือนท่ี เม่ือจะต้องทาการเคารพโดยวิธีหยุด ก่อนที่ผู้รับ การเคารพ จะมาถึงระยะ ๓ ก้าว การแสดงการเคารพให้ทาท่าหันในเวลาเดิน ไป ทางทศิ ทผี่ ู้รับการเคารพจะผา่ นมา โดยหยุดชดิ เท้าอยใู่ นทา่ ตรงแล้ว แสดงการเคารพ ไปยงั ผู้รบั การเคารพดว้ ยทา่ “ทางขวา (ซ้าย), วนั ทยหตั ถ์” จนผ้รู ับการเคารพผ่านไป ๒ กา้ ว จงึ สะบัดหน้ากลบั มาแลตรง พร้อมกบั ลดมือขวาลงมาอยู่ในท่าตรงอย่างรวดเร็ว และแข็งแรง เม่ือเลิกแสดงการเคารพแล้วให้ทาท่าหันไปในทิศทางเดิม และก้าวหลัง เคลอื่ นทีต่ อ่ ไปโดยไม่ต้องชิดเท้า จ. ในโอกาสท่ีผู้รับการเคารพอยู่กับท่ี ผู้แสดงการเคารพไม่ต้องหยุด แสดงการเคารพ ฉ. การแสดงการเคารพ ประกอบกับการรายงาน เช่น ในหน้าท่ีเวรยาม ให้วิ่งเข้าไปรายงาน และหยุดแสดงการเคารพห่างจากผู้รับการเคารพ ๓ ก้าว หลังจากรายงานจบหรือภายหลังจากซักถามเสร็จแล้ว (จากวันทยหัตถ์หรือวันทยวุธ) ให้ลดมือลงหรือเรยี บอาวุธ แลว้ ปฏิบตั ิหน้าทต่ี อ่ ไป ๓๔ เอกสารประกอบการผูบ้ ังคับบญั ชาลกู เสือเพ่อื พัฒนาทักษะด้านระเบียบแถวลูกเสอื

๔. ทา่ หันอย่กู ับท่ี ๑) ขวาหนั คาบอก “ขวา - หนั ” การปฏบิ ัติ ทาเปน็ ๒ จงั หวะ คือ จังหวะ ๑ เปิดปลายเท้าขวา และยกส้นเท้าซ้าย ทันใดน้ันให้หันตัวไป ทางขวาจนได้ ๙๐ องศา หมนุ เทา้ ทั้งสองไปโดยใหส้ น้ เท้า และปลายเท้าซ่ึงเป็นหลักนั้น ติดอยู่กับพื้นน้าหนักตัวอยู่ท่ีเท้าขวา ขาซ้ายเหยียดตึง ปิดส้นเท้าซ้ายออกข้างนอกพอ ตึง จังหวะ ๒ ชักเท้าซ้ายมาชิดเท้าขวาในลักษณะท่าตรงโดยเร็ว และ แขง็ แรง ท่าขวาหันอยกู่ ับที่ (จงั หวะที่ ๑) รูปท่ี ๑๖ ท่าขวาหนั อยู่กบั ท่ี (จังหวะท่ี ๒) ๓๕ เอกสารประกอบการผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสือเพื่อพฒั นาทกั ษะดา้ นระเบียบแถวลูกเสอื

๒) ซ้ายหัน คาบอก “ซ้าย - หัน” การปฏิบัติ ทาเป็น ๒ จังหวะ อย่างเดียวกับท่าขวาโดยเปลี่ยนคาว่า “ขวา” เป็น “ซา้ ย” ๓) กลบั หลงั หัน คาบอก “กลับหลงั - หัน” การปฏบิ ัติ ทาเป็น ๒ จงั หวะ คือ จังหวะ ๑ ทาเช่นเดียวกับท่าขวาหันจังหวะ ๑ แต่หันเลยไปจนกลับหน้า เป็นหลังครบ ๑๘๐ องศา และให้ปลายเท้าซ้ายไปหยุดอยู่ข้างหลังเฉียงซ้ายประมาณ ครงึ่ ก้าวและในแนวส้นเทา้ ขวา จังหวะ ๒ ทาเชน่ เดียวกบั ท่าขวาหนั จังหวะ ๒ ๔) ท่ากึง่ ขวา (กึง่ ซ้าย) หนั คาบอก “ก่ึงขวา (ซ้าย) - หนั ” การปฏิบัติ ทาเปน็ ๒ จังหวะให้เหมือนกบั ขวาหัน , ซ้ายหัน แตห่ ันไปเพียง ๔๕ องศา ๕. ทา่ เดิน ๑) ทา่ เดนิ สวนสนาม คาบอก “สวนสนาม. หนา้ - เดนิ ” การปฏบิ ัติ ให้ลกู เสือออกเดินโดยเตะเท้าซ้ายออกไปข้างหน้าในลักษณะขาเหยียดตึง ปลายเท้าง้มุ ลงจนรูส้ กึ ว่าหลังเท้าตงึ ฝ่าเทา้ สูงจากพ้ืนดินประมาณ ๑ คืบ พร้อมกับยก มือขวาซึ่งน้ิวท้ัง ๕ เรียงชิดติดกันและดึงผ่านข้ึนมาข้างหน้าแล้วไปหยุดตรงประมาณ แนวหัวเขม็ ขดั และให้ห่างจากหัวเข็มขัดประมาณ ๑ ฝ่ามือ ในลักษณะที่บิดฝ่ามือเฉียง ลงไปทางขา้ งหนา้ และยกศอกสูงขนึ้ เล็กน้อย แต่ไม่ให้ข้อศอกกาง ในขณะเดียวกันก็ให้ สลัดแขนและมือซา้ ยซึง่ น้ิวทง้ั ๕ เรียงชิดติดกนั และเหยียดตึงเฉียงลงไปทางด้านหลัง ท า งซ้า ย จ น รู้ สึ ก ว่ า แ ข นเห ยี ย ดตึ ง หั นห ลั งมื อ อ อ ก นอ ก ล า ตั ว โดย ไม่ ให้ ฝื น ลั ก ษ ณ ะ ธรรมชาติ ให้น้าหนักตัวท้ังหมดอยู่บนเท้าขวา ลาตัวยืดตรง ยกหน้าอก สายตามอง ตรงไปข้างหนา้ ในแนวระดบั เม่ือจะสืบเท้ากา้ วไปข้างหน้า ให้ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้าให้ ไดร้ ะยะกา้ วประมาณ ๔๐ – ๖๐ เซ็นติเมตร (นับจากส้นเท้าถึงส้นเท้า) ตบฝ่าเท้าลงไป ๓๖ เอกสารประกอบการผ้บู งั คับบัญชาลกู เสอื เพ่อื พฒั นาทกั ษะด้านระเบยี บแถวลูกเสือ

กับพื้นให้เต็มฝ่าเท้าอย่างแข็งแรงโดยไม่ให้เข่างอ ในลาดับต่อไปให้เปลี่ยนน้าหนักตัว ทั้งหมดไปบนเท้าซา้ ยแลว้ เตะเท้าขวาออกไปขา้ งหน้า ในลักษณะเดียวกนั กับการเตะเท้า ซ้ายออกไปในคร้ังแรก และในขณะเดียวกันก็ให้สะบัดแขนและมือขวาเฉียงลงไป ทางด้านหลงั ทางขวาจนรสู้ กึ แขนเหยยี ดตึง หันหลังมือออกทางดา้ นนอกลาตวั โดยไม่ให้ ฝืนลักษณะตามธรรมชาติ แล้วยกมือซ้ายผ่านข้ึนมาทางด้านหน้าแล้วไปหยุดในแนวหัว เข็มขัดและให้ห่างจากหัวเข็มขัดประมาณ ๑ ฝ่ามือ ในลักษณะท่ีบิดฝ่ามือเฉียงลงไป ทางข้างหน้าและยกศอกสูงขึ้นเล็กน้อยแต่ไม่ให้ศอกกาง ลาตัวยืดตรง ยกหน้าอก สายตามองตรงไปข้างหน้าในแนวระดับ ในลาดับต่อไปให้ก้าวเท้าเดินต่อไป ในลักษณะ เดียวกับการกา้ วเท้าซา้ ยในคร้งั แรก แลว้ ทาสลบั กนั ไป รกั ษาจังหวะความเร็วในการเดิน คงท่ี อัตราความเร็วนาทลี ะ ๙๖ - ๑๐๐ กา้ ว ๒) ทา่ เดนิ ตามปกติ คาบอก “หน้า - เดิน” การปฏิบตั ิ ก้าวเท้าซ้ายออกเดนิ ก่อน ขาเหยียดตึงฝ่าเท้าขนานกับพ้ืน เท้าสูงจากพื้น ประมาณ ๑ ฝ่ามือ พร้อมกับแกว่งแขนและมือขวาซึ่งงอเล็กน้อยประมาณให้ น้วิ หวั แม่มือจรดกับข้อท่ีสองของนิ้วชี้ท้ัง ๔ (เว้นนิ้วหัวแม่มือ) เรียงติดกันหลวม ๆ ไป ข้างหน้าเฉียงไปทางซ้าย และหยุดลงประมาณข้างหน้าขาขวาหน่ึงคืบในลักษณะงอ ศอกเล็กน้อย ในขณะเดียวกันนั้นก็ให้แกว่งแขนและมือซ้ายซ่ึงจัดลักษณะท่าทาง เช่นเดียวกบั มอื ขวาไปขา้ งหลังทางซา้ ยจนรสู้ ึกว่าแขนเหยยี ดตึง หันหลังมือหนั ออกนอก ลาตัว โดยไม่ให้ฝืนลักษณะตามธรรมชาติ น้าหนักตัวอยู่บนเท้าขวาลาตัวยืดตรง ยก หน้าอก สายตามองตรงไปข้างหน้าในแนวระดับ เมื่อจะสืบเท้าก้าวไปข้างหน้าให้ก้าว เท้าซ้ายออกไปขา้ งหนา้ ให้ได้ ระยะกา้ วประมาณ ๔๐ – ๖๐ เซ็นติเมตร แล้วจึงจรดส้น เท้าลงไปบนพนื้ กอ่ นอยา่ งธรรมดา ต่อจากนนั้ จงึ วางปลายเท้าลงกับพ้ืนโดยไม่ให้เข่างอ ในลาดับต่อไปให้เปลี่ยนน้าหนักตัวทั้ไปลงท่ีเท้าซ้าย แล้วก้าวเท้าขวาออกไปข้างหน้า ลักษณะเดียวกันกบั เท้าซ้ายในคร้งั แรก ในขณะเดยี วกันก็ให้แกว่งแขนและมือขวาลงไป ในทางด้านหลังทางขวาจนรู้สึกแขนเหยียดตึง หันหลังมือออกนอกลาตัว โดยไม่ให้ฝืน ลักษณะตามธรรมชาติ และแกว่งแขนและมือซ้ายข้ึนไปทางตรงข้างหน้า ให้เสียงไป ทางขวา และหยุดลงตรงประมาณห่างจากแนวหน้าขวาซ้าย ๑ ฝ่ามือ ทาสลับกันไป รักษาจงั หวะความเรว็ ในการเดนิ คงที่ อตั ราความเร็วนาทีละ ๑๑๖ ก้าว ๓๗ เอกสารประกอบการผบู้ ังคับบัญชาลูกเสอื เพ่ือพัฒนาทักษะด้านระเบยี บแถวลูกเสือ

๓) ทา่ เดินตามสบาย คาบอก “เดนิ ตามสบาย” การปฏบิ ตั ิ เปลย่ี นจากเดนิ ตามปกติเปน็ เดินตามสบาย ระยะก้าวเช่นเดียวกับการเดิน ตามปกติ อัตราความเร็วในการเดินนาทีละ ๑๒๐ - ๑๕๐ ก้าว แต่ไม่ต้องรักษาท่าทาง ให้เครง่ ครัด ถ้าเดินเป็นแถวก็ไม่ต้องเดินพร้อมเท้า ลูกเสืออาจจะพูดกันได้เว้นแต่จะมี คาส่ังห้าม ถา้ จะเปลี่ยนให้เดินพร้อมกันและ ให้กลับมาอยู่ในท่าเดินตามปกติ ให้ใช้ คาบอกวา่ “เดนิ เข้าระเบยี บ” หรอื จะบอกแถวหยดุ เสียกอ่ น แลว้ จึงบอกใหอ้ อกเดนิ ทาง ใหม่ได้ จากท่าเดินตามสบายเมื่อจะบอกแถวหยุด จะต้องบอกลูกเสือเดินเข้าระเบียบ เสียก่อนเสมอ ๔) ทา่ เปลย่ี นเทา้ คาบอก “เปลยี่ น, เทา้ ” การปฏิบัติ ให้ก้าวเท้าไปข้างหน้าอีก ๑ ก้าว ย้ังตัวพร้อมกับก้าวเท้าหลังให้ปลายเท้า หลงั ชดิ สน้ เทา้ หน้า และกา้ วเท้าหนา้ ออกเดินต่อไป ๕) เดินคร่งึ ก้าว คาบอก “ครึ่งกา้ ว - เดิน” การปฏิบัติ ก้าวเท้าเดินเช่นเดียวกับการเดินตามธรรมดา แต่ลดระยะก้าวลงเหลือ เพียงครึง่ กา้ ว การเดนิ ตามปกติ จงั หวะกา้ วตามจงั หวะของทา่ เดนิ ครัง้ นน้ั ถ้าจะให้เดินเตม็ กา้ วตอ่ ไป ใหใ้ ชค้ าบอกว่า “หน้า - เดิน” ส่วนท่าหยุดจาก ทา่ เดินครงึ่ ก้าวคงปฏบิ ตั ิอนุโลม เช่นเดยี วกับท่าหยดุ จากทา่ เดนิ ตามปกติ ๖) ท่าซอยเทา้ คาบอก “ซอยเทา้ ” การปฏิบัติ เม่ือหยุดอยู่กับที่ ถ้าได้ยินคาบอกว่า “ซอยเท้า” ให้ยกเท้าขึ้นลงสลับกัน อยู่กับท่ีตามจังหวะการเดินในคร้ังนั้น โดยยกเท้าซ้ายขึ้นก่อนเท้าท่ียกข้ึนน้ันให้ พื้นรองเท้า สูงจากพ้ืนประมาณ ๑ คืบ ลักษณะมือและการแกว่งแขนคงเป็นไปตาม ท่าเดนิ ครงั้ น้ัน ๓๘ เอกสารประกอบการผู้บังคับบัญชาลูกเสอื เพ่อื พัฒนาทักษะด้านระเบยี บแถวลกู เสอื

ถา้ กาลังเดิน เมื่อไดย้ ินคาว่า “ซอย-เท้า” ไม่ว่าเท้าใดจะตกถึงพ้ืนก็ตามให้ เดินต่อไปอีก ๑ ก้าว แลว้ กา้ วเทา้ หลังให้สน้ เท้าหลังเสมอแนวเดียวกับส้นเท้าหน้า และ ยกเท้าเดิมนน้ั ขึ้นกอ่ น ต่อไปเปน็ การปฏิบัตเิ ช่นเดยี วกับเมือ่ หยุดอยู่กบั ที่ ทั้งสองโอกาสดังกล่าวแล้ว ถ้าจะเดินต่อไปก็ใช้คาบอกว่า “หน้า - เดิน” เม่ือเท้าซ้ายตกถึงพ้ืน ซอยเท้าขวาอยู่กับท่ีแล้วก้าวเท้าซ้ายออกเดินต่อไป หรือจะให้ หยดุ กใ็ หใ้ ช้คาบอกว่า “แถว - หยุด” เช่นเดยี วกับท่าหยดุ ในเวลาเดิน หมายเหตุ ในการฝกึ ถ้าลูกเสอื คนใดซอยเท้าผิด ใหซ้ อยเท้าซา้ เทา้ เดิมอกี หนึ่งครง้ั ท่าซอยเท้า ๗) เดนิ เฉียง คาบอก “เฉยี งขวา (ซา้ ย) , ทา” การปฏบิ ตั ิ เมอ่ื ขาดคาบอกวา่ “ทา” ในขณะทเ่ี ทา้ ขวา (ซา้ ย) ตกถงึ พน้ื ให้ก้าวเท้าซ้าย (ขวา) ออกเดินต่อไป พร้อมกับปิดปลายเท้า และหันตัวไปทางก่ึงขวา (ซ้าย) แล้วก้าว เท้าหลังเดินไปในทางทิศใหม่ ที่เป็นมุม ๔๕ องศากับทิศทางเดิมโดยต่อเน่ือง ไม่มีการ หยุดชะงัก จังหวะก้าวเปน็ ไปตามจังหวะของ ทา่ เดินคร้งั นั้น ถ้าจะให้กลับมาเดินในทิศทางเดิม ก็ใช้คาบอกว่า “เดินตรง” ลูกเสือก้าว เท้าทาก่ึงซ้าย (ขวา) แล้วเดินตรงไปข้างหน้าต่อไป คาบอกต้องบอกให้ขณะที่เท้าซ้าย (ขวา) ตกถึงพ้ืน ๓๙ เอกสารประกอบการผูบ้ ังคบั บัญชาลกู เสอื เพ่อื พฒั นาทกั ษะดา้ นระเบียบแถวลูกเสอื

๖.ท่าหยุด คาบอก “แถว - หยุด” การปฏบิ ัติ ในขณะท่ีกาลังเดินตามปกติ เมอื่ ไดย้ ินคาบอกว่า “แถว - หยุด” ไม่ว่าเท้า ขา้ งใดขา้ งหนงึ่ จะตกถงึ พนื้ ก็ตาม ให้ปฏบิ ัติเปน็ ๒ จงั หวะ คอื จังหวะ ๑ ก้าวเทา้ ตอ่ ไปอกี ๑ กา้ ว จังหวะ ๒ ชกั เทา้ หลงั ไปชิดเทา้ หนา้ ในลักษณะทา่ ตรงอยา่ งแขง็ แรง หมายเหตุ ๑) ทา่ หยดุ โดยธรรมดา ผบู้ อกแถวควรบอกใหต้ กเทา้ ขวา ๒) เม่ือใช้คาบอกว่า “แถว” ลงเท้าใดให้บอกคาว่า “หยุด” ลงเท้าน้ันใน ก้าวต่อไป เช่น บอก “แถว” ลงเท้าขวา เม่ือก้าวเท้าซ้ายต่อไป และลงเท้าขวาอีกเป็น ครง้ั ท่ี ๒ จึงบอกคาว่า “หยุด” ๗. ท่ากา้ วทางข้าง คาบอก “ก้าวทางขวา (ซา้ ย)… ก้าว , ทา” การปฏิบัติ ยกส้นเท้าทั้งสอง แล้วก้าวเท้าขวา (ซ้าย) ไปทางขวา (ซ้าย) ๓๐ เซ็นติเมตร ) หรือประมาณเกือบคร่ึงก้าวปกติ แล้วชักเท้าซ้าย (ขวา) ไปชิดอย่าง แข็งแรงระหว่างใช้เท้าเคลื่อนท่ีเข่าท้ังสองต้องตึงส้นเท้ายก และก้าวทางข้างต่อไปใน จงั หวะเดนิ ตามปกติจนครบตามจานวนก้าวที่ส่งั แล้วหยุดในทา่ ตรง การก้าวทางข้างจะ สั่งให้กระทาไม่เกิน ๑๐ ก้าว ถ้าเกินให้สั่งดังนี้ “ขวา (ซ้าย) – หัน” , “หน้า – เดิน” , “แถว – หยดุ ” , “ขวา (ซา้ ย) – หนั ” หมายเหตุ ๑) ทา่ กา้ วทางขา้ งใช้สาหรับหดั ให้ลูกเสือรู้จักวธิ ปี ฏิบัติถูกต้องเพ่ือนาไปใช้ ตามลาพังในแถว ๒) ท่าน้ีใช้ในโอกาสเม่ือมีการจัดหรือ ร่นแถวในระยะส้ัน ๆ ไม่เกิน ๑๐ ก้าว ซ่ึงต้องการความเป็นระเบียบเรียบร้อย เช่น การปฏิบัติการของแถวขบวนสั้น ๆ หรือในพธิ ีตรวจพลสวนสนาม เป็นต้น ๓) ถ้ากาหนดจานวนก้าวให้แล้ว ลูกเสือคงก้าวเท้าไป ตามจานวนก้าวท่ี กาหนดแลว้ หยุดเองไม่ตอ้ งใช้คาบอกวา่ “แถว - หยุด” ๔๐ เอกสารประกอบการผบู้ ังคบั บญั ชาลูกเสือเพื่อพัฒนาทกั ษะด้านระเบียบแถวลกู เสอื

๘. ท่าก้าวถอยหลัง คาบอก “กา้ วถอยหลัง … ก้าว , ทา” การปฏิบัติ เอนตัวไปข้างหลังเล็กน้อย พร้อมกับก้าวเท้าซ้ายถอยหลัง ก่อนวางเท้า ลงบนพนื้ ตามธรรมดา ใหป้ ลายเทา้ ลงก่อนแกวง่ แขน เช่นเดียวกบั ทา่ เดนิ ตามปกติ ความยาวของก้าวประมาณ ๓๐ เซ็นติเมตร หรือครึ่งก้าวปกติ จังหวะ ก้าว เช่นเดียวกับท่าเดินตามปกติ จนครบตามจานวนก้าวที่สั่งแล้วหยุดในท่าตรง ท่า กา้ วถอยหลัง จะกระทาไม่เกิน ๑๐ ก้าว ถ้าเกินให้สั่งดังนี้ “กลับหลัง – หัน” , “หน้า – เดนิ ” , “แถว – หยดุ ” , “กลบั หลัง – หนั ” ถา้ จะใหห้ ยดุ จากทางก้าวถอยหลงั ใหใ้ ช้คาบอกว่า “แถว - หยุด” ไม่ว่า เทา้ ข้างใดจะตกถึงพ้ืน ให้ก้าวถอยหลังไปอีก ๑ ก้าว แล้วชักเท้าที่อยู่ข้างหลังและ อย่ใู นลักษณะทา่ ตรง หมายเหตุ ๑) ท่าก้าวถอยหลังใช้สาหรับหัด ให้ลูกเสือรู้จักวิธีปฏิบัติท่ีถูกต้อง เพ่ือ นาไปใช้ตามลาพังในแถวหรือในความควบคุมตามคาบอก เช่น “ก้าวถอยหลังสาม (สี่) กา้ ว , ทา” ๒) ท่านี้ใช้ในการจัดแถวเม่ืออยู่กับท่ี และทาในระยะสั้น ๆ ไม่เกิน ๑๐ กา้ ว เท่านน้ั ๓) ถ้ากาหนดจานวนก้าวให้แล้ว ลูกเสือคงก้าวเท้าไปตามจานวนก้าวท่ี กาหนดแลว้ หยดุ เองไม่ตอ้ งใชค้ าบอกว่า “แถว - หยุด” ๙. ท่าวิง่ ๑) การวง่ิ คาบอก “ว่ิง , หน้า - วิ่ง” การปฏิบัติ เมื่อสิ้นสุดคาบอก ให้ลูกเสือยกมือทั้งสองข้างกาหลวม ๆ ขึ้นมาวางไว้ เสมอราวนมและให้หา่ งจากอกประมาณ ๑ ฝ่ามือ หันด้านฝ่ามือเข้าหาลาตัว พร้อมกับ ก้าวเท้าซ้ายเริ่มออกวิ่งไปก่อนด้วยการย่อเข่าขวาเล็กน้อย แล้วใช้เท้าขวาถีบพื้นให้ ลาตัวฟุ่งออกไปข้างหน้าประมาณให้ได้ความยาวของก้าว ๔๐ – ๖๐ เซ็นติเมตร ในขณะท่ีเท้าจะตกถึงพ้ืนให้พยายามใช้ปลายเท้าแตะพื้นก่อน เมื่อเท้าซ้ายตกถึงพื้นให้ งอเข่าซ้ายลงเล็กน้อย แล้วใช้เท้าซ้ายถีบพื้นเพ่ือดีดตัวให้พุ่งออกไปข้างหน้า พร้อมกับ ๔๑ เอกสารประกอบการผ้บู งั คบั บญั ชาลกู เสอื เพือ่ พัฒนาทกั ษะด้านระเบยี บแถวลูกเสือ

ก้าวเท้าขวาออกวิง่ ต่อไป ในลักษณะการเชน่ เดียวกับการก้าวเท้าซ้ายเริ่มออกวิ่งในครั้ง แรก และก้าวสลับกันว่ิงต่อไป ในขณะท่ีก้าวเท้าวิ่งออกไปทีละก้าวน้ัน ให้แกว่งแขนซ่ึง งอและกามือหลวมนน้ั ไปตามจังหวะของเท้าที่ก้าวออกไปให้ถูกต้อง ตามลักษณะการ ก้าวไปข้างหน้า เช่นเดยี วกับการแกว่งแขนของท่าเดิน และให้พยายามรกั ษาจังหวะก้าว ในการวิ่งไว้ในอัตรานาทีละประมาณ ๑๖๐ ก้าว ในขณะวิ่งนั้น ให้พยายามรักษา ทรวดทรงของร่างกายให้องอาจผึ่งผายด้วยการยกศอก ศรีษะต้ังตรง สายตามองไป ขา้ งหนา้ และให้ขาหลังงอเลก็ นอ้ ยให้เป็นไปตามธรรมชาติ ๒) ทา่ หยดุ จากการวิง่ คาบอก “แถว - หยุด” การปฏบิ ตั ิ เม่ือลูกเสือไดย้ นิ สิน้ คาว่า “หยุด” ไมว่ า่ จะเป็นในขณะที่เท้าข้างใดตกถึงพื้น ก็ตามให้ก้าวเท้าว่ิงต่อไปอีก ๓ ก้าว ด้วยอาการยั้งตัวลดความเร็วลงตามลาดับ เมื่อ ก้าวเท้าวิ่งต่อไปจนครบ ๓ ก้าวแล้ว ให้ยั้งตัวหยุดไว้ในขณะนั้น ไม่ว่าจะเป็นเท้าข้างใด ตกถึงพื้นอยู่ก็ตาม ให้ก้าวเท้าอีกข้างหน่ึงเดินไปข้างหน้าประมาณคร่ึงก้าวด้วยการตบ เท้าลงกับพื้นอย่างแข็งแรงแล้วโน้มน้าหนักตัวไปวางอยู่บนเท้าหน้า (เท้าที่เดินออกไป ข้างหน้าครึ่งก้าวนั้น) ส่วนมือท้ังสองน้ันยังคงกาอยู่ในท่าว่ิง ในลาดับต่อไปให้ชักเท้า หลงั มาชดิ กบั เท้าหน้าในลกั ษณะของท่าตรง พร้อมกับลดมือและแขนท้ังสองข้างสะบัด ลงมาอยใู่ นทา่ ตรงอยา่ งรวดเรว็ และแข็งแรง หมายเหตุ ในการหัด เมื่อส้ินสุดคาบอกว่า “แถว-หยุด” อาจทาการปฏิบัติได้เป็น ๕ ตอน โดยใชค้ าบอกวา่ “ตอ่ ไป” จนจบ ๓) ทา่ เปลย่ี นจากการวิง่ เปน็ การเดนิ คาบอก “เดิน - ทา” การปฏิบัติ เมื่อลูกเสือได้ยินส้ินคาว่า “เดิน - ทา” พอสิ้นคาว่า “ทา” ไม่ว่าจะเป็นใน ขณะที่เท้าข้างใดตกถึงพ้ืนก็ตาม ให้ก้าวเท้าวิ่งต่อไปอีก ๓ ก้าว ด้วยอาการยั้งตัวลด ความเร็วลง ตามลาดับ เม่ือครบ ๓ ก้าวแล้ว ให้ย้ังตัวหยุดนิ่งไว้ในขณะน้ีไม่ว่าจะเป็น เท้าข้างใดตกถึงพ้ืนอยู่ก็ตามให้ใช้เท้าอีกข้างหน่ึงเดินต่อไปด้วยท่าเดิน (เดินตามปกติ หรือเดินสวนสนามกไ็ ด้) หมายเหตุ ในการหัด เมื่อสิ้นสุดคาบอกว่า “เดิน - ทา” อาจทาการปฏิบัติได้เป็น ๔ ตอน โดยใชค้ าบอกว่า “ต่อไป” จนจบ ๔๒ เอกสารประกอบการผบู้ งั คับบญั ชาลกู เสอื เพ่ือพฒั นาทกั ษะด้านระเบียบแถวลกู เสือ

๔) ท่าเปลยี่ นเทา้ ในขณะวิง่ คาบอก “เปล่ยี น, เท้า” การปฏิบตั ิ เมื่อได้ยินสน้ิ คาวา่ “เปลย่ี น, เท้า” พอส้ินคาวา่ “เท้า” ไมว่ า่ จะเป็นในขณะที่ เท้าใดตกถึงพ้ืนกต็ าม ใหก้ ้าวเทา้ ว่ิงต่อไปอกี ๒ กา้ วแล้วให้ย้ังตัวหยุดว่ิงไว้ต่อจากน้ันให้ ใช้เท้าข้างท่ียืนอยกู่ บั พื้นน้ันกา้ วกระโดดไปข้างหน้าอีกครึ่งก้าว ในลาดับตอ่ ไปให้ก้าวเท้า ข้างทไ่ี มไ่ ด้ยนื อยูก่ ับพืน้ ออกวิ่งตอ่ ไปดว้ ยทา่ วงิ่ ปกติ หมายเหตุ ในการหดั เมื่อสน้ิ สุดคาบอกว่า “เปล่ยี น, เทา้ ” อาจทาการปฏิบัติได้เป็น ๔ ตอน โดยใช้คาบอกว่า “ตอ่ ไป” จนจบ ๕) ท่าเปลยี่ นจากการเดนิ เปน็ การว่ิง คาบอก “วิง่ , หน้า - วิง่ ” การปฏิบัติ เมื่อได้ยินคาบอกว่า “วิ่ง, หน้า - ว่ิง” ลูกเสือจะได้ยินคาว่า “ว่ิง” คาแรก เมอื่ ตกเท้าซา้ ย คาว่า “หน้า” เมื่อตกเท้าขวาและคาว่า “วิ่ง” คาหลังเมื่อตกเท้าซ้ายอีก คร้งั หน่ึง ให้ลกู เสือก้าวเทา้ ขวาเดนิ ตอ่ ไปด้วยท่าเดินอีก ๑ ก้าว ต่อจากน้ันจึงให้ก้าวเท้า ซ้ายเรม่ิ ออกวิ่งไปดว้ ยทา่ วง่ิ ๑๐. ทา่ หันในเวลาเดิน ๑) ทา่ ขวาหนั ในเวลาเดิน คาบอก “ขวา - หนั ” การปฏบิ ัติ ท่านแ้ี บ่งออกเปน็ ๒ จงั หวะ ดงั น้ี จังหวะ ๑ เมื่อลูกเสือได้ยินคาบอกว่า “ขวา - หัน” ลูกเสือจะได้ยินคา บอกวา่ “หัน” ในขณะทีเ่ ท้าขวาตกถึงพนื้ เมอ่ื เท้าข้างขวาไดต้ กถงึ พ้ืนแลว้ ใหย้ ้ังการเดิน หยุดไว้ด้วยเท้าข้างขวานั้น ต่อจากน้ันให้ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า และนาปลายเท้าไป แตะไว้ท่ีพื้นในลกั ษณะใหส้ น้ เทา้ อยเู่ ป็นแนวเส้นตรงอนั เดียวกันกับปลายเท้าขวา และให้ ส้นเท้าซ้ายห่างจากปลายเท้าขวาไปทางขวาประมาณ ๑ ฝ่ามือ ยกส้นเท้าซ้ายสูงขึ้น เล็กน้อยพร้อมกับสะบัดแขนและมือที่แกว่งอยู่ทั้งสองข้าง มาแตะติดไว้ตรงขา กางเกงในลกั ษณะทา่ ตรง ตอ่ ไปใหย้ กลาตวั สงู ข้ึนในลักษณะยืนอยู่ปลายเท้าท้ัง ๒ ข้าง พรอ้ มกบั เหวย่ี งให้หมนุ ไปทางขวา โดยใช้ปลายเท้าทั้งสองเป็นจุดหมุนจนได้ ๙๐ องศา ๔๓ เอกสารประกอบการผูบ้ งั คับบัญชาลกู เสอื เพ่ือพัฒนาทกั ษะด้านระเบียบแถวลูกเสือ

ส้นเท้าท้ังสองเปิด ในขณะท่ีหมุนตัวไปทางขวานี้ มือทั้งสองต้องแตะอยู่ที่ขากางเกง และรกั ษาทรวดทรงของร่างกายท่อนบนและศรีษะให้อยใู่ นลักษณะของท่าตรงด้วย จังหวะ ๒ ให้เปลี่ยนน้าหนักตัวมาวางอยู่บนเท้าข้างซ้าย พร้อมกับเตะ เท้าขวาออกเดนิ ต่อไปด้วย การแกวง่ มอื และแขนให้ถกู ต้องตามลักษณะของทา่ เดิน ๒) ท่าซ้ายหนั ในเวลาเดิน คาบอก “ซ้าย - หนั ” การปฏิบัติ ทา่ นแี้ บง่ ออกเปน็ ๒ จงั หวะ ดังน้ี จังหวะ ๑ เมื่อลูกเสือได้ยินคาบอกว่า “ซ้าย - หัน” ลูกเสือจะได้ยินคา บอกว่า “หนั ” ในขณะท่ีเทา้ ซา้ ยตกถึงพ้ืน เมอ่ื เท้าขา้ งซ้ายไดต้ กถึงพ้ืนแล้วให้ยั้งการเดิน หยุดไวด้ ้วยเท้าข้างขวานัน้ ตอ่ จากน้ันใหก้ า้ วเท้าขวาไปข้างหน้า และนาปลายเทา้ ไปแตะ ไว้ท่พี ืน้ ในลักษณะให้สน้ เท้าอยเู่ ป็นแนวเสน้ ตรงเดียวกันกับปลายเท้าซ้ายและให้ส้นเท้า ขวาห่างจากปลายเท้าซ้ายไปทางซ้ายประมาณ ๑ ฝ่ามือ ยกส้นเท้าขวาสูงข้ึนเล็กน้อย พร้อมกับสะบัดแขนและมือที่แกว่งอยู่ท้ังสองข้าง มาแตะติดไว้ตรงขากางเกง ใน ลกั ษณะท่าตรง ต่อไปใหย้ กลาตัวสงู ขึ้นในลกั ษณะยืนอยู่ปลายเท้าท้ัง ๒ ข้าง พร้อมกับ เหว่ยี งใหห้ มนุ ไปทางซา้ ยโดยใช้ปลายเท้าท้ังสองเป็นจุดหมนุ จนได้ ๙๐ องศา ส้นเท้าท้ัง สองเปิด ในขณะที่หมุนตัวไปทางซ้ายนี้ มือทั้งสองข้างต้องแตะอยู่ท่ีขากางเกง และ รกั ษาทรวดทรงของร่างกายท่อนบนและศรษี ะใหอ้ ยู่ในลกั ษณะของทา่ ตรงด้วย จังหวะ ๒ ให้เปล่ียนน้าหนักตัวมาวางอยู่บนเท้าข้างขวาพร้อมกับแตะ เทา้ ซ้ายออกเดินตอ่ ไปดว้ ย การแกวง่ มอื และแขนให้ถกู ต้องตามลกั ษณะของทา่ เดิน ๔๔ เอกสารประกอบการผ้บู งั คบั บญั ชาลูกเสือเพอื่ พฒั นาทกั ษะด้านระเบยี บแถวลูกเสือ

๓) ทา่ กลับหลังหันในเวลาเดนิ คาบอก “กลับหลงั - หนั ” การปฏบิ ัติ ท่าน้ีแบ่งออกเปน็ ๓ จังหวะ ดงั นี้ จังหวะ ๑ เม่ือลูกเสือได้ยินคาบอกว่า “กลับหลัง - หัน” ลูกเสือจะได้ยิน คาบอกวา่ “หนั ” ในขณะที่เทา้ ซา้ ยตกถงึ พน้ื เมื่อเท้าข้างซ้ายได้ตกถึงพ้ืนแล้วให้ก้าวเท้า ขวาไปขา้ งหนา้ อีกประมาณครึง่ กา้ วและย้ังตวั หยดุ เดินไว้ พรอ้ มกันนั้นให้โน้มน้าหนักตัว ไปอยู่ที่เท้าข้างขวาน้ี พร้อมกับสะบัดมือและแขนที่แกว่งอยู่ทั้งสองข้างมาแตะติดไว้ ตรงขากางเกง ในลักษณะท่าตรง ขาทั้งสองตึง ส้นเท้าหลังปิด จังหวะ ๒ ก้าวเท้าซ้ายซ่ึงอยู่ข้างหลังผ่านเท้าขวาข้ึนไปข้างหน้าทางขวา ของปลายเท้าขวาประมาณให้ส้นเท้าอยหู่ า่ งจากปลายเท้าขวาหนง่ึ ฝ่ามือ ในลกั ษณะเข่า เหยียดตึง เม่ือปลายเท้าซ้ายแตะพ้ืนให้โน้มน้าหนักตัวไปยืนบนปลายเท้าท้ังสองข้าง แล้วเหว่ียงตัวให้หมุนไปทางขวาโดยใช้ปลายเท้าทั้งสองเป็นจุดหมุนจนได้ ๑๘๐ องศา (กลับหนา้ เป็นหลงั ) ส้นเทา้ ทัง้ สองเปิด ในขณะทีห่ มุนตัวกลับท่ีมือท้ังสองต้องแตะอยู่ที่ ขากางเกงและรักษาทรวดทรงร่างกายท่อนบนและศรีษะให้อยู่ในลักษณะของท่าตรง ด้วย จังหวะ ๓ ให้ก้าวเท้าซ้ายออกเดินต่อไปพร้อมกับแกว่งแขนและมือให้ ถูกตอ้ งตามลักษณะทา่ เดิน ๑๑. ทา่ หนั ในเวลาวิ่ง ๑) ทา่ ขวา (ซา้ ย) หนั ในเวลาว่งิ คาบอก “ขวา (ซา้ ย) - หนั ” การปฏบิ ตั ิ ท่านแ้ี บ่งออกเปน็ ๔ จงั หวะ ดังน้ี จงั หวะ ๑ เม่อื ลูกเสอื ได้ยินคาบอกว่า “ขวา (ซ้าย) - หัน” ลกู เสือจะได้ยนิ คาบอกว่า “หนั ” เมื่อเทา้ ข้างขวา (ซ้าย) ตกถงึ พ้ืน เมื่อเทา้ ข้างขวา (ซา้ ย) ได้ตกถึงพื้น แล้ว ให้กา้ วเท้าซ้าย (ขวา) ว่ิงไปขา้ งหน้าอกี ๑ กา้ ว พรอ้ มกับยงั้ ตัวหยดุ วิ่งไว้ จังหวะ ๒ กระโดดอยกู่ บั ท่ดี ้วยแรงถีบของเทา้ ข้างซ้าย (ขวา) ทยี่ ืนอยู่ พร้อมกับนาเทา้ ขวา(ซา้ ย) ลงยนื กับพนื้ ในลักษณะท่ีให้เทา้ ขา้ งขวา (ซ้าย) และลาตัวหนั ๔๕ เอกสารประกอบการผบู้ งั คับบญั ชาลกู เสือเพื่อพฒั นาทักษะด้านระเบียบแถวลกู เสือ

ไปทางด้านขวา (ซา้ ย) โดยให้ทามุมกับทิศทางของเท้าซา้ ย (ขวา) ๔๕ องศา และยก เทา้ ข้างซา้ ย (ขวา) ไว้ จังหวะ ๓ กระโดดอยู่กบั ทดี่ ว้ ยแรงถบี ของเท้าข้างขวา (ซา้ ย) ทย่ี นื อยู่ พรอ้ มกับนาเท้าซ้าย(ขวา) ลงยืนกับพน้ื ในลักษณะทีใ่ หเ้ ทา้ ข้างซ้าย (ขวา) และลาตัวหัน ไปทางด้านขวา (ซา้ ย) โดยให้ทามมุ กบั ทศิ ทางของเท้าขวา (ซ้าย) ๔๕ องศา และยก เท้าขา้ งขวา (ซา้ ย) ไว้ จังหวะ ๔ ก้าวเท้าขวา (ซา้ ย) เร่ิมออกว่งิ ตอ่ ไปดว้ ยทา่ วิ่งตามเดมิ ๒) ทา่ กลับหลังหนั ในเวลาวิ่ง คาบอก “กลับหลัง - หนั ” การปฏบิ ัติ ทา่ น้แี บ่งออกเป็น ๔ จงั หวะ ดังน้ี จังหวะ ๑ เมื่อลูกเสือได้ยินคาบอกว่า “กลับหลัง - หัน” ลูกเสือจะได้ยิน คาบอกว่า “หัน” ในขณะท่ีเท้าซ้ายตกถึงพื้น เมื่อเท้าซ้ายตกถึงพื้นแล้ว ให้ก้าวเท้าขวา ว่งิ ไปข้างหนา้ อกี หนง่ึ กา้ วพร้อมกับยง้ั ตัวหยุดว่ิงไว้ จังหวะ ๒ กระโดดอยูก่ ับท่ดี ้วยแรงถีบของเทา้ ท่ียืนอยู่ พร้อมกบั นาเท้า ลงยืนกบั พืน้ ในลักษณะทีใ่ ห้เท้าข้างและลาตวั หนั ไปทางดา้ นขวา โดยให้ทามุมกับทิศทาง ของเท้าขา้ งขวา ๙๐ องศา และยกเทา้ ข้างขวาไว้ จงั หวะ ๓ กระโดดอยูก่ ับท่ีด้วยแรงถีบของเท้าซ้ายทยี่ ืนอยู่ พรอ้ มกบั นา เท้าขวาลงยืนกับพน้ื ในลักษณะทีใ่ ห้เทา้ ขา้ งขวาและลาตัวหันไปทางด้านขวา โดยให้ทา มุมกับทศิ ทางของเทา้ ซา้ ยอีก ๙๐ องศา และยกเทา้ ข้างซ้ายไว้ จงั หวะ ๔ ก้าวเทา้ ซ้ายเร่ิมออกว่ิงตอ่ ไปดว้ ยท่าวงิ่ ตามเดมิ ๔๖ เอกสารประกอบการผู้บังคับบญั ชาลกู เสอื เพือ่ พฒั นาทักษะดา้ นระเบยี บแถวลูกเสอื

๑๒. การนบั คาบอก “นบั ” การปฏิบัติ ลูกเสือคนที่อยู่หัวแถว สะบัดหน้าไปทางซ้ายพร้อมกับนับ “หน่ึง” แล้ว สะบัดหน้ากลับมาอยู่ ในท่าตรงโดยเร็ว ลูกเสือคนอ่ืน ๆ นับเรียงไปตามลาดับ เช่นเดียวกับคนหวั แถวเวน้ คนอยู่ทา้ ยแถว ใหส้ ะบดั หน้ามาทางขวา “นบั สอง (สาม) , ฯลฯ” คาบอก “นับสอง (สาม , ฯลฯ)” การปฏิบัติ ลูกเสือนับตามจานวนท่ีบอกเร่ิมจากหัวแถว เช่นเดียวกับการนับตาม ธรรมดา เช่น นับสองลูกเสือคงนับหนึ่ง , สอง , หน่ึง , สอง เรียงต่อไปตามลาดับจน สดุ แถว หมายเหตุ (๑) การนับให้ใช้สาหรับหน้ากระดาษแถวเดียว แต่ถ้าหน้ากระดานหลาย แถวก็ให้นับเฉพาะแถวหน้าหรือหากมีความประสงค์จะให้แถวใดนับก็ใช้คาบอกว่า “แถวท่สี อง (สาม.....) นบั ” (๒) การนับใช้หดั ให้ลกู เสอื ออกเสียงใหถ้ กู ตอ้ งตามลักษณะของลูกเสอื (๓) การนับเมื่อแถวมีการแยกคู่ขาดให้คนที่อยู่ท้ายแถวสุดของแถว หลงั สดุ ของแถวหลงั สุด ขานจานวนทข่ี าดให้ทราบโดยขานว่า “ขาดหน่ึง” (สอง , สาม ฯลฯ) แล้วแตก่ ารเข้าแถวครง้ั น้ัน ๑๓. ท่าถอดหมวก ๑) ถอดหมวก คาบอก “ถอดหมวก” การปฏิบัติ ก. แบมือซ้ายและงอศอกจนแขนท่อนล่างได้ฉากกับแขนท่อนบน นิว้ หัวแม่มอื ตง้ั ข้ึนขา้ งบนพรอ้ มกนั นัน้ ใชม้ อื ขวา จับท่ีกะบังหน้าหมวก (หมวกทรงกลม ทมี่ กี ะบงั หนา้ หมวก , หมวกทรงหม้อตาล) จับที่ปีกหมวกด้านหน้า (หมวกปีกกว้างพับ ข้างและไม่พับขาง) จับท่ีขอบหมวกด้านขวา (หมวกทรงอ่อน) จับท่ีขอบหมวกบน ดา้ นหน้า (หมวกกลาสี) ข. ถอดหมวกออกจากศีรษะ วางครอบครัวหัวแม่มือซ้าย ให้หน้าหมวกหันไป ทางขวา ขอบหมวกดา้ นอกอยูร่ ะหวา่ งน้วิ หัวแม่มอื กบั น้ิวช้ี ๔๗ เอกสารประกอบการผู้บังคบั บัญชาลูกเสอื เพ่ือพฒั นาทักษะด้านระเบยี บแถวลกู เสือ

ค. ลดมือขวาลงมาอยู่ในท่าตรงพร้อมกับมือซ้ายจับหมวกด้วยนิ้วหัวแม่มือ กับ น้ิวอน่ื ทั้งสี่ ท่าถอดหมวก (หมวกทรงออ่ น) ท่าถอดหมวก (หมวกทรงออ่ น) ทา่ ถอดหมวก (หมวกทรงอ่อน) จงั หวะ ๑ จังหวะ ๒ จังหวะ ๓ คาบอก “สวมหมวก” การปฏบิ ัติ ก. ใชม้ อื ขวาจับหมวกที่อย่ใู นมือซา้ ย เชน่ เดยี วกบั การถอดหมวก ข. ยกหมวกข้ึนสวมศรี ษะ มือซ้ายชว่ ยจัดหมวกกไ็ ด้ ค. ลดมอื ทัง้ สองลงมาอยู่ในท่าตรงอยา่ งแขง็ แรง หมายเหตุ ก) ท่าถอดหมวกใช้ในโอกาสเกี่ยวกับพิธีสงฆ์หรือทางศาสนา เช่น พิธีสวน สนามท่ีมีการประพรมนา้ พระพุทธมนต์ เป็นตน้ ข) การหดั ในขนั้ แรก ควรกระทาเป็นตอน ๆ เม่ือลูกเสือมีความเข้าใจดีแล้ว จงึ หดั โดยเปิดตอน ค) ถ้าลูกเสือถือไม้พลองหรือไม้ง่าม ก่อนทาท่าถอดหมวกและสวมหมวก ให้นาอาวุธมาไว้ระหว่างปลายเท้าท้ังสอง แล้วพิงท่อนบนไว้กับแขนซ้าย คร้ันแล้วจึง ปฏิบัติตามขั้นตอนต่าง ๆ ต่อไป และเมื่อถอดหรือสวมหมวกเรียบร้อยแล้ว จึงนาไม้ พลองหรือไมง้ า่ มไปอยู่ในท่าเรยี บอาวธุ ตามเดิม ๔๘ เอกสารประกอบการผบู้ ังคับบัญชาลกู เสือเพ่อื พัฒนาทกั ษะดา้ นระเบียบแถวลกู เสอื

ทา่ สวมหมวก (หมวกทรงอ่อน) จงั หวะ ๑ ทา่ สวมหมวก (หมวกทรงอ่อน) จงั หวะ ๒ ทา่ สวมหมวก (หมวกทรงอ่อน) จงั หวะ ๓ ๑๔. การถวายราชสดดุ ี คาบอก “ถอดหมวก , น่งั ” การปฏิบัติ เม่ือส่งั “ถอดหมวก” เว้นระยะไว้พอสมควร เม่ือลูกเสือทุกคนถอดหมวก เรยี บรอ้ ยแล้ว ใหส้ ่ัง “นงั่ ” เม่ือลกู เสอื ได้ยินคาสั่งว่า “น่ัง” ให้ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า คร่ึงก้าว คุกเข่าขวาลงตั้งเข่าซ้าย น่ังลงบนส้นเท้าขวา มือขวาแบคว่า วางลงบนเข่า ขวามอื ซ้ายทีถ่ อื หมวกวางพาดบนเข่าซ้าย และต้งั ฉากกบั เข่าซ้าย เมอื่ ร้องเพลงราชสดุดี ให้กม้ หนา้ เล็กนอ้ ย และใหเ้ งยหนา้ ข้นึ ตามเดิมเม่ือ เพลงจบ เม่ือสั่งว่า “ลุก” ให้ลูกเสือลุกขึ้น โดยดึงเท้าซ้ายที่ก้าวออกไปกลับมาชิดเท้า ขวาและเมื่อส่งั “สวมหมวก” ให้ลูกเสอื สวมหมวกโดยเร็ว แลว้ อยใู่ นทา่ ตรง หมายเหตุ ในกรณีท่ลี ูกเสอื มไี ม้พลองหรือไม้ง่าม ให้ถอดหมวกในท่าที่มีอาวุธเสียก่อน แล้วจึงนั่งโดยนาไม้พลองหรือไม้ง่ามไปวางไว้ตามยาว ชิดขาขวาทางขวา มือขวาคง แบควา่ วางบนเข่าตามปกติ การถวายราชสดดุ ี ๔๙ เอกสารประกอบการผ้บู ังคบั บญั ชาลกู เสือเพื่อพฒั นาทกั ษะดา้ นระเบยี บแถวลกู เสอื

๑๕. การถอดหมวกเพอ่ื สวดมนต์ - สงบน่ิง ก. หมวกลกู เสือสารอง หมวกทรงกลมมีกะบังหน้าหมวก ใชม้ อื ขวาจับที่กะบังหน้าหมวก แล้วถอดหมวกพร้อมกับยกมือซ้ายขึ้นมา ประกบกบั มือขวาในท่าพนมมอื ให้ดา้ นในของหมวกหันไปทางซา้ ย หนา้ หมวกอยู่ข้างบน กะบังหมวกอยรู่ ะหว่างฝ่ามอื ทงั้ สอง และหนีบหมวกไว้ เวลาสงบนิ่ง ให้ลดมอื ขวาทถ่ี ือกะบงั หนา้ หมวกไปอยู่กง่ึ กลางลาตัว แขน เหยียดตรงพร้อมกับวางฝ่ามือซ้ายทับลงบนหลังมือขวา ก้มหน้าเล็กน้อย สงบน่ิงอยู่ ประมาณ ๑ นาที แล้วเงยหน้าข้นึ สวมหมวก ข. หมวกลูกเสือสามญั หมวกปีก กว้างพับข้าง ใช้มือขวาจับท่ีปีกหมวกด้านหน้า แลว้ ถอดหมวกพร้อมกับยกมอื ซา้ ยขน้ึ มาประกบกับมือขวาในท่าพนมมือ ให้ด้านในของ หมวกหันไปทางซ้ายดอกจันหันไปด้านหน้า ให้ปีกหมวกอยู่ระหว่างฝ่ามือท้ังสอง และ หนบี หมวกไว้ เวลาสงบนง่ิ ให้ปฏิบัตเิ ช่นเดียวกับหมวกลกู เสอื สารอง ค. หมวกผู้บงั คบั บญั ชาลูกเสอื หมวกปีกกว้างไม่พบั ข้าง ใชม้ อื ขวาจับที่ปกี หมวกด้านหน้าแล้วถอดหมวกพร้อมกับยกมือซ้ายข้ึนมา ประกบมือขวาในท่าพนมมือ ให้ด้านในของหมวกหันไปทางซ้าย หน้าหมวกอยู่ข้างบน ให้ปกี หมวกอยรู่ ะหว่างฝ่ามอื ท้งั สอง และหนบี หมวกไว้ เวลาสงบน่ิง ให้ปฏบิ ัตเิ ช่นเดยี วกบั หมวกลกู เสอื สามญั ง. หมวกทรงอ่อน (เบเร่ห)์ ใช้มือขวาจับท่ีหมวกด้านขวาแล้วถอดหมวกพร้อมกับยกมือซ้ายขึ้นมา ประกบกบั มอื ขวาในทา่ พนมมอื ให้ด้านในของหมวกหันไปทางซ้ายหน้าหมวกหันเข้าหา ตัว ใหห้ มวกอยู่ระหว่างฝ่ามือท้งั สอง และหนบี หมวกไว้ เวลาสงบนง่ิ ใหป้ ฏิบตั เิ ชน่ เดยี วกบั หมวกลูกเสอื สามญั จ. หมวกกลาสี ใช้มือขวาจับที่หมวกด้านหน้าแล้วถอดหมวกพร้อมกับยกมือซ้ายขึ้นมา ประกบกบั มอื ขวาในท่าพนมมอื ใหด้ ้านในของหมวกหันไปทางซา้ ย หนา้ หมวกอยู่ข้างบน ใหห้ มวกอยรู่ ะหว่างฝา่ มือทงั้ สอง และหนบี หมวกไว้ เวลาสงบนิง่ ใหป้ ฏิบตั เิ ชน่ เดยี วกบั หมวกทรงอ่อน ๕๐ เอกสารประกอบการผบู้ ังคบั บญั ชาลกู เสือเพ่ือพฒั นาทักษะด้านระเบยี บแถวลกู เสือ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook