Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือฝึกอบรมการจัดการและการประเมินความเสี่ยงในที่ทำงาน สำหรับสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก (ฉบับภาษาไทย)

คู่มือฝึกอบรมการจัดการและการประเมินความเสี่ยงในที่ทำงาน สำหรับสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก (ฉบับภาษาไทย)

Published by e-Book สสปท., 2020-06-30 23:25:17

Description: เกี่ยวข้องกับด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สภาพแวดล้อมในการทำงาน Occupational Safety Health

Keywords: ปลอดภัยม,safety,Occupational,Health

Search

Read the Text Version

สถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องค์การมหาชน) Thailand Institute of Occupational Safety and Health (Public Organization) คู่มือฝึกอบรม การประเมนิ และการจัดการความเสี่ยง ในสถานทท่ี างานสาหรบั สถานประกอบกิจการ ขนาดกลางและขนาดเล็ก กระทรวงแรงงาน Ministry of Labour

โครงการความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (งานความปลอดภยั ) คมู่ ือฝึกอบรม การประเมนิ และการจดั การความเส่ยี ง ในสถานท่ีทางาน สาหรับสถานประกอบกิจการ ขนาดกลางและขนาดเลก็ องคก์ ารแรงงานระหว่างประเทศนครเจนวี า

ต้นฉบับเดิมของงานน้ี ได้จัดพิมพ์โดยสานักงานแรงงานระหว่างประเทศ นครเจนีวา ในชื่อว่า Training Package on Workplace Risk Assessment and Management for Small and Medium – Sized Enterprises และได้อนญุ าตให้จดั พมิ พ์เปน็ ภาษาไทย ลขิ สิทธ์ิ : องคก์ ารแรงงานระหวา่ งประเทศ 2013 สงวนลิขสิทธิ์ : สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) ฉบับภาษาไทย พ.ศ. 2561 ISBISNBN97987681661565555157127424 พิมพพมิ ค์ พรค์ ั้งรแ้งัรแกรกสงิ สหงิ าหคามคม25265161 จาจนาวนนวน101000เลเม่ ล่ม สิ่งพิมพ์ของสานักงานแรงงานระหว่างประเทศ ซ่ึงสอดคล้องกับหลักปฏิบัติของสหประชาชาติ ตลอดจนเนื่อหาของเรื่องที่นาเสนอภายในเล่มมิได้หมายความว่าเป็นการแสดงออกทางความ คิดเห็นใดๆ ของสานักงานฯ เก่ียวกับภาวะทางกฎหมายของประเทศใดประเทศหน่ึง พื้นที่อาณา เขตใดๆ ท่ปี ระเทศนัน้ ๆ ทรงสิทธิอ์ ยูห่ รือเกยี่ วกับการกาหนดเขตแดนของประเทศ สถาบันส่งเสริมความปลอดภัยฯ จะรับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียวต่อข้อคิดเห็นท่ีแสดงอยู่ในบทความ การศกึ ษาและสิ่งอื่นๆ ท่ีไดล้ งนามตกลง และสานักงานฯมไิ ดร้ บั รองความคิดเหน็ ต่างๆ ท่ีแสดงไว้ใน งานพิมพ์ดงั กล่าว สานักงานฯ มิได้รับรองส่ิงที่อ้างถึง ท้ังท่ีเป็นช่ือของบริษัทและผลิตภัณฑ์ทางการค้าและ กระบวนการต่างๆ และการที่มิได้อ้างถึงบริษัทผลิตภัณฑ์ทางการค้าหรือกระบวนการใดๆ เป็น พิเศษ โดยเฉพาะมิไดเ้ ป็นเคร่ืองแสดงว่า สานกั งานฯ ไม่เหน็ ด้วย

คู่มือฝึกอบรมเล่มน้ี ผลิตข้ึนภายใต้โครงการ “Linking safety and health at work to sustainable economic development: From theory and platitudes to conviction and action” (2009- 2012), สนับสนุนงบประมาณโดย Swedish International Development Cooperation Agency (SIDA) โครงการนี้ส่งเสริมให้มีการพัฒนางานด้านความปลอดภยั และอาชวี อนามัยสาหรับลูกจ้าง โดยผ่านการจัดการ ระเบียบวิธีการและข้อมูลด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ โครงการน้ีขับเคลื่อน ผ่านผมู้ ีสว่ นได้เสียไปส่มู าตรการทางปฏบิ ัติทัง้ ในระดับประเทศ ท้องถน่ิ และสถานประกอบกิจการ ผลผลติ ของ โครงการประกอบด้วยเครื่องมือการฝึกอบรม คู่มือปฏิบัติ และตัวอย่างนโยบายในการขับเคล่ือนด้าน ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในระดับประเทศและท้องถิ่น และเพื่อช่วยในการออกแบบโครงสร้างและการ ดาเนนิ งานด้านความปลอดภัยและอาชวี อนามัยตามนโยบายและโครงการต่างๆ

คานา (ต้นฉบับ) คู่มือฝึกอบรมการประเมินและการจัดการความเสี่ยงในสถานที่ทางานสาหรับสถานประกอบกิจการขนาด กลางและขนาดเล็กน้ี จัดทาขึ้นเพ่ือส่งเสริมให้นายจ้างและผู้บริหารระดับสูงในสถานประกอบกิจการขนาด กลางและขนาดเล็ก สามารถดาเนินการได้ด้วยตนเอง อันนาไปสู่การปรับปรุงงานด้านความปลอดภัยและ อาชวี อนามยั ในสถานท่ีทางาน การบาดเจบ็ และการเจ็บป่วยทเี่ กี่ยวเนื่องจากการทางาน ส่งผลกระทบต่อชีวิตความเปน็ อยู่และธุรกิจได้ เม่ือ เกิดอุบัติเหตุซ่ึงก่อให้เกิดการบาดเจ็บและเจ็บป่วยขึ้นกับลูกจ้าง ทาให้มีการสูญเสียผลผลิต เคร่ืองจักร เสียหาย ต้องจ่ายเบี้ยประกันเพิ่มขึ้น ธุรกิจขนาดเล็กส่วนใหญ่ไม่สามารถแบกรับค่าใช้จ่ายและความสูญเสีย จานวนมากๆ ได้ เพื่อหลีกเล่ียงสถานการณ์ดังกล่าวที่จะเกิดข้ึน จึงจัดทาคู่มือฝึกอบรมการประเมินและการ จดั การความเสีย่ งในสถานท่ที างานสาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก เพอื่ ใช้เปน็ แนวทาง ในการฝึกอบรมสาหรับสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก การชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยง เป็นเครื่องมือท่ีสาคัญในการจัดการความเส่ียงด้านความ ปลอดภัยและอาชีวอนามัยในสถานประกอบกิจการ ที่จะช่วยให้นายจ้างดาเนินการเชิงรุกในการค้นหาและ ชี้บ่งอันตราย เพ่ือดาเนินการแก้ไขปัญหาก่อนที่ลูกจ้างจะได้รับบาดเจ็บ หรือเจ็บป่วย จากอุบัติเหตุท่ีเกิดขึ้น คู่มือฝึกอบรมเล่มนี้ จะช่วยในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ในสถานที่ทางาน ความยากง่ายในการแก้ปัญหาขึ้นอยู่ กับความรู้ ความสามารถ และความคุ้นชินกับสถานที่ทางานของนายจ้างและลูกจ้าง คู่มือฝึกอบรมเล่มน้ีมี จุดมุ่งหมายเพื่อช่วยนายจ้างและลูกจ้างในการค้นหาวิธีการแก้ไขปัญหาท่ีเหมาะสมและประหยัดค่าใช้จ่าย เพื่อควบคุมความเสย่ี งในสถานทที่ างาน คมู่ อื ฝกึ อบรมเล่มน้ี ไดอ้ อกแบบมาเพอ่ื ชว่ ยให้ผบู้ ริหารและผทู้ ่ีปฏบิ ัติงานในสถานประกอบกิจการขนาดกลาง และขนาดเล็ก ดาเนินการเป็นขั้นเป็นตอนตามวิธีการจัดการความเสี่ยง วัตถุประสงค์ของคู่มือฝึกอบรมนี้ ต้องการให้เจ้าของ/นายจ้างของสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก หรือผู้ซึ่งรับผิดชอบตาม กฎหมายของประเทศ ให้เกิดความมั่นใจว่าการจัดการความเส่ียงเป็นส่วนหน่ึงของการดาเนินธุรกิจ ซ่ึง ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อนายจ้าง ลูกจ้าง องค์กรนายจ้าง สหภาพแรงงาน และพนักงานตรวจแรงงาน หากมี การนาคูม่ ือฝกึ อบรมนี้ไปใช้ในหน่วยงานของตน คู่มือฝึกอบรมประกอบด้วย 3 ส่วน ส่วนที่หน่ึงเป็นเคร่ืองมือท่ีใช้สาหรับการดาเนินการด้วยตนเอง ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ซึ่งช่วยสร้างความม่ันใจให้กับนายจ้างและลูกจ้างของสถานประกอบกิจการในการ ประเมินความเสี่ยงด้วยตนเอง ส่วนท่ีสองกาหนดเนอื้ หาสาหรับผู้ฝึกอบรม เพ่ือสนับสนุนหลักสูตรการอบรม การจดั การความเสี่ยง และเพื่อช่วยผ้ฝู ึกอบรมจัดทาแผนการจดั การความเสย่ี ง รวมถงึ กจิ กรรมตา่ งๆ สาหรับผู้ เขา้ รับการฝึกอบรมทจ่ี ะต้องปฏิบตั ิในกระบวนการจัดการความเสย่ี ง ส่วนทสี่ ามเปน็ ตวั อย่างการจัดการความ เสี่ยงในงานต่างๆ ของสถานประกอบกจิ การ ข้าพเจ้าหวังว่า คู่มือฝึกอบรมเล่มนี้จะเป็นเครื่องมือท่ีใช้ได้ง่าย มีความเหมาะสมในการนาไปปฏิบัติ เพื่อช่วย ให้นายจ้างและลูกจา้ งในการพิจารณาหาวธิ ีการควบคุมความเสย่ี งที่เหมาะสมและคมุ้ ค่าใชจ้ ่าย Seiji Machida ผูอ้ านวยการ Safe Work คานา ก

คานา (สสปท.) พระราชบัญญัตคิ วามปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ.2554 ซ่ึงประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันท่ี 17 มกราคม 2554 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 16 กรกฎาคม 2554 เป็นต้นมา กาหนดให้จัดต้ังสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทางาน ภายใน 1 ปีนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ และให้อยู่ภายใต้การกากับดูแลของ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน ซ่ึงพระราชบัญญัติความปลอดภัยฯ ดังกล่าว กาหนดอานาจหน้าท่ีหนึ่ง ของสถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน คอื การพฒั นาและ สนับสนุนการจัดทามาตรฐานเพ่ือส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทางาน ดงั นน้ั สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภัยฯ จึงได้จัดทาคมู่ ือฝึกอบรมการประเมนิ และการจัดการความเส่ียง ในสถานที่ทางาน สาหรับสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก เพ่ือเป็นแนวทางและช่วยให้ ผู้บริหารและผู้ท่ีปฏิบัติงานในสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก ดาเนินการตามวิธีการประเมิน และการจัดการความเส่ียงในสถานทที่ างานได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ สถาบันสง่ เสริมความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (องคก์ ารมหาชน) ข คานา

กิตติกรรมประกาศ (ตน้ ฉบับ) การพัฒนาคู่มือฝึกอบรมเล่มน้ี ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก Swedish International Development Cooperation Agency (SIDA) Mr.Peter Hurst ท่ีปรึกษาด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ได้ร่างคู่มือฝึกอบรมเล่มน้ีขึ้น และ ดาเนินการจัดฝึกอบรมหลักสูตรนาร่องร่วมกับองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ที่ประกอบด้วยผู้แทน อาชีพต่างๆ ของประเทศ Malawi โดยมี Ms.Annie Rice และ Mr.Andrew Christian จาก ILO SafeWork Programme เป็นผู้ตรวจสอบเน้ือหาทางด้านวิชาการ และมี Ms.Amélie Schmit หัวหน้าท่ี ปรึกษาด้านวชิ าการ ของ SIDA ให้การสนบั สนนุ งบประมาณและประสานงานโครงการ กิตติกรรมประกาศ (สสปท.) คู่มือฝึกอบรมฉบับแปลน้ีสาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาชว่ ยเหลือ กลั่นกรอง และเรียบเรียง จากนางสาว สุดธิดา กรุงไกรวงศ์ นางลัดดา ต้ังจินตนา และนายวิเลิศ เจติยานุวัตร ข้าราชการบานาญ กรมสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน สถาบันส่งเสรมิ ความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการางาน จึงขอขอบคุณในความอนุเคราะห์ ณ โอกาสนี้ กติ ติกรรมประกาศ ค

สารบญั คานา ............................................................................................................................................................... ก กติ ติกรรมประกาศ .......................................................................................................................................... ค บทนา .............................................................................................................................................................. 1 ความหมายของสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) ..................................................... 2 สว่ นท่ี 1 วธิ ีการประเมินความเส่ยี ง ................................................................................................................ 7 1. แนวคดิ พน้ื ฐานและนยิ ามศพั ท์เก่ยี วกบั การประเมนิ ความเสย่ี ง ........................................................................................... 9 2. การดาเนนิ การประเมินความเส่ียง ................................................................................................................................... 13 ขน้ั ตอนท่ี 1 : การชี้บง่ อนั ตราย ........................................................................................................................................ 18 ขั้นตอนที่ 2 : ระบวุ ่าใครเป็นผู้ทม่ี คี วามเสย่ี งและเสยี่ งอย่างไร ......................................................................................... 21 ขั้นตอนที่ 3 : ประเมนิ ความเสยี่ ง – พิจารณาเลือกมาตรการควบคมุ ความเสย่ี งด้านความปลอดภยั และอาชีวอนามัย .... 23 ขัน้ ตอนที่ 4 : ผ้รู ับผดิ ชอบการดาเนนิ งานประเมนิ และควบคมุ ความเสย่ี ง และกรอบระยะเวลา ...................................... 36 ขน้ั ตอนท่ี 5 : ทบทวนการประเมนิ ความเสยี่ ง และ ปรับใหเ้ ปน็ ปจั จบุ นั .......................................................................... 41 ส่วนที่ 2 เครื่องมือของผู้ฝกึ สอน .................................................................................................................. 43 1. การวางแผน การดาเนินงาน และการประเมินการฝึกอบรม : รายการตรวจสอบสาหรับผสู้ อน ....................................... 45 2. กจิ กรรมการประเมนิ ความเสี่ยง ....................................................................................................................................... 52 กิจกรรมที่ 1 ข้ันตอนท่ี 1 : ชี้บ่งอันตราย ......................................................................................................................... 53 กจิ กรรมท่ี 2 ขั้นตอนท่ี 2 : ระบวุ า่ ใครเป็นผู้ที่มคี วามเสย่ี ง และเสยี่ งอย่างไร .................................................................. 55 กิจกรรมที่ 3 ขน้ั ตอนที่ 3ก และ 3ข : ช้บี ง่ และพจิ ารณามาตรการควบคมุ ความเสยี่ ง ......................................................57 กจิ กรรมท่ี 4 ขน้ั ตอนท่ี 4 : ประเมนิ ระดับความเสยี่ งและจดั ลาดบั ดบั ความเสย่ี ง ............................................................ 59 ส่วนที่ 3 ตวั อย่างของการประเมนิ ความเสย่ี ง .............................................................................................. 61 ตวั อย่างที่ 1 : งานกอ่ อฐิ ฉาบปูน ............................................................................................................................................... 65 ตัวอยา่ งท่ี 2 : ศนู ยร์ บั แจ้งทางโทรศพั ท์ ..................................................................................................................................... 67 ตวั อย่างท่ี 3 : งานซอ่ มบารุงยานพาหนะ .................................................................................................................................. 69 ตวั อยา่ งที่ 4 : งานทาความสะอาดสานักงาน ............................................................................................................................ 71 ภาคผนวก: ข้อมูลเพมิ่ เติม ..............................................................................................................................73 สารบัญ จ



บทนา สถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็กมีความสาคัญและมีเป็นจานวนมาก สถานประกอบกิจการ หลายแห่งไม่สามารถเติบโตหรืออยู่รอดได้ เนื่องจากมีปัญหาด้านผลผลิต คุณภาพสินค้าและการบริการไม่ได้ มาตรฐาน มปี ญั หาด้านการตลาด การขาดสภาพคล่องทางการเงนิ อปุ สรรคต่างๆ ทีก่ ล่าวมาน้ี รวมถงึ การขาด การจัดการองค์กรท่ีดี เป็นผลให้เกิดอันตรายต่างๆ ในสถานที่ทางาน หากสถานประกอบกิจการขนาดกลาง และขนาดเลก็ มศี กั ยภาพในการจดั การหรือเปลย่ี นแปลงวธิ ีการทางาน โดยสามารถปรับปรุงสภาพการทางาน ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ได้ดีข้ึน ทาให้สถานประกอบกิจการมี ศักยภาพในการแข่งขันได้มากข้ึน อย่างไรก็ตามสถานประกอบกิจการยังขาดเคร่ืองมือ และเทคนิคท่ีจะไป ดาเนินงานเพอ่ื ให้เกิดการเปลย่ี นแปลง เครื่องมือหรือเทคนิคเพ่ือการปรับปรุงสภาพความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในสถานประกอบกิจการขนาด กลางและขนาดเล็กท่ีสาคัญประการหนึ่ง คือการประเมินความเส่ียงในสถานที่ทางาน ซ่ึงการประเมินความ เส่ียงเป็นส่วนหนึ่งของการประเมนิ ความเสี่ยง การประเมินความเส่ียงครอบคลุมการแก้ปัญหาต่างๆ โดยการ กาหนดนโยบายด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย จัดให้มีคณะกรรมการความปลอดภยั และอาชีวอนามยั มีการฝึกอบรมการสอ่ื สารและสารสนเทศ และการกาหนดเป้าหมายการปรับปรุงด้านความปลอดภัยและอาชี วอนามัย การประเมินและการจัดการความเส่ียงด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย เป็นเทคนิคการประเมินความ เสย่ี งท่ีใชก้ ันอยา่ งกว้างขวางในสถานประกอบกิจการตา่ งๆ ทวั่ โลก การประเมนิ ความเสี่ยงเปน็ เครอ่ื งมือที่ช่วย ประเมินความเสี่ยงซึง่ สถานประกอบกิจการทุกขนาดสามารถนาไปใช้ เพอ่ื ช่วยให้สถานทีท่ างานปลอดภัยมาก ขึ้น นา่ อยู่มากขึ้น และมปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลในการแขง่ ขันทางธุรกิจ การประเมินและการจัดการความเส่ียงเป็นเคร่ืองมือท่ีสามารถดาเนินการได้ด้วยตนเอง เคร่ืองมือน้ีเป็น แนวทางให้นายจ้างและลูกจ้างร่วมมอื กนั ดาเนินการด้วยตนเอง เพ่ือแก้ไขปัญหาด้านความปลอดภัยและอาชี วอนามยั นาไปสู่การเพิ่มผลผลติ การประเมนิ ความเส่ียง เริม่ ตน้ ด้วยการคน้ หาอันตรายในสถานท่ที างาน ตาม ด้วยการวิเคราะห์ความเส่ียงโดยใชค้ วามรู้ดา้ นความปลอดภัยและอาชีวอนามัยทมี่ ีอยู่ และประเมินความเส่ียง โดยจัดลาดับความเสี่ยง เพื่อท่ีจะจัดการควบคุมความเสี่ยง ท้ังน้ีความเสี่ยงมากท่ีสุดจะถูกนามาดาเนินการ แกไ้ ขเปน็ ลาดบั แรก และความเสี่ยงที่มีโอกาสเกิดอันตรายนอ้ ยกวา่ จะถูกนามาพิจารณาลาดับ การประเมินและการจัดการความเสี่ยงตามคู่มือน้ี สามารถนาไปใช้ในการจัดการปัญหาด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัยท่ีเกิดขึ้นได้ด้วยตนเอง โดยสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็กไม่ต้องพ่ึงพา ผู้เชีย่ วชาญจากภายนอก ทป่ี รกึ ษา หรือเจ้าหน้าที่รัฐมากเกินไปในการที่จะให้คาปรกึ ษาแนะนาและการแก้ไข ปัญหา ในการดาเนินการประเมินความเส่ียงถือเป็นหน้าท่ีของนายจ้างท่ีจะต้องรับผิดชอบและยอมรับท่ีจะ นาไปปฏบิ ัติ บทนา 1

งานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย มักถูกมองว่าเป็นงานท่ีมีเอกสารจานวนมาก มีค่าใช้จ่ายเพิ่ม มี กฎระเบียบมากท่ียากแก่การเข้าใจ ทาให้นายจ้าง ผู้บริหารระดับสูงไม่ให้ความสาคัญต่องานด้านความ ปลอดภัยและอาชีวอนามัย นายจ้าง ผู้บริหารระดับสูงส่วนใหญ่มักจะคิดว่าอุบัติเหตุในสถานประกอบ กิจการมีน้อยหรือไม่เคยเกิดอุบัติเหตุเลย และอุบัติเหตุท่ีเกิดข้ึนส่วนใหญ่เป็นส่ิงท่ีไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ แตค่ วามเปน็ จริงอบุ ัติเหตุทีเ่ กดิ ข้ึนมสี าเหตแุ ละมโี อกาสเกิดขน้ึ ได้ตลอดเวลา ซงึ่ เปน็ ส่งิ ทีส่ ามารถป้องกันได้ ส่งิ สาคญั ที่สุดที่นายจ้างและผู้บรหิ ารระดบั สูงตอ้ งมคี อื จิตสานกึ เกย่ี วกบั ความปลอดภัย ถึงแม้ว่าลูกจ้างมีสามัญสานึกในการทางานที่ปลอดภัย แต่ยังคงมีความผิดพลาดเกิดขึ้น ส่งผลให้เกิด อุบัติเหตุถึงข้ันเสียชีวิตหรือบาดเจ็บ แสดงว่าการใช้สามัญสานึกน้ันยังไม่เพียงพอ นายจ้างหลายรายต้อง เสียใจท่ีไม่ได้ดาเนินการป้องกันด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยอย่างจริงจังก่อนท่ีจะมีเหตุการณ์เกดิ อุบัติเหตุ จนกระทั่งมีลูกจ้างได้รับบาดเจ็บหรือเสียชวี ติ จากการทางาน ดังนั้น การประเมินความเส่ียงเป็น ส่ิงที่นายจ้าง และผู้บริหารระดับสูงตอ้ งนามาดาเนินการเชงิ รุก เพ่ือค้นหาความเส่ียงที่แฝงอยู่ และจัดการ แก้ไขปัญหาต่างๆ ก่อนท่ีจะเกิดอุบัติเหตุหรือการเจ็บป่วยจากการทางาน ทาให้นายจ้างสามารถดาเนิน กิจการไดอ้ ยา่ งปลอดภยั ลกู จา้ งมีสุขภาพอนามยั ดี สง่ ผลให้ผลผลิตและคณุ ภาพดีข้ึน ความหมายของสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) SMEs เป็นคาย่อของ Small and Medium-sized Enterprises หมายถึง สถานประกอบกิจการขนาด กลางและขนาดเลก็ โดยปกตปิ ระเทศในกลมุ่ สหภาพยุโรปและองค์กรระหวา่ งประเทศ นิยมใชค้ าวา่ SMEs สาหรับธุรกิจหรือสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเลก็ ส่วนประเทศสหรัฐอเมริกานิยมใชค้ าว่า SMBs (Small and Medium Businesses) ความหมายของ SMEs หรอื SMBs ไม่มกี ารกาหนดอยา่ งชัดเจน ประเทศในกลุ่มสหภาพยโุ รปเป็นผู้เริ่มให้ แนวคิดในการกาหนดคาจากัดความของคาว่า SMEs โดยกาหนดคุณสมบัติของธุรกิจหรือสถานประกอบ กิจการขนาดเล็กมาก เล็ก กลาง ตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในข้อแนะ Recommendation 2003/361/EC โดยพิจารณาจากจานวนลูกจ้างในสถานประกอบกิจการ และพิจารณาจากเงินทุนหมุนเวียนหรืองบดุล ประกอบ แลว้ แตก่ รณี สถานประกอบกจิ การ จานวนลูกจา้ ง เงินทุนหมุนเวยี น งบดลุ ขนาดกลาง < 250 ≤ € 50 m ≤ € 43 m ขนาดเลก็ < 50 ≤ € 10 m ≤ € 10 m ขนาดเลก็ มาก < 10 ≤ € 2m ≤€2m แหลง่ ข้อมลู : European Commission Enterprise and Industry. SME Definition, accessed on http://ec.europa.eu/enterprise/policies/sme/facts-figures-analysis/sme- definition/index_en.htm 2 ความหมายของสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเลก็ (SMEs)

ในประเทศสหรัฐอเมริกา Small Business Administration (SBA) Size Standard Office เป็นผู้ให้คา จากดั ความของธุรกิจหรือสถานประกอบกิจการขนาดเล็ก ซง่ึ หน่วยงานนไี้ ด้กาหนดระบบการแบ่งประเภท อุ ต ส า ห ก ร ร ม North American Industry Classification System ( NAICS) ต า ม ร หั ส ป ร ะ เ ภ ท อุตสาหกรรมโดยกาหนดตามขนาด และประเภทอุตสาหกรรม ระบบนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือสะท้อนความ แตกตา่ งของอุตสาหกรรมได้ดียิ่งขน้ึ ขอ้ กาหนดที่ใชก้ นั มากสาหรับธรุ กจิ อุตสาหกรรมขนาดเลก็ คอื ลูกจา้ ง < 500 คน สาหรบั อตุ สาหกรรมการผลิต และการทาเหมือง ลกู จา้ ง < 100 คน สาหรบั อตุ สาหกรรมการค้าสง่ รายรับตอ่ ปี < 7 ลา้ น ดอลลา่ ร์ สาหรบั อตุ สาหกรรมการค้าปลกี และบรกิ าร รายรับต่อปี < 33.5 ลา้ น ดอลลา่ ร์ สาหรับอตุ สาหกรรมก่อสร้าง รายรับต่อปี < 14 ลา้ น ดอลล่าร์ สาหรับผูร้ ับเหมาช่วง รายรับตอ่ ปี < 0.75 ลา้ น ดอลล่าร์ สาหรับอตุ สาหกรรมการเกษตร แหลง่ ขอ้ มูล : US Small Business Administration, USA, accessed on: http://www.sba.gov/content/summary-size-standards-industry หมายเหตุ : คาจากัดความของธุรกิจหรือสถานประกอบกิจการขนาดเล็ก ข้ึนอยู่กับแต่ละประเภท อุตสาหกรรมและนิยามของแต่ละประเทศ ส่ิงที่ต้องนามาพิจารณา ได้แก่ จานวนลูกจ้าง วิธีการจาแนก ประเภทอุตสาหกรรมรวมถึงรายได้จากการจาหน่ายผลผลิตสินค้าหรือบริการ มูลค่าของสินทรัพย์และผล กาไรสุทธิ โดยพิจารณาจากองคป์ ระกอบต่างๆ เพยี งองคป์ ระกอบเดยี วหรอื หลายองค์ประกอบร่วมกัน ความสาคัญของการประเมนิ ความเส่ียงในสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก โดยท่ัวไปสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็กจะมีอัตราการเกิดอุบัติเหตุ การเจ็บปว่ ยจากการ ทางานท่ีสูงกว่าขนาดอ่ืน ซ่ึงในสถานประกอบกิจการขนาดเล็ก มีอัตราการเกิดอุบัติเหตุสูงกว่าในสถาน ประกอบกิจการท่ีมีลูกจ้างมากกว่า 100 คน อยู่ 20% และในสถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างมากกว่า 1,000 คน อยู่ 40% สาเหตุท่ีทาให้สถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็กมีความเสี่ยงสูง เน่ืองจากขาดการจัดการ ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยท่ีดี และขาดการนาเอากฎระเบียบด้านความปลอดภัยและ อาชวี อนามยั มาใช้ เนื่องจาก ขาดบุคลากรด้านความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ประจาสถานประกอบกิจการ ขาดการเข้าถึงการบริการดา้ นความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ประสบการณ์ด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของนายจ้างและลูกจ้างไม่เพียงพอ เนื่องจาก ความไมแ่ น่นอนของธรุ กิจ ขอ้ จากัดของการเขา้ ถงึ ข้อมลู ข่าวสารและโอกาสในการเข้ารบั การฝึกอบรม ขอ้ จากดั ของความรดู้ า้ นความปลอดภยั เกย่ี วกับเครือ่ งจักร เคร่ืองมือ และอุปกรณ์ ขาดการรวมตัวเป็นสหภาพแรงงานในสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก การมี สหภาพแรงงานท่ีดี จะทาให้เกดิ ความร่วมมือที่ดีระหว่างนายจา้ งและลูกจ้าง บทนา 3

นายจ้างที่ละเลยการลงทุนในการดาเนินงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย จะทาให้มี ค่าใชจ้ ่ายเพิ่มมากขึ้นเม่ือเกิดอุบัติเหตแุ ละการเจบ็ ป่วย ส่งผลใหผ้ ลผลิตและความสามารถในการทา กาไรลดลง ปัจจัยต่างๆ ข้างต้น เป็นสาเหตุท่ีทาให้สถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็กมีความอ่อนแอใน การดาเนินธุรกิจ ในหลายๆ ประเทศมีกฎหมายกาหนดให้สถานประกอบกิจการดาเนินการประเมินความ เส่ียง กาหนดให้นายจ้างเปน็ ผู้รบั ผิดชอบในการดาเนินการ สถานประกอบกิจการขนาดใหญส่ ามารถจัดหา ผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยมาดาเนินการได้ แต่สถานประกอบกิจการขนาดเล็ก ไม่ สามารถจัดหาบุคลากรหรือผู้เช่ียวชาญเฉพาะด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย จึงจาเป็นต้องจัดให้มี บริการด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยให้กับกลุ่มสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก อย่างไรก็ตาม หากนา “คู่มือฝึกอบรมการประเมินความเส่ียงในสถานที่ทางาน สาหรับสถานประกอบ กิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก” ไปใช้ดาเนินการประเมินความเส่ียงด้านความปลอดภัยและอาชีวอนา มัยได้โดยไม่ยาก ด้วยข้อมูล แนวทาง และตัวอย่างในคู่มือจะช่วยสร้างความมั่นใจในการดาเนินการ และ ลูกจ้างทุกคนให้ความร่วมมือ ตามคู่มือเล่มน้ีนายจ้างสามารถค้นหาความเสี่ยงด้วยสามัญสานึกท่ีมีอยู่และ ความรู้เกี่ยวกับสภาพการทางานของลูกจ้างในสถานประกอบกิจการ ประเมินความเส่ียงและพิจารณา ดาเนินมาตรการควบคุมความเสี่ยงเพ่อื ป้องกนั และลดอบุ ัตเิ หตุรวมถึงความเจ็บป่วยจากการทางานได้ด้วย ตนเอง กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายของการนาคู่มือน้ีไปใช้ คือ นายจ้างและลูกจ้างของสถานประกอบกิจการขนาดกลางและ ขนาดเล็ก สาหรับองค์กรหรือสถานประกอบกิจการขนาดอ่ืน ก็สามารถนาความรู้จากการฝึกอบรมเร่ือง การประเมนิ ความเสี่ยงไปปรับใช้กับองค์กรของตนเองได้ กลมุ่ เปา้ หมายประกอบดว้ ย องค์กรนายจ้าง สหภาพแรงงาน งานบรกิ าร พนกั งานตรวจแรงงาน หนว่ ยงานควบคมุ กากับดแู ลความปลอดภยั และอาชีวอนามัย สหกรณ์ องค์กรสตรี องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ สถาบันฝึกวิชาชพี สถาบนั การเงินชมุ ชนรายย่อย องค์กรเศรษฐกิจเชงิ สังคม 4 ความหมายของสถานประกอบกจิ การขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs)

จดุ มงุ่ หมายของคมู่ ือฝึกอบรม คู่มือฝึกอบรมเล่มนี้ จัดทาข้ึนเพ่ือช่วยนายจ้าง ผู้บริหารและลูกจ้างในสถานประกอบกิจการขนาดกลาง และขนาดเล็ก รวมถึงผู้ให้บริการและผู้รับเหมา ในการดาเนินการปรับปรุงความปลอดภัยและ อาชีวอนามยั โดย อธบิ ายให้ทราบว่าการประเมินความเส่ียงสามารถช่วยนายจ้าง โดยความรว่ มมือของลูกจา้ งท่ีจะทา ให้สถานที่ทางานมีความปลอดภัย ลูกจ้างมีความเป็นอยู่ท่ีดีขึ้น นาไปสู่การลดค่าใช้จ่ายหรือความ สญู เสียท่ีอาจจะเกดิ ขึ้น อธิบายใหท้ ราบวา่ การประเมนิ ความเสี่ยงเป็นสว่ นหนึ่งของการประเมินความเสีย่ งในสถานที่ทางาน ซึ่งสามารถป้องกันและควบคุมการประสบอันตราย เพื่อลดการบาดเจ็บ การเจ็บป่วยจากการ ทางานลง อธิบายใหท้ ราบถงึ ภาพรวมของวธิ กี ารดาเนนิ การประเมินความเสีย่ งในสถานท่ีทางาน อธิบายให้ทราบถึงวิธีการพิจารณาดาเนนิ การปรบั ปรุงดา้ นความปลอดภัยและอาชีวอนามยั โดยใช้ ลาดับมาตรการควบคมุ ความเส่ียง อธิบายให้ทราบถึงการนาผลของการประเมินความเสยี่ ง ไปเปน็ แนวทางในการพจิ ารณาเลือก มาตรการควบคมุ ความเสี่ยงด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามยั ท่เี หมาะสม เพื่อนาไปสู่การปฏิบตั ิ การใช้คมู่ อื ฝึกอบรม ตอ้ งมีการดาเนนิ การ ดงั น้ี 1. นายจ้างและผู้บรหิ ารระดับสูงของสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก ต้องมีความเข้าใจ ถึงอันตรายและความเส่ียงที่อาจเกิดข้ึน สามารถดาเนินการประเมินความเสี่ยงได้ด้วยตนเอง โดยไม่ จาเปน็ ต้องเปน็ ผเู้ ชี่ยวชาญด้านความปลอดภยั และอาชวี อนามยั 2. นายจ้างและผู้บริหารระดับสูงของสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก ต้องได้รับการ ฝกึ อบรมความรพู้ ื้นฐาน เพอื่ ทจี่ ะนาไปดาเนินการประเมนิ ความเสยี่ งได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 3. ลูกจ้างของสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก ต้องได้รับการฝึกอบรมพ้ืนฐานการ ประเมินความเส่ยี ง เพ่อื ให้สามารถดาเนินการ ดงั น้ี (1) นาประสบการณ์และขอ้ แนะนาท่ไี ดจ้ ากการอบรมไปใช้ในการประเมินความเสยี่ ง (2) นามาตรการควบคมุ ความเสี่ยงไปปฏิบัติเพื่อการป้องกันและควบคุมใหเ้ กดิ ความปลอดภยั และอา ชีวอนามยั ก่อนทลี่ กู จา้ งจะสัมผสั กบั อนั ตราย 4. การประเมินความเส่ียงด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย เป็นเร่ืองท่ีดาเนินการได้ไม่ยากและจะ ได้รับผลตอบแทนท่ีคุ้มค่า โดยใช้ความพยายามไม่มาก และเสียค่าใช้จ่ายไม่มาก ลดการจ่ายค่า ทดแทนและเบีย้ ประกัน ส่งผลใหเ้ กิดความรูส้ กึ ทด่ี กี บั องคก์ ร บทนา 5

โครงสร้างและเน้ือหา เนอื้ หาหลกั ของคู่มือเลม่ นี้ ประกอบด้วย การประเมินความเส่ียงดา้ นความปลอดภัยและอาชวี อนามัย ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน พร้อม ตัวอยา่ งการดาเนนิ การในแต่ละขั้นตอน ลาดบั มาตรการควบคมุ ความเส่ยี ง การพจิ ารณาเลอื กและดาเนนิ การเพ่ือปรับปรงุ สภาพความ ปลอดภัยและอาชวี อนามัย พร้อมตวั อย่างการดาเนินการ รายละเอยี ดเนื้อหาของคมู่ ือ ประกอบดว้ ย แบบการประเมินความเสย่ี ง ซง่ึ สามารถนาไปใชด้ าเนินการประเมนิ ความเสี่ยง ตวั อยา่ งการประเมนิ ความเส่ยี งของแต่ละงาน 6 ความหมายของสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเลก็ (SMEs)

สว่ นท่ี 1 วธิ ีการประเมนิ ความเส่ยี ง

1. แนวคดิ พนื้ ฐานและนยิ ามศพั ท์เก่ยี วกับการประเมนิ ความเสีย่ ง แนวคิดของการประเมินความเส่ียงในสถานที่ทางาน คือ กระบวนการที่ดาเนินการอย่างต่อเน่ือง เหมือนการวนฟลิ ์มภาพยนตร์ซาๆ การประเมนิ ความเสี่ยงไม่ใช่เปน็ การดาเนินการเพียงครังเดียว เหมือนการถ่ายรูปที่เช่ือมโยงกับการตรวจสถานที่ทางาน ซ่ึงการดาเนินการประเมินความเสี่ยง สามารถนาขอ้ มูลจากการตรวจสถานทที่ างานมาใช้ประโยชน์ได้ ดังนัน จงึ จาเปน็ ตอ้ งเข้าใจความ แตกตา่ งระหว่างการตรวจสถานท่ที างานและการประเมนิ ความเส่ยี ง การประเมินความเสี่ยงท้งั 5 ข้ันตอน ควรทาความเข้าใจหลักการและนิยามศัพท์ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง อันตรายและความเสย่ี ง อันตรายและความเสี่ยงมกั ถูกใชแ้ ทนกันเป็นประจาในภาษาพูด ดังนน้ั เพ่ือป้องกนั การสับสนเม่ือต้องใช้ ในการประเมนิ ความเส่ยี ง จึงจาเป็นต้องเขา้ ใจและแยกความหมายให้ถูกต้อง ดังน้ี อันตราย (hazard) หมายถึง สิ่งใดๆ ซ่ึงมีศักยภาพก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สิน อุปกรณ์ หรือ ส่ิงแวดล้อม มีผลกระทบต่อความปลอดภัยหรือสุขภาพอนามัยของลูกจ้าง ศักยภาพที่ก่อให้เกิดความ เสียหายนี้มีอยู่หรือแฝงอยู่ในสสาร วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ เครื่องจักร หรือการปฏิบัติงานที่ไม่ถูกต้อง เหมาะสม ดังนั้น อันตราย (Hazards) จึงเป็นส่ิงใดๆ ซ่ึงอาจเป็นวัสดุต่างๆ ที่ใช้ในการทางาน อุปกรณ์ เครื่องจักร เครื่องมือ สารที่เป็นอันตราย เช่น ฝุ่น เชื้อจุลินทรีย์ท่ีทาให้เกิดโรค สารเคมีต่างๆ สารกาจัดศัตรูพืช เสียงดัง สิ่งท่ีเกิดข้ึนจากกระบวนการผลิต กระบวนการทางาน การจัดองค์กร วิธีการ หรือการ ปฏิบัติงาน รวมถึงการขนส่งและทัศนคติที่ไม่ดี เป็นต้น ท่ีมีศักยภาพก่อให้เกิดความเสียหาย การ บาดเจ็บ หรือมีผลกระทบตอ่ สุขภาพอนามัยและทรัพย์สิน ความเส่ียง (Risk) หมายถึง โอกาส หรือความเป็นไปได้ของอันตรายท่ีจะทาให้เกิดการบาดเจ็บ การเจ็บป่วย หรือความเสียหายต่อทรัพย์สิน อปุ กรณ์ หรือส่ิงแวดล้อม และความรนุ แรงของอนั ตราย ความเส่ยี ง = โอกาสทจ่ี ะเกิดอันตราย x ความรนุ แรงของอันตราย ดังน้ัน ความเส่ียงเป็นผลรวมของความเป็นไปได้ของการเกิดอันตรายที่ก่อให้เกิดการบาดเจ็บ การเจบ็ ปว่ ย หรือทรัพย์สนิ เสียหายและความรนุ แรงของอันตรายทเี่ กิดข้นึ ในขณะที่อันตราย เป็นสิ่งท่ีมีอยู่หรือแฝงอยู่ในสสารหรือกระบวนการผลิตแต่ไม่ใช่ความเสี่ยง อันตราย จะมากนอ้ ยเพยี งใดข้ึนอยู่กับมาตรการควบคมุ ปอ้ งกันที่มีอยู่และมาตรการของการลดระดับความเส่ียงท่ี วธิ กี ารประเมนิ ความเส่ยี ง 9

มเี พ่ิมเติม ตวั อย่างเช่น สารกาจดั ศัตรูพืชมีความเป็นพิษอยใู่ นตัว เป็นสารอันตราย เมื่อนามาใช้งานอาจ ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของชาวไร่ ชาวนาหรือคนงานในฟาร์ม หากมีมาตรการควบคุมอย่าง เหมาะสม ความเส่ยี งของการเกดิ อนั ตรายนนั้ ก็จะลดลง ทานองเดียวกัน ไฟฟ้า 220 โวล์ท มีอันตรายแฝงอยู่ในตัว ถ้าใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าท่ีอยู่ในสภาพท่ีปลอดภัย เชน่ มฉี นวนห้มุ ใช้เบรกเกอร์หรือสะพานไฟทเ่ี หมาะสม ใช้หมอ้ แปลงลดแรงดนั ไฟฟา้ ก็สามารถลดความ เสยี่ งลงได้ เม่ือความเส่ียงนั้นอยู่ในระดับท่ียอมรับได้ สิ่งที่ต้องนามาประเมินเพิ่มเติมก็คือ ตัวลูกจ้างหรือ ผปู้ ฏิบัตงิ าน สิง่ ทตี ้องนามาประเมินรว่ มกนั ได้แก่ เพศ อายุ สขุ ภาพ ศักยภาพการทางาน ความแตกต่างระหว่างความปลอดภัยและสขุ ภาพอนามยั ในการดาเนินการประเมินความเสี่ยง จะต้องพิจารณาทั้งความเสี่ยงของการเกิดอันตรายด้านความ ปลอดภัยและความเสย่ี งท่ีเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัยดว้ ย โดยเฉพาะอย่างย่ิงการประเมนิ ผลกระทบ ตอ่ สขุ ภาพในระยะยาว ความเสี่ยงของอันตรายด้านความปลอดภัย โดยทั่วไปจะเห็นได้ชัดเจน และนายจ้างให้ความสนใจ เนื่องจากเป็นความเส่ียงท่ีเห็นได้ชัดเจน เช่น การไม่มีท่ีครอบส่วนที่เป็นอันตรายของเคร่ืองจักร (เครื่อง ปั๊ม เคร่อื งตัด ฯลฯ) การบาดเจบ็ จะเกดิ ขนึ้ ทนั ทแี ละเหน็ ไดช้ ัดเจนทง้ั หมด ความเส่ียงท่ีเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัย จะเห็นได้ไม่ชัดเจนนัก นายจ้างจึงให้ความสนใจน้อย ปัญหาสุขภาพที่มีสาเหตุจากการทางาน ได้แก่ การเจ็บป่วย หรือโรคจากการทางาน ในบางรายอาจ เกิดขึ้นโดยไม่ปรากฏให้เห็นชัดเจนจนกระทั่งเกิดการเจ็บป่วยมากข้ึน การวินิจฉัยการเจ็บป่วยหรือการ เกิดโรคที่พบในระยะแรกเริ่มทาให้รักษาได้ง่ายและอาจช่วยชีวิต สิ่งที่ต้องนามาพิจารณา ความเสี่ยงท่ี เป็นอันตรายตอ่ สุขภาพอนามยั ได้แก่ สิ่งที่สมั ผัส ปริมาณ ความถี่ ระยะเวลาและลักษณะของการสัมผัส ตัวอย่างเช่น การสัมผัสสารเคมีกาจัดศัตรูพืช สารกาจัดแมลง สารกาจัดเช้ือรา สารกาจัดหนอน เป็นต้น นอกจากจะมีผลกระทบต่อสุขภาพทันทีหรือเฉียบพลันจากสารเคมีดังกล่าวแล้ว ยังมีผลให้เกิด มะเร็งในระยะเวลาต่อมาอีกด้วย ซึ่งบางคร้ังอาจใช้เวลานานกว่า 20 ปี ผลท่ีเกิดข้ึนน้ันจะสัมพันธ์ กบั การสมั ผัสในปรมิ าณต่า ซา้ ๆ หรอื เปน็ เวลานานๆ การสัมผัสสารอินทรีย์ในรูปของฝุ่นจากพืช หรือสัตว์ อาจทาให้เกิดโรคหอบหืดได้ ซ่ึงอาจใช้เวลา หลายปีจงึ จะปรากฏอาการและมผี ลทาให้เกดิ การเจ็บปว่ ยเรอ้ื รงั หากมกี ารสัมผสั ซา้ ๆ การยกของหนักท่ีอยู่ในลักษณะไม่สมดุล ซ้าๆ เป็นเวลานานๆ ทาให้เกิดอาการปวดเมื่อย กล้ามเน้ือแบบถาวรได้ การเจ็บป่วยเร้ือรัง หมายถึง ปัญหาสุขภาพ ซึ่งไม่สามารถรักษาให้หายขาดหรือกลับคืนสู่สภาพ ปกตไิ ด้ 10 วธิ กี ารประเมินความเสย่ี ง

ความเครียดจากการทางาน ผลของความเครียดเป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ต้องนามาพิจารณาในการประเมินความ เส่ยี ง ซง่ึ มีผลกระทบตอ่ สุขภาพในระยะยาว ความเครียดนเ้ี ป็นสว่ นหนง่ึ ของ “อนั ตรายทางจติ วทิ ยาสงั คม” ขอบเขตของการประเมินความเสยี่ ง ขอบเขตของการประเมินความเสี่ยง ข้ึนอยู่กับขนาดของกิจการ ประเภทของสถานประกอบกิจการ ความซับซ้อนของกระบวนการผลิต และอันตรายต่างๆ ที่เก่ียวข้อง การประเมินความเส่ียงเป็น มาตรการที่นามาใช้ โดยมีการชีบ้ ่งอนั ตราย ประเมินความเสยี่ งและหามาตรการควบคุมป้องกันอันตราย ดา้ นความปลอดภยั และสุขภาพอนามัย สาหรับ สถานประกอบกิจการทั้งหมด ซึง่ ครอบคลุมทุกกิจกรรมหรือทกุ กระบวนการผลติ และ ผูป้ ฏิบัติงานทกุ คน สถานที่ทางานในแตล่ ะแผนกที่มีความเสี่ยง เชน่ แผนกซ่อมบารงุ แผนกหรือกลุ่มผปู้ ฏบิ ัติงานที่ เป็นงานเฉพาะ เช่น งานเชือ่ ม งานในท่อี ับอากาศ งานที่ตอ้ งขอใบอนญุ าตทางาน เปน็ ต้น กจิ กรรมหรือกระบวนการผลิตทอี่ าจเป็นอนั ตราย เชน่ การใช้เคร่ืองจักรหรอื เคร่ืองมอื กลในการ ขนยา้ ยวสั ดุ เปน็ ต้น สถานประกอบกิจการในแง่ของอาชวี อนามยั และความปลอดภยั สถานประกอบกิจการ กิจการ และส่วนของสถานประกอบกิจการหรือสถานประกอบกิจการมักมี ความหมายต่างกัน ในนิยามด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย สถานที่ทางาน คือ ท่ีใดๆ ท่ีเป็น พื้นท่ีทาเกษตร ทาฟาร์ม สถานท่ีก่อสร้าง โรงงานเล็กๆ ไปจนถึงโรงงานท่ีมีเคร่ืองจักรขนาดใหญ่ หรือพื้นที่จัดเก็บในคลังสินค้า กิจการ มีความหมายที่ใหญ่กว่าสถานท่ีทางาน หมายถึงทั้งองค์กร ดังนั้น จึงจาเป็นต้องตัดสินใจว่าจะทาการประเมินความเสี่ยงในระดับไหน ระดับของกิจการ ซึ่งอาจ ประกอบด้วยที่สถานท่ีทางานที่มีงานหลายอย่าง ฟาร์มที่มีพื้นที่งานหลากหลาย หรือโรงงานซ่ึงมี แผนกต่างๆ ที่มีงานไม่เหมอื นกัน แต่ถ้าเป็นสถานประกอบกิจการขนาดเล็ก อาจมีสถานที่ทางานเพียง ทเ่ี ดียว ในกรณนี ี้ คาวา่ สถานท่ที างาน กับกิจการ ก็จะมีความหมายเหมือนกัน วิธกี ารประเมินความเส่ียง 11

จะทาอยา่ งไรถา้ มีการใช้ทท่ี างานร่วมกัน ถา้ มีการใชท้ ท่ี างานรว่ มกับนายจา้ งคนอืน่ หรือทางานร่วมกบั บุคคลท่ีจา้ งตนเอง ทง้ั สองกรณีต้องกระทา ดงั น้ี บอกให้ทราบถึงความเสย่ี งเฉพาะของกจิ การท่ที า ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อนายจ้าง/ผปู้ ระกอบกจิ การ อน่ื ๆ ใหค้ วามร่วมมอื และประสานซ่ึงกันและกนั เพ่ือควบคุมความเสี่ยงดา้ นความปลอดภัยและอาชีวอนามัย การแจ้งความเส่ียงจากการทางานในสถานที่ทางานร่วมกันต่อนายจ้างและบุคคลท่ีจ้างตนเอง ทา ให้ทราบถึงการรับสัมผัสความเส่ียง และมาตรการควบคุมท่ีจาเปน็ พวกเขาต้องคดิ เรื่องความเสี่ยง ที่ลูกจ้างของเขาอาจจะได้รับจากการใช้ท่ีทางานร่วมกัน เม่ือลูกจ้างจากสถานประกอบกิจการท่ี แตกต่างกันทางานในท่ีทางานเดียวกัน พวกเขาต้องกาหนดให้มีการประเมินความเสี่ยงในงานของ ตัวเอง และใช้ข้อมูลความเสี่ยง และมาตรการตา่ งๆ รว่ มกนั เพือ่ จัดการความเสยี่ ง 12 วธิ กี ารประเมนิ ความเสี่ยง

2. การดาเนินการประเมินความเส่ียง การประเมนิ ความเสยี่ งคอื อะไร การประเมนิ ความเส่ยี งด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย เป็นการช้ีบ่งอันตราย ซึ่งอาจก่อใหเ้ กิดการ บาดเจ็บหรอื เจ็บป่วยกับผู้ปฏิบัติงาน แล้วจดั ลาดับความเส่ียง ซ่ึงเป็นการประเมินตนเองว่า มมี าตรการ ควบคุมความเส่ียงหรือมาตรการควบคุมท่ีได้ดาเนินการอยู่แล้วเพียงพอหรือไม่ ต้องเพ่ิมมาตรการ ควบคุมป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงาน ทรัพย์สินและสาธารณชนมากน้อยเพียงใด จุดมุ่งหมายของการประเมินความเส่ียงเพื่อม่ันใจว่าจะไม่มีผู้ได้รับบาดเจบ็ หรือเจ็บป่วยจากการทางาน ข้ึนอีก การประเมินความเส่ียงรวมถึงการจาแนกอันตรายท่ีปรากฏในการดาเนินกิจการ (ไม่ว่าจะเกิดจาก กิจกรรมการทางาน หรือกิจกรรมอ่ืนๆ) และให้น้าหนักความเส่ียงโดยพิจารณาจากมาตรการควบคุม ป้องกนั ความเส่ียงทีม่ อี ยู่ และตดั สนิ ใจว่าจะต้องเพม่ิ ประเดน็ ใดเพ่ือไม่ใหเ้ กดิ อันตรายมากขน้ึ ผลของการประเมินความเส่ียงจะนามาใชส้ าหรับพจิ ารณามาตรการควบคุมป้องกันความเสี่ยง ซง่ึ ช่วยให้ นายจ้างสามารถเลือกมาตรการควบคุมป้องกันความเสี่ยงรูปแบบใดเหมาะสมที่สุดท่ีจะนามาใช้เป็น วิธกี ารปฏิบัติงานท่ดี สี าหรับลูกจ้าง มาตรการควบคุมป้องกันความเส่ียง เป็นการนาลาดับความเส่ียงท่ีได้จากการประเมินความเส่ียงมา พิจารณาดาเนินการเพื่อลดความเส่ียง โดยท่ีการชี้บ่งอันตรายจะทาให้ทราบว่าผู้ใดมีโอกาสได้รับ อนั ตราย และความรุนแรงด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามยั มากน้อยเพียงใด แต่ในขณะที่มาตรการ ควบคุมปอ้ งกนั ความเส่ียงเป็นมาตรการในการลดโอกาสและลดความรุนแรงของอันตรายลง ประเด็นสาคัญในการดาเนินการประเมินความเส่ียงจะต้องไม่ซับซ้อนมากเกินไป ดังนั้นในการ ดาเนินการประเมินความเสี่ยงตอ้ งเนน้ มาตรการควบคมุ ปอ้ งกันความเส่ยี งท่ีจะนาไปใช้ เพอ่ื ให้สภาพการ ทางานปลอดภัย และลูกจ้างมีสุขภาพอนามัยดี ควรมุ่งเน้นในเรื่องการพิจารณานามาตรการควบคุม ป้องกันความเสี่ยงมาสู่การปฏิบัติ และควรนามาตรการควบคุมป้องกันท่ีไม่ซับซ้อนและง่ายต่อการ ปฏิบัติมาใช้ดาเนินการในสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก เช่น หากมีเหตุการณ์ลูกจ้าง เกิดอาการปวดหลังจากการยกและเคลื่อนย้ายของหนกั หรือลูกจ้างบาดเจบ็ จากการลนื่ ล้ม ให้พิจารณา ตรวจสอบด้วยตนเองว่ามาตรการควบคุมป้องกันความเสี่ยงท่ีมีอยู่เหมาะสมและเพี ยงพอหรือไม่ท่ีจะ หลีกเลี่ยงการบาดเจ็บที่จะเกิดขึ้น มาตรการควบคุมความเส่ียงต่างๆ สามารถดาเนินการได้โดยการมี สว่ นรว่ มของนายจ้างและลูกจา้ งใหม้ ากท่สี ดุ เทา่ ท่ีทาได้ การประเมนิ ความเส่ียง – กระบวนการ 5 ข้ันตอน ผู้ดาเนินการประเมินความเสี่ยง ได้แก่ นายจ้าง เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานหรือผู้ท่ีได้รับ มอบหมาย และลกู จา้ งทเี่ กีย่ วข้อง ซึง่ ต้องดาเนินการตาม 5 ขน้ั ตอน ดงั นี้ วธิ กี ารประเมินความเสยี่ ง 13

ขั้นตอนที่ 1 ช้ีบ่งอนั ตราย โดยระบุวา่ อะไรท่เี ปน็ อันตราย ขั้นตอนที่ 2 ระบวุ ่าใครเปน็ ผู้ทม่ี คี วามเสีย่ งและเส่ยี งอยา่ งไร ขั้นตอนที่ 3 ประเมินความเส่ียง - โดยพิจารณาเลือกมาตรการควบคุมความเส่ียงด้านความ ปลอดภยั และอาชีวอนามยั ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนย่อย 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนท่ี 3ก พิจารณามาตรการควบคุมความเสยี่ งท่มี อี ยู่แล้ว (ถา้ มี) ขนั้ ตอนที่ 3ข พิจารณากาหนดมาตรการควบคุมความเสี่ยงท่ีตอ้ งเพิม่ หรือควรดาเนินการใน อนาคต สาหรับมาตรการควบคุมความเสี่ยง ต้องพิจารณาและดาเนินการตามลาดับชั้นของ มาตรการควบคุมอนั ตรายท่เี กดิ ขึ้นจากการทางาน ดงั นี้ มาตรการลาดับที่ 1: การขจัดอนั ตราย หรือการทดแทนด้วยสิ่งท่ีมีอันตราย น้อย กว่า มาตรการลาดบั ที่ 2: การใช้อุปกรณ์ เครื่องมอื เทคโนโลยี หรือระบบควบคุมทาง วศิ วกรรม มาตรการลาดับที่ 3: การกาหนดวธิ ีการปฏิบตั ิงานทีป่ ลอดภัย การจดั รูปแบบการ ทางาน การใหข้ อ้ มูลความรู้และการฝกึ อบรม มาตรการลาดับที่ 4: การดแู ลสุขอนามัยสว่ นบคุ คลและสวสั ดิการ มาตรการลาดบั ท่ี 5: การจดั อปุ กรณค์ มุ้ ครองความปลอดภยั สว่ นบคุ คล มาตรการลาดับที่ 6: การเฝ้าระวังสุขภาพอนามยั ขนั้ ตอนที่ 4 ผู้รับผิดชอบในการดาเนินการประเมินความเสี่ยง มาตรการควบคุม และกรอบ ระยะเวลา กาหนดจะแล้วเสร็จเม่ือใด โดยกาหนดวันที่แล้วเสร็จตามแผน และวันท่ี ดาเนนิ การแล้วเสรจ็ จรงิ ขนั้ ตอนท่ี 5 ทบทวนการประเมนิ ความเสีย่ ง และปรับใหเ้ ป็นปัจจุบนั แบบการประเมินความเสย่ี ง แบบการประเมินความเสี่ยง ท่ีได้จัดทาขึ้นน้ี เพื่อผู้ใช้นาไปปรับให้เหมาะสมและนาไปใช้งาน ซ่ึงเป็น แบบที่ตอ้ งดาเนนิ การ 5 ขนั้ ตอน สาหรับการประเมินความเส่ียงในการทางานในลักษณะต่างๆ 14 วธิ ีการประเมนิ ความเสย่ี ง

วธิ กี ารประเมินความเสี่ยง 15

ใครเป็นผดู้ าเนนิ การประเมินความเสย่ี ง ในหลายๆ ประเทศ การประเมินความเส่ยี งอยใู่ นความรับผิดชอบของนายจา้ ง นายจา้ งมีหนา้ ที่ สรา้ งความมั่นใจเร่ืองความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ของลูกจา้ งทเ่ี กยี่ วข้องกบั งาน จัดการเรื่องการประเมินความเส่ียง ; เลือกบุคคลที่มีสมรรถนะในการดาเนินการประเมินความ เส่ยี ง ประเมนิ ความเสย่ี งและดาเนนิ มาตรการควบคุมปอ้ งกนั ปรึกษาลูกจ้างหรือผู้แทนลูกจ้างเกี่ยวกับการประเมินความเส่ียงขององค์กร และบุคคลที่จะ ดาเนนิ การประเมนิ ความเสี่ยง รบั ผดิ ชอบการประเมินความเสยี่ ง บันทึกข้อมูลการประเมินความเสี่ยง โดยมีการปรึกษาร่วมกันระหว่างนายจ้างกับผู้แทนลูกจ้าง และ ข้อมูลดงั กลา่ ว ลกู จา้ งสามารถนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้ สร้างความม่ันใจให้กับทุกคนท่ีได้รับผลกระทบจากอันตราย โดยให้ข้อมูลเก่ียวกับอันตราย และ มาตรการควบคมุ ป้องกนั ที่มีอยู่ ถา้ นายจ้างรู้สกึ ไม่มัน่ ใจในการดาเนินงานประเมินความเสี่ยง สามารถกาหนดบุคคลท่มี ีสมรรถนะในการ ดาเนินกิจกรรมเพื่อกาหนดมาตรการควบคุมป้องกันความเส่ียงจากการบาดเจ็บและเจ็บป่วยจากการ ทางาน การเลือกบุคคลหรือผู้แทนลูกจ้างที่มีสมรรถนะในการดาเนินงานประเมินความเสี่ยง - สมรรถนะในที่น้ี หมายถึงมีความรู้ในเรื่องสถานที่ทางาน กระบวนการทางาน วิธีการปฏิบัติงานที่ดี สามารถนามาใช้ ประโยชน์ได้ บุคคลที่มีสมรรถนะ คือบุคคลท่ีมีความรู้เก่ียวกับสภาพการทางาน สิ่งแวดล้อมในการ ทางาน การชี้บ่งอันตราย ชนิดของอันตราย และระดับความเส่ียง มาตรการควบคุมป้องกันความเส่ียง และการนาไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ รวมทั้งอานาจหน้าที่ในการดาเนินการ ถ้าไม่สามารถหาผู้มีสมรรถนะดังกล่าวภายในสถานประกอบกิจการได้ ก็สามารถใช้บริการจาก บคุ คลภายนอกที่มสี มรรถนะมาช่วยได้ ในกรณีนีต้ ้องมีการตรวจสอบวา่ บุคคลดังกล่าวมีความรู้ความเข้าใจ เกย่ี วกบั กระบวนการทางาน สามารถชีบ้ ง่ และประเมินความเส่ียงในกิจกรรมต่างๆ ของงานได้ สาหรับสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก ส่วนใหญ่แล้ว ผู้ท่ีจะดาเนินการประเมินความ เสี่ยงไม่จาเป็นต้องเปน็ ผู้ที่มคี วามเชีย่ วชาญด้านความปลอดภยั และอาชีวอนามัย แต่เปน็ ผู้ท่ีมีสมรรถนะ ดังนี้ 1. มีความเขา้ ใจเร่ืองวิธกี ารประเมินความเส่ยี งทวั่ ไป 2. สามารถประยกุ ตก์ ารประเมินความเสย่ี งท่วั ไปเข้ากบั สถานที่ทางาน และงานที่มอี ยู่ไดใ้ นเร่อื ง ก. ชีบ้ ่งปัญหาดา้ นความปลอดภัยและอาชวี อนามัย ข. ประเมนิ และจดั ลาดับความต้องการทีจ่ ะดาเนินการแกป้ ัญหา 16 วธิ ีการประเมนิ ความเส่ียง

ค. เสนอทางเลอื กเพ่อื ขจดั หรือลดความเส่ยี ง ง. ประเมนิ ประสิทธิผล จ. สง่ เสริมและส่ือสารการปรบั ปรุงดา้ นความปลอดภัยและอาชวี อนามัย และวิธีการปฏิบัติงานท่ี ดี 3. มีความสามารถในการช้ีบ่งสถานการณ์ต่างๆ ที่บุคคลในสถานประกอบกิจการไม่สามารถประเมิน ความเสี่ยงได้อย่างเหมาะสม และต้องมีความสามารถในการให้คาแนะนาได้เม่ือต้องการความ ชว่ ยเหลอื นายจา้ งเป็นผูต้ ัดสินใจว่าใครเปน็ ผู้ดาเนนิ การประเมินความเสยี่ ง ซ่ึงอาจเป็น นายจา้ งเอง ลูกจา้ งทีน่ ายจ้างกาหนด บุคคลภายนอกที่ให้บริการ ในกรณีท่ีสถานประกอบกิจการไม่มีบุคคลท่ีมี สมรรถนะ ใครก็ตามทีด่ าเนินการประเมินความเสย่ี ง แม้ว่าจะเปน็ บริการจากบุคคลภายนอกก็ตาม ท้ายที่สุด นายจ้างต้องเป็นรับผดิ ชอบการประเมนิ ความเสย่ี งน้ัน การมีส่วนรว่ มของลูกจ้าง นายจ้างพึงระลึกไว้ว่า การดาเนินงานประเมินความเส่ียงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของลูกจ้าง เน่ืองจาก ลูกจ้างเป็นบุคคลที่ใกล้ชิดกับงานย่อมตระหนกั เป็นอย่างดีถึงอันตรายต่างๆ ที่พบในสถานท่ที างาน และ สามารถให้ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ เกี่ยวกบั การควบคุมป้องกันความเสี่ยงได้ดีทสี่ ุด และสามารถชว่ ย แกป้ ญั หาไดอ้ ย่างเหมาะสมและคมุ้ คา่ ทจี่ ะนาไปดาเนินการ แม้ว่าการดาเนินการประเมินความเสี่ยงเป็นหน้าท่ีความรับผิดชอบของนายจ้าง/เจ้าของกิจการ แต่ ลูกจ้างต้องมีส่วนร่วมในการดาเนินการประเมินความเส่ียง เนื่องจากลูกจ้างเป็นบุคคลที่ใกล้ชิดกับงาน ย่อมตระหนักเป็นอย่างดีถึงอันตรายต่างๆ ที่พบในสถานท่ีทางาน ดังน้ันลูกจ้างย่อมดาเนินการได้ดี ถูกต้อง เหมาะสม และเป็นการแกป้ ัญหาได้อย่างคุ้มคา่ การดาเนินการประเมินความเส่ียงไม่ควรดาเนินการโดยนายจ้างหรือผู้แทนนายจ้างในลักษณะต่างคน ต่างทาเพียงฝ่ายเดียว ควรมีลูกจ้างหรือผู้แทนลูกจ้าง เข้ามามีส่วนร่วมโดยปรึกษาหารือร่วมกัน ใน กระบวนการช้ีบ่งอันตราย การประเมินความเสี่ยง และมาตรการควบคุมป้องกันความเส่ียง รวมทั้ง สรปุ ผลการดาเนินงาน วธิ กี ารประเมินความเสยี่ ง 17

ขนั้ ตอนท่ี 1 การชบ้ี ง่ อันตราย ตารางท่ี 2 ขั้นตอนท่ี 2 ขั้นตอนท่ี 3 ขนั้ ตอนที่ 4 ขัน้ ตอนที่ 1 ใครทม่ี ีความเสีย่ ง มาตรการ มาตรการ ช่อื กาหนด วนั ที่ อะไรที่เปน็ อันตราย และเสี่ยงอยา่ งไร ควบคุมทีม่ อี ยู่ ควบคุมท่ี ผ้รู บั ผิดชอบ วันที่แลว้ ดาเนินการ แล้ว (ถ้ามี) ตอ้ งเพม่ิ เสร็จตาม แลว้ เสรจ็ แผน จรงิ ขน้ั ตอนท่ี 5: ทบทวนการประเมนิ ความเส่ียง และปรบั ให้เปน็ ปจั จุบัน ขั้นตอนแรกของการประเมินความเสี่ยง คือ มีการช้ีบ่งอันตราย โดยการสารวจพ้ืนที่ท้ังหมดในสถานท่ี ทางาน ซ่งึ เป็นขั้นตอนที่สาคัญท่ีสุดในกระบวนการประเมินความเส่ียง หากอันตรายน้ันไมถ่ ูกช้ีบ่งเราจะ ไม่ทราบถึงอันตรายที่มีหรือท่ีอาจจะเกิดข้ึน ทาให้ไม่สามารถจัดการควบคุมอันตรายนั้นได้ ดังน้ัน ส่ิง สาคญั ในขัน้ ตอนนี้ คือ จะต้องช้บี ง่ หรอื ระบอุ ันตรายทีม่ หี รอื ที่อาจจะเกดิ ขน้ึ ให้ได้ครบถว้ นมากทส่ี ุด การปฏิบัติงานในที่ทางานเป็นปกติทุกวัน อาจทาให้ผู้ปฏิบัติงานมองข้ามอันตรายบางอย่างได้ มี คาแนะนาทีจ่ ะช่วยในการช้บี ง่ อันตราย ดังนี:้ นายจ้าง หรือผู้ที่ไดร้ บั มอบหมายใหเ้ ปน็ ผปู้ ระเมนิ หรอื ผปู้ ระเมนิ จากภายนอก ควรจะ สารวจรอบๆ สถานทที่ างาน และค้นหาส่ิงซงึ่ คาดว่าอาจเป็นสาเหตุทาให้เกิดอนั ตราย ช้บี ่งกจิ กรรมและกระบวนการทางานใดที่มีโอกาสเกดิ อันตรายข้นึ มากท่ีสดุ อยสู่ ว่ นใดของสถานที่ ทางาน (โดยอาจใชแ้ บบสารวจบันทกึ ขอ้ มลู ท่สี าคญั ที่มโี อกาสเกิดอันตรายและมีความรุนแรงมาก นอ้ ยเพยี งใด) สอบถามผ้ปู ฏิบัตงิ านในพ้ืนท่ี เกย่ี วกบั อันตรายที่พบในงานที่ทาอยู่ สามารถป้องกนั อุบัติเหตุหรือ การเจ็บป่วยได้อย่างไร เน่ืองจากผู้ประเมินจากภายนอกไม่เห็นอันตรายท่ีอาจเกิดข้ึน โดยที่ ผู้ปฏิบัติงานอาจสังเกตเห็นอันตรายในงานได้ เพราะผู้ปฏิบัติงานมีความใกล้ชิดและรู้ปัญหา มากกวา่ ผูป้ ระเมินจากภายนอก ศึกษาข้อมูลการเกิดอุบัติเหตุหรือการเจ็บป่วยที่เกี่ยวเนื่องจากการทางานที่ผ่านมา ข้อมูล เหล่านัน้ จะชว่ ยในการชบ้ี ง่ อันตรายทเ่ี หน็ ไมช่ ดั เจน 18 วิธีการประเมนิ ความเสี่ยง

ให้คานึงถึงอันตรายต่อสุขภาพในระยะยาว (เช่น การสัมผัสเสียงดัง หรือวัตถุอันตราย) เช่นเดยี วกนั กบั อันตรายด้านความปลอดภยั อาจใชเ้ ครอื ขา่ ยทางการคา้ เพ่ือให้คาแนะนาท่ีเป็นประโยชน์ คู่มือและคาแนะนาของบริษัทผู้ผลิต ข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี คุณลักษณะของอุปกรณ์ เครอ่ื งมอื ตา่ ง ๆ จะเป็นข้อมูลท่ชี ่วยในการชบี้ ง่ อนั ตรายได้เป็นอย่างดี ปรกึ ษาหารือกับผปู้ ฏิบตั ิงานว่ายังมีสว่ นใดยงั ไม่มีการระบหุ รอื ชี้บง่ อนั ตรายอย่างครบถ้วน เคร่ืองมือท่ีช่วยในการชี้บง่ อันตราย ขอ้ มูลการตรวจหรอื การสารวจพื้นที่ทางานทผี่ ่านมา รายงานการเกดิ อุบตั ิเหตุหรือการเจ็บป่วยทผี่ า่ นมา ข้อสงั เกตของผูป้ ฏบิ ตั ิงานหรอื ผปู้ ระเมินแตล่ ะคน คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (ถ้าม)ี ปา้ ย หรอื สัญลักษณ์เตอื น ขอ้ มลู ด้านความปลอดภัยฯ คู่มือ คาแนะนาของบรษิ ัทผผู้ ลิต รายงานของทป่ี รึกษา (ถ้ามี) (ใส่ bullet ดว้ ย) วธิ กี ารประเมนิ ความเสี่ยง 19

ตารางที่ 3 คอลัมภ์แรกเป็นตัวอย่างอันตรายที่พบในสถานประกอบกิจการงานไม้ ในตัวอย่างระบุ อันตรายเพียง 3 เร่อื ง ซง่ึ ในความเป็นจริงอาจมีมากกวา่ น้ีจะตอ้ งระบุให้ครบถ้วน ตารางที่ 3 ขน้ั ตอนที่ 2 ขนั้ ตอนที่ 3 ขนั้ ตอนท่ี 4 ข้ันตอนท่ี 1 อะไรที่เปน็ อันตราย ใครท่มี คี วามเส่ียง มาตรการ มาตรการ ชอ่ื กาหนด วนั ท่ี และเสีย่ งอย่างไร ควบคุมทม่ี ีอยู่ ควบคุมทต่ี ้อง ผรู้ บั ผดิ ชอบ วนั ที่แล้ว ดาเนนิ การแล้ว เสร็จตาม เสร็จจรงิ แล้ว (ถ้าม)ี เพ่มิ แผน การสมั ผัสฝุ่นไม้ เคร่อื งจักร การยกเคล่ือนย้ายวัสดุ ขนั้ ตอนท่ี 5: ทบทวนการประเมินความเส่ียง และปรับใหเ้ ปน็ ปจั จบุ นั 20 วธิ ีการประเมินความเส่ยี ง

ขั้นตอนท่ี 2 ระบุวา่ ใครทม่ี คี วามเสยี่ งและเส่ยี งอยา่ งไร ตารางท่ี 4 ข้นั ตอนท่ี 1 ข้ันตอนท่ี 2 ข้นั ตอนท่ี 3 ขนั้ ตอนท่ี 4 อะไรทีเ่ ปน็ อนั ตราย ใครทม่ี คี วามเส่ยี ง มาตรการ มาตรการ ช่อื กาหนด วันที่ และเสยี่ งอย่างไร ควบคมุ ที่มีอยู่ ควบคุมที่ ผ้รู ับผิดชอบ วันทีแ่ ลว้ ดาเนนิ การ แล้ว (ถ้ามี) ตอ้ งเพม่ิ เสรจ็ ตาม แลว้ เสรจ็ จริง แผน ข้ันตอนท่ี 5: ทบทวนการประเมินความเสยี่ ง และปรับให้เป็นปจั จบุ นั สาหรบั อันตรายแตล่ ะเรือ่ งที่ได้ถูกช้ีบ่งไปแลว้ ขนั้ ตอนต่อไปคือ ต้องระบวุ ่าใครท่ีมีความเสีย่ ง และเส่ียง อย่างไร หมายความว่า ต้องช้ีบ่งกลุ่มผู้ปฏิบัติงานหรือกลุ่มที่เส่ียงต่ออันตรายให้ได้ รวมถึงสาธารณชน ตลอดจนผลกระทบดา้ นความปลอดภยั และอาชวี อนามยั ทตี่ ามมา การประเมินความเสี่ยง ไม่ได้หมายถึงเฉพาะการระบุรายช่ือบุคคลท่ีมีความเส่ียงเท่าน้ัน แต่ให้ระบุ รวมถึงกลุ่มคนท่ีมีความเส่ียงต่ออันตรายด้วย เช่น ผู้ปฏิบัติงานที่ในแผนกงานไม้ ผู้ปฏิบัติงานในแผนก ซอ่ มบารุง ผู้ปฏิบตั ิงานในโกดงั สนิ ค้า เปน็ ตน้ หากเปน็ ไปได้ใหร้ ะบจุ านวนคนในแตล่ ะกลมุ่ ด้วย อาจจาเป็นต้องระบุบุคคลอื่นที่เสี่ยงต่ออันตราย เช่น ผู้ท่ีเข้ามาส่งหรือรับสินค้า พนักงานทาความ สะอาด พนักงานซ่อมบารุง ลูกค้า ผู้ที่เกี่ยวข้อง บุคคลเหล่านี้เป็นกลุ่มที่ควรให้ความสนใจ เนื่องจาก กลุ่มคนเหล่านี้มีโอกาสได้รับอันตรายจากกระบวนการทางานของสถานประกอบกิจการ (เช่น บุคคลท่ี ผ่านไปมาบนท้องถนนในขณะทางานก่อสร้างหรือต่อเติมอาคาร) นอกจากน้ีกลุ่มคนเหล่านี้มีโอกาสนา ความเสยี่ งอืน่ มาเพ่ิมได้อกี ต้องมีความชัดเจนว่าบุคคลเหล่าน้ีมีโอกาสได้รับอันตรายอย่างไร มีลักษณะการบาดเจ็บหรือเจ็บป่วย อย่างไร โดยจะต้องประเมินอันตรายท่ีเกิดข้ึนในขณะน้ันและมีผลกระทบต่อสุขภาพในขณะน้ันอย่างไร ส่งผลในระยะยาวอย่างไร ตอ้ งให้ความสาคญั กับกลุ่มบคุ คลที่มีความเส่ียงเหล่านี้ เช่น พนักงานใหม่หรือคนงานวัยรนุ่ หญิงมีครรภ์ หรือคนพิการ กลุ่มบุคคลเหล่านี้มีความเสี่ยงเฉพาะตัวที่แตกต่างกัน ดังน้ันมาตรการควบคุมก็จะ แตกต่างกันดว้ ย วิธกี ารประเมนิ ความเสี่ยง 21

ตารางที่ 5 เป็นตัวอย่างการทางานในสถานประกอบกิจการงานไม้ ซึ่งจะกล่าวถึง ข้ันตอนท่ีสองของการ ประเมินความเส่ียง โดยระบุกลุ่มบุคคลท่ีอาจจะได้รับอันตรายต่อจากข้ันตอนที่ 1 ซึ่งเป็นเพียงตัวอย่าง เท่าน้นั อาจมรี ายละเอยี ดเพิ่มเตมิ มากกว่านไี้ ด้ ตารางท่ี 5 การกรอกรายละเอยี ดขนั้ ตอนที่ 2 ขนั้ ตอนท่ี 1 ข้ันตอนท่ี 2 ขนั้ ตอนที่ 3 ขั้นตอนท่ี 4 อะไรทีเ่ ป็น ใครทม่ี ีความเสย่ี ง และเส่ียง มาตรการ มาตรการ ชอ่ื กาหนดวันท่ี วันที่ อนั ตราย อย่างไร ควบคมุ ทมี่ อี ยู่ ควบคมุ ที่ ผรู้ ับผิดชอบ แลว้ เสรจ็ ดาเนนิ การ แล้ว (ถ้ามี) ตอ้ งเพ่มิ ตามแผน แล้วเสรจ็ จรงิ การสัมผสั ฝุน่ ลูกจ้างทุกคน (35 คน) มีความ ไม้ เสี่ยงต่อการเป็นโรคปอด เช่น หอบหืดจากการหายใจฝุ่นไม้ โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย่ า ง ย่ิ ง ลู ก จ้ า ง ท่ี ปฏิบัติงานกับ เคร่ืองตัดไม้ (15 คน) เป็นผู้ที่มีความเสี่ยงสูงต่อ การเป็นโรคปอด เนื่องจากต้อง สัมผสั ฝ่นุ ไม้โดยตรง ซ่งึ ฝนุ่ ไมน้ ี้มี โ อ ก า ส ก่ อ ให้ เกิ ด ม ะ เร็ ง โดยเฉพาะมะเร็งที่จมูก เครื่องจักร ลกู จ้างที่ปฏิบัติงานกับเครื่องตัด ไม้ (15 คน) เป็นผู้ที่มีความ เชน่ เลอื่ ยวง เส่ียงสูงมากท่ีจะได้รับบาดเจ็บ เดือน เลอ่ื ย ถงึ ข้ันรุนแรง หากสัมผัสกับส่วน สายพาน เปน็ ท่ีเคลื่อนไหวได้ของเคร่ืองจักร ต้น โดยเฉพาะอย่างย่งิ ใบเลื่อย การยก ลูกจ้างอาจมีอาการปวดเมื่อย เคลอื่ นย้ายวสั ดุ กล้ามเน้ือ ปวดหลัง จากการยก เคลื่อนย้ายสิ่งของ เช่น แผ่นไม้ ห รื อ อุ ป ก ร ณ์ เค ร่ื อ ง จั ก ร นอกจากน้ี ยังมีความเส่ียงต่อ การได้รับบาดเจ็บจากการขน ย้ า ย แ ผ่ น ไม้ ห รื อ อุ ป ก ร ณ์ เคร่ืองจักร ข้นั ตอนท่ี 5: ทบทวนการประเมินความเสยี่ ง และปรับใหเ้ ปน็ ปัจจบุ นั 22 วธิ ีการประเมินความเสีย่ ง

ขั้นตอนท่ี 3 ประเมนิ ความเสย่ี ง – พิจารณาเลอื กมาตรการควบคุมความเสีย่ งด้านความ ปลอดภัยและอาชีวอนามัย ตารางท่ี 6 ข้ันตอนท่ี 2 ขัน้ ตอนท่ี 3 ข้นั ตอนที่ 4 ข้นั ตอนท่ี 1 ใครทม่ี คี วาม มาตรการ มาตรการ ชอ่ื กาหนด วนั ที่ อะไรท่เี ปน็ อันตราย เส่ียง และเส่ยี ง ควบคมุ ทมี่ ีอยู่ ควบคุมท่ีตอ้ ง ผู้รบั ผิดชอบ วันทีแ่ ล้ว ดาเนนิ การ แล้ว (ถ้าม)ี อย่างไร เพิ่ม เสร็จตาม แลว้ เสรจ็ จริง แผน ขัน้ ตอนท่ี 5: ทบทวนการประเมนิ ความเสีย่ ง และปรบั ให้เป็นปจั จบุ นั ข้ันตอนที่ 1 ช้ีบ่งอันตราย และข้ันตอนท่ี 2 ชี้บ่งว่าใครท่ีมีความเสี่ยงและมีจานวนเท่าใด กลุ่มที่ต้องให้ ความสนใจเปน็ พิเศษคือกลุ่มคนงานใหม่ หญิงมีครรภ์ และคนพกิ าร สาหรับมาตรการในการควบคุมความเส่ียง ต้องพิจารณาและดาเนินการตามลาดับช้ันของมาตรการ ควบคมุ อนั ตรายท่เี กิดข้ึนจากการทางาน ดงั น้ี มาตรการลาดับท่ี 1: การขจัดอันตราย หรอื การทดแทนดว้ ยส่ิงท่มี อี ันตรายน้อยกวา่ มาตรการลาดบั ท่ี 2: การใชอ้ ปุ กรณ์ เครือ่ งมือ เทคโนโลยี หรอื ระบบควบคุมทางวศิ วกรรม มาตรการลาดับที่ 3: การกาหนดวิธีการปฏิบัติงานท่ีปลอดภัย การจัดรูปแบบการทางาน การให ขอ้ มูลความรแู้ ละการฝึกอบรม มาตรการลาดับท่ี 4: สุขอนามัยสว่ นบุคคลและสวสั ดิการ มาตรการลาดับที่ 5: อุปกรณค์ ุ้มครองความปลอดภยั สว่ นบคุ คล มาตรการลาดับท่ี 6: การเฝา้ ระวงั ด้านอาชีวอนามัย ลาดับชั้นของมาตรการควบคุมความเสี่ยง ถูกกาหนดร่วมกันโดยนายจ้าง ลูกจ้าง บุคลากรด้านความ ปลอดภัยและอาชีวอนามัย และผู้ที่มีประสบการณ์ เช่น การฉีดพ่นสารกาจัดศัตรูพืชในพื้นท่ีปลูกกาแฟ (ดูหนา้ ที่ 36) เป็นตวั อยา่ งการใชล้ าดบั ชั้นของมาตรการควบคุมความเส่ยี งทช่ี ัดเจน วธิ กี ารประเมินความเสยี่ ง 23

เหตุท่ีต้องดาเนินการตามลาดับช้ันของมาตรการควบคุมความเสี่ยง เพ่ือทาให้สถานที่ทางานและลูกจ้าง มีการดาเนินการควบคุมด้านความปลอดภัยอย่างเป็นข้ันเป็นตอน เช่น หากมีการชี้บ่งปัญหาหรือ อันตรายเกิดจากฝุ่น ทาให้ต้องมีการควบคุมอันตรายท่ีแหล่งกาเนิด เพื่อให้สถานที่ทางานและลูกจ้าง ปลอดภัย แทนที่จะให้ลูกจ้างแตล่ ะคนสวมหนา้ กากกรองฝุ่น ทาให้สุขภาพลกู จ้างดขี ้ึน ทานองเดียวกัน การควบคุมเสียงดังท่ีเคร่ืองจักรเป็นมาตรการป้องกันอันตรายได้ง่ายและดีกว่าการใส่อุปกรณ์ท่ีครอบหู หรือท่อี ุดหูตลอดระยะเวลาการทางาน มาตรการควบคุมลาดับที่ 6 เป็นมาตรการเฝ้าระวังด้านอาชีวอนามัย ซ่ึงเป็นเคร่ืองมือในการเฝ้าระวัง เพ่ือให้มั่นใจว่ามาตรการควบคุมนั้นสามารถป้องกันการเจ็บป่วยหรือโรคจากการทางานได้ หากการ เจบ็ ป่วยนั้นได้รับการวินจิ ฉยั แตแ่ รก และมีมาตรการดาเนินการป้องกนั หรือลดการสัมผัส จะทาใหค้ วาม เสีย่ งลดลงได้ ก่อนที่จะเกิดการเจบ็ ป่วยแบบเรอ้ื รังหรอื เจ็บปว่ ยขั้นรนุ แรง ข้ันตอนการประเมินความเส่ียง ข้ันตอนท่ี 3 ประกอบด้วย 2 ส่วน ท้ังสองส่วนนี้ใช้ลาดับชั้นของ มาตรการควบคุมความเสย่ี ง ดังนี้ ขนั้ ตอนที่ 3ก : มาตรการควบคมุ ความเส่ยี งท่มี อี ยู่ เม่ือช้ีบ่งอันตรายได้แล้ว ใหพ้ ิจารณามาตรการควบคุมความเสี่ยงด้านความปลอดภัยและอาชวี อนามัยท่ี มีอยู่ว่ามีประสิทธิภาพหรือไม่เพียงใด สามารถลดความเส่ียงด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของ ลูกจา้ งและผู้ปฏิบตั ิงานอืน่ ไดม้ ากนอ้ ยเพยี งใด การระบุมาตรการควบคุม และประเมินประสิทธิภาพของมาตรการควบคุมที่มีอยู่ ดังกล่าว จะช่วยใน การตัดสินใจว่ามาตรการควบคุมความเสี่ยงใดยังคงมีประสิทธิภาพอยู่ จะต้องกาหนดมาตรการควบคุม อ่ืนเพ่ิมเติมหรือไม่อย่างไร หากมาตรการควบคุมที่มีอยู่ มีเพียงพอท่ีจะควบคุมดูแลลูกจ้างให้ปลอดภัยก็ไม่จาที่จะต้องมีมาตรการ ควบคุมอืน่ เพ่ิมเตมิ สาหรับอันตรายน้นั ให้บนั ทึกขอ้ ความ “ไม่ต้องดาเนินการ” ในคอลมั พ์ 3ข ถ้ามาตรการควบคุมที่มีอยู่ ไม่เพียงพอท่ีจะลดความเส่ียง ในขั้นตอน ท่ี 3ข ให้ระบุมาตรการควบคุมท่ี ต้องดาเนินการเพิ่ม และให้มีการนาไปสู่การปฏบิ ตั ิ 24 วธิ กี ารประเมินความเส่ยี ง

ข้นั ตอนที่ 3ข : มาตรการควบคุมความเส่ียงท่ตี ้องเพิ่ม หรอื ควรดาเนนิ การในอนาคต ตารางท่ี 7 ข้นั ตอนท่ี 1 ข้ันตอนที่ 2 ขน้ั ตอนที่ 3 ขน้ั ตอนท่ี 4 อะไรที่เปน็ ใครทมี่ คี วาม มาตรการ มาตรการควบคมุ ท่ีต้องเพ่มิ ช่ือ กาหนด วนั ท่ี อันตราย เส่ียง และ ควบคุมทม่ี ี ผูร้ บั วนั ท่แี ล้ว ดาเนนิ การ เสย่ี งอย่างไร อยแู่ ลว้ (ถา้ ม)ี ผดิ เสร็จตาม แลว้ เสรจ็ ชอบ แผน จรงิ มาตรการลาดับท่ี 1: การขจัด อันตราย หรือการทดแทนด้วยสิ่งท่ี มีอนั ตรายน้อยกวา่ ม าต รก ารล าดั บ ท่ี 2: การใช้ อุปกรณ์ เครื่องมือ เทคโนโลยี หรือ ระบบควบคมุ ทางวศิ วกรรม มาตรการลาดับที่ 3: การกาหนด วิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย การ จัดรูปแบบการทางาน การให้ข้อมูล ความรแู้ ละการฝึกอบรม มาตรการลาดับที่ 4: สุขอนามัย ส่วนบคุ คลและสวสั ดกิ าร มาตรการลาดับท่ี 5: อุปกรณ์ ค้มุ ครองความปลอดภยั ส่วนบุคคล มาตรการลาดับท่ี 6: การเฝ้าระวัง ดา้ นอาชวี อนามยั ร ะ บุ ร า ย ล ะ เ อี ย ด ต า ม ม า ต ร ก า ร ลาดบั 1-6 ร ะ บุ ร า ย ล ะ เ อี ย ด ต า ม ม า ต ร ก า ร ลาดบั 1-6 ขน้ั ตอนท่ี 5: ทบทวนการประเมินความเสยี่ ง และปรบั ใหเ้ ปน็ ปัจจุบนั วิธกี ารใชล้ าดบั ชนั้ ของมาตรการควบคุมความเส่ยี ง ในการดาเนินการข้ันตอนที่ 3 ของการควบคุมความเส่ียง ต้องดาเนินการควบคุมความเสี่ยงในแต่ละ อันตราย ตามลาดบั ช้นั ของมาตรการควบคุมความเสย่ี ง 1-6 ดังนี้ วธิ กี ารประเมินความเส่ียง 25

มาตรการควบคุมความเสยี่ งลาดับท่ี 1: การขจัดอันตรายหรอื การทดแทนดว้ ยส่ิงทม่ี ีอนั ตรายน้อยกว่า ในการควบคุมความเส่ียง มาตรการทต่ี ้องพจิ ารณาเป็นลาดับแรก คือ การขจัดอันตรายหรอื การทดแทน ด้วยสิ่งที่มีอันตรายน้อยกว่า ซึ่งเป็นมาตรการในการควบคุมดูแลท่ีดีที่สุด เพื่อช่วยลดโอกาสหรือความ เส่ียงต่อการสัมผัสอันตรายให้น้อยลงหรือไม่มีเลยตัวอย่างการดาเนินการควบคุมความเสี่ยงด้วย มาตรการลาดับท่ี 1 มีดงั นี้ การทาเกษตรอนิ ทรยี ์ เป็นลักษณะทม่ี กี ารใชส้ ารกาจัดศตั รูพืชน้อยลง การเลือกใช้สารกาจัดศัตรูพืชท่ีมีอันตรายน้อยกว่า หรือใช้สารกาจัดศัตรูพืชชนิดเม็ดแทนชนิด ของเหลวทีต่ อ้ งฉดี พน่ ซงึ่ มโี อกาสสมั ผสั อนั ตรายมากกวา่ การเลือกใช้สารเคมีท่ีมีอันตรายน้อยกว่าแทนการใช้สารเคมีท่ีมีอันตรายมาก เช่น ใช้ร็อควูล (Rock Wool) แทนการใช้แร่ใยหิน (Asbestos) หรือปรับกระบวนการทางานให้มีอันตรายน้อย กว่า เช่น การใช้สีท่ีใช้น้าเป็นตัวทาละลาย (Water-based Paint) แทนสีท่ีใช้สารตัวทาละลาย เปน็ ตัวทาละลาย (Solvent – based Paint) การเลือกใช้อุปกรณ์เคร่ืองมือที่มีความปลอดภัยมากกว่า เช่น เครื่องมือที่ใช้ลม (Pneumatic Tool) แทนเครื่องมือทใี่ ชไ้ ฟฟา้ (Electrical Tool) การเลือกเคร่ืองจกั รทมี่ เี สียงดังนอ้ ย ทดแทนเครื่องจกั รท่ีมีเสียงดงั มาก กรณีอาคารสูง ควรออกแบบให้สามารถทาความสะอาดกระจกจากด้านในอาคาร ซึ่งปลอดภัย กว่าการทาความสะอาดจากด้านนอก หากสามารถควบคุมความเสี่ยงด้วยมาตรการลาดับที่ 1 ได้ อันตรายท่ีอาจเกิดขึ้นก็จะ “หมดไป” หรือ “น้อยลง” เนื่องจากสามารถลดความเสียงของการเกิดอันตรายลงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้หรือน้อย ดังนั้น อาจไม่จาเป็นต้องควบคุมความเส่ียงด้วยมาตรการลาดับถัดไป แต่หากไม่สามารถใช้มาตรการ ควบคุมความเส่ียงลาดับที่ 1 ได้ จะต้องใช้มาตรการควบคุมความเสย่ี งลาดับถัดไป คอื มาตรการควบคุม ความเส่ียงลาดับท่ี 2 การใช้อุปกรณ์ เคร่ืองมือ เทคโนโลยี หรือระบบควบคุมทางวิศวกรรม เพ่ือขจัด หรือลดความเส่ียงให้น้อยลง หากไม่สามารถดาเนินการได้ อาจต้องดาเนินการควบคุมความเสี่ยงใน ลาดับต่อไปเรอื่ ยๆ จนถงึ มาตรการควบคุมความเสีย่ งลาดบั ที่ 6 มาตรการควบคุมความเส่ียงลาดบั ท่ี 2 การใช้อุปกรณ์ เครอื่ งมอื เทคโนโลยี หรือระบบควบคมุ ทางวิศวกรรม หากไม่สามารถการควบคุมความเสี่ยงด้วย มาตรการควบคุมความเส่ียงลาดับท่ี 1 ได้ ก็ให้พิจารณา ดาเนินการควบคุมความเสี่ยงด้วยการใช้อุปกรณ์ เคร่ืองมือ เทคโนโลยี หรือระบบควบคุมทางวิศวกรรม เพื่อขจัดหรือลดความเสี่ยงให้น้อยลงเป็นการดาเนินการเพื่อให้สถานท่ีทางานปลอดภัย วิธีการ ดาเนินการด้วยมาตรการควบคมุ ความเส่ียงลาดับท่ี 2 ท่สี ามารถทาได้ง่ายและประหยดั ไดแ้ ก่ 26 วธิ กี ารประเมนิ ความเสี่ยง

การติดตั้งการ์ดให้กับเครื่องจักร ในกรณีท่ีผู้ผลิตไม่มีอุปกรณ์ป้องกันอย่างเพียงพอหรือเป็น เครือ่ งจกั รท่ีผลติ โดยใช้มาตรฐานเกา่ ใหต้ ิดตง้ั หรือปรับปรุงการ์ดให้เหมาะสม การควบคุมเคร่ืองจักรท่ีมีเสียงดัง ให้ติดต้ังท่ีปิดครอบกันเสียง (Soundproof Enclosure) เพ่ือ ลดระดับความดังของเสยี ง ซึง่ ยังคงมีความเส่ยี งอยู่ การแยกหรือปิดคลุมส่วนท่ีเป็นอนั ตรายของกระบวนการผลิต เชน่ แยกเครอื่ งท่ใี ช้รังสเี อ็กซ์ หรือ แยกกระบวนการทากาวด้วยสารตวั ทาละลาย (Solvent) ออกจากกระบวนการผลิตอ่ืน การติดตง้ั ราวกนั ตกรอบพื้นท่ีการทางานบนที่สงู การใช้อุปกรณท์ ม่ี ลี อ้ หรือรถเข็นเพอื่ ชว่ ยในการเคลือ่ นย้ายของหนัก การจัดพืน้ ทหี่ นา้ งาน หรือม้าน่ังใหม้ รี ะดับความสงู เหมาะสมกับลูกจ้างแต่ละคนขณะน่ังทางาน การใช้อุปกรณ์เคร่ืองมือท่ีเหมาะสมกับความสูงของลกู จ้าง เพอ่ื หลีกเลี่ยงการทางานในลกั ษณะท่ี ตอ้ งก้มหลัง การใช้ระบบปิด (Sealed Systems) ในการผสมหรอื เติมสารเคมี การใช้เครอ่ื งดดู ฝุ่นหรือระบบระบายอากาศเฉพาะที่ การจดั ใหม้ แี สงสว่างท่ีเหมาะสมและเพียงพอ จะเห็นได้ว่า การใช้อุปกรณ์ เคร่ืองมือ เทคโนโลยี หรือระบบควบคุมทางวิศวกรรม เป็นการควบคุม ความเสยี่ งในภาพรวมของพ้นื ทม่ี ากกวา่ เปน็ การควบคุมความเสี่ยงสาหรบั แตล่ ะบุคคล มาตรการควบคุมความเสย่ี งลาดบั ท่ี 3 การกาหนดวิธีการปฏิบัติงานท่ีปลอดภัย การจัดรูปแบบการทางาน การให้ข้อมูลความรู้และการ ฝึกอบรม ในการประเมินความเส่ียง จาเป็นต้องมีการตรวจสอบ และจัดทาข้ันตอนการทางานที่ปลอดภัยและมี การนาไปสู่การปฏบิ ัติ ควบคู่ไปกับการฝึกอบรม และการให้ข้อมูลข่าวสาร ซ่ึงต้องทบทวนมาตรการทไ่ี ด้ ดาเนนิ การไปแลว้ และจะตอ้ งมกี ารเพ่มิ มาตรการควบคุมความเส่ียงในเร่อื งใดบา้ ง วิธีการท่ีทาได้ง่ายและมีประสิทธิภาพมากที่สุดในการควบคุมความเสี่ยง ในทางธุรกิจที่ต้องลงทุนอย่าง คุ้มทุนท่ีสุดก็คือ การพัฒนาวิธีการปฏิบัติงานท่ีปลอดภัยและนาไปสู่การปฏิบัติ ควบคู่กับการให้ข้อมูล ความรแู้ ละการฝกึ อบรม รวมถึงการกากบั ดูแลให้มีการปฏิบตั ิซึ่งเปน็ การทางานอย่างเป็นระบบ การเกิด อบุ ตั เิ หตุและเจ็บป่วยจากการทางานส่วนใหญ่ มกั เกิดจากนายจา้ งไม่ให้ความสาคัญในการจดั ให้มีวธิ กี าร ทางานและรูปแบบการทางานที่ปลอดภัยพร้อมทั้งกากับดูแลให้มีการปฏิบัติ ผู้บริหาร หัวหน้างาน และ ลกู จา้ งขาดความรู้หรือการฝกึ อบรมทเี่ หมาะสม นายจ้าง ผู้บริหาร หัวหน้างานและลูกจ้างต้องร่วมกันหามาตรการควบคุมอันตรายในแต่ละข้ันตอนการ ทางาน นอกจากน้ัน การปรับปรุงด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยเป็นเรื่องที่เสียค่าใช้จ่ายไม่มาก และยังสง่ เสริมธรุ กจิ ให้มีประสทิ ธิภาพอีกดว้ ย วิธีการประเมินความเสย่ี ง 27

ตวั อยา่ งมาตรการควบคมุ ความเสีย่ งลาดบั ที่ 3 มีดงั น้ี จัดให้มีข้ันตอน วิธีการปฏิบัติงานและข้อแนะนาเกี่ยวกับการปฏิบัติงานอย่างปลอดภัยสาหรับ ลูกจ้าง หวั หน้างาน และผบู้ รหิ าร ท่ีเป็นลายลักษณอ์ กั ษร จัดให้มีข้อมูลความปลอดภยั และอาชีวอนามัยอย่างเหมาะสมเก่ียวกับคู่มือการปฏิบัติงาน การติด ฉลากทภี่ าชนะบรรจุ การตดิ ปา้ ยเตอื นอนั ตราย ขอ้ มลู เคมีภณั ฑ์ ฯลฯ เปน็ ภาษาไทย ออกแบบหรือวางผังสถานท่ีทางานให้เหมาะสมเพื่อหลีกเล่ียงมิให้ลูกจ้างเดินตัดหน้ารถยก (Forklift) หรือพาหนะเคลื่อนที่อื่นๆ ที่เป็นความเส่ียงของการถูกชน หรือถูกทับ เช่น แยก ทางเดินของผู้ปฏิบตั งิ านและยานพาหนะต่างๆ ออกจากกนั จัดสถานท่ีทางานให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ไม่มีส่ิงกีดขวางทางเดิน ในการกาจัดฝุ่นควรทาให้ เปียกชน้ื ก่อนเพือ่ ไมใ่ หฝ้ ่นุ ฟุ้งกระจาย ต้องม่ันใจว่า หัวหน้างานหรือผู้บริหาร ได้รับการฝึกอบรมและช้ีแนะการทางานอย่างปลอดภัยที่ เพยี งพอตอ่ การปฏิบัติงาน รวมถงึ การประเมนิ ความเสย่ี ง ขั้นตอนการทางานและการสอนงานสาหรับหัวหนา้ งานและผบู้ ริหารตอ้ งมคี วามชัดเจน ต้องมั่นใจว่า หัวหน้างานและผู้บริหารมีอานาจเพียงพอในการดาเนินการตามมาตรฐานความ ปลอดภัยและอาชวี อนามยั เช่น มีอานาจสั่งใหห้ ยดุ การทางานเมื่อเคร่อื งจักรไม่มกี าร์ดหรือการ์ด ชารุดจนกวา่ จะมีการติดต้ังการ์ดใหมห่ รอื ซ่อมการด์ ทีช่ ารดุ เสรจ็ ต้องมั่นใจว่า มีมาตรฐานการทางาน (Work Procedure) อย่างปลอดภัยในสถานที่ทางาน เช่น ขณะหัวหน้างานไม่อยู่ หากเครื่องจักรไม่มีการ์ดหรือการ์ดชารุด ลูกจ้างควรปฏิบัติอย่างไรก่อน เขา้ ทางานกับเครื่องจักรน้นั จัดให้มีการฝึกอบรมความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ให้ลูกจ้างอย่างสม่าเสมอ รวมถึงการ ฝึกอบรมการประเมินความเสยี่ ง จดั ให้ลกู จา้ งมสี ่วนรว่ มในการชีบ้ ง่ อันตรายและมาตรการ ควบคมุ ความเสีย่ ง จัดใหม้ กี ารฝึกอบรมพิเศษสาหรับงานทมี่ คี วามเสยี่ งสงู มาตรการควบคุมความเสีย่ ง ลาดบั ท่ี 4 สขุ อนามัยส่วนบคุ คลและสวัสดกิ าร ในการดาเนนิ การประเมนิ ความเสี่ยง สถานประกอบกิจการควรมีการพิจารณาว่าส่ิงอานวยความสะดวก ด้านสุขอนามัยส่วนบุคคลและสวัสดิการมีเพียงพอที่จะรับมือกับอันตรายท่ีมีอยู่หรือไม่ หรือจาเป็น จะต้องจัดเพ่ิมมากน้อยเพียงใด ซึ่งมาตรการเหล่าน้ีไม่ได้มุ่งเพ่ือการป้องกันการสัมผัสต่ออันตราย โดยตรง แต่เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยซึ่งจะก่อให้เกิดความพึงพอใจของลูกจ้างในการทางาน มากข้นึ ตัวอย่างการจดั ในเรือ่ งสุขอนามยั สว่ นบคุ คลและสวัสดกิ าร เช่น จดั อา่ งล้างมือพรอ้ มสบู่ จดั ห้องสุขาพร้อมกระดาษชาระในสถานท่ีทางาน 28 วธิ ีการประเมินความเส่ยี ง

จดั ต้เู ก็บเสื้อผา้ ทีเ่ ปอ้ื นสารเคมี โดยไม่อนุญาตให้ลูกจา้ งนาเสื้อผา้ ดังกลา่ วกลบั บา้ น จดั ใหม้ อี ปุ กรณป์ ฐมพยาบาล และมกี ารฝึกอบรมการปฐมพยาบาลใหก้ บั ลกู จ้าง จัดให้มนี ้าดืม่ ทสี่ ะอาดในสถานที่ทางาน มาตรการควบคุมความเสยี่ ง ลาดับท่ี 5 อุปกรณค์ ุ้มครองความปลอดภัยสว่ นบุคคล ในการควบคุมความเส่ียง ต้องพิจารณานามาตรการควบคุม ลาดับที่1-4 มาใช้ก่อน มาตรการควบคุม ความเสี่ยงลาดับที่ 5 การจัดอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ควรเป็นมาตรการสุดท้าย หลังจากควบคุมความเส่ยี งด้วยมาตรการอ่ืนแล้ว หากมาตรการควบคุมความเสี่ยงลาดับต้นๆ ใช้ไดผ้ ลและเพียงพอ ก็ไม่จาเป็นต้องจัดให้มีและใช้อุปกรณ์ คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล เช่น หากมีมาตรการควบคุมเสียงดังจากเครอ่ื งจักรอย่างเพียงพอให้ อยใู่ นระดับท่ียอมรับได้ ก็ไม่มคี วามจาเป็นตอ้ งจัดหาท่ีอดุ หูหรอื ทคี่ รอบหูลดเสียงให้แกล่ กู จา้ ง หรือหาก อุปกรณ์ดูดฝุ่น (การระบายอากาศเฉพาะที่) มีประสิทธิภาพเพียงพอ ลูกจ้างก็ไม่มีความจาเป็นต้องใส่ หนา้ กากกนั ฝุ่น หากนาอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลมาใช้เป็นมาตรการควบคุมความเส่ียงในลาดับแรก ๆ จะไม่เป็นมาตรการที่เพียงพอในการคุ้มครองดูแลความปลอดภัยและอาชีวอนามัย เนื่องจากมาตรการ ดังกล่าวเป็นมาตรการท่ีใช้กับลูกจ้างโดยตรง ลูกจ้างอาจรู้สึกไม่สะดวกสบายในการสวมใส่ อุปกรณ์ คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลอาจไม่เหมาะสมกับลูกจ้างแต่ละคน ซ่ึงมีรูปร่าง ขนาด และเพศท่ี ตา่ งกัน และต้องสวมใส่ตลอดระยะเวลาการทางาน อุปกรณค์ ุม้ ครองความปลอดภยั ส่วนบคุ คล ได้แก่ อปุ กรณ์ปกปอ้ งลาตัว อุปกรณป์ กปอ้ งดวงตา อปุ กรณป์ กป้องขาและเท้า อุปกรณป์ กปอ้ งมอื และแขน อปุ กรณล์ ดเสยี ง อปุ กรณ์ปกป้องระบบทางเดนิ หายใจ อุปกรณ์ปกปอ้ งศีรษะ อปุ กรณป์ ้องกนั ความร้อนและความเย็น หากพิจารณาว่ามีความจาเป็นต้องใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ควรพิจารณาเกี่ยวกับ ชนิดของอุปกรณ์คุ้มครองฯ ท่ีจะต้องจัดหาให้เหมาะสมกับลักษณะอันตรายท่ีลูกจ้างจะได้รับ วิธีการใช้ รวมถึงการดูแล การบารุงรักษา ไม่ว่าจะเป็นถุงมือ ที่ปิดปากปิดจมูกหน้ากากกรองอากาศกันสารเคมี วธิ ีการประเมินความเสย่ี ง 29

หรอื อุปกรณ์คุ้มครองคุม้ ครองความปลอดภัยสว่ นบคุ คลอืน่ ๆ และในการประเมินให้ระบถุ ึงมาตรการการ บารุงรักษา การทาความสะอาดอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ในการจัดหาอุปกรณ์ คมุ้ ครองความปลอดภยั สว่ นบุคคล นายจา้ งจะต้องเป็นผู้ออกค่าใชจ้ า่ ย การพจิ ารณาการใชอ้ ปุ กรณ์คมุ้ ครองความปลอดภัยส่วนบคุ คล มดี งั น้ี ในมาตรการควบคมุ ความเส่ียง จะต้องพิจารณานามาตรการควบคมุ อ่ืนมาใชก้ อ่ น การจดั อุปกรณ์ คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ควรเป็นมาตรการสุดท้ายหลังจากดาเนินการควบคุมความ เสี่ยงด้วยมาตรการอื่นๆ แล้วยังอยใู่ นระดับทย่ี อมรบั ไมไ่ ด้ มาตรการควบคุมความเสี่ยงด้วยการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ เทคโนโลยี หรือระบบควบคุมทาง วิศวกรรม (มาตรการควบคุมความเส่ียงลาดับที่ 2) เป็นมาตรการควบคุมที่ได้ผลระยะยาวและ ราคาถูกกว่าการจัดให้มอี ุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคลให้แก่ลกู จ้างจานวนมาก มาตรการควบคุม ดูแลลูกจ้างทุกคนในพ้ืนที่ดีกว่าการใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัย ส่วน บุคคลทเ่ี ป็นเพียงการคมุ้ ครองดแู ลเฉพาะลูกจ้างแต่ละคนทส่ี วมใส่ เทา่ น้นั ส่ิงสาคัญคือ ต้องให้ลูกจ้างมีส่วนร่วมในกระบวนการคัดเลือกมาตรการควบคุมความเสี่ยงท่ีจะ นามาใช้ เนือ่ งจากลูกจา้ งมคี วามรแู้ ละประสบการณ์ในงาน มาตรการควบคุมความเสยี่ ง ลาดบั ท่ี 6 การเฝ้าระวังด้านอาชีวอนามยั ในการประเมนิ ความเสยี่ งจะต้องพิจารณาถงึ มาตรการเฝา้ ระวงั ด้านอาชีวอนามัย ซึ่งต้องดาเนินการโดย บคุ ลากรที่มีความรู้เฉพาะดา้ นอาชวี เวชศาสตร์ มาตรการการเฝ้าระวังด้านอาชีวอนามัย ไม่ได้เป็นมาตการควบคุมการสัมผัสกับส่ิงแวดล้อมท่ีเป็น อนั ตรายโดยตรง แต่เป็นเครื่องมือการเฝ้าระวังด้านสุขภาพอนามัย เพื่อให้มั่นใจว่ามีมาตรการควบคุมที่ เพียงพอในการป้องกันการเจ็บป่วยจากการทางาน ซ่ึงเป็นมาตรการลดความเส่ียงของการเจ็บป่วย อย่างไรก็ตามการควบคุมการสัมผัสสิ่งท่ีเป็นอันตราย เช่น สารเคมี ฝุ่น จุลชีวัน และ เสียง ฯลฯ ลูกจ้าง บางคนอาจมีอาการเจ็บป่วยเกิดข้ึนแบบเฉียบพลันหรืออาการเจ็บป่วยปรากฏข้ึนภายหลัง จึงมีความ จาเป็นต้องมีการตรวจสุขภาพเพ่ือการเฝ้าระวังด้านอาชีวอนามัย เพื่อเป็นการค้นหาอาการเจ็บป่วยใน ระยะเริ่มต้น โดยเฉพาะอย่างย่ิง ลูกจ้างท่ีต้องสัมผัสกับปัจจัยเส่ียงท่ีอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ ดงั ตัวอย่างต่อไปน้ี ฝ่นุ อาจกอ่ ใหเ้ กดิ โรคหอบหดื หรอื โรคปอดเร้ือรงั สารเคมี เชน่ สารตวั ทาละลาย อาจกอ่ ใหเ้ กดิ โรคผิวหนัง สารกาจัดศัตรูพชื ซงึ่ ประกอบดว้ ยสารประกอบของ Organophosphorus เช่น ยาฆ่าแมลง เป็น อันตรายต่อระบบประสาท เสยี งดงั จากเครื่องจักร อาจกอ่ ให้เกดิ การสูญเสียการได้ยนิ (หูตงึ หูหนวก) 30 วธิ กี ารประเมินความเสี่ยง

การเฝา้ อาชวี อนามยั ควรรวมถึงระวงั ดา้ น การตรวจทางชวี ภาพ เชน่ การเจาะเลือดเพอ่ื ตรวจหาสารเคมีในเลอื ด ในกรณีทสี่ ัมผสั กับสารเคมี อนั ตราย การตรวจร่างกายเบื้องต้นโดยผู้ท่ีมีหน้าที่รับผิดชอบ เช่น หัวหน้างานท่ีผ่านการฝึกอบรม จะ สามารถตรวจดูมอื ของลูกจ้างวา่ มีอาการแสดงของโรคผวิ หนังหรอื ไม่ การตรวจสมรรถภาพการไดย้ ิน ในกรณที ่ีลูกจ้างสัมผัสกับเสียงดงั การตรวจสมรรถภาพปอด ในกรณที ี่ลูกจา้ งสัมผัสกบั ฝนุ่ ทมี่ อี นั ตรายในระดับสงู การตรวจหาสาเหตุของการลาป่วยบ่อย เช่น กรณีลูกจ้างลาป่วยบ่อยๆ อาจสอบถามบุคลากร ทางการแพทย์ว่าอาการเจบ็ ป่วยน้นั เก่ียวเน่ืองกับการทางานหรือไม่ มาตรการเฝ้าระวงั ดา้ นอาชีวอนามัยสาหรบั สง่ิ คุกคามต่อสุขภาพ จะแตกต่างจากการตรวจสขุ ภาพทั่วไป ดังนั้นการเฝ้าระวงั ด้านอาชวี อนามัยจะตอ้ งสอดคลอ้ งกับการสมั ผัสอนั ตรายของลูกจา้ ง แตล่ ะคน ดังน้ัน มาตรการขจัดอันตราย หรือการทดแทนด้วยส่ิงท่ีมีอันตรายน้อยกว่าเป็นมาตรการแรกที่ต้อง พิจารณา หากไม่สามารถดาเนินการได้ มาตรการควบคมุ ความเสี่ยงลาดบั ถดั มาคือ การควบคุมดว้ ยการ ใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ เทคโนโลยี และการควบคุมทางวิศวกรรม รว่ มกับการจัดการ เช่น กาหนดวิธีการ ปฏิบัติงานที่ปลอดภัย การจัดรูปแบบการทางาน การให้ข้อมูลความรู้และการฝึกอบรม วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการควบคุมก่อนเกิดอันตรายให้แก่ลูกจ้างทั้งหมด การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วน บุคคล เป็นมาตรการลาดับสุดท้ายที่จะดาเนินการ โดยเป็นเพียงสนับสนุนมาตรการควบคุมความเส่ียง อ่ืนๆ เพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้ลูกจ้างต้องสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลเป็นระยะ เวลานาน มาตรการเร่ืองสุขอนามัยส่วนบุคคลและสวัสดิการ และมาตรการการเฝ้าระวังด้านอาชีวอนา มัย จาเปน็ ต้องมเี พื่อดูแลสุขภาพอนามยั ของลกู จ้าง เป็นการลดโอกาสของการเจ็บป่วยหรอื โรคจากการ ทางานลง จะเห็นได้ว่า ในหลายๆกรณีอาจจาเป็นต้องมีมาตรการควบคุมความเสี่ยงมากกว่าหนึ่ ง มาตรการเพอื่ ควบคมุ อนั ตรายท่ีอาจจะเกิดขน้ึ จากการทางาน ตารางต่อไปน้ีเป็นตัวอย่างการกรอกรายละเอียดลงในแบบฟอร์มการประเมินความเส่ียงข้ันตอนที่ 3 (ข้ันตอน3ก และ 3ข) ของงานไม้ อันตรายที่พบในแต่ละอันตรายจะมีมาตรการควบคุมที่มีอยู่แล้ว (ข้ันตอน3ก) และมาตรการควบคุมท่ีต้องเพิ่ม (ขั้นตอน3ข) เพื่อเป็นการลดความเส่ียงของอันตราย ตัวอย่างน้ีเป็นเพียงสถานการณ์จาลองไม่สามารถเป็นตัวแทนของสถานการณ์ในท่ีทางานใดๆ เป็นการ เฉพาะ วธิ กี ารประเมินความเสย่ี ง 31

ข้นั ตอนท่ี 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนท่ี 3 ขั้นตอนท่ี 4 อะไรท่ีเปน็ อันตราย ใครท่ีมคี วามเสย่ี ง และเส่ยี ง มาตรการควบคมุ ที่มีอยู่ มาตรการควบคมุ ทตี่ อ้ งเพมิ่ ช่อื กาหนดวันท่ี วนั ที่ดาเนนิ การ อยา่ งไร แล้ว (ถา้ มี) ผรู้ บั ผิดชอบ แลว้ เสรจ็ ตาม แลว้ เสร็จจรงิ แผน การสัมผสั ฝุน่ ไม้ ลูกจ้างที่ปฏบิ ัติงานทกุ คน มกี ารกวาดฝ่นุ ไม้ จัดใหม้ ีการระบายอากาศ (35 คน) มีความเสี่ยงต่อ เป็นประจา เคร่อื งจักร เชน่ การเป็ นโรคป อด เช่น มอี ปุ กรณ์เพือ่ ชาระ เฉพาะท่ีสาหรับเครื่องจกั รทุก เลื่อยวงเดอื น หอบหืดจากการหายใจ ล้าง เช่นอา่ งล้างมอื เล่ือยสายพาน ฝุ่นไม้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง และฝกั บัวอาบนา้ เครือ่ งทปี่ ลอ่ ยฝนุ่ สบู่ รรยากาศ เปน็ ต้น ลู ก จ้ า ง ที่ ป ฏิ บั ติ ง า น กั บ มีทป่ี ิดปากปิดจมกู เคร่ืองตัดไม้ (15 คน ) กันฝ่นุ และมกี าร การทางาน เป็นผู้ที่มีความเสี่ยงสูงต่อ เปลยี่ นเปน็ ประจา การเป็นโรคปอดเน่ืองจาก ห้ามกวาดฝ่นุ ไม้ทแ่ี ห้ง ควรใช้ ต้องสัมผัสฝุ่นไม้โดยตรง มกี ารตดิ การ์ดท่ี ซ่ึง เครอ่ื งจักรทกุ เครอื่ ง เครื่องดดู ฝุ่นแทน หรอื หาก ฝุ่นไม้น้ีมีโอกาสก่อให้เกิด ตามทผี่ ู้ผลติ กาหนด มะเร็ง โดยเฉพาะมะเร็งท่ี มกี ารตรวจและ จาเปน็ ก็ทาใหฝ้ ุ่นไม้เปยี ก จมกู บารุงรักษา เคร่ืองจกั รและการด์ กอ่ นทจ่ี ะกวาด ลูกจ้างที่ปฏิบตั งิ านกบั อยา่ งสม่าเสมอ เครื่องตดั ไม้ (15 คน) เพ่อื ใหม้ ั่นใจวา่ อยใู่ น ฝึกอบรมลกู จา้ งที่ปฏบิ ัติงานกบั เป็นผู้ท่มี คี วามเส่ยี งสูง สภาพที่ใชง้ านได้ มากท่จี ะได้รบั บาดเจบ็ ถึง อย่างปลอดภัย เครอ่ื งตดั ไม้ ให้มีความรู้ ข้ันรุนแรง หากสมั ผัสกับ จดั ให้มพี ้ืนท่รี อบ ส่วนท่เี คลอื่ นไหวได้ของ บริเวณเครื่องจกั ร ความสามารถในการใช้และ เครื่องจกั ร โดยเฉพาะ อยา่ งเพียงพอ อยา่ งย่งิ ใบเลอื่ ย เพื่อให้ลูกจ้างทางาน บารุงรักษาอปุ กรณด์ ดู ฝุน่ ไดอ้ ย่างปลอดภยั จดั ให้มีการฝึกอบรม จัดให้มีสวติ ชห์ ยดุ ฉกุ เฉิน ลูกจ้างทกุ คน จัดซือ้ เครือ่ งจกั รทม่ี ีสวติ ช์หยุด เกย่ี วกบั การใช้ ฉุกเฉินตดิ มากบั เคร่ืองจกั รดว้ ย เครือ่ งจักรอย่าง ดูแลใหม้ ีการตรวจเครือ่ งจกั ร ปลอดภยั และการ์ดเป็นประจา และใหม้ ี ฝึกอบรมลกู จา้ ง การรายงานทันทที ่ีเกิด เกย่ี วกบั วธิ ยี ก ข้อบกพร่อง เคล่ือนยา้ ยอย่าง จัดใหม้ คี ่มู อื การปฏบิ ตั ิงาน ถูกต้องและปลอดภยั เก่ียวกบั การใชเ้ ครื่องจกั รอยา่ ง จัดระดบั ความสูง ปลอดภยั และตดิ ไวท้ ีห่ นา้ งาน การยกเคลอื่ นย้าย ลกู จา้ งอาจมอี าการ ปวด จัดเก็บเครือ่ งมอื ใกลส้ ถานงี าน วัสดุ เมอ่ื ยกล้ามเนอ้ื ปวด เพอ่ื ลดระยะทางในการ เคลื่อนย้าย หลังจากการยกเคลอ่ื นยา้ ย ดูแลให้ลกู จ้างใช้ถงุ มอื ท่ี สงิ่ ของ เชน่ แผ่นไม้หรอื เหมาะสมกับลักษณะงาน จัด อปุ กรณเ์ ครอ่ื งจักร 32 วธิ ีการประเมนิ ความเสีย่ ง

ขัน้ ตอนท่ี 1 ขั้นตอนท่ี 2 ขั้นตอนท่ี 3 ขั้นตอนที่ 4 อะไรทเี่ ปน็ อนั ตราย ใครท่มี ีความเสย่ี ง และเสยี่ ง มาตรการควบคุมทมี่ อี ยู่ มาตรการควบคุมทตี่ อ้ งเพม่ิ ชอ่ื กาหนดวันท่ี วนั ท่ดี าเนินการ อยา่ งไร แลว้ (ถา้ ม)ี ผู้รับผดิ ชอบ แลว้ เสรจ็ ตาม แล้วเสรจ็ จริง แผน นอกจากนี้ยงั มคี วามเสย่ี ง ของพืน้ ทีห่ น้างานให้ ใหม้ อี ุปกรณห์ รือเครอ่ื งทุน่ แรง ตอ่ การไดร้ บั บาดเจบ็ จาก เหมาะสมกบั ลูกจา้ ง เพ่อื ชว่ ยในการยกเคลอ่ื นย้าย การขนยา้ ยแผ่นไม้หรอื ท่ีปฏิบตั งิ าน ของหนกั เพ่อื ลดความเสย่ี งจาก อปุ กรณ์เคร่อื งจกั ร จดั อปุ กรณค์ มุ้ ครอง การบาดเจ็บ ความปลอดภยั ส่วน บุคคลที่เหมาะสม โดยเฉพาะถุงมือ ข้ันตอนท่ี 5: ทบทวนการประเมนิ ความเสย่ี ง และปรับใหเ้ ปน็ ปจั จบุ นั วิธกี ารประเมนิ ความเสี่ยง 33

มาตรการควบคมุ ความเส่ยี ง ตวั อย่าง การฉีดพ่นสารกาจัดศตั รูพืชในแปลงปลกู ตน้ กาแฟ นายจา้ งไดด้ าเนนิ การประเมินความเสีย่ งเพ่อื แกป้ ญั หาสารพษิ ที่ใชก้ าจดั ศัตรพู ชื ในแปลงปลูกตน้ กาแฟ ลูกจา้ ง ต้องสัมผัสกับสารเคมีขณะทาการฉีดพ่นมีอุบัติการณ์บ่อยครั้งที่ทาให้ลูกจ้างมีอาการแพ้สารพิษ เหตุการณ์ ดงั กล่าวทาให้นายจ้างต้องดาเนนิ การปรบั ปรุงสภาพการทางานด้านความปลอดภยั และอาชีวอนามยั ข้ันตอนที่ 1 ชี้บ่งอนั ตราย อันตรายเกิดจากขณะฉดี พ่นสารกาจัดศัตรพู ืชโดยใช้เครื่องฉีดพ่น ทาให้เกิดละอองสารเคมีลอยฟุ้งกระจายใน บรรยากาศตามแนวที่ฉดี พ่น นอกจากนี้ยังมอี ันตรายตอ่ เนื่องอย่หู ากลูกจ้างเขา้ ไปปฏิบัตงิ านทันทีหลังจากการ ฉดี พน่ แลว้ โดยไม่ท้งิ ระยะเวลา ขัน้ ตอนท่ี 2 ระบวุ ่าใครเปน็ ผู้ทมี่ ีความเสีย่ งและเสีย่ งอยา่ งไร ลูกจ้างในแปลงปลกู กาแฟ เป็นหญงิ 10 คน ชาย 8 คน เดก็ หญิงอายุตา่ กวา่ 18 ปี 6 คน และเดก็ ชายอายุต่า กว่า 18 ปี 4 คน รวม 28 คนเส่ียงตอ่ การสัมผสั สารกาจัดศัตรูพืชในระหว่างการฉีดพ่น และลูกจา้ งจะยังคงมี ความเสยี่ งตอ่ การทส่ี ารพษิ เขา้ สรู่ ่างกายได้หากมีการเข้าพ้ืนท่ีหลังฉีดพ่น ข้ันตอนที่ 3 ประเมินความเส่ียง พิจารณาเลือกมาตรการควบคุมความเสี่ยงด้านความปลอดภัยและอาชี วอนามัย ข้นั ตอนท่ี 3ก : พิจารณามาตรการควบคมุ ความเสยี่ งทีม่ ีอยูป่ ัจจบุ ัน (ถา้ มี) นายจ้างทราบดีว่า กลุ่มฉีดพ่นสารเคมีทาการฉีดพ่นใกล้กับกลุ่มลูกจ้างท่ีปฏิบัติงานในพ้ืนท่ี จะเห็นได้ว่าเป็น การจัดรูปแบบการทางานและขั้นตอนการทางานยังไม่เหมาะสม รวมถึงไม่มีการแจ้งเตือนลูกจ้างอื่นขณะทา การฉีดพน่ นายจา้ งทราบอกี ว่า การเขา้ พน้ื ทหี่ ลงั การฉีดพ่นเป็นการกระทาท่ไี มเ่ หมาะสมตามท่ีระบุไว้ในฉลาก สารกาจดั ศตั รพู ืช ข้ันตอนท่ี 3ข :พิจารณากาหนดมาตรการควบคมุ ความเสีย่ งที่ต้องเพ่มิ หรอื ควรดาเนินการในอนาคต นายจ้างต้องพจิ ารณากาหนดมาตรการควบคุมความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ กรณีทไ่ี ม่ได้เลือกหรือยงั ไม่สามารถ กาหนดมาตรการควบคมุ ความเสย่ี งได้ ใหม้ กี ารเตรียมการ ดงั น้ี มาตรการควบคมุ ความเสย่ี ง ลาดบั ที่ 1 : การขจดั อนั ตราย เป็นวิธีการแกไ้ ขปัญหาทด่ี ที ี่สดุ ดงั น้นั การไม่ใชส้ าร กาจัดศตั รูพชื เป็นวธิ ีการทดี่ ีท่ีสดุ ของการเลือกใช้ แต่มาตรการน้ใี นทางปฏิบตั เิ ป็นไปคอ่ นขา้ งยาก การใช้สารเกษตรอินทรีย์มาทดแทน ในทางปฏิบตั เิ ปน็ ไปไดย้ าก นายจ้างจึงตัดสินใจยังคงใช้สารกาจัดศัตรพู ชื อยู่ มาตรการควบคมุ ความเสยี่ ง ลาดับที่ 2 : การใช้อปุ กรณ์ เคร่ืองมือ เทคโนโลยี และระบบควบคมุ ทางวิศวกรรม การใชเ้ ครอื่ งฉีดพ่นกาจดั ศตั รพู ืชต้องอยู่ในสภาพการใช้งานที่ดี ควรฉดี พน่ ในขณะทไ่ี มม่ ีลมหรือมลี มอ่อนเพื่อ ลดปญั หาละอองสารเคมฟี งุ้ กระจาย มาตรการควบคุมความเสี่ยง ลาดับท่ี 3: การกาหนดวิธีการปฏิบัติงานท่ีปลอดภัย การจัดรูปแบบการทางาน การให้ขอ้ มูลความรแู้ ละการฝกึ อบรม ควรมีการปรกึ ษาร่วมกนั ระหว่างนายจ้าง กลมุ่ ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานฉดี พน่ สารเคมแี ละกลมุ่ ลูกจ้างทีท่ างานในพื้นที่ เพ่ือ หามาตรการป้องกันการสัมผัสสารเคมีจากการฉีดพ่น วิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย ควบคู่กับการให้ความรู้ และฝกึ อบรม มาตรการทต่ี อ้ งดาเนินการไดแ้ ก่ 34 วธิ กี ารประเมนิ ความเสีย่ ง

หา้ มฉดี พ่นสารกาจัดศัตรพู ืช ในขณะลมแรง (ให้หวั หน้ากลุ่มเป็นผู้ตัดสินใจ) หัวหน้ากลุ่มปฏิบัติงานฉีดพ่นเคมีจะต้องแจ้งหัวหน้ากลุ่มลูกจ้างที่ทางานในพ้ืนท่ีว่าจะมีการฉีดพ่นท่ีใด เม่ือไรเป็นลายลักษณ์อักษร และสาเนาส่งนายจ้างและผู้ควบคุมงาน เพื่อให้ม่ันใจว่า ลูกจ้างทุกคนปลอดภัย จากสารเคมี หัวหน้ากลุ่มฉีดพ่นจะต้องแจ้งสมาชิกในทีมว่า หากพบเห็นลูกจ้างคนใดทางานอยู่ใกล้บริเวณฉีดพ่น จะตอ้ งหยุดฉีดพ่นทันทีและแจ้งให้ลูกจ้างนั้นออกไปจากพ้ืนที่ฉีดพ่น เพื่อความปลอดภัย กลมุ่ ลูกจ้างทที่ างาน ในพื้นที่ต้องรับรู้ว่า หากกลุ่มฉีดพ่นเข้ามาใกล้บริเวณที่พวกเขาทางานอยู่ ต้องแจ้งให้หัวหน้าทราบและออก จากบรเิ วณน้ันเพ่อื ความปลอดภัยจากการสัมผสั สารพิษ ทัง้ กลุ่มฉีดพ่นและกลุ่มทางานในพน้ื ที่ ตลอดจนหัวหน้างานทุกคนต้องได้รับการฝึกอบรมพิเศษเก่ียวกับ การกลับเข้าทางานในพื้นที่ที่มีการฉดี พน่ สารกาจัดศัตรูพืชตามข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีท่ีกาหนดโดย ผู้ผลิตหรือผู้จาหน่าย และแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรส่งไปยังนายจ้าง รวมถึงมีป้ายเตือนแบบต่างๆ เช่น หัว กะโหลกไขว้ ติดไว้ให้เหน็ ชัดเจนในพนื้ ที่ทางาน ต้องมีการบนั ทกึ การเจบ็ ปว่ ยทีเ่ กี่ยวเนอ่ื งจากการทางานลงในสมุดบันทกึ ท่กี าหนด มาตรการลาดับที่ 4: การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลและสวัสดิการ ควรจัดให้มีห้องอาบน้า ตู้เก็บของใช้ ส่วนตัวและเกบ็ อาหารให้กับลกู จ้าง โดยอยไู่ กลจากทฉ่ี ีดพ่น มาตรการลาดับท่ี 5: การจัดอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ปกติการทางานกับสารเคมีนายจ้าง ตอ้ งจัดและดูแลให้ลกู จา้ งทุกคนสวมใสอ่ ุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภยั ส่วนบุคคลทีเ่ หมาะสมกับลักษณะงาน หากขั้นตอนการทางานต่างๆ นี้ลูกจ้างไม่ต้องสัมผัสกับละอองสา รเคมีในบรรยากาศและไม่จาเป็นต้องกลับ เข้าไปในพ้ืนท่ีท่ีมีการฉีดพ่นสารเคมีอีกจนกว่าจะได้รับอนุญาตก็ไม่จาเป็นต้องใช้อุปกรณ์คุ้มครองความ ปลอดภัยส่วนบคุ คลดงั กลา่ ว มาตรการลาดับที่ 6: การเฝ้าระวังสุขภาพอนามัย โดยปกติลูกจ้างทุกคนที่มีความเส่ียงควรได้รับการตรวจ สุขภาพตามปัจจยั เสย่ี ง โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ สาหรบั แรงงานเด็กอายตุ า่ กวา่ 18 ปี โดยปกติลูกจ้างทุกคนที่มีความเสี่ยงควรได้รับการตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยง โดยเฉพาะอย่างย่ิงสาหรับ แรงงานเดก็ อายตุ า่ กว่า 18 ปี สรุป นายจ้างและผู้ควบคุมงานต้องให้ความรู้และฝึกอบรม หัวหน้างาน ลูกจ้างเก่ียวกับอันตรายของสารเคมีและ กาหนดข้ันตอนการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย รวมถึงการเฝ้าระวัง เพื่อให้มั่นใจว่ามาตรการต่างๆ ที่กาหนดข้ึนมี ความเหมาะสมทจ่ี ะปอ้ งกันไม่ให้ลูกจา้ งเกดิ การเจ็บปว่ ย วธิ กี ารประเมนิ ความเส่ียง 35

ข้นั ตอนที่ 4 ผรู้ บั ผิดชอบการดาเนินงานประเมินและควบคุมความเสยี่ ง และกรอบระยะเวลา ข้ันตอนท่ี 1 ขน้ั ตอนที่ 2 ขัน้ ตอนท่ี 3ก ขนั้ ตอนท่ี 3ข ขั้นตอนที่ 4 อะไรทีเ่ ปน็ ใครท่ีมีความเสย่ี ง มาตรการทีม่ อี ยู่ มาตรการ ชอื่ ผรู้ บั ผดิ กาหนดวนั ที่ วนั ที่ อนั ตราย และเสย่ี งอยา่ งไร แลว้ ควบคมุ ทตี่ อ้ ง ชอบ แลว้ เสร็จ ดาเนนิ การ (ถ้าม)ี เพิ่ม ตามแผน แลว้ เสรจ็ จริง ขนั้ ตอนท่ี 5: ทบทวนการประเมินความเส่ยี ง และปรบั ใหเ้ ป็นปัจจุบนั เม่ือกาหนดมาตรการควบคุมความเสี่ยง ตามตาราง 3ข แล้ว จะต้องมีการดาเนินการตามที่กาหนด โดย กาหนดผู้รับผดิ ชอบ ระยะเวลาการดาเนินงาน และวันท่ดี าเนนิ การแล้วเสรจ็ การประเมินความเส่ยี ง ในข้นั ตอนที่ 4 ประกอบดว้ ย : ใครเป็นผู้รบั ผิดชอบ วนั ท่ีกาหนดแลว้ เสร็จตามแผนเมื่อไร ดาเนินการแลว้ เสรจ็ จรงิ เมอ่ื ไร ซ่ึงหมายถึงแต่ละมาตรการจะต้องกาหนดผู้รับผิดชอบ กาหนดวันที่จะแล้วเสร็จตามแผน และวันท่ี ดาเนินการแลว้ เสรจ็ จรงิ เมื่อประเมนิ ความเสี่ยงได้แลว้ จะต้องจัดลาดับความเสี่ยง และดาเนินการควบคุมความเส่ยี งตามลาดับจาก ความเส่ียงที่รุนแรงมากที่สุดก่อนเพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพในการคุ้มครองลูกจ้างและมีความคุ้มค่าในการ ลงทนุ มากทสี่ ดุ ในการประเมินความเสี่ยง ระดับความเส่ียงและการจัดลาดับความเสี่ยงขึ้นอยู่กับดุลพินิจส่วนบุคคล อยา่ งไรกต็ าม ให้พิจารณาตามหลกั การและเหตผุ ลท่ีเชื่อถอื ได้ ในช่วงแรกอาจจะยากแต่ “ทาให้งา่ ยเข้าไว้” และพยายามหาคาปรึกษาเพอื่ คน้ หาแนวทางปฏบิ ตั ทิ ่เี หมาะสมทส่ี ุด การพิจารณาค่าความเส่ยี งได้จากโอกาสทีจ่ ะเกดิ อันตราย x ความรนุ แรงของอันตรายโอกาสท่ี จะเกิดอนั ตราย หมายถงึ ความเปน็ ไปไดข้ องการเกิดอันตรายซง่ึ อาจจะเกดิ น้อย เกิดปานกลาง หรือเกิดมาก ซ่งึ พิจารณาจากปจั จัยตา่ งๆ เช่น ทางานเร่งรบี สภาพแวดลอ้ มการทางานที่ไมด่ ี เคร่ืองจักรมีความยงุ่ ยากในการใช้งาน เป็นตน้ 36 วิธกี ารประเมินความเสยี่ ง

ความรุนแรงของอันตราย หมายถึง ผลของการเกิดอันตรายมีแนวโน้มเป็นอย่างไร ตัวอย่าง ถ้า ลูกจ้างล่ืนล้มใกล้เครื่องจักรที่ทางานอยู่ ผลที่ตามมาอาจจะบาดเจ็บ เล็กน้อย (ไม่ต้องรักษา) บาดเจบ็ ปานกลาง (ต้องปฐมพยาบาลเบื้องตน้ ) รนุ แรงหรอื เสยี ชีวิต (แขน หรือขา ถกู เคร่อื งจักรตดั ) หรอื ทรพั ย์สนิ เสยี หายมากนอ้ ยเทา่ ไร ระดับของความเส่ียงมากน้อยเท่าไรขึ้นกับโอกาสและความรุนแรงของอันตรายในแต่ละงานที่มี ผลกระทบต่อคน งาน เครื่องจกั ร ลูกค้า หรือผลผลิต การใช้ตารางแมททริคซค์ วามเส่ยี ง (Risk Matrix) สถานประกอบกิจการขนาดเล็กๆ อาจไม่จาเป็นตอ้ งใช้ตารางแมททริคซค์ วามเส่ยี ง อยา่ งไรก็ตาม การใช้ตารางแม ททริคซ์ความเส่ียงเป็นเครื่องมือประเมินระดับความเสี่ยงในประเด็นต่างๆ โดยการจาแนกโอกาสท่ีจะเกิด อนั ตรายกับความรนุ แรงของอันตราย จากนนั้ ใหพ้ ิจารณาผลการประเมินว่าอยู่ในช่องใดของตาราง หากอยู่ ในช่องทีร่ ะบผุ ลการประเมนิ วา่ เสยี่ งมากทส่ี ดุ ใหค้ วามสาคัญในการจดั การความเส่ียงเป็นลาดบั แรก ตารางแมททริคซ์ความเสี่ยงมีประโยชน์ในการจัดลาดับการควบคุมความเสี่ยง โดยต้องอาศัยผู้มี ประสบการณ์ และเชี่ยวชาญในการพิจารณาโอกาสท่ีจะเกิดอันตราย ซึ่งถ้าพิจารณาผิดพลาดจะทาให้ มาตรการควบคุมความเส่ียงผดิ พลาดไปด้วย รูปแบบตารางแมททริคซ์ความเสี่ยงไม่ได้กาหนดตายตัวมีความแตกต่างกันไปตามขนาดและประเภทของ สถานประกอบกิจการ ในคู่มือเล่มนี้ใช้ตารางแมททริคซ์ 3x3 ซึ่งสามารใช้งานในการประเมินระดับความ เส่ียงและจัดลาดับความสาคัญของความเส่ียงได้ง่ายเหมาะกับสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาด เล็ก ตัวอย่างตารางแมททรคิ ซค์ วามเสี่ยง ความรุนแรงของอันตราย รนุ แรงเลก็ น้อย (1) รุนแรงปานกลาง (2) รุนแรงมาก (3) โอกาสท่ีจะเ ิกดอันตราย โอกาสน้อย (1) ความเส่ียงเล็กน้อย ความเส่ยี งเล็กนอ้ ย ความเสยี่ งปานกลาง (1x1=1) (1x2=2) (1x3=3) โอกาสปาน ความเส่ียงเล็กนอ้ ย ความเสี่ยงปานกลาง ความเสี่ยงสงู กลาง (2) (2x3=6) (2x1=2) (2x2=4) โอกาสสูงหรือ ความเส่ยี งปานกลาง ความเสย่ี งสูง ความเสี่ยงสงู (3x2=6) (3x3=9) บอ่ ย (3) (3x1=3) วิธกี ารประเมนิ ความเสย่ี ง 37

ตารางแมททริคซ์ความเส่ียง 3x3 น้ีบ่งบอกความเสี่ยงจากทัศนคติผู้ประเมินและใช้เป็นพ้ืนฐานการ จัดลาดบั ความเสีย่ งที่ตอ้ งให้ความสาคญั กอ่ น ก) ความรุนแรงของอนั ตราย แบง่ ลักษณะความรุนแรงของอันตราย ออกเปน็ 3 ระดบั ดังนี้ รุนแรงเล็กน้อย หมายถึง การบาดเจ็บ หรือเจ็บป่วยในระดับเล็กน้อย ที่ต้องมีการปฐมพยาบาล เบื้องตน้ หรอื หยุดการทางานสัน้ ๆ หรือหยุดงานไมเ่ กิน 3 วัน รุนแรงปานกลาง หมายถึงการบาดเจ็บ หรือเจ็บป่วยในระดับกลาง ท่ีทาให้ไม่สามารถทางานได้ ชั่วคราว (3 วันข้ึนไป) ซึ่งสามารถกลับคืนสู่สภาวะปกติได้ เช่น แขนหัก หรือ แตกหักเล็กน้อย ผู้บาดเจ็บหรือเจ็บป่วยต้องหยุดงานระยะเวลานาน ลูกจ้างสามารถเรียกร้องค่าทดแทนเน่ืองจาก การบาดเจบ็ หรอื เจ็บป่วยได้ รุนแรงมาก หมายถึงการบาดเจ็บ เจ็บป่วย เสียชีวิต ในระดับท่ีรุนแรง ทาให้เกิดการบาดเจ็บ เจ็บป่วย ที่ทาให้เสียชีวิต หรอื พกิ ารถาวร การปว่ ยทม่ี ีลกั ษณะเนอ้ื ตาย สูญเสียการไดย้ ิน ข) โอกาสท่ีจะเกิดอันตราย แบง่ เป็น 3 ระดบั ดงั นี้ โอกาสน้อย หมายถึง ความเป็นไปได้ของการเกิดอันตรายเป็นไปได้ยากท่ีจะเกิดขึ้นใน สถานการณ์ปัจจุบนั โอกาสปานกลาง หมายถึง ความเปน็ ไปไดท้ จ่ี ะเกิดการบาดเจบ็ หรอื เจ็บป่วยในขณะทางาน โอกาสมาก หมายถึง เกือบแนใ่ จว่ามีการเกิดบาดเจบ็ หรือเจ็บป่วยจากการทางาน (เปน็ เหตกุ ารณ์ท่ีเกิดข้ึนบ่อย) ค) การจัดลาดับความเส่ียง แบ่งเป็น 3 ระดับ โดยพิจารณาจากระดับของความรุนแรงและระดับ โอกาสที่จะเกิดอันตราย ดงั น้ี ความเสี่ยงเล็กน้อย หมายถึง อาจมีการบาดเจ็บ เจ็บป่วยเล็กน้อย โอกาสทาให้เกิดอันตรายมี นอ้ ย ส่วนความรนุ แรงมตี ั้งแต่เลก็ น้อยถงึ ปานกลาง ความเส่ียงปานกลาง หมายถึง ความรุนแรงอาจเป็นเล็กน้อย ปานกลาง มาก ส่วนโอกาสท่ีจะ เกดิ อันตรายมีตั้งแต่เล็กนอ้ ยถงึ มาก ความเส่ียงสูง หมายถึง มโี อกาสปานกลาง หรอื มากท่ีจะทาให้เกิดความรุนแรงของการบาดเจ็บ การเจบ็ ป่วยในระดับปานกลาง หรอื มาก จากลาดับความเส่ียงท่ีได้ ทาให้สามารถพิจารณาได้ว่าจะประเมินความเสี่ยงใดก่อน ความเสี่ยงสูง เป็น ความเส่ียงท่ียอมรับไม่ได้ ความเสี่ยงปานกลางก็เป็นความเส่ียงที่ยอมรับไม่ได้เช่นกัน ตัวอย่างเช่น แขน หรือขาหักจากอบุ ัตเิ หตุ วันทางานที่สูญเสยี ไปจากการเจบ็ ป่วย (เกินกวา่ 3 วัน) มาตรการต่างๆ เพอ่ื การ 38 วธิ ีการประเมนิ ความเสี่ยง

ลดระดับความเส่ยี งควรดาเนนิ การโดยเรว็ ที่สุด เช่น การให้ความรู้และฝึกอบรม มาตรการต่างๆ ที่ทาได้ งา่ ยหรือค่าใช้จา่ ยตา่ ควรเปน็ มาตรการทนี่ ามาพจิ ารณาดาเนินการโดยเร็วท่สี ุด มาตรการควบคุมความเส่ยี งบางมาตรการอาจง่ายท่ีจะนามาใช้ เช่น การเปลย่ี นขน้ั ตอนการทางาน การ ปรับปรุงความเป็นระเบียบเรียบร้อยเป็นประจา บางมาตรการอาจต้องใช้เวลาและความพยายาม เช่น การปิดล้อมเครื่องจักรที่มีเสียงดัง การติดตั้งระบบระบายอากาศเฉพาะที่เพ่ือกาจัดและเก็บฝุ่นและไอ ควัน เปน็ ต้น กาหนดกรอบเวลาการทางานว่าจะดาเนินการแล้วเสรจ็ เมอ่ื ใด ลูกจ้างควรได้รับทราบเร่ืองการเปล่ียนแปลงที่จะมีข้ึน และมีส่วนร่วมในการดาเนินการ หากมาตรการ ควบคมุ ความเสี่ยงเกี่ยวขอ้ งกับการเปล่ยี นแปลงวิธีการทางานอาจต้องมกี ารอบรมและฝกึ ปฏิบัติเพม่ิ เติม ตัวอย่างตารางการประเมนิ ความเสย่ี งในการทางานไม้ ควรระบุบคุ คล คอื นายจา้ ง หวั หน้างาน เป็นผู้ อยู่หนา้ งานและผู้รบั ผิดชอบ ขนั้ ตอนที่ 1 ขน้ั ตอนท่ี 2 ข้ันตอนที่ 3 ขน้ั ตอนที่ 4 อะไรทเี่ ปน็ ใครทม่ี คี วามเสยี่ ง มาตรการควบคุมทีม่ ี มาตรการควบคมุ ทีต่ อ้ ง ช่ือผรู้ ับ กาหนดวนั ท่ี วนั ท่ี อย่แู ลว้ (ถา้ มี) ผิด แล้วเสรจ็ ดาเนินการ อันตราย และเส่ียงอยา่ งไร มกี ารกวาดฝ่นุ ไมเ้ ปน็ เพ่ิม ชอบ ตามแผน แลว้ เสร็จจริง ประจา 31/10/61 4/10/61 การสัมผัสฝุ่น ลูกจ้างท่ปี ฏิบัตงิ าน มอี ุปกรณเ์ พ่ือชาระ จดั ให้มีการระบาย ผูจ้ ัดการ ไม้ ทกุ คน (35 คน) มี ล้าง เชน่ อ่างลา้ งมอื อากาศเฉพาะที่ 15/05/61 15/05/61 และฝักบัวอาบนา้ สาหรับเครื่องจักรทุก หัวหน้างาน (ในทนั ท)ี ความเสยี่ งต่อการเป็น มที ีป่ ดิ ปากปดิ จมกู กัน เครื่องทปี่ ลอ่ ยฝุ่นสู่ 15/10/61 โรคปอด เชน่ หอบหืด ฝุน่ และมกี าร บรรยากาศการ ผ้จู ดั การ 05/11/61 จากการหายใจฝนุ่ ไม้ เปลีย่ นเปน็ ประจา ทางาน 30/06/61 โดยเฉพาะอย่างย่ิง ห้ามกวาดฝุน่ ไมท้ แ่ี ห้ง ผจู้ ัดการ 01/07/61 - ลกู จา้ งทป่ี ฏบิ ัติงาน มกี ารตดิ การด์ ท่ี ควรใช้เครื่องดดู ฝุน่ ผจู้ ัดการ ตามความ กับเครอื่ งตัดไม้ (15 เครื่องจักรทุกเครื่อง แทน หรือหากจาเปน็ จาเปน็ คน) เปน็ ผทู้ ีม่ ีความ ตามท่ผี ผู้ ลติ กาหนด ก็ทาใหฝ้ ุน่ ไมเ้ ปียก เส่ียงสงู ตอ่ การเป็น ก่อนทจ่ี ะกวาด โรคปอดเนือ่ งจากตอ้ ง ฝกึ อบรมลูกจ้างท่ี สัมผสั ฝุน่ ไมโ้ ดยตรง ปฏิบัตงิ านกบั เครอื่ ง ซึ่งฝุ่นไม้นมี้ ีโอกาส ตดั ไม้ ให้มีความรู้ ก่อให้เกดิ มะเรง็ ความสามารถในการ โดยเฉพาะมะเรง็ ท่ี ใช้และบารงุ รกั ษา จมูก อปุ กรณด์ ดู ฝุ่น จดั ให้มีสวติ ช์หยดุ เครื่องจักร เชน่ ลูกจ้างที่ปฏิบตั งิ าน ฉกุ เฉิน เล่อื ยวงเดือน กบั เครอื่ งตดั ไม้ (15 จัดซ้อื เคร่ืองจกั รที่มี เลอื่ ยสายพาน คน) เป็นผ้ทู ม่ี ีความ วิธีการประเมนิ ความเส่ียง 39

ขน้ั ตอนที่ 1 ข้นั ตอนที่ 2 ข้ันตอนที่ 3 ขนั้ ตอนที่ 4 อะไรทเ่ี ป็น ใครท่ีมคี วามเสีย่ ง มาตรการควบคุมทม่ี ี มาตรการควบคุมท่ีตอ้ ง ชอ่ื ผูร้ บั กาหนดวันที่ วนั ท่ี อันตราย และเสีย่ งอยา่ งไร แล้วเสรจ็ ดาเนนิ การ อยู่แลว้ (ถา้ มี) เพมิ่ ผดิ ตามแผน แล้วเสรจ็ จริง เป็นต้น เสย่ี งสงู มากทจ่ี ะไดร้ ับ ชอบ 20/05/61 24/05/61 บาดเจบ็ ถงึ ขน้ั รุนแรง หากสัมผัสกับส่วนท่ี มกี ารตรวจและ สวิตชห์ ยุดฉกุ เฉนิ ติด ผ้จู ดั การ 15/05/61 15/05/61 เคลื่อนไหวไดข้ อง (ในทนั ที) เครอื่ งจกั ร โดยเฉพาะ บารุงรักษาเครื่อง จักร มากับเครอื่ งจกั รด้วย 14/06/61 อย่างยง่ิ ใบเลอื่ ย 15/06/61 15/05/61 และการด์ อยา่ ง ดูแลใหม้ ีการตรวจ 25/05/61 การยก ลกู จ้างอาจมอี าการ 15/05/61 เคล่อื นย้ายวสั ดุ ปวดเมอื่ ยกลา้ มเนอื้ สม่าเสมอ เพื่อให้ เคร่ืองจกั รและการด์ (ในทนั ที) 01/06/61 ปวดหลังจากการยก ม่ันใจว่าอยู่ในสภาพที่ เป็นประจา และใหม้ ี เคลื่อนย้ายส่ิงของ เช่น แผ่นไมห้ รือ ใช้งานได้อยา่ ง การรายงานทนั ทที ่ี อุปกรณเ์ คร่ืองจักร นอกจากน้ยี ังมคี วาม ปลอดภยั เกดิ ขอ้ บกพร่อง เส่ยี งตอ่ การไดร้ บั บาดเจ็บจากการขน จดั ให้มพี ้ืนท่รี อบ จดั ให้มีคูม่ อื การ หัวหน้า ย้ายแผ่นไมห้ รอื อุปกรณเ์ ครอ่ื งจักร บริเวณเครื่องจักร ปฏิบัตงิ านเกยี่ วกับ งาน อยา่ งเพยี งพอเพ่อื ให้ การใชเ้ ครอื่ งจกั ร ลูกจ้างทางานได้อยา่ ง อย่างปลอดภยั และ ปลอดภยั ติดไวท้ ห่ี นา้ งาน จดั ใหม้ กี ารฝกึ อบรม ลกู จา้ งทุกคนเกยี่ วกับ การใชเ้ ครือ่ งจักรอย่าง ปลอดภัย ฝึกอบรมลูกจา้ ง จดั เก็บเครอ่ื งมอื ใกล้ ผ้จู ดั การ เกย่ี วกบั วธิ ียก สถานงี าน เพอ่ื ลด เคลื่อนย้ายอย่าง ระยะทางในการ ถกู ต้องและปลอดภยั เคลือ่ นย้าย จัดระดับความสงู ของ ดูแลให้ลกู จ้างใช้ถุงมือ หั ว ห น้ า พนื้ ท่หี น้างานให้ ท่เี หมาะสมกับลักษณะ งาน เหมาะสมกับลกู จ้างท่ี งาน ผจู้ ัดการ ปฏบิ ัตงิ าน จดั ให้มอี ุปกรณ์หรอื จัดอุปกรณค์ ุ้มครอง เครอื่ งท่นุ แรงเพ่ือช่วย ความปลอดภยั ส่วน ในการยกเคลือ่ นย้าย บคุ คลที่เหมาะสม ของหนกั เพ่ือลดความ โดยเฉพาะถงุ มอื เสี่ยงจากการบาดเจ็บ ข้ันตอนท่ี 5: ทบทวนการประเมนิ ความเสย่ี ง และปรบั ให้เปน็ ปัจจบุ ัน 40 วธิ กี ารประเมนิ ความเส่ียง

ขั้นตอนท่ี 5 : ทบทวนการประเมินความเสย่ี ง และ ปรบั ใหเ้ ป็นปจั จบุ ัน ขนั้ ตอนที่ 1 ข้ันตอนท่ี 2 ข้ันตอนท่ี 3ก ขนั้ ตอนที่ 3ข ขัน้ ตอนท่ี 4 อะไรที่เป็นอนั ตราย ใครทม่ี คี วามเสย่ี ง และ มาตรการทมี่ อี ยู่ มาตรการควบคุมท่ี ชื่อผ้รู ับผดิ กาหนดวันที่ วนั ท่ี ตอ้ งเพม่ิ ชอบ แลว้ เสร็จ ดาเนนิ การ เสยี่ งอยา่ งไร แล้ว (ถ้าม)ี ตามแผน แล้วเสรจ็ จรงิ ขั้นตอนท่ี 5: ทบทวนการประเมินความเสีย่ งและปรับให้เป็นปัจจุบัน การดาเนนิ การตามมาตรการควบคุมความเส่ียงนีย้ งั ไมถ่ ือวา่ เป็นการเสรจ็ สน้ิ เพยี งเท่าน้ี การบันทกึ ผล: กระบวนการประเมินความเส่ยี งจาเป็นที่จะต้องมกี ารทบทวนการดาเนินการท้ังหมดและ ต้องบันทึกวันที่ปรับข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน ซึ่งจะอยู่ในข้ันตอนท่ี 5 การดาเนินการตามมาตรการควบคุม ความเส่ียงในข้ันตอนท่ี 4 ต้องถูกบันทึกและสามารถแสดงต่อลูกจ้าง หัวหน้างาน และผู้ตรวจประเมิน ความปลอดภยั ในการทางานได้ การบันทึกไม่ได้มีการกาหนดรูปแบบท่ีชัดเจนไว้ ตัวอย่างในคู่มือนี้ ได้แสดงให้เห็นถึงขั้นตอนการ ประเมินความเสี่ยง ที่สะดวกและง่ายในการบันทึก ในความเป็นจริงแล้ว การประเมินความเสี่ยงจะ ครอบคลุมอันตรายต่างๆ ที่เกิดขึ้นมากกว่าตัวอย่างท่ีให้มา ในตัวอย่างนี้ระบุอันตรายเพียง 3 อย่าง คือ ฝนุ่ ไม้ อันตรายจากเคร่อื งจักร และการยกเคลือ่ นยา้ ยวัสดุ ในขณะท่ีสถานประกอบกจิ การงานไมม้ ีความ เส่ียงมากกว่าน้ี เช่น การสัมผัสสารเคมี เสียงดัง อันตรายจากไฟฟ้า อัคคีภัย ยานพาหนะ และอุบัติเหตุ จากการลืน่ หกล้ม เป็นตน้ การบันทึกการประเมินความเสี่ยงในไม่ได้เป็นรายงานเชิงวิชาการ แต่ควรถูกบันทึกโดยผู้มีความรู้ ความสามารถหรือผู้เชี่ยวชาญด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการใช้คาแนะนา ในการบันทึก รายละเอียดในการประเมนิ ความเสย่ี งในทางปฏิบตั ิ ควรแสดงใหเ้ หน็ ถึง มกี ารตรวจสอบและทบทวนในแต่ละเรอ่ื งอยา่ งครบถ้วน มกี ารช้ีบง่ ทุกงานอันตรายท่ีอันอาจจะเกิดขึ้น ผู้ปฏิบตั ิงานท่ีต้องสัมผัสกับอันตรายโดยตรงรวมถึง ผู้ปฏิบัตงิ านอื่นๆ ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง วิธกี ารประเมินความเส่ียง 41

มกี ารกาหนดมาตรการป้องกนั ที่เหมาะสมและสามารถปฏิบัตไิ ด้ เพอ่ื ลดระดับความเส่ียงลงให้อยู่ ในระดับความเส่ียงน้อยหรอื ยอมรับได้ รายละเอียดท่ีบันทึกไว้เป็นเคร่ืองมือที่มีประโยชน์ต่อนายจ้าง หัวหน้างาน ลูกจ้าง และผู้เก่ียวข้อง ควร เกบ็ ไว้เป็นตัวอย่างเพ่ือใชใ้ นการปฏิบตั ิงานต่อไป การตรวจสอบประสิทธิผลของมาตรการควบคุม: การติดตาม ตรวจสอบประสิทธิผลของมาตรการ ควบคุมความเส่ียงเพ่ือให้แน่ใจว่ายังคงมีการดาเนินมาตรการควบคุมนั้นอยู่ เช่น มีการปรับปรุงแก้ไข อันตรายท่ีพบจากการประเมินความเส่ียง ได้มีการดาเนินการให้ความเสี่ยงลดลง และลูกจ้างได้รับการ คุม้ ครองดูแลดีขึ้น กาหนดผู้ตรวจสอบมาตรการควบคุมความเส่ียงเพ่ือปรับปรุงด้านความปลอดภัยและ อาชีวอนามัยให้มีประสิทธิภาพ มีการติดตามการเฝ้าระวังอันตรายในงานต่างๆ ท้ังที่มีอยู่เดิมและ เกดิ ขน้ึ ใหม่ การทบทวนและปรับปรุงข้อมูลการประเมินความเส่ียงให้เป็นปัจจุบัน : การประเมินความเส่ียงไม่ใช่ การดาเนินการท่ีต้องทาเพียงครั้งเดียว แต่ต้องมีการทบทวนเป็นคร้ังคราวอย่างน้อยปีละครั้ง ดังนั้นจึง ต้องมีการระบุวันท่ีมีการทบทวนการดาเนินการประเมินความเส่ียงและให้มีการบันทึกไว้ทุกครั้ง โดยเฉพาะอย่างย่ิงหากพบว่ามีการเปล่ียนแปลงที่สาคัญให้มีการตรวจสอบและประเมินความเสี่ยงทันที พร้อมทงั้ ดาเนินการแกไ้ ขในสว่ นทีจ่ าเปน็ และให้มกี ารบนั ทกึ 42 วธิ ีการประเมินความเส่ยี ง