Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore OSHE Magazine ฉบับที่ 8

OSHE Magazine ฉบับที่ 8

Published by e-Book สสปท., 2020-07-08 01:04:20

Description: เกี่ยวข้องกับด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สภาพแวดล้อมในการทำงาน Occupational Safety Health

Keywords: ปลอดภัย,safety,Occupational,Health

Search

Read the Text Version

จกาารกปอไฟงกนั ฟอนั าตรดายดู ๑ เมือ่ รา งกายเปย กชน้ื ไมค วรสัมผสั อปุ กรณไ ฟฟา เพราะหากอุปกรณชํารดุ จะถกู กระแสไฟฟาดดู และอาจเสยี ชวี ิตได ๒ กอ นทาํ การตรวจสอบหรอื ซอ มแซมอุปกรณไฟฟา ตองตัดกระแสไฟฟา ทจ่ี า ยไปยังอปุ กรณนัน้ ๆ เชน ถอดเตา เสียบ ปลดสวิตซ เปนตน ๓ เครื่องใชไ ฟฟา ประเภทใหค วามรอนสูง ควรระมดั ระวงั อยาใชงานใกลกับวัตถไุ วไฟ เมอ่ื เลิกใชแลวใหถอดเตา เสยี บออก ๔ ระมัดระวังอยาใหเ ดก็ เลน เครื่องใชไฟฟา และเตารบั ควรใชแบบทมี่ ฝี าปดครอบ เพอ่ื ปองกนั เด็กนําวสั ดุไปเสียบรเู ตารบั ซง่ึ จะเกดิ อันตรายได ๕ อุปกรณเ ตา รับและเตา เสยี บของเครื่องใชไฟฟาหากชาํ รุดใหร บี เปลีย่ นใหมโ ดยเรว็ ๖ ไมควรใชป ล๊กั ไฟตวั เดียว ในการเสียบปลก๊ั เครอื่ งใชไฟฟาหลายชนดิ เพราะอาจเกดิ ความเส่ียงทําใหไ ฟฟา ร่ัว และสงผลใหผูใ ชง านถูกไฟฟาดดู ได ๗ ควรติดตง้ั สายดิน เพราะการตอสายดินเขากบั เครือ่ งใชไฟฟาเปน การนาํ ไฟฟาลงสดู นิ โดยเฉพาะเครือ่ งทําน้าํ อุน เนื่องจากอยใู กลน ํ้า และเกดิ อันตรายจากการใชงาน ๘ ตดิ ตั้งเครอื่ งตดั ไฟ เพื่อปองกันและลดอันตรายจากไฟฟา ดูดหรอื ลดั วงจร ตลอดจนชว ยรักษาความปลอดภัยของรา งกายและทรพั ยส นิ

สาระนา่ อ่าน 4 เทรนด์เทคโนโลยี 10 ทกั ษะท่ีคนทำ� งานตอ้ งมี ท่คี นทำ� งานตอ้ งรู้ ในปี 2019 ภายในปี 2022 วธิ ีการจัดการและแก้ไข จป.วยั ทีน แสงจากคอมพิวเตอร์ จป.มือโปร คณุ ณฐั พล แสงนาค คุณจันทมิ า ทพิ ย์สังวาลย์ นักศกึ ษาคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ ธมรหรามวิทศยาสาลตัยร์ เจา้ หนา้ ท่ีความปลอดภยั ในการท�ำงานระดับวิชาชีพ (Safety Officer) เรียนรู้ ปรับตวั ก้าวทัน 6 เทรนด์ การทำ� งานในยุคดจิ ิทลั คปอ. ขบั เคล่อื นอย่างไร เพ่ือใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล หน้ากากกรองอากาศ ในการท�ำงานอย่างจริงจงั และย่งั ยืน (Respirators) การนำ� เทคโนโลยีสร้างสภาพแวดล้อม เสมอื นจรงิ มาใช้ในการอบรม สำ� หรับป้องกนั ฝุ่น PM 2.5 ทางด้านความปลอดภยั งาน Safety ใน Asean แก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ และในต่างประเทศ ทำ� ความรูจ้ ัก AED โรคประสาทหูเส่อื ม การใช้วงล้อ PDCA จากการท�ำงาน กบั การบรหิ ารงานก่อสรา้ ง ช่ วยด้วย!! ไม่อยากไปทำ� งาน TOSH NEWS ขา่ ว สสปท.

พบกันอกี คร้ังกบั บทความที่นา่ สนใจและชวนให้คดิ ไปข้างหนา้ กบั สิ่งทจี่ ะเกดิ ข้นึ ในยคุ ดิจทิ ัล 4.0 ทเี่ ราอาจมนั่ ใจในความแมน่ ยำ� รวดเรว็ และในคณุ ภาพการผลติ เพราะทกุ อยา่ งถกู ออกแบบ ถกู สรา้ ง และ ถกู ควบคมุ ดว้ ยระบบดจิ ทิ ลั แตด่ ฉิ นั อยากเชญิ ชวนใหเ้ ราคดิ ไปดว้ ยกนั และรว่ มมอื รว่ มใจกนั สรา้ งไปดว้ ยกนั กค็ อื “ส�ำนึกความปลอดภยั เชงิ ปอ้ งกัน” เพราะ “คน” คอื ผูค้ ิด ผผู้ ลิต ผคู้ วบคมุ และผู้เสพเทคโนโลยี ดงั นนั้ ถา้ ในการพฒั นาการสรา้ งหรอื ใชเ้ ทคโนโลยี ไดค้ ำ� นงึ ถงึ ปจั จยั ดา้ นความปลอดภยั ฯ ประกอบทกุ ขน้ั ตอน เรากค็ งไมต่ อ้ งพบกบั ความสญู เสยี ทเี่ กดิ ขนึ้ จากความไมป่ ลอดภยั จากการทำ� งาน และพบภาพอบุ ตั เิ หตแุ ละ การเจบ็ ป่วยท่ีเกดิ ขน้ึ จากการเสพเทคโนโลยโี ดยขาดสำ� นกึ ความปลอดภยั เชิงป้องกนั เชน่ ทกุ วันนี้ อยา่ ลมื นะคะ “มุ่งสรา้ งสรรค์วฒั นธรรมไทยเชงิ ป้องกนั สูค่ วามปลอดภยั อาชวี อนามัย และ ความผาสกุ ทยี่ ง่ั ยนื ” พบกนั 4 – 6 กรกฎาคม 2562 งานความปลอดภยั และอาชวี อนามยั แหง่ ชาติ ครง้ั ที่ 33 ณ ศนู ยน์ ิทรรศการและการประชุม ไบเทค ที่ปรึกษา กรงุ ไกรวงศ์ กรรมการผ้ทู รงคุณวฒุ ิ สุดธดิ า ปตี ิวรรณ ผ้อู �ำนวยการสถาบันสง่ เสริมความปลอดภยั ฯ วรานนท ์ สุธรรมาสา สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช รองศาสตราจารย์สราวุธ พนั ธป์ ระสิทธิ ์ สมาคมอาชวี อนามัยและความปลอดภยั ในการท�ำงาน (สอป.) รองศาสตราจารย์ ดร.วันทนี บรรณาธิการบรหิ าร บุญดกี ลุ รองผอู้ �ำนวยการสถาบันสง่ เสริมความปลอดภยั ฯ จฑุ าพนติ สธุ รรมาสา รองศาสตราจารยส์ ราวธุ พันธ์ประสทิ ธิ์ รองศาสตราจารย์ ดร.วนั ทน ี กองบรรณาธิการ ควบคมุ การผลติ และประสานงาน คณาธิศ เกดิ คล้าย พนิ ิจ เชอ้ื วงษ์ ธนกฤต ธนวงศโ์ ภคิน กมลฐิติ วรเวชกลุ เศรษฐ์ จริ นนั ทน์ อินทร์มณี ขนิษฐา แสงภักดี ฝา่ ยการตลาดและสมาชิกสมั พนั ธ์ ชดิ ชนก แกน่ กล้า สุคนธา ทว้ มพงษ์ สุภารัตน์ คะตา พษิ ณุ จนั ทรส์ ี สถาบนั สง่ เสริมความปลอดภัย อาชีวอนามยั ศุภชัย แสงพวง และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน (องคก์ ารมหาชน) กรรณภิรมย์ คงค�ำ เลขท่ี 18 ถนนบรมราชชนนี แขวงฉิมพลี เขตตล่ิงชนั กรงุ เทพมหานคร 10170 พิมพ์รมั ภา เรือนคำ� โทรศพั ท์ 0 2448 9111, 0 2448 9098 สกุ านดา ปรางทพิ ย์ www.tosh.or.th นฤมล ดวงพลพรม จุฑาภรณ์ เมืองอุดม 4 นติ ยสารความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน

22 พฤษภาคม 2562 4th ครบรอบปท ี่ 4 การจดั ตง้ั สสปท. พนั ธกิจ เพอื่ ใหก้ ารดำ� เนนิ งานบรรลภุ ารกจิ ตามกฎหมาย และภารกจิ ในการขบั เคลอ่ื นตามวสิ ยั ทศั น์ สสปท. ได้กำ� หนดพันธกจิ เพือ่ เป็นกรอบในการด�ำเนนิ งานขององค์กร ดงั น้ี • ดำ� เนนิ งานวจิ ยั งานวชิ าการและการจดั ทำ� สถติ ิ เพอ่ื สนบั สนนุ การจดั ทำ� มาตรฐานเพอื่ ส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ� งานของประเทศให้มีมาตรฐาน ในระดับสากล • พฒั นาองคค์ วามรู้ นวตั กรรม และใหบ้ รกิ ารวชิ าการ พฒั นาบคุ ลากรดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน รองรบั ความจำ� เปน็ ในการดำ� เนนิ งานทางดา้ นภารกจิ ดา้ นทรัพยากรมนษุ ยแ์ ละการพฒั นาประเทศ • สรา้ งความเขม้ แขง็ ของสงั คมการทำ� งานใหม้ คี วามปลอดภยั และสนบั สนนุ เครอื ขา่ ยให้ มคี วามเปน็ เอกภาพในการขบั เคลอ่ื นการดำ� เนนิ งานความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ ม ในการท�ำงานของประเทศให้มีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์ต่อคนท�ำงาน และสนับสนุนการพัฒนา ประเทศ • สง่ เสริมวฒั นธรรมความปลอดภัย • สร้างระบบงานและการจดั การภายในองคก์ ร เพื่อขับเคล่อื นยุทธศาสตร์ สสปท. นติ ยสารความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน 5

ควผาขลมองภางานเครแภาลูมะ ิ ใจ ศนู ย์สง่ เสรมิ ความปลอดภยั และอาชีวอนามัยภมู ิภาค จงั หวัดสงขลา งานความปลอดภัยและอาชวี อนามยั แหง่ ชาติ ได้รับรางวัลชมเชยในการประชมุ วชิ าการนานาชาติ ด้านโรคจากการประกอบอาชพี และสิ่งแวดล้อม งานความปลอดภยั และอาชวี อนามยั ส่วนภูมิภาค กจิ กรรมการรณรงค์ลดสถติ ิอบุ ัตเิ หตุ จากการท�ำงานใหเ้ ป็นศนู ย์ คู่มอื แบบตรวจสอบพรอ้ มค�ำอธบิ าย (Checklist) มาตรฐานการป้องกันอัคคภี ยั ในสถานประกอบกิจการ อบรมการป้องกันปัญหา โครงการมาตรฐานระบบการจดั การด้าน ออฟฟศิ ซินโดรมในพนกั งานสำ� นกั งาน ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อม ในการทำ� งาน สำ� หรบั สถานประกอบกจิ การ SMEs มาตรฐานความปลอดภยั และอาชีวอนามยั Occupational Safety and Health Standard • อ(มม(มแมมลาาาาปปชตตตะออวีรรรส..อฐฐฐภ41าาานา00นนนาพ21รกกมแะ::าายั วบรร22ดแจป55บลัดลร66ก้อะะก11ามเสา))รมใรภจนนิคัดากควพกาาวาแรมารวทมปดด�ำเลา้สลงนอาย่ี้อดคนงมภดวใ(านา้ัยมมนใกปนปคาอกลรว.ทา4าอรม0�ำดทง1ปภาำ�ลัย:นงอา2อดน5าภ6บชัย1นีว)อทนสี่ าูงมัย • • • มาตรฐานการปฏิบตั งิ านคอมพวิ เตอร์ สอ่ื ประชาสัมพนั ธ์ดา้ นความปลอดภัย ตามหลักการยศาสตร์ (มปอ.301 : 2561) และอาชวี อนามยั ในการท�ำงาน ตดิ ตามขา่ วสาร • มาตรฐานการยกและเคล่อื นยา้ ยวสั ดุดว้ ยแรง ของเราไดท้ ี่ กายตามหลักการยศาสตร์ (มปอ.302 : 2561) www.tosh.or.th 6 นิตยสารความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน

ทีม่ า : ธเนศ อังคศิริสรรพ ผ้จู ัดการท่ัวไป ประจ�ำภมู ภิ าคอนิ โดจนี เลอโนโว เทรนดเ์ ทคโนโลยี ในปี 2019 ทคี่ นทำ� งานต้องรู้ เพราะชีวิตมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา ทุกอย่างรอบ ตัวเราถูกพัฒนาให้มีวิวัฒนาการท่ีดีข้ึนไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์ ชุดอุปกรณ์ภาพและเสียงส�ำหรับห้องประชุม หรือแม้กระท่ังหลอดไฟ มนุษย์จ�ำเป็นต้องเรียนรู้ที่จะรับมือและปรับตัวเข้ากับเทคโนโลยี รอบตัวทั้งในที่ท�ำงานและท่ีบ้านเพ่ือการใช้เทคโนโลยีได้อย่างรวดเร็ว มปี ระสทิ ธภิ าพ และเชอื่ มตอ่ กบั ชวี ติ ประจำ� วนั โดยเทคโนโลยสี ว่ นใหญ่ นั้นถูกพัฒนาข้ึนจากความต้องการท่ีจะส่งเสริมคุณภาพชีวิตของคน ใหด้ ขี ้ึน นิตยสารความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน 7

เทรนด์ท่ี 1: Smart spaces เม่ือทุกอยา่ งรอบตัวเราฉลาดข้นึ Smart Spaces ทั้งในชีวิตจริงและในแบบดิจิทัล คือสภาพแวดล้อมที่เอ้ือให้คน อุปกรณ์ และระบบ ท�ำงานเชื่อมต่อกันได้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ไมว่ ่าจะเปน็ Smart City, Digital Workspace หรือสมารท์ โฮม Smart Home ก็ตา่ งมีแนวโน้มทจ่ี ะหันมาให้ ความส�ำคัญกบั การทำ� งานในระบบนิเวศแบบเช่อื มต่อน้ี แลว้ อะไรคือชอ่ งโหว่ นั่นคอื เทคโนโลยีที่ใช้งานงา่ ย, ชว่ ยเพ่ิมความสะดวกสบาย และตอบโจทยค์ ือสงิ่ ท่ีผู้ใช้งานมองหา หาก เทคโนโลยที ถี่ กู พัฒนาขึ้นไม่ตอบสนองต่อความตอ้ งการเหลา่ น้ี แนวโน้มท่ีคนจะเลิกใชง้ านเทคโนโลยดี ังกล่าวจะเกิดขึน้ อย่างรวดเรว็ สำ� หรบั ผบู้ รโิ ภค เทคโนโลยสี ำ� หรบั สมารท์ โฮมจำ� เปน็ ตอ้ งชว่ ยลดความยงุ่ ยากและลดเวลาในการตดิ ตง้ั โดยในอนาคต อปุ กรณ์ สมารท์ โฮมจะถกู ใชง้ านอยา่ งแพรห่ ลายมากขน้ึ โดยจะเนน้ ทก่ี ารตดิ ตง้ั งา่ ย มโี ซลชู น่ั ทเ่ี ชอื่ มตอ่ กนั แบบครบวงจร และสรา้ งประสบการณ์ การใช้งานทด่ี แี ก่ผบู้ รโิ ภค อาทิ คอมพวิ เตอร์ในบ้านจะมีฟงั กช์ นั อจั ฉริยะ อยา่ งการจดจ�ำเสียง ระบบยนื ยนั ตัวตนดว้ ยอัตลักษณ์สว่ นบุคคล, การเชือ่ ม ต่อแบบ always-on หน้าจอแสดงผลแบบอัจฉริยะ จะเป็นแบบสัมผัส และมีตัวช่วยในการส่ังงานด้วยเสียงเพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถ เข้าถงึ ขอ้ มลู ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและเชอ่ื มตอ่ ได้สะดวกยิง่ ขน้ึ สำ� หรบั องคก์ ร องคก์ รสมยั ใหมท่ มี่ องการณไ์ กลเรมิ่ ใหค้ วามสนใจกบั แนวคดิ เรอื่ งการเปลย่ี นแปลง, การเพมิ่ ความคลอ่ งตวั ใน การเชอื่ มตอ่ การจดั สรรพน้ื ทีท่ ี่ส่งเสริมการทำ� งานและสร้างความสัมพันธร์ ะหวา่ งพนักงาน ไมว่ า่ จะเปน็ โถงทางเดิน ห้องอาหาร หรือ ห้องประชมุ ยอ่ ยท่ตี อ้ งเอือ้ ตอ่ การทำ� งานร่วมกันมากขน้ึ อาทิ การตดิ ตงั้ ระบบโซลชู น่ั สำ� หรบั หอ้ งประชมุ อจั ฉรยิ ะ จอแสดงผลแบบอนิ เตอรแ์ อคทฟี และอน่ื ๆ เมอื่ คนในยคุ เจเนอเรชน่ั ซี ซงึ่ มคี วามคนุ้ เคยกบั การใชเ้ ทคโนโลยใี นการทำ� งาน สง่ิ ทพี่ วกเขามองหาคอื สทิ ธใิ นการเลอื กใชอ้ ปุ กรณแ์ ละเทคโนโลยที ตี่ นเองคนุ้ เคย 8 นติ ยสารความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน

องค์กรที่จะประสบความส�ำเร็จในการก้าวสู่การเปลี่ยนแปลงที่ท�ำงานสู่ยุคใหม่จะต้องสร้างความสมดุลระหว่างเป้าหมายด้วย นโยบายเชงิ วฒั นธรรมและสรา้ งความประทับใจในการชว่ ยเปลยี่ นสังคมการทำ� งานสู่รปู แบบใหม่นี้ได้ นอกจากน้ีอีกหนึ่งปัจจัยต่อการเปลี่ยนแปลงท่ีท�ำงานสู่ยุคใหม่คืออุปกรณ์ภายในองค์กรต้องสามารถรองรับการเช่ือม ต่อเข้ากับโปรแกรมหรือระบบคลาวด์ และตู้จ�ำหน่ายสินค้าอัตโนมัติแบบครบวงจร ซึ่งช่วยให้พนักงานสามารถเลือกผลิตภัณฑ์ ไอทตี า่ งๆ ตงั้ แตแ่ ล็ปทอปตลอดจนเมาส์ คียบ์ อร์ด หรือชดุ หฟู งั ได้อยา่ งสะดวกรวดเรว็ ซึ่งจุดเด่นของโซลูชั่นนี้คือช่วยลดข้ันตอนเอกสารให้กับฝ่ายจัดซ้ือและช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงานให้พนักงาน การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสมาร์ทออฟฟิศช่วยให้องค์กรสามารถเพิ่มความคล่องตัว ความคิดสร้างสรรค์ และเพิ่มผลผลิต ในการทำ� งาน เทรนดท์ ่ี 2: เทคโนโลยีสร้างประโยชน์ IoT, AI และ AR/VR ชว่ ยให้เรามชี วี ิตท่ดี ีขน้ึ อนิ เทอรเ์ นต็ ในทุกสง่ิ (IoT) ปัญญาประดิษฐ์ (AI) และเทคโนโลยีเสมือนจริง (AR/VR) เปน็ หวั ขอ้ ท่ไี ดร้ บั ความสนใจ จากหลากหลายอุตสาหกรรม เนื่องจากเทคโนโลยีช่วยให้เกิดการเช่ือมต่อท่ีไร้พรมแดน ที่ช่วยส่งเสริมการท�ำงานของ ออโตเมชน่ั แบบเตม็ รูปแบบ ช่วยใหก้ ารใชง้ านผ่านมุมมองโลกเสมือนไดเ้ หมอื นจรงิ มากยงิ่ ขนึ้ กวา่ เดิม และในปี 2019 ประสิทธิภาพของเทคโนโลยีดังกล่าวจะถูกพัฒนายิ่งข้ึนกว่าเดิมเพื่อการใช้งานในหลากหลาย อุตสาหกรรม ไม่วา่ จะเป็นในอุตสาหกรรมการผลิตไปจนถงึ ส�ำหรับสถาบนั การศกึ ษา ร้านค้าปลีก และอีกมากมาย ยกตัวอย่างเช่น ในเร่ืองของอุตสาหกรรมเกีย่ วกบั สขุ ภาพ เทคโนโลยี IoT และ และแอปพลเิ คชันต่างๆ ท่ถี ูกพฒั นา ด้วย AI จะช่วยผลักดันให้เกิดการพัฒนามากมายในอนาคตอันใกล้ ไม่ว่าจะเป็นการช่วยลดเวลาในการรอห้องฉุกเฉินในโรง พยาบาล การควบคุมและดูแลบริการด้านสุขภาพจากทางไกล การเข้าถึงข้อมูลและตรวจสอบความพร้อมในการให้บริการ นิตยสารความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน 9

ของอุปกรณต์ า่ งๆ หรือแม้กระทงั่ การใช้เทคโนโลยปี ัญญาประดิษฐ์ หรอื AI เพอ่ื ลดเวลาท�ำงานของแพทย์ในการวนิ จิ ฉัยก้อนเน้ือ เทคโนโลยเี สมอื นจรงิ สามารถนำ� มาใชป้ ระโยชนก์ บั อตุ สาหกรรมทางดา้ นสขุ ภาพในอนาคตไดเ้ ชน่ กนั อาทิ การใชเ้ ทคโนโลยเี สมอื นจรงิ เพอื่ ใหผ้ ปู้ ว่ ยสามารถเหน็ บรรยากาศภายในของโรงพยาบาลไดก้ อ่ นเขา้ ไปรบั การรกั ษาเพอื่ ลดความเครยี ดและวติ กกงั วลเกย่ี วกบั รายละเอยี ดขน้ั ตอนตา่ งๆ ในขณะเดียวกันเทคโนโลยี VR ยังช่วยรักษาสภาพจิตใจของเด็กๆ ท่ีรับการรักษาอยู่ในโรงพยาบาลด้วยความบันเทิง ไม่ว่าจะเป็นเกม หรือการท�ำกายภาพเพ่อื ให้พวกเขาร้สู กึ สนกุ สนานและมกี �ำลงั ใจในการรกั ษามากขน้ึ ดา้ นการศึกษา การน�ำเทคโนโลยี VR มาใชใ้ นห้องเรียนนั้น ชว่ ยใหน้ กั เรียนสามารถเข้าถงึ ประสบการณ์ใหมๆ่ ทีพ่ วกเขาไม่เคยสมั ผสั ได้ งา่ ยข้ึน รวมถึงทางการเรียนรู้ โลกเสมือนจริงจากเทคโนโลยี VR จะชว่ ยสรา้ งสิ่งแวดลอ้ มต่างๆ และเตมิ เต็มสงิ่ ท่ีพวกเขาตอ้ งการ หรอื แม้กระท่ัง สนามเดก็ เล่นในจนิ ตนาการของพวกเขาอกี ด้วย อุตสาหกรรมค้าปลีก ก็เข้าสู่ยุคของการเปล่ียนแปลงเช่นเดียวกัน เทคโนโลยีจะเข้ามาช่วยสร้างโอกาสในการเข้าถึงผู้บริโภคผ่านการ วเิ คราะหข์ ้อมูลเพือ่ นำ� มาเปน็ ตวั ชว่ ยสรา้ งประสบการณ์การซ้ือสนิ ค้าท่ดี ใี หแ้ กผ่ บู้ รโิ ภค อีกทง้ั ยงั ใหค้ วามสะดวกแก่ผบู้ ริโภคในการซอื้ ผา่ นบรกิ าร อยา่ งการซื้อสินคา้ บนโทรศพั ทม์ อื ถอื ชำ� ระเงนิ ผา่ นระบบอัตโนมัตดิ ว้ ยตวั เองทงั้ ทีร่ ้านค้าและระบบออนไลน์ การขับเคล่ือนสู่แพลตฟอร์มในธุรกิจค้าปลีกถือว่าเป็นการพลิกโฉมทางธุรกรรมท่ีจุดขาย เนื่องจากอุปกรณ์เหล่าน้ีสามารถสร้าง ประสบการณก์ ารใชง้ านทเี่ ปน็ จดุ สำ� คญั ในการมดั ใจลกู คา้ ซง่ึ สามารถพฒั นาตอ่ ไปสเู่ ทคโนโลยใี หมๆ่ ซงึ่ ชว่ ยในการแสดงราคาตามจรงิ การจดั การ สตอ๊ กสนิ คา้ และวเิ คราะหข์ อ้ มลู พฤติกรรมลูกค้า 10 นิตยสารความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน

เทรนด์ท่ี 3: AR ไม่เพยี งสนกุ แตต่ อ้ งเกดิ ประโยชน์ ตลาดเทคโนโลยีเสมือนจริงในโลกยุคปัจจุบันมีการเติบโตอย่างรวดเร็ว ซึ่งภายในปีนี้คาดการณ์ว่าตลาดอุปกรณ์และเทคโนโลยีที่เช่ือม ตอ่ กับเทคโนโลยโี ลกเสมอื น หรอื AR และเทคโนโลยีความเปน็ จริงเสมอื น หรือ VR จะมเี งินสะพดั มากถึง 27,000 พนั ล้านดอลลารส์ หรฐั และจากผลการวิจัยของ IDC ได้เปิดเผยว่าเมื่อเทียบกับปที ผี่ า่ นมามียอดเงินสะพดั สูงขึน้ มากถึง 92% กล่าวได้ว่าเทคโนโลยีความเป็น จรงิ เสมอื น ไดก้ ลายเป็นท่นี ิยมเป็นอย่างมากทา่ มกลางแวดวงอุตสาหกรรมตา่ งๆ อาทิ วงการเกม การสอ่ื สารมวลชน ภาพยนตร์ การศกึ ษา การ กฬี าและดนตรี ท้งั นเ้ี ทคโนโลยดี ังกล่าวยงั เป็นทยี่ อมรับในการฝกึ อบรมและการสร้างการเรียนรผู้ ่านการจ�ำลองภาพดิจิทลั อกี ดว้ ย จากความต้องการในการใช้งานเทคโนโลยีความเป็นจริงที่เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในแวดวงของส่ือบันเทิงและองค์กรธุรกิจต่างๆ เทคโนโลยี AR ได้ถกู นำ� มาใช้ในการอบรมและสร้างการเรียนรูผ้ ่านการจ�ำลองภาพดจิ ิทลั ซ้อนทบั บนสภาพแวดลอ้ มจรงิ เพือ่ ให้สามารถมองเหน็ ถึงรายละเอยี ดหรอื ตำ� แหน่งตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งชัดเจนมากขนึ้ และดว้ ยการมาถึงของเทคโนโลยี 5G ความสามารถทีห่ ลากหลายและทรงคุณค่าของ นวตั กรรม AR จึงปรากฏเพิม่ มากขึ้น อาทิ การสร้างภาพจนิ ตนาการในชีวิตจรงิ ระบบความช่วยเหลอื ระยะไกล การรับรู้และจดจ�ำวัตถุ ตลอดจน การเพิม่ ประสทิ ธิภาพการใชง้ านใหม้ คี วามคลอ่ งตวั และการสร้างคอนเทนต์เนื้อหาทีม่ ปี ระสิทธิภาพอ่ืนๆ ดังนนั้ จากความสามารถของเทคโนโลยี ดงั กล่าวทีก่ ้าวกระโดดไปข้างหน้า จะเปน็ ส่งิ ทเี่ สริมสร้างความแข็งแรงและเพ่มิ คุณคา่ ให้แก่ธรุ กจิ ต่างๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี ยกตวั อยา่ งเชน่ การใชแ้ วน่ เออาร์ หรอื AR glasses มาเปน็ สว่ นหนงึ่ ของระบบเทคโนโลยขี นาดใหญเ่ พอื่ เชอ่ื มตอ่ กบั ขอ้ มลู ดา้ นการผลติ และงานภาคสนามอยา่ งเรยี ลไทม์ โดยเทคโนโลยนี จ้ี ะชว่ ยลดขอ้ ผดิ พลาด ใหค้ วามถกู ตอ้ งแมน่ ยำ� เสรมิ สรา้ งความปลอดภยั และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ ของเนื้องานอีกดว้ ย นิตยสารความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน 11

เทรนดท์ ่ี 4: ทิศทางของความปลอดภยั บนโลกไซเบอรแ์ ห่งอนาคต นอกเหนือจากน้ี มนุษย์ท่ีมักถูกมองว่าเป็นจุดอ่อนส�ำคัญในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลแล้ว หลายองค์กรยังต้องรับมือ กับความก้าวหน้าของเทคโนโลยี อาทิ นโยบายการให้พนักงานน�ำอุปกรณ์ส่วนตัวมาใช้ท�ำงาน การเข้าถึงระบบจากการท�ำงานระยะไกล และ การจ้างงานแบบชั่วคราว ซึ่งล้วนส่งผลให้ระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในองค์กรมีประสิทธิภาพลดลง หากพนักงานละเลยหรือไม่ท�ำ ความเข้าใจกับกฎระเบียบด้านการรักษาความปลอดภัย องค์กรก็มีสิทธิ์เผชิญกับภัยคุกคามด้านความปลอดภัย ความสูญเสียทางการเงิน ไปจนถงึ ความเสยี หายของชอื่ เสยี งได้ ถงึ แมว้ า่ ทกุ องคก์ รจะมผี เู้ ชยี่ วชาญดา้ นไอทที คี่ นุ้ เคยกบั การจดั การขอ้ มลู สว่ นบคุ คล แตบ่ างครงั้ พนกั งานทวั่ ไป ก็อาจยึดเอาความสะดวกในการทำ� งานมากอ่ นการปฏิบตั ติ ามระเบยี บ เป็นเหตุใหเ้ กิดชอ่ งโหว่ด้านความปลอดภยั แม้ AI จะไดร้ บั ยกยอ่ งวา่ เปน็ หนง่ึ ในวธิ ปี อ้ งกนั ขอ้ มลู ทดี่ ที สี่ ดุ แตก่ เ็ ชน่ เดยี วกนั กบั เทคโนโลยอี นื่ ๆ AI กเ็ หมอื นเปน็ ดาบสองคมทอี่ าชญากร ไซเบอรท์ งั้ หลายตา่ งหมายตาไว้ ดว้ ยเหตนุ เ้ี องเราจงึ คาดการณว์ า่ ในปี 2019 เราจะไดเ้ หน็ การศกึ ษาและนำ� เทคโนโลยี AI มาใชเ้ พอื่ หาขอ้ บกพรอ่ ง ในด้านความปลอดภัยของระบบ หรือเป็นโซลูชั่นเพื่อความปลอดภัยแบบครบวงจร ซึ่งจะช่วยให้หาช่องโหว่ด้านความปลอดภัยง่ายข้ึน โดย 4 หัวข้อด้านความปลอดภัยท่ีองค์กรและพนักงานในองค์กรต้องช่วยกันดูแลป้องกัน คือข้อมูล ตัวตน ระบบออนไลน์ และอุปกรณ์ การพัฒนา แผนป้องกันภยั ไซเบอรแ์ บบองคร์ วมเป็นสงิ่ สำ� คญั อยา่ งยิ่ง ส�ำหรับตอ่ ตา้ นภยั คุกคามของท้งั 4 หัวข้อดังกลา่ ว แนวโนม้ ของการยนื ยนั ตวั ตนผ่านสองขั้นตอนในอปุ กรณส์ ่วนบุคคล ทกี่ ำ� ลังเปลย่ี น เป็นการยืนยันตัวตนผ่านหลายขั้นตอนน้ันเพ่ิมข้ึนต่อเนื่อง เมื่อองค์กรในอุตสาหกรรมด้านความปลอดภัยอย่าง FIDO Alliance ผนึกก�ำลังกับ Windows Hello ในการสรา้ งระบบตรวจสอบความปลอดภยั ทีเ่ ขม้ งวดย่ิงข้ึน นอกจากนอ้ี ปุ กรณอ์ จั ฉรยิ ะในบา้ นและสำ� นกั งานทเ่ี ชอื่ มตอ่ กนั ไดท้ งั้ หมด ยงั นำ� ไปสกู่ ารเกดิ ชอ่ งโหวด่ า้ นความปลอดภยั ดงั นน้ั การเรยี นรู้ จากผใู้ ช้ ผา่ นทางพฤตกิ รรมการเรยี นรดู้ ว้ ยตวั เองและรปู แบบการเรยี นรใู้ หมๆ่ จงึ เปน็ สงิ่ จำ� เปน็ ซงึ่ ชใ้ี หเ้ หน็ ถงึ การเปลย่ี นแปลงทางเทคโนโลยี และ การเปลี่ยนแปลงของพฤตกิ รรมการใชเ้ ทคโนโลยขี องมนุษยค์ วบคู่กัน องค์กรตา่ งๆ ควรเขา้ ใจถึงแรงงานท่ีประกอบไปดว้ ยผคู้ นทห่ี ลากหลายเพศ และอายเุ พ่อื ใหส้ ามารถจดั การและปกปอ้ งอปุ กรณ์ไดด้ ีข้นึ เชน่ เดยี วกับการพฒั นาระเบียบการและแนวทางการรักษาความปลอดภัยทเี่ ขม้ งวด 12 นติ ยสารความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน

สาระนา่ อา่ น World Economic Forum (WEF) ได้เปิดเผยถึงเทรนด์โลกท่ีน่าจับตามองท่ีจะส่งผลต่อตลาดงานในอนาคต ได้แก่ เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ปัญญาประดิษฐ์ (AI) การใช้ Big data และ Cloud ที่จะเข้ามามีบทบาทส�ำคัญในปี 2018 – 2022 โดยคาดว่าภายในปี 2022 สัดส่วนการท�ำงานรว่ มกันของมนุษยแ์ ละเครอ่ื งจกั รหรอื ระบบอลั กอรทิ มึ จะอยทู่ ีม่ นุษย์ 58% เคร่ืองจักร 42% จากเทรนด์ดังกล่าวอนาคตของโลกการท�ำงานจึงต้องการคนท�ำงานท่ีมีทักษะชุดใหม่โดยเฉพาะทักษะ ท่ีเก่ียวข้องกับการสร้างนวัตกรรมและประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ส�ำหรับประเทศไทยนั้น WEF ได้ท�ำการส�ำรวจและสรุป 10 ทักษะ ท่ีเปน็ ทต่ี ้องการของประเทศไทยไว้ดงั น้ี 10 ทักษะท่ีเป็นที่ต้องการของประเทศไทย กลมุ่ ท่ี 1: ทักษะการคดิ • ทกั ษะดา้ นการคดิ วเิ คราะหแ์ ละทกั ษะการคดิ เชงิ นวตั กรรม (Analytical thinking and innovation) ทักษะการวเิ คราะหข์ อ้ มูล และความสามารถในการคดิ อย่าง เป็นตรรกะเพ่ือระบุหาสาเหตุของปัญหาต่างๆ รวมถึงความสามารถใน การพลกิ แพลงหรอื คดิ คน้ ไอเดยี ใหมๆ่ มาใชใ้ นการแกป้ ญั หาในการทำ� งาน นติ ยสารความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน 13

• ทักษะความคดิ สร้างสรรคแ์ ละความคิดรเิ ริ่ม (Creativity, originality and initiative) ความสามารถในการคิดไอเดียที่แปลกใหม่ไม่ซ�้ำใคร และใชง้ านไดจ้ ริง สามารถตอบโจทยข์ องงานได้ • ทักษะการสร้างไอเดยี ให้เหตุผล การแก้ไขปัญหา (Reasoning, problem-solving and ideation) ความสามารถในการค้นหาและผลิตไอเดียท่ีสมเหตุสมผลที่น�ำไปสู่การตัดสินใจแก้ไขปัญหาท่ีถูกต้อง ซึ่งเป็นส่วนส�ำคัญในการคิดเชิง ออกแบบ (Design Thinking) เพอ่ื พฒั นาสนิ ค้าและบริการหรอื สรา้ งนวัตกรรมใหมๆ่ • ทักษะการคิดวิเคราะห์และการคิดเชงิ วพิ ากษ์ (Critical thinking and analysis) ความสามารถในการใชต้ รรกะและความคดิ อย่างเปน็ เหตุเปน็ ผลในการวิเคราะห์ขอ้ ดี ข้อเสีย ประเมินทางเลือก การคิดรอบด้านเพื่อ หาข้อสรปุ เพือ่ และการตดั สินใจแก้ปัญหานนั้ • ทักษะการแกไ้ ขปญั หาทีซ่ บั ซอ้ น (Complex problem-solving) การน�ำความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ท่ีมีมาใช้ในการระบุปัญหา ประมวลผลข้อมูล และทางเลือกต่างๆ เพ่ือหาหนทางแก้ปัญหา หรือพฒั นาวธิ กี ารท�ำงานให้มปี ระสทิ ธิภาพยงิ่ ข้นึ • ทกั ษะการเรยี นรเู้ ชงิ รกุ (Active learning) ทักษะในการเรียนรู้ผ่านการลงมือท�ำ ความสามารถและความกระตือรือร้นท่ีจะเรียนรู้ส่ิงใหม่และเลือกส่ิงท่ีเรียนมาประยุกต์ใช้ ใหเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ กลุ่มท่ี 2: ทกั ษะดา้ นเทคโนโลยแี ละดจิ ทิ ัล • ทักษะการออกแบบเทคโนโลยแี ละการเขยี นโปรแกรม (Technology design and programming) ความสามารถดา้ นการเขยี นโปรแกรม ออกแบบหรือปรบั ปรงุ เทคโนโลยเี พ่อื ตอบโจทย์ความตอ้ งการของผ้ใู ช้ • ทกั ษะในการวิเคราะห์ระบบ (Systems analysis and evaluation) การเข้าใจการทํางานของระบบและการเปล่ียนแปลงต่างๆ ของระบบ รวมถึงความสามารถในการพิจารณาและประเมินประโยชน์ และเลือกทางท่ดี ที สี่ ุด เพอ่ื ปรบั ปรุงและพฒั นาระบบงานให้ดยี ง่ิ ขนึ้ 14 นิตยสารความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน

กลุ่มที่ 3: ทักษะดา้ นคน • ความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional intelligence) ความสามารถในการรบั รแู้ ละเขา้ ใจอารมณข์ องตนเองและผอู้ น่ื สามารถควบคมุ หรอื ระงบั อารมณข์ องตนเองได้ มคี วามเหน็ อกเหน็ ใจ ร้จู ักเอาใจเขามาใสใ่ จเรา มที ัศนคตทิ ่ดี แี ละสามารถทำ� งานร่วมกับผอู้ ื่นไดด้ ี • ทกั ษะการเปน็ ผ้นู ำ� และสรา้ งแรงบันดาลใจ (Leadership and social influence) การมีภาวะผูน้ �ำ และความสามารถในการน�ำทีม แบกความรับผิดชอบ ให้คำ� แนะน�ำและสั่งการผู้อนื่ ได้ ขณะเดยี วกันก็สามารถสรา้ ง แรงบันดาลใจและมอบพลังใหก้ บั คนในทีมใหพ้ รอ้ มท่ีจะมงุ่ ม่ันและทุม่ เทในการท�ำงานเพื่อองค์กร ทมี่ า: http://www3.weforum.org/docs/WEF_Future_of_Jobs_2018.pdf , https://adecco.co.th/th/knowledge-center/ detail/10-skills-thailand-2022 นิตยสารความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน 15

วธิ ีการจดั การ แสงและแกไ้ ข ปัจจุบนั คอมพิวเตอร์ถูกใชก้ นั อย่างแพร่หลาย ทง้ั ทีท่ �ำงาน โรงเรยี น และบ้าน ทั้งผู้ใหญ่ และเดก็ การจดั สภาพแสงของจอคอมพวิ เตอร์ และแสงจากรอบๆ ตัว ให้เหมาะสมด้วย เนื่องจากผู้ทใ่ี ช้งานคอมพิวเตอร์ จ�ำเปน็ ตอ้ งใช้ตาในการมองจอ หรือเอกสารทต่ี ้องพมิ พ์ ตลอดเวลา ดงั นนั้ แสงทม่ี ดื หรอื จา้ เกนิ ไป หรอื มแี สงรบกวนสายตาขณะทท่ี ำ� งาน อาจทำ� ให้ ตาตอ้ งท�ำงานหนกั ซ่ึงอาจส่งผลทำ� ใหเ้ กิดการเมอ่ื ยลา้ ของตาได้ อาการเม่อื ยล้าของตา แปดวงดแลสา้ บรแะลคะาตยาเคแือหงง้ ปวดศรี ษะ แตลอ้ ะยงจเาพกอง่ลดด�ำ้วูเบยอคากกวสาามร เป็นอาการหลกั ท่ีพบได้บ่อย กซ่ึงับมผอีู้ทา่ใี กชา้ครอดมงั พติวอ่ เไตปอนร้ี ์ ภาพซอ้ น เบลอ สแู้ สงจา้ ไมไ่ ด้ 16 นิตยสารความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน

ทีม่ า : หมอชาวบา้ น , http://www.thaihealth.or.th สาเหตุ พฤติกรรมการใช้สายตาเป็นสาเหตุหลักอย่างหนึ่ง ที่ท�ำให้เกิดอาการเม่ือยล้าตา ส�ำหรับผู้ที่ใช้ ของอาการ คอมพวิ เตอร์ มกั มอี าการเมอ่ื ยลา้ ตาทเ่ี กดิ จากการมองอยทู่ จี่ อนานๆ มองดว้ ยระยะทใี่ กลเ้ กนิ ไป โดยเฉพาะ เม่ือยลา้ ของตา ที่จุดใดจุดหนึ่ง โดยไม่เปลี่ยนระยะการมอง ท�ำให้ไม่มีการปรับระยะโฟกัสของตาไปสู่ระยะอ่ืนๆ และเม่ือ เปลย่ี นไปมองวตั ถอุ ืน่ ๆ อาจมอี าการภาพเบลอชั่วขณะได้ นอกจากนน้ั การมองอย่นู านๆ ทำ� ใหก้ ารกะพริบ ตาลดลง อาจเหลือแค่ 1 ครง้ั ต่อนาที ซง่ึ ปกตแิ ลว้ ควรจะประมาณ 1 ครั้งต่อทุก 5 วนิ าที ซึง่ ลกั ษณะดงั นี้ จะทำ� ให้น้�ำตาไปเลี้ยงไดไ้ มท่ ่ัวตา สง่ ผลท�ำให้เกดิ อาการตาแหง้ ระคายเคอื งและแสบตาได้ สาเหตหุ ลกั อกี อยา่ งคอื โดยภาวะแสงสว่างน้อยเกินไปหรือสว่างเกินไป ท�ำให้ตาท�ำงานหนัก การจัดแสงในหอ้ งทำ� งาน มากข้นึ นอกจากนนั้ อาจเปน็ แสงจ้า แสงสะทอ้ นรบกวนสายตา มีต้นก�ำเนดิ จาก และปรบั แสงจากจอคอมพวิ เตอร์ แสงจากภายนอก เชน่ จากหนา้ ตา่ ง ประตู แสงจากหลอดไฟ แสงจากเครอื่ งฉาย ไดไ้ มส่ มดลุ กบั งานและผู้ใช้ แผ่นใส เครื่องถ่ายเอกสาร แสงเหล่าน้ีมีผลรบกวนการท�ำงาน ท�ำให้ท�ำงานผิด พลาด ประสทิ ธภิ าพการท�ำงานลดลง และส่งผลต่ออาการปวด เมอ่ื ยล้าตา อย่างไร งานออฟฟศิ เปน็ งานทต่ี อ้ งอาศยั การมอง ดงั นนั้ จงึ ตอ้ งการแสงทดี่ ี เพอื่ ใหเ้ กดิ ความสบายกบั สายตาและ ถึงเรยี กว่า เกดิ ผลผลติ มากทสี่ ดุ ความหมายของแสงทดี่ คี อื แสงทใ่ี หค้ วามสอ่ งสวา่ งเพยี งพอทที่ ำ� ใหม้ องเหน็ งานพมิ พ์ ลายเขยี น เป็นแสงท่ดี ี โดยท่แี สงนั้นไมม่ ากเกินไปจนตาพร่า มองไม่เห็น จอคอมพวิ เตอร์เปน็ แหลง่ กำ� เนิดแสงอย่างหนง่ึ ที่สามารถท�ำให้ เกิดแสงจ้าเกนิ ไป เป็นแสงทีม่ าจากหลอดไฟ หรอื แหล่งก�ำเนดิ ทด่ี ี ให้แสงที่มีสีท่ีเหมาะกบั การอ่านและเขยี น เช่น นิตยสารความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน 17

แสงจากหลอดไฟฟลอู อเรสเซน หลอดตะเกยี บ ทมี่ แี สงสขี าวนวล ขณะทแี่ สงจากหลอดกลม หรอื แสงจากไฟตามทอ้ งถนนจะมสี สี ม้ ซงึ่ ไมเ่ หมาะสม กบั การอา่ น เปน็ แสงทมี่ คี ุณภาพ ไมก่ ะพรบิ และคุณภาพของ ความสวา่ งและสสี มำ่� เสมอ เป็นแสงทีม่ ีการกระจัด-กระจาย ไม่พุ่งมาทศิ ทางเดยี ว ดังตัวอย่างของการถ่ายภาพท่ีถ้าใช้แสงไฟส่องตรงไปยังผู้ถูกถ่าย คุณภาพของภาพจะดูแข็ง ไม่อ่อนนุ่มเหมือนภาพที่เกิดจากการสะท้อน เช่น แสงที่สะท้อนแผ่นสะท้อนแสง หรือแสงสะท้อนจากก�ำแพงสีขาว หรืออีกตัวอย่างท่ีดีคือแสงจันทร์กับแสงจากไฟฉาย มีระดับความสว่างตาม คำ� แนะน�ำส�ำหรบั สำ� นักงาน วิธกี ารจัดการและแก้ไข ทำ� ไดโ้ ดยใช้ต้นกำ� เนิด แสง ทม่ี ีคณุ ภาพแสงทด่ี ี เชน่ หลอดไฟฟลอู อเรสเซน หลอดตะเกยี บประหยดั พลังงาน • แสงจากภายนอกท่ีจ้าเกินไป อาจลดได้โดยใช้ม่าน มู่ล่ีบังแสงน้ัน ขณะเดียวกันก�ำแพงห้องควรใช้สีแบบด้านทา ไม่ควรเป็นสีน�้ำมัน หรอื วัสดุที่สะทอ้ นแสงได้ • ปรบั จอภาพไมใ่ หร้ ับแสงสะทอ้ นจากหลอดไฟหรอื แสงจากภายนอก ขณะเดียวกันอาจใช้แผ่นก้นั ไมใ่ หแ้ สงส่องมากระทบท่จี อ หรือ ใชแ้ ผน่ กน้ั แสงแบบขนุ่ เพอื่ ใหแ้ สงจากหลอดไฟจา้ ลดลง หากไมส่ ามารถจดั การกบั แสงจา้ ภายนอกได้ อาจใชว้ ธิ กี ารเพมิ่ แสงภายในใหม้ ากขนึ้ อยา่ ใหห้ อ้ งทีท่ ำ� งานมืดเกนิ ไป เพราะจะรู้สึกผลของแสงภายนอกจา้ รบกวนตามากกวา่ ปกติ • ปรบั ระดบั ความเขม้ ของแสงและความแตกตา่ งระหวา่ งตวั หนงั สอื ในจอกบั พน้ื ทขี่ องจอ (contrast) ใหเ้ หมาะสมตามความรสู้ กึ ทส่ี บาย ของตนเอง อย่างไรกต็ าม แนะน�ำใหพ้ น้ื ท่จี อควรเปน็ สอี อ่ น • ขนาดตัวหนังสอื และไอคอน (icon) ทใ่ี ช้ในคอมพวิ เตอรไ์ มค่ วรมีขนาดเล็ก เพราะท�ำใหต้ ้องเพง่ และใช้สายตามากเกินไป • แผ่นกรองแสงทีห่ น้าจอคอมพิวเตอรเ์ ป็นอุปกรณ์ทช่ี ว่ ยลดแสงสะท้อนได้ อย่างไรกต็ าม การควบคุมทต่ี น้ ก�ำเนดิ แสงเป็นสิ่งท่ีดที ส่ี ุด • เม่ือต้องมีการอ่านเอกสาร จะท�ำให้ความต้องการ ปริมาณแสงมากข้ึนกว่าการอ่านจากจอคอมพิวเตอร์ ปริมาณแสงที่มากข้ึนมีผล รบกวนสายตาเม่ือใช้คอมพิวเตอร์ ดังน้ัน ควรใช้โคมไฟชนิดท่ีให้แสงอ่อนนุ่มช่วยก็ได้ ขณะเดียวกันเพ่ือลดปริมาณแสงท่ีเกิดจากความต้องการ ในการอ่านเอกสารได้ โดยให้ใช้กระดาษและตวั หนังสือท่มี คี วามแตกตา่ งกนั สูง เช่น ตวั หนังสอื สีด�ำและพน้ื สีขาว • ควรจำ� กัดระยะเวลาการใชง้ านกับคอมพิวเตอร์ และควรพักบ่อยๆ เชน่ ท�ำงาน 1 ช่ัวโมง ตอ้ งพกั ด้วยการละสายตาไปมองอย่างอน่ื ที่ เย็นตา ทมี่ รี ะยะหา่ งออกไป เชน่ ต้นไมภ้ ายนอกบ้าง หรอื ดที ส่ี ดุ คือ ลุกจากทน่ี ่งั ไปเปลยี่ นอิรยิ าบถบา้ ง และเม่ือถงึ เวลาพกั ควรได้พักจริง ไม่ใชย่ งั ท�ำงานอื่นกบั คอมพิวเตอร์ เชน่ ตอบจดหมาย เล่นอนิ เทอร์เน็ต หรอื เกม • อาจกะพรบิ ตาใหบ้ อ่ ยขนึ้ โดยเฉพาะเม่ือนกึ ได้ หรือเมื่อรสู้ ึกระคายเคอื ง แสบตา เพราะจะท�ำให้นำ�้ ตามาอาบลูกตามากขึ้น • หม่นั สงั เกตคณุ ภาพของแสงจากหลอดไฟ เพราะหลอดไฟมอี ายกุ ารใช้งาน เมอื่ เวลาผา่ นไปแสงจะลดลง ฝาครอบมีแมลงไปเกาะตาย หรือมีฝุน่ เกาะ ทำ� ให้ปริมาณแสงทีส่ ่องลงมาลดลง • ควรทำ� ความสะอาดหน้าจอ ไม่ให้มฝี ุ่นและคราบรอยน้ิวมอื เพราะท�ำให้มีผลตอ่ การอา่ นและแยกแยะตัวหนงั สอื • ตรวจสอบความสงู และการจัดวางจอคอมพิวเตอร์ ว่าเหมาะสมกับผู้ใชไ้ หม เช่น จอคอมพวิ เตอรท์ ส่ี ูงหรอื ต่�ำเกนิ ไป มีผลตอ่ ลกั ษณะ ทา่ ทางของคอและศรี ษะ ทำ� ใหศ้ รี ษะอยใู่ นทา่ กม้ หรอื เงยเกนิ ไป กลา้ มเนอ้ื คอและบา่ ทำ� งานหนกั และมมุ มองของสายตาแคบลงสง่ ผลใหก้ ารขยบั มองไปในทศิ ทางอื่นไดย้ าก ซึ่งปกติแลว้ การจัดวางทดี่ ีตอ้ งทำ� ให้ผู้ใช้สามารถขยบั ตัวเพือ่ เปลี่ยนอริ ิยาบถหรอื ท�ำสงิ่ ต่างๆ ได้ “ ผู้ท่มี ีปัญหาเร่อื งสายตาควรพบแพทย์ และตดั แว่นหรือใส่คอนแทคเลนส์แก้ไขให้ถูกต้อง ” เม่ือทา่ นสามารถทำ� ได้ตามท่กี ลา่ วมา ทา่ นจะหา่ งไกลจากการเม่อื ยลา้ ตา และอาจท�ำให้ท่านทำ� งานไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ มากข้นึ รวมทงั้ มคี วามสนกุ กบั การท�ำงานมากข้นึ อยา่ งไรกต็ าม หากท่านยงั มีอาการดังกลา่ วอยู่ ขออยา่ น่ิงนอนใจ ใหร้ บี ไปปรึกษาแพทยแ์ ละผู้เช่ียวชาญตอ่ ไป 18 นติ ยสารความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน

วจัยปท. นี นายณัฐพล แสงนาคชตแองนอ่ืาำ�ปุ นะเแนลนหอิส่น�ำนดยัตง่:ิเรวัง:ฟากใอนนลิ ัธ:ฐป์มยทาจั า่อนอจศงะาบุ เัยจยทนั ดปุ่ยี ::ี.วม2นวุ่ง1ัยกัถมทศา่ปัน่ยีนกึี ภษชาา่าพงคสณแังลเะกะสวตาิดธรีโาอา่ รเรณงิ สแขุลศะเาชสือ่ ตในรส์ ม่ิงหทาท่ี ว�ำทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ นิตยสารความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน 19

ผลงาน 123456......คเรชสฝขณ่วน�ำกึ้ามเะะปรรจกเว่็จรลัดมระหศิทรโสลกคม�ำบกัารโกกคสรงาากปรูตรรงารรนณกรกะักาแกา์ภศรลรวาึกกดดSคษเับaฤปSาเfดลaพeสรู ีย่ftล้อาeyนงิธนtขUyาณน้ัรณnYณตioปvน้โสueรรุขtะrงshศพเiทtายByสศาrตเaบวรnายี ์ ลdดมกนหAราาmงุ มวเทิทbยพaาsรลsะaยัยdธอรoงรrม2ศ0า1ส8ตร์ การศกึ ษา รรวรวะะิทะชิ ดดดยาบับัเบัาอปศมอกราธัุดอะสยมาถตมศชมรศึกีว์แศึกอษลกึ ษนาะษาาเปาทมโรยัคโรญิรงแโงเนญลรเโระียาลียคนตยนวรนี ไาี วตมมมรหปนิราลาทวอชริทดวายทิภชายยัินลาูทยั จิศธร.พหรรมอะศวนางั คสนรตศนรร์ทคีอบณยรุ ธุะี ยสสาาาขธาารคณณสิตขุ ศศาาสสตตรร์์ – 20 นติ ยสารความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน

1 เแหลตะคุใดวถาึงมเปลลืออกดเรภียยันฯอาชีวอนามยั เหตผุ ลทเ่ี ลอื กเรยี นดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั นน้ั 2 เเมพมกี ือ่ือ่ าทใรหำ� บเ้งกราดิหินคาในรวจฐาดัามนกปะาลรจออปดงภวคชิัย์การชอพี ยา่ งไร เนอ่ื งจากมคี วามสนใจทางดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละสขุ ภาพเปน็ อยา่ งมาก ตง้ั แตส่ มยั มธั ยม และยงั เหน็ ถงึ ความสำ� คญั ในการดแู ลสขุ ภาพอนามยั ก่อนการเกิดโรค ท�ำให้สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของ คณะสาธารณสขุ ศาสตรเ์ ปน็ ตัวเลือกท่ดี ที ส่ี ุดในการศึกษา 3 หแในนรกวอื าทโคราทรงงำ�ในกงกาานราทรทลเ่ีีเ่ ครดายอรทุบับำ� ตัผ?เิิดหชตอุ บ / ผมเช่ือว่าการบริหารจัดการองค์กรที่ดีจะต้องเร่ิมจากการ มีแผนที่ดีครับ เพราะแผนท่ีดีจะน�ำมาซึ่งการด�ำเนินงานด้านความ ส�ำหรับโครงการท่ีเคยร่วมจัดท�ำเพ่ือลดอุบัติเหตุภายใน ปลอดภยั ท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ นอกจากนย้ี ังต้องอาศัยความมุ่งมั่นของผู้ มหาลยั นน้ั ผมไดม้ สี ว่ นรว่ มในการจดั ทำ� โครงการมหาวทิ ยาลยั ปลอดภยั บรหิ ารและการมสี ว่ นรว่ มของผปู้ ฏบิ ตั งิ านในการดำ� เนนิ งานดา้ นความ (Safety University) ในส่วนของคู่มือแนวทางปฏิบัติเพ่ือน�ำไปสู่ ปลอดภยั เพอ่ื ใหเ้ กดิ การขบั เคลอ่ื นทงั้ เชงิ นโยบายและการปฏบิ ตั งิ าน มหาวิทยาลัยปลอดภัย โดยได้จัดท�ำเป็นชุดตัวอักษร S-A-F-E-T-Y จรงิ ทส่ี ำ� คญั การบรหิ ารจดั การองคก์ รเพอื่ ใหเ้ กดิ ความปลอดภยั นนั้ ยงั ภายใตห้ วั ขอ้ Safety2U : Safety University for your Safety Life จำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารปรบั ปรงุ แผนงานใหเ้ หมาะตามบรบิ ทขององคก์ รและ คมู่ อื แนวทางปฏบิ ตั นิ จ้ี ดั ทำ� ขนึ้ เพอ่ื ใหง้ า่ ยตอ่ ความเขา้ ใจของนกั ศกึ ษา สถานการณ์ด้วย ภายในมหาวิทยาลัยด้านความปลอดภัย โดยตัวอักษร S หมายถึง Social Media การสื่อสารความไม่ปลอดภัย ตัวอักษร A หมายถึง 4 คกเก(พแวาาผ่อืรารนกมใเปกหาปรรดิ้ ทกบัลอำ� า้พองุบาวดนฤตัสภหตเิวู่ รหัยิกือัฒตไโรคดุขนรร้องอมธกยงาเรพา่พรรงหอ่ืมนไรรปอืกั กบ้องจิ ้าางกงกนรรันมทที่ �ำ)? Accident การลดพฤติกรรมเส่ียงต่อการเกิดอุบัติเหตุ ตัวอักษร F หมายถึง Fire การลดความเส่ียงด้านอัคคีภัย ตัวอักษร E หมายถึง ส�ำหรับผมการปรับพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติงานเพ่ือลดการ Environment การจัดการสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย ตัวอักษร เกิดอุบัติเหตุนั้นจ�ำเป็นต้องเร่ิมจากการสร้างความตระหนักให้เกิด T หมายถึง Toxic exposures การป้องกันการสัมผัสสารเคมี และ ขึ้นแก่ผู้ปฏิบัติงานครับ การตระหนักจะเป็นการกระตุ้นความสนใจ สดุ ท้ายตัวอกั ษร Y หมายถงึ Yourself ตระหนกั เรอื่ งความปลอดภัย ต่อปัญหาหรือความเส่ียงที่ผู้ปฏิบัติงานพบเจอ ท�ำให้ผู้ปฏิบัติงาน สามารถเลอื กทจี่ ะควบคมุ หรอื หลกี เลยี่ งความเสย่ี งเหลา่ นนั้ ได้ ซงึ่ ผม เช่ือว่าการสร้างความตระหนักที่ดีและมีประสิทธิภาพนั้นจะน�ำไปสู่ การยอมรบั และปฏบิ ตั งิ านเพอ่ื ปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตจุ นเกดิ เปน็ วฒั นธรรม ความปลอดภัยขององค์กรไดค้ รับ นติ ยสารความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน 21

5 จคหปรวือาวมชิคภาวาชาคีพมภภวูมูมัยิใิใจทจสนีในูง?ใบนทกบาารทท�ำงาน 6 คนควอวาากมมจเคปารกลยี กอดดาในรภจกยั ัดาแรกลทาว้ำ� รงยางันตดอ้ว้ ยงอจยัดา่กงาไรร? ส�ำหรับผมความภาคภูมิใจสูงสุดในชีวิตการเป็นนักศึกษา การจัดการความเครียดท่ีดีท่ีสุดส�ำหรับผมนั้น คงเป็นการ คือ การได้เข้าร่วมประกวดในโครงการ Safety Youth Brand ใชเ้ วลาวา่ งไปกบั งานอดเิ รก เลอื กทำ� ในสงิ่ ทช่ี อบสงิ่ ทอี่ ยากทำ� ในเวลา Ambassador 2018 เพราะเป็นโอกาสที่ได้แสดงทัศนคติด้านความ นนั้ มากทส่ี ดุ ใชเ้ วลาวา่ งใหค้ มุ้ คา่ เพอ่ื เตมิ พลงั บวกใหก้ บั ชวี ติ และใชใ้ น ปลอดภัยของตนเองให้แก่คนในสังคม และเป็นการกระตุ้นให้เกิด การท�ำงานในอนาคตต่อไปครับ และส�ำหรับการจัดการความเครียด ความตนื่ ตัวดา้ นความปลอดภัยของเยาวชนดว้ ยครบั นอกจากนก้ี าร ท่ีเกิดข้ึนกับผู้ปฏิบัติงานน้ัน ผมเช่ือว่าการเปิดโอกาสให้มีการแสดง ไดร้ ับต�ำแหน่ง Safety Youth Brand Ambassador 2018 ยังช่วย ความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติงานท้ังต่อการท�ำงาน ใหผ้ มสามารถเปน็ กระบอกเสยี งในการสอ่ื สารดา้ นความปลอดภยั ให้ และโครงการตา่ งๆ ทผี่ ปู้ ฏบิ ตั งิ านเกยี่ วขอ้ งจะชว่ ยลดความเครยี ดตอ่ เกิดข้นึ ภายในมหาวทิ ยาลัยไดอ้ ีกด้วยครบั การท�ำงานของผู้ปฏิบัติงานลงไดค้ รับ 7 ขฝถอึงามงกกมุถามงึ รนอเป้องแงน็ ลๆจะนบปกัทวศบิชกึาาทษชาีพท?ี่กำ� ลงั จะจบ ส�ำหรับน้องๆ ที่สนใจในสาขาวิชานี้ อยากให้น้องๆ หา ข้อมูลทั้งการเรียนและการท�ำงานให้มากๆ ว่าตรงกับความชอบของ ตวั เองไหม ทง้ั การเรยี นและการทำ� งานจำ� เปน็ ตอ้ งใชค้ วามอดทนและ พยายามเป็นอย่างมาก ดว้ ยสายงานท่เี ป็นการป้องกนั จงึ จ�ำเป็นตอ้ ง มีการคาดการณ์ปัญหาหรือความเส่ียงที่อาจจะเกิดขึ้นซึ่งการกระท�ำ บางอย่างอาจเห็นผลชัดเจนหรือไม่เห็นผลเลยก็ได้ นอกจากน้ียังมี อบุ ตั เิ หตหุ รอื เหตฉุ กุ เฉนิ ทอี่ าจจะเกดิ ขน้ึ ไดต้ ลอดเวลา นอ้ งๆ ทส่ี นใจ ในสาขาวชิ านกี้ ต็ อ้ งมคี วามตนื่ ตวั และพรอ้ มรบั มอื กบั สถานการณท์ จ่ี ะ เกดิ ข้นึ ตลอดเวลา 22 นติ ยสารความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน

คอลัมส์ จป.มือโปร นายทศพล เชดิ ชัยภมู ิ ผู้สมั ภาษณ/์ เรยี บเรยี ง จป.มอื โปร นางสาวจนั ทิมา ทิพยส์ ังวาลย์ เจ้าหนา้ ที่ความปลอดภัยในการท�ำงาน ระดบั วชิ าชีพ (Safety Officer) นติ ยสารความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน 23

ประวตั กิ ารศกึ ษา ประวตั ิการทำ� งาน ปริญญาตรี สาขาอาชวี อนามัยและความปลอดภยั คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ประวตั กิ ารอบรม / ดูงาน / ประสบการณ์การทำ� งาน ปี 2555 บรษิ ทั โปรมโี ก เซอร์วิส จำ� กัด (ในเครือดับเบลิ เอ) ปี 2556 - ปัจจบุ ัน บรษิ ทั นวพลาสติกอตุ สาหกรรม จ�ำกดั (ในเครอื SCG Chemicals) 2561 Intermediate SPAP Assessor Training Industrial Hygiene Management System Auditor สอบผา่ นและขนึ้ ทะเบียนบุคลากรเฉพาะด้าน ความรบั ผิดชอบตอ่ สังคมประจำ� โรงงาน นาทงพิสายวส์ จงั นัวทาลิมยา์ 2560 SPAP Assessor Training Gas Tester at 3M Thailand เจ้าหนา้ ทีค่ วามปลอดภัยในการท�ำงาน 2559 Internal Auditor ISO 9001 15001 18001 ระดับวชิ าชีพ (Safety Officer) ผตู้ ดิ ตง้ั และตรวจสอบนง่ั รา้ น สมาคมสง่ เสรมิ ความปลอดภยั และอนามัยในการท�ำงาน (ประเทศไทย) เหตใุ ดถงึ ได้เลอื กเรยี น ในหลกั สตู รอาชวี อนามยั และความปลอดภัย แน่นอนว่าในช่วง 6 ปีก่อน วิชาชีพเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยยังไม่ได้เป็นท่ีรู้จักในชีวิตนักเรียนมัธยมตอน ปลายเทา่ ท่ีควร ณ วันสอบติด คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ยงั คดิ ในใจอยเู่ สมอว่าจะกลบั ไปเปน็ หมออนามยั ทบ่ี ้านเกิดเท่านน้ั ยงั ไมไ่ ดม้ คี วามรู้เก่ียวกับการเลือกภาควชิ า หรอื สาขา กอ่ นสอบสัมภาษณจ์ ึง ไปค้นหาความรู้จากอินเตอร์เน็ต และสอบถามผู้ที่อยู่ในแวดวงราชการ และเอกชน จนสืบทราบมาว่าเป็นวิชาชีพที่ กฎหมายบงั คบั ใหส้ ถานประกอบการตามประเภททก่ี ฎหมายกำ� หนดใหต้ ้องมีเจ้าหนา้ ทคี่ วามปลอดภัย ซง่ึ ไมต่ กงาน แนๆ่ และคดิ วา่ ต้องเปน็ วชิ าชพี ทคี่ อ่ นขา้ งทา้ ทายมากๆ จึงตอบสัมภาษณ์กบั อาจารย์ไปว่า “ถา้ ตอ้ งเลอื กสาขาตอน นี้ ขอเลอื กสาขาอาชวี อนามยั และความปลอดภยั เปน็ คำ� ตอบสดุ ทา้ ยคะ่ ” และคำ� ตอบนน้ั ยงั อยใู่ นใจมาถงึ ทกุ วนั นี้ 24 นิตยสารความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน

อะไรคือความภูมิใจมากที่สุด ในการประกอบอาชีพด้านความปลอดภัย เรอื ธงส�ำคญั ทีจ่ ป.วชิ าชพี ทุกคนม่งุ หวงั ใหเ้ ปน็ คอื อบุ ัตเิ หตเุ ปน็ ศนู ย์ โดยตวั ดิฉันเอง ไดร้ ับมอบหมายงานต่างๆ ท่ีจะพัฒนาให้องคก์ รมีมาตรฐาน ระบบการท�ำงาน พ้ืนที่ปฏบิ ตั ิงาน รวมถงึ พฤติกรรม ทจ่ี ะชว่ ยปอ้ งกนั และบรรเทาความเส่ยี ง ลงให้มากทีส่ ดุ ซึง่ ในการทำ� งานที่ผ่านมาถือว่าอบุ ัตเิ หตุขององค์กรลดลงไดต้ าม KPI ในทกุ ๆ ปแี ละแน่นอนว่าหากไม่ไดค้ วาม รว่ มมือจากผู้บรหิ าร และพนักงานทกุ ระดบั ท่พี ยายามจะพฒั นาองค์กรมีวัฒนธรรมความปลอดภยั ให้ดีขนึ้ คงจะส�ำเร็จได้ยาก และความภูมิใจไม่ได้จบที่ชีวิตการท�ำงานเท่านั้น เรายังได้มีโอกาสติดอาวุธทางปัญญาให้กับน้องๆอีกหลายๆคน กบั ความไว้วางใจของคณาจารยใ์ นคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ ในการบรรยาย “การแนะแนวสาขา” ท่ีคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มาหลายปีต่อเน่ือง โดยน�ำความรู้ ประสบการณ์ท�ำงาน มาประยุกต์กับการท�ำงานถ่ายทอดไปยังน้องๆรุ่นใหม่ ที่จะเติบโตมา เป็นวา่ ท่ี จป. ในอนาคต อกี ดว้ ย ท่านมีแนวทาง ในการบรหิ ารจัดการ องคก์ รด้านความปลอดภัยอยา่ งไร ใหม้ ีระบบที่ยั่งยนื เพอื่ ทกุ คนจะได้กลับบา้ นอยา่ งปลอดภยั ในทุกๆ วัน แนวทางในการบริหารจัดการองค์กรฯ มีทฤษฎีต่างๆ มากมาย ท้ัง Swiss cheese Model , Ice Berg theory มากมาย ซ่งึ แตล่ ะองค์กร แตล่ ะหน่วยงานกม็ ีความหลากหลายในการจดั การอกี เชน่ กัน โดยสว่ นตัวมักจะใช้วงลอ้ ตามภาพ PROCEDURE TRAINING UANUDDEITRSMTOANNIDTOINRG IMPLEMENT แน่นอนว่าก่อนท่ีจะให้พนักงานปฏิบัติตามเราต้องก�ำหนดมาตรฐาน (Procedure) เป็นตัวชี้น�ำแนวทางปฏิบัติ ซง่ึ มาตรฐานทีด่ ี ควรจะเกิดจากผู้ใช้เองเปน็ ผ้กู ำ� หนดรว่ มกับจป.วชิ าชพี ให้อยบู่ นพืน้ ฐานของมาตรการป้องกนั จากนนั้ เราจะ ต้องสื่อสาร (Training) ใหก้ ับผเู้ กยี่ วขอ้ งรับทราบ และให้เกดิ การใช้งานจรงิ (Implement) โดยไม่ยอมให้มาตรฐานเปน็ เพียง แค่เสือกระดาษ มาตรฐานต่างๆ จะเกิดการใช้งานจริงควรเกิดจากคณะกรรมการความปลอดภัยของบริษัท ขับเคล่ือนโดย ผ้บู ริหาร และกระบวนการท่ีสำ� คัญท่ีสดุ คอื การติดตามและตรวจสอบ (Understanding Audit & Monitor) ตัวน้เี องจะเปน็ ตัวช้ีวดั ความส�ำเรจ็ ของการบริหารจัดการได้อยา่ งดที เี ดียว นติ ยสารความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน 25

ทา่ นมแี นวทางอยา่ งไร ในการลดอุบัตเิ หตุจากการท�ำงานให้ได้ผล ในการท�ำบทบาทจป.เพียงไม่กี่คนในองค์กรเทียบกับสัดส่วนพนักงานเป็นร้อยเป็นพันคน หากจะขับเคลื่อนให้มี ประสทิ ธภิ าพเปน็ สงิ่ ทคี่ อ่ นขา้ งทา้ ทาย แตถ่ า้ เราพยายามสรา้ งเครอื ขา่ ยดา้ นความปลอดภยั ใหพ้ นกั งานคนอน่ื ๆเพมิ่ เตมิ เราจะจดั การ ได้ง่ายข้ึน โดยเร่ิมจากพัฒนาระดับหัวหน้างานให้เป็น Safety Leader โดยหน้าท่ีของจป.จะเป็นผู้สร้าง พัฒนา และติดตามการ ปฏบิ ตั ิ แตผ่ ทู้ จ่ี ะอยกู่ บั พนกั งานในไลนก์ ารผลติ ตลอดเวลาคอื หวั หนา้ งาน และเรามกั จะพดู กบั พนกั งานเสมอ “อยา่ ยอมใหอ้ บุ ตั เิ หตุ มาเกดิ ขนึ้ ในบา้ นของเราโดยเดด็ ขาด” นนั่ คอื การไมป่ ระนปี ระนอมตอ่ ความไมป่ ลอดภยั ทง้ั สนิ้ (Safety is uncompromised) และ เป็นการสรา้ งความเป็นเจ้าของพ้ืนท่ีการท�ำงานให้เปน็ บา้ นของตัวเอง (Area Owner) ซ่งึ ถอื เปน็ หัวใจสำ� คัญในการลดอบุ ตั เิ หตุ ท่านเหน็ ว่าวิธีการหรอื แนวทางไหน ที่นา่ จะจดั การกับพฤตกิ รรมเพ่ือใหห้ ยุดอบุ ัติเหตุ จากการทำ� งาน ได้อย่างเหมาะสม ซง่ึ รวมถงึ มีผลลพั ธ์ที่นา่ จะออกมาดีทีส่ ุด “Stop” หยดุ เมอ่ื ไมป่ ลอดภยั เปน็ แนวทางทดี่ ฉิ นั จะใชก้ บั พนกั งานในองคก์ รมาตลอด นอกจากนยี้ งั มกี จิ กรรมใหพ้ นกั งาน ทุกคนเตือนเพ่ือนท่ีเรียกว่า Safety Observation โดยจะมีกรอบของการสังเกตุพฤติกรรมความปลอดภัย เช่น การสวมใส่ PPE การอยใู่ นต�ำแหน่งทไ่ี มป่ ลอดภยั การใช้อุปกรณเ์ ครอื่ งมือ ฯลฯ ความรับผดิ ชอบต่อสิง่ แวดลอ้ มและสงั คม มีส่วนส�ำคัญในการบรหิ ารจดั การด้านความปลอดภัย อยา่ งไรบา้ ง “องคก์ รจะยง่ั ยนื ตอ้ งยนื คกู่ บั สงั คม” แนน่ อนวา่ ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มและสงั คมเปน็ สว่ นหนง่ึ ในงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง กบั OHSE อยา่ งขาดกนั ไมไ่ ด้ โดยสว่ นตวั ไดข้ นึ้ ทะเบยี นเปน็ บคุ ลากรเฉพาะดา้ นความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมประจำ� โรงงาน มกั จะออก ไปท�ำกจิ กรรม CSR ร่วมกับชมุ ชนอย่เู สมอ โดยน�ำศาสตรด์ ้านความปลอดภยั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั ชุมชน เช่น ความปลอดภัยในโรงเรียน ความปลอดภยั ในบา้ น ความปลอดภัยบนทอ้ งถนน ไปรณรงคใ์ ห้ความรกู้ ับหนว่ ยงานราชการอยู่เสมอ นอ้ งๆ จป.รนุ่ ใหม่ ถา้ อยากจะเป็น จป.มอื โปร หรอื ประสบความสำ� เร็จในวชิ าชีพน้ี ควรจะมแี นวทางอย่างไรบ้าง พ่ีขอฝากไว้ จป.เปน็ วชิ าชีพท่ดี ี ควรมี 3 นกั นกั แรก คือ นักวิชาการ น�ำองคค์ วามร้ทู เ่ี รยี นมามาก่อให้เกิดประโยชนส์ งู สดุ กบั องค์กร นักท่ีสอง คือ นักพูด เราต้องมีท้ังศาสตร์และศิลป์ที่จะพูดให้พนักงานปฏิบัติตามจนความปลอดภัยเป็นส่วนหนึ่งของ กิจวัตรประจำ� วัน นกั ท่สี าม คือ นกั ประสานงาน เรียกว่าเปน็ หน้าท่ีส�ำคัญเพราะจป.เหมอื นจุดเช่ือมตอ่ ระหว่างนายจ้างและลกู จ้าง รวมถงึ หนว่ ยงานต่างๆ และสดุ ท้าย “การจะเป็นมอื โปรเปน็ ได้ไมย่ ากแต่การจะรกั ษามอื โปรใหอ้ ย่กู บั เราตลอดเปน็ เร่ืองท่ยี ากกวา่ ” 26 นติ ยสารความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน

เรยี นรู้ ปรับตวั กา้ วทัน 6 เทรนด์ การท�ำงานในยุคดจิ ิทัล ท่ีมา : www.jobsdb.com ยคุ ไทยแลนด์ 4.0 มาถึงแล้ว นาทนี เี้ ราคงไม่อาจปฏิเสธ บทบาทของเทคโนโลยีท่ีเข้ามามีอิทธิพลต่อการใช้ชีวิตในทุกด้าน โดยเฉพาะการท�ำงานในยุคปัจจุบัน ท่ีก�ำลังเกิดการเปล่ียนแปลง ไปอย่างมาก ในรูปแบบที่กลายเป็นดิจิทัลมากข้ึน ข้อมูลต่างๆ ตอ้ งเชอื่ มโยงถงึ กนั ได้ connect กนั ไดท้ กุ ที่ ทกุ เวลา สง่ ผลใหก้ าร ทำ� งานของเราไมจ่ ำ� กดั อยแู่ ตภ่ ายในออฟฟศิ ดงั ทเี่ คยเปน็ มา โดยมี เทคโนโลยีเข้ามาเป็นตัวช่วยในการท�ำงานเกือบทุกข้ันตอน และ ชว่ ยใหก้ ารทำ� งานมีประสิทธิภาพมากขนึ้ กวา่ ทผ่ี า่ นมา 1. ทำ� งานไดท้ กุ ท่ที กุ เวลาบนสมารต์ โฟนและอุปกรณพ์ กพา เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ PC กำ� ลังจะกลายเปน็ อุปกรณล์ ้าสมยั ภายใน ออฟฟิศ เพราะต้ังแต่ ค.ศ. 2015 เป็นต้นมา คนท�ำงานจ�ำนวนมากใช้ สมารต์ โฟนหรอื แทบ็ เลต็ ในการทำ� งานมากขนึ้ สง่ ผลใหส้ มารต์ โฟนมอี ตั รา การเตบิ โตในการใชง้ านมากกวา่ เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ PC คนทำ� งานเรม่ิ หนั มาใชอ้ ปุ กรณท์ สี่ ามารถพกพาไปไหนมาไหนได้ เพอื่ ความคลอ่ งตวั ในการ ท�ำงานมากขึ้น และรปู แบบการทำ� งานดังทีว่ ่ามาน้กี ำ� ลงั เปล่ยี นโฉมหน้า ของการท�ำงานในอนาคต ด้วยคุณสมบัติของสมาร์ตโฟนในปัจจุบันที่มี ความครบครันพอ ๆ กับเครื่องคอมพิวเตอร์ PC แถมในอนาคตอันใกล้ บริษัทและองค์กรต่าง ๆ ก็มีแนวโน้มจะหันมาใช้อุปกรณ์ท่ีให้พนักงาน พกพาไปไหนมาไหนได้สะดวกในการท�ำงาน เพ่ือลดตน้ ทุนด้านไอทีของ องค์กรอีกด้วย นติ ยสารความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน 27

2. โลกาภวิ ตั นช์ ่วยเช่ือมตอ่ โลกของธุรกจิ แบบไมม่ ขี ดี จำ� กดั โลกาภิวัตน์ช่วยย่อโลกให้เล็กลง อะไร ๆ ก็เชื่อมโยงถึงกันได้ ง่ายมากขึ้นกว่าแต่ก่อน แม้จะอยู่ห่างไกลกันคนละมุมโลกก็ตาม ในยุค ที่ผู้คนสามารถตดิ ต่อสอื่ สารกันไดร้ วดเรว็ โลกของธุรกจิ กส็ ามารถขยาย กิจกรรมและการด�ำเนินงานต่าง ๆ ได้อย่างไร้ขีดจ�ำกัดเช่นกัน การท�ำ ธรุ กจิ จงึ กา้ วสยู่ คุ อคี อมเมริ ซ์ อยา่ งเตม็ ตวั และแพรห่ ลายไปทว่ั โลก ซง่ึ การ ทอ่ี งคก์ รจะกา้ วสกู่ ารเปน็ อคี อมเมริ ซ์ ไดก้ ต็ อ้ งอาศยั เทคโนโลยแี ละเครอ่ื ง มอื ในการทำ� งานทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถขจดั ปญั หาดา้ นระยะทาง และ เช่ือมตอ่ ทกุ ฟังกช์ ั่นทางธุรกิจเข้าด้วยกันได้ พรอ้ มท้ังชว่ ยใหท้ ีมงานท่อี ยู่ กระจัดกระจายกันหลายประเทศท�ำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมเี ทคโนโลยเี ปน็ ตวั ชว่ ยอ�ำนวยความสะดวก 3. “คลาวด์” คอื หัวใจของการท�ำงานรว่ มกนั ระบบการประมวลผลและการจัดเก็บข้อมูลบนฐานข้อมูล ออนไลน์ ในรปู แบบ “คลาวด์” จะเขา้ มามีบทบาทในการเป็นศูนยก์ ลาง ของการทำ� งานรว่ มกนั ชว่ ยใหท้ กุ คนในองคก์ รสามารถเขา้ ถงึ แหลง่ ขอ้ มลู ในการท�ำงาน ทั้งในส่วนขององค์กรที่สามารถเฝ้าดกู ารท�ำงานจากระยะ ไกล และในส่วนของทีมงานที่สามารถโต้ตอบกันได้ด้วยการท�ำงานร่วม กนั ผา่ นทางวดิ โี อ ชว่ ยลดปญั หาดา้ นตน้ ทนุ และระยะเวลาในการเดนิ ทาง ไปประชุมร่วมกันได้อย่างมาก นอกจากนี้คลาวด์ยังเข้ามาเพิ่มศักยภาพ ในการประมวลและวิเคราะห์ข้อมูลจ�ำนวนมหาศาลได้แบบ Real-time ช่วยให้องค์กรสามารถน�ำข้อมูลเหล่าน้ีไปใช้เพ่ือพัฒนาธุรกิจได้รวดเร็ว ค้นหาข้อมลู ต่าง ๆ ไดท้ นั ใจ และมีความหลากหลายของขอ้ มลู มากขน้ึ 4. การทำ� งานรว่ มกับอุปกรณ์อัจฉริยะ ยุค 4.0 เปน็ ยคุ ท่กี ำ� ลังจะเปลีย่ นให้อุปกรณธ์ รรมดา ๆ รอบตวั ของเราไมเ่ หมอื นเดมิ อกี ตอ่ ไป ดว้ ยเทคโนโลยี Internet of Thing (IoT) ที่จะช่วยยกระดับอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้มีความเป็นอัจฉริยะมากข้ึน กลาย เป็นส่ิงท่ีสามารถเก็บข้อมูล โต้ตอบ หรือช่วยให้เราด�ำเนินการอย่างใด อย่างหน่ึงได้โดยอัตโนมัติ ตามค�ำส่ังที่มีการต้ังโปรแกรมเอาไว้ ท�ำให้ ลักษณะการท�ำงานในอนาคตจะลดการพ่ึงพาแรงงานจากมนุษย์ลงได้ อยา่ งมาก และคนทำ� งานจะตอ้ งปรบั บทบาทมาเปน็ ผคู้ วบคมุ การทำ� งาน ของอปุ กรณอ์ ัจฉรยิ ะเหล่าน้ที ดแทนการใช้แรงงานเพยี งอย่างเดยี ว 28 นติ ยสารความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน

5. ประโยชนม์ หาศาลจากแหล่งข้อมูล Big Data ขอ้ มลู ทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ งขององคก์ ร เปน็ ขอ้ มลู ขนาดใหญ่ ทเี่ รยี กวา่ Big Data ซึ่งท้ังหมดเป็นข้อมูลดิบที่สามารถน�ำมาวิเคราะห์และบริหาร จัดการให้เป็นระบบได้ด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ ช่วยให้องค์กรและคน ทำ� งานสามารถดงึ ขอ้ มลู มาใชไ้ ดท้ กุ เมอ่ื ทต่ี อ้ งการ ทงั้ ขอ้ มลู ภายในองคก์ ร ข้อมูลจากโซเชียลเน็ตเวิร์ค วิดีโอ และภาพบนฐานข้อมูลออนไลน์ ซึ่ง แหล่งข้อมูลทั้งหลายเหล่านั้น สามารถเรียนรู้เกี่ยวกับลูกค้า บอกความ ต้องการของลูกค้าได้ เพื่อใช้แหล่งข้อมูล Big data นี้ให้เป็นประโยชน์ ทั้งในด้านการวางแผนธุรกิจ การวิเคราะห์ลูกค้า และการคาดการณ์ แนวโน้มตา่ ง ๆ และสง่ ต่อแตส่ ่ิงทลี่ ูกค้าตอ้ งการจรงิ ๆ เทา่ นั้น 6. มีซอฟต์แวรเ์ พ่อื การท�ำงานท่ยี ดื หยุน่ และคลอ่ งตวั การดำ� เนนิ งานขององคก์ รยคุ ใหมต่ อ้ งมคี วามยดื หยนุ่ และคลอ่ ง ตวั มากข้ึนกวา่ เดมิ โดยเน้นใหค้ นทำ� งานทุกคนสามารถใชป้ ระโยชนจ์ าก เครอื่ งมอื และเทคโนโลยที ชี่ ว่ ยอำ� นวยความสะดวกในการทำ� งานรว่ มกนั ได้ การพัฒนาซอฟตแ์ วร์และโปรแกรมตา่ ง ๆ เพือ่ การท�ำงานในองค์กร จึงต้องเปิดกว้างส�ำหรับบุคลากรทุกระดับมากขึ้น เพ่ือเพิ่มความคล่อง ตัวและความยืดหยุ่นในระบบและกระบวนการท�ำงาน ผลักดันให้เกิด การมสี ว่ นร่วมภายในองค์กรอย่างแทจ้ ริง เพิม่ ศกั ยภาพของคน และเพ่ิม ประสิทธผิ ลของความส�ำเรจ็ แนวโน้มการท�ำงานในยุคดิจิทัลเป็นสิ่งท่ีคนท�ำงานทุกคนไม่อาจมอง ขา้ ม ตอ้ งมกี ารเรยี นรเู้ ทคโนโลยใี หม่ ปรบั ตวั และเปลย่ี นวธิ กี ารทำ� งานใหส้ อดรบั กับการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนอยู่เสมอ เพราะเทคโนโลยีสามารถช่วยให้การ ทำ� งานยคุ ใหม่ มคี วามสะดวก รวดเรว็ เชอ่ื มโยงถงึ กนั ไดม้ ากขนึ้ และเพมิ่ โอกาส ในความสำ� เรจ็ มากขนึ้ กวา่ แตก่ อ่ น ทเ่ี หลอื กข็ น้ึ อยกู่ บั คนทำ� งานอยา่ งเรา ๆ นเ้ี อง ว่าจะสามารถดึงศักยภาพของตัวเรา ผสมผสานกับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ใหม่ ๆ ใหเ้ กดิ ผลดีต่อการทำ� งานและองคก์ รได้มากน้อยเพยี งใด เรยี นรสู้ ่ิงใหม่ ไม่หยุดน่ิง แล้วประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด การท�ำงานในอนาคตย่อม work และ win ได้อยา่ งแนน่ อน นิตยสารความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน 29

คปอ. ขบั เคล่อื นอยา่ งไร เพ่อื ใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพ และประสทิ ธผิ ลในการทำ� งาน อยา่ งจริงจังและย่งั ยืน นายวินยั ลฐั กิ าวบิ ลู ย์ หลกั การและเหตผุ ล ปัจจุบันปัญหาการประสบอันตรายจาก การท�ำงาน และความสูญเสียท่ีเกิดขึ้นยังมีความ รุนแรงและก่อให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ มากขน้ึ ถงึ แมก้ ระทรวงแรงงานไดพ้ ยายามหามาตรการ ด�ำเนินการ เพ่ือให้สถานประกอบกิจการด�ำเนินการลด การประสบอนั ตรายดว้ ยตนเอง ใหเ้ กดิ ผลอยา่ งเปน็ รปู ธรรม มาตลอด นอกจากการส่งเสริมและรณรงค์อย่างต่อเนื่อง โดยการผลกั ดนั ใหม้ กี ฎหมายออกมาใชบ้ งั คบั จำ� นวนหลายฉบบั ซ่ึงมี 2 ฉบับที่มุ่งเน้นการบริหารจัดการความปลอดภัยในสถาน ประกอบกิจการเพ่ือป้องกันและควบคุมอันตรายจากการท�ำงาน ถอื เปน็ หนา้ ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบของทกุ คน ทกุ ระดบั และคณะบคุ คล โดยการพัฒนาบุคลากรแต่ละระดับให้ได้รับการอบรมเกี่ยวกับบทบาท และหน้าท่ีตามที่กฎหมายก�ำหนดไว้ รวมทั้งการอบรมหลักสูตรคณะ กรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน (คปอ.) ของสถานประกอบกิจการ ตัง้ แต่ พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา อย่างไรก็ตามท่ีผ่านมา ความตั้งใจของภาครัฐท่ีต้องการให้สถาน ประกอบกจิ การไดด้ ำ� เนนิ การความปลอดภยั ฯ ดว้ ยตนเองเปน็ หลกั โดยไดก้ ำ� หนด บทบาทหนา้ ทข่ี อง จป. แตล่ ะระดบั และ คปอ. ตามทก่ี ฎหมายกำ� หนดไวน้ นั้ ปรากฏวา่ ยังไม่ประสบความส�ำเร็จเท่าท่ีควร เพราะปัญหาส่วนใหญ่ที่พบเห็นคือ นายจ้างหรือ ผรู้ บั ผดิ ชอบ ซง่ึ เปน็ ประธาน คปอ. ขาดภาวะผนู้ ำ� ดา้ นการบรหิ ารจดั การความปลอดภยั ฯ 30 นติ ยสารความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน

อยา่ งจรงิ จงั และต่อเนอ่ื ง และเลขานุการ คปอ. กข็ าดประสบการณ์ในการท�ำงานในเชิงรุก รวมทง้ั ขาดแนวทางการขบั เคลอ่ื น งานความปลอดภยั ฯ อยา่ งเปน็ ระบบและรปู ธรรม และขาดความรว่ มมอื ในระบบทวิภาคี ในการจดั การอยา่ งมีประสิทธภิ าพ นอกจากนี้สถานประกอบกิจการที่ต้องด�ำเนินธุรกิจกับต่างประเทศ จ�ำเป็นต้องเข้าสู่เกณฑ์มาตรฐานต่างๆ ที่มีขึ้นตามกลุ่ม เศรษฐกจิ ทรี่ วมตวั กนั และมกี ารกำ� หนดมาตรฐานระบบขน้ึ ในหลายๆ รปู แบบ และมกี ารพฒั นาและปรบั เปลย่ี นไปเรอื่ ยๆ ซ่ึงมาตรการเหลา่ นเ้ี ป็นเคร่อื งมือทปี่ ระเทศคคู่ ้ากำ� หนดให้ผผู้ ลิตสนิ คา้ ดำ� เนินการ เชน่ ISO2015 ISO45001 SA8000 โดยข้อก�ำหนดส่วนหน่ึงของเกณฑ์มาตรฐานเหล่านี้ มีเร่ืองของการจัดการด้านความปลอดภัยในการท�ำงานภายใน สถานประกอบกิจการ และตอ้ งอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานทป่ี ระเทศค่คู ้ายอมรับด้วย อนึ่ง กระทรวงแรงงานได้รับพระกรุณาโปรดเกลา้ ให้ตราพระราชบญั ญัตคิ วามปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน พ.ศ. 2554 ซ่ึงก�ำหนดว่าในระหว่างที่ยังมิได้ออกกฎกระทรวงเพ่ือปฏิบัติ ตามพระราชบัญญัติน้ี ให้น�ำกฎกระทรวงที่ออกตามความในหมวด 8 แห่งพระราชบัญญัติ คุ้มครอง แรงงาน พ.ศ. 2541 มาบังคับโดยอนุโลม ท้ังน้ี กฎกระทรวงก�ำหนดมาตรฐานในการบริหารและการ จัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน พ.ศ. 2549 ได้ก�ำหนดให้ สถานประกอบกิจการท่ีมีลูกจ้างตั้งแต่ 50 คนขึ้นไป ต้องจัดให้มีคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานของสถานประกอบกิจการ (คปอ.) ตามข้อ 23 และ นายจ้างต้องจัดให้ คปอ. ได้รับการอบรมเก่ียวกับบทบาทและหน้าที่ตามกฎหมายก�ำหนดภายใน 60 วัน นับแต่วันทแ่ี ต่งต้ังหรือเลือกตั้งตามขอ้ 28 ทั้งนี้ คปอ. ของสถานประกอบกิจการ มีองค์ประกอบเป็นทวิภาคี ประกอบด้วย นายจ้างหรือผู้แทน นายจ้างระดับบริหาร เป็นประธานกรรมการ มีผู้แทนนายจ้างระดับบังคับบัญชา และมีผู้แทนลูกจ้างท่ีได้รับการ เลอื กต้งั จากลกู จา้ งในสถานประกอบกจิ การ โดยอาจมีจป. ระดบั เทคนิคขั้นสงู หรือ จป. ระดับวชิ าชพี เป็นกรรมการ และเลขานุการ ซ่ึง คปอ. ของสถานประกอบกิจการ มีบทบาทหน้าท่ีตามท่ีกฎหมายก�ำหนดในการด�ำเนินการบริหาร จัดการด้านความปลอดภัยฯ ของสถานประกอบกิจการ เพ่ือการป้องกันการประสบอันตรายจากการท�ำงานและลด ความสูญเสีย บทบาทหน้าที่หลัก ได้แก่ การพิจารณานโยบายและแผนงาน การรายงานเสนอแนะมาตรการ การส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมต่างๆ การพิจารณาข้อบังคับและคู่มือ การส�ำรวจความปลอดภัยและตรวจสอบสถิติ การพิจารณาโครงการ หรือแผนงานฝึกอบรม การวางระบบการรายงานสภาพการท�ำงานท่ีไม่ปลอดภัย การประชุม และติดตามผลความคืบหน้า เรือ่ งต่างๆ การประเมินผลงานด้านความปลอดภัยฯ ดังน้ัน หากนายจ้างหรือผู้ประกอบกิจการให้การสนับสนุนและส่งเสริมอย่างจริงจังในการด�ำเนินการด้านความปลอดภัยฯ ดังกลา่ วขา้ งตน้ ของ คปอ. นอกจากจะช่วยลดการประสบอันตรายและความสูญเสยี หรอื คา่ ใชจ้ ่ายที่จะเกดิ ขึ้น เปน็ จ�ำนวนมากแล้ว ยัง เป็นการลดต้นทุนในการผลิตอีกทางหน่ึง เพราะการท�ำงานอย่างปลอดภัย นอกจากจะเป็นการป้องกันอุบัติเหตุในตัวแล้ว ยังก่อให้เกิด ประโยชน์คอื นติ ยสารความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน 31

1. ผลผลิตเพิ่มข้ึน เพราะลูกจ้างมีความรู้สึกปลอดภัย ความหวาดกลัวหรือวิตกกังวลก็ลดลง 2. จงึ มคี วามมนั่ ใจและทำ� งานได้เตม็ ท่ีและรวดเร็วยิง่ ขึ้น ผลผลิตรวมของสถานประกอบกจิ การจึงเพ่มิ ขนึ้ ด้วย ตน้ ทนุ การผลติ ลดลง เมอ่ื อบุ ตั เิ หตแุ ละความสญู เสยี หรอื คา่ ใชจ้ า่ ยสำ� หรบั อบุ ตั เิ หตุ ลดนอ้ ยลง ท�ำให้สถานประกอบกิจการประหยัดค่ารักษาพยาบาล ค่าเงินเข้ากองทุนเงินทดแทนค่าซ่อมเครื่องจักร อปุ กรณ์ เป็นตน้ ซึง่ ค่าใชจ้ า่ ยต่างๆ เหล่านี้ จะเป็นสว่ นหนงึ่ ของตน้ ทนุ การผลติ ทั้งหมดเมื่อไม่ต้องเสยี ค่าใช้ 3. จา่ ยส่วนนต้ี น้ ทุนการผลติ จงึ ลดลงได้ ก�ำไรมากขึ้น เมื่อผลผลิตสูงขึ้นและต้นทุนการผลิต ต�่ำลงแล้ว ดังกล่าว โอกาสที่สินค้าจะ 4. แข่งขนั ด้านราคาในทอ้ งตลาดกส็ งู ขึ้นดว้ ยเป็นเหตใุ หส้ ถานประกอบกิจการไดก้ �ำไรมากข้นึ สงวนทรพั ยากรมนษุ ย์ เมอ่ื เกดิ อบุ ตั เิ หตทุ กุ ครง้ั มกั จะทำ� ใหล้ กู จา้ งบาดเจบ็ พกิ ารทพุ พลภาพ หรอื ตายทำ� ใหส้ ูญเสยี ทรัพยากรทส่ี �ำคญั ไปโดยเฉพาะเป็นแรงงานทม่ี ฝี ีมือ มีความชำ� นาญ นอกจากนค้ี วาม พิการหรือทุพพลภาพยังเป็นภาระของญาติพ่ีน้องหรือสังคมด้วยดังนั้นการท�ำให้สภาพการท�ำงานมีความ 5. ปลอดภยั จงึ เปน็ การสงวนทรัพยากรมนุษย์ สร้างแรงจูงใจ ความปลอดภัยในการด�ำรงชีวิตและการท�ำงานเป็นความต้องการพื้นฐาน ของมนุษย์ตามทฤษฎีการจูงใจของ มาสโลวส์ (Maslow Motivation Theory) การจัดสภาพการท�ำงาน ใหม้ คี วามปลอดภยั จงึ เปน็ เครอ่ื งมอื ในการบรหิ ารงานอยา่ งหนง่ึ เปน็ การจงู ใจใหล้ กู จา้ งมคี วามอยากทำ� งาน มากข้ึน จุดเด่น 9 ประการของ คปอ. 1. ประธานคณะกรรมการ คือ นายจ้างหรอื ผ้แู ทนนายจา้ งระดับบรหิ าร 2. องคป์ ระกอบของคณะกรรมการ เปน็ ทวภิ าคี มผี แู้ ทนนายจา้ งระดบั ผบู้ งั คบั บญั ชา ไดร้ บั การ แตง่ ตงั้ และผแู้ ทนลกู จา้ ง นายจา้ งจดั ใหม้ กี ารเลอื กตงั้ 3. มีบทบาทและหนา้ ทต่ี ามทีก่ ฎหมายกำ� หนดชัดเจน ตามขอ้ 25 4. มกี ารสำ� รวจการปฏบิ ตั กิ ารดา้ นความปลอดภยั ฯ ในสถานประกอบกจิ การตนเอง อยา่ งนอ้ ย เดือนละหนงึ่ ครัง้ ตามข้อ 25 (5) 5. มีการประชุม คปอ. อย่างน้อยเดอื นละหนง่ึ คร้งั ตามข้อ 27 6. คณะกรรมการฯ ไดร้ บั การอบรมเกยี่ วกบั บทบาทและหนา้ ทตี่ ามกฎหมาย ตามหลกั เกณฑ์ 7.และวธิ กี ารทอี่ ธบิ ดปี ระกาศกำ� หนด ตามข้อ 28 นายจ้างต้องพิจารณา และด�ำเนินการตามมติหรือข้อเสนอแนะของคณะกรรมการฯ 8. ทป่ี ระธานกรรมการเสนอโดยมิชักชา้ ตามขอ้ 30 นายจ้างต้องสนับสนุนและส่งเสริมการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ และ จป. ทั้งในหน้าท่ี 9. ประจ�ำและหนา้ ท่ีในฐานะกรรมการ ตามขอ้ 31 นายจ้างปิดประกาศมติของที่ประชุมคณะกรรมการฯ เก่ียวกับความปลอดภัยฯ ไว้ใน ท่ีเปิดเผย เพอื่ ใหล้ กู จ้างทราบภายใน 7 วัน นับแต่วันทีป่ ระชมุ 32 นติ ยสารความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน

กลยทุ ธ์ในการขบั เคล่ือนของ คปอ. ในสถานประกอบการ ใช้เคร่อื งมือนำ� ไปสู่การปฏบิ ัติ เพอื่ ใหบ้ รรลุเป้าหมาย โดยนายจา้ งตอ้ งใหก้ ารสนับสนุน และส่งเสริมอย่างจริงจงั พนกั งานทั่วไปใหค้ วาม ประธาน คปอ. รว่ มมือและปฏิบตั ติ ามกฎ แสดงความเปน็ ผนู้ �ำ อยา่ งเคร่งครัด 5 กลยุทธ์ การขบั เคลือ่ น คปอ. จป.เทคนคิ ข้นั สูง/ จป.หวั หนา้ งาน วิชาชีพ ประสาน รวบรวม ชบ้ี ง่ อันตราย ตรวจสอบ/ และคำ� แนะนำ� ควบคุม ตลอดเวลา จป.บริหาร กำ� กับดแู ล อย่างใกล้ชิด และตดิ ตามผล นติ ยสารความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน 33

รปู แบบการขบั เคลือ่ นของ คปอ. ตอ้ งขอความร่วมมอื และมอบหมายหนา้ ท่ี จป.หวั หน้างาน จป.บริหาร หน้าทตี่ าม หนา้ ท่ตี าม ข้อ 9 ข้อ 21 ปัจจยั ท่ตี อ้ งคำ� นึงเพิ่มเตมิ เชน่ ปัจจยั ที่ตอ้ งคำ� นึงเพ่ิมเตมิ เชน่ - ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานด้านความ - ต้องมีภาวะผู้น�ำในการบริหารจัดการ งาน ปลอดภยั ฯ แก่ลกู จา้ งในพนื้ ทีอ่ ยา่ งใกลช้ ดิ ความปลอดภยั อย่างจริงจัง - จัดท�ำแผนการตรวจตราพื้นที่รับผิดชอบ - ต้องสร้างแรงจูงใจ ในการก�ำกับดูแล และ อย่างเปน็ รูปธรรม ติดตาม - สร้างเครื่องมือการตรวจ และการรายงาน - ตอ้ งมเี กณฑก์ ารชวี้ ดั ผลการปฏบิ ตั งิ านอยา่ ง อุบตั เิ หตุใหป้ ฏบิ ตั ิ ชัดเจน จป.เทคนิคขั้นสูง/ วชิ าชีพ หน้าท่ี ตามข้อ 15, 18 ปัจจัยทตี่ อ้ งคำ� นึงเพม่ิ เติม เช่น - ประสานและติดตามการด�ำเนินงานเพ่อื รายงาน คปอ.ตลอด - รวบรวมขอ้ มูล และรายงานความคบื หน้าอยา่ งตอ่ เน่อื ง - แนะนำ� และเปน็ วทิ ยากรฝกึ อบรมใหแ้ กล่ กู จา้ งเพอ่ื ใหก้ ารปฏบิ ตั ิ งานปลอดภัย 34 นติ ยสารความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน

หนา้ กากกรองอากาศ (Respirators) PM 2.5สำ� หรับป้องกนั ฝุ่น แปลและเรยี บเรียงบทความโดย นนั ท์นภัส สาระโภค วิศวกรผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นเทคนิคอาวุโส แผนกผลติ ภัณฑ์เพ่อื ความปลอดภยั ส่วนบุคคล บรษิ ทั 3เอ็ม ประเทศไทย 1. การเลอื กหน้ากากส�ำหรบั ป้ องกนั ฝุ่น PM 2.5 หน้ากากส�ำหรับการป้องกันอนุภาคขนาดเล็กท่ีมีขนาดน้อยกว่า 10 ไมครอน ซ่ึงสามารถเข้าสู่ระบบหายใจของมนุษย์ได้ หลายท่าน อาจเลือกใชห้ นา้ กากอนามัย (Surgical masks) หรอื หน้ากากสวมสบาย (Comfort masks) แต่ในความเป็นจรงิ แลว้ หน้ากากสำ� หรับลดการ รับสมั ผัสอนุภาคปนเป้อื นในอากาศ อาทิ ฝุ่นขนาดเล็ก PM 2.5 รวมถึงเช้อื กอ่ โรค SARS, Avian Flu, Influenza Virus, Ebola Virus เปน็ ต้น ควรเลอื กใชห้ นา้ กากกรองอากาศ (Respirators) ทม่ี คี วามแนบกระชบั กบั ใบหนา้ จากคำ� แนะนำ� เรอื่ งการใชห้ นา้ กากเพอื่ ปอ้ งกนั มลพษิ ทางอากาศ ใน Fact Sheet 3 ของ WHO ซง่ึ ตพี มิ พเ์ มอื่ เดอื นตลุ าคม 2561 ไดร้ ะบไุ วว้ า่ หนา้ กากกรองอากาศอาจเปน็ ตวั ชว่ ยไดใ้ นกรณพี เิ ศษ หากจำ� เปน็ ตอ้ ง อยภู่ ายนอกอาคารเปน็ เวลานาน หนา้ กากตอ้ งเปน็ ชนดิ พเิ ศษและแนบกระชบั กบั ใบหนา้ มชี น้ั คณุ ภาพการกรองขน้ั ตำ่� ทรี่ ะดบั N-95 หมายความวา่ หน้ากากมปี ระสทิ ธิภาพมากพอในการกรองอนภุ าคออกไปได้ 95% หรือกรองฝุ่น PM 2.5 ได้เปน็ ส่วนใหญ่ ความแตกต่างท่ีส�ำคัญระหว่างหน้ากากกรองอากาศและหน้ากากอนามัย คือ วัตถุประสงค์ในการใช้งาน หน้ากากกรองอากาศ ถกู ออกแบบมาเพอ่ื ช่วยลดการรับสมั ผัสสารปนเปื้อนในอากาศ เช่น ฝนุ่ ละออง อนุภาค แกส๊ หรือไอระเหย หน้ากากกรองอากาศส�ำหรบั กรอง อนภุ าค (Particulate respirator) จะชว่ ยลดการรบั สมั ผสั อนภุ าคขนาดเลก็ ทสี่ ามารถเขา้ สรู่ ะบบหายใจไดซ้ งึ่ มขี นาดเลก็ กวา่ 100 ไมครอน รวมถงึ อนภุ าคในอากาศทป่ี นเปอ้ื นสารชวี ภาพตา่ งๆ เชน่ เชอื้ รา, Bacillus anthracis (แบคทเี รยี กอ่ โรคแอนแทรกซ)์ , Mycobacterium tuberculosis (แบคทีเรียก่อโรควณั โรค), ไวรสั ก่อโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรนุ แรง (SARS), ไวรสั ไข้หวดั ใหญ่ (Influenza) เปน็ ต้น ความแนบกระชับกับใบหน้าเป็นอีกความแตกต่างที่ส�ำคัญ หน้ากากกรองอากาศ ถูกออกแบบให้แนบกระชับกับใบหน้าของผู้สวมใส่ ดงั น้ัน อากาศทห่ี ายใจเขา้ ไปจงึ ผ่านชนั้ กรองของหน้ากากและไมร่ ว่ั ตามช่องวา่ งระหว่างหนา้ กากกบั ใบหนา้ ผ้สู วมใส่ หน้ากากอนามัย ไม่มีความเพียงพอทั้งในด้านประสิทธิภาพการกรองหรือความแนบกระชับท่ีเหมาะสม หน้ากากอนามัยถูกออกแบบ มาเพ่ือปอ้ งกันการปนเปื้อนของอนุภาคขนาดใหญจ่ ากผูส้ วมใสห่ น้ากาก (เชน่ น้ำ� ลาย น�้ำมกู ) ไปส่บู รรยากาศโดยรอบ รวมถงึ อาจใชเ้ พ่ือช่วยลด นิตยสารความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน 35

ความเสี่ยงจากการกระเด็นหรือละอองของเลือด ของเหลวในร่างกาย สารคัดหล่ัง และของเสียจากการขับถ่าย เข้าสู่ปากและจมูกของผู้สวมใส่ และเน่ืองจากวัตถุประสงค์การใช้งานดังกล่าวข้างต้น จึงไม่ได้ถูกออกแบบมาให้แนบกระชับกับใบหน้า ดังน้ัน ขณะสวมใส่ ในจังหวะหายใจเข้า จึงมอี ากาศจ�ำนวนมากท่ไี มผ่ า่ นชั้นกรอง ไหลผา่ นช่องวา่ งระหว่างใบหน้ากับหน้ากากอนามยั เข้าสรู่ ะบบหายใจได้ ส�ำหรับกรณีของฝุ่นขนาดเล็กท่ีปนเปื้อนในอากาศเป็นปริมาณสูงน้ัน วิธีการท่ีดีท่ีสุดท่ีจะช่วยลดการรับสัมผัสมลพิษทางอากาศ คือ พยายามหลีกเลี่ยงการสัมผัสในช่วงเวลาท่ีมีปัญหามลพิษทางอากาศ ได้แก่ อยู่ในบ้านพัก อาคาร หรือในพ้ืนท่ีท่ีมีอากาศสะอาด และหลีกเล่ียง กจิ กรรมกลางแจ้ง แตห่ ากจ�ำเป็นต้องออกไปท�ำกจิ กรรมภายนอก ควรเลือกสวมหน้ากากกรองอากาศท่ีเหมาะสม แนบกระชับ มีมาตรฐาน รับรอง และสวมใส่หน้ากากอยา่ งถกู ต้องตามค�ำแนะนำ� ของผผู้ ลิต เพ่อื ชว่ ยลดการรบั สัมผสั ฝนุ่ ขนาดเล็กเขา้ สู่ระบบหายใจ 2. มาตรฐานรบั รองสำ� หรบั หนา้ กากกรองอากาศชนดิ กรองอนภุ าค มาตรฐานรับรองส�ำหรับหน้ากากกรองอากาศชนิดกรองอนุภาค ที่ได้รับการยอมรับระดับนานาประเทศ ได้แก่ มาตรฐานอเมริกา (NIOSH Standard, NIOSH 42 CFR 84), มาตรฐานยโุ รป (European Standard, EN 149), มาตรฐานออสเตรเลยี /นิวซีแลนด์ (Australia/ New Zealand Standard, AS/NZS 1761) มกี ารแบง่ ช้นั คณุ ภาพหรอื ประเภทช้นั กรองและประสทิ ธภิ าพการกรอง ดังน้ี ตารางที่ 1 ประเภทชั้นกรองและประสิทธภิ าพการกรองของหนา้ กากกรองอากาศชนิดกรองอนุภาค ตามมาตรฐานอเมริกา ยโุ รป และ ออสเตรเลีย/นวิ ซแี ลนด์ การจ�ำแนกประสทิ ธภิ าพการกรอง ของหนา้ กากกรองอนุภาคตาม มาตรฐานอเมริกา NIOSH Standard NIOSH 42 CFR 84 การจำ� แนกประสทิ ธภิ าพการกรอง N-Series: สำ� หรับกรองอนภุ าคไม่ปนเป้ือนน้�ำมนั ของหนา้ กากกรองอนภุ าค R-Series: ทนทานต่อน้�ำมนั สำ� หรับกรองอนุภาคทง้ั ท่ีเป็นน�้ำมนั และไม่ใช่น้�ำมัน ตามมาตรฐานยุโรป P-Series: ตา้ นทานน้�ำมนั ซมึ ผา่ น ส�ำหรับกรองอนภุ าคท้ังที่เปน็ น�้ำมันและไม่ใชน่ �้ำมัน European Standard อายุการใช้งานเปลี่ยนหนา้ กากเมอื่ หายใจอดึ อัด หรอื สกปรก หรอื ชำ� รดุ เสยี หาย EN149 Standard การจำ� แนกประสทิ ธภิ าพการกรอง อายกุ ารใชง้ านเปลีย่ นหน้ากากเม่อื หายใจอึดอัด หรือสกปรก หรอื ช�ำรดุ เสียหาย ของหนา้ กากกรองอนภุ าค ตามมาตรฐานออสเตรเลีย/นวิ ซแี ลนด์ อายกุ ารใช้งานเปลย่ี นหน้ากากเมอื่ หายใจอดึ อดั หรอื สกปรก หรือช�ำรดุ เสยี หาย Australia/New Zealand Standard AS/NZS 1716 36 นิตยสารความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน

3. สรุปรายละเอยี ดความแตกต่างระหว่างหนา้ กากกรองอากาศ หน้ากากอนามัย และหน้ากากชนิดสวมสบาย ความแตกต่างของหน้ากากทงั้ 3 ประเภท การใชง้ าน มาตรฐานรบั รอง และความแนบกระชับ สรปุ ไวใ้ นตารางที่ 2 ดงั นี้ ตารางท่ี 2 ความแตกตา่ งระหวา่ งหน้ากากกรองอากาศชนดิ กรองอนุภาค หนา้ กากอนามัย และหน้ากากชนิดสวมสบาย หน้ากากกรองอากาศชนดิ กรองอนภุ าค หนา้ กากกรองอากาศชนดิ กรองอนภุ าค หน้ากากอนามัย หน้ากากสวมสบาย (Particulate respirators) (Surgical masks) (Comfort masks) • ช่วยกรองอนุภาคปนเปื้อนจากอากาศ • ส�ำหรับใช้งานเป็นหน้ากากอนามัย ไม่ได้ • ไมไ่ ดถ้ กู ออกแบบมาเพอ่ื ใชส้ ำ� หรบั ปกปอ้ ง เมื่อสวมใส่อย่างแนบกระชับ ช่วยลดการ ถกู ออกแบบมาเพอ่ื ใชส้ ำ� หรบั ปกปอ้ งระบบ ระบบหายใจจากอนุภาคปนเปื้อนใน รับสัมผัสอนุภาคหรือเช้ือโรคท่ีอาจหายใจ หายใจจากอนภุ าคปนเปื้อนในอากาศ เชน่ อากาศ เช่น PM 2.5 เขา้ ไป PM 2.5 • ไม่ได้รับการรับรองประสิทธิภาพการ • ช่วยลดการรับสัมผัสฝุ่นละอองขนาดเล็ก • ไมแ่ นบกระชบั กบั ใบหนา้ มชี อ่ งวา่ งระหวา่ ง กรองตามมาตรฐานสากล อาทิ NIOSH PM 2.5 ใบหน้ากับหน้ากาก ท�ำให้อากาศที่ไม่ถูก (อเมริกา), EN (ยุโรป), AN/NZS กรองไหลผ่านเข้าส่รู ะบบหายใจได้ (ออสเตรเลีย/นิวซีแลนด์) เช่นเดียวกับ • ได้รับการรับรองประสิทธิภาพการ หน้ากากกรองอากาศ กรองตามมาตรฐานสากล อาทิ NIOSH • ไม่ได้รับการรับรองประสิทธิภาพการ (อเมริกา), EN (ยุโรป), AS/NZS กรองตามมาตรฐานสากล อาทิ NIOSH • ไมไ่ ดร้ บั การรบั รองมาตรฐานจากหนว่ ยงาน (ออสเตรเลีย/นิวซีแลนด์)ตามรายละเอียด (อเมริกา), EN (ยุโรป), AN/NZS ทดสอบประสิทธภิ าพใดๆ ในตารางท่ี 1 (ออสเตรเลีย/นิวซีแลนด์) เช่นเดียวกับ หน้ากากกรองอากาศ • อาจมีสายรัดเพียง 1 เส้น หรือมี 2 เส้น • ออกแบบให้สวมใส่ได้แนบกระชับกับ แต่เป็นชนิดหลวมเพื่อความสบายในการ ใบหน้าด้วยสายรัดศีรษะหรือสายคล้องหู • ได้รับการทดสอบการกรองแบคทีเรียผ่าน สวมใส่ และแถบอลูมิเนียมส�ำหรับปรับให้เข้ากับ ชน้ั หนา้ กาก โดยไมไ่ ดพ้ จิ ารณาเรอื่ งการรวั่ รปู จมูก เพ่ือความแนบกระชบั ยิ่งกว่า ซึมโดยรอบหน้ากาก • ไมแ่ นบกระชบั กบั ใบหนา้ มชี อ่ งวา่ งระหวา่ ง ใบหน้ากับหน้ากาก ท�ำให้อากาศที่ไม่ถูก • ใชส้ ำ� หรบั สวมใสใ่ นงานเฉพาะ เชน่ สวมใส่ กรองไหลผา่ นเข้าสู่ระบบหายใจได้ เพ่อื การผา่ ตัด และท้งิ หลงั การใชง้ าน • ช่วยดักอนุภาคขนาดใหญ่จากผู้สวมใส่ เช่น น้�ำลาย หรือน�้ำมูก ไปสู่บรรยากาศ โดยรอบ และช่วยลดความเส่ียงในการรับ สัมผัสละอองหรือหยดของเหลวท่ีกระเด็น จากบุคคลอน่ื มายงั ผสู้ วมใส่ นิตยสารความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน 37

เอกสารอา้ งอิง 1. WHO Fact Sheet 3, What to do when there is an air pollution alert? October 2018 http://www.searo.who.int/topics/air_pollution/what-to-do-when-there-is-an-air-pollution-alert.pdf 2. Respirators for protection against PM2.5 https://multimedia.3m.com/mws/media/1313143O/respirators-for-protection-agains.pdf 3. Respiratory Protection for Exposures to Particulate Air Pollution http://multimedia.3m.com/mws/media/929854O/respiratory-protection-for-airborne-exposures.pdf 4. Key Differences Between Respirators and Masks https://multimedia.3m.com/mws/media/956213O/differences-between-respirators-and-masks.pdf?fn=Respirator%20 vs%20Surgical%20Mask%20flye 4. TDB 231: Respirators and Surgical Masks: A Comparison http://multimedia.3m.com/mws/media/957730O/tdb-231-respirators-surgical-masks-pdf.pdf หน้ากากกรองอากาศ (Respirators) PM 2.5สำ� หรบั ป้องกันฝุ่น 38 นติ ยสารความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน

การน�ำเทคโนโลยี บทความโดย สนั ติ พลู สวสั ดิ์ สรา้ งสภาพแวดล้อมเสมือนจริง วิศวกรผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นเทคนคิ ทมาาใงชด้ใ้านนกคาวราอมบปรลมอดภัย แผนกผลติ ภัณฑเ์ พื่อความปลอดภยั สว่ นบคุ คล บริษัท 3เอ็ม ประเทศไทย จ�ำกัด (Welcome to the world of visual reality safety training) การฝึกอบรมถือเป็นส่วนส�ำคัญของงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ทั้งหลักสูตรท่ีเป็นไป ตามกฎหมายหรือตามมาตรฐานก�ำหนด รวมไปถึงการฝึกอบรมเพื่อเพ่ิมพูนประสบการณ์และการสร้างจิตส�ำนึก ความปลอดภัย บางคร้ังการฝึกอบรมมีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง และใช้เวลานานในการจัดเตรียมพ้ืนที่ ซ่ึงบางคร้ัง อาจมีอันตรายแอบแฝง และอาจต้องหยุดการปฏิบัติงานนั้นจริงๆ ซึ่งหากเรามีวิธีการฝึกอบรมที่สามารถเข้าถึง ได้ง่าย และมีส่วนในการสร้างเสริมประสบการณ์โดยที่ใช้เวลาไม่นานและปลอดภัย น่าจะเป็นตัวช่วยท่ีดีส�ำหรับ พวกเราชาวอาชวี อนามัยฯ นิตยสานรติ คยวสาามรปคลวอาดมภปยัลออดาภชยัีวออนาาชมีวยั อนแาลมะสัยภแาลพะแสวภดาลพอ้ แมวใดนลก้อารมทใน�ำกงารนท�ำงาน 39

ในช่วง 2-3 ปีทีผ่ า่ นมา เทคโนโลยกี ารจำ� ลองภาพเสมือนจริง หรือ Virtual reality (VR) ซงึ่ กค็ ือการจ�ำลองสภาพแวดล้อม การท�ำงานใหเ้ สมือนจริง โดยผา่ นการรับรู้จากการมองเหน็ เสียง สัมผัส แม้กระทั่งกลน่ิ โดยจะตัดขาดเราออกจากสภาพแวดลอ้ ม ปจั จบุ นั เพอื่ เขา้ ไปสภู่ าพทจี่ ำ� ลองขน้ึ มา เราสามารถนำ� เทคโนโลยเี หลา่ นมี้ าประยกุ ตใ์ ชก้ บั การจำ� ลองสถานทที่ ำ� งานทม่ี สี ภาพอนั ตราย ตา่ งๆ เพอ่ื ใหผ้ รู้ บั การฝกึ อบรมไดส้ มั ผสั ประสบการณข์ องการเกดิ อนั ตรายนน้ั ๆ แบบเสมอื นจรงิ มากขน้ึ โดยไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งใหผ้ รู้ บั การ ฝึกอบรมนั้นเผชิญกบั อนั ตรายจริงทห่ี น้างาน ปัจจุบันโปรแกรมฝึกอบรมทางด้านความปลอดภัยในรูปแบบของ VR ได้ถูกพัฒนาข้ึน เพ่ือน�ำมาใช้งานในหลากหลาย สถานการณ์ อาทเิ ช่น 1. การจำ� ลองสภาพแวดลอ้ มเสมอื นจรงิ ในการท�ำงานบนทสี่ ูง (Working at height awareness) เป็นการจ�ำลอง การท�ำงานบนตึกสูง โดยผู้รับการฝึกอบรมสามารถเลือกได้ว่าจะสวมหรือไม่สวมอุปกรณ์ยับย้ังการตก และเม่ือมีการพลัดตก จากที่สูงขณะทำ� งาน ผลของการเลอื กปฏบิ ัตินน้ั กจ็ ะแสดงให้ผู้อบรมรสู้ กึ ร่วมไปกบั เหตกุ ารณเ์ สมือนการตกจากทส่ี ูงน้นั จริงๆ ลองแสกน QR Code นี้เพอ่ื ดูตวั อย่างการท�ำงาน VR ของการท�ำงานบนทส่ี งู 40 นิตยสารความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน

2. การจำ� ลองสภาพเสมอื นจรงิ ของการตรวจสอบอปุ กรณย์ บั ยง้ั การตก (Full Body Harness Inspection) สำ� หรบั ผทู้ ี่ ตอ้ งทำ� หนา้ ทใี่ นการตรวจสอบสภาพอปุ กรณค์ วามปลอดภยั แตอ่ าจยงั ขาดประสบการณใ์ นการสงั เกตวา่ จดุ ใดเปน็ จดุ ทเ่ี กดิ ความ ชำ� รดุ เสียหาย โดยโปรแกรม VR น้ี เป็นการจ�ำลองวิธกี ารตรวจสอบอุปกรณ์ เพือ่ ให้ผูฝ้ กึ อบรมได้ทดลองปฏิบตั ติ ามรายการตรวจ สอบทกี่ �ำหนด ลองแสกน QR Code นเ้ี พ่ือดูตัวอย่างการทำ� งาน VR การตรวจสภาพ Harness 3. การจำ� ลองสภาพเสมอื นจรงิ ของการการฝกึ อบรมการขบั ขป่ี ลอดภยั (Road Safety) เปน็ การจำ� ลองการขบั ขบี่ นถนน อย่างไรใหม้ คี วามปลอดภัย รวมไปถงึ การสังเกตป้ายบอกทาง และปา้ ยแสดงสญั ญาณจราจรบนทอ้ งถนน สรุปประโยชน์ของการน�ำเทคโนโลยเี สมือนจริงมาใช้ในการฝึกอบรม ดังน้ี • สามารถสรา้ งเรอ่ื งราวของสภาพแวดลอ้ มตา่ งๆมาใชใ้ นการอบรมไดห้ ลากหลาย และสามารถจำ� ลองอนั ตรายตา่ งๆไดโ้ ดยท่ี ไมต่ ้องอยใู่ นสถานการณ์จรงิ • ใชพ้ ้นื ทใี่ นการฝกึ อบรมน้อย จำ� กัดพ้ืนท่ีทใี่ ช้ในการฝึกอบรม เพอ่ื ความปลอดภยั ท่มี ากข้นึ • ท�ำให้ผู้ฝกึ อบรมเกิดความสนกุ สนาน และต้งั ใจในการฝึกอบรมมากข้นึ • เป็นตวั ชว่ ยในการเสริมสรา้ งจิตส�ำนกึ ความปลอดภัยได้เป็นอยา่ งดี • สามารถฝึกอบรมซ้�ำไดห้ ลายครัง้ หากยังไม่เขา้ ใจ • ชว่ ยเพมิ่ ประสทิ ธิภาพของการฝกึ อบรมไดเ้ ป็นอย่างดี การน�ำเทคโนโลยีเสมือนจริงน้ีเข้ามาใช้ในการฝึกอบรมน้ัน สามารถสร้างเสริมประสบการณ์ในการท�ำงานให้ปลอดภัย โดย เราสามารถออกแบบโปรแกรมใหอ้ อกมาหลากหลายรปู แบบใหเ้ หมาะกบั สภาพพนื้ ทก่ี ารทำ� งานจรงิ ของผฝู้ กึ อบรมนนั้ ๆ จงึ เปน็ อกี หนง่ึ เทคโนโลยีหนึง่ ท่ีนา่ สนใจนำ� มาใช้ในการฝกึ อบรมต่างๆเปน็ อย่างดี นิตยสารความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน 41



งาน SAFETY ใน ASEAN และในต่างประเทศ รศ.ดร.พรพรรณ สกุลคู สาขาวชิ าอนามัยสิง่ แวดลอ้ ม อาชีวอนามัย และความปลอดภยั คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น การรวมตัวของประเทศอาเซียนท่ีมุ่งเน้นผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจร่วมกัน ท�ำให้เกิดการเคล่ือนย้ายบริการการลงทุน และแรงงาน ฝีมืออย่างเสรีมากย่ิงขึ้น ซึ่งการเปล่ียนแปลงในการพัฒนาดังกล่าวจะเป็นแรงกดดันอย่างมากต่อมาตรการและระบบควบคุมและการป้องกัน สภาพแวดล้อมและผลกระทบที่อาจจะส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน ดังนั้นเพ่ือเป็นการระดมพลังและพัฒนาความร่วมมือในการ ด�ำเนินงานทางดา้ นอาชีวอนามยั และความปลอดภัยใน Asean จงึ ได้มีการกอ่ ต้งั เครอื ข่ายความปลอดภยั และอาชีวอนามัยของอาเซยี น (ASEAN Occupational Safety and Health Network; ASEAN-OSHNET) ขึ้น ประกอบดว้ ยประเทศสมาชกิ อาเซียน ทั้ง 10 ประเทศได้แก่ ประเทศ เนการาบรไู นดารสุ ซาลาม ราชอาณาจกั รกมั พชู า สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว สหภาพพมา่ สาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวยี ดนาม มาเลเซยี สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย สาธารณรัฐสิงคโปร์ และประเทศไทย มีการแบ่งงานโดยไทยรับเร่ืองการพัฒนา มาเลเซียรับเรื่อง มาตรฐาน ฟลิ ปิ ปนิ สร์ บั เรอื่ งฝกึ อบรม อนิ โดนเี ซยี รบั เรอ่ื งวนิ จิ ฉยั สงิ คโปรร์ บั เรอื่ งตรวจรกั ษา เพอื่ พฒั นางานทางดา้ นอาชวี อนามยั เพม่ิ ความรว่ ม มือและความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกันของหน่วยงานและองค์กรด้านความปลอดภัยฯ ในภูมิภาค โดยเฉพาะหน่วยงานภาครัฐ ในการด�ำเนินงาน มกี ารแลกเปลยี่ นขอ้ มลู ขา่ วสาร ทกั ษะและการฝกึ อบรมทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และมกี ารพฒั นาทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ เอกภาพตามมาตรฐานและแนวปฏบิ ตั ดิ า้ นความ ปลอดภัยและอาชวี อนามยั ของอาเซียน นิตยสารความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน 43

สถานการณ์ท่ีผ่านมา เกาหลีกับสิงคโปร์มีอัตราการวินิจฉัยโรคที่เกี่ยวข้องจากการท�ำงานสูงมาก ขณะท่ี จีน โรคซิลิโคซิส (Silicosis) ญี่ปุ่น นวิ โมโคนิโอซสิ (Pneumoconiosis) มแี นวโนม้ ลดลง ไทยภาคเกษตรโรคจากสารเคมสี ูง แตก่ องทนุ ของเรายงั ไมไ่ ดใ้ หก้ ารคุ้มครอง ขณะท่ี เวยี ดนาม โรคซิลโิ คซสิ (Silicosis) จากการสมั ผัสฝุ่นหินทรายเปน็ เวลานาน พบผลการวนิ จิ ฉยั สูง เพราะมีองค์กรแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) เขา้ ไปชว่ ย รองลงมาคอื โรคหจู ากเสยี งดงั (Noise Induced Hearing Loss) และโรคบสิ ซโิ นซสิ (Byssinosis) จากการสมั ผสั ฝนุ่ ฝา้ ย,ปา่ น,ปอและ ลนิ นิ สงิ คโปรมกี ารตรวจสขุ ภาพวนิ จิ ฉยั ชดั เจน การไดย้ นิ จากเสยี งดงั แนวโนม้ ลดลง เปน็ เพราะผลจากการใชก้ ฎหมายเขม้ งวดจรงิ จงั เกาหลยี งั มโี รค กลา้ มเนอื้ และโครงสรา้ งกระดกู (Musculoskeletal Disease) จงึ มกี ารสนบั สนนุ ใหม้ แี พทยผ์ เู้ ชยี่ วชาญมากขน้ึ จงึ เปน็ ผลใหต้ วั เลขการวนิ จิ ฉยั สงู ขน้ึ ประเทศในอาเซียนหลายประเทศมีการใช้เทคโนโลยีในอัตราทีต่ ่�ำ แต่การแข่งขนั สงู ยิ่งโดยเฉพาะในลาว กมั พชู า เวียดนาม คนงานจงึ ขาดความมน่ั คง เพราะลักษณะการจา้ งงานมีการยดื หยุน่ สูง เนน้ การจ้างเหมา เอางานกลบั ไปท�ำข้างนอก มแี รงงานนอกระบบ แรงงานขา้ มชาติ ซึ่งไม่มีสวสั ดิการและกฎหมายคมุ้ ครอง ขาดความปลอดภยั การเจบ็ ปว่ ยด้วยโรคจากพิษภัยที่มองไมเ่ หน็ ต่างๆ และโรคท่สี บื เนื่องจากการท�ำงาน ด้วยการเรง่ การผลติ จนทำ� ให้คนงานเปน็ โรคโครงสร้างกระดกู จำ� นวนสงู สุด ท้งั ยงั มีปัญหาท่คี นงานยงั ขาดความเข้าใจและการเข้าถงึ สิทธิไดย้ าก งานอาชีวอนามยั ในต่างประเทศไดม้ กี ารปรบั ปรงุ และพัฒนาระบบอาชีวอนามยั และความปลอดภยั ย่งิ ขนึ้ เนื่องจากตา่ งประเทศมีความก้าวหนา้ ทางดา้ นเทคโนโลยี ทำ� ใหร้ ะบบอตุ สาหกรรมเปลย่ี นมาใชเ้ ครอ่ื งจกั รทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ แทนแรงงานคน เพอ่ื ใหเ้ พยี งพอตอ่ การตอบสนองของ ตลาด จงึ เสยี่ งทคี่ นงานจะไดร้ บั อนั ตรายและบาดเจบ็ จากเครอ่ื งจกั ร ดงั นนั้ เพอื่ เปน็ การพฒั นางานดา้ นอาชวี อนามยั ของประเทศทพี่ ฒั นาทางดา้ น อตุ สาหกรรม อาทิ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจกั ร แคนาดา ออสเตรเลีย และญ่ีปนุ่ จะพบว่าประเทศต่าง ๆ เหล่านม้ี ีกฎหมายความปลอดภัย ในการทำ� งานมาเปน็ เวลานานแลว้ และทกุ ประเทศขา้ งตน้ จะมกี ฎหมายดว้ ยการกำ� หนดเปน็ พระราชบญั ญตั อิ าชวี อนามยั และความปลอดภยั และ มกี ารรวมหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั งานดา้ นนม้ี าตงั้ เปน็ หนว่ ยงานใหม่ เพอื่ ลดความซำ�้ ซอ้ นในภารกจิ ความรบั ผดิ ชอบ และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการ ท�ำงาน ดงั เชน่ กรณกี ารต้ังหน่วยงานใหม่ คอื Occupational Safety and Health Administration (OSHA) และ National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH) ในประเทศสหรัฐอเมรกิ า และหนว่ ยงาน Health and Safety Executive (HSE) และ Health and Safety Commission (HSC) ในประเทศสหราชอาณาจักร เป็นต้น ซึ่งในการจัดตั้งหน่วยงานดังกล่าวมุ่งเน้นท่ีจะป้องกัน, สร้างกลยุทธ์ ทจ่ี ะลดอุบตั เิ หตุในสถานท่กี ารทำ� งานทที่ ำ� ให้เกดิ การบาดเจ็บและโรคจากการท�ำงาน และในปี ค.ศ. 2014-2020 นี้คณะกรรมการยโุ รปได้สรา้ ง กรอบแนวคดิ ใหมท่ ท่ี า้ ทาย โดยเปน็ ผนู้ ำ� ในการสรา้ งมาตรฐานทส่ี งู ขน้ึ สำ� หรบั เงอ่ื นไขในการทำ� งานทง้ั ในยโุ รปและระดบั สากล ใหด้ ำ� เนนิ งานไปใน แนวเดยี วกนั กับกลยทุ ธ์ของยุโรปปี 2020 เพอื่ มุ่งหวังท่ีจะลดโรคและอุบัตเิ หตจุ ากการทำ� งาน เอกสารอ้างองิ 1. กระทรวงแรงงาน. เครือข่ายความปลอดภัยอาชีวอนามัยของอาเซียน(Asean-Oshnet) [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 28 พฤศจิกายน 2558].เข้าถึงได้จาก: http://www.mol.go.th/academician/asean_oshnet 2. ขวัญฤทัย ย้ิมละมัย. อาชีวอนามัยเบื้องต้น. มหาวิทยาลัยนเรศวร[อินเทอร์เน็ต]; 2556[เข้าถึงเมื่อ 28 พฤศจิกายน 2558].เข้าถึงได้จาก: http://plu.ac.th/pluacth/ plu_doc/book_ph002.pdf 3. ภัทรวรรณ ป่นิ แกว้ . ระดมพลงั ประเทศสมาชกิ อาเซยี นรว่ มพัฒนางานดา้ นความปลอดภัยและอาชวี อนามยั . กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน [อินเทอรเ์ นต็ ]. [เขา้ ถงึ เมื่อ 27 พฤศจิกายน 2558].เข้าถึงได้จาก: http://www.labour.go.th/th/index.php?option=com_content&view=article&id=25541:2558-04-21-07-04- 14&catid=1:2011-03-31-03-24-26&Itemid=88 4. สราวุธ สุธรรมาสา. พระราชบญั ญตั คิ วามปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานพ.ศ. 2554 : ความหวังใหม่ของงานอาชวี อนามัยและความปลอดภยั ของ ประเทศไทยหรอื ?.วารสารความปลอดภัยและสขุ ภาพ[อินเทอร์เนต็ ].2553. [เข้าถึงเมอ่ื 28 พฤศจกิ ายน 2558]; 3. เขา้ ถึงได้จาก: http://www.stou.ac.th/Schools/Shs/ booklet/book542/frommag.html. 5. สมบุญ ศรีค�ำดอกแค. คลนิ ิกโรคจากการท�ำงานปี 2555 สถานการณส์ ขุ ภาพความปลอดภยั แรงงานไทย. ประชาไท[อินเทอรเ์ น็ต]. 2555[เข้าถงึ เม่อื 27 พฤศจกิ ายน 2558]. เข้าถงึ ไดจ้ าก: http://www.prachatai.com/journal/2012/04/40008 6. European Agency for Safety and Health at Work, European Risk Observatory Report. (2010). European Survey of Enterprises on New and Emerging Risks – Managing Safety and Health at Work. 7. European commissiom.EU Occupational Safety and Health (OSH) Strategic Framework 2014-2020[Internet].[cited 2015 Nov 29]. Available from: http://ec.europa.eu/social/main.jsp?catId=151 8. National Occupational Safety and Health Information Centre (CIS). Report of the National Occupational Safety and Health Information Centre (CIS)[Internet];2006[cited 2015 Nov 29]. Available from: https://www.ilo.org/legacy/english/protection/safework/cis/about/mtg2006/pnga_mlpid.pdf 44 นติ ยสารความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน

ซแกัลส๊ไฟไฮดโด์ รเจน โดย...ตะวันหนาว ทุกวันน้ีคงไม่มีใครไม่รู้จักแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์แต่จะมีสักกี่ ไฮโดรเจนซลั ไฟดเ์ กดิ ขน้ึ เปน็ จำ� นวนมากหา่ งจากแนวชายฝง่ั สาธารณรฐั คนทรี่ แู้ ละตระหนกั ถงึ อนั ตรายของแกส๊ ชนดิ นท้ี มี่ ตี อ่ มลพษิ ทางอากาศ นามิเบีย (Namibia) เพียง 150 กิโลเมตรโดยสีเขียวในรูปภาพแสดง และสุขภาพความเป็นอยู่ของมนุษย์ แก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์หรือที่คน ถึงแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ที่เกิดข้ึนเนื่องมาจากน�้ำทะเลที่อยู่ชายฝั่งมี ท่ัวไปเรียกว่าแก๊สไข่เน่า คงเป็นเพราะกลิ่นของแก๊สชนิดน้ีคล้ายกล่ิน ปริมาณออกซิเจนต่�ำ ท�ำให้ส่ิงมีชีวิตในทะเลตายเป็นจ�ำนวนมากและ ของไข่เน่า แก๊สชนิดน้ีเป็นหนึ่งในสารประกอบท่ีได้จากธาตุซัลเฟอร์ เกิดการย่อยสลายซากอินทรีย์โดยแบคทีเรียส่งผลให้มีการปล่อยแก๊ส มนี้�คำหุณนสักมโบมัตเลิเปกุล็นแ3ก4๊ส.0พ4ิษชจุดนเิดดหือนดึ่งท-8ี่ไ5ม.่ม5ีส°Cี มจีสุดูตหรลทอามงเเคหมลีวว่า-6H02.S7°[C1] ไฮโดรเจนซลั ไฟดข์ น้ึ มา ซง่ึ แกส๊ พษิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ยงั สง่ ผลยอ้ นกลบั ไปทำ� ลาย ระบบนิเวศน์ของชายฝั่งซ้�ำอีกด้วยท�ำให้เกิดความเป็นพิษต่อชายฝั่ง ความหนาแนน่ ของแกส๊ 1.393 g/L ทอี่ ณุ หภมู ิ 25°C ความดนั บรรยากาศ และส่ิงมีชีวิตในทะเล ในส่วนของกระบวนการทางอุตสาหกรรมได้แก่ 1 atm ซึ่งมีน้�ำหนักมากกว่าอากาศ [2] ค่าปริมาณไอระเหยของแก๊ส กระบวนการกลน่ั แยกปโิ ตรเลยี ม การผลิตสงิ่ ทอ การฟอกหนัง การท�ำ ต�่ำสุดที่สามารถเกิดการระเบิดได้ หากมีออกซิเจนเพียงพอ (Lower เหมืองแร่ กระบวนการเก่ียวกับการผลิตเย่ือกระดาษ กระบวนบ�ำบัด explosive Limit, LEL) อยูท่ ี่ 4% จงึ จัดแกส๊ ชนดิ วา่ เป็นแก๊สทมี่ คี วาม น้�ำเสยี และสงิ่ ปฏกิ ลู [6] วอ่ งไวในการลกุ ตดิ ไฟไดง้ า่ ยมากและเกดิ การเผาไหมอ้ ยา่ งรนุ แรง [3] และ อุณหภมู ิทส่ี ามารถลุกตดิ ไฟไดเ้ องอยู่ที่อุณหภมู ิ 290°C [4] แหล่งก�ำเนิดของแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์โดยส่วนใหญ่มา จาก 2 แหล่งได้แก่ กระบวนการทางธรรมชาติและกระบวนการ ทางอุตสาหกรรม โดยกระบวนการทางธรรมชาติ เช่นกระบวนการ ย่อยสลายของซากอินทรีย์สารที่มีธาตุซัลเฟอร์เป็นส่วนประกอบโดย แบคทีเรียในสภาวะที่ไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic digestion) [5] ซึ่ง สามารถดูการเกิดข้ึนของแก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์จากกระบวนการนี้ ได้จากภาพถ่ายขององค์การนาซา(อังกฤษ: National Aeronautics and Space Administration – NASA) แสดงดงั รปู ที่ 1 พบวา่ มีแก๊ส นิตยสารความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน 45

ระดับความเป็นพษิ ของไฮโดรเจนซลั ไฟด์ ระดับความเป็นพิษของแกส๊ ชนิดน้ี หน่วยงาน The American National Standards Institute standard ได้แบ่งระดับความเปน็ พิษ ตามระดับความเข้มข้นแก๊สท่ีได้รับ แสดงดังตารางท่ี 1 จากตารางจะเห็นว่าแก๊สชนิดนี้ส่งผลเสียต่อมนุษย์ หากได้รับในระดับความเข้มข้นตำ่� กส็ ง่ ผลใหเ้ กดิ อาการระคายเคอื งแตถ่ า้ ไดร้ บั ทป่ี รมิ าณความเขม้ ขน้ สงู ๆ กอ็ าจทำ� ใหเ้ สยี ชวี ติ ไดท้ นั ที และนอกจากนเ้ี มอื่ แกส๊ พษิ ชนดิ นส้ี มั ผสั กบั นำ�้ หรือไอนำ้� กจ็ ะเปล่ียนเปน็ กรดซลั ฟูริกมีฤทธิ์ทางการกดั กรอ่ นสูง สามารถกัดกร่อนหลังคาบา้ นเรือนรวมไปถึงวสั ดุและอุปกรณ์ต่างๆ อยา่ งรุนแรง โดยเฉพาะหากแกส๊ ชนดิ นเี้ กาะตวั อยบู่ นโลหะหรอื อยใู่ นอากาศ เมอื่ ฝนตกลงมากจ็ ะกลายเปน็ ไอกรด หรอื ฝนกรด และถา้ หากถกู ผวิ หนงั กจ็ ะเกดิ อาการปวดแสบปวดรอ้ น ระดับความเป็นพษิ ของแกส๊ ไฮโดรเจนซลั ไฟด์ท่สี ่งผลกระทบต่อรา่ งกาย ระดับขคอวงาHม2เSขม้ ขน้ ระยะเวลาท่ีไดร้ บั ผลกระทบตอ่ ร่างกาย 10 ppm ขณะทไ่ี ด้สมั ผัสและสูดดม เกิดอาการระคายเคอื งทดี่ วงตา 50 ถึง100 ppm 1 ชั่วโมง จะส่งผลระคายเคอื งตอ่ เนื้อเย่อื นัยน์ตา และระบบทางเดินหายใจ ทำ� ใหห้ ายใจตดิ ขัด 2 ถงึ 15 นาที จะเกิดอาการไอ ระคายเคืองทดี่ วงตา สูญเสียการรบั รูก้ ลนิ่ 100 ppm 16 ถงึ 30 นาที หากมีอาการสูดดมหรือสัมผัสต่อไป จะท�ำระบบหายใจเริ่มติดขัด หายใจล�ำบากขึ้น เริ่มเจบ็ ท่นี ัยน์ตาและมอี าการมนึ งงตามมา 1 ชั่วโมง หากมีอาการสูดดมหรือสัมผัสต่อไป จะมีอาการแสบ ปวดร้อน ที่คอ เพิ่มขึ้นมาจาก อาการก่อนหน้าน้ี และหากยังมกี ารสูดดมตอ่ เน่ืองตอ่ ไปจะท�ำให้เสียชีวิตภายในระยะ เวลา 48 ชว่ั โมงตอ่ มา 200 ถึง 300 ppm 1 ชว่ั โมง หากมีอาการสูดดมหรือสัมผัส จะส่งผลต่อระบบเนื้อเย่ือในตาและระบบหายใจอย่าง รนุ แรง หายใจตดิ ขดั ปวดแสบท่ลี ำ� คอและนัยนต์ า 500 ถงึ 700 ppm 30 ถงึ 60 นาที หากมีอาการสูดดมหรือสัมผัส จะท�ำให้สมองถูกท�ำลาย สูญเสียความสามารถในการ สง่ั การและอาจถงึ ขน้ั เสยี ชวี ิต 700 ถึง 1000 ppm ชว่ งเวลาส้นั ๆ หากมอี าการสดู ดมหรอื สมั ผสั จะทำ� ใหห้ มดสตอิ ยา่ งรวดเรว็ หยดุ การหายใจและเสยี ชวี ติ 1000 ถงึ 2000 ppm ทันที ทีไ่ ด้รับ หากมีอาการสูดดมหรือสัมผัส จะท�ำให้หมดสติทันที หยุดการหายใจและเสียชีวิต ในเวลาอันรวดเร็ว หมายเหตุ ผทู้ ห่ี ยดุ หายใจในระยะเวลาสนั้ อาจจะรอดชวี ติ ได ้ ถา้ ถกู แยกตวั ออกมาจากแหลง่ ทแี่ กส๊ มรี ะดบั ความเขม้ ขน้ สงู มาสบู่ รเิ วณทม่ี อี ากาศบรสิ ทุ ธใ์ิ นเวลาอนั รวดเรว็ มาตรการความปลอดภยั สำ� หรับทำ� งานกบั พน้ื ท่ที ี่มแี ก๊สนี้ • ตอ้ งตรวจสอบด้วยเครื่องมือวดั กอ่ นทกุ ครงั้ ว่ามีแกส๊ น้อี ยู่หรือไม่ • หากพบให้ทำ� การระบายอากาศจนกวา่ จะหมดไป • สวมอุปกรณท์ ่หี ายใจจากอากาศในถังหากจ�ำเปน็ ต้องเขา้ ท�ำงาน • เตรียมแผนฉกุ เฉนิ กรณีเกิดเหตฉุ กุ เฉนิ สามารถช่วยชีวติ ได้ทันที 46 นิตยสารความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ� งาน

โรคประสาท ลกั ษณะงานและอาชีพท่ีเส่ียง หูเส่ือม งานทส่ี มั ผสั กบั เสยี งดงั ไดแ้ ก่ งานอตุ สาหกรรมโลหะ งานตดั ไม้ จากการท�ำงาน เลื่อยไม้ อุตสาหกรรมสิง่ ทอ อุตสาหกรรมยางและพลาสตกิ อาชพี ขับรถ รบั จ้าง เป็นต้น โรคประสาทหเู ส่อื มจากการท�ำงาน (Hearing impairment caused by noise) เสยี ง (Sound or Noise) คอื พลงั งานทเ่ี กดิ จากการสน่ั สะเทอื น อันตรายต่อระบบอวัยวะท่สี ำ� คญั ของร่างกาย ของโมเลกุลของตัวกลาง ทเี่ สยี งเคลือ่ นท่ีผา่ น เปน็ เหตใุ ห้เกิดการอัดและ ขยายตวั ของอากาศสลบั กนั ไป มผี ลทำ� ใหค้ วามดนั บรรยากาศเปลย่ี นเปน็ ผู้ท่ีมีภาวะหูเส่ือมจากเสียงดัง จะรู้สึกว่าการได้ยินของตนเอง สงู ตำ่� สลบั กนั เปน็ คลนื่ เชน่ เดยี วกบั การอดั ขยายของอากาศ คลน่ื ทเี่ กดิ ขน้ึ นี้ ลดลง หรอื มปี ญั หาในการไดย้ นิ อาการทพี่ บบอ่ ยทส่ี ดุ คอื ฟงั คนอน่ื พดู ไมช่ ดั เรียกว่า คลนื่ เสยี ง การทำ� งานหรือการประกอบอาชีพอาจมีผลทำ� ให้เกดิ หรือไม่เข้าใจเม่ือมีคนมาพูดโดยเฉพาะอย่างย่ิงจะได้ยินล�ำบากมากขึ้น การสญู เสียการได้ยนิ ได้ โดยมกั มีความผดิ ปกติของหูท้งั 2 ข้าง มากกว่า ถ้าในบริเวณนั้นมีเสียงดังด้วย เพราะเสียงดังที่ดังรบกวนมักจะเป็นเสียง ข้างเดียว ประเภทของการสูญเสียอาจเป็นการสูญเสียของการน�ำเสียง ความถี่ต่�ำ ท�ำให้มาบดบังหรือรบกวนการได้ยินคล่ืนเสียงความถ่ีต่�ำจาก (Conductive) หรือประสาทการได้ยิน (Sensorineural) หรือแบบ ค�ำพูด ซงึ่ ผู้ปว่ ยมกั จะไดย้ ินกว่าเสียงความถ่ีสงู (ทีม่ กี ารสญู เสียการได้ยิน ผสม (Mixed) เลยก็ได้ ส�ำหรับการสูญเสียการได้ยินแบบการน�ำเสียง ไปแลว้ ) และดว้ ยสาเหตทุ ผี่ ปู้ ว่ ยมคี วามผดิ ปกตทิ ก่ี ารไดร้ บั เสยี งความถส่ี งู (Conductive) หมายถงึ ความผดิ ปกตทิ เ่ี กดิ ขนึ้ ทหี่ ชู นั้ นอก หรอื หชู น้ั กลาง ดงั นนั้ ผปู้ ว่ ยมกั จะไดย้ นิ คำ� พดู ผดิ ปกตไิ ป เมอื่ เปน็ คำ� ทม่ี เี สยี งสงู หรอื ผพู้ ดู ซึ่งเปน็ การส่งผา่ นของเสยี งก่อนทีจ่ ะไปถงึ หชู นั้ ใน มโี ทนเสยี งสงู เช่น ผหู้ ญงิ หรอื เด็ก เปน็ ตน้ ในลักษณะของการท�ำงานโดยทั่วไป การสูญเสียการได้ยิน นอกจากจะมีปญั หาเรอ่ื งการไดย้ ินแล้ว ผทู้ ่ีมีภาวะสญู เสียการ สามารถท่ีจะเกิดได้หลายสาเหตุ เช่นจากการเกิดการบาดเจ็บที่ศีรษะ ไดย้ นิ มกั มอี าการไดย้ นิ เสยี งดงั ในหเู ชน่ เสยี งหงึ่ ๆ หรอื เสยี งกระดงิ่ ความ การเกิดแผลไฟไหม้บริเวณหู การสัมผัสกับสารเคมีที่มีพิษต่อหู แต่ส่วน ผิดปกติดังกล่าวอาจจะเปน็ พักๆ หรอื เป็นตลอดเวลา และอาการจะเป็น ใหญ่สาเหตุของการสูญเสียการได้ยินจากการท�ำงานท่ีพบบ่อยท่ีสุดคือ มากข้ึน เวลาสัมผัสกับเสียงดังมากๆ นอกจากน้ีอาการได้ยินเสียงดังผิด การสูญเสียการได้ยินแบบ sensory hearing loss โดยเกิดจากการได้ ปกติในหูจะน้ีจะรูท้ �ำให้รสู้ กึ ร�ำคาญ ดังนั้นผปู้ ่วยมักจะบน่ เร่ืองการนอน รับสัมผัสกับเสียงดังท่ีเกิดจากสภาพแวดล้อมการท�ำงานเป็นระยะเวลา ไม่คอ่ ยหลบั หรือไม่มีสมาธิในการทำ� งานในหอ้ งทีเ่ งียบ นานติดต่อกัน ( Noise – induced hearing loss, NIHL) นติ ยสารความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน 47



AEDท�ำความรู้จัก โดย พว พนมกรณ์ แสงอรณุ (ครเู สอื ) AED ย่อมาจากค�ำว่า Automated External Defibril- lator ซง่ึ หมายถึงเครือ่ งมอื ชนิดกระเป๋าห้ิว ซึง่ ประเมนิ อาการการเจ็บ ป่วยเก่ียวกับโรคหัวใจฉับพลันของคนป่วยได้โดยอัตโนมัติ และช่วย รกั ษาอาการเจบ็ ปว่ ยไดท้ นั ทดี ว้ ยการชอ็ กกระแสไฟฟา้ เพอื่ กระตนุ้ หวั ใจ (defibrillation) AED พฒั นาขน้ึ ในชว่ ง 20 ปที ผี่ า่ นมาโดยมวี ตั ถปุ ระสงคท์ จี่ ะให้ เป็นเครื่องมือช่วยชีวิตผู้ท่ีประสบสภาวการณ์ผิดปกติท่ีเลือดไม่ไปเลี้ยง หวั ใจ (heart attack) ทง่ี า่ ยและสะดวกแกก่ ารใชค้ นธรรมดาทผี่ า่ นการ ฝกึ ฝนเพยี งเล็กนอ้ ยกส็ ามารถใช้ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ หรือแม้แตค่ น เดินถนนกส็ ามารถใช้ได้ เม่อื เปิดสวทิ ซ์ AED จะใหค้ �ำสั่งเปน็ ภาษาตา่ ง ๆ ตามท่ตี ั้งไว้ ทง้ั เสยี งและภาพอยา่ งเปน็ ขน้ั เปน็ ตอน โดยเรม่ิ จากใหเ้ อาขวั้ ไฟฟา้ ทเี่ ปน็ ผา้ นม่ิ เชอื่ มตอ่ เขา้ กบั คนปว่ ย เครอ่ื งมอื กจ็ ะตรวจสถานะความเจบ็ ปว่ ย ของคนไข้ ประเมนิ วา่ สมควรได้รับการกระต้นุ ดว้ ยกระแสไฟฟ้าหรือไม่ หากต้องมีการกระตุ้น เคร่ืองจะเตือนให้ตรวจคนไข้ว่าไม่มีโลหะอยู่บน ร่างกาย (ระวงั ตะขอเส้อื ชัน้ ใน ตะขอกางเกง กระดมุ เส้อื ) และไม่มีใคร แตะตัวคนป่วย จากน้ันเครื่องจะส่ังให้กดปุ่มปล่อยกระแสไฟฟ้า จาก น้ันเครื่องจะประเมินว่าจ�ำเป็นต้องใช้ CPR ประกอบหรือช็อตอีกครั้ง หรอื ไม่ นติ ยสารความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน 49

AED จะเก็บข้อมูลการเต้นของหัวใจและกระแสไฟฟ้าจาก หลกั ใหญ่ โดยพยายามดแู ลสขุ ภาพของตนเองเปน็ อยา่ งดี มวี นิ ยั ในการ สมอง ตลอดจนการรักษาท่ีได้ท�ำไปในรูปดิจิตัล ซ่ึงสามารถน�ำไปใช้ ใชช้ วี ิตตามกลยทุ ธ์ “การรุก” ตอ่ เม่ือไม่เปน็ ผลแล้วจึงคอ่ ยอาศัย AED ประโยชน์ตอ่ ไปในการเยียวยาโดยแพทยผ์ ู้เช่ียวชาญ AED มหี ลายรนุ่ มที งั้ ถกู และแพง โดยมรี ะดบั ความกา้ วหนา้ ใน การใช้เคร่ืองกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ หรือ การใหข้ อ้ มลู และการใชท้ แ่ี ตกตา่ งกนั อยา่ งไรกด็ ที กุ เครอ่ื งจะมลี กั ษณะ Automate External Defibrillator : AED ขนั้ ตอนการใช้เครอ่ื ง พื้นฐานที่เหมือนกันในการประเมินอาการ และให้ค�ำสั่งในเร่ืองการ ดังนี้ ปล่อยกระแสไฟฟ้ากระตนุ้ หัวใจ 1. เปดิ เครอ่ื ง : บางรนุ่ เปน็ ปมุ่ เปดิ เครอ่ื ง บางรนุ่ สวติ ชเ์ ปดิ -ปดิ ปจั จุบันในประเทศพัฒนาแลว้ จะเห็นตู้ใส่ AED อยใู่ นสถานท่ี อยทู่ ีฝ่ าเครอื่ ง เม่อื เปดิ ฝาจะเทา่ กับการเปิดเคร่อื งโดยอัตโนมัติ สาธารณะทกุ แหง่ เนอื่ งจากไดพ้ สิ จู นใ์ หเ้ หน็ แลว้ วา่ มปี ระสทิ ธภิ าพในการ 2. ติด Pad ทีห่ นา้ อกผู้ปว่ ย ชว่ ยชวี ติ ผคู้ นจาก heart attack แพทยเ์ องเมอ่ื ประสบคนหมดสตกิ ต็ อ้ ง 3. ตอ่ สายที่ Pad เขา้ กบั ตวั เครอื่ งใหเ้ รยี บรอ้ ย กรณชี ดุ สายแยก ตรวจสอบอาการ โดยมเี ครอื่ งมอื วดั การเตน้ ของหวั ใจและหาขอ้ มลู อน่ื ๆ 4. ปล่อยใหเ้ ครอ่ื งวเิ คราะห์คลน่ื ไฟฟ้าหวั ใจ ซงึ่ แพทยไ์ มม่ อี ยกู่ บั ตวั ตลอดเวลา สว่ น AED นนั้ เปน็ เครอื่ งมอื อตั โนมตั ทิ ่ี a. หากเคร่ืองประเมินคล่ืนไฟฟ้าหัวใจของผู้ป่วยแล้ว สามารถประเมนิ สถานการณข์ องคนเจบ็ ปว่ ยไดท้ นั ทแี ละใหก้ ารรกั ษาใน แนะนำ� ให้ shock ใหผ้ ชู้ ว่ ยเหลอื ทำ� การนบั เพอ่ื เตรยี ม กรณที ต่ี อ้ งการกระแสไฟฟา้ เพอื่ กระตนุ้ การทำ� งานของหวั ใจอนั นำ� ไปสู่ กดปมุ่ ปลอ่ ยประจโุ ดยนบั “หนงึ่ ฉนั ถอย สอง ฉนั ถอย การไหลเวยี นของโลหติ สสู่ มองและสว่ นอน่ื ของรา่ งกายไดท้ นั เหตกุ ารณ์ สาม ทุกคนถอย” เพื่อส่งสัญญาณให้ทุกคนท่ีอยู่รอบ สิ่งท่ี AED ตอ้ งการอย่างยงิ่ ก็คอื การดูแลรักษาใหม้ ีสภาพใช้การได้ทันที ตัวผู้ป่วยถอยออกห่าง ไม่สัมผัสตัวขณะท่ีจะปล่อย เฉกเชน่ เดยี วกบั เครอ่ื งมอื ดบั เพลงิ แบตเตอรต่ี อ้ งไมห่ มดอายุ เครอื่ งอยใู่ น ประจไุ ฟฟ้า แล้วจึงกดปมุ่ ตามท่ีบอก สภาพดีและท�ำงานอย่างถูกต้อง เพียงติดตั้ง AED และทอดทิ้งไว้ b. หากเครือ่ งประเมนิ คล่นื ไฟฟา้ หัวใจของผ้ปู ่วยแล้ว พบ อยา่ งไมม่ กี ารตรวจสอบเปน็ ระยะเปน็ อนั ตราย เพราะใหค้ วามหวงั ลมๆ ว่าไม่ต้อง shock เครื่องจะบอกว่า “ไม่ต้องท�ำการ แล้งๆ แก่ประชาชนว่าสามารถช่วยเหลือได้และเป็นการใช้ทรัพยากร shock ใหท้ ำ� การกดหน้าอกตอ่ ทันที” อยา่ งขาดประสทิ ธภิ าพ 5. เมื่อเครื่องบอกให้ท�ำการกดหน้าอก ให้ผู้ช่วยเหลือเข้าไป AED เป็นเครอ่ื งมอื ช่วยชีวติ หรือ “การรบั ” ซึง่ อาจไมท่ ำ� ให้ กดหนา้ อกตามรายละเอยี ดทก่ี ลา่ วข้างต้น รอดชวี ิตได้ รอ้ ยเปอรเ์ ซน็ ต์ ดที ส่ี ุดก็คอื การไมต่ อ้ งหวงั พ่ึงพา AED เปน็ 6. เคร่อื งจะหยุดประเมินคล่ืนไฟฟา้ หวั ใจทุกๆ 2 นาที 50 นิตยสารความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook