Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอน-ศิริพร-2-62-Animation

แผนการสอน-ศิริพร-2-62-Animation

Published by siriporn.ch, 2020-07-01 10:44:34

Description: แผนการสอน-ศิริพร-2-62-Animation

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นรู แบบมงุ เนนสมรรถนะอาชีพและบรู ณาการคุณธรรม จรยิ ธรรม คา นิยม คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิชา เทคนิคการสรางภาพเคล่ือนไหวคอมพิวเตอร รหัสวชิ า 3204-2102 ประเภทวชิ า พาณชิ ยกรรม สาขาวชิ า คอมพิวเตอรธุรกจิ หลักสูตร หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พทุ ธศักราช 2557 ภาคเรียนท่ี 2 ปก ารศึกษา 2562 จดั ทาํ โดย นางสาวศิริพร ไชยรุงเรือง สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี สาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

แผนการจัดการเรียนรู แบบมุง เนนสมรรถนะอาชีพและบูรณาการคุณธรรม จรยิ ธรรม คานยิ ม คุณลักษณะอัน พึงประสงค และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รหัสวิชา 3204-2102 วิชา เทคนิคการสรางภาพเคล่อื นไหวคอมพิวเตอร โดย นางสาวศิรพิ ร ไชยรุงเรือง วุฒิ วท.ม.วิทยาการคอมพิวเตอร

แบบฟอรม รายงานการตรวจและอนญุ าตใหใ ชแผนการจัดการเรียนรู  ควรอนญุ าตใหใชในการสอนได  ควรปรับปรุงเกยี่ วกับ ................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ลงช่ือ...................................................... (....................................................) ผตู รวจแผนการจัดการเรยี นรู .............../.............../...............  เหน็ ควรอนญุ าตใหใชในการสอนได  ควรปรับปรุงดังเสนอ  อืน่ ๆ.................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื ...................................................... (นางสุวรรณา สาสนรกั กิจ) รองผูอ าํ นวยการฝา ยวชิ าการ .............../.............../...............  อนุญาตใหใชในการสอนได  อนื่ ๆ.................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ลงช่ือ...................................................... (นายเจนวิทย ครองตน) ผอู ํานวยการ .............../.............../...............

คํานํา แผนการจัดการเรียนรูรายวิชา เทคนิคการสรางภาพเคล่ือนไหวคอมพิวเตอร รหัสวิชา 3204- 2102 เรียบเรียงขึ้นเพ่ือใชเปนคูมือในการสอนการสรางภาพเคลื่อนไหวคอมพิวเตอร ของนักศึกษา สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) และผูสนใจในเร่ืองการใช โปรแกรมการสรางภาพเคลื่อนไหว โดยรวบรวมการใชงานเครื่องมือที่สําคัญ ที่เก่ียวของกับขั้นตอน วธิ ีการและเทคนิคตางๆ ไว ผูเรียบเรียงหวังเปนอยางยงิ่ วา แผนการจัดการเรียนรูเลมนี้ จะเปนประโยชนแกผูศึกษาคนควา และเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอนวิชาเทคนิคการสรางภาพเคลื่อนไหวคอมพิวเตอร ใหมี ประสทิ ธภิ าพตอ ไป ลงชอ่ื ............................................... (นางสาวศิริพร ไชยรุงเรือง) วิทยาลยั พณชิ ยการธนบุรี ตุลาคม 2562

สารบัญ หนา เรื่อง ก คาํ นาํ ค สารบัญ ง แผนการจดั การเรยี นรูรายวิชา จ ตารางวิเคราะหหลักสตู ร ฉ ตารางแสดงการบูรณาการคณุ ธรรม จริยธรรม คานยิ ม คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค 1 หนวยการจดั การเรยี นรู 8 รายการหนว ยการจัดการเรียนรแู ละสมรรถนะท่ีพงึ ประสงค 15 หนวยที่ 1 รูจักกบั Flash CS6 23 หนวยท่ี 2 การวาดรปู และลงสี 29 หนวยท่ี 3 การจดั การออบเจก็ ต 36 หนวยที่ 4 การใชส ี 42 หนวยที่ 5 การสรางขอความ 49 หนวยท่ี 6 ซิมบอลและอนิ สแตนซ 56 หนวยที่ 7 การนําเขาภาพกราฟก จากภายนอก 62 หนวยที่ 8 การนาํ เขา ไฟลวิดีโอ 67 หนวยท่ี 9 เขาใจพ้นื ฐานการสรา งงานแอนิเมช่นั 73 หนวยท่ี 10 การสรา งงานแอนิเมช่ัน 81 หนวยท่ี 11 มูฟว่ีคลิปและปุมกด 87 หนวยท่ี 12 การทาํ งานกบั ไฟลเสยี ง หนวยท่ี 13 กําหนดใหช ้นิ งานโตต อบกับผูใชไ ด หนวยที่ 14 การเผยแพรช้ินงานที่สราง

~ก~ รหสั วชิ า 3204-2102 แผนการจัดการเรียนรรู ายวิชา ระดบั ช้ัน ปวส.1 วชิ า เทคนคิ การสรางภาพเคลอื่ นไหวคอมพิวเตอร คาบ-หนวยกติ 4-3 สาขาวิชา คอมพิวเตอรธรุ กิจ ภาคเรยี นท่ี 2 ปการศึกษา 2562 จุดประสงครายวิชา 1. เขาใจการสรา งภาพเคลื่อนไหวคอมพิวเตอร 2. มที กั ษะในการสรางภาพเคลอ่ื นไหวคอมพิวเตอร 3. มีคุณลกั ษณะนสิ ยั ท่พี งึ ประสงค และเจตคตทิ ี่ดีในวชิ าชีพคอมพิวเตอรธุรกิจ คําอธิบายรายวิชา ศกึ ษาและปฏิบตั ิเก่ยี วกบั ภาพเคลื่อนไหว ประเภทและชนิดของไฟลภาพแบบ Bitmap ภาพ แบบ Vector หลักการสรา งภาพเคลอ่ื นไหว การจัดการไฟลภ าพเคล่ือนไหว การเลือกใชโปรแกรมสราง ภาพเคลอื่ นไหว การนําเสนอผลงาน การประยกุ ตใชง านภาพเคลอื่ นไหวในงานธุรกิจ กรณีศึกษา สมรรถนะอาชีพรายวิชา 1. แสดงความรเู กี่ยวกับหลักการสรางภาพเคล่ือนไหวในงานธรุ กิจ 2. สรา งภาพเคลื่อนไหวดวยคอมพิวเตอร เกณฑก ารวดั ผลประเมินผล 20 คะแนน 1. คุณธรรมและจริยธรรม 30 คะแนน 2. ใบงาน/แบบฝก หัด(ช้ินงาน/แฟม สะสมผลงาน) 20 คะแนน 3. ทดสอบระหวางเรยี น 30 คะแนน 4. ประเมนิ ผลผูเรียนหลังเรียน เครือ่ งมือ / วิธี ทใี่ ชในการวัดผล 1. ดานคณุ ธรรมจริยธรรม (จติ พิสยั ) 1.1 การปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บของสถานศึกษา 1.2 ตรงตอ เวลา 1.3 สนใจปฏิบตั ิงานที่มอบหมายและความกระตอื รือรน ในการเรยี น 1.4 ความรบั ผดิ ชอบ 1.5 ความสะอาดและความเปน ระเบียบ 1.6 ความซื่อสัตย 1.7 การเหน็ คณุ คาและมีเจตที่ดี

~ข~ 2. ดานวชิ าการ (ดานทกั ษะ) 2.1 ตอบคําถาม 2.2 หลักการและเทคนิคในกระบวนการคิด 2.3 มคี วามรูความเขา ใจ 2.4 ผลงานการปฏบิ ตั ติ ามใบงานมคี วามถูกตอง 2.5 มที กั ษะและวิเคราะหการใชง านได 2.6 ความสามารถในการนําความรูไปประยุกตใชในการทาํ งานกบั คอมพิวเตอร 2.7 ทาํ แบบฝก หดั หลังเรยี นมีความเขาใจ 2.8 กระบวนการแกปญหาและกระบวนการสืบคน เพื่อหาคาํ ตอบ 2.6 มีโนภาพและความคดิ รวบยอดในการในกระบวนการเรยี นรูประจําหนวย สอื่ การสอน 1. หนงั สอื ประกอบการเรยี นวชิ าเทคนิคการสรา งภาพเคลื่อนไหวคอมพิวเตอร 2. ใบงานประจําหนวยการเรยี นรแู ตล ะหนวย 3 . แบบฝกหัดประจําหนวยการเรยี นรู 4 . ตวั อยางแฟม สะสมชิน้ งาน 5 . ชดุ การสอน PowerPoint แตล ะหนวยการเรยี น 6. VCD CAI 7. บทเรียนออนไลน 8. เครือ่ งคอมพวิ เตอร เอกสารประกอบการสอน / เอกสารอางองิ / หนงั สอื อา นประกอบ ชิษณพุ งศ ธัญญลกั ษณ. เทคนิคการสรางภาพเคลื่อนไหวคอมพิวเตอร. ซคั เซสมีเดยี :กรงุ เทพฯ, 2557. อศิ เรศ ภาชนะกาญจน. Flash CC Essential. ไอดีซี:นนทบรี, 2557. พันจนั ทร ธนวฒั นเสถียร. Flash CC ฉบบั สมบูรณ. รไี ววา :กรุงเทพ, 2556.

~ค~ ตารางวเิ คราะหห ลักสตู ร รหัส 3204-2102 วชิ า เทคนิคการสรางภาพเคลือ่ นไหวคอมพวิ เตอร (Computer Animation) หนวยกติ 3 ระดับช้ัน ปวส.1 จํานวน 4 ช่ัวโมง/สปั ดาห รวม 72 ชว่ั โมง Cognitive Domain จุดประสงค ความ ูรความ ํจา ความเ ขาใจ ชอ่ื หนวย การนําไปใ ช การ ิวเคราะ ห นา้ํ หนักความสําคัญของแตล ะจุดประสงค การสังเคราะ ห 1. รูจักกับ Flash CC การประเมินคา 2. การวาดรูปและลงสี 3. การจัดการออบเจ็กต รวม 4. การใชส ี ลํา ัดบความสําคัญ 5. การสรา งขอความ 6. ซิมบอลและอนิ สแตนซ ํจานวนชั่วโมง 7. การนําเขาภาพกราฟกจากภายนอก 8. การนาํ เขาไฟลว ดิ ีโอ 10 10 10 10 10 10 9.เขา ใจพ้ืนฐานการสรางงานแอนิเมชั่น 10. การสรางงานแอนิเมช่นั 111 394 11. มฟู ว่คี ลปิ และปมุ กด 12. การทาํ งานกบั ไฟลเสียง 1111 4 10 4 13. กาํ หนดใหช้นิ งานโตตอบกับผูใชได 14. การเผยแพรช ิ้นงานทีส่ ราง 1111 4 11 4 รวม 1111 434 ความสําคัญ 11111 544 11111 554 11111 564 111 374 111 318 111 328 11111 584 11111 5 14 4 1111 1 5 13 8 111 1 4 12 4 14 14 14 9 5 2 231456

~ง~ ตารางแสดงการบูรณาการ คณุ ธรรม จริยธรรม คานิยม คณุ ลักษณะที่พึงประสงค หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ 3D รหัส 3204-2102 วิชา เทคนิคการสรางภาพเคลือ่ นไหวคอมพิวเตอร (Computer Animation) หนวยกิต 3 ระดับชั้น ปวส.1 จํานวน 4 ช่ัวโมง/สปั ดาห รวม 72 ช่ัวโมง ท่ี เรื่อง/รายการทีบ่ ูรณาการ หนวยท่ี จํานวนขอสอบ สัปดาหท่ี 1 รูจักกบั Flash CC 1 - 1 2 การวาดรปู และลงสี 2 - 2 3 การจัดการออบเจ็กต 3 1 3 4 การใชส ี 4 1 4 5 การสรา งขอความ 5 1 5 6 ซมิ บอลและอินสแตนซ 6 1 6 7 การนําเขา ภาพกราฟก จากภายนอก 7 1 7 8 การนาํ เขา ไฟลวดิ ีโอ 8 - 8 9 เขาใจพ้ืนฐานการสรางงานแอนิเมชั่น 9 1 9-10 10 การสรางงานแอนเิ มชัน่ 10 1 11 มูฟวีค่ ลปิ และปมุ กด 11 1 11-12 12 การทาํ งานกับไฟลเสียง 12 1 13 13 กําหนดใหช นิ้ งานโตต อบกับผูใชไ ด 13 1 14 14 การเผยแพรช ิน้ งานท่สี ราง 14 - 15-16 17 ประเมินผลปลายภาคเรยี น 18

~จ~ หนวยการจัดการเรียนรู รหสั 3204-2102 วชิ า เทคนิคการสรา งภาพเคลอื่ นไหวคอมพิวเตอร (Computer Animation) หนวยกติ 3 ระดับช้ัน ปวส.1 จํานวน 4 ช่ัวโมง/สปั ดาห รวม 72 ชั่วโมง หนวยท่ี ชือ่ หนวยการจัดการเรียนรู จํานวนช่ัวโมง สัปดาหท่ี 1 ความรูเบือ้ งตน เกีย่ วกบั Animation 4 1 2 การวาดรูปและลงสี 4 2 3 การจัดการออบเจ็กต 4 3 4 การใชส ี 4 4 5 การสรางขอความ 4 5 6 ซิมบอลและอินสแตนซ 4 6 7. การนําเขาภาพกราฟก จากภายนอก 4 7 8 การนาํ เขา ไฟลวิดีโอ 4 8 9 เขาใจพน้ื ฐานการสรา งงานแอนเิ มชัน่ 8 9-10 10 การสรางงานแอนิเมชัน่ 8 11 มูฟวค่ี ลปิ และปุม กด 4 11-12 12 การทาํ งานกบั ไฟลเสียง 4 13 13 กาํ หนดใหชน้ิ งานโตตอบกบั ผูใชได 8 14 14 การเผยแพรช ิ้นงานท่สี รา ง 4 15-16 4 17 ประเมินผลปลายภาคเรยี น 72 18 รวมช่ัวโมง

~ฉ~ รายการหนวยการจัดการเรียนรูและสมรรถนะที่พงึ ประสงค ช่ือหนวย/ช่ือเร่ือง สมรรถนะทีพ่ ึงประสงค ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ 1. รูจกั และเขา ใจกระบวนการทาํ งานของโปรแกรม Flash CC เบ้ืองตน Animation 2. มีความรูความเขา ใจเกย่ี วกับสว นประกอบตางๆ ของโปรแกรม Flash CC 3. มคี วามรูความเขาใจเกย่ี วกับเครื่องมือตางๆ ท่ีใชในการทํางานของโปรแกรม การวาดรปู และลงสี Flash CC 1. มคี วามรคู วามเขาใจเกี่ยวกับลักษณะของภาพกราฟก แตละประเภท การจัดการออบเจ็กต 2. มีความรคู วามเขา ใจเกยี่ วกับกลุมเครอื่ งมอื ท่ีใชในการวาดภาพกราฟก 3. เขาใจและสามารถสรา งรปู ดวยเครื่องมือตางๆ ได การใชสี 1. มีความรูความเขา ใจในการเลอื กออบเจ็กต 2. เขา ใจและสามารถจัดการกับออบเจ็กตได การสรา งขอ ความ 3. อธบิ ายถึงวิธีการในการจัดเรยี งออบเจก็ ตได 1. มีความรูค วามเขาใจเกยี่ วกบั รูปแบบการมองเหน็ สีในแบบตางๆ ซมิ บอลและอินสแตนซ 2. อธบิ ายถึงวธิ ีการกําหนดสโี ดยใชพาเนล Color และพาเนล Swatches ได การนําเขา ภาพกราฟก จาก 3. อธบิ ายถึงวิธีการเปล่ยี นสีใหกับออบเจ็กตไ ด ภายนอก 1. สามารถสรา งขอความใหกับชน้ิ งานได การนําเขาไฟลวดิ ีโอ 2. มีความรูความเขา ใจและสามารถกําหนดรูปแบบขอความใหกบั ชนิ้ งานได 3. อธิบายถึงวิธีการในการแยกสว นขอความประเภทสแตติกเปนรูปทรงได เขาใจพื้นฐานการสรา งงาน 1. อธิบายถงึ วิธีการในการสรางซิมบอลได แอนิเมชัน่ 2. อธิบายถงึ วิธีการในการใชอนิ สแตนซได การสรางงานแอนิเมช่นั 1. รูจักไฟลภาพนามสกุลตางๆท่ีสามารถนาํ มาใชงานใน Flash ได 2. มคี วามรูค วามเขาใจและสามารถนําไฟลภาพชนดิ ตา งๆ มาใชง านได 3. อธบิ ายถึงการนําเขา ภาพเวกเตอรท ส่ี รา งจากโปรแกรมอ่ืนได 1. มคี วามรูความเขา ใจเกีย่ วกับการนาํ ไฟลว ดิ ีโอมาใชใน Flash 2. สามารถอธบิ ายถึงการแปลงไฟลชนดิ อนื่ ใหเ ปน Flash Movie ได 3. สามารถอธิบายวิธกี ารควบคุมการเลนวิดีโอคลปิ ในช้ินงานได 1. มคี วามรูความเขา ใจและสามารถจดั การไทมไลนได 2. มคี วามรูความเขา ใจและสามารถจดั การเลเยอรได 3. มีความรูความเขาใจและสามารถจัดการเฟรมได 1. มคี วามรูความเขา ใจและสามารถสรางแอนิเมชนั่ แบบเฟรมตอ เฟรมได 2. มคี วามรูความเขา ใจและสามารถสรางแอนิเมชั่นแบบทวีนได 3. มีความรูความเขา ใจและสามารถสรา งเอฟเฟกตภาพเคล่ือนไหวดวยมาสกเล เยอรได

~ช~ ชอ่ื หนวย/ช่ือเร่ือง สมรรถนะทีพ่ ึงประสงค มฟู ว่คี ลิปและปมุ กด 1. มีความรูความเขาใจและสามารถสรา งมูฟว่ีคลปิ เพ่ือนาํ มาใชงานได 2. มีความรูความเขาใจและสามารถสรา งปุม กดเพือ่ นํามาใชในช้ินงานได การทาํ งานกบั ไฟลเสียง 1. รูจกั ไฟลเสยี งนามสกลุ ตางๆท่ีสามารถแทรกในช้นิ งานได 2. สามารถแทรกเสียงตางๆลงในชนิ้ งาน เพ่ือสรา งความสมบูรณและความ นาสนใจใหกับชิ้นงานได 3. อธิบายถึงวธิ ีการในการปรบั แตง เสยี งใหกับช้ินงานได 4. อธิบายถงึ วิธีการบีบอดั ขอมูลเสียงเพือ่ ลดขนาดของชน้ิ งานได กาํ หนดใหชน้ิ งานโตต อบกับ 1. เขาใจถึงวธิ ีการเรยี กใชสคริปตในพาเนล ACTIONS ผูใชได 2. มีความรูเกีย่ วกับคาํ ส่งั พืน้ ฐานในการสรา งงานท่โี ตตอบกับผูใช 3. มคี วามรูความเขา ใจเก่ียวกับการเขียนคําสง่ั โดยใช ActionScript 2.0 4. มีความรูความเขาใจเกยี่ วกับการเขยี นคําสัง่ โดยใช ActionScript 3.0 การเผยแพรชนิ้ งานทสี่ รา ง 1. มีความรูความเขาใจและสามารถอธิบายเก่ียวกบั การพบั ลิชชน้ิ งานได 2. สามารถพับลชิ ช้ินงานเปน ไฟล แฟลชมูฟว่ี (flash movie) ได 3. สามารถพับลิชชน้ิ งานเปน ไฟล HTML ได

~1~ แผนการจดั การเรยี นรู หนวยที่ 1 ชอ่ื วิชา เทคนคิ การสรางภาพเคลื่อนไหวคอมพวิ เตอร สอนครงั้ ที่ 1 ชอื่ หนวย ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ Animation ช่วั โมง 4 ชื่อเร่ืองหรอื ช่อื งาน ความรูเบ้อื งตนเกย่ี วกบั Animation จํานวนช่ัวโมง 4 หัวขอเร่ืองและงาน 1. ความหมายของ Animation 2. หลักการทํางานของ Animation 3. ความหมายของ Computer Animation สาระสําคญั ความรูดานการสรางภาพเคล่ือนไหว เปนพื้นฐานที่นักอนิเมช่ัน หรือนักตัดตอ ตองทําความเขาใจ กอนเปนอันดับแรก เพ่ือจะเขาใจกระบวนการและขั้นตอนการทํางานแบบสากล เมื่อมีพ้ืนฐานแลว ตอไป กส็ ามารถวางแผนการสรางผลงานอนิเมชัน่ ไดอยางมืออาชพี จุดประสงคก ารเรียนรู 1. มีความรูความเขาใจเก่ียวกับภาพเคลื่อนไหว 2. บอกความหมายของอนิเมชนั่ และคอมพิวเตอรอ นิเมช่นั ได สมรรถนะท่ีพึงประสงค (ความรู ทักษะ คณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี ) การวดั ประเมินผล ทักษะพิสัย มกี ระบวนการวางแผน และปฏบิ ตั ิไดตรงตามเปาหมายทกี่ ําหนด พุทธพิ ิสยั มีความจํา ความเขาใจ และการนําไปประยุกตใหเกิดประโยชนตอการเรียน หรือการใช ชวี ิตประจาํ วัน จติ พิสยั ปฏิบัติไดตามศักยภาพท่ีมีอยู ตรงตอเวลา และสนใจในการสืบคนหาความรู ทุกชวง โอกาสเพ่อื พฒั นาตนเอง

~2~ เน้ือหาสาระ ความเปน มา แนวคิด หลักการ และทฤษฎีแอนเิ มช่ัน คาํ วา แอนิเมช่นั (Animation) มาจากรากศัพทล ะตนิ “animare” ความหมายวา การทําใหมชี ีวติ ดวย การทําภาพน่ิงมาเรียงลาํ ดบั และแสดงผลอยา งตอเนื่องดว ยความเร็วสงู จนเกิดเปน ภาพทมี่ ีการเคลื่อนไหวอยางมี ชีวติ ชีวา ซง่ึ การนาํ ภาพน่ิงหลายๆ ภาพมาฉายตอ เนื่องกนั ดวยความเร็วสงู นัน้ ทาํ ใหเกิดภาพลกั ษณะติดตา ปจจุบันเรามักจะมีการนําคอมพิวเตอรมาสรางภาพเคลื่อนไหว ดวยการสรางภาพนิ่งขึ้นกอน แลวคอย สรางภาพตอเนื่องภาพถัดไปเรียงลําดับไปเร่ือยๆ เปล่ียนแปลงภาพไปทีละนอย แลวนํามาเขาสูคอมพิวเตอรใช โปรแกรมสรา งแอนิเมช่ัน ในการลาํ ดบั ภาพใหเหมาะสมกบั เวลา และแสดงภาพตอเนื่อง จนเหน็ เปนการเคลือ่ นไหว ทส่ี มจริง สรุปความหมายแอนิเมชั่น o แอนิเมชน่ั เปนสิ่งมหัศจรรยท ี่เกิดจากมือมนุษย o แอนิเมชั่นมอบลมหายใจใหกับสิง่ ตางๆ ท่ไี มเคยมชี วี ิตมากอน o แอนิเมชนั่ เปนงานศลิ ปะ ท่ีเกิดขน้ึ ดวยหลักการวิทยาศาสตร o แอนิเมชน่ั เปน ธุรกิจบันเทิงท่ีสรางความสขุ ใหแ กคนทัง้ โลก o แอนิเมชน่ั สามารถเนรมิตโลกฝน ใหเปนจรงิ ได ประวตั ิความเปนมา หลกั ฐานทางประวัติศาสตรโ บราณ ไดมีการคนพบภาพเขยี นบนผนังถํา้ เปน รปู สตั วช นดิ หนง่ึ ซ่งึ มีการ เคล่ือนไหวของขาท้ัง 4 ขาง ยคุ ของฟาโรหรามาเศสท่ี 2 ไดม ีการการวาดรูปการเคลอ่ื นไหวของเทพีไอซสิ ตอเนื่องกันถงึ 110 รปู ยคุ กรีกโรมนั เม่ือดูจากภาพทปี่ รากฏบนคนโทแลว จะเหน็ วาเปน ภาพตอ เนื่องของการวิ่ง

~3~ ในประเทศแถบยุโรปในป 1908 อนิเมชนั่ ถือกําเนดิ ขึ้นในโลก จากเร่ือง Fantasmagorie ของ Emile Courtet ชาวฝร่ังเศส ในขณะเดียวกนั ที่สหรัฐฯ ก็มีการเรมิ่ ตนพฒั นาดานแอนิเมชัน่ ซึ่งหนังในชวงแรกๆก็มี Koko the Clown และ Felix the Cat ในป 1923 วอลท ดสิ น่ีย ก็ถือกําเนดิ ขนึ้ ดวย การสรางภาพยนตรก ารต ูนแอนิเมชั่นในประเทศไทย อาจารยส รรพสิริ วริ ิยสริ ิ ผสู รางแอนิเมช่ันคนแรกของไทยในโฆษณาโทรทศั น เชน เรอื่ งหนูหลอในโฆษณา ยาหมองบรบิ ูรณปาลม หมนี อ ยในโฆษณานมตราหมี และแมม ดกับสโนวไวทในโฆษณาโทรทศั นแปงน้าํ ควนิ นา หนูหลอในโฆษณายาหมองบริบรู ณป าลม

~4~ แมม ดกับสโนวไวทในโฆษณาโทรทัศนแ ปงน้าํ ควนิ นา อาจารยส รรพสิริ วิรยิ สิริ ผสู รางแอนิเมช่ันคนแรกของไทย ในป พ.ศ. 2498 อาจารยป ยุต เงากระจา ง ไดสรางภาพยนตรการต ูนแอนิเมชน่ั เรื่องแรก ชือ่ เหตุ มหัศจรรย เปนภาพยนตรการตนู ขนาดสนั้ ความยาว 12 นาที ท่ีโรงภาพยนตรศาลาเฉลิมไทย ตอมา ปยตุ เงา กระจาง ไดสรางภาพยนตรก ารตูน 20 นาที อีก 2 เร่ือง ไดแ กห นมุ านเผชิญภยั และ เด็กกับหมี และภาพยนตร การตนู ขนาดยาว เรอื่ งแรกของประเทศไทย เร่ือง “สุดสาคร”ภาพยนตรการต ูน ขนาดยาวเรอ่ื งแรกฉาย ในเดือน เมษายนพ.ศ. 2522 ในป พ.ศ.2526 มีแอนิเมช่นั ทางทีวีเร่ืองแรกเร่ือง ผีเสือแสนรัก และอีกหลายเรือ่ งตามมา ไดแ กเดก็ ชายคํา แพง หนนู อยเนรมติ เทพธิดาตะวัน จากับโจ อาจารยป ยตุ เงากระจา ง

~5~ ภาพยนตรการต นู เร่ืองแรกของประเทศไทย เรื่อง “สุดสาคร” ในป พ.ศ. 2542 อนิเมชั่นในประเทศไทยไดก ลับมาฟน คืนชพี ข้นึ มาอีกครัง้ ไดม ีการสรางการตนู อนิเมช่นั เร่ือง ปลาบูทอง สงั ขทอง เงาะปา และโลกนิทาน ป พ.ศ. 2545 ไดมกี ารสรา งอนเิ มชั่น 3 มติ ิ เรื่อง ปง ปอนด ดิ อนิเมชนั่ และ สุดสาคร และในป พ.ศ. 2549 ภาพยนตรการตนู อนิเมชนั่ เร่อื งกา นกลวย ไดส รางขึ้น ภาพยนตรการต ูนแอนิเมชน่ั เรื่องกานกลวย

~6~ กจิ กรรมการจดั การเรยี นรู กจิ กรรมครู กจิ กรรมนกั เรียน ขั้นนําเขาสูบทเรียน (สัปดาหละ 30 นาที) 1. ตรวจสอบรายช่อื นกั ศึกษาที่เขา เรียน 1. ใหความรว มมือกับครูในการตรวจสอบ 2. ใหนักศกึ ษาคน ควา เก่ียวกับ Animation 2. คน ควา เร่อื ง Animation 3. รวมสนทนาเก่ียวกับ Animation 3. รว มสนทนาและแสดงความคิดเหน็ ข้ันดําเนินการสอน (สัปดาหละ 180 นาท)ี 1. บอกจดุ ประสงคการเรยี น 1. ฟง ทาํ ความเขาใจและซักถาม 2. บรรยาย อธิบาย ยกตัวอยาง ในแต ละหวั ขอ 2. แบงกลมุ การเรียนใหนักศึกษา 3. ฟง ทาํ ความเขา ใจและปฎิบตั ิตาม 3. ครูบอกวิธีการ และแนวคิดในการปฏบิ ัติที่ 4. ผูเรียนซกั ถามขอ สงสัยและจดบนั ทึก ถูกตองใหแ กผูเรยี น 5. รับการประเมนิ 4. ประเมินพฤติกรรมรายบคุ คลโดยครูจะ ซักถามในแตละคน ขัน้ สรุป(สัปดาหล ะ 30 นาที) 1. ครแู ละนกั เรยี นรวมกันสรปุ สาระสําคัญ 1. ครแู ละนกั เรียนรวมกันสรุปสาระสําคัญ 2. เปด โอกาสใหนักเรยี นซกั ถามขอสงสัย 2. นักเรียนสอบถามขอ สงสัย 3. มอบหมายใหไ ปหัดทําและศกึ ษาเพ่ิมเตมิ 3. ฟงและจดบันทกึ 4. ทําแบบทดสอบ 4. ทาํ แบบทดสอบทายบท กจิ กรรมการเรียนรู กอนเรยี น คนควา เกยี่ วกบั Animation ขณะเรียน 1. แบงกลุม เพ่ือศึกษา 2. จดบนั ทึก สาระการเรยี นรู 3. ทาํ ใบงาน ตรวจสอบใบงาน แกไ ขใบงาน 4. ทบทวนเนือ้ หา หลงั เรียน 1. รว มกันสรุปบทเรยี น พรอ มบนั ทึกผลการสรปุ แลวลกุ ขนึ้ นําเสนอกบั ครูผูสอน 2. ผูเรียนและครูผูสอนรวมกันประเมินขอสรุปของผูเรียนท่ีออกแสดงความคิดเห็นเพื่อใหไดขอสรุปที่ ถูกตอง และครูผูสอนแสดงความชื่นชมกับผูเรียนทุกคนท่ีออกแสดงความคิดเห็นและมีสวนรวมใน กจิ กรรมทม่ี อบหมาย

~7~ 3. ทาํ แบบฝก หัดหลงั เรียน 4. รวมกันเฉลยแบบฝก หดั สอ่ื การเรียนการสอนประจําหนวย 1. หนังสือเรียนวิชา เทคนคิ การสรางภาพเคล่ือนไหวคอมพิวเตอร 2. ใบความรปู ระจาํ หนวย 3. ใบงานและแบบฝก หดั 4. เคร่อื งคอมพิวเตอร 5. คลปิ วีดโี อ Animation ในอดตี และปจจุบนั วัดผลประเมนิ ผลประจาํ หนวย 1. สงั เกตผูเรยี นมีความสนใจ เกิดความเขา ใจในสาระการเรียนรู ตลอดจนแสดงความกระตอื รือรนในการ แสดงความคิดเห็นและสรุปสาระการเรยี นรูประจําหนวย 2. ทาํ ใบงานไดอ ยา งถกู ตอง ทันเวลาที่กําหนด ใบงานสะอาดและเปน ระเบียบ 3. ผูเรยี นทําแบบฝกหดั หลังเรยี นไดถ กู ตอง โดยไดค ะแนน 50% เปน อยา งตาํ่ กิจกรรมเสนอแนะประจําหนวย 1. ผูเรียนตองใหความสนใจในการศึกษา เพ่ือหาเทคนิค วิธีการ หรือหลักการงายเพ่ือใหหาคําตอบได อยางถูกตอง และรวดเร็ว โดยการ ต้ังใจฟงหลักการ เทคนิควิธีการท่ีครูผูสอนสรุปในขณะที่ทําการสอน และนําขอ สงสยั ซักถามครใู นการเรียนทกุ ครัง้ ที่เกิดความสบั สน และไมเ ขา ใจ 2. ผูมกี ารทบทวนบทเรยี น ตลอดเพื่อเสรมิ สรางความเขาใจอยางแทจริง 3. ผเู รยี นหมนั่ ทําใบงาน แบบฝก หัด และแกไขขอ ทผี่ ิดใหถูกตองเสมอ 4. ผูเรยี นตองสรางมโนภาพใหเกิดความคดิ รวบยอดในสาระการเรียนรูและเทคนิควิธีการพรอมกับความ จําเปนในการนําไปประยุกตใชใหเกิดขึ้นโดยตนเองใหไดเพื่อเกิดความรูความเขาใจอยางแทจริงไมใชเกิดจากการ ทอ งจํา

~8~ แบบฝกหดั ทายบทที่ 1 ตอนที่ 1 จงทําเครื่องหมายวงกลมลอ มรอบตัวเลือกทถ่ี ูกตองที่สดุ 1. อนิเมชน่ั (Animation) มาจากรากศัพทละติน คําวา อะไร ก. animare ข. animate ค. motion ง. Intermation 2. ชน้ิ งานชนดิ ใดที่นยิ มทาํ เปน อนิเมชั่น ก. เวบ็ ไซต ข. เกม ค. แบนเนอร ง. ภาพยนตร 3. ขอใดตอไปน้ีคอื ข้นั ตอนสดุ ทายในการสรางภาพเคล่ือนไหวหรือมูฟว่ี ก. วางโครงเรื่องชิน้ งาน ข. จดั เตรยี มสวนประกอบชิน้ งาน ค. ทดสอบชน้ิ งาน ง. แปลงไฟลช ้ินงาน 4. ผูส รา งแอนิเมช่นั คนแรกของไทยในโฆษณาโทรทัศน คือใคร ก. อาจารยป ยตุ เงากระจา ง ข. อาจารยสรรพสิริ วิรยิ สิริ ค. อาจารยพ รชัย รอดเจรญิ ง. อาจารยปย ะ สิรสิ ุข 5. โฆษณาโทรทศั นช ิน้ แรกที่เปน อนิเมช่ัน คือสนิ คาประเภทใด ก. นมไทยเดนมารก ข. ยาหมองบรบิ ูรณป าลม ค. ผงซักฟอก ง. แปง หอมตรางู 6. ถา ตองการสรางโคด เพอ่ื ใหชิน้ งานสามารถโตต อบกับผูใชได ตอ งใชงานพาเนลใด ก. Actions ข. Library ค. Editor ง. Color 7. เครื่องมือชนิดใดไมไ ดจดั อยใู นกลุมเครื่องมอื Edit ก. Pencil Tool ข. Subselection Tool ค. Brush Tool ง. Eraser Tool 8. ถาตอ งการทาํ งานเกีย่ วกบั วาดและตกแตง ภาพ ควรเลือกใชง านกลมุ เครื่องมือชนิดใด ก. Tools ข. View ค. Edit ง. Colors 9. หากตอ งการบันทึกชิน้ งานเพ่ือใหส ามารถนําไปใชเปนไฟลต น แบบในการสรางชน้ิ งานตอไป ควรเลือกการบนั ทึก ชิ้นงานแบบใด ก. Save ข. Save As ค. Save and Compact ง. Save as Template 10. คําสั่งใดใชส ําหรับยอ นกลับการทํางาน ก. Paste ข. Revert ค. Undo ง. Spelling

~9~ ตอนที่ 2 จงบอกชื่อและหนาทกี่ ารทาํ งานของสวนประกอบสําคัญของ Flash ตอไปน้ี หมายเลข 1 เมนูบาร เปนแถบที่รวบรวมคําสั่งในการใชงานทั้งหมดเกี่ยวกับการสรางช้ินงาน และการสรางมูฟวี่ นอกจากนนั้ ยังรวมไปถึงการตัง้ คาเกยี่ วกบั การใชงานในโปรแกรมทง้ั หมด หมายเลข 2 เราเรียกพ้ืนที่สีขาวตรงกลางหนาจอที่ใชจัดวางออบเจ็กตตางๆที่ตองการแสดงใหเห็นในชิ้นงานวา “สเตจ (Stage)” สวนบริเวณสีเทาลอมรอบนั้นเราจะใชวางวัตถุท่ียังไมตองการใหแสดงวา “พื้นท่ีทํางาน (Pasteboard)” ซึ่งเราอาจเปรียบสเตจไดเหมือนเปนเวที และพื้นท่ีทํางานเปนพ้ืนที่หลังเวทีที่ผูชมมองไมเห็น แต เราวางองคป ระกอบตา งๆ ทจี่ ะนาํ ไปแสงบนสเตจได หมายเลข 3 ไทมไลนหรือเสนเวลา จะใชสําหรับสรางและกําหนดรายละเอียดของการเคล่ือนไหว โดยเอา องคประกอบที่จะเคล่ือนไหว มาจัดวางตอกันทีละภาพในแตละชวงเวลา (เรียกวาเฟรม : Frame) ที่จะแสดงเปน ภาพเคลอ่ื นไหว โดยเราจะกําหนดเสน เวลาใหเลนภาพเคล่อื นไหวซํ้าๆ หรือเลนแลว หยุดก็ได หมายเลข 4 ทูลบ็อกซเปนกลองที่รวบรวมเคร่ืองมือตางๆ ท่ีใชในการสราง และปรับแตงออบเจ็กตตางๆ โดยจะ เรียงเครื่องมือตางๆ เปนแถวเดียวกันลงมา เคร่ืองมือแตละชิ้นในทูลบ็อกซจะมีลักษณะเปนไอคอนรูปภาพที่เรา สามารถคลิกเพอ่ื เรียกใชง านได หมายเลข 5 พาเนล คือหนาตางท่ีรวบรวมเคร่ืองมือตางๆ สําหรับใชในการปรับแตงออบเจ็กต ซ่ึงใน Flash ไดมี การจดั พาเนลตา งๆ ไวอ ยางเปน หมวดหมูตามหนาที่ของมันใหเราเรยี กใชได

~ 10 ~ บันทึกหลงั การจัดการเรียนรู ผลการใชแ ผนการจัดการเรียนรู ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ผลการเรยี นของนักเรยี น ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ผลการสอนของครู ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................

~ 11 ~ แผนการจัดการเรียนรู หนวยท่ี 2 ชอ่ื วิชา เทคนคิ การสรา งภาพเคลอื่ นไหวคอมพวิ เตอร สอนครัง้ ที่ 2 ชอื่ หนวย การวาดรปู และการลงสี ช่ัวโมง 4 ชื่อเรื่องหรือช่อื งาน การวาดรูปและการลงสี จาํ นวนชั่วโมง 4 หวั ขอเรื่องและงาน 1. ลกั ษณะของภาพกราฟกแตละประเภท 2. กลุมเครือ่ งมอื ท่ีใชในการวาดภาพกราฟก 3. การสรา งรูปดวยเครอื่ งมอื ตา งๆ ได สาระสําคัญ การสรา งภาพกราฟกใน Flash มี 2 วธิ ี วิธีแรกคอื การใชเ คร่ืองมือ Flash สรา งขน้ึ มา และวิธีท่ี 2 คือ นําเขา ภาพจากภายนอก อาจเปน ภาพถายหรือภาพที่สรางจากโปรแกรมกราฟกอ่นื ก็ได เชน Illustrator หรือ Photoshop ซึง่ มีไดหลากหลายนามสกุล อาทิ .GIF .PNG .BMP เปนตน สาํ หรบั ในบทนี้เราจะ กลา วถึงการสรางภาพกราฟกดวยวิธแี รก นน่ั คือ การใชเครื่องมือใน Flash วาดรูปขึ้นมาเอง โดยเราจะ กลา วถึงหลักการพนื้ ฐานและการใชเคร่ืองมือวาดทีละตัว จดุ ประสงคการเรียนรู 1. มคี วามรูความเขาใจเก่ียวกับลักษณะของภาพกราฟก แตละประเภท 2. มีความรูความเขาใจเกย่ี วกับกลุมเครื่องมือที่ใชในการวาดภาพกราฟก 3. เขา ใจและสามารถสรางรูปดว ยเครื่องมือตา งๆ ได สมรรถนะที่พึงประสงค (ความรู ทักษะ คุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี ) ทกั ษะพิสยั มกี ระบวนการวางแผน และปฏบิ ัตไิ ดต รงตามเปา หมายท่ีกาํ หนด พทุ ธิพสิ ยั มีความจาํ ความเขาใจ และการนําไปประยุกตใหเกิดประโยชนต อ การเรยี น หรอื การใชช ีวติ ประจําวัน จิตพิสยั ปฏบิ ัติไดตามศกั ยภาพท่ีมีอยู ตรงตอเวลา และสนใจในการสืบคน หาความรู ทุก ชว งโอกาสเพื่อพฒั นาตนเอง บูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง/3D มีความพอประมาณ ความพอดที ี่ไมนอยเกิดไปและไมมากเกนิ ไป โดยไมเบยี ดเบียนตนเองและผูอ่นื

~ 12 ~ เน้อื หาสาระ การสรางภาพกราฟกใน Flash มี 2 วิธี วิธีแรกคือการใชเคร่ืองมือ Flash สรางขน้ึ มา และวิธที ่ี 2 คือ นาํ เขา ภาพจากภายนอก อาจเปนภาพถายหรือภาพท่สี รางจากโปรแกรมกราฟกอ่ืนก็ได เชน Illustrator หรือ Photoshop ซึ่งมีไดหลากหลายนามสกุล อาทิ .GIF .PNG .BMP เปนตน สาํ หรับในบทนี้เราจะกลาวถงึ การสรา ง ภาพกราฟกดวยวิธแี รก น่ันคือ การใชเคร่อื งมือใน Flash วาดรปู ข้นึ มาเอง โดยเราจะกลา วถงึ หลักการพนื้ ฐาน และการใชเคร่ืองมือวาดทลี ะตัว 1. รูจกั กับชนิดของภาพกราฟก 2. เรมิ่ ตนการวาดรูปโดยใชเครื่องมือใน Flash 3. การกาํ หนดรายละเอียดของรูปทรงท่ีวาด 4. การวาดเสนตรงและเสน โคงเช่อื มตอ กันโดยใช Pen Tool 5. การวาดรปู ทรงเลขาคณิต 6. ใช Selection Tool และ Subselection Tool ปรับแตงรูปทรงท่ีวาด 7. ใชพกู นั ระบายสี Brush Tool 8. ใสส ีเสนขอบดวย Ink Bottle Tool 9. เทสีพื้นภาพโดยใช Paint Bucket Tool 10. เทลวดลายดวย Deco Tool 11. เลือกสโี ดยใช Eyedropper Tool 12. ลบภาพสวนท่ีไมตองการดวย Eraser Tool

กจิ กรรมการจัดการเรยี นรู ~ 13 ~ กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน ข้นั นําเขา สบู ทเรียน (สัปดาหล ะ 30 นาที) 1. ตรวจสอบรายชอ่ื นักศึกษาทีเ่ ขาเรยี น 1. ใหความรวมมือกับครูในการตรวจสอบ 2. ใหน ักศึกษาคนควา การวาดรปู และลงสี 2. คนควา เรื่อง การวาดรปู และลงสี 3. รวมสนทนาเกี่ยวกับการวาดรูปและลงสี 3. รว มสนทนาและแสดงความคิดเหน็ ขน้ั ดําเนินการสอน (สัปดาหละ 180 นาที) 1. ฟง ทาํ ความเขา ใจและซักถาม 1. บอกจดุ ประสงคการเรยี น 2. แบง กลมุ 2. บรรยาย อธิบาย ยกตัวอยาง ในแต ละหัวขอ 3. ฟง ทําความเขาใจและปฎบิ ตั ติ าม การเรยี นใหนกั ศกึ ษา 4. ผูเรยี นซักถามขอ สงสัยและจดบนั ทึก 3. ครบู อกวิธีการ และแนวคดิ ในการปฏบิ ัตทิ ี่ 5. รบั การประเมิน ถูกตองใหแกผูเรียน 4. ประเมินพฤตกิ รรมรายบคุ คลโดยครูจะซักถาม ในแตละคน ขัน้ สรปุ (สัปดาหละ 30 นาที) 1. ครูและนกั เรียนรวมกนั สรุปสาระสําคัญ 2. นักเรยี นสอบถามขอสงสัย 1. ครูและนกั เรยี นรวมกนั สรุปสาระสาํ คัญ 3. ฟง และจดบันทกึ 2. เปดโอกาสใหน ักเรียนซักถามขอสงสยั 4. ทาํ แบบทดสอบทายบท 3. มอบหมายใหไ ปหดั ทาํ และศึกษาเพ่ิมเติม 4. ทาํ แบบทดสอบ กจิ กรรมการเรียนรู กอนเรยี น คนควาการวาดรูปและลงสี ขณะเรียน 1. แบง กลุม เพ่อื ศึกษา 2. จดบันทึก สาระการเรยี นรู 3. ทําใบงาน ตรวจสอบใบงาน แกไขใบงาน 4. ทบทวนเนื้อหา

~ 14 ~ หลงั เรียน 1. รวมกันสรุปบทเรยี น พรอ มบันทึกผลการสรุป แลว ลกุ ขนึ้ นาํ เสนอกบั ครูผสู อน 2. ผูเรียนและครูผูสอนรวมกันประเมินขอสรุปของผูเรียนที่ออกแสดงความคิดเห็นเพื่อใหไดขอสรุปที่ ถูกตอง และครูผูสอนแสดงความช่ืนชมกับผูเรียนทุกคนท่ีออกแสดงความคิดเห็นและมีสวนรวมใน กจิ กรรมท่ีมอบหมาย 3. ทาํ แบบฝก หดั หลังเรยี น 4. รว มกันเฉลยแบบฝก หัด ส่ือการเรยี นการสอนประจําหนวย 1. หนงั สือเรียนวชิ า เทคนคิ การสรา งภาพเคล่ือนไหวคอมพิวเตอร 2. ใบความรูป ระจําหนวย 3. ใบงานและแบบฝก หดั 4. เครอ่ื งไมโครคอมพิวเตอร 5. คลิปวดี ีโอสอนการสรา งภาพเคลื่อนไหว 6. ซดี ีสอื่ การสอน วดั ผลประเมินผลประจาํ หนวย 1. สงั เกตผูเรยี นมีความสนใจ เกิดความเขาใจในสาระการเรียนรู ตลอดจนแสดงความกระตอื รอื รน ในการ แสดงความคดิ เห็นและสรปุ สาระการเรียนรปู ระจําหนวย 2. ทาํ ใบงานไดอ ยา งถกู ตอง ทนั เวลาท่ีกําหนด ใบงานสะอาดและเปน ระเบียบ 3. ผูเรยี นทาํ แบบฝกหัดหลังเรยี นไดถ กู ตอ ง โดยไดค ะแนน 50% เปน อยางตํ่า กิจกรรมเสนอแนะประจําหนวย 1. ผูเรียนตองใหความสนใจในการศึกษา เพื่อหาเทคนิค วิธีการ หรือหลักการงายเพ่ือใหหาคําตอบได อยางถูกตอง และรวดเร็ว โดยการ ต้ังใจฟงหลักการ เทคนิควิธีการท่ีครูผูสอนสรุปในขณะท่ีทําการ สอน และนําขอสงสยั ซักถามครูในการเรียนทุกครัง้ ที่เกิดความสบั สน และไมเ ขาใจ 2. ผูม กี ารทบทวนบทเรียน ตลอดเพื่อเสรมิ สรา งความเขา ใจอยางแทจริง 3. ผเู รยี นหม่ันทําใบงาน แบบฝก หัด และแกไ ขขอท่ีผดิ ใหถูกตองเสมอ 4. ผูเรียนตองสรางมโนภาพใหเกดิ ความคดิ รวบยอดในสาระการเรียนรูและเทคนิควิธีการพรอมกับความ จําเปนในการนําไปประยุกตใชใหเกิดข้ึนโดยตนเองใหไดเพ่ือเกิดความรูความเขาใจอยางแทจริงไมใช เกิดจากการทองจํา

~ 15 ~ แบบฝก หัดทายบทท่ี 2 ตอนท่ี 1 จงทําเครื่องหมายวงกลมลอ มรอบตัวเลอื กที่ถกู ตองทีส่ ดุ 1. ภาพกราฟกมี 2 ประเภท อะไรบา ง ก. บทิ แมป และเวกเตอร ข. ขาวดํา และสี ค. ละเอียดและหยาบ ง. 256 สี และ 16 ลานสี 2. ขอใดตอไปนี้คือขอดีของภาพกราฟกชนดิ บิทแมป ก. ปรับ ยอขนาดไดตามตองการ ข. แสดงรายละเอยี ดไดใกลเคียงกบั ภาพจริง ค. ไฟลมขี นาดเล็ก ง. ใชเวลาในการโหลดนอ ย 3. ถา ตอ งการวาดเสน ตรงในลักษณะตางๆ ตองใชเครื่องมอื ใด ก. Line Tool ข. Pencil Tool ค. Pen Tool ง. Oval Tool 4. ถา ตอ งการวาดวงกลมหรือวงรี ตองใชเครอื่ งมือใด ก. Line Tool ข. Pencil Tool ค. Pen Tool ง. Oval Tool 5. ถา ตอ งการวาดเสน อสิ ระ ตองใชเครื่องมือใด ก. Line Tool ข. Pencil Tool ค. Pen Tool ง. Oval Tool 6. Ink Bottle Tool เปน เคร่ืองมือใชท ําอะไร ก. ระบายสี ข. เทสี ค. ใสส พี ืน้ หลัง ง. ใสสเี สนขอบ 7. ถาตอ งการเทลวดลายใหเปนวงกลม ตอ งต้ังคาใน Property Inspector แบบใด ก. Symmetry Brush ข. Vine Fill ค. Grid Fill ง. Branch angle 8. ถา ตองการกาํ หนดระยะหางระหวา งกรดิ ในแนวนอน จะตองเลือกคาํ สัง่ ใด ก. Horizontal spacing ข. Pattern scale ค. Vertical spacing ง. Branch angle 9. เครื่องมือชนดิ ใดใชส าํ หรบั คดั ลอกสีพ้นื หรือรูปแบบของลายเสนของรปู ทรงหน่ึงไปใชกบั รูปทรงอน่ื ก. Symmetry Brush ข. Eyedropper Tool ค. Eraser Tool ง. Branch angle 10. ขอใดตอไปนค้ี ือคยี ลัดเพื่อลบภาพสวนท่ีไมตอ งการออก ก. F ข. D ค. E ง. S

~ 16 ~ ตอนท่ี 2 จงอธบิ ายขั้นตอนการวาดรปู ทรงเรขาคณิตตามรูปแบบดงั ตอ ไปน้ี 1. รปู สี่เหลย่ี ม 1. คลิกเลอื ก Rectangle Tool หรือ Rectangle Primitive Tool 2. ปรับสแี ละรปู แบบใหกับสี่เหลย่ี ม 3. กําหนดความโคง ของมมุ แตละมุม 4. ลากเมาสว าดส่ีเหล่ยี มตามตองการ 2. รปู วงกลม 1. คลิกเลอื ก Oval Tool 2. ปรับสีและรปู แบบใหกับรูป 3. ลากเมาสว าดรปู ตามตอ งการ 3. รปู วงรี 1. คลกิ เลือก Oval Primitive Tool 2. ปรับสแี ละรปู แบบใหกับรปู 3. ลากเมาสว าดรปู ตามตอ งการ 4. รูปหลายเหลี่ยม 1. คลกิ เลอื ก PolyStar Tool 2. ปรับสแี ละรปู แบบใหกับรูปหลายเหล่ียม 3. ลากเมาสว าดรูปหลายเหลีย่ มตามตองการ 5. รูปอสิ ระ 1. คลิกเลอื ก Pencil Tool 2. ปรบั สีและรูปแบบใหกบั เสนอสิ ระ 3. วาดลายเสนตามตอ งการ

~ 17 ~ บันทกึ หลงั การจัดการเรียนรู ผลการใชแผนการจัดการเรียนรู ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ผลการเรียนของนักเรยี น ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ผลการสอนของครู ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................

~ 18 ~ แผนการจดั การเรียนรู หนวยท่ี 3 ชอ่ื วิชา เทคนิคการสรา งภาพเคลือ่ นไหวคอมพวิ เตอร สอนครงั้ ที่ 3 ชื่อหนวย เรื่อง การจัดการออบเจ็กต ชว่ั โมง 4 ช่อื เรื่องหรอื ชื่องานเรื่อง การจดั การออบเจก็ ต จาํ นวนช่ัวโมง 4 หัวขอเรื่องและงาน 1. การเลือกออบเจ็กต 2. การจัดการกบั ออบเจ็กต 3. วิธีการในการจดั เรียงออบเจ็กต สาระสําคัญ ภาพที่เราสรางขึ้นโดยใชเคร่ืองมือใน Flash หรือภาพที่เรานําเขามาจากภายนอก เพื่อมา แสดงบนสเตจนั้น เราจะเรียกวา “ออบเจ็กต” ซึ่งในบทน้ีเราจะไดกลาวถึงวิธีเลือก และการจัดการ ออบเจ็กตเ หลาน้ี จุดประสงคก ารเรียนรู 1. มคี วามรคู วามเขา ใจในการเลอื กออบเจ็กต 2. เขา ใจและสามารถจดั การกับออบเจ็กตไ ด 3. อธบิ ายถงึ วิธีการในการจัดเรียงออบเจ็กตได สมรรถนะท่ีพึงประสงค (ความรู ทักษะ คุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี ) ทกั ษะพิสัย มกี ระบวนการวางแผน และปฏบิ ัตไิ ดต รงตามเปาหมายท่ีกําหนด พทุ ธพิ สิ ยั มคี วามจาํ ความเขา ใจ และการนาํ ไปประยุกตใหเกดิ ประโยชนต อ การเรยี น หรือการใชช วี ติ ประจําวนั จติ พิสัย ปฏิบัตไิ ดต ามศักยภาพท่ีมีอยู ตรงตอเวลา และสนใจในการสืบคนหาความรู ทกุ ชว งโอกาสเพอ่ื พัฒนาตนเอง บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง/3D มีภูมิคมุ กนั ท่ีดีในตัว หมายถงึ การเตรยี มตัวใหพรอ มรับผลกระทบ และการเปล่ียนแปลงดานตา ง ๆ ที่จะ เกิดขน้ึ โดยคาํ นึงถึงความเปน ไปไดของสถานการณตาง ๆ ที่คาดวา จะเกดิ ขึน้ ในอนาคตทงั้ ใกลและไกล

~ 19 ~ เน้อื หาสาระ ภาพที่เราสรางข้ึนโดยใชเครื่องมือใน Flash หรือภาพท่ีเรานําเขามาจากภายนอก เพื่อมาแสดง บนสเตจนน้ั เราจะเรียกวา “ออบเจ็กต” ซงึ่ ในบทน้ีเราจะไดกลาวถงึ วิธีเลือก และการจดั การออบเจก็ ตเหลา นี้ 1. เขาใจการเลือกออบเจ็กต 2. เลอื กวัตถุดวยเคร่ืองมอื Selection Tool 3. เลือกออบเจ็กตอสิ ระดวย Lasso Tool 4. การจัดกลุมและแยกกลุม ออบเจ็กต 5. การเคล่อื นยาย คัดลอก และการลบออบเจ็กต 6. การใชเครอื่ งมือกะระยะ วางซอน และจดั เรยี งออบเจ็กตจํานวนมาก 7. การวางซอ นออบเจ็กตและการจดั ลําดบั ออบเจ็กต (rrange) 8. การจดั เรยี งออบเจ็กต 9. ปรบั รปู ออบเจ็กตอยา งอสิ ระดวย Free Transform Tool 10. หมนุ และเคล่ือนยา ยวัตถแุ นว 3D ดว ย 3D Tool

~ 20 ~ กิจกรรมการจดั การเรียนรู กิจกรรมนกั เรียน กจิ กรรมครู 1. ใหความรวมมอื กบั ครูในการตรวจสอบ ขน้ั นําเขา สบู ทเรียน (สัปดาหละ 30 นาท)ี 2. คน ควา เรื่อง การจัดการออบเจ็กต 1. ตรวจสอบรายชอื่ นักศึกษาท่ีเขา เรียน 3. รว มสนทนาและแสดงความคดิ เห็น 2. ใหนกั ศึกษาคน ควาการจดั การออบเจ็กต 3. รวมสนทนาเกี่ยวกบั การจัดการออบเจ็กต 1. ฟง ทําความเขา ใจและซักถาม 2. แบง กลมุ ขน้ั ดําเนินการสอน (สัปดาหละ 180 นาที) 3. ฟง ทาํ ความเขาใจและปฎิบตั ิตาม 1. บอกจดุ ประสงคการเรียน 4. ผเู รยี นซกั ถามขอ สงสัยและจดบันทึก 2. ครูบอกวิธกี าร และแนวคิดในการปฏิบตั ทิ ่ี 5. รบั การประเมิน ถกู ตองใหแ กผูเรียน 1. ครูและนักเรยี นรวมกนั สรปุ สาระสาํ คัญ 3. ประเมินพฤติกรรมรายบคุ คลโดยครูจะ 2. นกั เรยี นสอบถามขอสงสยั 3. ฟง และจดบนั ทกึ ซกั ถามในแตล ะคน 4. ทําแบบทดสอบทายบท ขัน้ สรปุ (สัปดาหล ะ 30 นาท)ี 1. ครูและนกั เรียนรวมกันสรปุ สาระสําคัญ 2. เปด โอกาสใหนักเรยี นซกั ถามขอสงสัย 3. มอบหมายใหไปหัดทําและศกึ ษาเพิ่มเตมิ 4. ทาํ แบบทดสอบ กจิ กรรมการเรียนรู กอนเรียน คน ควาการจดั การออบเจ็กต ขณะเรียน 1. แบง กลุม เพ่ือศึกษา 2. จดบันทึก สาระการเรียนรู 3. ทาํ ใบงาน ตรวจสอบใบงาน แกไขใบงาน 4. ทบทวนเนอ้ื หา หลังเรียน 1. รว มกันสรปุ บทเรียน พรอ มบนั ทึกผลการสรุป แลวลุกข้ึนนําเสนอกับครผู ูสอน

~ 21 ~ 2. ผูเรียนและครูผูสอนรวมกันประเมินขอสรุปของผูเรียนท่ีออกแสดงความคิดเห็นเพื่อใหไดขอสรุปท่ี ถูกตอง และครูผูสอนแสดงความชน่ื ชมกับผูเรียนทุกคนที่ออกแสดงความคิดเห็นและมีสวนรวมใน กิจกรรมทม่ี อบหมาย 3. ทําแบบฝก หดั หลงั เรยี น 4. รว มกันเฉลยแบบฝก หัด สือ่ การเรยี นการสอนประจําหนวย 1. หนังสือเรียนวิชา เทคนิคการสรางภาพเคลื่อนไหวคอมพิวเตอรดวยคอมพิวเตอร 2. ใบความรปู ระจําหนวย 3. ใบงานและแบบฝกหดั 4. เครอื่ งไมโครคอมพิวเตอร 5. คลปิ วดี โี อสอนการสรางภาพเคล่ือนไหว 6. ซีดสี ือ่ การสอน วัดผลประเมนิ ผลประจาํ หนวย 1. สังเกตผูเรียนมีความสนใจ เกิดความเขาใจในสาระการเรียนรู ตลอดจนแสดงความ กระตือรือรนในการแสดงความคิดเหน็ และสรุปสาระการเรียนรูประจําหนวย 2. ทําใบงานไดอ ยางถูกตอง ทันเวลาทก่ี ําหนด ใบงานสะอาดและเปน ระเบยี บ 3. ผเู รียนทาํ แบบฝก หัดหลังเรยี นไดถ ูกตอ ง โดยไดคะแนน 50% เปนอยางตํา่ กจิ กรรมเสนอแนะประจําหนวย 1. ผูเรียนตองใหความสนใจในการศึกษา เพ่ือหาเทคนิค วิธีการ หรือหลักการงายเพ่ือใหหา คําตอบไดอยางถกู ตอง และรวดเร็ว โดยการ ตั้งใจฟง หลักการ เทคนคิ วธิ ีการที่ครผู ูสอนสรุปใน ขณะท่ีทําการสอน และนําขอสงสัยซักถามครูในการเรียนทุกคร้ังท่ีเกิดความสับสน และไม เขาใจ 2. ผูมกี ารทบทวนบทเรียน ตลอดเพือ่ เสริมสรา งความเขา ใจอยางแทจริง 3. ผูเรยี นหมั่นทาํ ใบงาน แบบฝก หดั และแกไขขอ ท่ผี ดิ ใหถูกตองเสมอ 4. ผูเรียนตองสรางมโนภาพใหเกิดความคิดรวบยอดในสาระการเรียนรูและเทคนิควิธีการพรอม กับความจําเปนในการนําไปประยุกตใชใหเกิดข้ึนโดยตนเองใหไดเพ่ือเกิดความรูความเขาใจ อยางแทจ ริงไมใชเกิดจากการทองจํา

~ 22 ~ แบบฝก หดั หนวยท่ี 3 ตอนท่ี 1 จงทําเครื่องหมายวงกลมลอ มรอบตัวเลือกทถ่ี ูกตองท่ีสดุ 1. เคร่ืองมือชนดิ ใดใชส าํ หรบั การเลือกออบเจ็กต ก. Selection Tool ข. Pencil Tool ค. Pen Tool ง. Oval Tool 2. ขอ ใดตอไปน้ีไมใชวิธกี ารเลือกออบเจ็กต ก. เลอื กเฉพาะเสน ขอบ ข. เลอื กเฉพาะสีพ้ืน ค. เลอื กเฉพาะบางสว น ง. เลือกเฉพาะสีขอบ 3. ถา ตองการใชเสน ทช่ี วยในการกะระยะและจัดวางตําแหนง ควรเลอื กใชเครื่องมือออบเจ็กตช นิดใด ก. ไมบรรทัด ข. เสน กริด ค. เสนไกด ง. เสน ไลน 4. เครื่องมือชนดิ ใดชวยในการกะระยะและระบุตาํ แหนง ของออบเจ็กตท ี่วางอยูบนสเตจ ก. ไมบ รรทัด ข. เสน กรดิ ค. เสน ไกด ง. เสน ไลน 5. คําสั่งใดใชสง่ั ใหยึดออบเจ็กตท่ีถกู ลากเขามาใกลเ สนไกดโดยอตั โนมตั ิ ก. Snap to Guides ข. Show Guides ค. Lock Guides ง. Align 6. ถาตองการเลอื่ นออบเจ็กตไปหลงั สุดของออบเจ็กตทัง้ หมด จะตองเลอื กคาํ สัง่ ใด ก. Bring to Front ข. Bring Forward ค. Send to back ง. Send Backward 7. ใชจัดเรยี งออบเจก็ ตตามระยะหา งแบบใด ก. เทียบกับกึ่งกลางของออบเจ็กต ข. เทยี บกับขอบบนของออบเจ็กต ค. เทียบกับขอบลางของออบเจก็ ต ง. เทยี บกับขอบซายของออบเจ็กต 8. ขอ ใดคือวิธีการกอนท่ีจะทําการปรับรปู ทรงของออบเจ็กตท ีไ่ มไดส รางมาจาก Flash ก. การหมนุ วตั ถุ ข. การยายตําแหนงวัตถุ ค. การรวมวัตถุ ง. การแยกวัตถุ 9. คําส่งั ใดใชส ําหรับแปลงรปู ทรงออบเจ็กต ก. Envelope ข. Distort ค. Rotation ง. Apart 10. ถาตอ งการหมุนวตั ถุในแนว 3 มิติ จะตองใชเครอื่ งมือชนิดใด ก. 3D Transform ข. 3D Selection ค. 3D Rotation ง. 3D Actions

~ 23 ~ ตอนที่ 2 จงบอกรูปแบบของออบเจก็ ตทเี่ กิดจากการจดั เรียงตามรปู แบบทีก่ ําหนด หมายเลข 1 จัดเรยี งใหช ดิ ซาย หมายเลข 2 จดั เรียงก่ึงกลางตามแนวตงั้ หมายเลข 3 จดั เรียงใหชดิ ขวา หมายเลข 4 จัดเรียงใหช ิดดานบน หมายเลข 5 จดั เรียงกงึ่ กลางตามแนวนอน หมายเลข 6 จัดเรยี งใหช ดิ ดานลา ง หมายเลข 7 จดั ระยะหางโดยเทยี บกับขอบขวาของวัตถุออบเจก็ ต หมายเลข 8 จัดดานกวางใหม ขี นาดเทา กัน หมายเลข 9 จัดดา นสงู ใหม ขี นาดเทากัน หมายเลข 10 จัดดา นกวางและดา นสูงใหม ขี นาดเทา กนั หมายเลข 11 จดั ชองวางระหวางวัตถุ หางเทา กนั ในแนวนอน หมายเลข 12 จดั ชอ งวางระหวางวัตถุ หา งเทากนั ในแนวตั้ง

~ 24 ~ ตอนท่ี 3 จงตอบคําถามตอ ไปน้ี 1. การเลือกออบเจ็กตม กี ่ีวธิ ี แตล ะวิธมี ลี ักษณะอยา งไร จงอธิบาย มี 5 วิธี 1. เลือกเฉพาะเสน ขอบของออบเจ็กต ใหคลิกเลือกท่ีเสนขอบของออบเจ็กต (หากเราลองลากเมาสออกมา ออบเจ็กตส วนท่ีเปน เสนขอบจะถูกลากออกมาดวย แสดงวา เสนขอบถกู แยกออกจากสีพ้ืนของออบเจ็กต) 2. เลือกเฉพาะสีพื้นของออบเจ็กต ใหคลิกท่ีพ้นื ภาพ (หากเราลองลากเมาสออกมาดู จะเหน็ ออบเจ็กตสวน ทเ่ี ปน สีพ้นื ถกู ลากออกมาดวย แสดงวาสีพืน้ ถูกแยกออกจากเสนขอบของออบเจก็ ต) 3. เลือกทั้งเสน ขอบและสีพ้ืนของออบเจ็กต ใหลากเมาสครอบคลุมบริเวณออบเจ็กตทั้งหมด หรือดับเบิ้ล คลิกที่สีพื้นก็ได (หากเราใชเมาสลากออบเจ็กตท่ีเลือก จะเห็นวาท้ังสีพ้ืนของออบเจ็กตและเสนขอบถูกลากออกมา ดวย) 4. เลือกเฉพาะบางสวนของออบเจก็ ต ใหล ากเมาสครอบออบเจก็ ตเฉพาะสวนท่ีตอ งการเลือกเทา นนั้ (หาก เราใชเมาสลากออบเจ็กตท ี่เลือก จะเหน็ วา ออบเจ็กตสว นท่ีเลอื กถูกลากออกมาดวย) 5. การเลอื กหลายออบเจ็กต ใหลากเมาสครอบคลุมบริเวณออบเจ็กตท้ังหมดท่ีตองการเลอื ก 2. เมื่อเรามีออบเจ็กตจาํ นวนมากๆใน Flash เราจะมีเคร่ืองมือใดบางที่ใชส ําหรบั การจัดการออบเจก็ ตเหลา น้ี สามารถใชเคร่ืองมอื ตางๆดงั น้ีในการจัดการ • ไมบรรทดั (Ruler) เปน เคร่อื งมอื วัดขนาดท่ีอยูบริเวณขอบของสเตจ • เสนกริด (Grid) เปนเสนตารางที่ใชอา งองิ ตําแหนงตา งๆ • เสนไกด (Guide) เปนเสนที่ชว ยในการกะระยะและจัดวางตําแหนง 3. จงบอกข้นั ตอนของการปรับรูปแบบออบเจก็ ตดว ยวิธีการหมนุ ออบเจ็กต อยางคราวๆ วิธีการคือใหนาํ เมาสไปอยูใกลจุดปรบั มุมใดมุมหนึ่ง แลวคลิกลากหมุนออบเจ็กตไปในทศิ ที่ตองการ ซ่งึ โดย ปกติจะหมุน (transformation point) รอบจุดหมนุ ของออบเจก็ ต 4. จงบอกข้นั ตอนของการปรับรปู แบบออบเจ็กตดวยวิธกี ารเปลีย่ นจดุ หมุนออบเจก็ ต อยางคราวๆ วิธีการคือใหคลิกท่ีจุดหมุนออบเจ็กต (o) แลวลากไปยังตําแหนงใหมที่ตองการ ซ่ึงมีผลทําใหการหมุน ออบเจก็ ตเปลี่ยนไป 5. จงบอกขัน้ ตอนของการปรับรปู แบบออบเจ็กตดว ยวิธกี ารยอ/ขยายออบเจ็กต อยางคราวๆ . วิธีการคอื คลิกเมาสคางไว แลวลากจดุ ปรบั ที่มุมของออบเจ็กตในทิศทางทตี่ อ งการยอ/ขยาย

~ 25 ~ บนั ทึกหลงั การจดั การเรยี นรู ผลการใชแ ผนการจัดการเรียนรู ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ผลการเรยี นของนกั เรยี น ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ผลการสอนของครู ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................

~ 26 ~ แผนการจัดการเรียนรู หนวยท่ี 4 ชอื่ วิชา เทคนิคการสรางภาพเคล่ือนไหวคอมพวิ เตอร สอนคร้งั ที่ 4 ชื่อหนวย การใชส ี ชั่วโมง 4 ชื่อเรื่องหรอื ช่ืองาน การใชส ี จาํ นวนชั่วโมง 4 หวั ขอเรื่องและงาน 1. ลกั ษณะรูปแบบการมองเหน็ สีในแบบตา งๆ 2. การกาํ หนดสโี ดยใชพาเนล Color และพาเนล Swatches 3. การเปล่ียนสีใหก ับออบเจก็ ต สาระสําคญั สี เปนสวนสาํ คัญในการออกแบบช้นิ งาน ซ่งึ ในบทการวาดรปู ทีผ่ านมา เราไดกลาวถงึ การ เลือกสีเสน Stroke Color และสีพื้น Fill Color มาแลว ในบทนีเ้ ราจะกลาวถึงการใชเครื่องมืออน่ื ๆ ที่เกีย่ วกบั สีใน Flash จุดประสงคก ารเรียนรู 1. มีความรูค วามเขาใจเก่ียวกับรูปแบบการมองเห็นสีในแบบตา งๆ 2. อธบิ ายถงึ วธิ กี ารกาํ หนดสีโดยใชพ าเนล Color และพาเนล Swatches ได 3. อธิบายถงึ วิธกี ารเปลย่ี นสีใหก ับออบเจ็กตได สมรรถนะท่ีพึงประสงค (ความรู ทักษะ คณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ) ทกั ษะพสิ ัย มกี ระบวนการวางแผน และปฏบิ ัตไิ ดต รงตามเปาหมายท่ีกําหนด พุทธิพิสยั มคี วามจาํ ความเขาใจ และการนาํ ไปประยุกตใหเกิดประโยชนต อ การเรียน หรอื การใชชีวิตประจาํ วนั จิตพิสัย ปฏบิ ตั ไิ ดต ามศักยภาพท่มี ีอยู ตรงตอเวลา และสนใจในการสบื คน หาความรู ทกุ ชวงโอกาสเพ่ือพัฒนาตนเอง บรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง/3D มีความรอบคอบท่ีจะนําความรูมาพิจารณาใหเชอื่ มโยงกนั เพอ่ื ประกอบการวางแผนและความระมัดระวัง ในข้ันปฏิบัติ

~ 27 ~ เนือ้ หาสาระ สี เปนสวนสําคัญในการออกแบบชนิ้ งาน ซึ่งในบทการวาดรปู ท่ผี านมา เราไดกลาวถงึ การเลือกสีเสน Stroke Color และสพี ้ืน Fill Color มาแลว ในบทนี้เราจะกลา วถึงการใชเคร่ืองมอื อืน่ ๆ ท่ีเกี่ยวกบั สีใน Flash 1. โมเดลสี 2. กาํ หนดสโี ดยใชพ าเนล Color และพาเนล Swatches 3. เปล่ยี นสีเสนขอบและสีพน้ื ของออบเจ็กตที่เลือก 4. ปรับไลโทนสีเกรเดยี นหรอื ภาพบิทแมปดวย Gradient Transform Tool กิจกรรมการจดั การเรยี นรู กจิ กรรมครู กิจกรรมผูเรียน ขั้นนําเขาสูบทเรียน(30 นาที) 1. ตรวจสอบรายช่ือนักศึกษาท่ีเขาเรียน 1. ใหค วามรวมมอื กบั ครูในการตรวจสอบ 2. ใหน กั ศกึ ษาคน ควาคาํ เกี่ยวกับความสามารถ 2. คนควา โดยรวมของโปรแกรม Flash CC 3. รวมสนทนาและแสดงความคดิ เหน็ 3. รว มสนทนาเก่ยี วกับเรอ่ื ง Flash CC ข้ันดําเนินการสอน(180 นาที) 1. บอกจดุ ประสงคก ารเรียน 1. ฟง ทาํ ความเขาใจและซักถาม 2. บรรยาย อธิบาย ยกตัวอยาง แสดงวิธีการปฎิบัติ 2. ฟง ทาํ ความเขาใจและปฎิบตั ติ าม ในแตละหัวขอการเรืยนและใหนักศึกษาปฎิบัติไป 3. ผเู รียนซกั ถามขอสงสัย พรอมกัน 4. รบั การประเมิน 3. ใหคาํ แนะนํา 4. ประเมินพฤติกรรมรายบุคคลโดยอาจารยจะ ซกั ถามในแตละบคุ คล ขน้ั สรุป(30 นาที) 1. ครูและนกั เรยี นรวมกนั สรุปสาระสําคัญ 1. ครูและนกั เรียนรวมกนั สรปุ สาระสาํ คญั 2. นักเรยี นสอบถามขอ สงสยั 2. เปด โอกาสใหนกั เรยี นซักถามขอสงสัย 3. ฟงและจดบันทึก 3. มอบหมายใหไปหัดทําและศึกษาเพ่มิ เติม 4. ทําแบบทดสอบทา ยบท 4. ทําแบบทดสอบ

~ 28 ~ กิจกรรมการเรียนรู กอ นเรียน 1. คน ควาเก่ยี วกบั การใชสี ขณะเรยี น 1. ทําความเขา ใจและปฎบิ ัตติ ามในแตละหัวขอ การเรยื น 2. ทําใบงานและแบบฝก หดั หลังเรียน 3. รว มกนั เฉลยใบงานและแบบฝก หดั หลงั เรียน 4. จดบนั ทึก เทคนคิ แนวการทีเ่ ปน ประโยชนต อผูเรียน จากขอแนะนาํ ของครูผสู อน 5. ผูเรยี นสรปุ ความรูที่ไดจากการเรียนตามความเปนจริง จากภูมคิ วามรขู องผูเรยี นแตละคน 6. ผูเรยี นซักถามในหัวขอท่ีสงสยั ในเน้ือหาการเรยี นรู สอื่ การเรยี นการสอน 1. หนังสอื ประกอบการเรยี นวิชา เทคนิคการสรางภาพเคลื่อนไหวคอมพิวเตอร 2. แฟมสะสมผลงาน 3. ใบความรูประจําหนวย 4. เคร่ืองไมโครคอมพวิ เตอร 5. คลิปวดี ีโอสอนการสรา งภาพเคล่อื นไหว 6. ซดี สี ่ือการสอนเร่ืองการสรางภาพเคล่ือนไหว วัดผลประเมนิ ผล 1. ผเู รียนปฏิบตั ิภาระงานที่มอบหมายเสร็จทนั เวลาที่กาํ หนด 2. ตอบคําถามและสรุปผลงานไดอยา งถูกตอง 3. ทาํ แบบฝก หัดหลังเรยี นเสร็จทนั เวลาที่กําหนดและถูกตอ ง 4. สนใจกระตือรือรน ในการเรียนรู ตอบคาํ ถาม สรุปสาระการเรยี นรู และกลา แสดงความคิดเหน็ กิจกรรมเสนอแนะ ถาผูเรียนมีการเตรียมตัวในการเรียนท่ีดี เชน อาน และทําการศึกษาหนังสือเก่ียวกับหนวยการเรียนมาก กอ น ถงึ ชั่วโมงเรียน ผเู รยี น จะสามารถเรียน และทาํ กิจกรรมตาง ๆ ทีค่ รผู สู อนมอบหมาย ไดอยา งมีความสุข และ เกิดความชอบ และสนกุ กบั การเรียนในชั้นเรยี น

~ 29 ~ แบบฝกหัดหนวยท่ี 4 ตอนที่ 1 จงทําเครื่องหมายวงกลมลอ มรอบตัวเลือกที่ถูกตองท่ีสุด 1. ขอ ใดตอไปนี้ไมใชส วนประกอบของโมเดล HSB ก. RGB ข. Hue ค. Saturation ง. Brightness 2. เพราะเหตุใดเราจึงสามารถมองเหน็ วตั ถุเปนสีได ก. สีของวัตถุมกี ารหกั เหเขา สูต าเรา ข. สีวตั ถสุ ะทอ นเขามายงั ตาเรา ค. ความยาวคล่ืนแสงสะทอนกบั วตั ถุ ง. สีของวตั ถุเกิดการตกกระทบกับแสง 3. โมเดล RGB เกิดจากการรวมตัวของสเปกตรัมสตี อ ไปนย้ี กเวนสีใด ก. แดง ข. เขียว ค. นํ้าเงิน ง. เหลือง 4. การผสมสีแบบ Additive มักจะถกู ใชสําหรบั การสอ งแสงบนวตั ถุตอ ไปนยี้ กเวน ขอใด ก. เครื่องพิมพ ข. จอภาพ ค. ทีวี ง. คอมพิวเตอร 5. สใี ดที่การผสมสขี องโมเดล CMYK ไมส ามารถเกิดได ก. นํ้าตาล ข. บานเย็น ค. ฟา ง. เหลือง 6. โมเดลสีรูปแบบใดที่เปนมาตรฐานกลางของการวาดสที ุกรูปแบบ ก. โมเดล Lab ข. โมเดล Hue ค. โมเดล Brightness ง. โมเดล Saturation 7. ถา ตอ งการใหส ามารถไลส ีแบบซํ้าๆ กนั จะตองเลือกรปู แบบใด ก. Double ข. Normal ค. Repeat ง. Mirror 8. ขอใดคือขอดีของการเลือก Stroke Color จากพาเนล Swatches ก. มีสีใหเลือกมากกวา ข. มรี ูปแบบการผสมสีใหเลือกมากกวา ค. สงั่ ใหเ เสดงพาเนลไวบนจอภาพไดตลอด ง. มีรปู แบบการไลสีใหเลือกมากกวา 9. ถา ตอ งการจัดเรียง Swatches ตามโทนสี จะตองเลอื กคาํ ส่ังใด ก. Sort by Color ข. Clear Color ค. Web 216 ง. Add Color 10. ถา ตองการหมนุ แนวการไลโ ทนสีในการปรับการไลสีเกรเดยี นทแ นววงกลม จะตองทําอยา งไร ก. ลากจากจุดไลโทนสที ี่อยูต รงกลางภาพไปยงั ตาํ แหนงทตี่ องการ ข. ลากจากจุดขยายหรือลดรัศมีแนวโทนสเี ปนวงกลม ค. ลากจากจุดหมุนแนวโทนสีไปในทิศท่ตี องการ ง.ลากจดุ ปรับตําแหนงจุดศนู ยกลางไปทางทิศที่ตองการ

~ 30 ~ ตอนที่ 2 จงตอบคําถามตอ ไปนี้ 1. การมองเห็นสดี วยสายตาของมนุษยป ระกอบไปดวยสกี ่ลี ักษณะ อยางไรบา ง จงอธิบาย ประกอบดว ยลักษณะของสี 3 ลักษณะคอื 1. Hue เปนสีของวัตถุที่สะทอนเขามายังตาของเรา ทําใหเ ราสามารถมองเห็นวัตถุเปนสีได ซึ่งแตละสีจะ แตกตางกันตามความยาวของคล่ืนแสงทมี่ ากระทบวัตถุและสะทอนกลับมาท่ีตาของเรา 2. Saturation คือสัดสว นของสีเทาท่ีมีอยูในสีนั้น โดยวดั คาสีเทาในสีหลักเปน เปอรเซน็ ตดังนคี้ ือ จาก 0% (สีเทาผสมอยมู าก) จนถึง 100% (สเี ทาไมมีเลย หรือเรยี กวา “Full Saturation” คือสีมีความอ่มิ ตัวเตม็ ท)่ี 3. Brightness เปนเร่ืองของความสวา งและความมืดของสี ซ่งึ ถกู กําหนดคาเปน เปอรเซน็ ตจาก 0% (สีดาํ ) ถึง 100% (สีขาว) ย่ิงมเี ปอรเซ็นตม ากจะทําใหส ีน้ันสวางมากขน้ึ 2. โมเดล Lab ตามมาตรฐานของ CIE ประกอบไปดวยสีใดบาง โมเดล Lab เปน คาสีท่ีถูกกาํ หนดขึ้นโดย CIE ใหเ ปนมาตรฐานกลางของการวัดสีทุกรูปแบบ ครอบคลุมทุก สีใน RGB และ CMYK และใชไดกับสีท่ีเกิดจากอุปกรณทุกอยางไมวาจะเปนจอคอมพิวเตอร เคร่ืองพิมพ เครื่อง สแกน และอื่นๆ สวนประกอบของโหมดสนี ี้ ไดแ ก L หมายถงึ คา ความสวา ง (Luminance) a หมายถึง สว นประกอบทีแ่ สดงการไลส ีจากสีเขียวไปยังสีแดง b หมายถึง สวนประกอบทแี่ สดงการไลส ีจากสีน้าํ เงนิ ถงึ สีเหลอื ง 3. จงบอกขัน้ ตอนการปรับไลโทนสีเกรเดยี นทแ นวเสน ตรงตามรูปแบบตอไปน้ี ขน้ั ตอนการปรับไลโทนสีเกรเดยี นทแนวเสน ตรง • ยา ยจุดไลโ ทนสี คลกิ ลากจุดไลโทนสีที่อยตู รงกลางภาพไปยังตาํ แหนง ทตี่ อ งการ • ปรับขนาดแนวการไลโทนสี คลิกลากจดุ ปรับขนาดแนวโทนสีเพือ่ ขยาย/ลดการไลโ ทนสี • หมนุ แนวการไลโ ทนสี คลิกจดุ หมุนแนวโทนสีและหมุนไปในทศิ ทตี่ องการได 4. จงบอกขน้ั ตอนการปรับไลโทนสเี กรเดียนทแ นววงกลมตามรูปแบบตอ ไปนี้ ขั้นตอนการปรบั ไลโทนสีเกรเดียนทแ นววงกลม • ยายจุดศนู ยกลางไลโ ทนสี คลิกลากจุดไลโทนสีท่ีอยูตรงกลางภาพไปยงั ตําแหนง ทตี่ องการ • ปรับรัศมีแนวโทนสี คลกิ ลากจดุ ขยายหรอื ลดรัศมีแนวโทนสีเปน วงกลม • หมุนแนวการไลโ ทนสี คลกิ ลากจดุ หมุนแนวโทนสีไปในทิศทีต่ องการ 5. จงบอกข้ันตอนการปรบั พ้ืนที่ภาพที่เปนบิทแมปตามรปู แบบตอ ไปนี้ ข้ันตอนการปรบั พ้นื ท่ภี าพท่ีเปน บิทแมป • ยายตําแหนง รปู คลกิ ลากจุดยายตําแหนง ภาพไปยังตําแหนง ทตี่ องการ • ปรับความกวา ง คลกิ ลากจุดปรับความกวา งภาพ • บิดภาพในแนวต้ัง คลกิ ลากปุมกลมดา นขวา

~ 31 ~ บันทึกหลงั การจดั การเรียนรู ผลการใชแผนการจดั การเรียนรู ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ผลการเรียนของนักเรยี น ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ผลการสอนของครู ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................

~ 32 ~ แผนการจดั การเรยี นรู หนวยท่ี 5 ช่อื วิชา เทคนิคการสรางภาพเคลอ่ื นไหวคอมพิวเตอร สอนครัง้ ที่ 5 ช่อื หนวย การสรางขอความ ชั่วโมง 4 ชอ่ื เรื่องหรอื ช่ืองาน การสรางขอความ จาํ นวนชั่วโมง 4 หวั ขอเร่ืองและงาน 1. การสรางขอความใหกับชน้ิ งาน 2. การกําหนดรปู แบบขอ ความใหก ับชิ้นงาน 3. การแยกสวนขอความประเภทสแตติกเปนรปู ทรง สาระสําคญั นอกจากการสรา งภาพใน Flash แลว เราสามารถใสตวั อกั ษรหรือขอ ความบนสเตจ ไดโดยใช เคร่ืองมือ Text Tool โดยขอความใน Flash น้ัน แบง ออกไดเปน 3 ประเภท ไดแก ขอความแบบสแต ตกิ (Static Text) เปน ขอ ความธรรมดาท่ัวไป, ขอ ความแบบไดนามิก (Dynamic Text) เปน ขอความที่ เปลี่ยนแปลงรปู แบบไดตามคากําหนดจากโปรแกรมที่เขยี นข้ึน และขอความแบบอินพทุ เท็กซ (Input Text) เปน ฟล ดหรอื ชองรับขอความท่ีใหผ ูใชพิมพข อความเขาไปได สาํ หรับรูปแบบการสรางขอ ความแต ละแบบนน้ั คลา ยกนั จะตา งกันบา งในสว นคณุ สมบตั ิเพิม่ เติม และแนวทางการประยุกตใช ซึง่ ในบทน้ีเรา จะเนนการใชข อความแบบสแตติกเปนหลักเพราะเปนขอความแบบพ้นื ฐาน สวนในบทตอๆ ไปจะ กลาวถงึ การนําขอ ความแบบไดนามิกและขอความแบบอินพุทเท็กซมาใชตอ ไป จดุ ประสงคก ารเรียนรู 1. สามารถสรางขอความใหกับชิ้นงานได 2. มีความรูความเขาใจและสามารถกําหนดรปู แบบขอความใหกบั ชิ้นงานได 3. อธิบายถงึ วธิ กี ารในการแยกสวนขอความประเภทสแตติกเปนรูปทรงได สมรรถนะที่พึงประสงค (ความรู ทักษะ คณุ ธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี ) ทกั ษะพิสยั มีกระบวนการวางแผน และปฏิบัตไิ ดต รงตามเปา หมายท่ีกําหนด พุทธิพิสัย มคี วามจาํ ความเขา ใจ และการนําไปประยุกตใหเกิดประโยชนต อ การเรียน หรอื การใชช วี ิตประจําวนั จิตพิสยั ปฏบิ ัติไดตามศักยภาพท่มี ีอยู ตรงตอเวลา และสนใจในการสืบคน หาความรู ทุก ชว งโอกาสเพอ่ื พฒั นาตนเอง บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง/3D มีน้าํ ใจ เปน ผูท่มี ีน้ําใจ ผูท ี่มีความจรงิ ใจตอ กนั ไมเหน็ แกเพียงตัวเองหรือเรื่องของตวั เอง เหน็ อกเห็นใจตอ เพื่อนมนษุ ยซ งึ่ กนั

~ 33 ~ เน้ือหาสาระ นอกจากการสรางภาพใน Flash แลว เราสามารถใสต ัวอกั ษรหรือขอความบนสเตจ ไดโดยใชเครื่องมือ Text Tool โดยขอความใน Flash นั้น แบงออกไดเปน 3 ประเภท ไดแก ขอความแบบสแตติก (Static Text) เปน ขอความธรรมดาท่ัวไป, ขอความแบบไดนามิก (Dynamic Text) เปนขอความที่เปลี่ยนแปลงรูปแบบไดตามคา กําหนดจากโปรแกรมที่เขียนขึ้น และขอความแบบอินพุทเท็กซ (Input Text) เปนฟลดหรือชองรับขอความท่ีให ผูใชพิมพขอความเขาไปได สําหรับรูปแบบการสรางขอความแตละแบบนั้นคลายกัน จะตางกันบางในสวน คุณสมบัติเพิ่มเติม และแนวทางการประยุกตใช ซึ่งในบทนี้เราจะเนนการใชขอความแบบสแตติกเปนหลักเพราะ เปนขอความแบบพนื้ ฐาน สวนในบทตอๆ ไปจะกลา วถงึ การนาํ ขอความแบบไดนามิกและขอความแบบอินพุทเท็กซ มาใชต อไป 1. ประเภทของขอ ความ 2. การสรา งขอ ความ 3. กําหนดขนาดกรอบขอ ความ 4. กาํ หนดรูปแบบของขอความ 5. การสรางขอ ความลักษณะตา งๆ 6. การแกไขและยา ยตําแหนงขอความ 7. การแยกสว นขอ ความประเภทสแตติกเปน รปู ทรง

~ 34 ~ กิจกรรมการจดั การเรียนรู กจิ กรรมผูเรียน กจิ กรรมครู ขั้นนําเขาสูบ ทเรียน(30 นาที) 1. ใหความรวมมอื กับครูในการตรวจสอบ 2. คนควา 1. ตรวจสอบรายช่ือนักศึกษาท่ีเขาเรยี น 3. รวมสนทนาและแสดงความคิดเห็น 2. ใหน ักศึกษาคนควาการสรา งขอความ 3. รวมสนทนาเก่ยี วกับการสรา งขอ ความ ขั้นดําเนินการสอน(180 นาที) 1. ฟง ทําความเขาใจและซักถาม 1. บอกจุดประสงคก ารเรยี น 2. ฟง ทาํ ความเขาใจและปฎิบตั ติ าม 2. บรรยาย อธิบาย ยกตัวอยาง แสดงวิธีการปฎิบัติ 3. ผูเรียนซักถามขอ สงสัย ในแตละหัวขอการเรียนและใหนักศึกษาปฎิบัติไป 4. รับการประเมนิ พรอ มกัน 3. ใหค าํ แนะนาํ 4. ประเมินพฤติกรรมรายบุคคลโดยอาจารยจะ ซกั ถามในแตละบคุ คล ขั้นสรุป(30 นาท)ี 1. ครแู ละนกั เรยี นรวมกนั สรปุ สาระสาํ คัญ 2. นักเรียนสอบถามขอสงสยั 1. ครแู ละนกั เรยี นรวมกนั สรุปสาระสาํ คญั 3. ฟง และจดบันทกึ 2. เปด โอกาสใหน ักเรียนซักถามขอสงสัย 4. ทําแบบทดสอบทา ยบท 3. มอบหมายใหไ ปหดั ทาํ และศึกษาเพม่ิ เติม 4. ทําแบบทดสอบ กิจกรรมการเรียนรู กอ นเรียน 1. คนควาคําเก่ยี วกบั การสรางขอความ ขณะเรยี น 1. ทําความเขาใจและปฎิบัตติ ามในแตละหัวขอการเรยื น 2. ทาํ ใบงานและแบบฝก หดั หลังเรียน 3. รวมกนั เฉลยใบงานและแบบฝก หัดหลงั เรียน 4. จดบนั ทึก เทคนคิ แนวการทเ่ี ปนประโยชนต อผูเรยี น จากขอ แนะนําของครผู ูสอน 5. ผูเรยี นสรุปความรทู ี่ไดจากการเรยี นตามความเปน จริง จากภูมิความรูของผูเรียนแตละคน 6. ผูเรยี นซักถามในหัวขอท่สี งสัยในเนื้อหาการเรียนรู

~ 35 ~ ส่ือการเรียนการสอน 1. หนังสือประกอบการเรยี นวิชา เทคนิคการสรา งภาพเคลื่อนไหวคอมพิวเตอร 2. แฟม สะสมผลงาน 3. ใบความรูประจาํ หนวย 4. เครื่องไมโครคอมพิวเตอร 5. คลิปวีดีโอสอนการสรางภาพเคลอื่ นไหว 6. ซีดสี ื่อการสอนเร่ืองการสรางภาพเคลื่อนไหว วดั ผลประเมินผล 1. ผเู รียนปฏบิ ัติภาระงานท่ีมอบหมายเสร็จทนั เวลาท่ีกําหนด 2. ตอบคาํ ถามและสรุปผลงานไดอ ยา งถกู ตอ ง 3. ทําแบบฝก หดั หลังเรียนเสร็จทนั เวลาที่กาํ หนดและถูกตอง 4. สนใจกระตอื รือรนในการเรียนรู ตอบคําถาม สรปุ สาระการเรียนรู และกลา แสดงความคดิ เหน็ กิจกรรมเสนอแนะ ถาผูเรียนมีการเตรียมตัวในการเรียนท่ีดี เชน อาน และทําการศึกษาหนังสือเก่ียวกับหนวยการเรียนมาก กอ น ถงึ ช่วั โมงเรียน ผูเรียน จะสามารถเรียน และทาํ กิจกรรมตาง ๆ ทีค่ รผู สู อนมอบหมาย ไดอยา งมคี วามสขุ และ เกดิ ความชอบ และสนุกกับการเรียนในชน้ั เรียน

~ 36 ~ แบบฝกหัดหนวยที่ 5 ตอนท่ี 1 จงทําเครื่องหมายวงกลมลอมรอบตัวเลอื กทถี่ ูกตองทสี่ ุด 1. ขอใดตอไปน้ีไมใชรปู แบบของขอ ความใน Flash ก. สแตตกิ ข. ไดนามิก ค. อินพทุ เท็กซ ง. ซินโนอิก 2. ขอ ความที่เปลยี่ นแปลงรปู แบบไดต ามคา กาํ หนดจากโปรแกรมที่เขียนข้นึ จัดเปน ขอความแบบใด ก. สแตตกิ ข. ไดนามิก ค. อินพทุ เทก็ ซ ง. ซินโนอิก 3. สญั ลกั ษณดังกลา วใชเมื่อตองการทาํ สิง่ ใด ก. กําหนดระยะหางขอบซาย ข. กาํ หนดระยะหา งขอบขวา ค. กาํ หนดยอหนา ง. กําหนดระยะหางระหวางบรรทัด 4. ถาตอ งการกาํ หนดยอหนา จะตอ งตัง้ คา ทค่ี าํ ส่ังใด ก. Top Margin ข. Column Spacing ค. Bottom Margin ง. Indentation 5. ถาตอ งการกาํ หนดขอ ความใหมีลักษณะเปนตัวหนา เอียง จะตองเลือกคาํ ส่ังใด ก. Bold Italic ข. Regular ค. Italic ง. Bold 6. ขอความประเภทสแตติกลิงคม ีลักษณะอยางไร ก. เชือ่ มโยงไปยังหนา อีเมล ข. เชื่อมโยงไปยงั หนาเวบ็ ไซต ค. เชอ่ื มโยงไปยังหนา แอนิเมชนั่ ง. เชือ่ มโยงไปยังหนา แบบทดสอบ 7. ถา ตอ งการใหเมื่อเชื่อมโยงไปยังหนาเวบ็ ไซตแลว แสดงหนาเวบ็ เปดหนาเพจใหมจะตองเลือกรปู แบบใด ก. _top ข. _parent ค. _blank ง. _self 8. ถาตองการใหเม่ือเชื่อมโยงไปยังหนา เวบ็ ไซตแ ลวแสดงหนาเวบ็ แบบเตม็ จอจะตองเลอื กรปู แบบใด ก. _top ข. _parent ค. _blank ง. _self 9. คาํ ส่ังเปน การส่งั ใหกลองขอความรบั ขอมลู ไดม ากกวา 1 แถว ก. Behavior ข. Multiline ค. Multiline no wrap ง. Single line 10. ถา ตองการแปลงขอความตัวอกั ษรใหเปน รูปทรง จะตองเลือกคําสั่งใด ก. Break Apart ข. Modify ค. Convert ง. Arrange

~ 37 ~ ตอนที่ 2 จงอธบิ ายวิธกี ารสรางขอ ความใหเปนรปู ทรงดงั ภาพตวั อยางตอ ไปนี้  เลือก Modify->Break Apart คร้ังท่ี 1 จะแยกขอความเปนตัวอักษรยอยๆ สังเกตไดโดยลองคลิกที่ ขอความ จะพบวาแตละตวั อักษรจะอยูในแตละกรอบขอความแยกจากกันเปน อสิ ระ  เลือก Modify->Break Apart คร้ังท่ี 2 จะแปลงตัวอักษรใหเปนรูปทรง ใหเราคลิกท่ีเครื่องมือ Selection Tool และนาํ เมาสม าท่ขี อความจะพบวาจะสามารถปรบั แตงรปู ทรงของตวั อกั ษรได  ปรบั แตงรปู ทรงของตัวอักษรตามที่ตองการ

~ 38 ~ บนั ทึกหลังการจัดการเรียนรู ผลการใชแ ผนการจดั การเรียนรู ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ผลการเรียนของนักเรียน ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ผลการสอนของครู ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook