Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานวิจัย : การศึกษามูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจต่อการลงทุนด้านความปลอดภัย กรณีศึกษา บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ่

งานวิจัย : การศึกษามูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจต่อการลงทุนด้านความปลอดภัย กรณีศึกษา บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ่

Published by e-Book สสปท., 2020-07-08 01:17:57

Description: เกี่ยวข้องกับด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สภาพแวดล้อมในการทำงาน Occupational Safety Health

Keywords: ปลอดภัย,safety,Occupational,Health

Search

Read the Text Version

สถาบันสง เสรม� ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ มในการทำงาน (องคก ารมหาชน) รายงานผลการว�จัย ฉบบั สมบูรณ การศึกษามลู คา‹ เพ�มทางเศรษฐกิจ 0 2448 9111 ตอ‹ การลงทุนดŒานความปลอดภัย [email protected] www.tosh.or.th กรณีศกึ ษา บรษ� ัท ปนู ซเิ มนตไทย จำกัด (มหาชน) สำนกั งานใหญ‹

ชื่อหนังสือ : การศึกษาและวิเคราะห์การลงทุนด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการ กรณีศึกษา พนักงานท่ีปฏิบตั ิงานกบั คอมพวิ เตอร์ในสานักงาน บริษทั ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) ทีป่ รึกษา ผูอ้ านวยการสถาบันสง่ เสริมความปลอดภัย อาชวี อนามยั นายวรานนท์ ปีตวิ รรณ และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน) รองผู้อานวยการสถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั นางจุฑาพนิต บุญดีกลุ และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องค์การมหาชน) สถาบนั ส่งเสริมความปลอดภยั อาชวี อนามยั คณะอนุกรรมการวิชาการ และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน) ผ้จู ัดทา นกั วิจัยชานาญการ นายธนกฤต ธนวงศ์โภคิน นกั วิจยั ปฏบิ ัตกิ าร นางสาวณัฐจติ อน้ เมฆ นักวิจัยปฏิบัตกิ าร นางสาวปานฤทยั ไชยสทิ ธ์ิ นักความปลอดภัยและอาชีวอนามยั ปฏบิ ตั กิ าร นางสาวสภุ ารัตน์ คะตา นกั ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยปฏิบตั กิ าร นายพฤทธิพงศ์ สามสังข์ ผ้ปู ระสานงานโครงการ เจา้ หนา้ ท่ปี ระสานงานโครงการ นางสาวอภสิ รา พระสมงิ เจ้าหนา้ ที่ประสานงานโครงการ นางสาวพัชพร ศรสี งวน เผยแพร่โดย สานกั วจิ ยั และพฒั นา สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) โทรศพั ท์ 0 2448 9111 โทรสาร 0 2448 9098 Website http://www.tosh.or.th ปที ่ีจดั ทา กนั ยายน 2562

กิตตกิ รรมประกาศ ผู้วิจัยขอขอบคุณบริษัทปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหำชน) ที่ได้อนุญำตให้ใช้ฝ่ำย Workplace Solution เป็นหน่วยงำนต้นแบบในกำรสำรวจ วิเครำะห์ และปรับปรุงท่ำทำงในกำรปฏิบัติงำนกับเครื่อง คอมพิวเตอร์ของพนักงำนสำนักงำน ซ่ึงเป็นกิจกรรมหนึ่งในโครงกำรป้องกันปัญหำออฟฟิศซินโดรม ในพนักงำนสำนักงำน โดยผลของกิจกรรมน้ีได้นำมำใช้เป็นกรณีศึกษำสำหรับกำรศึกษำมูลกำรลงทุน ด้ำนควำมปลอดภัยในสถำนประกอบกิจกำร เพ่ือให้ผลจำกกำรปรับปรุงสถำนีงำนคอมพิวเตอร์ของ หน่วยงำน สำมำรถเป็นตัวอย่ำงและต้นแบบต่อกำรพิจำรณำลงทุนด้ำนควำมปลอดภัยให้กับ สถำนประกอบกจิ กำรอืน่ ๆ กำรวิจัยเร่ือง กำรศึกษำและวิเครำะห์กำรลงทุนด้ำนควำมปลอดภัยในสถำนประกอบกิจกำร กรณีศึกษำ พนักงำนที่ปฏิบัติงำนกับคอมพิวเตอร์ในสำนักงำนของบริษัทปูนซีเมนต์ไทย จำกัด (มหำชน) ได้รับสนับสนุนงบประมำณจำกสถำบันส่งเสริมควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดล้อมในกำร ทำงำน (องคก์ ำรมหำชน) คณะผู้วจิ ัย สำนักวจิ ยั และพัฒนำ (ข)

บทสรปุ ผบู้ รหิ าร การศึกษาและวเิ คราะห์การลงทนุ ด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกจิ การ กรณีศกึ ษา พนกั งานทปี่ ฏบิ ตั งิ านกบั คอมพวิ เตอรใ์ นสานักงาน บรษิ ัทปนู ซีเมนตไ์ ทย จากดั (มหาชน) การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลัก คือ เพื่อศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อคุณภาพชีวิตในการทางานของพนักงาน บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) สานักงานใหญ่ หน่วยงาน Workplace Solution และมีวัตถุประสงค์รอง เพื่อ 1) ศึกษามูลค่าการลงทุนด้านการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของ บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) สานักงานใหญ่ ในการป้องกันโรค Office Syndrome และ 2) วิเคราะห์ มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจของการลงทุนน้ี โดยกลุ่มตัวอย่างคือ พนักงานในหน่วยงาน Workplace Solution ที่ปฏิบัติงานกับคอมพิวเตอร์ จานวน 41 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติท่ีใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย (Independent Sample t-test) การวเิ คราะห์ความแปรปรวนทางเดยี ว (One-Way Analysis of Variance/ANOVA) ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ช่วงอายุ 25-33 ปี ระดับ การศกึ ษาตั้งแต่ปริญญาตรีขึ้นไป ตาแหน่งงาน Staff HQ sport อายงุ านในสถานประกอบกิจการปัจจุบันตา่ สุดอยู่ ท่ี 5 ปี ปัจจัยด้านการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานโดยภาพรวม พบว่ามี การจัดการฯ อยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.09 ด้านนโยบายความปลอดภัย ด้านการกากับดูแล ความปลอดภัย ดา้ นการสื่อสารความปลอดภัย ดา้ นการอบรมความปลอดภัยฯ และด้านระบบบรหิ ารจดั การความ ปลอดภยั อยใู่ นระดับดีมาก โดยมคี ่าเฉลย่ี อยู่ท่ี 1.18 1.10 1.04 1.10 และ 1.06 ตามลาดบั มูลค่าการลงทุนด้านความปลอดภัยท่ีเป็นค่าใช้จ่ายในการป้องกันโรค Office Syndrome เป็นเงิน 2,225,700 บาท โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ งบประมาณของสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางานในโครงการหน่วยงานต้นแบบ “ทางานปลอดภัยไร้อาการ Office Syndrome” และ งบประมาณของบริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) สานักงานใหญ่ ที่มีมูลค่าเป็นตัวเงินเพ่ือใช้ในการจัดซ้ือ อุปกรณ์ต่าง ๆ ในการปรับปรุงสถานีงานคอมพิวเตอร์ การจัดอบรมและกิจกรรมให้ความรู้กับพนักงาน ฯ และ งบประมาณที่ไม่ใช้ตัวเงิน เช่น การส่งเสริมให้พนักงานออกกาลังกายและการยืดเหยียดร่างกายในเวลางาน ทั้งน้ี ส า ม า ร ถ วิ เ ค ร า ะ ห์ มู ล ค่ า ค ว า ม คุ้ ม ทุ น ท า ง เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ กิ จ ก า ร เ ฉ ลี่ ย มีมูลค่าเป็นเงินจานวน 41,178.30 บาท/ราย และมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจในบริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) สานักงานใหญม่ มี ลู คา่ 2.88 ลา้ นบาท/ปี คาสาคญั : การจดั การดา้ นความปลอดภยั การลงทนุ ดา้ นความปลอดภัย คณุ ภาพชวี ิตในการทางาน (ค)

สารบญั หน้า (ก) หนา้ ลิขสทิ ธิ์ (ข) กติ ติกรรมประกาศ (ค) บทสรปุ ผู้บรหิ าร (ง) สารบญั บทที่ 1 บทนา 1 3 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 3 1.2 วตั ถุประสงค์ 4 1.3 สมมติฐานในการวิจยั 5 1.4 ขอบเขตของการวิจยั 5 1.5 กรอบแนวคิดในการวจิ ัย 6 1.6 คาจากัดความการวิจัย 1.7 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะได้รับ 7 11 บทท่ี 2 กลุ่มผเู้ อกสารและงานวิจยั ทเี่ กีย่ วข้อง 14 2.1 แนวคิดเกยี่ วกับการจดั การดา้ นความปลอดภยั 16 2.2 แนวคดิ และทฤษฎีเก่ยี วกับคุณภาพชวี ิตในการทางาน 2.3 แนวคดิ เรือ่ งการวิเคราะหท์ างเศรษฐศาสตร์ 21 2.4 งานวจิ ัยท่เี กย่ี วข้อง 22 22 บทท่ี 3 วิธีการดาเนนิ การวิจยั 24 3.1 วิธีการศกึ ษาวจิ ัย 25 3.2 ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง 25 3.3 เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล 3.4 การทดสอบความเช่ือม่นั หน้า 3.5 การเก็บรวบรวมข้อมูล 3.6 การวเิ คราะห์ข้อมลู (ง)

บทท่ี 4 ผลการดาเนินการวิจัย 27 4.1 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลท่ัวไป 29 4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการจดั การความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ ม ในการทางาน 29 4.3 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลคุณภาพชวี ติ ในการทางาน 31 4.4 ผลการทดสอบสมมตฐิ านความแตกตา่ งของปจั จยั สว่ นบุคคลกับคณุ ภาพชีวิต ในการทางานด้านต่าง ๆ 42 4.5 ผลการทดสอบสมมติฐานความสมั พนั ธ์ระหว่างการจัดการความปลอดภยั กบั คุณภาพชีวติ ในการทางาน 44 4.6 ผลการศึกษามูลค่าการลงทุนดา้ นความปลอดภยั บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ 47 5.1 สรุปและอภปิ รายลการวิจัย 49 5.2 ขอ้ เสนอแนะ บรรณานกุ รม 50 ภาคผนวก 55 แบบสอบถามการวจิ ยั (จ)

บทที่ 1 บทนำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคญั ของปัญหำ ปัจจุบันเทคโนโลยีและการสื่อสารได้เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ในการดาเนินชีวิตประจาวันของมนุษย์ อุปกรณ์สื่อสารและคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทสาคัญต่อการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการ ทางานของสานักงาน ดว้ ยความกา้ วหน้าของเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ ทาให้สานกั งานในองค์กรต่าง ๆ นาเทคโนโลยี เหลา่ น้เี ขา้ มาชว่ ยในการดาเนนิ งานใหม้ ีประสิทธิภาพมากยง่ิ ขึ้น ไม่วา่ จะเป็นการรับ-ส่งข้อมูลขา่ วสารอเิ ล็กทรอนิกส์ การทาธุรกิจและให้บริการบนอินเตอร์เน็ต ตลอดจนการใช้เป็นเคร่ืองมือช่วยในการทางาน พนักงานส่วนใหญ่ใน สานักงานใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์หลักในการปฏิบัติงานต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยท่ีระยะเวลาในการ ปฏิบตั ิงานกบั เคร่ืองคอมพิวเตอร์ในแต่ละวนั พบว่ามรี ะยะเวลาการใช้งานนานกว่า 4 ช่วั โมง โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน พนักงานระดับปฏิบัติการจะพบว่ามีระยะเวลาการใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์นานกว่า 6 ช่ัวโมงต่อวัน การใช้ คอมพิวเตอร์ในการปฏิบัติงานอาจส่งผลต่อสภาพร่างกายและประสิทธิภาพในการทางานของผู้ใช้อย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้ ซงึ่ มผี ลการวจิ ยั เปน็ จานวนมากที่พบวา่ การปฏิบตั ิงานท่ีต้องใช้คอมพวิ เตอร์ในการทางานเกือบตลอดท้ังวัน เป็นสาเหตุหน่ึงท่ีทาให้เกิดภาวะความเสี่ยงต่อร่างกายในด้านต่าง ๆ เช่น อาการปวดบริเวณกล้ามเน้ือ คอและไหล่ ปวดขมับและศรี ษะ อาการผิดปกตทิ างตา ตาแหง้ อาการเมือ่ ยลา้ ทางตา อาการออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome) เป็นกล่มุ อาการที่พบบ่อยในคนทางานสานักงานท่ีนั่งทางาน กับคอมพิวเตอร์เป็นประจาและสภาพแวดล้อมในการทางานท่ีไม่เหมาะสม การน่ังทางานตลอดเวลาอย่างต่อเน่ือง เป็นระยะเวลานานมากกว่า 4 ชั่วโมงต่อวัน โดยไม่เปล่ียนแปลงอิรยิ าบถ หรอื ระดับของโตะ๊ ทางาน เก้าอี้ แป้นพิมพ์ คอมพิวเตอร์อยู่ในตาแหน่งที่ผิดลักษณะ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นสาเหตุทาให้เกิดอาการปวดเม่ือยกล้ามเนื้อ อาการเกร็ง สะสมของกล้ามเน้ือ และอาการอักเสบของกลา้ มเนอื้ โดยกรมการแพทยก์ ล่าววา่ ร้อยละ 10 ของประชากรในเขต เมืองมีภาวะเส่ียงต่อการอาการออฟฟิศซนิ โดรมเพ่มิ ขนึ้ สาเหตสุ าคญั เกิดจากพฤติกรรมการทางาน คือ มีอิริยาบถ ในการทางานไม่เหมาะสมเป็นเวลานาน เช่น การน่ังหลังค่อม การน่ังทางานกับคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานมากกว่า 6 ชั่วโมงต่อวัน ท้ังยังส่งผลให้เกิดความเครียดสะสมตามมา ในปัจจุบันองค์กรต่าง ๆ ในประเทศไทยให้ ความสาคัญต่อสขุ ภาพและสขุ ภาพจติ ของพนกั งานมากขนึ้ โดยมีการประชาสมั พนั ธ์และรณรงคใ์ ห้พนักงานบริหาร รา่ งกายตามช่วงเวลาทีห่ น่วยงานกาหนด เชน่ หยดุ พกั ระหว่างเวลาทางาน 5-10 นาที หรอื ในชว่ งเวลาพักกลางวัน เปน็ ต้น

2 กลุ่มอาการออฟฟศิ ซินโดรมที่พบได้โดยท่ัวไป คอื 1. กลุ่มปัญหาที่พบในระบบกล้ามเนื้อและกระดูกของร่างกาย (Musculoskeletal System) ได้แก่ อาการปวดเม่อื ยและบาดเจบ็ ส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกาย เช่น คอ ไหล่ ขอ้ มือ หลงั สว่ นล่าง ขา เท้า 2. กลุ่มปัญหาทพี่ บในระบบการมองเห็น เชน่ อาการปวดเม่ือยกลา้ มเน้ือตา อาการตาแห้ง อาการตาพร่า มวั และอาการวุ้นในลกู ตาเส่อื ม 3. กลมุ่ ปัญหาดา้ นจิตใจ เชน่ อาการเครียด วิตกกังวล นอนไมห่ ลับ 4. กลุ่มปัญหาสุขภาพอ่ืน ๆ เช่น กระเพาะปัสสาวะอักเสบ ความดันโลหิตสูง ปัญหาน้าหนักตัวเพิ่ม ปวดศีรษะเรอ้ื รัง กระเพาะอาหารอกั เสบ กรดไหลยอ้ น เป็นต้น ในกลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรมที่กล่าวมาข้างต้น กลุ่มปัญหาท่ีพบในระบบกล้ามเน้ือและกระดูกของ ร่างกายเป็นกลุ่มปัญหาท่ีเด่นชัดและปรากฏในพนักงานสานักงานจานวนมา กทั้งในเพศชายและเพศหญิง ซ่ึงผลกระทบด้านสุขภาพโดยตรงต่อส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเน่ืองจากการปฏิบัติงานกับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ จากผลการสารวจกลุ่มพนักงานบริษัทในประเทศฝ่ังยุโรป พบว่าพนักงานส่วนใหญ่เข้ารับการปรึกษาจากแพทย์ เน่ืองด้วยมีปัญหาอาการปวดเมื่อยตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งอาการปวดหลัง อาการปวดคอ ไหล่ และปวดศีรษะ ตามลาดับ ซ่ึงแพทย์วินิจฉัยว่ามีความสัมพันธ์กับการทางาน นอกจากนี้พบว่าปัญหา ความเครียดยังส่งผลต่อการเกิดออฟฟิศซินโดรมถึงร้อยละ 80 สาหรับในประเทศไทยได้ทาการสารวจในกลุ่ม พนักงานสานกั พิมพ์แห่งหนึง่ จานวน 400 คน พบวา่ มีปญั หาออฟฟศิ ซินโดรมร้อยละ 60 ซึ่งไม่เพียงแตม่ ีอริ ยิ าบถใน การทางานท่ีไม่เหมาะสมเท่านั้น ยังพบปัจจัยสาคัญอ่ืน ๆ เช่น ลักษณะของโต๊ะและเก้าอ้ีท่ีไม่เหมาะสม ไม่มีพนัก พิงไวร้ องรับหลังอย่างมีประสิทธภิ าพ รวมทงั้ ทา่ ทางการใช้แป้นพิมพ์ทไ่ี ม่เหมาะสมไม่ถูกต้องตามหลักการยศาสตร์ เนื่องจากเกิดการกดทับบริเวณข้อมือทาให้มีอาการอักเสบบริเวณเส้นเอ็นรวมทั้งเกิดภาวะพังผืดหนา ส่งผลทาให้ เกิดอาการชาบริเวณนว้ิ และขอ้ มอื ตามมา สาหรับงานภายในสานักงาน ความสูญเสียท่ีเกิดข้ึนจากการที่พนักงานเจ็บป่วยด้วยโรคระบบกล้ามเน้ือ และกระดูกจากการปฏิบัติงานกับคอมพิวเตอร์ นอกจากจะทาให้พนักงานเสียเวลาในการทางานแล้ว ในส่วนของ ผู้ประกอบการเองก็ต้องสูญเสียแรงงานในการทางาน และยังส่งผลต่อการดาเนินงานได้ ซ่ึงสิ่งเหล่าน้ีอาจจะส่ง กระทบต่อเนื่องไปยังระบบเศรษฐกิจของสถานประกอบกิจการ และระบบเศรษฐกิจของประเทศในภาพรวมอีก ด้วย การคิดหาวิธีแก้ไขและปรบั ปรงุ สภาพการทางานให้กับพนักงานจึงเป็นส่ิงจาเป็นอย่างย่งิ โดยเฉพาะการลงทุน ด้านความปลอดภัย ซึ่งหากสถานประกอบกิจการใดท่ีมีการบรหิ ารจัดกการงบประมาณด้านความปลอดภยั อย่างมี ประสทิ ธิภาพแล้ว ปญั หาการบาดเจบ็ ท่เี กิดจากการทางานของสถานประกอบกจิ การก็จะลดลง

3 บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) สานักงานใหญ่ หน่วยงาน Workplace Solution เป็นสถาน ประกอบกิจการหน่ึงท่ีเล็งเห็นความสาคัญในการแก้ไขปัญหา Office Syndrome ในพนักงานสานักงานท่ี ปฏบิ ตั งิ านกับคอมพวิ เตอร์ และมแี นวทางการปรับปรงุ สภาพการทางานพร้อมกับสถานีงานให้มีความเหมาะสมกับ พนักงานที่ประสบความสาเร็จในระดับประเทศ ดังน้ัน การศึกษาคร้ังนี้ผู้วิจัยจึงต้องการท่ีจะศึกษาการบริหาร ความปลอดภัยกับมูลค่าการลงทุนในสานักงาน Workplace Solution บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) สานักงานใหญ่ เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารจัดการเพ่ือลดอัตราป่วยด้วยโรคระบบกลา้ มเนอ้ื และกระดูก และนา แนวทางที่ได้มาสู่นโยบายในการลงทุนด้านความปลอดภัยสาหรบั พนักงาน เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการรักษาและฟ้ืนฟู สมรรถภาพของพนักงาน ซึ่งเป็นผลดีแก่พนักงานและต่อสถานประกอบกิจการเพ่ือใช้เป็นแบบอย่างในการบริหาร จัดการดา้ นการลงทนุ เพือ่ ความปลอดภยั ในการทางานของพนักงานต่อไป 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ วัตถุประสงค์หลัก เพื่อศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อคุณภาพชีวิตในการทางานของพนักงานบริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) สานักงานใหญ่ หนว่ ยงาน Workplace Solution วตั ถปุ ระสงค์รอง 1. เพื่อศึกษามูลค่าการลงทุนในการป้องกันปัญหา Office Syndrome ของพนักงานบริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) สานักงานใหญ่ หนว่ ยงาน Workplace Solution 2. เพ่ือวิเคราะห์มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจจากโครงการปรับปรุงสถานีงานสาหรับผู้ปฏิบัติงานกับคอมพิวเตอร์ ของพนกั งานบริษัท ปนู ซเี มนต์ไทย จากัด (มหาชน) สานักงานใหญ่ 1.3 สมมตฐิ ำนในกำรวจิ ยั ในการวิจยั ครงั้ น้ีผู้วจิ ยั ไดต้ ้งั สมมติฐานไว้ ดงั นี้ 1.3.1 ปัจจยั ดา้ นข้อมลู ส่วนบุคคลและปัจจยั ดา้ นการจดั การความปลอดภัยท่ีแตกต่างกนั สง่ ผลตอ่ คุณภาพ ชวี ิตในการทางานของพนกั งานในบริษทั ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) สานักงานใหญ่ 1.3.2 บริษทั ปูนซเี มนต์ไทย จากัด (มหาชน) สานกั งานใหญ่มีมลู ค่าความเพิ่มทางเศรษฐกิจจากการปรับปรุง สถานงี านคอมพิวเตอร์มากกว่า 2 ล้านบาท

4 1.4 ขอบเขตของกำรวิจัย 1. ขอบเขตดา้ นเนือ้ หา 1.1 ผ้วู จิ ยั ไดน้ าเสนอแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกบั การจดั การดา้ นความปลอดภยั และทาการศึกษาข้อมูล ปฐมภูมิ จากการสารวจ (Survey Research) ซึ่งเป็นข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม เป็นการศึกษาการจัดการความ ปลอดภัยกับมูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกิจจากการลงทุนในการปรับปรงุ สถานีงานคอมพิวเตอร์ และคุณภาพชีวิตในการ ทางานของพนักงานที่ปฏิบัติงานกับคอมพิวเตอร์ บริษัท ปูนซีเมนต์ไทยจากัด (มหาชน) ในหน่วย Workplace Solution 1.2 ศึกษาข้อมูลทุติยภูมิ ได้แก่ ข้อมูลการเจ็บป่วยด้วยโรคระบบกล้ามเน้ือและกระดูกของพนักงาน บรษิ ัท ปนู ซีเมนตไ์ ทย จากัด (มหาชน) 2. ขอบเขตด้านประชากร 2.1 ประชากรทใ่ี ชใ้ นการศึกษาครั้งนค้ี ือ พนักงานที่ปฏบิ ัตงิ านกับคอมพวิ เตอร์ บริษัท ปนู ซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) 2.2 กลมุ่ ตัวอย่าง คือ พนักงานพนกั งานทปี่ ฏบิ ตั ิงานกับคอมพิวเตอร์ บริษัท ปูนซีเมนต์ไทยจากัด (มหาชน) ในหน่วย Workplace Solution จานวน 41 คน 3. ขอบเขตด้านระยะเวลา ศึกษาข้อมูลในปี พ.ศ. 2560 – 2561 4. ตัวแปรทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา 4.1 ตัวแปรต้น (Independent Variables) ได้แก่ ปัจจุยด้านข้อมูลสว่ นบคุ คล ปัจจัยการจัดการความ ปลอดภัย และคุณภาพชีวิตในการทางานของพนักงานบริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหา ชน) หน่วยงาน Workplace Solution 4.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variables) ได้แก่ มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจของบริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากดั (มหาชน) หนว่ ยงาน Workplace Solution

5 1.5 กรอบแนวคดิ ในกำรวิจัย ตวั แปรตำม ตัวแปรตน้ คณุ ภำพชวี ติ ในกำรทำงำน ปัจจัยข้อมลู สว่ นบคุ คล - ด้านสภาพแวดลอ้ มทดี่ มี ีความปลอดภัย - อายุ - ด้านความสมดลุ ระหว่างงานกบั ชีวิตส่วนตัว - เพศ - ระดบั การศึกษา - ตาแหน่งงาน - อายุงาน ปัจจัยกำรจัดกำรควำมปลอดภัย - ดา้ นนโยบายความปลอดภัย - ด้านการกากับดูแลความปลอดภัย - ดา้ นการส่อื สารความปลอดภยั - ด้านการอบรมความปลอดภยั - ด้านระบบบรหิ ารจดั การความปลอดภยั ภำพท่ี 1.1 กรอบแนวคดิ ในการวิจัย 1.6 คำจำกัดควำมกำรวิจยั คุณภำพชีวิตในกำรทำงำน หมายถึง ความรู้สึกพึงพอใจ ระดับการรับรู้ท่ีแตกต่างกันไปของลูกจา้ งท่ีมีตอ่ ชีวิตการทางานหรือเกี่ยวกับงานของแต่ละบุคคล โดยแบ่งเป็นด้านสภาพแวดล้อมที่ดีมีความปลอดภัยและด้าน ความสมดลุ ระหวา่ งงานกับชวี ติ ส่วนตัว นำยจ้ำง หมายถงึ นายจา้ งในสถานประกอบกจิ การบรษิ ัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) สานักงานใหญ่

6 พนักงำน หมายถึง เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางาน (จป.) และผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบ กิจการบริษัท ปนู ซเี มนตไ์ ทย จากดั (มหาชน) สานกั งานใหญ่ กำรจัดกำรด้ำนควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน หมายถึง การกระทา หรือสภาพการทางาน ซึ่งปลอดจากเหตุอันจะทาให้เกิดการประสบอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจหรือสุขภาพ อนามัยอันเนื่องมาจากการทางานหรือเก่ียวกับการทางาน โดยแบ่งเป็น ด้านนโยบายความปลอดภัยฯ ด้านการ กากับดแู ล ดา้ นการส่อื สาร ดา้ นการอบรมความปลอดภัยฯ ดา้ นระบบบริหารจัดการ 1.7 ประโยชน์ท่ีคำดว่ำจะได้รบั 1. นาขอ้ มลู ที่ไดไ้ ปวางแผนเพ่ือความปลอดภัยในการทางานของบริษัท ปูนซีเมนตไ์ ทย จากัด (มหาชน) 2. ส่งเสรมิ และสนับสนุนใหบ้ ริษทั มีการลงทุนในการปอ้ งกันด้านความปลอดภยั ในการทางานของพนักงาน ท่ีปฏบิ ตั ิงานกบั คอมพวิ เตอรข์ อง ปูนซเี มนต์ไทย จากัด (มหาชน) 3. สรา้ งแรงจูงใจใหก้ บั ผ้บู ริหารสถานประกอบกิจการให้ดาเนินการปอ้ งกันปญั หา Office Syndrome และสามารถลดความสูญเสียทางเศรษฐศาสตร์ได้

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง การศึกษาและวิเคราะห์การลงทุนด้านความปลอดภัยในพนักงานสานักงานของบริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) สานักงานใหญ่ หน่วยงาน Workplace Solution ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยท่ี เกย่ี วข้อง ดงั น้ี 1. แนวคดิ เก่ียวกบั การจัดการด้านความปลอดภัย 2. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกบั คณุ ภาพชวี ิตในการทางาน 3. แนวคิดเรอื่ งการวเิ คราะหท์ างเศรษฐศาสตร์ 4. งานวิจยั ท่ีเกย่ี วขอ้ ง 2.1 แนวคิดเก่ยี วกบั การจดั การด้านความปลอดภัย 2.1.1 ความหมายของความปลอดภัย จากการศกึ ษาเอกสารพบว่า ความหมายของความปลอดภยั ไดม้ ผี ใู้ หค้ วามหมายไว้ ดังน้ี Bird & German (1991, p.18 อ้างอิงในนายสุรชัย ตรัยศิลานันท, 2552) ได้ให้ความหมาย ความปลอดภัยในการทางาน หมายถึง เหตุการณ์ที่ไม่พึงปรารถนา อันเป็นผลให้เกิดอันตรายต่อคน เกิดความ เสยี หายต่อทรัพย์สนิ ซึ่งความปลอดภัยนัน้ สามารถกระทาได้โดยการปอ้ งกัน และควบคุมการเกิดอุบัตเิ หตุจากการ ทางานให้เกิดน้อยที่สดุ ชวลิต หม่ืนนุช (2540, หน้า 16) กล่าวว่า ความปลอดภัย คือ เหตุการณ์ หรือการกระทาท่ีปราศจาก อุบัติเหตุอนั ตราย ปราศจากการเจ็บป่วยเน่ืองจากการทางาน หรอื เหตกุ ารณ์ที่ไม่ก่อให้เกิดความสูญเสียใดๆ ทัง้ ส้นิ เปน็ สงิ่ ท่ีทุกคนตอ้ งการ พัชรา กาญจนารญั ย์ (2544, หนา้ 46) ความปลอดภัย หมายถึง สภาวะการปราศจากภัยหรือการพ้นภัย รวมถึงการปราศจากอันตราย (danger) การบาดเจ็บ (injury) การเสี่ยงภัย (risk) หรือการสูญเสีย (loss) และ ความปลอดภัยในการทางานน้ัน เป็นการปฏิบัติงานให้สาเร็จลุล่วงตามเป้าหมาย โดยปราศจากเหตุการณ์ที่ทาให้ บาดเจ็บ เจบ็ ป่วย เสียชีวิต หรือความเสียหายทอี่ าจจะเกิดขนึ้ กบั บุคคล หรือทรัพยส์ ิน

8 วิจิตรา วิเชียรชม (2545, หน้า 189) ความปลอดภัยในการทางาน หมายถึง การกระทาหรือสภาพการ ทางาน ซึ่งปลอดภัยจากเหตุอันจะทาให้เกิดการประสบอันตราย การเจ็บป่วยอันเน่ืองมาจากการทางานต่อ ผปู้ ฏบิ ตั ิงาน หรือความเดือดรอ้ นเนอื่ งจากการทางานหรอื เก่ยี วกับงาน กรมสวสั ดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน (2544, หนา้ 6) ไดก้ ลา่ วว่า ความปลอดภยั ในการ ทางาน หมายถึง ภาวะที่ปราศจากอันตรายอันเน่ืองมาจากอุบัติเหตุการเจ็บป่วยในการทางาน รวมถึงปราศโอกาส ท่ีจะก่อให้เกิดอันตรายด้วย ทั้งต่อบุคคล ทรัพย์สิน และส่ิงแวดล้อม และการจัดการความปลอดภัยในการทางาน เป็นการจัดสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ในการทางานให้มีความปลอดภัยผู้บริหารเป็นผู้ที่มีบทบาทและหน้าที่ในการ จัดการและดาเนินการ โดยการจัดวางอุปกรณ์ เครื่องมือ เคร่ืองใช้ในการทางานให้ปลอดภัย หรือแม้แต่ตรวจสอบ เครือ่ งมือให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานเสมอและใชง้ านได้อย่างถูกวิธีและปลอดภยั การอบรมเกย่ี วกับความปลอดภัย ในการทางานให้แก่พนกั งาน และจัดคู่มือความปลอดภัยในการทางานให้เพ่ือให้พนักงานปฏิบตั ติ าม พระราชบัญญัติ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (2554, หน้า 6) ได้ให้ ความหมายของคาว่า ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน หมายความว่า การกระทา หรือสภาพการทางานซึ่งปลอดจากเหตุอันจะทาให้เกิดการประสบอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพ อนามัยอนั เนื่องจากการทางาน หรอื เกย่ี วกับการทางาน วิฑูรย์ สิมะโชคดี และวีรพงษ์ เฉลิมจิระรัตน์ (2556, หน้า 19) กล่าวว่า ความปลอดภัย หมายถึง การ ปราศจากภัย ซ่ึงในทางปฏบิ ตั ิเปน็ ไปไม่ได้ทีจ่ ะขจดั ภัยทุกชนิดให้หมดไปโดยสนิ้ เชิง ความปลอดภยั จงึ ให้รวมถึงการ ปราศจากอันตรายทีม่ โี อกาสจะเกิดขึ้นด้วย สุรพล พยอมแย้ม (2541, หน้า 286) ได้กล่าวว่า ความปลอดภัยในการทางาน หมายถึง การที่ ผู้ปฏิบัติงานสามารถปฏิบัติงานได้โดยไม่มีอุปสรรคใดๆ ขัดขวาง ซ่ึงอุปสรรคนั้นอาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ อุปสรรคท่ีทราบและคาดการณ์ไว้ล่วงหน้าตามข้อมูลที่มีอยู่ และอุปสรรคที่ไม่คาดคิดและมิได้ควบคุมไว้ก่อน อุปสรรคประเภทหลงั น้เี รียกรวมๆ กันว่า “อุบัติเหตุ” จากความหมายของความปลอดภัยในการทางานท่ีมีผู้ให้ความหมาย พอสรุปได้ว่า ความปลอดภัยในการทางาน หมายถึง การทางานท่ีปราศจากอันตรายในขณะทางาน รวมท้ังโอกาสเสี่ยงที่จะเกิดการบาดเจ็บ พิการ ตาย และ เจบ็ ป่วยเน่ืองจากการทางาน ซง่ึ ส่งผลต่อความสญู เสียตอ่ รา่ งกาย และทรัพย์สิน

9 2.1.2 หลกั การจดั การดา้ นความปลอดภัย บรรยงค์ โตจนิ ดา (2543) ไดก้ ลา่ วถงึ หลกั การจดั การความปลอดภัยในการทางานดังต่อไปน้ี 1. การจัดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยในการปฏิบัติงาน การจัดบริเวณที่ทางานให้ปลอดภัยเครื่องมือ เคร่ืองใช้ต่าง ๆ ควรมีการตรวจสอบอย่างสม่าเสมอให้อยู่ในสภาพท่ีดีพร้อมใช้งานได้อย่างปลอดภัยและหาวิธีการ ทางานทีป่ ลอดภยั ให้แก่บุคลากร 2. จัดต้ังคณะกรรมการหรือมอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบเก่ียวกับความปลอดภัยในการทางาน มีการจัด ร่างระเบียบกฎต่าง ๆ ที่เก่ียวกับความปลอดภัย โดยมีคณะกรรมการรักษาระเบียบ จัดทาป้ายคาเตือนท่ีชัดเจน รวมทง้ั ให้มีผดู้ แู ลรักษาความปลอดภยั โดยเฉพาะในสถานทอ่ี ันตราย 3. การให้การศึกษา และฝึกอบรมกับบุคลากรในด้านความปลอดภัย จัดทาคู่มือ แนะนาเรื่องการใช้ เครอื่ งมือ เคร่อื งจกั รตา่ ง ๆ เพ่ือให้เกิดความปลอดภัย จัดให้มีการวจิ ัยและพัฒนาในด้านความปลอดภยั เสมอ จัดให้ มกี ารซอ้ มและเตรียมความพร้อมเปน็ กจิ กรรมเพื่อความปลอดภยั เช่น ซอ้ มดับเพลงิ ในอาคารสงู และในโรงงาน เป็นต้น 4. การติดตามผลของการปฏิบัติงานในด้านความปลอดภัย มีการตรวจสอบสภาพของที่ทางาน ตรวจ สุขภาพของบุคลากรจากสารพิษที่จะเกิดข้ึน ให้มีสถานพยาบาล การปฐมพยาบาลเบื้องต้นในองค์การ จัดให้มี ผดู้ ูแลความปลอดภัย ความสะอาดของสถานทที่ างาน 5. การจัดตง้ั คณะกรรมการเพ่ือความปลอดภัย โดยการแบง่ แยกความรบั ผิดชอบดงั นี้ 5.1 จัดต้ังคณะบุคคล เพ่ือรับผิดชอบในการแก้ไขอันตรายต่าง ๆ ท่ีจะเกิดขึ้นโดยงานนโยบาย เกี่ยวกบั การปอ้ งกันและรักษาความปลอดภัยทาการตรวจทบทวนผลงานต่าง ๆ ให้สอดคลอ้ งกับนโยบายด้านความ ปลอดภัย มีการติดตามและวเิ คราะห์แนวโน้มที่จะเปน็ สาเหตุของความไมป่ ลอดภัย จดั ทางบประมาณรายจ่ายต่าง ๆ 5.2 คณะกรรมการ มีหน้าท่ีดาเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภัย โดยจัดประชุมปรึกษาเพื่อจัดทา โครงการอบรมสัมมนาเก่ียวกับเร่ืองความปลอดภัย ประมวลข่าวสารข้อมูลท่ีเก่ียวกับการป้อง กันรักษา ความปลอดภยั ดาเนนิ การแกไ้ ขหากมอี ุบตั ิเหตเุ กิดขน้ึ ทาการตรวจสอบและรายงานผลใหผ้ ู้บรหิ ารทราบ 5.3 ผู้ตรวจสอบความปลอดภัย ทาหน้าที่ในด้านการรายงานต่อผู้บริหารถึงความบกพร่องของ อุปกรณ์ที่ตรวจสอบเพ่ือหาทางป้องกันมีการบันทึกและรายงานทุกสัปดาห์ เป็นผู้ร่วมแก้ไขและตรวจสอบรวมท้ัง วิเคราะห์หาข้อมูลสรุป เก็บสถิติและข้ออ้างอิงต่าง ๆ หากมีอุบัติเหตุเกิดขึ้น รวมท้ังเป็นผู้ประสานงานในกิจการท่ี เกย่ี วกับความปลอดภยั และการปอ้ งกันอุบัติเหตุ

10 5.4 หัวหน้างาน มหี นา้ ที่รบั ผิดชอบโดยตรงต่อสภาพแวดล้อม จะตอ้ งทาการบันทึกงานการวิเคราะห์ อบุ ัตเิ หตุ ปญั หาสุขภาพอนั เนื่องมาจากสารพิษ ฝ่นุ ละออง และบนั ทึกเสนอต่อคณะกรรมการดาเนนิ การตรวจสอบ สภาพของอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ป้องกนั และแก้ไขส่ิงท่ีจะก่อให้เกิดอุบตั เิ หตุ สุขภาพของบุคลากร ตดิ ตามสงั เกตพฤติกรรม การปฏบิ ัตงิ าน เพือ่ ความเหมาะสมในการปอ้ งกนั ดา้ นสุขภาพและอุบตั ิภัยทีเ่ กดิ ขึน้ 5.5 ผู้ปฏิบัติงาน มีหน้าท่ีโดยตรงท่ีต้องปฏิบัติตามคาส่ังและข้อแนะนาของผู้บังคับบัญชา หากผปู้ ฏบิ ัติงานพบว่าเกิดความไม่ปลอดภัยขึ้นในหนว่ ยงานควรรีบแจง้ ต่อหวั หน้าหรือผู้มีส่วนเก่ียวข้องเพ่ือหาทาง แก้ไขป้องกัน สมบูรณ์ ขจรเดชะศักดิ์ (2549) กล่าวถึง การจัดการด้านความปลอดภัยของการทางานในโรงงานนั้น มีขอบเขตเก่ียวกับการจัดองค์การ ลักษณะของหน่วยงานและลักษณะงาน หลักการจัดความปลอดภัยของการ ทางานมีองค์ประกอบสาคัญตอ่ ไปนี้ 1. นโยบาย ผู้บริหารเป็นผู้กาหนดนโยบายที่มีความชัดเจน ไม่กว้างเกินไป ต้องครอบคลุมถึง ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ เป็นรูปธรรม สามารถปฏิบัติได้ เขียนเป็นลายลักษณ์อักษร และประชาสัมพันธ์ให้ทุ ก หนว่ ยงานไดร้ ู้ 2. การจัดองค์กร การจัดองค์กรด้านความปลอดภัยข้ึนอยู่กับลักษณะของธุรกิจ เช่น ขนาดจานวน พนักงาน ลักษณะงาน ผู้ท่ีรับผิดชอบงานด้านความปลอดภัยอาจจะมีจานวนมากหรือน้อยต้องแบ่งหน้าท่ีให้ ครบถ้วน 3. บุคลากร ผู้ที่ทาหน้าท่ีด้านความปลอดภัยน้ี ต้องมีคุณสมบัติเหมาะสมสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ ต้องมีความรู้เกี่ยวกบั เร่ืองความปลอดภยั ของการทางานในโรงงานดี สามารถดแู ลให้มคี วามปลอดภยั ได้ 4. การจัดการเก่ียวกับอุปกรณ์ป้องกันอันตราย เรื่องน้ีมีความสาคัญ ผู้รับผิดชอบต้องมีการบริหารจัดการ ท่ีดี เช่น เลือกอุปกรณ์ให้เหมาะสมกับสภาพงาน วิธีการใช้ที่ถูกต้อง การตรวจสอบ การบารุงรักษา รวมท้ังการ เบิกจ่าย เปน็ ตน้ ถา้ การจัดการบริหารอุปกรณ์ปอ้ งกันอนั ตรายไมด่ ี ทาให้เกิดอนั ตรายแทนทจ่ี ะมคี วามปลอดภยั 5. การฝกึ อบรมผปู้ ฏบิ ตั ิงาน การใหค้ วามรเู้ ร่อื งความปลอดภัยแก่ผปู้ ฏิบัติงาน ด้วยการฝกึ อบรมมีความ จาเปน็ เพ่อื เพมิ่ ทักษะด้านความรู้ ความชานาญ และประสิทธภิ าพดา้ นความปลอดภยั ผรู้ ับผิดชอบพิจารณาให้การ อบรมอย่างเหมาะสมแกผ่ ปู้ ฏบิ ัติงาน โดยคานงึ ถึงเปา้ หมายของธรุ กจิ ดว้ ย

11 กล่าวโดยสรุป การจัดการความปลอดภัยในการทางาน เป็นการจัดระบบการเสริมสร้างความปลอดภัย เข้าไปในกระบวนการผลิต เพื่อให้เกิดการปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัยอย่างต่อเน่ือง และมีวิธีการจูงใจพนักงาน ให้มีส่วนร่วมในการทากิจกรรมด้านความปลอดภัย ซึ่งมีการจัดการความปลอดภัยในการทางานตามนโยบายของ หน่วยงานโดยมกี ารกาหนดนโยบายตามกฎหมายอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ในการทางาน 2.2 แนวคดิ และทฤษฎีเก่ียวกบั คณุ ภาพชวี ติ ในการทางาน 2.2.1 ความหมายของคณุ ภาพชวี ติ ในการทางาน จากการศึกษาเอกสารพบวา่ มผี ใู้ ห้ความหมายของคุณภาพชีวิตในการทางาน ดงั นี้ Newstrom & Davis (2002 อ้างใน สุมิดา เหมือนครุฑ, 2550) ได้ให้ความหมายของคุณภาพชีวิตใน การทางาน (Quality of Work Life) โดยความหมายแรก หมายถงึ การท่ีพนักงานเหน็ พ้องต้องกันของความพอใจ โดยรวมต่อสภาพแวดล้อมในการทางาน ส่วนอีกความหมายหน่ึง คุณภาพชีวิตในการทางาน หมายถึง โครงการ หรือแนวทางต่างๆ ที่องค์กรตระหนักและยอมรับในการแสดงความรับผิดชอบเพ่ือส่งเสริมและปรับปรุงการทางาน และสภาพการทางานทด่ี ีของพนักงาน ไดแ้ ก่ การสอ่ื สารแบบเปดิ ภายในองค์กร ความยุตธิ รรมในการให้รางวัลหรือ ผลตอบแทนต่อพนักงานท่ีปฏิบัติงานดี ความมั่นคงและพึงพอใจในการทางาน การดูแลเอาใจใส่จากหัวหน้างาน และการมสี ว่ นรว่ มของพนักงานในการตัดสนิ ใจในเรื่องตา่ งๆ ที่สง่ ผลกระทบต่อพนกั งาน เปน็ ต้น Walton (1973 อ้างใน กษมา ทองขลิบ, 2550) ได้ให้ความหมายของคุณภาพชีวิตการทางานไว้ว่า เป็นลักษณะของการทางานที่ตอบสนองความต้องการและความปรารถนาของบุคคล โดยพิจารณาคุณลักษณะ แนวทางความเป็นบุคคล สภาพตัวบุคคลหรือสังคม เรื่องสังคมขององค์กรที่ทาให้งานประสบผลสาเรจ็ ซ่ึงสามารถ วัดได้จากเกณฑ์ชี้วัด 8 ด้าน คือ ค่าตอบแทนท่ียุติธรรม สภาพการทางานที่มีความปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ ความก้าวหน้า และความม่ันคงในการทางานโอกาสพัฒนาศักยภาพของตนเอง การทางานร่วมกันและความสม พันธ์กับบุคคลอ่ืน สิทธิส่วนบุคคล จังหวะชีวิต และความเป็นประโยชน์ต่อสังคม และยังมีความหมายท่ีกว้างข้ึน มใิ ช่แค่กาหนดแต่เวลาในการทางานสัปดาหล์ ะ 40 ชว่ั โมง หรอื มใิ ช่เพยี งกฎหมายคุ้มครองแรงงานเด็ก หรือจ่ายค่า ตอบแทนที่คุ้มค่าเท่าน้ัน แต่มีความหมายรวมไปถึงความต้องการ และความปรารถนาในชีวิต ของบุคลากรใน หนว่ ยงานทีดีข้นึ ดว้ ย บุญแสง ชรี ะภากร (2533) กลา่ ววา่ คณุ ภาพชวี ิตในการทางาน หมายถงึ ความรสู้ กึ พึงพอใจทแี่ ตกต่าง กันไปตามมิติการรับรู้ของแต่ละบุคคล เพราะต่างมีพ้ืนฐาน ภูมิหลัง ลักษณะอื่นๆที่เป็นลักษณะ เฉพาะตัวบางคน อาจสนใจท่ีเน้ือหาของงาน บางคนสนใจสภาพแวดล้อม และค่าตอบแทนบางคนเน้นความก้าวหน้าในอนาคตและ ลกั ษณะอ่นื ๆ ทแี่ ตกตา่ งกันออกไปมากมาย

12 เพ็ญศรี วายวานนท์ (2533) กล่าวว่า คุณภาพชีวิตในการทางาน หมายถึงคนท่ีใช้ชีวิตร่วมกันในที่ ทางานเป็นเวลานาน มีผลประโยชน์ร่วมกนั ให้ความสนใจและมคี วามเกี่ยวขอ้ งกับเพ่ือนรว่ มงานท้ังในระดบั เสมอกัน และต่างกัน ทาให้เกิดความสาเร็จในองค์กรและส่งผลกระทบโดยตรงกับความสาเร็จของคนงานโดยตรง และ คนงานมที รรศนะในทางเสริมสรา้ งองค์กรถือว่าเป็นการสง่ เสริมคุณภาพชีวิตในการทางาน สมยศ นาวีการ (2533) ได้กล่าวว่า คุณภาพชีวิตการทางาน หมายถึง คุณภาพของความสัมพันธ์ ระหว่างพนักงานและสภาพของงานท่ีผสมผสานระหว่างลักษณะทางเทคนิคและลักษณะมนุษย์ คุณลักษณะของ คุณภาพชีวิตการทางาน คือ การสร้างสภาวะขององค์กรท่ีกระตุ้นคนให้มีการเรียน รู้และพัฒนา ให้สามารถมี อิทธิพลและควบคุมการทางานของพวกเขาได้ และให้คนทางานมีความน่าสนใจและมีความหมาย เพื่อเป็นการ ตอบสนองความพอใจสว่ นบคุ คลของพวกเขาได้ จากความหมายของคุณภาพชีวิตการทางานที่มีผู้ให้ความหมาย พอสรุปได้ว่า คุณภาพชีวิตในการ ทางาน หมายถึง ความรู้สึกพึงพอใจของพนักงานต่อการได้รับการตอบสนองความต้องการของตน จากการ ปฏิบัติงาน หรอื การสนองความต้องการของพนักงานจากงานท่ปี ฏบิ ัติ จากองคก์ ร และจากสภาพแวดล้อมของงาน 2.2.2 องค์ประกอบของคณุ ภาพชวี ิตการทางาน Walton (1973 อ้างใน กษมา ทองขลิบ, 2550) ได้กาหนดองค์ประกอบของคุณภาพชีวิตการทางาน ของบุคคล วา่ ประกอบดว้ ยคณุ สมบตั ิ 8 ประการดังนี้ 1. ค่าตอบแทนท่ีเพียงพอและยุติธรรม (Adequate and Fair Compensation) หมายถึง การท่ี พนักงานได้รับรายได้และผลตอบแทนที่เพียงพอและสอดคล้องกับมาตรฐาน พนักงานมีความรู้สึกว่ามีความ เหมาะสมและเปน็ ธรรม เมื่อเปรยี บเทยี บกับตาแหนง่ ของตนและตาแหนง่ อ่ืนๆ ทม่ี ลี ักษณะงานท่ีคล้ายคลงึ กนั 2. สิ่งแวดล้อมท่ีปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ (Health and Safety at Workplace) หมายถึงการที่ พนกั งานได้ปฏิบตั ิงานในสภาพแวดลอ้ มท่เี หมาะสม สถานท่ีทางานไม่ได้สง่ ผลเสยี ต่อสุขภาพและไมเ่ สย่ี งอนั ตราย 3. โอกาสที่ได้รับการพัฒนาและใช้ความสามารถของบุคคล (Opportunity for Human Capacity Development) หมายถึง โอกาสในการสร้างเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถของพนักงาน เพื่อพร้อมท่ีจะ ปฏิบัติงานและใช้ศักยภาพในการทางานอย่างเต็มที่ โดยพนักงานได้รับการพัฒนาให้มีความรู้ความสามารถท่ีจะ ปฏิบัติ 4. โอกาสก้าวหน้าและความม่ันคงในการทางาน (Opportunity for Job Security and Advancement) หมายถึง พนักงานได้รับการส่งเสริมให้เพิ่มขีดความสามารถของตนเอง มีแนวทางในการเล่ือนตาแหน่งหน้าท่ีที่

13 สงู ข้นึ จนประสบผลสาเรจ็ ในหนา้ ทกี่ ารทางานให้เปน็ ท่ียอมรับของเพอ่ื นรว่ มงาน สมาชิก ครอบครวั หรอื ผู้เก่ียวข้อง นอกจากน้ันสร้างความม่ันใจในการปฏิบัติงานว่ามีความม่ันคง ไม่ถูกโยกย้ายหรือเปล่ียนแปลงความรับผิดชอบจน ขาดความมนั่ ใจในงานทร่ี ับผดิ ชอบ 5. การมีส่วนร่วมในการทางานและความสัมพันธ์กับบุคคลอ่ืน ( Participation and Social Integration) หมายถึง พนักงานมีความรู้สึกว่าตนมีคุณค่าต่อหน่วงงาน เป็นส่วนหนึ่งขององค์กร สามารถ ปฏบิ ัตงิ านใหป้ ระสบความสาเร็จได้ สมาชกิ ใหก้ ารยอมรบั และรว่ มมือกนั ทางานดว้ ยดี 6. สิทธิส่วนบุคคลในการทางาน (Rights at Work) หมายถึง การท่ีพนักงานได้รับสิทธิในการ ปฏบิ ัตงิ านตามขอบเขตที่ไดร้ ับมอบหมาย ซึ่งต้องมกี ารกาหนดแนวทางปฏบิ ัติร่วมกันและตอ้ งเคารพสิทธซิ ึ่งกันและ กัน โดยพิจารณาจากลักษณะความเป็นส่วนตัว พนักงานมีสิทธิจะปกป้องข้อมูลเฉพาะส่วนตน ครอบครัว ซึ่งไม่ เก่ียวข้องกับการปฏิบัติงานแต่อย่างใด มีอิสระในการพูดและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนโยบายและแนวทางการ ปฏบิ ตั ิต่อผบู้ ริหาร 7. การทางานและการดาเนินชีวติ โดยรวม (Work and Life) หมายถึง พนกั งานควรได้รับการจัดเวลา ในการทางานของตนเองให้เหมาะสม และมคี วามสมดุลกับบทบาทชีวิตของตนเอง ครอบครัว และกิจกรรมอ่ืนๆ 8. การทางานท่ีเป็นประโยชน์ต่อสังคม (Social Work) หมายถึง กิจกรรมการทางานท่ีดาเนินไปใน ลักษณะท่ีได้รับผิดชอบต่อสังคม การให้ความร่วมมือในการทากิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมจะก่อให้เกิด ความรสู้ ึกทีม่ ีคุณค่า เหน็ ความสาคญั ของงานและอาชีพ Skrovan (1983 อ้างใน พจนี ฐอสุวรรณ, 2549) ได้กล่าวถึงคุณภาพชีวิตในการทางานว่ามีองค์ประกอบ 3 ประการดังต่อไปน้ี 1. การพัฒนา (Development) คือ การพัฒนาท้ังในด้านวิธีการและการดาเนินงานด้านต่างๆ ท่ีจะ ก่อให้เกิดคุณภาพชีวิตในการทางานที่ดี และมีการพัฒนาในด้านคุณภาพชีวิตของบุคคล ซึ่งมีความสอดคล้องกับ หลกั การของสทิ ธิมนุษยชน และแนวคดิ ประชาธิปไตยที่เคารพในศักด์ศิ รีของแต่ละบุคคล 2. การเคารพและยอมรับในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย (Dignity) คือ การได้รับการตอบสนองความ พึงพอใจ ได้รับการยกย่องหรือยอมรับในความสามารถ การท่ีบุคคลได้รับการยอมรับจากบุคคลรอบข้างว่าตนมี ความสาคญั ตอ่ องค์กรจะทาให้บุคคลน้ันเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการทางานใหม้ ากยิ่งข้ึน ส่งผลใหอ้ งค์กรได้ผลผลิตมากข้นึ 3. การปฏิบัติงานในแต่ละวัน (Daily Practice) กล่าวคือ โดยทั่วไปบุคคลต้องใช้เวลาอย่างน้อย 8 ช่ัวโมงกับการทางานในแต่ละวัน ย่อมต้องมีการปฏิสัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคล รวมท้ังการปรับปรุงการทางานให้เกิดประสิทธิภาพ จาเป็นที่องค์กรจะต้องมีระเบียบวิธีปฏิบัติในการทางาน มีการประสานงานท่ีดีเพอื่ ใหบ้ คุ คลสามารถไปถงึ เป้าหมายได้

14 2.3 แนวคิดเร่อื งการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ การดาเนินงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยก็เช่นเดียวกัน ผู้ดาเนินงานไม่ว่าจะเป็นส่วนราชการ สถานประกอบกิจการ หรือตัวลูกจ้างเอง ก็ต้องเผชิญหนา้ กับการตัดสินใจอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะสถานประกอบ กจิ การท่ีจะต้องหาจุดสมดลุ ระหว่างความอยูร่ อดขององค์กรเชิงธุรกจิ การปฏบิ ัตติ ามกฎหมายและความรับผิดชอบ ต่อสังคม หรืออีกนัยหน่ึงคือการดูแลให้ลูกจ้างปลอดภัยและมีสุขภาพอนามัยท่ีดี ซึ่งจะแตกต่างกับหน่วยงาน ราชการและลูกจ้างที่มีจุดหมายหลักเดียวกันคือ ความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยของลูกจ้าง โดยจะคานึ งถึง ปจั จยั เชงิ เศรษฐศาตรเ์ ปน็ รอง การดาเนินงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยส่วนใหญ่มักจะไม่ได้อยู่ในรูปของตัวเงินหรือผลกาไร ทางตรงจากการประกอบกจิ การ (รปู ธรรม) และมกั จะเป็นผลประโยชน์ทเ่ี กดิ ขน้ึ หลังจากการดาเนนิ งานผา่ นไปแล้ว ระยะหน่ึง จึงทาให้เกิดแนวคิดเรื่อง “เศรษฐศาสตร์ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย” ซ่ึงเป็นเคร่ืองมือสาคัญ เพ่ือช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหารว่าจะเลือกดาเนินโครงการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยใดก่อนหรือ หลงั และจะทาอย่างไรให้องค์กรอยู่รอดอย่างสมดุล กฎหลกั ของวชิ าเศรษฐศาสตร์ คือการนิยามค่าใช้จ่าย (Costs) และผลประโยชน์ (Benefits) ที่เกิดขึ้นทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินการ ซึ่งการนิยามท่ีแตกต่างกัน ก็จะทา ให้ผลการวิเคราะห์ออกมาแตกต่างกันพร้อมกับการตีค่าของค่าใช้จ่ายและผลประโยชน์ที่ได้รับ โดยการตีค่าจะ ขึ้นอยู่กับมุมมองของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders’ point of view) ซึ่งในการวิเคราะห์ต้นทุนและผลลพั ธ์ที่ เกิดขึ้นนั้น ก็คือการตั้งราคาให้ค่าใช้จ่ายและผลลัพธ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ซ่ึงเป็นงานท่ีซับซ้อนและยุ่งยาก โดยท่ีราคาที่ ตั้งข้ึนน้ีต้องสะท้อนให้เห็นถึงคุณค่าของทรัพยากรที่จะถูกใช้ไปอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และเหมาะสม ค่าใช้จ่ายที่ สาคัญด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย คือ การสูญเสียผลผลิต หรือประสิทธิภาพในการทางานที่ลดลง และ ค่าใช้จ่ายทางอ้อมที่เกิดข้ึนเน่ืองจากความเจ็บป่วยหรืออุบัติเหตุท่ีเก่ียวเน่ืองกับการทางานปัจจัยสาคัญอื่นๆ ของ การวเิ คราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ คือ 1. กรอบเวลาของการวิเคราะห์ อย่างที่กล่าวมาข้างต้น ผลประโยชน์ท่ีได้รับด้านความปลอดภัยและ อาชีวอนามัยมักจะเกิดข้ึนหลายปีหลังจากมีการดาเนินการแล้ว ดังน้ัน การกาหนดระยะเวลาท่ีเหมาะสมให้ ครอบคลุมระยะเวลาที่จะสามารถมองเห็นผลประโยชน์ที่ได้รับซึ่งอาจถูกมองข้ามได้จะทาใ ห้การวิเคราะห์มีความ สมบูรณ์มากข้ึน 2. การแจกแจงค่าใช้จ่ายและผลประโยชน์ที่ได้รับที่สัมพันธ์และเกี่ยวข้องทางด้านความปลอดภัยและ อาชวี อนามยั ท้ังหมด ตอ้ งให้ครอบคลมุ ครบถ้วน และถูกตอ้ ง 3. แนวคิดเรื่อง “ค่าใช้จ่ายท่ีเพิ่มข้ึน” (Incremental costs) จากการดาเนินงาน ซ่ึงจะสะท้อนให้เห็นถึง ค่าใช้จ่ายที่เพ่ิมขึ้นจากการดาเนินงานภายใต้โครงการต่างๆ นอกเหนือจากการดาเนินงานปกติขององค์กร ซึ่งจะ เป็นค่าใชจ้ ่ายที่เกีย่ วเนอื่ งกับการดาเนนิ งานที่เกิดข้นึ จรงิ

15 4. การวิเคราะห์ความไวต่อการเปล่ียนแปลงของปัจจัยต่างๆ (Sensitivity analysis) เพ่ือท่ีจะศึกษา ผลกระทบของการเปล่ียนแปลงของปัจจัยต่างๆ ที่แตกต่างไปจากสมมติฐานท่ีต้ังไว้ ซ่ึงอาจก่อให้เกิดผลกระทบท่ี สาคญั ตอ่ ผลการวเิ คราะห์ทางเศรษฐศาสตรไ์ ด้ ในเชิงทฤษฎี การแข่งขันทางการตลาดควรจะนาไปสู่การจัดสรรทรัพยากรอย่างเหมาะสม และเพียงพอ อย่างไรก็ตาม ในกรณีของการดาเนินงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย จะมีความแตกต่างออกไปจาก สมมติฐานนี้ กล่าวคือ นายจ้างมักจะไม่ให้ความสาคัญกับผลกระทบที่เป็นลบท่ีไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการผลิต/ ผลผลิต นั่นก็คือ ต้นทุนของความเจ็บป่วยและความพิการของลูกจ้าง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในประเทศกาลังพัฒนา ค่าใช้จา่ ยเหลา่ น้ีมักจะถูกแบกรับโดยตวั ลูกจ้างเอง ครอบครัวของลูกจ้าง และสังคม(รัฐบาล หรือองค์กรไม่แสวงหา ผลประโยชน์ต่างๆ) ดังนั้น กลไกทางการตลาดอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอที่จะทาให้มีการดาเนินงานด้านความ ปลอดภัยและอาชีวอนามัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งทาให้การออกกฎหมายและการสร้างแรงจูงใจเชิงธุรกิจ เข้ามามีบทบาทสาคัญในการดาเนินงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยการแก้ปัญหาและการจัดการกับ ผลกระทบเชิงลบด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยท่ีไม่เกี่ยวข้องกับการผลิตโดยตรง เป็นท่ีมาของการออก กฎหมาย ซง่ึ ต้องให้ชดั เจน และครอบคลมุ โดยประสิทธผิ ลของการมีกฎหมายข้ึนอยู่กับประสิทธภิ าพของการบังคับ ใช้กฎหมาย ได้แก่ การตรวจดา้ นความปลอดภัยและอาชวี อนามัย และการลงโทษสถานประกอบกิจการท่ีไม่ปฏิบัติ ตามกฎหมายทช่ี ัดเจน จากหลกั ฐานทางวชิ าการแสดงให้เห็นชัดเจนว่า การตรวจด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ท่ีถูกต้อง และครอบคลมุ และการลงโทษสถานประกอบกจิ การที่ไม่ดาเนนิ การตามกฎหมายอย่างจรงิ จัง จะชว่ ยลด การหยุดงานจากอุบัตเิ หตุและความเจบ็ ปว่ ยทเี่ ก่ียวเน่อื งกบั การทางานได้ถึงร้อยละ 22 การสรา้ งแรงจูงใจเชงิ ธรุ กจิ ใหแ้ ก่สถานประกอบกจิ การ เปน็ กลยทุ ธ์สาคัญท่สี นบั สนนุ ให้เกิดการดาเนินงาน การพัฒนา และการปรบั ปรุงด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามยั ในสถานประกอบกจิ การอยา่ งต่อเน่ืองและยั่งยืน ตัวอย่างสาคัญของการสร้างแรงจงู ใจในประเทศไทย ได้แก่ การเพิ่ม/ลดเงินสมทบเข้าองทุนเงินทดแทน ตามความ เสี่ยงและผลการดาเนินงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในปีท่ีผ่านมาการสนับสนุนเงินทุน ความรู้เชิง เทคนิค และอุปกรณ์ จากหน่วยงานภาครัฐ และองค์กรต่างๆ เพ่ือส่งเสริมการดาเนินงานด้านความปลอดภัยและ อาชีวอนามัยในสถานประกอบกิจการ และการส่งเสริมสนับสนุนให้สถานประกอบกิจการสร้างภาพลักษณ์เร่ือง “ความรับผิดชอบต่อสังคม” โดยเฉพาะด้านความปลอดภัยและอาชวี อนามัย และให้ถือเป็นคุณค่าหลักขององคก์ ร เพือ่ เหตผุ ลความได้เปรยี บทางการคา้ กบั คคู่ ้าบรษิ ทั ขา้ มชาติ โดยสรุป เศรษฐศาสตร์ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ถือเป็นศาสตร์ที่สาคัญที่ช่วยให้ลูกจ้าง นายจ้าง และภาครัฐ ใช้ทรัพยากรในการดาเนินงานด้านความปลอดภัยและอาชีอนามัยอย่างคุ้มค่าและเหมาะสม การประเมินทางเศรษฐศาสตร์ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย เช่น ผลจากการวิเคราะห์ต้นทุนและ

16 ผลประโยชน์ท่ีได้รับจากการจัดทาโครงการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ซ่ึงถือว่าเป็นหน่ึงในหลักฐาน เชิงประจักษ์ทางธุรกิจในมุมมองของนายจ้าง ท่ีอาจกระตุ้นให้นายจ้างดาเนินการด้านความปลอดภัยและ อาชีวอนามัย อีกทั้งยังเป็นแนวทางประกอบการพิจารณาบนพ้ืนฐานของข้อมูลและหลักการ เพ่ือการพิจารณา จัดสรรทรัพยากร และการดาเนินงานภายใต้โครงการต่างๆ เพื่อการพัฒนาด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ของนายจา้ ง รฐั บาล และองค์กรตา่ งๆ ท่เี กี่ยวข้อง อย่างมีประสทิ ธภิ าพและเหมาะสม 2.4 งานวิจยั ทเ่ี กยี่ วข้อง 2.4.1 งานวจิ ยั ภายในประเทศ พนิดา อร่ามจรัส (2552) ได้ทาการศึกษาวิจัยเร่ือง ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตในการทางานกบั พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การพนักงานในกลุ่มบริษัทโทรีเซนไทย เอดเยนต์ซีย์ จากัด (มหาชน) กลุ่ม ตวั อยา่ งทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษา พนักงานในบรษิ ัทโทรีเซนไทย เอดเยนต์ซยี ์ จากดั (มหาชน) จานวน 300 คน ผลการวิจยั พบว่า 1) พนักงานมีคุณภาพชีวิตในการทางานโดยรวมอยู่ในระดับสูง และมีพฤติกรรมการเป็นสมาชิกท่ีดีของ องค์กรโดยรวมอยู่ในระดับสูง 2) พนักงานที่มีเพศและอายุแตกต่างกัน มีพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร แตกตา่ งกัน 3) คณุ ภาพชีวิตในการทางานโดยรวมของพนักงานมีความสัมพันธก์ บั พฤติกรรมการเปน็ สมาชิกที่ดีของ องค์กรโดยรวม อย่างมีนัยสาคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั 0.1 สุรชัย แก้วพิกุล (2552) ได้ทาการศึกษาวิจัยเร่ือง คุณภาพชีวิตในการทางานของบุคลากร มหาวิทยาลยั พยาบาลตารวจ ผลการวจิ ยั พบวา่ ประชากรส่วนใหญร่ อ้ ยละ 81.6 เป็นเพศหญิง รอ้ ยละ 27.2 มอี ายุ 51 ปีข้ึนไป ร้อยละ 40.8 ศึกษาระดับปริญญาโท ร้อยละ 45.2 มีชั้นยศระหว่างพันตารวจโท คุณภาพชีวิตในการ ทางานของบุคลากรภาพรวมอยรู่ ะดับปานกลาง ด้านความม่ันคงมีโอกาสพัฒนาความสามารถและมีความก้าวหนา้ ในงาน ด้านการทางานที่มีเวลาให้กับตนเองและครอบครัว ด้านการมีสภาพแวดลอ้ มที่ปลอดภัยและถูกสขุ ลักษณะ ต่อร่างกายอยู่ในระดับปานกลาง แต่ด้านการได้รับค่าตอบแทนในการทางานท่ีเพียงพอและยุติธรรม อยู่ในระดับ น้อย ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับคุณภาพชีวิตในการทางาน พบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา อายุ ราชการ รายได้ ความเพียงพอของรายได้ ช้ันยศแตกต่างกัน มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตในการทางานอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ ความสัมพันธ์อันดีกับเพ่ือนร่วมงานและผู้บังคับบบัญชาแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.5 โดยพนกั งานสาขาบางปะอนิ เหน็ ว่าทาให้คณุ ภาพชวี ติ การทางานสูงกวา่ พนกั งานสาขานวนคร อุมาพร มูลมณี (2555) ได้ทาการศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาคุณภาพชีวิตการทางานของพนักงาน ระดับปฏิบัติบริษัท เวสเทิร์น ดิจิตอล (ประเทศไทย) จากัด มีคุณภาพชีวิตการทางานอยู่ในเกณฑ์ที่ดี โดยพนักงาน ทม่ี ีปจั จยั ส่วนบคุ คลดา้ น เพศ อายุ อายงุ าน พนื้ ที่ปฏิบัติงานแตกต่างกนั โดยรวมมคี วามคดิ เหน็ ไม่แตกตา่ งกนั อย่าง

17 มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อศึกษาเป็นรายด้านพบว่า พนักงานเพศชายกับเพศหญิงมีความคิดเห็นด้าน สวัสดิการท่ีได้รับแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยเพศหญิงเห็นว่าทาให้คุณภาพชีวิตการ ทางานสูงกวา่ เพศชาย แก้วฤทัย แก้วชัยเทียม (2548) ได้ทาการศึกษาวิจัยเรื่อง การรับรู้การจัดการความปลอดภัยและ พฤติกรรมความปลอดภยั ในการทางานของพนักงานระดบั ปฏบิ ัติการ ผลการวจิ ัยพบว่า พนักงานระดับปฏบิ ัติการมี การจัดการความปลอดภัยและพฤติกรรมความปลอดภัยในการทางานอยู่ในระดับดีมาก ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า พนักงานท่ีมีอายุ สถานภาพสมรส อายุการทางาน ประสบการณ์ฝึกอบรมเก่ียวกับความปลอดภัยและ ประสบการณ์การเกดิ อุบตั ิเหตุในการทางานแตกต่างกนั มกี ารรบั รกู้ ารจัดการความปลอดภัยไม่แตกตา่ งกนั มเี พียง พนักงานทมี ีระดับการศึกษาแตกตา่ งกันมีการรับรู้การจัดการความปลอดภัยแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี ระดับ 0.05 และพบว่าพนักงานที่มีอายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส อายุการทางาน ประสบการณฝึกอบรม เก่ียวกับความปลอดภัยและประสบการณ์เกิดอุบัติเหตุในการทางานแตกต่างกัน มีพฤติกรรมความปลอดภัยในการ ทางานอย่างมีนัยสาคญั ทางสถติ ทิ ่ีระดบั 0.05 โดยมีค่าสมั ประสทิ ธ์ิสหสมั พนั ธ์เทา่ กับ 0.312 ฤทธิชาติ อินโสม (2543) ได้ทาการศึกษาเรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ระห่างการบริหารงานของ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานกับหลักการป้องกันและลดอุบัติเหตุ ในสถานประกอบกิจการอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ในเขตกรงุ เทพฯและปรมิ ณฑล โดยทาการศึกษาถึง ความสัมพันธ์ และประสิทธภิ าพของการบรหิ ารงานของคณะกรรมการความปลอดภัยฯ ในการทางานกับหลักการป้องกันและลด อบุ ตั เิ หตุ รวมทั้งการสนบั สนุนจากนายจา้ งเกี่ยวกับความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ผลการวิจัยพบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างระดับการบริหารของคณะกรรมการความปลอดภัยฯ ในการทางานกับ หลักการป้องกันและลดอุบัติเหตุ โดยเฉลี่ยพบว่ามีนัยสาคัญทางสถิติ การศึกษาของผลการบริหารของ คณะกรรมการความปลอดภัยฯตามบทบาทหน้าท่ีตามกฎหมายระหว่างก่อนและหลังประกาศใช้กฎหมาย พบว่า อัตราการเกิดอุบัติเหตุไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนจาก นายจา้ งกบั ผลการป้องกนั และลดอุบัตเิ หตุโดยเฉล่ยี พบวา่ ไม่มีความแตกต่างอย่างมนี ยั สาคัญทางสถิติ ความสมั พันธ์ ระหว่างการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการความปลอดภัยฯกับการสนบั สนุนจากนายจ้างพบว่ามี นยั สาคญั ทางสถติ ิ อโณทัย ภูวนวิทยาคม (2537) ได้ทาการศึกษาวิจัย เร่ือง ค่าใช้จ่ายและการจัดการด้านความปลอดภัย ในฐานะตัวทานายความสูญเสียจากการเกิดอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรมเขตภาคเหนือตอนบน ซึ่งมี

18 วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการป้องกันอุบัติเหตุ การจัดการด้านความปลอดภัยและความสัมพันธ์ ระหว่างค่าใช้จ่ายและการจัดการด้านความปลอดภัยกับความสูญเสียจากการเกิดอุบัติเหตุในโรงงานการผลิต เขตภาคเหนอื ตอนบน ผลการศกึ ษาพบว่า 1. ค่าใช้จ่ายในการป้องกันอุบัติเหตุ พบว่า มีโรงงานที่ไม่มีค่าใช้จ่ายด้านความปลอดภัย ร้อยละ 44.2-63.6 เม่ือพิจารณาตามกลุ่มตัวอย่างโรงงานท่ีมีค่าใช้จ่าย ปรากฏว่าร้อยละ 29.4 ท่ีมีค่าใช่จ่ายน้อยกว่า หรือ เท่ากับ 3,750 บาทต่อปี สว่ นค่าใช่จา่ ยในการจดั ซ้ืออุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล พบวา่ โรงงานทีม่ คี า่ ใช้จ่าย ในการซ้ืออุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล มีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5,500 บาทต่อปีร้อยละ 51.3–70.3 และ กลุ่มตัวอย่างโรงงานท่ีมีค่าใช้จ่ายในการซ้ืออุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล มีค่ามากกว่า 5,500 บาทต่อปี รอ้ ยละ 21.6 2. การจัดการด้านความปลอดภัยในโรงงาน พบว่าด้านการกาหนดนโยบายและมอบหมายหน้าท่ี รับผดิ ชอบ สว่ นใหญโ่ รงงานจะมกี ารกาหนดนโยบายและมอบหมายหน้าที่เปน็ ลายลักษณ์อักษร รอ้ ยละ 63.8-81.2 โดยมีผู้บริหารร่วมกับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยเป็นผู้กาหนดนโยบายร้อยละ 46.3 - 65.6 และจะแจ้งนโยบายดา้ น ความปลอดภัยโดยการติดประกาศให้ทราบมากท่ีสุดถึงร้อยละ 54.4-73.0 ดา้ นการคดั เลือกลูกจ้างใหม่ การเปลี่ยนงาน การทดสอบและการบรรจุงาน ส่วนใหญจ่ ะพิจารณา คัดเลือกลูกจ้างใหม่ โดยกาหนดกฎเกณฑ์บางตาแหน่ง ร้อยละ 34.5-53.7 ทดสอบความถนัดก่อนการบรรจุงาน โดยการทดสอบบางตาแหน่งร้อยละ 50.3-69.3 และส่วนใหญ่พบว่าไม่มีการตรวจสุขภาพคนงานก่อนบรรจุงาน ร้อยละ 50.3-69.3 ส่วนการเปลี่ยนงานให้คนงานจะทาเฉพาะในรายท่ีบาดเจ็บไม่สามารถทางานเดิมได้มากที่สุด รอ้ ยละ 34.5-53.7 ด้านแผนฉุกเฉินและแผนควบคุมความหายนะ ส่วนใหญ่โรงงานจะมีการวางแผนฉุกเฉิน วางแผน ควบคุมอุบัตภิ ยั และวางแผนป้องกันอัคคีภยั เป็นลายลกั ษณ์อักษร มีการกาหนดหนา้ ที่การปฏิบัติอย่างชัดเจน ส่วน กรณีการวางแผนกช่วยเหลือกรณีฉุกเฉิน ส่วนใหญ่จะมีเพียงลายลักษณ์อักษร แต่ไม่มีการอบรมปฏิบัติ ร้อยละ 30.7-49.7 ดา้ นกฎระเบยี บแห่งความปลอดภัย โรงงานส่วนใหญ่มีการควบคุมบังคบั ใช้กฎระเบียบความปลอดภัย โดยการตักเตือนด้วยวาจาในกรณีท่ีทาผิด ร้อยละ 47.3-66.5 และจะมีการกาหนดการตรวจสอบด้านความปลอดภัย เปน็ ลายลักษณ์อกั ษรรอ้ ยละ 39.5-58.7 ด้านการจัดองค์กรความปลอดภัย ส่วนใหญ่โรงงานจะมีการจัดตั้งคณะกรรมการความปลอดภัย รอ้ ยละ 52.4-71.2 และจะมีประชุมคณะกรรมการความปลอดภัย 2-3 ครง้ั ตอ่ ปี

19 3. ความสัมพันธ์ระหว่างค่าใช้จ่ายและการจัดการด้านความปลอดภัยกับความสูญเสียจากการเกิด อุบัติเหตุ ค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการป้องกันอุบัติเหตุในโรงงาน ซึ่งได้แก่ ค่าใช้จ่ายด้านความปลอดภัยในโรงงาน เช่น การอบรมสัมมนา จัดนิทรรศการ ฯลฯ มีความสัมพันธ์กับความสูญเสียจากการเกิดอุบัติเหตุท่ีระดับ 0.05 สว่ นคา่ ใช้จา่ ยในการจัดซอ้ื อุปกรณจ์ ากการเกดิ อบุ ัตเิ หตุอยา่ งไมม่ ีนัยสาคัญทางสถิติ การจดั การด้านความปลอดภัยเกือบทกุ ด้าน ได้แก่ ด้านกาหนดนโยบายและมอบหมายหน้าท่ี การ เปลี่ยนงาน การทดสอบและการบรรจุงาน ด้านการมีส่วนเกี่ยวข้องและให้การสนับสนุนของผู้บริหาร ด้าน กฎระเบียบแห่งความปลอดภัย ด้านการจัดองค์กร ความปลอดภัย มีประเด็นของการจัดการท่ีน่าสนใจบาง ประเดน็ มคี วามสัมพันธ์กับความสูญเสียจากการเกิดอุบัตเิ หตุทรี่ ะดับ 0.05 ยกเว้นด้านแผนฉุกเฉินและแผนควบคุม ความหายนะ มคี วามสมั พันธ์กบั ความสูญเสยี จากการเกดิ อุบตั ิเหตุอย่างไม่มนี ัยสาคัญทางสถิติ 2.4.2 งานวจิ ัยตา่ งประเทศ Vassie L.,Cox S. (1998) ไดท้ าการศึกษาถึงความสนใจของธุรกิจ SMEs ในการสมคั รใจขอการรับรอง ระบบบริหารสุขภาพและความปลอดภัย ซ่ึงจากการศึกษาแสดงให้เห็นว่า เหตุผลหลัก เกี่ยวกับความสนใจในหลัก ของระบบจัดการทชี่ ัดเจน โดย SMEs มคี วามตอ้ งการปรับปรุงหรือทาให้เกิดความเชื่อม่ันในเรื่องสุขภาพและความ ปลอดภัยของลูกจ้างและเป็นการยกระดับขององค์กร ลักษณะสาคัญที่ต้องการในระบบการจดั การคือ ทาให้ต้นทุน ต่า ง่ายต่อการบารุงรักษาและความต้องการองค์กรที่มีขนาดเล็ก อุปสรรคในการเข้าร่วมคือ อานาจของหน่วยงาน ราชการในการติดตามระบบคุณภาพของธุรกิจขนาดเล็ก ส่ิงที่เก่ียวข้องกับวิธีการและความเข้าใจความสาคัญของ สุขภาพและความปลอดภัยในธุรกิจ สิ่งท่ีเหมือนกันคือ ตัวชี้วัด ท่ีเกี่ยวข้องกับคุณภาพ ความต้ังใจในการทาระบบ การจัดการอาจจะแสดงถึง ความเป็นไปได้ของการนามาซึ่งการยอมรับในเร่ืองสุขภาพและ ความปลอดภัยและ การปรับปรุงธรุ กจิ SMEs ในองั กฤษ Colin Fuller (1999) ได้ทาการศึกษาวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสุขภาพและความ ปลอดภัย จากการแข่งขันความปลอดภัยบริษัท ึซ่งเป็นการศึกษาท่ีบรรยายถึงโปรแกรมการตรวจสอบที่เป็นการ พัฒนาตามวิธีของการวัดประสิทธิภาพสุขภาพและความปลอดภัย โปรมแกรมการตรวจสอบเป็นการปรับปรุงตาม การแข่งขันความปลอดภัยในการบริการน้าในประเทศอังกฤษ ในระยะเวลา 3 ปี ที่ผลได้ถูกนามาใช้ในการ เปรียบเทียบระบบการจัดการสุขภาพและความปลอดภัยของบริษัท โปรมแกรมการตรวจสอบซึ่งเป็นพื้นฐานของ แนวทางของนักบริหารสุขภาพและความปลอดภัย สาหรับการจัดการระบบสุขภาพและความปลอดภัยเพ่ือใช้ กาหนดวธิ ีการที่จะทาให้เข้า ใจระบบสุขภาพและความปลอดภัย การปรับปรุงขั้นตอนการทางานและอัตราความถ่ี

20 การเกิดอุบัติเหตุในบริษัท หลักการสาคัญของโปรแกรมการตรวจสอบจะเป็นการรวมกันของผู้จัดการหัวหน้างาน ผู้ปฏิบัติงานและตัวอย่างของกิจกรรมการผลิตท้ังหมดในขั้นตอนการประเมิน จุดอ่อนในเรื่องประสิทธิภาพของ ระบบการจัดการสุขภาพและความปลอดภัยในบริษัทเป็นในเร่ืองของความเข้าใจของผู้จัดการในความรับผิดชอบ ต่อสุขภาพและความปลอดภัย โครงสร้างของงาน การเกิดอบุ ัติเหตุและคา่ ใช้จา่ ยของการเกดิ อบุ ัติเหตใุ นบรษิ ัท Sharon Clarke (2006) ได้ทาการศึกษาวิจัยเรื่อง สภาพความปลอดภัยในโรงงานการผลิตชิ้นส่วน รถยนต์ ถึงผลกระทบของสภาพแวดล้อมในการทางาน การส่ือสารงานและทัศนคติด้านความปลอดภัย ตาม อุบัติเหตุและพฤติกรรมท่ีไม่ปลอดภัย ซึ่งมีวัตถุประสงค์การศึกษาเพ่ือตรวจสอบถึงทัศนคติดา้ นความปลอดภยั ของ คนงาน หัวหน้างานและผู้จัดการในอุตสาหกรรม การผลิตรถยนต์ในประเทศอังกฤษ และความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัยและอุบัติเหตุ ผลการวิจัยพบว่า โครงสร้างปัจจัยของสภาพความปลอดภัยในโรงงาน ประกอบไปด้วย 3 ปัจจัย คือ ความสนใจของผู้จัดการในเรื่องความปลอดภัย คนงานตอบสนองในเร่ืองความ ปลอดภัยและการข้ดแย้งระหว่างการผลิตและความปลอดภัย ซ่ึงมีลักษณะเช่นเดียวกันกับการศึกษาก่อนหน้าน้ี ที่ศึกษาในส่วนของโรงงานอุตสาหกรรมทั่วไปในประเทศอังกฤษ ในขณะท่ีสภาพความปลอดภัยไม่สามารถ พยากรณ์อุบัติเหตุเก่ียวข้องกับโรงงาน ส่วนคนงานตอบสนองในเร่ืองความปลอดภัยและการขัดแย้งระหว่างการ ผลิตและความปลอดภัยมีลักษณะสาคัญต่อพฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัย การเข้าใจสภาพแวดล้อมพ้ืนที่ทางานว่า มีผลกระทบที่สาคัญจะเป็นตวั พยากรณ์ทสี่ าคัญถึงอุบัติเหตุและพฤติกรรมท่ีไม่ปลอดภัย แมว้ ่าการส่ือสารในงานจะ ล้มเหลวก็จะสามารถทานายผลของความปลอดภัย มีความแตกต่างเล็กน้อยในเร่ืองของความม่ันคงของสภาพ ความปลอดภัยท่ีตรงกน้ ข้ามกบั ระดบั การบังคับบญั ชา

บทที่ 3 วธิ กี ารดาเนินการวจิ ยั การวจิ ัยครัง้ นี้เป็นการศึกษาวจิ ยั เชิงพรรณนา (Descriptive Research) มีวตั ถุประสงค์หลักศึกษาปัจจัยที่ มีผลต่อคุณภาพชีวิตในการทางานของพนักงานบริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) สานักงานใหญ่ หน่วยงาน Workplace Solution และวตั ถุประสงคร์ องเพื่อศึกษามูลคา่ การลงทุนในการป้องกันปัญหา Office Syndrome และ วิเคราะห์มูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกิจจากโครงการปรับปรุงสถานีงานสาหรับผู้ปฏิบัติงานกับคอมพิวเตอร์ ของพนักงาน บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) สานักงานใหญ่ โดยมีวิธีการดาเนินการวิจัย ประกอบด้วย 1) วิธีการ ศึกษาวิจัย 2) ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3) เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 4) การทดสอบความเชื่อมั่น 5) การเก็บรวบรวมข้อมลู 6) การวิเคราะห์ข้อมลู โดยมีรายละเอยี ด ดงั น้ี 3.1 วิธกี ารศึกษาวิจัย 3.1.1 การศึกษาข้อมูลจากเอกสาร (Documentary) การศึกษาข้อมูลจากเอกสารโดยการศึกษาแนวคิดเก่ียวกับปัจจัยท่ีส่งผลต่อคุณภาพชวี ิตในการทางานของ บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) สานักงานใหญ่ หน่วยงาน Workplace Solution ซ่ึงทาการศึกษาค้นคว้า จากตารา เอกสารทางวิชาการ วิทยานิพนธ์ และข้อมูลอ้างอิงที่เก่ียวข้องผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพอ่ื นาไปใช้ในการสร้างกรอบแนวคดิ และการสรา้ งเคร่ืองมือเพ่ือใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู 3.1.2 การศกึ ษาขอ้ มลู จากการสารวจ (Survey) การศึกษาข้อมูลจากการสารวจด้วยการใช้แบบสอบถามเป็นเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยแบบสอบถามน้ีผู้วิจัยได้สร้างขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรมทั้งในประเทศและต่างประเทศ แบบสอบถามที่ สร้างขึ้นน้ีได้รับการตรวจสอบความตรงตามเน้ือหา (Content validity) และตรวจสอบความเช่ือม่ันของ แบบสอบถาม (Reliability) โดยวิธีของ Cronbach (Cronbach's Alpha) และปรับปรุงแบบสอบถามให้มีความ สมบูรณ์

22 3.2 ประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งน้ีคือ พนักงานท่ีปฏิบัติงานกับคอมพิวเตอร์ บริษัท ปูนซีเมนต์ไทยจากัด (มหาชน) และกลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานที่ปฏิบัติงานกับคอมพิวเตอร์ บริษัท ปูนซีเมนต์ไทยจากัด (มหาชน) ในหน่วย Workplace Solution จานวน 41 คน ที่ได้เข้าร่วมโครงการหน่วยงานต้นแบบ “ทางานปลอดภัยไร้ อาการ Office Syndrome” ในปี 2560 กับสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การทางาน (องค์การมหาชน) 3.3 เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลสาหรับงานวิจัยนี้คือ แบบสอบถามแบบสอบถามปัจจัยด้านการ จัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตในการทางาน Quality of Work Life – Safety, Occupational Health, and Environment Questionnaire (QWL-OSHE) มีรายละเอียด ดงั น้ี ส่วนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วยข้อคาถามจานวน 5 ข้อ เป็นคาถามเก่ียวกับ ข้อมลู สว่ นบุคคล เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตาแหนง่ งาน อายุงานในสถานประกอบกจิ การปัจจบุ ัน ส่วนท่ี 2 ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ประกอบด้วยข้อคาถามจานวน 10 ข้อ แบ่งเป็นด้านนโยบายความปลอดภัยฯ ด้านการกากับดูแล ด้านการสื่อสาร ด้านการอบรมความปลอดภัยฯ ด้านระบบริหารจัดการ มีลักษณะข้อคาถามเป็นแบบ 2 ตัวเลือก (Dichotomous Choices) ไดแ้ ก่ ใช่ และไม่ใช่ เกณฑก์ ารให้คะแนน ใช่ หมายถึง มีการปฏบิ ัตหิ รือเหน็ ดว้ ยกบั ข้อความน้ัน ให้ 1 คะแนน ไม่ใช่ หมายถึง ไมม่ กี ารปฏิบตั หิ รือไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั ข้อความน้นั ให้ 0 คะแนน เมื่อวิเคราะห์คะแนนเฉล่ียจากข้อคาถามด้านการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางานจากข้อคาถามทัง้ หมด ใหแ้ ปลความหมายของคะแนน ดังนี้

23 สตู ร = คะแนนมากท่สี ุด – คะแนนน้อยท่สี ุด = จานวนชั้น = 2–0 3 0.66 เกณฑก์ ารแปลผลคะแนนเฉล่ีย มกี ารจดั การดา้ นความปลอดภยั ในระดบั ดี หมายถึง คะแนนระหว่าง 1.34 – 2.00 คะแนน มีการจัดการด้านความปลอดภัยในระดบั ปานกลาง หมายถงึ คะแนนระหวา่ ง 0.67 – 1.33 คะแนน มกี ารจัดการด้านความปลอดภัยในระดับตา่ หมายถึง คะแนนระหว่าง 0 – 0.66 คะแนน ส่วนที่ 3 ข้อมูลเก่ียวกับคุณภาพชีวิตในการทางาน ประกอบด้วยข้อคาถามจานวน 18 ข้อ เป็นคาถาม เก่ียวกับการรับรู้ ความคิดเห็นท่ีแตกต่างกันไปของลูกจ้าง ที่มีต่อชีวิตการทางานหรือเกี่ยวกับงานของแต่ละบุคคล มลี ักษณะข้อคาถามเป็นแบบประมาณค่า (Rating scale) แบ่งออกเปน็ 5 ระดบั ไดแ้ ก่ เหน็ ดว้ ยมากท่สี ุด เห็นดว้ ย มาก ไมแ่ น่ใจ ไมเ่ ห็นด้วย ไม่เหน็ ด้วยอยา่ งยิง่ เกณฑก์ ารให้คะแนน เหน็ ดว้ ยมากทสี่ ุด หมายถึง ข้อความในประโยคน้ันตรงกับความคิดเห็น ให้ 5 คะแนน หรอื ความรู้สึกที่ทา่ นมีต่อส่งิ นัน้ มากท่สี ดุ เห็นด้วยมาก หมายถึง ข้อความในประโยคนั้นตรงกับความคิดเห็น ให้ 4 คะแนน หรอื ความรู้สกึ ทท่ี า่ นมตี อ่ สง่ิ นั้นมาก ไมแ่ นใ่ จ หมายถึง ข้อความในประโยคน้ันตรงกับความคิดเห็น ให้ 3 คะแนน หรือความร้สู กึ ทท่ี ่านมีตอ่ สิ่งนัน้ ปานกลาง ไม่เหน็ ด้วย หมายถึง ข้อความในประโยคนั้นไม่ตรงกับความคิดเห็น ให้ 2 คะแนน หรือความรสู้ ึกท่ที า่ นมีต่อส่งิ น้นั มาก ไมเ่ ห็นด้วยอยา่ งยงิ่ หมายถึง ข้อความในประโยคนั้นไม่ตรงกับความคิดเห็น ให้ 1 คะแนน หรอื ความรู้สกึ ทที่ ่านมีต่อสงิ่ น้นั มากท่ีสุด

24 เมื่อวิเคราะห์คะแนนเฉลี่ยจากข้อคาถามดา้ นการจัดการความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางานจากข้อคาถามทง้ั หมด ใหแ้ ปลความหมายของคะแนน ดงั น้ี สูตร = คะแนนมากที่สดุ – คะแนนน้อยทีส่ ุด จานวนชน้ั = 5–1 3 = 1.33 เกณฑก์ ารแปลผลคะแนนเฉล่ีย หมายถึง คะแนนเฉลย่ี ระหว่าง 3.68 – 5.00 คะแนน มีความพงึ พอใจในระดบั มาก หมายถึง คะแนนเฉล่ียระหวา่ ง 2.34 – 3.67 คะแนน มคี วามพึงพอใจในระดบั ปานกลาง หมายถงึ คะแนนเฉลย่ี ระหว่าง 1.00 – 2.33 คะแนน มคี วามพงึ พอใจในระดบั ตา่ 3.4 การทดสอบความเชื่อมั่น 3.4.1 ผู้วิจัยได้นาแบบสอบถามที่สร้างขึ้นให้ผู้เช่ียวชาญพิจารณา จานวน 3 ท่าน ตรวจสอบความถูกต้อง ของเน้อื หา และนามาหาคา่ Index of item objective congruence (IOC) 3.4.2 ตรวจสอบความเช่ือม่ัน (Reliability) ด้วยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s alpha method) มีคา่ เท่ากับ 0.83 3.4.3 ภายหลังการได้รับคาแนะนาจากผู้เช่ียวชาญทุกท่านแล้ว ผู้วิจัยได้นาแบบสอบถามดังกล่าวมา ปรับปรุงแก้ไขตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ และนาไปทดลองใช้กับเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางาน (จป.) และผู้ปฏิบัติงานในสถานประกอบกิจการท่ีไม่ได้เป็นกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา จานวน 30 คน เพื่อทดสอบความ เข้าใจต่อคาถาม ความชัดเจนของภาษา และระยะเวลาการตอบแบบสอบถาม จากนน้ั ทาการปรับปรงุ และแก้ไขให้ มีความเที่ยงกับเน้ือหา และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแบบสอบถามและเหมาะสมในการนาไปใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูลตอ่ ไป

25 3.5 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล การเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งน้ี เก็บรวบรวมข้อมูลจากพนักงานท่ีปฏิบัติงานกับคอมพิวเตอร์ บริษัท ปูนซีเมนต์ไทยจากัด (มหาชน) ในหน่วย Workplace Solution จานวน 41 คน การวิจัยนี้สามารถแบ่งข้ันตอน ของการดาเนนิ งาน ดงั นี้ ขั้นตอนท่ี 1 ทบทวนแนวความคิด ทฤษฎีทีเ่ ก่ียวข้องกับประเด็นการวิจัย เพื่อนาสู่กรอบแนวคดิ ในการทาวจิ ัย ขั้นตอนที่ 2 เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงลึกจากบุคคลเกี่ยวข้องกับการจัดการด้านความปลอดภัย เช่น มูลค่า การลงทนุ ด้านความปลอดภัย ข้อมูลการดาเนนิ งานปรับปรุงสถานีงานคอมพวิ เตอร์ในสานักงาน ข้อมูลสถิติลาป่วย ของพนักงาน ขน้ั ตอนท่ี 3 เป็นการวิจยั เชิงปริมาณ (Qualitative Research) เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม ซ่ึงประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) ข้อมูลการจัดการด้านความปลอดภัย ตัวเลือก คาตอบเปน็ แบบแสดงความคดิ เหน็ 2 ตัวเลือก คือ ใช่ และ ไม่ใช่ 3) ข้อมลู คณุ ภาพชวี ิตในการทางาน ตัวเลอื กแบบ มาตรส่วนประมาณค่า (Rating Scale) พิจารณาจากระดับคะแนนเฉล่ียตามเกณฑ์ท่ีจัดช่วงขึ้น (Class Interval) ซ่ึงแบ่งระดับออกเป็น 5 ระดับ คือเห็นด้วยมากท่ีสุด เห็นด้วยมาก เห็นด้วยปานกลาง เห็นด้วยน้อย และเห็นด้วย น้อยท่ีสดุ โดยผ้วู ิจัยไดจ้ ัดทาแบบสอบถามออนไลน์ให้กับกลุ่มตัวอยา่ ง และได้รับการตอบกลับจานวน 41 คน ข้ันตอนท่ี 4 สรุปและนาเสนอผลการศึกษาวิจัยครั้งนี้ให้กับผู้บริหารสถานประกอบกิจการเพ่ือใช้เป็น แนวทางในการจัดการความปลอดภยั และการลงทนุ ด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกจิ การ 3.6 การวิเคราะห์ขอ้ มลู การวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือศึกษาคุณภาพชีวิตในการทางาน และปัจจัยด้านการจัดการความปลอดภัยฯ ท่ีมี ผลต่อคณุ ภาพชีวติ ในการทางานของพนักงานฯ ผูว้ จิ ยั ไดร้ วบรวมข้อมลู จากแบบสอบถามมาตรวจสอบความถูกต้อง ของข้อมูล นามาลงรหัส และป้อนข้อมูลลงในโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเรจ็ รปู การวเิ คราะห์ข้อมูล ผู้วิจยั ได้กาหนด ระดับการมนี ัยสาคญั ทางสถติ ิไว้ท่ี .05 ซ่ึงมีรายละเอยี ด ดังนี้ 3.6.1 การวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic Analysis) สถิติพ้ืนฐานท่ีใช้ในการ วเิ คราะหข์ ้อมูล ประกอบด้วย คา่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉล่ีย (Mean) และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เพ่อื อธิบายขอ้ มูลในแต่ละส่วน ดงั ต่อไปนี้ สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ ระดบั การศกึ ษา ตาแหน่งงาน อายุ งานในสถานประกอบกิจการปัจจบุ ัน วิเคราะห์โดยการแจกแจงความถี่ และร้อยละ

26 ส่วนที่ 2 ข้อมูลเก่ียวกับการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทางาน ประกอบด้วย ข้อมูลด้านนโยบายความปลอดภัยฯ ด้านการกากับดูแล ด้านการสื่อสาร ด้านการอบรมความปลอดภัยฯ ด้านระบบริหารจัดการ ทาการวิเคราะห์โดยการหาค่าเฉล่ีย และค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ส่วนท่ี 3 ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในการทางาน ทาการวิเคราะห์โดยการหาค่าเฉล่ีย และค่า สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ส่วนที่ 4 ข้อมูลเกี่ยวกับวิเคราะห์การลงทุนด้านความปลอดภัย และมูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกิจ ทาการวเิ คราะห์โดยการแจกแจงความถ่ี และร้อยละ 3.6.2 การวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistic Analysis) ใช้สถิติเพื่อทดสอบ สมมติฐาน โดยใช้สถิติ t-test One-Way ANOVA เพื่อทดสอบสมมติฐานการวิจัยข้อท่ี 1 และสัมประสิทธิ์ สหสัมพนั ธ์เพยี รส์ นั (Person Product Moment Correlation) เพอ่ื ทดสอบสมมตฐิ านขอ้ ท่ี 2 ดงั ต่อไปนี้ 1) สมมตฐิ านข้อท่ี 1 ปัจจยั ดา้ นขอ้ มลู ส่วนบคุ คลท่ีแตกตา่ งกันส่งผลต่อคณุ ภาพชวี ิตในการทางาน ของพนักงานบริษัท ปนู ซเี มนตไ์ ทยจากัด (มหาชน) ในหน่วย Workplace Solution สมมตฐิ านข้อที่ 1.1 ลกู จา้ งเพศชายและเพศหญงิ มีคณุ ภาพชีวิตในการทางานทีแ่ ตกตา่ งกัน สมมติฐานข้อที่ 1.2 ลูกจ้างทมี่ ีอายุแตกต่างกันจะมีคณุ ภาพชีวิตในการทางานท่ีแตกต่างกัน สมมติฐานข้อที่ 1.3 ลูกจ้างที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกันจะมีคุณภาพชีวิตในการทางานท่ี แตกตา่ งกัน สมมติฐานข้อที่ 1.4 ลูกจ้างที่มีตาแหน่งงานแตกต่างกันจะมีคุณภาพชีวิตในการทางานท่ี แตกต่างกัน สมมติฐานข้อที่ 1.5 ลูกจ้างที่มีอายุงานในสถานประกอบกิจการปัจจุบันแตกต่างกันจะมี คุณภาพชีวติ ในการทางานที่แตกต่างกัน 2) สมมติฐานข้อท่ี 2 ปัจจัยด้านการจัดการความปลอดภัยที่แตกต่างกันส่งผลต่อคุณภาพชีวิตใน การทางานของพนักงานบริษทั ปนู ซีเมนตไ์ ทยจากัด (มหาชน) ในหนว่ ย Workplace Solution สมมตฐิ านขอ้ ท่ี 2.1 ปจั จยั ด้านนโยบายความปลอดภยั ส่งผลต่อคณุ ภาพชวี ิตในการทางาน สมมติฐานขอ้ ท่ี 2.2 ปจั จัยดา้ นการกากบั ดแู ลส่งผลตอ่ คณุ ภาพชีวติ ในการทางาน สมมติฐานขอ้ ท่ี 2.3 ปัจจัยด้านการสอ่ื สารสง่ ผลตอ่ คณุ ภาพชีวติ ในการทางาน สมมติฐานข้อที่ 2.4 ปัจจัยดา้ นการอบรมความปลอดภัยสง่ ผลต่อคุณภาพชวี ิตในการทางาน สมมตฐิ านขอ้ ท่ี 2.5 ปจั จัยด้านระบบบรหิ ารจดั การสง่ ผลตอ่ คุณภาพชีวติ ในการทางาน

บทท่ี 4 ผลการดาเนนิ การวิจัย การศึกษาและวิเคราะหก์ ารลงทุนด้านความปลอดภยั ในสถานประกอบกิจการกรณีศึกษา พนกั งาน ท่ีปฏิบัติงานกับคอมพิวเตอร์ในบริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) หน่วยงาน Workplace Solution มีวัตถุประสงค์หลัก คือ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตในการทางานของพนักงาน และมี วัตถุประสงค์รองเพ่ือ 1) ศึกษามูลค่าการลงทุนด้านการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน 2) วิเคราะห์มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจของการลงทุน โดยกลุ่มตัวอย่างคือ พนักงานในหน่วยงาน Workplace Solution ที่ปฏิบัติงานกับคอมพิวเตอร์ จานวน 41 คน โดยใช้ แบบสอบถามปัจจัยด้านการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ที่มีผล ต่อคุณภ าพชีวิตในการทางาน Quality of Working Life – Safety, Occupational Health, and Environment Questionnaire (QWL-OSHE) ซ่ึงเม่ือนาผลที่ได้จากการศึกษามาวิเคราะห์สามารถแสดงรายละเอียดของผลการวิจัยโดยตาราง ประกอบคาบรรยาย จาแนกเป็น 5 ส่วน ประกอบด้วย 1) ข้อมูลท่ัวไป 2) ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน 3) ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในการ ทางาน 4) ข้อมูลปัจจัยส่วนบุคคลท่ีส่งผลต่อคุณภาพในการทางาน 5) ข้อมูลปัจจัยด้านการจัดการความ ปลอดภัยท่ีส่งผลต่อคุณภาพชีวิตในการทางาน 6) ข้อมูลการวิเคราะห์การลงทุนด้านความปลอดภัยและ มลู ค่าเพิ่มทางเศรษฐกจิ ซึ่งมีรายละเอียด ดังน้ี 4.1 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ท่วั ไป จากจานวนกลุ่มตัวอย่างท่ีศึกษาสามารถเก็บรวบรวมข้อมูลจากการตอบกลับแบบสอบถาม ออนไลน์จานวน 41 คน เป็นเพศชายจานวน 25 คน (61%) เพศหญงิ จานวน 16 (39%) โดยกลุม่ ตัวอย่างมี อายุเฉลี่ย 39.24 ปี ซึ่งอยู่ในช่วงอายุ 25 -33 ปี จานวน 17 คน (41.50%) รองลงมาอายุ 43-51 ปี จานวน 14 คน (34.10%) ในส่วนของระดับการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาต้ังแต่ปริญญา ตรีข้ึนไป ร้อยละ 78 เมื่อจาแนกกลุ่มตัวอย่างตามตาแหน่งงานพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นพนักงาน ท่ัวไป / Staff ร้อยละ 65.90 ดงั ตารางท่ี 4.1

28 ตารางท่ี 4.1 จานวนร้อยละของ เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตาแหน่งงาน และอายุงานในสถานประกอบ กิจการปจั จุบนั ตัวแปร จานวน ร้อยละ (N = 41) 1. เพศ ชาย 25 61.00 หญงิ 16 39.00 2. อายุ (ปี) 4 9.80 ≥ 52 14 34.10 43 - 51 6 14.60 34 - 42 17 41.50 ≤ 33 ค่าเฉล่ยี (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน) 39.24 (9.41) ค่ามธั ยฐาน (คา่ ตา่ สดุ – สูงสุด) 38.00 (25 – 58) 3. ระดบั การศกึ ษา 9 22.00 ต่ากวา่ ปรญิ ญาตรี 32 78.00 ตัง้ แต่ปรญิ ญาตรขี นึ้ ไป 14 34.10 4. ตาแหนง่ งาน 27 65.90 หวั หน้างาน/เจา้ หน้าทคี่ วามปลอดภยั /วศิ วกร พนักงานท่วั ไป / Staff 7 17.10 12 29.30 5. อายงุ านในสถานประกอบกจิ การปจั จุบนั (ป)ี 22 53.70 ≥ 26 15 - 25 15.17 (9.94) ≤ 14 8.0 (4 – 35) ค่าเฉล่ยี (สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน) คา่ มัธยฐาน (ค่าต่าสดุ – สงู สุด)

29 4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางาน จากการวิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มตัวอย่างพบวา่ ในภาพรวมพนักงานมีความพึงพอใจต่อการจดั การความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.09 เม่ือจาแนกเป็นรายด้านโดยเรียงลาดับระดับความพึงพอใจจากมากไปน้อย พบว่าพนักงานมีความพึงพอใจ ต่อการจัดการความปลอดภัยฯ ในด้านนโยบายความปลอดภัยมากท่ีสุดโดยมีค่าเฉลี่ย 1.18 รองลงมาคือ ด้านการกากับดูแลความปลอดภยั ฯ และด้านการอบรมความปลอดภัยฯ มีค่าเฉลี่ย 1.10 ด้านระบบบริหาร จัดการความปลอดภัยฯ มีค่าเฉลี่ย 1.06 และด้านการส่ือสารความปลอดภัยฯ มีความพึงพอใจน้อยที่สุด มคี า่ เฉลีย่ เท่ากับ 1.04 ดังตารางท่ี 4.2 ตารางที่ 4.2 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอ้ มในการทางาน จาแนกรายด้าน การจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย x S.D. ระดับความ และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน พงึ พอใจ ดา้ นนโยบายความปลอดภยั ฯ 1.18 0.30 ปานกลาง ด้านการกากบั ดูแลความปลอดภยั ฯ 1.10 0.16 ปานกลาง ดา้ นการสอื่ สารความปลอดภัยฯ 1.04 0.14 ปานกลาง ดา้ นการอบรมความปลอดภัยฯ 1.10 0.25 ปานกลาง ดา้ นระบบบริหารจดั การความปลอดภัยฯ 1.06 0.16 ปานกลาง รวม 1.09 0.11 ปานกลาง 4.3 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลคณุ ภาพชวี ติ ในการทางาน จากการวิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มตัวอย่างพบว่าในภาพรวมพนักงานมีความพึงพอใจต่อคุณภาพชีวิต ในการทางานอยู่ในระดับมาก โดยมคี ่าเฉลย่ี เทา่ กับ 4.05 เม่อื จาแนกเป็นรายด้านโดยเรียงลาดับระดับความ พงึ พอใจจากมากไปน้อย พบว่าพนกั งานมีความพึงพอใจต่อคุณภาพชีวติ ในการทางานในด้านสภาพแวดล้อม ท่ีดีมีความปลอดภัยมากท่ีสุดโดยมีค่าเฉลี่ย 4.27 รองลงมาคือด้านความสมดุลระหว่างงานกับชีวิตส่วนตัว มคี า่ เฉลยี่ 3.88

30 เมื่อพิจารณาในด้านสภาพแวดล้อมท่ีดมี ีความปลอดภัยนนั้ เม่ือเรียงลาดับระดับความพึงพอใจจาก มากไปน้อย พบว่าพนักงานมีระดับความพึงพอใจในเร่ืองความปลอดภัยฯ ทาให้สามารถทางานได้อย่าง มีประสทิ ธภิ าพมากท่สี ุดโดยมคี า่ เฉล่ียเท่ากับ 4.56 รองลงมาคือการทางานอยา่ งปลอดภยั ช่วยประหยดั เวลา และค่าใช้จ่าย รับทราบเก่ียวกับวิธกี ารทางานอย่างปลอดภยั และได้รับการกระตุ้นให้ทางานอย่างปลอดภัย อยเู่ สมอ มคี า่ เฉลี่ยเทา่ กบั 4.51 4.42 และ 4.33 ตามลาดับ นอกจากน้ีในด้านความสมดุลระหว่างงานกับชีวิตส่วนตัว เมื่อเรียงลาดับระดับความพึงพอใจจาก มากไปน้อย พบวา่ พนกั งานมรี ะดับความพงึ พอใจในการมีสขุ ภาพกายที่ดีมากท่สี ุดโดยมีค่าเฉลย่ี เทา่ กับ 4.31 รองลงมาคือการมีสุขภาพจิตที่ดี การไม่ต้องใช้แรงกายในการทางานมากเกินไป และไม่มีปัญหาขัดแย้งกับ เพอื่ นรว่ มงาน มคี ่าเฉลีย่ เทา่ กับ 4.27 4.09 และ 4.07 ตามลาดบั ดงั ตารางท่ี 4.3 ตารางท่ี 4.3 ค่าเฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานของคณุ ภาพชวี ติ ในการทางาน คุณภาพชีวติ ในการทางาน x S.D. ระดับความ พงึ พอใจ ด้านสภาพแวดล้อมทด่ี มี ีความปลอดภยั 4.27 0.49 หนว่ ยงานใหค้ วามสาคญั กบั ความปลอดภัยฯ 4.31 0.82 มาก การทางานอย่างปลอดภัยชว่ ยประหยดั เวลาและ 4.51 0.76 มาก ค่าใชจ้ า่ ย มาก ได้รับการกระตุน้ ใหท้ างานอยา่ งปลอดภยั อยเู่ สมอ 4.33 0.80 พงึ พอใจกับความปลอดภัยฯ ในหน่วยงาน 3.80 0.89 มาก ความปลอดภยั ฯ ทาให้สามารถทางานไดอ้ ยา่ งมี 4.56 0.59 มาก ประสทิ ธิภาพ มาก ไดร้ ับความสะดวกสบายในการทางาน มีอุปกรณ์ใน 3.89 0.61 การทางานอย่างเหมาะสม มาก รับทราบเกยี่ วกบั วิธกี ารทางานอยา่ งปลอดภยั 4.42 0.69 ผู้บรหิ ารหนว่ ยงานห่วงใยสวสั ดิภาพในการทางาน 4.29 0.70 มาก ของผ้ใู ต้บังคับบญั ชา มาก

31 ตารางที่ 4.3 (ตอ่ ) ความพงึ พอใจต่อคณุ ภาพชวี ติ ในการทางาน x S.D. ระดับความ พงึ พอใจ ด้านความสมดลุ ระหวา่ งงานกบั ชีวิตส่วนตวั 3.88 ไม่ต้องทางานอยา่ งเรง่ รีบ 3.82 0.60 มาก ไม่ตอ้ งทางานหลายอย่างในเวลาเดยี วกัน 3.02 1.01 มาก ไมร่ ้สู กึ เครยี ดและกังวลเกยี่ วกบั การทางาน 3.56 1.20 ปานกลาง ไมต่ ้องใชแ้ รงกายในการทางานมากเกินไป 4.09 0.89 ปานกลาง ไมต่ ้องแก้ไขงานของทา่ นบ่อย ๆ 3.93 0.67 มาก มสี ขุ ภาพกายที่ดี 4.31 0.69 มาก มีสุขภาพจิตที่ดี 4.27 0.76 มาก ไมม่ ีปญั หาในการนอนหลบั 3.89 0.89 มาก ร้สู ึกพึงพอใจในงานปจั จุบนั 3.91 1.03 มาก ไม่มปี ญั หาขัดแย้งกบั เพื่อนร่วมงาน 4.07 0.87 มาก 4.05 1.05 มาก รวม 0.51 มาก 4.4 ผลการทดสอบสมมติฐานความแตกต่างของปัจจัยส่วนบุคคลกับคุณภาพชีวิตในการ ทางานด้านตา่ ง ๆ สมมติฐานข้อท่ี 1 ปัจจัยข้อมูลส่วนบุคคลที่แตกต่างกันส่งผลต่อคุณภาพชีวิตในการทางานของ พนักงานบริษทั ปูนซเี มนต์ไทย จากัด (มหาชน) หน่วยงาน Workplace Solution สมมติฐานที่ 1.1 พนกั งานเพศชายและเพศหญิงมคี ณุ ภาพชวี ติ ในการทางานท่ีแตกตา่ งกัน ดา้ นสภาพแวดล้อมที่ดีมคี วามปลอดภัย H0 : พนกั งานเพศชายและเพศหญงิ มคี วามคดิ เห็นต่อคุณภาพชวี ติ ในการทางานดา้ นสภาพแวดลอ้ ม ที่ดมี ีความปลอดภยั ไม่แตกต่างกัน H1 : พนกั งานเพศชายและเพศหญงิ มีความคิดเห็นต่อคณุ ภาพชีวติ ในการทางานด้านสภาพแวดล้อม ท่ีดีมคี วามปลอดภัยแตกต่างกัน

32 เม่ือทดสอบความแตกต่างระหว่างเพศกับคุณภาพชีวิตในการทางานด้านสภาพแวดล้อมท่ีดีมีความ ปลอดภัย พบว่า ไม่มีความแตกต่างในปัจจัยย่อยด้านสภาพแวดล้อมท่ีดีมีความปลอดภัย ดังตารางท่ี 4.4 (คา่ นัยสาคญั ทางสถติ ิ > 0.05) ตารางท่ี 4.4 แสดงคา่ สถติ คิ วามแตกตา่ งระหว่างเพศกบั คุณภาพชีวติ ในการทางานจาแนกรายดา้ น ด้านสภาพแวดล้อมที่ดี ชาย หญิง t-test p มคี วามปลอดภัย (N=25) (N=16) x S.D. x S.D. 1.23 0.23 หน่วยงานใหค้ วามสาคญั กับความ 4.08 1.04 4.41 0.71 0.28 0.78 ปลอดภัยฯ 0.55 0.59 การทางานอย่างปลอดภยั ช่วย 4.46 0.78 4.53 0.76 0.58 0.56 ประหยดั เวลาและค่าใช้จา่ ย 0.99 0.32 ไดร้ ับการกระตนุ้ ใหท้ างานอย่าง 4.23 1.09 4.38 0.66 0.83 0.41 ปลอดภยั อยเู่ สมอ พึงพอใจกบั ความปลอดภัยฯ ใน 3.92 0.95 3.75 0.88 1.20 0.24 หนว่ ยงาน 0.59 0.56 ความปลอดภัยฯ ทาใหส้ ามารถ 4.69 0.48 4.50 0.62 ทางานได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ได้รบั ความสะดวกสบายในการ 3.77 0.73 3.94 0.56 ทางาน มีอปุ กรณ์การทางานอย่าง เหมาะสม 4.62 0.51 4.34 0.75 ทราบเกีย่ วกบั วธิ ีการทางานอย่าง ปลอดภยั 4.38 0.87 4.25 0.62 ผบู้ ริหารหนว่ ยงานห่วงใยสวสั ดภิ าพ ในการทางานของผ้ใู ตบ้ ังคับบัญชา ด้านความสมดุลระหว่างงานกบั ชีวิตสว่ นตัว H0 : พนักงานเพศชายและเพศหญิงมีความคิดเห็นต่อคุณภาพชีวิตในการทางานด้านความสมดุล ระหว่างงานกับชวี ติ ส่วนตวั ไม่แตกต่างกนั H1 : พนักงานเพศชายและเพศหญิงมีความคิดเห็นต่อคุณภาพชีวิตในการทางานด้านความสมดุล ระหว่างงานกบั ชวี ิตส่วนตัวแตกตา่ งกัน

33 เมือ่ ทดสอบความแตกตา่ งระหวา่ งเพศกบั คุณภาพชีวิตในการทางานด้านความสมดลุ ระหวา่ งงานกับ ชีวิตส่วนตัว พบว่า ไม่มีความแตกต่างในปัจจัยย่อยด้านความสมดุลระหว่างงานกับชีวิตส่วนตัว ดังตารางท่ี 4.5 (ค่านยั สาคญั ทางสถิติ > 0.05) ตารางที่ 4.5 แสดงค่าสถิตคิ วามแตกต่างระหว่างเพศกับคุณภาพชวี ิตในการทางานจาแนกรายด้าน ด้านความสมดุลระหว่าง ชาย หญงิ t-test p งานกับชีวติ ส่วนตัว (N=25) (N=16) x S.D. x S.D. 0.55 0.59 ไม่ต้องทางานอยา่ งเรง่ รีบ 3.69 1.11 3.88 0.98 1.18 0.24 ไมต่ ้องทางานหลายอย่างในเวลา 2.69 1.32 3.16 1.14 เดียวกัน 0.94 ไมร่ สู้ ึกเครยี ดและกังวลเก่ยี วกับการ 3.54 0.97 3.56 0.88 0.08 ทางาน 0.29 ไม่ต้องใช้แรงกายในการทางานมาก 3.92 0.64 4.16 0.68 1.06 เกินไป 0.17 ไม่ต้องแก้ไขงานของท่านบอ่ ย ๆ 4.15 0.56 3.84 0.72 1.39 0.69 มีสขุ ภาพกายท่ดี ี 4.38 0.65 4.28 0.81 0.41 0.85 มสี ุขภาพจิตที่ดี 4.31 0.75 4.25 0.95 0.19 0.42 ไมม่ ีปญั หาในการนอนหลบั 3.69 0.95 3.97 1.06 0.82 0.49 รสู้ กึ พึงพอใจในงานปจั จบุ ัน 3.77 0.93 3.97 0.86 0.69 0.79 ไม่มีปญั หาขดั แย้งกับเพือ่ นร่วมงาน 4.00 1.08 4.09 1.060 0.27 สมมติฐานที่ 1.2 พนกั งานทม่ี อี ายแุ ตกต่างกันจะมีคุณภาพชวี ติ ในการทางานท่แี ตกตา่ งกัน สาหรับค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ จะใช้การทดสอบด้วยความแปรปรวนทางเดียว (One Way Analysis of Variance) โดยใช้ระดับความเช่ือมั่นร้อยละ 95 ดังนั้นจะปฏิเสธสมมตฐิ านหลัก (H0) ก็ต่อเมื่อ ค่าความน่าจะเป็นสาหรับนัยสาคัญทางสถิติมีค่าน้อยกว่า 0.05 เมื่อปฏิเสธสมมติฐานหลักจะต้องทาการ เปรียบเทยี บพหคุ ูณดว้ ยวิธี LSD ตอ่ ไปว่าค่าเฉลีย่ ค่ใู ดบา้ งทแี่ ตกตา่ งกัน

34 ด้านสภาพแวดลอ้ มท่ีดีมคี วามปลอดภัย H0 : พนักงานท่มี ีอายุแตกต่างกนั มีความคิดเห็นต่อคุณภาพชีวติ ในการทางานดา้ นสภาพแวดล้อมที่ ดมี ีความปลอดภยั ไมแ่ ตกตา่ งกัน H1 : พนักงานทีม่ ีอายแุ ตกตา่ งกนั มีความคิดเห็นต่อคุณภาพชวี ิตในการทางานด้านสภาพแวดล้อมท่ี ดีมคี วามปลอดภัยแตกต่างกัน เม่ือทดสอบความแตกต่างระหว่างอายกุ ับคุณภาพชีวิตในการทางานด้านสภาพแวดล้อมที่ดีมีความ ปลอดภัย พบว่าพนักงานที่มีอายุแตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อคุณภาพชีวิตในด้านสภาพแวดล้อมท่ีดีมี ความปลอดภัยโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังตารางที่ 4.6 และได้ทาการ ทดสอบเปรยี บเทียบความแตกตา่ งระหว่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มอายเุ ป็นรายคู่ด้วยวิธี LSD ซงึ่ ไดผ้ ลดังตารางที่ 4.7 ตารางที่ 4.6 แสดงค่าสถติ ิความแตกต่างระหว่างอายุกับคุณภาพชีวิตในการทางานจาแนกรายด้าน ด้านสภาพแวดล้อมทดี่ ี ≤ 33 ปี 34 – 42 43 – 51 ≥ 52 ปี F p มีความปลอดภยั (N=17) (N=6) (N=14) (N=4) x S.D. x S.D. x S.D. x S.D. หน่วยงานให้ความสาคญั กบั 3.86 1.17 4.56 0.51 4.50 0.53 4.40 0.55 2.314 0.090 ความปลอดภัยฯ การทางานอย่างปลอดภัยช่วย 4.29 0.91 4.63 0.62 4.60 0.70 4.60 0.89 0.586 0.628 ประหยัดเวลาและค่าใช้จา่ ย ไดร้ บั การกระตุ้นใหท้ างานอย่าง 3.79 1.05 4.69 0.48 4.50 0.53 4.40 0.55 4.136* 0.012 ปลอดภัยอย่เู สมอ พงึ พอใจกบั ความปลอดภัยฯ 3.07 1.14 4.06 0.57 4.30 0.48 4.00 0.00 6.406* 0.001 ในหนว่ ยงาน ความปลอดภยั ฯ ทาใหส้ ามารถ 4.21 0.70 4.75 0.45 4.70 0.48 4.60 0.55 2.650 0.061 ทางานได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ไดร้ บั ความสะดวกสบายในการ 3.79 0.58 3.94 0.57 3.90 0.88 4.00 0.00 0.211 0.888 ทางาน มอี ุปกรณ์การทางาน อยา่ งเหมาะสม ทราบเก่ยี วกบั วิธีการทางาน 4.21 0.80 4.75 0.45 4.40 0.70 4.00 0.71 2.479 0.075 อยา่ งปลอดภัย ผู้บรหิ ารหน่วยงานหว่ งใย 3.93 0.92 4.44 0.51 4.50 0.53 4.40 0.55 1.972 0.133 สวัสดิภาพในการทางานของ ผู้ใต้บังคบั บัญชา *มนี ัยสาคญั ทางสถิติท่ีระดบั 0.05

35 ผลการวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทียบความพึงพอใจต่อคุณภาพชวี ติ ในการทางาน จาแนกตามช่วงอายุรายคู่ ด้านสภาพแวดล้อมที่ดีมีความปลอดภัย พบว่า พนักงานที่มีอายุน้อย 34 - 42 ปี และ 43 – 51 ปี มีความ น่าจะเป็นที่คุณภาพชีวิตในการทางานด้านสภาพแวดล้อมท่ีดีมีความปลอดภัยดีกว่า พนักงานที่มีอายุน้อย กว่าหรอื เท่ากับ 33 ปี และ อายตุ ง้ั แต่ 52 ปี ข้นึ ไป ดงั ตารางท่ี 4.7 ตารางที่ 4.7 ผลการเปรยี บเทียบคา่ เฉลี่ยความพึงพอใจต่อคุณภาพชวี ติ ในการทางาน จาแนกตามช่วงอายุรายคู่ ดา้ นสภาพแวดลอ้ มที่ดมี ีความปลอดภยั อายุ x อายุ 34 – 42 43 – 51 ≤ 33 ปี 3.893 ≤ 33 ปี ≥ 52 ปี x = 3.893 x = 4.477 x = 4.250 0.584* 0.532* x = 4.300 - - 0.052 0.407 - 0.177 34 – 42 ปี 4.477 0.125 - 43 – 51 ปี 4.250 ≥ 52 ปี 4.300 * มนี ัยสาคัญทางสถิติทร่ี ะดบั 0.05 ด้านความสมดลุ ระหวา่ งงานกับชีวิตส่วนตัว H0 : พนกั งานทมี่ อี ายุแตกตา่ งกนั มคี วามคดิ เห็นต่อคณุ ภาพชีวติ ในการทางานด้านความสมดุล ระหว่างงานกบั ชีวิตสว่ นตวั ไม่แตกตา่ งกัน H1 : พนักงานที่มีอายุแตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อคุณภาพชีวิตในการทางานด้านความสมดุล ระหว่างงานกบั ชวี ิตสว่ นตัวแตกต่างกัน เมื่อทดสอบความแตกต่างระหว่างอายุกับคุณภาพชีวิตในการทางานด้านความสมดุลระหว่างงาน กับชีวิตส่วนตัว พบว่าพนักงานท่ีมีอายุแตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อคุณภาพชีวิตในด้านความสมดุล ระหวา่ งงานกบั ชวี ิตส่วนตวั โดยรวมแตกตา่ งกันอย่างมยั สาคัญทางสถิติทีร่ ะดับ 0.05 ดังตารางที่ 4.8 และได้ ทาการทดสอบเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉล่ียของกลุ่มอายุเป็นรายคู่ด้วยวิธี LSD ซ่ึงได้ผล ดงั ตารางท่ี 4.9

36 ตารางท่ี 4.8 แสดงค่าสถติ ิความแตกตา่ งระหว่างอายุกบั คุณภาพชีวติ ในการทางานจาแนกรายด้าน ด้านความสมดลุ ระหวา่ ง ≤ 33 ปี 34 – 42 43 – 51 ≥ 52 ปี F p งานกับชวี ติ ส่วนตัว (N=17) (N=6) (N=14) (N=4) x S.D. x S.D. x S.D. x S.D. ไม่ต้องทางานอยา่ งเร่งรบี 3.86 0.95 3.63 1.26 4.00 0.82 4.00 0.71 0.350 0.789 ไมต่ ้องทางานหลายอย่างใน 3.07 1.00 3.50 1.32 2.40 0.97 2.60 1.34 2.118 0.113 เวลาเดยี วกนั ไม่ร้สู กึ เครียดและกังวลเก่ยี วกับ 2.93 1.07 3.88 0.62 3.70 0.82 4.00 0.00 4.253* 0.011 การทางาน ไมต่ ้องใช้แรงกายในการทางาน 3.71 0.83 4.19 0.40 4.50 0.53 4.00 0.71 3.331* 0.029 มากเกินไป ไมต่ ้องแกไ้ ขงานของท่านบอ่ ย ๆ 3.57 0.76 4.00 0.63 4.30 0.68 4.00 0.00 2.551 0.069 มีสขุ ภาพกายทดี่ ี 3.86 0.95 4.44 0.63 4.60 0.52 4.60 0.55 2.825* 0.050 มีสุขภาพจิตทีด่ ี 3.79 1.19 4.38 0.72 4.60 0.52 4.60 0.55 2.343 0.087 ไม่มปี ญั หาในการนอนหลบั 3.64 1.15 4.13 0.96 3.90 0.99 3.80 1.09 0.545 0.654 รู้สกึ พงึ พอใจในงานปัจจุบนั 3.29 1.14 4.06 0.57 4.40 0.52 4.20 0.45 4.730* 0.006 ไม่มปี ัญหาขัดแย้งกับเพอ่ื น 3.71 1.07 3.88 1.26 4.70 0.48 4.40 0.55 2.248 0.097 ร่วมงาน * มนี ยั สาคญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดับ 0.05 ผลการวเิ คราะห์เปรยี บเทียบความพงึ พอใจตอ่ คุณภาพชวี ิตในการทางาน จาแนกตามชว่ งอายรุ ายคู่ ด้านความสมดุลระหว่างงานกับชีวิตส่วนตัว พบว่า พนักงานที่มีอายุระหว่าง 34 – 42 ปี และ 43 – 51 ปี มีความน่าจะเป็นที่คุณภาพชีวติ ในการทางานด้านสภาพแวดล้อมที่ดีมีความปลอดภัยดีกว่าพนักงานที่มีอายุ นอ้ ยกว่าหรอื เทา่ กับ 33 ปี และ อายตุ ้ังแต่ 52 ปี ขนึ้ ไป ดงั ตารางที่ 4.9

37 ตารางที่ 4.9 ผลการเปรยี บเทียบคา่ เฉลยี่ ความพึงพอใจต่อคุณภาพชีวติ ในการทางาน จาแนกตามช่วงอายุรายคู่ ดา้ นความสมดลุ ระหวา่ งงานกับชวี ติ สว่ นตัว อายุ x อายุ 34 – 42 43 – 51 ≤ 33 ปี 3.543 ≤ 33 ปี ≥ 52 ปี x = 3.543 x = 4.006 x = 4.110 0.463* 0.567* x = 4.020 - - 0.104 0.477 - 0.014 34 – 42 ปี 4.006 0.090 - 43 – 51 ปี 4.110 ≥ 52 ปี 4.020 * มีนัยสาคญั ทางสถิติท่ีระดับ 0.05 สมมตฐิ านข้อที่ 1.3 พนักงานทตี่ าแหน่งงานแตกตา่ งกันมคี ุณภาพชีวิตในการทางานทีแ่ ตกตา่ งกัน ดา้ นสภาพแวดล้อมท่ดี ีมคี วามปลอดภยั H0 : พนักงานท่ีมีตาแหน่งงานแตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อคุณภาพชีวิตในการทางานด้าน สภาพแวดล้อมท่ีดีมีความปลอดภยั ไมแ่ ตกต่างกนั H1 : พนักงานท่ีมีตาแหน่งงานแตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อคุณภาพชีวิตในการทางานด้าน สภาพแวดล้อมทด่ี มี ีความปลอดภัยแตกต่างกนั เมอื่ ทดสอบความแตกต่างระหวา่ งตาแหนง่ งานกบั คุณภาพชวี ติ ในการทางานด้านสภาพแวดล้อมที่ดี มีความปลอดภัย พบว่า มคี วามแตกต่างในปัจจัยย่อยเกยี่ วกับการรบั ทราบวิธีการทางานอยา่ งปลอดภัยด้าน สภาพแวดล้อมท่ีดีมคี วามปลอดภยั โดยมคี า่ นัยสาคญั ทางสถติ เิ ทา่ กบั 0.012 ดังตารางที่ 4.10

38 ตารางท่ี 4.10 แสดงคา่ สถิตคิ วามแตกตา่ งระหว่างตาแหน่งงานกบั คุณภาพชีวิตในการทางานจาแนกตาม ดา้ นสภาพแวดล้อมทด่ี มี คี วามปลอดภยั ดา้ นสภาพแวดลอ้ มท่ีดี พนกั งานทวั่ ไป/ หวั หน้างาน/จป./ t-test p มคี วามปลอดภัย Staff วศิ วกร 0.516 (N=27) (N=14) 0.609 หน่วยงานใหค้ วามสาคัญกับความ 0.166 ปลอดภัยฯ x S.D. x S.D. 0.404 การทางานอยา่ งปลอดภยั ชว่ ย 4.27 0.91 4.42 0.51 0.372 ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย 0.344 ได้รบั การกระตนุ้ ใหท้ างานอย่าง 4.61 0.66 4.25 0.97 1.410 0.469 ปลอดภยั อยูเ่ สมอ พงึ พอใจกับความปลอดภยั ฯ ใน 4.39 0.83 4.17 0.72 0.842 0.012 หนว่ ยงาน 0.483 ความปลอดภยั ฯ ทาให้สามารถ 3.73 0.84 4.00 1.04 0.903 ทางานได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ไดร้ ับความสะดวกสบายในการ 4.61 0.56 4.42 0.67 0.958 ทางาน มีอปุ กรณ์การทางานอยา่ ง เหมาะสม 3.85 0.57 4.00 0.74 0.731 ทราบเกย่ี วกับวิธีการทางานอยา่ ง ปลอดภัย 4.58 0.56 4.00 0.85 2.635* ผูบ้ ริหารหนว่ ยงานหว่ งใยสวัสดิภาพ 4.33 0.69 4.17 0.72 0.707 ในการทางานของผูใ้ ต้บงั คบั บัญชา ด้านความสมดลุ ระหวา่ งงานกบั ชวี ิตสว่ นตัว H0 : พนักงานที่มีตาแหน่งงานแตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อคุณภาพชีวิตในการทางานด้านความสมดุล ระหวา่ งงานกับชีวติ ส่วนตัวไม่แตกต่างกนั H1 : พนักงานท่ีมีตาแหน่งงานแตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อคุณภาพชีวิตในการทางานด้านความสมดุล ระหว่างงานกับชวี ติ ส่วนตัวแตกต่างกนั

39 เม่ือทดสอบความแตกต่างระหว่างตาแหน่งงานกับคุณภาพชีวิตในการทางาน ด้านความสมดุล ระหว่างงานกับชีวิตส่วนตัว พบว่า มีความแตกต่างในปัจจัยย่อยเก่ียวกับการไม่ต้องแก้ไขงานบ่อย ๆ โดยมี คา่ นยั สาคญั ทางสถิติเทา่ กับ 0.004 ดังตารางท่ี 4.11 ตารางที่ 4.11 แสดงคา่ สถิติความแตกตา่ งระหว่างตาแหน่งงานกบั คุณภาพชีวิตในการทางานจาแนกตาม ด้านความสมดลุ ระหว่างงานกับชวี ิตสว่ นตวั ดา้ นความสมดุลระหวา่ ง พนักงานทั่วไป/ หัวหนา้ งาน/จป./ t-test p งานกับชีวติ ส่วนตวั Staff วศิ วกร (N=27) (N=14) 1.305 0.199 ไมต่ ้องทางานอย่างเรง่ รบี 1.053 0.298 ไมต่ ้องทางานหลายอยา่ งในเวลา x S.D. x S.D. เดยี วกัน 3.94 0.93 3.50 1.17 0.385 ไมร่ สู้ กึ เครยี ดและกังวลเก่ยี วกับการ 2.91 1.13 3.33 1.37 ทางาน 0.335 ไม่ต้องใชแ้ รงกายในการทางานมาก 3.48 0.83 3.75 1.06 0.878 เกินไป 0.004 ไมต่ ้องแกไ้ ขงานบ่อย ๆ 4.03 0.68 4.25 0.62 0.975 0.750 มีสขุ ภาพกายทด่ี ี 0.941 มสี ขุ ภาพจติ ที่ดี 4.03 0.53 3.67 0.98 1.217* 0.667 ไม่มีปญั หาในการนอนหลบั 4.33 0.74 4.25 0.87 0.320 0.980 รสู้ กึ พงึ พอใจในงานปัจจบุ นั 4.27 0.91 4.25 0.87 0.075 0.228 ไมม่ ีปญั หาขัดแย้งกับเพ่อื นร่วมงาน 3.85 1.00 4.00 1.13 0.433 * มนี ยั สาคัญทางสถิติท่รี ะดับ 0.05 3.91 0.88 3.92 0.90 0.025 4.18 0.92 3.75 1.36 1.223 สมมติฐานข้อท่ี 1.5 พนักงานท่ีมีอายุงานในสถานประกอบกิจการปัจจุบันแตกต่างกันจะมี คุณภาพชีวิตในการทางานทแี่ ตกตา่ งกนั ด้านสภาพแวดลอ้ มที่ดีมีความปลอดภัย H0 : พนักงานท่ีมีอายุงานแตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อคุณภาพชวี ิตในการทางานด้านสภาพแวดล้อมท่ี ดีมีความปลอดภยั ไม่แตกต่างกัน

40 H1 : พนักงานท่ีมีอายุงานแตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อคุณภาพชวี ิตในการทางานด้านสภาพแวดล้อมที่ ดมี คี วามปลอดภัยแตกต่างกนั เม่ือทดสอบความแตกต่างระหว่างอายุงานกับคุณภาพชีวิตในการทางานด้านสภาพแวดล้อมท่ีดีมี ความปลอดภัย พบว่าพนกั งานท่ีมีอายุงานแตกต่างกนั มีความพึงพอใจต่อคุณภาพชีวิตในด้านสภาพแวดล้อม ทด่ี มี ีความปลอดภยั โดยรวมไมแ่ ตกต่างกนั ดังตารางท่ี 4.12 ตารางท่ี 4.12 แสดงค่าสถิติความแตกต่างระหว่างอายุงานในสถานประกอบกิจการปัจจุบันกับคุณภาพชีวติ ในการทางานจาแนกรายด้าน ด้านสภาพแวดลอ้ มทด่ี ี ≤ 14 ปี 15 – 25 ปี ≥ 26 ปี Fp มคี วามปลอดภัย (N=22) (N=12) (N=7) x S.D. x S.D. x S.D. 0.320 0.728 หนว่ ยงานให้ความสาคัญกับ 4.25 0.92 4.50 0.53 4.40 0.55 0.142 0.868 ความปลอดภัยฯ 4.50 0.76 4.63 0.74 4.40 0.89 การทางานอยา่ งปลอดภัย 0.251 0.779 ช่วยประหยดั เวลาและ 4.28 0.89 4.50 0.53 4.40 0.55 2.411 0.102 คา่ ใช้จา่ ย 3.63 0.98 4.13 0.35 4.40 0.55 1.240 0.300 ได้รับการกระตนุ้ ใหท้ างาน 4.47 0.62 4.75 0.46 4.80 0.45 อยา่ งปลอดภัยอยูเ่ สมอ 1.031 0.366 พงึ พอใจกับความปลอดภยั ฯ 3.81 0.64 4.00 0.53 4.20 0.45 ในหนว่ ยงาน 0.308 0.737 ความปลอดภยั ฯ ทาให้ 4.44 0.67 4.50 0.76 4.20 0.84 0.585 0.562 สามารถทางานได้อย่างมี 4.22 0.75 4.50 0.53 4.40 0.55 ประสทิ ธิภาพ ไดร้ ับความสะดวกสบายใน การทางาน มีอุปกรณ์การ ทางานอย่างเหมาะสม ทราบเกย่ี วกับวิธกี ารทางาน อย่างปลอดภัย ผ้บู รหิ ารหนว่ ยงานหว่ งใย สวัสดิภาพในการทางานของ ผใู้ ต้บงั คบั บญั ชา

41 ด้านความสมดลุ ระหว่างงานกับชีวิตส่วนตวั H0 : พนักงานท่ีมีอายุงานแตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อคุณภาพชีวิตในการทางานด้านความสมดุล ระหวา่ งงานกับชวี ิตส่วนตัวไม่แตกต่างกนั H1 : พนักงานที่มีอายุงานแตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อคุณภาพชีวิตในการทางานด้านความสมดุล ระหว่างงานกับชวี ติ ส่วนตัวแตกตา่ งกนั เม่อื ทดสอบความแตกตา่ งระหว่างอายุงานกับคุณภาพชวี ติ ในการทางานด้านความสมดุลระหว่างงาน กับชีวิตส่วนตัว พบว่าพนักงานท่ีมีอายุงานแตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อคุณภาพชีวิตในด้านความสมดุล ระหว่างงานกับชวี ิตส่วนตัวโดยรวมไมแ่ ตกตา่ งกนั อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ ่ี 0.05 ดงั ตารางท่ี 4.13 ตารางที่ 4.13 แสดงค่าสถิติความแตกต่างระหวา่ งอายุงานในสถานประกอบกิจการปัจจุบันกับคุณภาพชีวติ ในการทางานจาแนกรายดา้ น ด้านความสมดุลระหวา่ ง ≤ 14 ปี 15 – 25 ปี ≥ 26 ปี F p งานกับชีวิตส่วนตัว (N=22) (N=12) (N=7) x S.D. x S.D. x S.D. ไมต่ ้องทางานอยา่ งเร่งรบี 3.78 1.01 3.88 1.25 4.00 0.71 0.111 0.895 ไมต่ ้องทางานหลายอย่างในเวลา 3.22 1.07 2.38 1.51 2.80 1.30 1.746 0.187 เดยี วกนั ไมร่ ู้สกึ เครียดและกังวลเก่ยี วกับ 3.47 0.95 3.50 0.76 4.20 0.45 1.501 0.235 การทางาน ไมต่ ้องใช้แรงกายในการทางาน 4.00 0.67 4.25 0.46 4.40 0.89 1.061 0.355 มากเกินไป ไมต่ ้องแกไ้ ขงานของท่านบ่อย ๆ 3.81 0.69 4.13 0.64 4.40 0.55 2.050 0.141 มีสุขภาพกายที่ดี 4.16 0.81 4.63 0.52 4.80 0.45 2.523 0.092 มสี ุขภาพจิตท่ดี ี 4.09 0.96 4.63 0.52 4.80 0.45 2.279 0.115 ไม่มปี ัญหาในการนอนหลบั 3.91 1.06 3.88 0.83 3.80 1.30 0.023 0.977 รูส้ ึกพึงพอใจในงานปจั จบุ นั 3.75 0.95 4.38 0.52 4.20 0.45 2.033 0.144 ไมม่ ีปญั หาขดั แย้งกบั เพ่อื น 3.88 1.16 4.50 0.53 4.60 0.55 1.926 0.158 ร่วมงาน

42 4.5 ผลการทดสอบสมมติฐานความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งการจดั การความปลอดภยั กบั คณุ ภาพ ชีวิตในการทางาน สาหรับค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ จะใช้การทดสอบค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน (Spearman rank correlation coefficient) โดยใช้ระดับความเช่ือม่ันร้อยละ 95 ดังนั้นจะปฏิเสธ สมมตฐิ านหลกั (H0) กต็ อ่ เม่ือค่าความนา่ จะเปน็ สาหรบั นยั สาคญั ทางสถิตมิ ีค่าน้อยกว่า 0.05 สมมติฐานข้อที่ 2 ปัจจัยด้านการจัดการความปลอดภัยมีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตในการ ทางานของพนกั งานในสถานประกอบกจิ การ SMEs H0 : การจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานไม่มีความสัมพันธ์กับ คณุ ภาพชีวติ ในการทางาน H1 : การจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานไม่มีความสัมพันธ์กับ คณุ ภาพชีวติ ในการทางาน ผลการวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการจัดการความปลอดภัยมีความสัมพันธ์กับ คุณภาพชีวิตในการทางาน พบว่า การจัดการความปลอดภัยมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตในการ ทางานอยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถิติทรี่ ะดับ 0.01 ดงั ตารางที่ 4.14 ตารางที่ 4.14 ค่าสหสัมพันธร์ ะหว่างปัจจยั ดา้ นการจัดการความปลอดภยั ต่อคุณภาพชีวติ ในการทางาน การจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย คณุ ภาพชีวิตในการทางาน และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน r ระดบั นัยสาคญั ทางสถิติ (Sig) ** มนี ยั สาคัญทางสถิตทิ ีร่ ะดับ 0.01 0.406** (0.006) เม่ือพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการด้านความปลอดภัยกับคุณภาพชีวิตในการทางาน โดยจาแนกรายด้าน พบว่า การจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานด้าน การส่ือสาร และด้านการอบรมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตในการทางานของพนักงานอย่างมี นัยสาคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดบั 0.05

43 ตารางท่ี 4.15 ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการจัดการความปลอดภัยกับคุณภาพชีวิตในการทางาน จาแนกรายด้าน คุณภาพชีวิตในการทางาน การจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย ด้านสภาพแวดลอ้ มท่ดี ี ความสมดุลระหวา่ งงาน และสภาพแวดล้อมในการทางาน มีความปลอดภัย กับชีวิตสว่ นตวั ด้านนโยบายความปลอดภยั ระดบั นยั สาคญั ทางสถติ ิ (Sig) rr ดา้ นการกากับดูแล ระดับนัยสาคญั ทางสถิติ (Sig) 0.225 0.150 ดา้ นการสอ่ื สาร ระดบั นยั สาคญั ทางสถติ ิ (Sig) (0.137) (0.243) ดา้ นการอบรม ระดบั นัยสาคัญทางสถิติ (Sig) 0.104 0.213 ดา้ นระบบบริหารจัดการ ระดบั นยั สาคัญทางสถิติ (Sig) (0.495) (0.160) * มนี ัยสาคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ 0.05 0.309* 0.272 (0.039) (0.071) 0.450* 0.247 (0.002) (0.102) 0.272 0.087 (0.071) (0.568) ผลการทดสอบสมมตฐิ านที่ 1 ปจั จยั ดา้ นข้อมูลส่วนบคุ คลทแี่ ตกต่างกนั ส่งผลต่อคณุ ภาพชีวติ ในการ ทางานของพนักงาน พบว่าตัวแปรด้านอายุ และตาแหน่งงานเป็นไปตามสมมติฐานการวจิ ัย แต่ตัวแปรด้าน เพศ ระดับการศึกษา อายุงานปัจจุบันไม่เปน็ ไปตามสมมติฐาน ผลการทดสอบสมมติฐานท่ี 2 ปัจจัยด้านการจัดการความปลอดภัยมีความสัมพันธก์ ับคุณภาพชีวิต ในการทางานของพนกั งาน พบว่าเป็นไปตามสมมติฐาน ดงั ตารางที่ 4.16

44 ตารางที่ 4.16 สรปุ ผลการทดสอบสมมติฐาน สมมติฐานทางการวิจยั เปน็ ไปตาม ไม่เป็นไปตาม สมมติฐานการวิจัย สมมติฐานการวจิ ยั สมมติฐานท่ี 1 ปัจจัยด้านข้อมูลส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน ส่งผลตอ่ คณุ ภาพชวี ติ ในการทางานของพนกั งาน     เพศ   อายุ ระดับการศึกษา ตาแหนง่ งาน อายงุ านปัจจบุ นั สมมติฐานข้อท่ี 2 ปัจจัยด้านการจัดการความปลอดภัย มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชวี ิตในการทางานของพนักงาน 4.6 ผลการศึกษามลู ค่าการลงทุนด้านความปลอดภัย พบว่า บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) สานักงานใหญ่ หน่วยงาน Workplace Solution มี อัตราการบาดเจบ็ จากการทางานลดลงจากปี พ.ศ. 2560 อยู่ที่ 0.57 ซึ่งสามารถลดมูลค่าความสญู เสียทาง เศรษฐศาสตร์ในภาพรวมระดับประเทศ 989.52 ล้านบาท/ปี* และลดมูลค่าความสูญเสียในระดับบุคคล 73,000 บาท/ราย* ดังตารางที่ 4.17 ตารางท่ี 4.17 ผลการวเิ คราะห์มูลคา่ ความสญู เสยี ทางเศรษฐศาสตร์ ปี 2560 ปี 2561 ผลต่าง 0.57 อัตราการบาดเจ็บ รอ้ ยละ 5.57 ร้อยละ 5.00 989.52 ลา้ นบาท/ปี ลดมูลค่าความสูญเสยี ในระดับประเทศ 0.073 ล้านบาท/ราย (0.57 x 8,680)/5 ลดมลู ค่าความสูญเสียในระดับุคคล (0.57 x 0.64)/5 * หมายเหตุ : อ้างอิงจากการศึกษาวิจัยเร่ืองต้นทุนและความคุ้มค่าการลงทุนด้านความปลอดภัย ในปี พ.ศ. 2560 ซ่ึงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็น ผู้ดาเนินการศึกษา พบว่าอัตราการบาดเจ็บที่ลดลง 5% สามารถลดมูลค่าความสูญเสียทางเศรษฐศาสตร์ภาพรวมระดับประเทศ 8,680 ล้านบาท/ปี และระดับบุคคล 0.64 ลา้ นบาท/ราย