Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานแบบประเมินตนเองศูนย์เอราวัณ 2564

รายงานแบบประเมินตนเองศูนย์เอราวัณ 2564

Published by Standard Bangkokems, 2022-03-14 08:32:19

Description: รายงานแบบประเมินตนเองศูนย์เอราวัณ 2564

Search

Read the Text Version

รายงาน การประเมนิ ตนเอง ปี 2564 ศูนยบ์ รกิ ารการแพทยฉ์ ุกเฉินกรุงเทพมหานคร (ศูนยเ์ อราวณั ) สาํ นกั การแพทย ์ กรุงเทพมหานคร

คาํ นํา ศนู ยบรกิ ารการแพทยฉกุ เฉินกรงุ เทพมหานคร (ศนู ยเ อราวณั ) จัดตั้งขน้ึ ตามประกาศในราชกิจจานเุ บกษา ณ วันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2551 โดยมีอำนาจหนาที่บริหารจัดการ ระบบบริการการแพทยฉุกเฉินในเขตกรุงเทพมหานคร เปนศูนยรับแจงเหตุและสั่งการใหคำปรึกษาแนะนำดานปฏิบัติการการแพทยฉุกเฉินและใหบริการสายดวนทางการแพทย เปนศูนยกลางประสานงานและพัฒนาเครือขาย เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการทางการแพทยฉุกเฉนิ ทั้งในสถานการณปกติ และกรณีเกิดสาธารณภัย จัดใหบริการการแพทยฉุกเฉินในโซนพื้นที่รับผิดชอบโดยชุดปฏิบัติการที่มีความพรอมตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อใหการชวยเหลือผูประสบอุบัติเหตุหรือเจ็บปวยฉุกเฉินตามมาตรฐานวิชาชีพ จัดใหบริการการแพทยฉุกเฉินใน สถานการณพิเศษ เชน เหตุสาธารณภัย อุบัติภัย วินาศภัย ภัยจากสารเคมี โรคอุบัติใหม โรคอุบัติซ้ำ รวมถึงภารกิจพิเศษ จัดทำแผนยุทธศาสตรพัฒนาระบบบริการการแพทยฉุกเฉิน ควบคุม กำกับ ติดตาม และประเมินผลตามมาตรฐานของ ประเทศ พฒั นาบคุ ลากรในเครือขายการแพทยฉุกเฉินทุกระดบั และดำเนินการวจิ ัยสง เสริมความรแู ละ บรกิ ารทางวิชาการ ดานการแพทยฉุกเฉิน เปนศูนยขอมูลสารสนเทศ การสื่อสาร งานทะเบียน และสถิติดานการแพทยฉุกเฉินของ กรุงเทพมหานคร บริหารจัดการงบประมาณ และการเงินในระบบบริการการแพทยฉุกเฉิน รวมถึงปฏิบัติหนาที่อื่นที่ เก่ยี วของ รายงานการประเมินตนเอง ประจำป พ.ศ. 2564 ศูนยบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร (ศูนยเอราวัณ) จัดทำขึ้นเพื่อเขารับการตรวจรับรองคุณภาพตามเกณฑและวิธีการรับรองคุณภาพระบบบริการการแพทย ฉุกเฉินแหงประเทศไทย (Thai Emergency Medical Service Accreditation: TEMSA) สำหรับหนวยปฏิบัติการแพทย ประเภทปฏิบัติการอำนวยการ ระดับสูง ซ่ึงการตรวจประเมินความพรอมในครั้งนี้สะทอนใหเห็นถึงจุดแขง็ และจุดออนของ ศูนยบ ริการการแพทยฉุกเฉนิ กรงุ เทพมหานคร (ศนู ยเอราวณั ) โดยสามารถนำผลการประเมินมาเปน แนวทางในการพัฒนา งานบรกิ ารของศนู ยฯ ในสว นที่ควรปรบั ปรุงและพฒั นาอยา งตอเนื่องตอ ไป

สารบญั 1-7 7-13 ผังองคกร 14-23 บทที่ 1 โครงสรางองคก ร 24-48 บทที่ 2 กระบวนการดำเนนิ งานตามวัตถปุ ระสงคเ ชิงกลยทุ ธและผลลัพธ บทที่ 3 รายงานการประเมินตนเอง หนวยอำนวยการและปฏบิ ัตกิ ารแพทยฉุกเฉินฯ 49-57 58-77 หมวดที่ 1 การบรหิ ารจัดการองคก ร หมวดท่ี 2 ปฏิบัติการอำนวยการ หมวดท่ี 3 ความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั กิ าร หมวดท่ี 4 การจดั การขอมูล หมวดที่ 5 การบริหารทรพั ยากรบคุ คล บทท่ี 4 ผลลัพธก ารดำเนินการท่สี ำคญั บทท่ี 5 ผลการประเมินตนเอง

3 โครงสรางองคกรของศูนยบริการการแพทยฉุกเฉนิ กรุงเทพมหานคร (ศนู ยเอราวัณ)

4 โครงสรางผูบรหิ ารศนู ยบริการการแพทยฉกุ เฉนิ กรุงเทพมหานคร (ศูนยเ อราวณั ) นายแพทยยุทธนา เศรษฐนันท ผูอำนวยการศนู ยบ รกิ ารการแพทยฉุกเฉนิ กรงุ เทพมหานคร (ศนู ยเอราวณั ) ดร.ปย รตั น พรรณรงั ษี นายแพทยคมชิต ชวนชั พร นายวัชรพงศ วนั นู หวั หนา กลมุ งานมาตรฐาน หวั หนากลุม งานบรกิ ารการแพทยฉกุ เฉนิ หัวหนาฝายบริหารงานทว่ั ไป และระบบบรกิ ารการแพทยฉกุ เฉิน

กลมุ งานมาตรฐาน โครงสรางองคก และระบบบรกิ ารการแพทยฉกุ เฉิน กลุม งานบริการก มหี นา ท่คี วามรับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดทำ บริหาร และ ติดตามประเมินผลแผนยุทธศาสตร แผนงาน มีหนาที่ความรับผิดชอบเ แผนปฏิบัติการ โครงการ ของระบบบริการการแพทย คำปรึกษาแนะนำ สั่งการ ฉุกเฉิน ศึกษา วิเคราะห วิจัย พัฒนางานดานวิชาการ ฉุกเฉินทั้งในสถานการณ คุณภาพและมาตรฐานระบบบริการการแพทยฉุกเฉิน อุบัติเหตุ อุบัติภัย วินาศก จัดทำสถิติขอมูล และสารสนเทศ ควบคุมแล ะพัฒนา การราย และใหบริการส มาตรฐานและการประกันคุณภาพระบบบริการ ควบคุมกำกับ ติดตาม การแพทยฉ ุกเฉิน และปฏบิ ัตหิ นา ทีอ่ ื่นทเี่ ก่ยี วขอ ง ระบบสื่อสาร การจัดระบ การแพทยฉกุ เฉนิ การรักษา แนะนำ การดูแลผูปวยฉ กอนถึงหนวยบริการหรือส การประสานงาน และปฏิบ อัตรากำลังกลุมงานมาตรฐานและระบบบริการการแพทยฉ กุ เฉนิ อัตรากำลงั กลุมงานบริการก • นกั วิชาการสาธารณสุขชำนาญการพเิ ศษ 1 ตำแหนง • นายแพทยชำนา • นกั วิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการ 1 ตำแหนง • พยาบาลวิชาชพี • นักวชิ าการสาธารณสุขปฏิบัติการ 1 ตำแหนง • พยาบาลวิชาชพี • นักวิชาการคอมพิวเตอรชำนาญการ 1 ตำแหนง • พยาบาลวชิ าชพี

5 กรและอตั รากำลงั การแพทยฉ ุกเฉิน ฝายบรหิ ารงานท่ัวไป เกี่ยวกับการรับแจงเหตุ ให มีหนา ทค่ี วามรับผิดชอบเก่ียวกับงานดานสารบรรณและ รดานปฏิบัติการการแพทย ธุรการทั่วไป งานการประชุม งานประชาสัมพันธ ผลิต ปกติ และกรณีสาธารณภัย เอกสารสนับสนนุ การปฏิบตั ิงานของกลุมงานปฏิบัติการ กรรม รวมถึง ภัยจากการกอ การแพทยฉุกเฉิน งานอาคารสถานที่และยานพาหนะ ายดวนทางการแพทย การ งานสวัสดิการและบริการทั่วไป งานการเจาหนาที่ งาน มการปฏิบัติการ การจัด งบประมาณการเงินและบัญชี งานการพัสดุและ บบเครือขาย การปฏิบัติการ บำรุงรกั ษา และปฏบิ ัติหนาท่อี น่ื ท่ีเกย่ี วของ า พยาบาล และใหคำปรึกษา ฉุกเฉินตามมาตรฐานวิชาชีพ อัตรากำลังฝา ยบรหิ ารงานทั่วไป สถานบริการทางการแพทย • นกั จดั การงานท่วั ไปชำนาญการพเิ ศษ 1 ตำแหนง บัติหนาทีอ่ นื่ ที่เกี่ยวขอ ง • นักวชิ าการเงนิ และบญั ชชี ำนาญการ 1 ตำแหนง • นักวชิ าการเงินและบัญชีปฏิบตั กิ าร 1 ตำแหนง การแพทยฉ ุกเฉิน • นกั วชิ าการพัสดุปฏิบตั ิการ 1 ตำแหนง าญการพิเศษ 1 ตำแหนง พชำนาญการพิเศษ 1 ตำแหนง พชำนาญการ 1 ตำแหนง พปฏบิ ตั ิการ 12 ตำแหนง



6 อตั รากำลังบคุ ลากร ขา ราชการ 24 คน ลกู จางประจำ 23 คน ลูกจา งชวั่ คราว 18 คน

7 บคุ ลากรศนู ยเอราวณั แบงตามฝาย/กลุมงาน ฝา ยบรหิ ารงานทั่วไป กลุมงานบรกิ ารการแพทยฉุกเฉิน กลมุ งานมาตรฐานและระบบบริการการแพทยฉ ุกเฉิน

8 บทที่ 1 โครงสรา้ งองคก์ ร ความเปน มา ศูนยบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร (ศูนยเอราวัณ) จัดตั้งขึ้นตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา ณ วันที่ 30 ธนั วาคม พ.ศ. 2551 โดยมีหนา ทคี่ วามรบั ผิดชอบเกยี่ วกับการบริหารจดั การระบบบริการการแพทยฉุกเฉินในเขต กรุงเทพมหานคร เปน ศูนยรับแจงเหตุ ส่ังการ และใหคำปรกึ ษาแนะนำดา นปฏิบัติการแพทยฉ ุกเฉนิ และใหบ รกิ ารสายดวน ทางการแพทย เปนศูนยกลางประสานงานและพัฒนาเครือขายเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการทางการแพทยฉุกเฉิน ทั้งใน สถานการณปกติ และกรณีสาธารณภัย อุบัติเหตุ อุบัติภัย และวินาศกรรม ตามกฎหมายวาดวยการปองกันและบรรเทา สารณภัย รวมถึงภัยจากการกอการราย ศึกษา วิจัย จัดทำสถิติขอมูล และ สารสนเทศเผยแพรประชาสัมพันธ พัฒนา คุณภาพและมาตรฐานระบบบริการแพทยฉุกเฉิน การบริหารจัดการดานการเงินในระบบการใหบริการแพทยฉุกเฉิน และ ปฏิบัตหิ นา ที่อืน่ ๆ ท่เี ก่ยี วขอ ง ตอมาป พ.ศ. 2562 คณะกรรมการขาราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานครไดมีมติในการ ประชุม ครั้งที่ 6/2562 เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2562 เห็นชอบการปรับปรุงศูนยบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร (ศูนยเอราวัณ) เปนสวนราชการสูงกวา กอง ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ณ วันที่ 28 สิงหาคม 2562 มีผลบังคับใชต้ังแต วนั ท่ี 29 สงิ หาคม 2562 เปน ตนไป โดยมีอำนาจหนาที่ ดงั น้ี 1. บริหารจดั การระบบบรกิ ารการแพทยฉุกเฉนิ ในเขตกรงุ เทพมหานคร 2. เปนศูนยรับแจงเหตุและสั่งการ ใหคำปรึกษาแนะนำดานปฏิบัติการการแพทยฉุกเฉฺินและใหบริการสายดวนทาง การแพทย 3. เปนศูนยกลางประสานงานและพัฒนาเครือขาย เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการทางการแพทยฉุกเฉิน ทั้งใน สถานการณปกติและกรณเี กิดสาธารณภยั 4. จัดใหบริการการแพทยฉุกเฉินในโซนพื้นที่รับผิดชอบ โดยชุดปฏิบัติการที่มีความพรอม ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อให การชวยเหลอื ผปู ระสบอุบัติเหตหุ รือเจบ็ ปวยฉุกเฉนิ ตามมาตรฐานวิชาชีพ 5. จัดใหบริการการแพทยฉุกเฉินในสถานการณพิเศษ เชน เหตุสาธารณภัย อุบัติภัย วินาศภัย ภัยจากสารเคมี โรค อบุ ัติใหม โรคอุบัตซิ ำ้ รวมถึงภารกจิ พิเศษ 6. จัดทำแผนยุทธศาสตร พัฒนาระบบบรกิ ารการแพทยฉุกเฉิน ควบคุม กำกบั ติดตามและประเมินผลตามมาตรฐาน ของประเทศ 7. พฒั นาบุคลากรในเครือขา ยการแพทยฉ ุกเฉินทกุ ระดับ และดำเนนิ การวจิ ัยสงเสรมิ ความรู และบรกิ ารทางวชิ าการ ดานการแพทยฉุกเฉนิ 8. เปนศนู ยข อมูลสารสนเทศ การส่อื สาร งานทะเบยี น และสถิตดิ า นการแพทยฉ กุ เฉินของกรุงเทพมหานคร 9. บรหิ ารจดั การงบประมาณและการเงินในระบบบริการการแพทยฉ ุกเฉนิ 10. ปฏิบตั ิหนาทอ่ี ่นื ทีเ่ กี่ยวขอ งหรือไดรับมอบหมาย

9 การแบง สว นราชการของสำนกั การแพทย ศูนยบ ริการการแพทยฉุกเฉนิ กรุงเทพมหานคร (ศูนยเอราวัณ) เปน หนวยงานในสังกัดสำนักการแพทย ทม่ี ีภารกิจใหบริการ ทางดานการแพทยฉ ุกเฉินในเขตพื้นที่กรงุ เทพมหานคร ตราสัญลักษณประจำศูนยเอราวัณ วิสัยทัศน (Vision) ศูนยเ อราวณั เปน องคกรชน้ั นำดานการบริหารจัดการระบบบริการการแพทยฉกุ เฉินท่ีมีคณุ ภาพ มาตรฐาน และ เปน ตน แบบท่ีไดรับการยอมรับในระดบั ประเทศ ภายในป 2567

10 พันธกิจ (Mission) 1. บรหิ ารจดั การระบบบริการการแพทยฉกุ เฉนิ ในพืน้ ท่ีกรงุ เทพมหานคร 2. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการใหบ ริการการแพทยฉกุ เฉินของระบบบริการการแพทย ฉกุ เฉนิ กรุงเทพมหานคร (Bangkok EMS) 3. มีระบบประเมินและรับรองคุณภาพมาตรฐานระบบบริการการแพทยฉุกเฉินตามมาตรฐานของประเทศ (Thai Emergency Medical Service Accreditation : TEMSA) โดยเฉพาะอยางยิ่งรถบริการการแพทยฉุกเฉิน และผู ปฏิบตั กิ ารในระบบบริการการแพทยฉ กุ เฉนิ กรุงเทพมหานคร 4. เปนศูนยฝกอบรมและการเรียนการสอนสำหรับผูปฏิบัติการการแพทยฉุกเฉินในทุกระดับ รวมถึงหลักสูตร การศกึ ษาตอเน่ืองเพ่ือพัฒนาบุคลากรใหมีความรูความเชี่ยวชาญในสาขาการแพทยฉุกเฉินมากย่ิงขนึ้ นอกจากน้ันยังเปนแหลง พฒั นาองคความรูทางวชิ าการ งานวิจัย และเผยแพรค วามรูที่เกี่ยวของออกสูส ังคม 5. สนับสนุนการปฏิบัติการทางการแพทยฉุกเฉินในสถานการณพิเศษ เชน สาธารณภัย อุบัติภัย วินาศภัย โรคติดตอ อุบตั ิใหม รวมถึงภารกิจพิเศษ ที่มกี ารบูรณาการรวมกบั หนว ยงานทีเ่ ก่ยี วของเพ่ือตอบโตภ าวะฉกุ เฉินในสถานการณตาง ๆ 6. บริหารจดั การงบประมาณ และการเงินในระบบบรกิ ารการแพทยฉุกเฉินของกรุงเทพมหานคร คานยิ ม ( Core Value) B : Best service ใหบริการท่ีเปนเลิศ A : Access เขา ถงึ ผเู จ็บปว ยฉุกเฉินตามเปาหมาย N : Network ผสานเครอื ขายความรวมมือ G : Governance ยดึ ถือหลกั ธรรมาภบิ าล K : Knowledge transfer ถายทอดวิชาการและทักษะ O : Operation ปฏิบตั ิการเปน ทปี่ ระจักษ โดดเดน K : Keep Standard มงุ เนน รกั ษามาตรฐาน E : Equity ใหบ รกิ ารอยา งเปน ธรรม เทาเทียม M : Mastery เตรียมพรอมดวยความเช่ยี วชาญ S : Sustainability สานตอ งานการแพทยฉุกเฉินใหยั่งยืน

11 ทรพั ยากรในระบบการแพทยฉุกเฉนิ ของศนู ยบรกิ ารการแพทยฉ ุกเฉินกรุงเทพมหานคร (ศนู ยเ อราวณั ) 1. ระบบเครือขา ยหนว ยปฏบิ ตั ิการในระบบบริการการแพทยฉ กุ เฉินกรุงเทพมหานคร โซนท่ี 1 คณะแพทยศาสตรว ชิรพยาบาล มหาวทิ ยาลัยนวมินทราธิราช โรงพยาบาลวชิ ยั เวช แยกไฟฉาย โรงพยาบาลราชพิพฒั น โรงพยาบาลธนบุรี 1 โรงพยาบาลบางโพ โรงพยาบาลเกษมราษฎร ประชาช่ืน คณะแพทยศาสตรศริ ิราช พยาบาล โซนที่ 2 โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลหัวเฉียว โซนท่ี 3 โรงพยาบาลตากสนิ โรงพยาบาลพญาไท 3 โรงพยาบาลบางปะกอก 8 โรงพยาบาลวิชยั เวช อนิ เตอรเ นชั่นแนล หนองแขม โรงพยาบาลบางไผ โรงพยาบาลหลวงพอทวีศักด์ิ ชตุ ินธโร อุทศิ โรงพยาบาลเกษมราษฎร บางแค โรงพยาบาลสมติ ิเวช ธนบุรี โรงพยาบาลสมเด็จพระปน เกลา โรงพยาบาลสหวทิ ยาการมะลิ โซนท่ี 4 โรงพยาบาลเจริญกรงุ ประชารักษ โรงพยาบาลบางปะกอก 1 โรงพยาบาลประชาพฒั น โรงพยาบาลบางปะกอก 9 อนิ เตอรเ นช่ันแนล โรงพยาบาลบางมด โรงพยาบาลนครธน โรงพยาบาลพระราม 2 โรงพยาบาลสขุ สวัสดิ์ โซน 5 โรงพยาบาลเลิดสิน โรงพยาบาลกลว ยนำ้ ไท 1 โรงพยาบาลเทพธารินทร โซนที่ 6 โรงพยาบาลนพรัตนร าชธานี โรงพยาบาลสิรนิ ธร โรงพยาบาลลาดกระบงั กรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลเวชการณุ ยรศั มิ์ โรงพยาบาลนวมนิ ทร 1 โซนท่ี 7 โรงพยาบาลภูมิพลอดลุ ยเดช โรงพยาบาล บี.แคร เมดิคอลเซน็ เตอร โรงพยาบาลเปาโล เกษตร โรงพยาบาลซจี ีเอช โรงพยาบาลซจี เี อช สายไหม โรงพยาบาลวิภาวดี โรงพยาบาลจฬุ าภรณ โซนที่ 8 โรงพยาบาลราชวิถี คณะแพทยศาสตรโ รงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลกรงุ เทพ โรงพยาบาลพญาไท 2 โรงพยาบาลปยะเวท โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา โรงพยาบาลเพชรเวช โซนที่ 9 โรงพยาบาลตำรวจ โรงพยาบาลเกษมราษฎร รามคำแหง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ สภากาชาดไทย โรงพยาบาลสมติ เิ วช ศรนี ครนิ ทร มูลนธิ ิ มูลนิธิปอเตก็ ตึ๊ง มูลนธิ ิรว มกตญั ู มลู นิธิกภู ัยรม ไทร มลู นธิ ิสยามรวมใจ มลู นิธอิ าสาหนองจอก (ศูนยราชพฤกษ) กชู ีพหงสแดง กชู พี กูบแดง มลู นธิ ิจีเต็กล้ิม ฮูกกตึ๊ง (พริ ุณ)

12 2.บุคลากรทางการแพทยทีข่ ้ึนทะเบียนปฏบิ ัติการในระบบบรกิ ารการแพทยฉ กุ เฉนิ กรุงเทพมหานคร ปงบประมาณ 2564 จาํ นวนบุคลากรทางการแพทย 550 500 450 400 พยาบาลวิชาชพี พนกั งานฉุกเฉนิ การแพทย จํานวน 464 535 แผนภูมิที่ 1 แสดงรอยละบุคลลากรทางการแพทยที่ขึ้นทะเบียนปฏิบัติการในระบบบริการการแพทยฉุกเฉิน กรุงเทพมหานคร ปงบประมาณ 2564 พยาบาลวิชาชีพ มีจำนวน 464 ราย คิดเปนรอยละ 46.45 และลำดับถัดมา คือ พนักงานฉกุ เฉินการแพทย มีจำนวน 535 ราย คดิ เปนรอยละ 53.55 ตามลำดบั หมายเหตุ 1. พยาบาลวิชาชพี จำนวน 464 คน ขอ มลู สำรวจเม่ือป พ.ศ.2559 2. พนักงานฉุกเฉินการแพทย จำนวน 535 คน ขอมลู สำรวจเมอ่ื ป พ.ศ.2564 3.ขอมลู การมีสว นรว มของภาคเี ครือขา ยในระบบบริการการแพทยฉ กุ เฉนิ กรงุ เทพมหานคร รอยละของจำนวนภาคีเครอื ขายในระบบบริการการแพทยฉุกเฉนิ กรุงเทพมหานคร ปงบประมาณ 2564 2564 มลู นิธิตา1ง3ๆจ.18ำ1%แหนนว กยงตาานมหนวยกงราะทนรสวงงั สกาดัธา4ร.ป9ณ2งส%บขุ ป3 รหะนวมยางาณน หนว ยงาน กระทรวงกลาโหม 3 4.92% สํานกั นายกรฐั มนตรี 1 หนวยงาน กระทรวงมหาดไทย 1 หนว ยงาน 1.64% 1.64% กรุงเทพมหานคร 10 หนว ยงาน 14.75% มหาวิทยาลยั 3 หนว ยงาน 4.92% ภาคเอกชน 33 หนวยงาน 54.10% กระทรวงสาธารณสุข 3 หน่วยงาน กระทรวงกลาโหม 3 หน่วยงาน กระทรวงมหาดไทย 1 หน่วยงาน กรุงเทพมหานคร 10 หน่วยงาน มหาวทิ ยาลยั 3 หน่วยงาน ภาคเอกชน 33 หน่วยงาน สาํ นกั นายกรัฐมนตรี 1 หน่วยงาน มูลนิธิต่างๆ 8 หน่วยงาน แผนภมู ทิ ี่ 2 แสดงรอยละของจำนวนภาคีเครือขา ยในระบบบรกิ ารการแพทยฉุกเฉินกรงุ เทพมหานคร ปงบประมาณ 2564 แยกตามสังกัดจากจำนวนทั้งหมด ที่มีขอมูลอยูในระบบ 62 หนวยงาน ที่มีจำนวนมากที่สุดคือ เครือขายเอกชน 33 หนวยงาน คิดเปนรอยละ 54.10 รองลงมา คือ โรงพยาบาล และศูนยเอราวัณสังกัดกรุงเทพมหานคร 10 หนวยงาน คิดเปน รอ ยละ 14.75 และเครอื ขายมูลนิธติ างๆ 8 หนว ยงาน คดิ เปน รอยละ 13.11

13 4. ขอมูลรถบริการการแพทยฉุกเฉินที่ขึ้นทะเบียน ในระบบบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร ปง บประมาณ 2564 18.25% Advanced Life Support : ALS 154 คัน 7.82% Basic Life Support : BLS 66 คนั First Responder : FR 624 คัน 73.93% แผนภูมิที่ 3 แสดงขอมูลรถบริการการแพทยฉุกเฉิน ที่ขึ้นทะเบียนในระบบบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร ปงบประมาณ 2564 พบวาจำนวนรถบริการการแพทยฉุกเฉิน ระดับปฏิบัติการแพทยขั้นพื้นฐานประเภทรถบริการ การแพทยฉุกเฉินสำหรับชุดปฏิบัติการเบื้องตน (First Responder : FR) จำนวน 624 คัน คิดเปน รอยละ 73.93 เปน รถจากมูลนธิ ิท่ไี ดข น้ึ ทะเบียนกับทางศนู ยเอราวัณ รองลงมาคอื รถบรกิ ารการแพทยฉุกเฉินระดบั ปฏบิ ัติการแพทยข้ันสูง (Advanced Life Support : ALS) จำนวน 154 คัน คิดเปนรอยละ 18.25 และลำดับสุดทาย คือรถบริการการแพทย ฉุกเฉนิ ระดับปฏบิ ัติการแพทยข ั้นพ้ืนฐาน ประเภทรถบรกิ ารการแพทยฉุกเฉิน สำหรับชุดปฏบิ ัติการฉุกเฉนิ ระดับตน (Basic Life Support : BLS) จำนวน 66 คัน คดิ เปน รอ ยละ 7.82 คัน ผังระบบการรับแจงเหตุ

14 บทที่ 2 กระบวนการดําเนินงานตามวตั ถุประสงคเ์ ชงิ กลยุทธแ์ ละผลลพั ธ ์ ปจจยั พ้นื ฐาน กรุงเทพมหานครเปนมหานครเขมแข็งมั่นคงยิ่งขึ้น (Stronger Bangkok) เปนเมืองที่นาอยูอยางยั่งยืน เปน สงั คมแหง สขุ ภาวะหรอื มหานครแหง ความปลอดภยั การบรหิ ารจดั การระบบบรกิ ารการแพทยฉกุ เฉนิ ใหมีประสทิ ธิภาพและ เปนที่เชื่อมั่นตอประชาชน การพัฒนาการใหบริการทางดานการแพทยฉุกเฉินสำหรับผูเจ็บปวยหรือผูประสบภัยใหไดรับ ความชวยเหลือทางการแพทยฉุกเฉินอยางมีประสิทธิภาพ และรวดเร็วไดตามที่ประชาชนตองการ และมีการเตรียมการ รองรับภัยพิบัติที่มีประสิทธิภาพเพื่อนำไปสูความมั่นใจใหเกิดแกประชาชนได โดยมีกฎหมายที่ใหอำนาจในการบริหาร จัดการการแพทยฉกุ เฉนิ รวมถึงกำหนดแผนยุทธศาสตรก ารพฒั นา ไวด ังน้ี 1. พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน พ.ศ.2542 มาตรา 16 (19) กำหนดใหเทศบาล เมืองพัทยา และองคการบริหารสวนทองถิ่นมีอำนาจและหนาที่ในการ จัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชนของประชาชนในทองถิ่นของตนเอง เรื่อง การสาธารณสุข การอนามัย ครอบครวั และการรักษาพยาบาล และมาตรา 17 (19) กำหนดใหองคการบริหารสวนจังหวดั มีอำนาจหนาท่ีในการจัดใหมี โรงพยาบาลจังหวดั การรักษาพยาบาล การปอ งกันและควบคมุ โรคติดตอ ดังน้นั องคก รปกครองสวนทองถนิ่ จึงสามารถทำ การรักษาพยาบาลผูปว ยฉุกเฉนิ ไดไมว าจะเปน ในสถานพยาบาลหรือนอกสถานพยาบาล 2. พระราชบัญญัติการแพทยฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 มาตรา 33 วรรคสอง“เพื่อสงเสริมการมีบทบาทตามความ พรอมความเหมาะสมและความจำเปนของประชาชนในทองถิ่นให กพฉ. สนับสนุนและประสานกับองคกรปกครองสวน ทองถิ่น เพื่อกำหนดหลักเกณฑใหองคกรดังกลาวเปนผูดำเนินงานและบริหารจัดการระบบการแพทยฉุกเฉินในระดับ ทองถ่ินหรอื พนื้ ทีโ่ ดยอาจไดรบั การอุดหนนุ จากกองทุน” คณะกรรมการการแพทยฉุกเฉนิ ไดใ หองคกรปกครองสวนทองถ่ิน เปนผูดำเนินงานและบริหารจัดการระบบการแพทยฉุกเฉินในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ โดยใหองคกรปกครองสวนทองถ่ิน (กรุงเทพมหานครโดยศูนยบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร (ศูนยเอราวัณ) สำนักการแพทย) ดำเนินงานและ บรหิ ารจัดการระบบการแพทยฉ ุกเฉนิ ในระดับทองถิน่ หรอื พน้ื ท่ี 3. ประกาศสำนกั นายกรฐั มนตรี เรอ่ื ง การประกาศแผนปฏริ ูปประเทศตามราชกจิ จานเุ บกษาเลม ที่ 135ตอนท่ี 24 ก ลงวันที่ 6 เมษายน 2561 ดานสาธารณสุข ขอ 2.5 ระบบการแพทยฉ กุ เฉินชว งกอนถึงโรงพยาบาลโดยมีขอ เสนอ คอื 1) จัดตง้ั ศนู ยร ับแจง เหตุฉุกเฉินแหงชาติเลขหมายเดยี ว 2) ปฏิรปู ระบบความรูและความสามารถเรื่องการปฐมพยาบาลและการฟน คนื ชีพเบ้ืองตน (First-Aid and Resuscitation) 3) เพิ่มบรกิ ารการแพทย ฉุกเฉนิ นอกโรงพยาบาล 4) จดั ใหม ีศูนยจา ยงานท่มี ีประสิทธภิ าพ 5) ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นตาง ๆ และกรุงเทพมหานครเปนผูดำเนินงานและบริหารจัดการ การแพทยฉกุ เฉนิ นอกโรงพยาบาลของจังหวัด 6) ใหเปนอำนาจหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นในการบริหารจัดการการแพทยฉุกเฉินนอก โรงพยาบาล โดยแผนการปฏิรูปประเทศดานการแพทยฉุกเฉินชวงกอนถึงโรงพยาบาลไดกำหนดเปาหมายและผลสัมฤทธ์ิ

15 เพือ่ ใหประชาชนเขาถึงระบบการแพทยฉ ุกเฉินอยา งเทาเทียม ทัว่ ถึง ทนั เวลาและมมี าตรฐานเพื่อลดอัตราการเสียชีวิตและ ภาวะทพุ พลภาพท่ีปอ งกนั ไดจ ากโรคภาวะฉุกเฉนิ และเพอ่ื พัฒนาระบบการแพทยฉกุ เฉนิ ทมี่ ีคณุ ภาพและมาตรฐาน 4. แผนหลกั การแพทยฉุกเฉินแหง ชาติ ฉบบั ที่ 3 (พ.ศ.2560 – 2564) ประกอบดว ย 5 ยทุ ธศาสตร ไดแก 1) พัฒนามาตรฐานการแพทยฉุกเฉิน 2) พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการผปู ฏบิ ตั กิ ารในระบบการแพทยฉ กุ เฉิน 3) พัฒนากลไกการอภิบาลระบบการแพทยฉุกเฉนิ 4) พัฒนาศักยภาพและการมีสว นรวมของภาคีเครือขา ยทง้ั ในและตา งประเทศ 5) การสื่อสารสาธารณะในระบบการแพทยฉ ุกเฉินสปู ระชาชน 5. แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ป (พ.ศ.2561 – 2580) ไดกำหนดยุทธศาสตรที่เกี่ยวของกับ การแพทยฉกุ เฉนิ ไว ไดแก - ประเด็นยทุ ธศาสตรท ี่ 1 มหานครปลอดภยั - ประเด็นยทุ ธศาสตรย อ ยที่ 1.7 ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย - กลยุทธท ี่ 1.7.1.1 สง เสริมการ เขา ถงึ ระบบบรกิ ารและ มาตรฐานบรกิ าร สาธารณสุขในพนื้ ท่ี กรุงเทพมหานคร - รอยละของ ผูปวยวิกฤติฉุกเฉิน ที่ขอรับบริการ ทางการแพทย ฉุกเฉินขั้นสูง (Advance) สามารถไดรบั บริการภายใน 10 นาทีและสวน ของขั้นพื้นฐาน (Basic) สามารถ ไดรับบริการภายใน 15 นาที ซึ่งมีการกำหนดคา เปา หมายรอ ยละของการดำเนนิ งานไวต ามสถานการณทีเ่ ปลยี่ นแปลงไปของเมอื งหลวง 6. แผนยุทธศาสตรการพัฒนาสำนักการแพทย ระยะ 4 ป (พ.ศ.2564-2567) ยุทธศาสตร Service Special ขอ 6 พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการและระบบบรกิ ารการแพทยฉกุ เฉินในพนื้ ท่กี รุงเทพมหานคร สภาพทัว่ ไป และการวเิ คราะหสถานการณท างการแพทยฉกุ เฉินของกรงุ เทพมหานคร กรงุ เทพมหานคร ไดประกาศเปด ระบบบริการการแพทยฉ กุ เฉินกรงุ เทพมหานคร ซงึ่ เปน ปฏิบตั กิ ารดว ยระบบ เครือขายปฏิบัติการรวมมือกันระหวางหนวยงานสังกัดกรุงเทพมหานคร กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงกลาโหม และ สำนกั งานตำรวจแหง ชาติ เมอื่ วันท่ี 6 สงิ หาคม 2552 โดยมีศูนยบรกิ ารการแพทยฉุกเฉินกรงุ เทพมหานคร (ศูนยเอราวัณ) ทำหนาท่ีเปนสวนราชการกรุงเทพมหานครรับผิดชอบการบริหารจัดการระบบฯ และเปน ศูนยร ับแจง เหตแุ ละสั่งการจังหวัด Call Center ใชหมายเลขรบั แจงเหตุดว น 1646 1669 และ 1555 กด 4 สามารถรับแจง เหตุพรอมกันไดรวม 30 คูสาย มี เครือขายรวมปฏิบัติการ (ปงบประมาณ 2564) 62 แหงมีจำนวนหนวยปฏิบัติการระดับสูงประมาณ 53 หนวยและหนวย ปฏิบัติการระดับพื้นฐาน 9 หนวย สนับสนุนเพื่อใหผูเจ็บปวยเขาถึงไดอยางสะดวก ทั่วถึง และเทาเทียม ทั้งในภาวะปกติ และสาธารณภัย และยังคงมีการแบงพื้นที่ความรับผิดชอบเปนกลุมพื้นที่รับผิดชอบ Cluster เปน 9 โซนไดแก โซนที่ 1 คณะแพทยศาสตรว ชริ พยาบาล มหาวิทยาลยั นวมินทราธิราช โซนท่ี 2 โรงพยาบาลกลาง โซนที่ 3 โรงพยาบาลตากสนิ โซนที่ 4 โรงพยาบาลเจรญิ กรุงประชารักษ โซนที่ 5 โรงพยาบาลเลิดสนิ โซนที่ 6 โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี โซนที่ 7 โรงพยาบาลภมู ิพลอดลุ ยเดช โซนที่ 8 โรงพยาบาลราชวถิ ี โซนที่ 9 โรงพยาบาลตำรวจ

16 รูปที่ 4 การแบงโซนพน้ื ที่การรบั ผดิ ชอบ จากการแบงพื้นที่ความรับผิดชอบจะพบวาบางโซนมีขนาดพื้นที่รับผิดชอบมากกวาโซนอื่นๆ และบางโซน พื้นที่มีจำนวนหนวยปฏิบัติการไมเหมาะสมกับขนาดของพื้นท่ี สงผลใหการออกปฏิบัติการเกิดความลาชา และไมสามารถเขาถึงผูรับบริการไดอยางทันทว งทีตามคาเปาหมายท่ีกำหนด โดยตอ งมีการพจิ ารณาแบงโซนพื้นที่รับผิดชอบ เพม่ิ เตมิ และยกระดับหนว ยปฏิบัติการท่ีมศี ักยภาพสูงข้ึนมาเปนแมโซน โดยผลการดำเนินงานในปงบประมาณ 2563 ปรากฏ วาจำนวนผูรับบริการ 90,186 รายเพิ่มขึ้นจากปกอนหนา ( 2562 เทากับ 80,247 ราย) คิดเปนรอยละ 11.02 และเมื่อ จำแนกเฉพาะบริการ ALS เทากับ 38.26 % และบริการ BLS เทากับ 57.10 % โดยมีคาเฉลี่ยของระยะเวลาการใหความ ชวยเหลือตามตัวชว้ี ัดตามแผนพัฒนากรงุ เทพมหานคร 20 ป และแผนปฏิบัตริ าชการสำนักการแพทยท ี่ผูเ จบ็ ปว ยความรุนแรง ระดับวกิ ฤตทใ่ี ชบ รกิ ารชดุ ปฏบิ ตั ิการระดับสงู ALS ภายใน 10 นาที คิดเปน รอยละ 20.66 (คา เปาหมายรอ ยละ 30 ) และผู เจ็บปว ยอนื่ รบั บริการ BLS ภายใน 15 นาที คดิ เปน 65.60 % (คาเปาหมายรอยละ 65) ยทุ ธศาสตรการพฒั นาระบบบริการ การแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร 1.เปา ประสงคก ารพัฒนา 1. ยกระดบั การบรหิ ารจดั การการแพทยฉุกเฉินของกรุงเทพมหานครใหไดค ุณภาพมาตรฐานในระดับสากล 2. เพมิ่ ศกั ยภาพการปฏบิ ตั ิการ และการจัดเก็บขอมูลการแพทยฉ ุกเฉินดวยระบบเทคโนโลยีท่ีทันสมัยเช่ือมโยงเครือขา ยระบบฯ 3. การแพทยฉุกเฉินของกรุงเทพมหานครมีมาตรฐานตามหลักการแพทยฉุกเฉินและไดรับการรับรองจากองคกรใน ระดับชาติ 4. พฒั นาศกั ยภาพผูป ฏบิ ัติการทางการแพทยฉุกเฉิน ตลอดจนสงเสรมิ และสรา งความเขาใจแกป ระชาชนใหมีความสามารถ ในการดูแล ชวยเหลอื ตนเองและผอู ่นื ในภาวะฉุกเฉินไดอ ยา งถูกตองมีประสทิ ธภิ าพ 5. สำนักการแพทยมีระบบการปฏบิ ตั ิการแพทยฉุกเฉนิ ในเหตุสาธารณภัยดว ยเครือขายการปฏบิ ตั ิการท่ีครอบคลุมและทวั่ ถึง 6. เพมิ่ ศกั ยภาพและพฒั นาประสิทธิภาพ ในการบรหิ ารจัดการงบประมาณ การเงิน ของระบบบรกิ ารการแพทยฉ กุ เฉิน

17 2.กลยุทธการพฒั นา การกำหนดยุทธศาสตรก ารพัฒนาระบบบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร ของสำนักการแพทยภายใต กรอบการพัฒนาแผนปฏิรูปประเทศดานสาธารณสุข แผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 20 ป (พ.ศ.2556 – 2575) แผน หลักการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ และแผนยุทธศาสตรพัฒนาสำนักการแพทย ซึ่งมียุทธศาสตรการพัฒนาระบบการแพทย ฉุกเฉินดวยความเปน ธรรมและเทาเทียมในการเขาถึงบริการทางการแพทยฉุกเฉินท่ีมคี ุณภาพมาตรฐาน สะดวก และรวดเรว็ ทนั การณ ตลอดจนเพิม่ ประสิทธิภาพ ระบบการแพทยฉกุ เฉินในการชวยเหลือผูเจ็บปวยฉุกเฉนิ และสถานการณวิกฤตหรือภัย พิบัติในเขตกรุงเทพมหานคร ตามยุทธศาสตรของการพัฒนาระบบบริการการแพทยฉ ุกเฉินของกรุงเทพมหานคร ในระยะ 4 ป ( พ.ศ. 2564 – 2567 ) จงึ ประกอบดว ย 3 สว น ดังนี้ 1. MORAL & MANAGEMENT การยกระดับการบริหารจดั การ สรางเสริมความเปน เอกภาพของระบบบริการการแพทยฉุกเฉินเพื่อใหระบบ บรกิ ารการแพทยฉุกเฉินของกรงุ เทพมหานคร มีคุณภาพในระดับสากล โดยบุคลากรทุกระดับไดร ับการเพ่ิมพูนความรู ทักษะ อยางตอเนื่อง ตลอดจนมีการศึกษา พัฒนางานวิจัย องคความรูและผลิตนวัตกรรมและมีการบริหารจัดการงบประมาณ การเงินที่มีประสิทธิภาพ เพื่อใหระบบฯ มีทรัพยากรในการบริหารจัดบริการที่เพียงพอที่จะสนองความตองการบริการ ประชาชน โดยใชหลักธรรมาภิบาล 2. SERVICE SPECIAL การสรางเสริมความเขมแข็งใหกับภาคีเครือขาย เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการบริการใหมีมาตรฐานตามหลักการ แพทยฉุกเฉิน เพื่อชวยเหลือผูเจ็บปวยวิกฤตฉุกเฉินในระบบบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานครในภาวะปกติ และมี ความพรอมในการรองรับเหตุสาธารณภัยและภยั พิบัตทิ ี่ชัดเจน และครอบคลุมการเปล่ียนแปลงของสถานการณ ในภาวะภยั พิบัติ ตลอดจนควบคมุ กำ กับ ติดตามการปฏิบัตงิ านใหเปนไปอยา งมีประสทิ ธภิ าพ 3. DIGITAL & DEVELOPMENT นำเทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติการในระบบฯ การบริการมีคุณภาพสอดคลองตามคุณคา VALUE การบริการท่กี รุงเทพมหานครตองการสง มอบใหแกประชาชน

18 3.กรอบการพัฒนา แผนผังการพัฒนาระบบริการการแพทยฉ ุกเฉินกรุงเทพมหานคร ศูนยเอราวัณเปน องคก รช้นั นำดา นการบรหิ ารจดั การระบบบรกิ ารการแพทย ฉุกเฉนิ ทม่ี คี ณุ ภาพ มาตรฐาน และเปน ตนแบบ ท่ไี ดร ับการยอมรับในระดบั ประเทศ ภายในป 2567 Ultimate Goal: ประชาชนที่อาศัยในเขตกรงุ เทพมหานครไดรับบรกิ ารทางการแพทยฉ ุกเฉินทีม่ มี าตรฐานอยา ง รวดเร็ว ครอบคลมุ เทาเทยี มท้ังในภาวะปกตแิ ละเมื่อเกดิ สาธารณภยั Goal บรหิ ารจัดการระบบบริการ พัฒนาระบบเทคโนโลยี มรี ะบบประเมนิ คณุ ภาพมาตรฐานใน การแพทยฉกุ เฉินในพ้ืนที่ สารสนเทศเพอื่ สนบั สนุน ระบบบริการการแพทยฉ ุกเฉิน การบริการการแพทยฉุกเฉิน กรุงเทพมหานคร ของระบบฯ เปนศูนยฝกอบรม การเรยี น สนับสนนุ การปฏบิ ัติการ บริหารจดั การงบประมาณ การสอนผปู ฏิบตั ิการทุกระดบั พัฒนา ในสถานการณพเิ ศษรวมถึง การเงินของระบบฯ บูรณาการกบั หนวยงานท่เี กีย่ วขอ ง หลักสูตร งานวิจัย ภารกิจหลกั องคกร ภารกจิ ดา นระบบ/เครอื ขาย Strategy/Vertical plan ยกระดบั มีระบบ พฒั นาระบบ ระบบการชดเชย พฒั นาการ สรา งนวตั กรรม Good governance and / Professional มาตรฐาน การจัดเกบ็ ขอ มลู ควบคมุ กำกับ คาบริการ มีสวนรวมของ ทางการบรหิ าร การบริหารจดั การ ทมี่ ี จัดการเพอ่ื การ การแพทยฉุกเฉิน สารสนเทศ ติดตาม เครือขาย สรา งหนุ สวน กรุงเทพมหานคร ประเมินผล ประสิทธิภาพ ในระบบฯ ที่มี การปฏบิ ตั ิงาน ทางสังคม ประสิทธิภาพ ในระบบบริการ พัฒนา พัฒนาการ พัฒนากรอบ การพัฒนา มีการพฒั นา บรู ณนาการ ประสิทธิภาพ ปฏิบตั กิ าร อตั รากำลัง องคความรู ศักยภาพบุคลากร แผนปฏิบัติการ ศนู ยรบั แจงเหตุ การแพทยฉุกเฉิน รองรบั ภารงาน และการศึกษา ทางการแพทย กรุงเทพมหานคร ไดอยา งมี งานวิจยั ทาง เครอื ขา ย รวมกับหนวย ใหมปี ระสทิ ธิภาพ ประสิทธิภาพ การแพทยฉุกฉิน อยา งเปนระบบ งานที่เก่ียวขอ ง และมกี ารซอม HRD อยา งตอ เนอ่ื ง งบประมาณทใ่ี ชจาก งบกรงุ เทพมหานคร เงินบำรงุ รพ.สำนักการแพทย และงบสนบั สนนุ จากสพฉ. Foundation 15% เปนหนว ยปฏิบตั ิการในสังกดั และ 85% เปน หนวยปฏบิ ตั กิ ารตา งสงั กัด เอกชน โครงสรา งอัตรากำลงั ขา ราชการ (Zero Growth) 24 อตั รา/อตั ราจางช่วั คราว หนว ยปฏบิ ตั กิ ารระดบั สูง 13 คนั และหนวยปฏบิ ัติการระดบั พน้ื ฐาน 13 คัน

19 ทศิ ทางการพฒั นา การกำหนดยุทธศาสตรการพฒั นาระบบบริการการแพทยฉ ุกเฉินกรุงเทพมหานคร ของสำนกั การแพทย ภายใต กรอบการพัฒนาตามแผนยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป ดานสาธารณสุข แผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 20 ป (พ.ศ.2561 – 2580) แผนหลักการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ และแผนยุทธศาสตรพัฒนาสำนักการแพทย ซึ่งมียุทธศาสตรการพัฒนาระบบ การแพทยฉุกเฉินดวยความเปนธรรมและเทาเทียมในการเขาถึงบริการทางการแพทยฉุกเฉินที่มีคุณภาพมาตรฐาน สะดวก และรวดเร็วทันการณ ตลอดจนเพิ่มประสิทธิภาพระบบการแพทยฉุกเฉินในการชวยเหลือผูเจ็บปวยฉุกเฉินและสถานการณ วิกฤตหรือภยั พบิ ัตใิ นเขตกรงุ เทพมหานคร ตามยุทธศาสตรของการพัฒนาระบบบริการการแพทยฉุกเฉินของกรงุ เทพมหานคร ในระยะ 4 ป ( พ.ศ. 2564 – 2567 ) จึงประกอบดว ยดังนี้ 1. B : Best service ยกระดับการใหบริการทางการแพทยฉุกเฉินใหมีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อใหผูขอรับบริการเกิดความพึง พอใจและไววางใจในการขอรบั บริการตลอด 24 ชั่วโมง 2. A : Access เขาถึงผูขอรับบริการไดอยางทันทวงที เพื่อชวยใหผูปวยผานพนวิกฤตฉุกเฉินดวยระบบบริการการแพทย ฉุกเฉินกรงุ เทพมหานคร รวมถงึ การนำเทคโนโลยีท่ที ันสมัยเขามาใชเ พื่อใหสามารถใหบ ริการไดอยา งรวดเร็ว แมน ยำมากย่ิงข้ึน 3. N : Networking การสรางภาคีเครือขายเพิ่มเติมทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งของระบบ บริการการแพทยฉ ุกเฉนิ กรุงเทพมหานคร และคงรักษาความรวมมือกบั เครือขายที่รวมปฏิบัตกิ ารในระบบบริการการแพทย ฉกุ เฉินกรงุ เทพมหานคร 4. G : Governance การบริหารจัดการระบบบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานครอยางมีธรรมาภิบาล มีการบริหาร จัดการระบบฯ ที่โปรงใส เปนธรรม ตรวจสอบได 5. K : Knowledge transfer การถายทอดองคความรู โดยการจัดฝกอบรมและการเรียนการสอนสำหรับผูปฏิบัติการการแพทย ฉกุ เฉนิ ในระบบบรกิ ารการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานครทกุ ระดับ รวมถงึ หลกั สตู รการศึกษาตอเน่ืองเพ่ือพฒั นาบุคลากรให มีความรคู วามเชีย่ วชาญในสาขาการแพทยฉ ุกเฉินมากขนึ้ 6. O : Operation บูรณาการการปฏิบัติการทางการแพทยฉุกเฉินทั้งสถานการณปกติ สถานการณพเิ ศษ และเม่ือเกิดเหตุสาธารณภัย 7. K : Keep standard มุงเนนคุณภาพมาตรฐานของระบบบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร และพัฒนามาตรฐานให สอดคลองและเปนไปตามมาตรฐานระดับชาติ (Thai Emergency Medical service Accreditation : TEMSA) และ ระดับนานาชาติ

20 8. E : Equity ใหบริการทางการแพทยฉุกเฉินแกประชาชนที่ขอรับบริการดวยมาตรฐานอยางเทาเทียม เปน ธรรม ไมเ ลือกปฏบิ ตั ิ 9. M : Mastery การเสริมสรางความเชี่ยวชาญของบุคลากรในระบบบรกิ ารการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร ทั้งดาน ขององคค วามรู และทักษะในการปฏบิ ัติงาน 10. S : Sustainability การสานตอระบบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานครใหย่ังยืน สามารถดำรงอยูไดตอไปยังอนาคต ภายใตเงอื่ นไขและขอจำกัด การขับเคล่อื นแผนยทุ ธศาสตรก ารพัฒนาการแพทยฉ กุ เฉินสกู ารปฏิบัติ การจัดทำแผนยุทธศาสตรพัฒนาการแพทยฉุกเฉนิ ของกรุงเทพมหานครโดยศูนยบรกิ ารการแพทยฉุกเฉนิ กรุงเทพมหานคร (ศูนยเอราวัณ) สำนักการแพทย ภายใตกรอบของวิสัยทัศน พันธกิจ และหนาที่รับผิดชอบ ซึ่งมีความ สอดคลองกบั แผนพฒั นากรุงเทพมหานคร 20 ป ตามการพฒั นากรุงเทพมหานครใหเ ปนมหานคร มหานครแหง เอเชยี โดย ประชาชนไดรับบริการชวยเหลือฉุกเฉินเมื่อเกิดอุบัติเหตุและเจ็บปวยขั้นวิกฤต สรางความมั่นใจใหแกประชาชน กรุงเทพมหานครนั้น เกิดความเปนธรรมและเทาเทียมในการเขาถึงบริการทางการแพทยฉุกเฉินอยางทั่วถึง และการเพ่ิม ประสิทธิภาพระบบการใหบริการการแพทยฉุกเฉิน ใหประชาชนสามารถเขาถึงเพื่อชวยเหลือผูเจ็บปวยฉุกเฉินท่ีมีคุณภาพ และมาตรฐานในระบบบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร การวิเคราะหสถานะของระบบบริการการแพทยฉุกเฉิน กรุงเทพมหานคร SWOT Analysis เพ่อื หาจดุ ออน จดุ แข็ง โอกาสและอุปสรรคการพฒั นา ตลอดจนวิเคราะหนโยบายการ บริหารราชการของกรุงเทพมหานคร สำนักการแพทย สภาพแวดลอมภายนอกทั้งดานโอกาสและภาวะคุกคามตอการ พฒั นาระบบบริการการแพทยฉ กุ เฉินในอนาคต ไดดงั น้ี การวิเคราะหอ งคกร (SWOT Analysis) จุดแขง็ (Strength : S) 1) มรี ะบบงบประมาณท่ีจะสนับสนนุ การพฒั นางานเปน ของตนเอง 2) ผูบรหิ ารมวี ิสยั ทัศนด านการพฒั นาการแพทยฉกุ เฉนิ และพรอมใหก ารสนบั สนุน 3) มกี ารบรหิ ารจัดการระบบทช่ี ดั เจน มีการแบง โซนพ้นื ท่ีเพ่อื ลดความทับซอน 4) มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทท่ี ันสมยั สนบั สนุนการใหบรกิ ารและการบรหิ ารที่มปี ระสทิ ธภิ าพ 5) เครือขายในระบบบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร มีความเขมแข็ง และมีบุคลากรที่มีความ เชี่ยวชาญรว มปฏิบตั ิงานในระบบฯ 6) มีทรัพยากรที่มมี าตรฐาน ไดแ ก รถบรกิ ารการแพทยฉ กุ เฉิน ครภุ ัณฑท างการแพทย ยาและเวชภัณฑ เปน ตน จดุ ออ น (Weakness) 1) จำนวนบุคลากรในระบบฯ ยังไมส อดคลองกับภาระงานที่รับผิดชอบเชงิ พ้นื ที่ 2) งบประมาณของกรุงเทพมหานครมีจำกัด ไมเพียงพอตอการพัฒนางานดานการแพทยฉุกเฉินให ครอบคลุมพ้นื ท่กี รงุ เทพมหานคร

21 3) บางโซนมีขนาดพื้นที่รับผิดชอบมากกวาโซนอื่นๆ และบางโซนพื้นที่มีจำนวนหนวยปฏิบัติการไม เหมาะสมกับขนาดของพืน้ ที่ สง ผลใหก ารออกปฏิบตั ิการเกดิ ความลาชา และไมสามารถเขาถงึ ผูรบั บริการไดอยางทันทวงที ตามคา เปาหมายทก่ี ำหนด โอกาส (Opportunity) 1) มีกฎหมายทเี่ อ้อื ตอ การพัฒนางานการแพทยฉุกเฉิน 2) มหี นว ยงานภาคีเครอื ขา ยรว มจดั บริการในระบบบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร ทงั้ 62 แหง 3) มีองคกรระดับชาติที่สนับสนุนการดำเนินงานการแพทยฉุกเฉินโดยเฉพาะ เชน กองสาธารณสุขฉุกเฉิน กระทรวงสาธารณสขุ สถาบนั การแพทยฉุกเฉนิ แหง ชาติ (สพฉ.) สถาบนั ปองกนั และควบคุมโรคเขตเมอื ง เปนตน 4) ปรมิ าณความตอ งการใชบ รกิ ารการแพทยฉุกเฉนิ ของประชาชนในพืน้ ทกี่ รุงเทพมหานครทเ่ี พ่ิมมากขน้ึ 5) ความกา วหนา ทางเทคโนโลยที ่ที ันสมัยมากข้ึนในปจจุบนั อปุ สรรค/สง่ิ คกุ คาม (Threat) 1) ความเขาใจของประชาชนเกี่ยวกับหลักเกณฑการขอใชบริการการแพทยฉุกเฉิน ทำใหเกิดความขัดแยง และการรอ งเรียนในกรณีการขอใชบรกิ ารท่ีไมเ ปนไปตามเกณฑม าตรฐานกำหนด 2) ความหลากหลายของหนวยงานภาคีเครือขายทำใหข าดความเปน เอกภาพในการบรหิ ารงาน 3) ระดับความรุนแรงของโรคมีความซบั ซอ นทต่ี องการการดูแลเฉพาะทางมากยงิ่ ข้นึ เชน โรค หลอดเลอื ดสมอง หลอดเลือดหวั ใจ รวมถงึ โรคอุบัตใิ หม อุบัตซิ ้ำ และสาธารณภยั ตาง ๆ 4) ความคาดหวงั ในความสามารถและศกั ยภาพของกรุงเทพมหานครจากประชาชน 5) กฎ ระเบยี บและขอบงั คบั ของกรุงเทพมหานครทย่ี งุ ยาก ซบั ซอ นไมเ อือ้ ตอ การพฒั นาระบบ บริการทีม่ ีบุคคลภายนอก รวมเครือขาย ผลการวิเคราะห สถานะ WT-Strategies ทำใหการกำหนดยุทธศาสตรก ารพัฒนาระบบฯ เนนการสรางกลยทุ ธ เชิงรุกเพื่อใหบรรลุวิสัยทัศนตามพันธกิจที่มีอยู การสงเสริมใหภาคเอกชนหรือรัฐวิสาหกิจเขามามีสวนรวมในการบริหาร จัดการระบบฯ การผลติ บคุ ลากร จัดหางบประมาณ และพฒั นาโครงสรา งพื้นฐานของระบบฯ ผลการวิเคราะห สถานะ SO-Strategies ทำใหการกำหนดยุทธศาสตรการพัฒนาระบบฯ เนนการขยายการ ใหบ ริการท่ีครอบคลมุ รวดเร็ว และเขา ถงึ ผรู บั บริการไดอยางมีประสิทธิภาพ เสริมสรางความเขม แข็งของระบบฯ ดวยการ ผลกั ดนั กฎหมายทองถน่ิ ใหเออื้ ตอการดำเนินงานของระบบฯ ยุทธศาสตรการพัฒนา การพัฒนาระบบบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานครใหเปนไปตามหลักการทางการแพทยฉุกเฉิน และสรางความเชื่อถือ มั่นใจใหกับประชาชน จำเปนตองมีการวางแผน นำจุดแข็งและโอกาสที่มีมาใชใหเกิดประโยชนตอ การบรหิ ารจัดการ การเตรยี มความพรอ มและไดร บั ความรว มมือจากหนว ยงานท่ีเก่ยี วขอ ง จนเกิดความครอบคลุมการแกไข และบรรเทาปญหาในการปฏิบัติการ และการพฒั นาในเชงิ ยุทธศาสตรข องสำนักการแพทย กรุงเทพมหานคร จงึ มีประเด็น ยุทธศาสตรห ลกั (Key Strategic Areas) และกลยุทธท่ีสำคญั ดังนี้

22 1. พัฒนาระบบบริการการแพทยฉกุ เฉินกรงุ เทพมหานครใหมปี ระสิทธิภาพ 1) การยกระดับการใหบริการ โดยใหผูขอรับบริการเกิดความพึงพอใจและไววางใจในการขอรับ บริการตลอด 24 ช่ัวโมง (B : Best service) 2) ใหบ ริการทางการแพทยฉ ุกเฉินแกประชาชนที่ขอรบั บริการดวยมาตรฐานอยางเทาเทียม เปนธรรม ไมเลอื กปฏบิ ตั ิ ทั้งในภาวะปกตแิ ละเมือ่ เกิดเหตุสาธารณภยั (E : Equity) 2. นำระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศท่ีทนั สมัยเขามาใชเพ่ือสนบั สนนุ การใหบ ริการ 1) เขาถึงผูขอรับบริการไดอยางทันทวงที เพื่อชวยใหผูปวยผานพนวิกฤตฉุกเฉินดวยระบบบริการ การแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร รวมถึงการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยเขามาใชเพื่อใหสามารถใหบริการไดอยางรวดเร็ว แมน ยำมากยิง่ ข้ึน (A : Access) 3. มงุ เนน คุณภาพมาตรฐานของระบบบริการการแพทยฉุกเฉนิ กรงุ เทพมหานคร 1) การพัฒนามาตรฐานของระบบฯ ใหส อดคลองและเปนไปตามมาตรฐานระดบั ชาติและนานาชาติ (K : Keep standard) 2) การสานตอระบบบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานครใหยั่งยืน สามารถดำรงอยูไดตอไปใน อนาคต ภายใตเงือ่ นไขและขอจำกดั (S : Sustainability) 4. ยกระดบั หนวยปฏิบตั กิ ารซึ่งเปนเครือขายในระบบ ใหมีศักยภาพในการบริหารจดั การระบบบริการ การแพทยฉ ุกเฉินกรงุ เทพมหานครในเขตพ้ืนท่ีท่ีรับผิดชอบ 1) การบรหิ ารจดั การระบบบริการการแพทยฉ ุกเฉินกรงุ เทพมหานครอยา งมีธรรมาภิบาล มกี ารบริหาร จัดการระบบฯ ทีโ่ ปรงใส เปนธรรม ตรวจสอบได (G : Governance) 5. การพัฒนาผูปฏิบัติการในระบบบริการการแพทยฉุกเฉนิ กรงุ เทพมหานคร 1) การเสรมิ สรางความเชี่ยวชาญของบุคลากรในระบบบริการการแพทยฉุกเฉินกรงุ เทพมหานครท้ังดาน ขององคความรูและทักษะในการปฏบิ ตั งิ าน (M : Mastery) 2) การถายทอดองคความรู โดยการจัดฝกอบรมและการเรียนการสอนสำหรับผูปฏิบัติการการแพทย ฉุกเฉินในระบบบรกิ ารการแพทยฉ ุกเฉนิ กรงุ เทพมหานครทุกระดบั รวมถึงหลกั สูตรการศกึ ษาตอเนอ่ื งเพื่อพฒั นาบุคลากรให มีความรูความเชย่ี วชาญในสาขาการแพทยฉกุ เฉินมากข้ึน (K : Knowledge transfer) 6. สนบั สนนุ การปฏิบัติการทางการแพทยฉ ุกเฉนิ ในสถานการณพ ิเศษ 1) บูรณาการการปฏิบัติการทางการแพทยฉุกเฉินทั้งสถานการณปกติ สถานการณพิเศษ และเมื่อเกิด เหตสุ าธารณภัย (O : Operation) 7. เสริมสรางความเขมแข็งของระบบบริการการแพทยฉ กุ เฉินกรงุ เทพมหานคร 1) การสรางภาคีเครือขายเพิ่มเติม เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งของระบบบริการการแพทยฉุกเฉิน กรุงเทพมหานคร และยงั คงความรวมมอื กับเครอื ขายทีร่ ว มปฏิบัติการในระบบฯ (N : Networking)

23 โครงการ/กิจกรรมการพัฒนาระบบบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร ภายใตยุทธศาสตรการพัฒนาระบบ บรกิ ารการแพทยฉกุ เฉนิ กรงุ เทพมหานคร ระยะ 4 ป (พ.ศ.2564-2567) Best service การยกระดับการใหบริการใหมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยใหผูขอรับบริการเกิดความพึงพอใจและไววางใจใน การขอรบั บรกิ ารตลอด 24 ชว่ั โมง 1) โครงการยกระดบั ดา นการอำนวยการและสง่ั การการแพทยฉุกเฉินของกรงุ เทพมหานคร Access เขาถึงผูขอรับบริการไดอยางทันทวงที เพื่อชวยใหผูปวยผานพนวิกฤตฉุกเฉินดวยระบบบริการการแพทยฉุกเฉิน กรุงเทพมหานคร รวมถึงการนำเทคโนโลยที ท่ี นั สมัยเขา มาใชเพื่อใหสามารถใหบริการไดอยางรวดเรว็ แมน ยำมากยิ่งขึน้ 1) โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการเขาถึงเพื่อชวยเหลือผูเจ็บปวยฉุกเฉินในระบบบริการการแพทยฉุกเฉิน กรุงเทพมหานคร 2) โครงการพัฒนาเทคโนโลยสี ารสนเทศสำหรับระบบบริการการแพทยฉ กุ เฉนิ 3) โครงการจดั ทำระบบฐานขอ มูลการแพทยฉกุ เฉนิ (ทะเบียนบุคลากร/รถบรกิ ารการแพทยฉ ุกเฉนิ ) Networking การสรางภาคีเครือขายเพิ่มเติม เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งของระบบบริการการแพทยฉุกเฉิน กรุงเทพมหานคร และยงั คงความรวมมือกับเครือขายที่รวมปฏิบตั ิการในระบบฯ 1) โครงการสมั มนาพัฒนาระบบบริการการแพทยฉกุ เฉินกรุงเทพมหานคร 2) โครงการประชมุ วิชาการทางการแพทยฉ ุกเฉิน 3) โครงการประชุมวิชาการการแพทยฉ กุ เฉนิ นานาชาติ Governance การบริหารจัดการระบบบริการการแพทยฉุกเฉินกรงุ เทพมหานครอยางมีธรรมาภิบาล มีการบริหารจดั การ ระบบฯ ที่โปรง ใส เปน ธรรม ตรวจสอบได 1) เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการเบกิ จายเงินชดเชยการออกปฏิบัติการการแพทยฉุกเฉนิ Knowledge transfer การถายทอดองคความรู โดยการจัดฝก อบรมและการเรยี นการสอนสำหรบั ผปู ฏบิ ัติการการแพทย ฉกุ เฉนิ ในระบบบรกิ ารการแพทยฉุกเฉนิ กรงุ เทพมหานครทุกระดบั รวมถงึ หลกั สตู รการศึกษาตอ เนื่องเพ่ือพฒั นาบุคลากรให มีความรูค วามเช่ียวชาญในสาขาการแพทยฉุกเฉินมากขนึ้ 1) โครงการฝกอบรมอาสาสมัครฉกุ เฉินการแพทย (Emergency Medical Responder) 2) โครงการฝกอบรมพนกั งานฉกุ เฉนิ การแพทย (Emergency Medical Technician) 3) โครงการอบรมหลักสตู รการแพทยฉ กุ เฉินชุมชน (EMS Community) 4) โครงการอบรมพยาบาลกชู พี (EMS Nurse) 5) โครงการอบรมขบั ขปี่ ลอดภัย (Safe Drive) 6) โครงการอบรมเตรยี มความพรอ มเพ่ือรองรบั สาธารณภัยในโรงพยาบาล (HOPE) 7) โครงการพัฒนาศักยภาพดานความรูทางการแพทยฉ ุกเฉินดวยระบบการเรยี นการสอนออนไลน (e-learning) 8) โครงการอบรมการพัฒนาศักยภาพผปู ฏบิ ัตกิ ารอำนวยการทางการแพทยฉุกเฉนิ (EMD) 9) โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารการบญั ชาการทางการแพทยฉ ุกเฉิน (ICS) Operation บูรณาการการปฏิบัติการทางการแพทยฉุกเฉนิ ทง้ั สถานการณป กติ สถานการณพเิ ศษ และเมอ่ื เกดิ เหตสุ าธารณภัย 1) โครงการระดมทรัพยากรเพอื่ พัฒนาความพรอมทางการแพทยเพื่อรองรบั เหตสุ าธารณภยั 2) กิจกรรมการเขารวมการซอ มแผนสาธารณภยั กบั หนวยงานภายนอกอ่นื ๆ ที่เกยี่ วของ

24 Keep standard มุงเนนคุณภาพมาตรฐานของระบบบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร และพัฒนามาตรฐานให สอดคลอ งและเปน ไปตามมาตรฐานระดับชาติ (Thai Emergency Medical service Accreditation : TEMSA) และระดับ นานาชาติ 1) การตรวจประเมินคุณภาพมาตรฐานระบบบริการการแพทยฉุกเฉินตามมาตรฐานของประเทศ (Thai Emergency Medical Service Accreditation : TEMSA) จากสถาบนั การแพทยฉ กุ เฉนิ แหง ชาติ 2) โครงการตรวจรบั รองรถบรกิ ารการแพทยฉ กุ เฉนิ ในระบบบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร 3) โครงการประเมนิ ศักยภาพผูปฏิบัติการในระบบบรกิ ารการแพทยฉุกเฉินกรงุ เทพมหานคร Equity ใหบรกิ ารทางการแพทยฉุกเฉินแกประชาชนที่ขอรับบริการดวยมาตรฐานอยางเทาเทยี ม เปนธรรม ไมเลือกปฏิบัติ ทัง้ ในภาวะปกติและเม่ือเกิดเหตุสาธารณภัย 1) โครงการพัฒนาประสทิ ธภิ าพการปฏบิ ตั งิ านศูนยป ระสานงานและส่งั การทางการแพทยของกรงุ เทพมหานคร Mastery การเสริมสรางความเชี่ยวชาญของบุคลากรในระบบบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร ทั้งดานขององค ความรู และทักษะในการปฏิบตั งิ าน 1) โครงการอบรมฟน ฟวู ิชาการพนักงานฉกุ เฉนิ การแพทย (Refreshed EMT-Basic) 2) โครงการอบรมฟน ฟูวชิ าการพยาบาลกชู พี (Refreshed EMS Nurse) 3) โครงการอบรมวทิ ยากรชว ยอบรมหลกั สูตรพนักงานฉุกเฉนิ การแพทย (ครู ข) Sustainability การสานตอระบบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานครใหยั่งยืน สามารถดำรงอยูไดตอไปยังอนาคต ภายใตเงอื่ นไขและขอจำกัด 1) กิจกรรมสรา งความรอบรทู างสขุ ภาพ (Health literacy) ทางดา นการแพทยฉ ุกเฉิน 2) โครงการปมกระตกุ ปลกุ ชีพ 3) โครงการกทม.อาสา ฝาวิกฤต ชว ยชีวิตดวย CPR & AED 4) โครงการอบรมการชว ยฟน คนื ชพี ขน้ั พื้นฐาน และการใชเครอื่ งกระตกุ ไฟฟาหัวใจอตั โนมตั ิ ตวั ชี้วดั ความสำเรจ็ ตามแผนพัฒนาระบบบรกิ ารการแพทยฉ กุ เฉนิ กรุงเทพมหานคร 1. ความสำเร็จในการจัดบริการความชวยเหลือผูเจ็บปวยจากบุคลากรในระบบบริการการแพทยฉุกเฉิน ที่มี ศกั ยภาพและความสามารถตามมาตรฐาน ไมนอยกวา รอ ยละ ๘๐ ของผเู จบ็ ปว ยท่ีไดรับบรกิ าร 2. มกี ารใชร ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการใหบ ริการการแพทยฉ ุกเฉินใหครอบคลุม 3. ผานการตรวจประเมินและรับรองคุณภาพมาตรฐานระบบบริการการแพทยฉุกเฉินตามมาตรฐานของประเทศ (Thai Emergency Medical Service Accreditation : TEMSA) 4. โรงพยาบาลแมโซนในระบบบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร มีศักยภาพในการบริหารจัดการระบบฯ ภายในโซนไดอ ยา งมีประสิทธภิ าพ 5.มีการจัดฝกอบรมและการเรียนการสอนสำหรับผูปฏิบัติการการแพทยฉุกเฉินไดในทุกระดับ มีการพัฒนา บุคลากรอยางตอเนื่องเพื่อใหมีความรูความเชี่ยวชาญในสาขาการแพทยฉุกเฉิน รวมทั้งพัฒนาองคความรูทางวิชาการ งานวจิ ยั เพอ่ื เผยแพรความรทู ี่เก่ยี วของออกสสู งั คม

25 6. มีแผนปฏบิ ตั กิ ารรองรับเหตสุ าธารณภัยและภัยพิบตั ิในรปู แบบตางๆ เชน แผนปฏิบัตกิ ารปอ งกันและบรรเทาสา ธารณภัยของหนวยงาน แผนอัคคีภัย อุทกภัย แผนดินไหวและอาคารถลม สารเคมีรั่วไหล เปนตน และมีการซักซอม แผนปฏิบตั กิ ารในการเผชญิ เหตุสาธารณภยั รว มกบั หนวยงานท่เี กยี่ วของ ปละ 1 ครงั้ 7. ระบบบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานครมีความเขมแข็งมากขึ้น มีภาคีเครือขายที่เพิ่มขึ้นอยางนอยปละ 1 หนวยปฏิบตั ิการหรอื มีจุดจอดนอกสถานพยาบาลเพ่ิมข้ึนปละ 1 จดุ จอด และยงั คงรักษาความรว มมือกับภาคเี ครือขายเดมิ การวิเคราะหสถานการณท างการแพทยฉุกเฉิน ดวยหลักการทางการแพทยฉุกเฉินซึ่งมีลักษณะงานที่สัมพันธกับชีวิตและความปลอดภัยของผูเจ็บปวย ดังนั้นการ บริการจึงเปนตองคำนึงถึงคุณภาพ มาตรฐานทางการแพทยฉุกเฉินที่ประชาชนจะตองสามารถเขาถึงไดอยางทั่วถึงและเทาเทียม ทั้งในภาวะปกติและเมื่อเกิดสาธารณภัย โดยมีการจัดการอยางมีสวนรวมจากทุกภาคสวนภายใตกรอบการพัฒนาของ กรุงเทพมหานคร ประชาชนไดรับบริการชวยเหลือฉุกเฉินเมื่อเกิดเจ็บปวยและอุบัติเหตุขั้นวิกฤตดวยบริการที่มีมาตรฐานและ รวดเรว็ อยางท่ัวถงึ และเทา เทียม จากสถติ กิ ารใหบ ริการในระบบฯ ท่จี ำนวนผูเจบ็ ปวยฉกุ เฉินทีเ่ พ่มิ ขึ้นอยา งตอ เนอื่ ง อีกท้ังสัดสวน ของผูที่มีระดับความรุนแรงในระดับวิกฤต รหัสแดงและการเสียชีวิต ณ จุดเกิดเหตุที่เพิ่มสูงขึ้นดวยเชนกัน แตในทางกลับกัน จำนวนเครือขา ยและชดุ ปฏิบตั กิ ารมอี ตั ราการเพิม่ นอ ยมาก มีการกระจายตวั ของเครอื ขา ยในระบบฯ และการจราจรท่ตี ดิ ขัด ทำให บางพื้นที่ปฏิบัติการยังคงประสบปญหาในเรื่องการเขาถึงผูเจ็บปวย ณ จุดเกิดเหตุไดลาชา ดังนั้นนอกเหนือจากมาตรฐาน และ คุณภาพการปฏิบัติการแลว การเพิ่มโอกาสในการไดรับความชวยเหลือใหเร็วที่สุด Set Zero minute เพื่อลดระยะเวลาการรอ คอยความชวยเหลือฉุกเฉินของผูปวยเจ็บจึงเปนความจำเปนที่ตองการพัฒนา และมีการเตรียมการรองรับภัยพิบัติที่มี ประสิทธภิ าพ ตามคุณคา (Value) ทีต่ อ งการสง มอบใหแ กป ระชาชนผูใชบรกิ าร ซึง่ ประกอบดว ย 1. บริการรับแจง เหตสุ ามารถเขา ถึงไดง ายและสะดวก 2. บรกิ ารความชว ยเหลอื ทางการแพทยฉ ุกเฉินมีคุณภาพและรวดเร็ว 3. ความเชอ่ื มนั่ วา จะไดรบั บริการความชว ยเหลืออยางเทาเทยี มและเปน ธรรม 4. บรกิ ารทางการแพทยฉุกเฉนิ มคี วามพรอม และครอบคลมุ สถานการณฉ ุกเฉินทั้งในสภาวะปกติและเหตุสาธารณภยั ตารางที่ 1 ผลการดำเนินการใหบ รกิ ารในป 2561 2562 2563 และ 2564 ปงบประมาณ 2561 2562 2563 2564 การรบั แจงเหตุ 548,287 503,524 487,460 1,007,847 จำนวนการรบั แจง เหตุ (ครัง้ ) 443,919 396,925 329,622 467,555 จำนวนสายทใ่ี หบรกิ าร (คร้ัง) 80.96 78.83 80.54 46.00 อตั ราสายทใ่ี หบรกิ าร (รอยละ) การจดั บรกิ ารความชว ยเหลือ 78,534 80,247 90,186 97,732 จำนวนการใหบรกิ าร (คร้ัง) อัตรา RESPONSE TIME ตามตัวชวี้ ดั 30.30 22.76 20.66 21.07 ระดับ ALS (รอ ยละ) 63.81 66.40 65.60 66.56 ระดับ BLS (รอ ยละ)

24 บทที่ 3 รายงานการประเมนิ ตนเอง หน่วยอาํ นวยการ และปฏบิ ตั กิ ารแพทยฉ์ ุกเฉินฯ ศูนยบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร (ศูนยเอราวัณ) มีพันธกิจที่มุงเนนคุณภาพมาตรฐานของ ระบบบริการการแพทยฉุกเฉินกรุงเทพมหานครใหสอดคลองและเปนไปตามมาตรฐานระดับชาติ (Thai Emergency Medical Service Accreditation : TEMSA) และนานาชาติ โดยสถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ ไดกำหนดใหมีการ จัดทำมาตรฐานและพัฒนาระบบการรบั รองมาตรฐานหนวยปฏบิ ัติการและสถานพยาบาล เพอ่ื พัฒนาคุณภาพระบบบริการ การแพทยฉุกเฉินแหงประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงคในการสงเสริมใหเกิดความปลอดภัยตอผูปวย และผูปฏิบัติการใน ระบบบริการการแพทยฉุกเฉิน ซึ่งกำหนดใหองคกรที่เกีย่ วของดำเนินการจัดทำขอมูล เพื่อเตรียมความพรอมในการเขารับ การตรวจประเมินและรับรองคุณภาพระบบบริการการแพทยฉกุ เฉินแหง ประเทศ

เกณฑการตรวจประเมินและรบั รองคณุ ภาพระบบบรกิ ารการแพทยฉ ุกเฉนิ แหง ป ประเภทปฏิบัติการอำนวยการ ศูนยบรกิ ารการแพทยฉุกเฉ หัวขอ คำอธิบาย แบบประเมนิ สวนท่ี 1 ขอมูลทว่ั ไปของหนวยปฏิบตั ิการ (Emergency Operation Division) ป 1. ขอมูลหนวยปฏบิ ัติการแพทย ประเภทปฏิบตั ิการอำนวยการ ชือ่ หนว ยงาน ศนู ยบรกิ ารการแพทยฉุกเฉนิ กรงุ เทพมหานคร (ศนู ยเอราวณั ) ที่อยู 514 ถนนหลวง แขวงปอมปราบ เขตปอมปราบศตั รูพา ย กรุงเทพมหานคร รหัสไปรษณยี  10100 พิกัด ละติจดู 13๐44’46.9”N ลองจจิ ดู 100๐30’32.0”E เบอรโ ทรติดตอ 0 2220 7592 โทรสาร 0 2223 9684 Email : [email protected] 2. ระดบั ของหนว ยปฏบิ ัติการอำนวยการ ระดบั ท่ี ประเภท ระดบั ศกั ยภาพ 1 ปฏบิ ตั กิ าร พ้ืนฐาน รบั แจง ประสานงาน จา ยงาน 2 อำนวยการ 3 มแี พทยอำนวยการท่วั ไป (พอป.) ปฏิบัติการ สงู ตลอดเวลา รบั แจง ประสานงาน อำนวยการ จายงาน ระดับเขต ปฏบิ ตั กิ าร ที่ มีการอำนวยการตรงสำหรับโรค อำนวยการ ปรกึ ษา /ภยั เฉพาะ มแี พทย EP ใหคำแนะนำ ระดบั ประเทศ

25 ประเทศไทย(Thai Emergency Medical Service Accreditation : TEMSA) ฉนิ กรงุ เทพมหานคร (ศนู ยเอราวัณ) สำนักการแพทย เอกสารแนบ หมายเหตุ ประเภทปฏิบตั ิการอำนวยการ ทกุ ระดบั ผูร ับผดิ ชอบ เอกสารการประเมนิ สวนที่ 1 ไดก รอกรายละเอียดลง ในแบบฟอรม ตามทีส่ ถาบนั การแพทยฉ ุกเฉินแหง ชาติ กำหนด เรยี บรอ ยแลว กลมุ งานมาตรฐานและ ระบบบรกิ ารการแพทย ฉุกเฉนิ

หวั ขอ คำอธิบาย 3. ขอมลู ฝายบริหารจัดการหนว ยปฏิบตั ิการอำนวยการ 3.1 ผตู ิดตอ ประสานงานในการตรวจประเมนิ คุณภาพ ชอ่ื -สกลุ หัวหนากลมุ งานมาตรฐานและระบบบรกิ ารการแพทยฉ กุ เฉนิ เบอรโ ทร 0 2220 7591 Email : [email protected] 3.2 แพทยอำนวยการปฏบิ ัติการฉกุ เฉนิ ชื่อ-สกลุ นายแพทยย ุทธนา เศรษฐนันท เบอรโ ทร 0 2220 7592 Email : [email protected] 3.3 ผูกำกบั การปฏบิ ตั ิการฉุกเฉนิ ชอ่ื -สกุล นายนารอน แสนทวีผล เบอรโทร 0 2220 7597 Email : [email protected] 3.4 ผูจายงานปฏิบตั ิการฉุกเฉิน ชื่อ-สกุล นางสาวณภัคมน พรอมพูล เบอรโทร 0 2220 7597 Email : [email protected] 3.5 ผปู ระสานปฏิบัติการฉุกเฉนิ ชอ่ื -สกลุ นายจติ ติกร ไชยปดถา เบอรโ ทร 0 2220 7597 Email : [email protected] 3.6 พนักงานรบั แจงการเจบ็ ปวยฉกุ เฉิน ชอ่ื -สกุล นางสาวสุรียพ ร พนั ธุปญญา เบอรโทร 0 2220 7597 Email : [email protected]

เอกสารแนบ 26 หมายเหตุ ผูรับผิดชอบ

หวั ขอ คำอธิบาย 4. หนวยงานหรอื องคกรที่ปฏบิ ตั ิงานรวม (เลอื กไดมากกวา 1ขอ)  หนว ยปฏิบัติการอำนวยการอน่ื ๆ  โรงพยาบาลรฐั  โรงพยาบาลเอกชน  ศนู ยปภ.เขต  สนง.ปภ.จงั หวดั  สน.ปภ.สาขา  ตำรวจในพนื้ ที่  ดบั เพลงิ  กูชีพ  กูภัย  หนวยนติ ิเวช  อน่ื ๆ สำนักงานเขต สำนักเทศกิจ สำนกั อนามัย 5. หนวยปฏิบัติการแพทยที่ปฏิบัติงานรวม (กรณที ่ีมากกวา 4 หนวยใหใสขอ มลู เปนเอกสารแนบ) - คณะแพทยศาสตรวชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมินทราธิราช ประเภทปฏิบัติการแพทย ระดับสูง - โรงพยาบาลกลาง ประเภทปฏิบตั กิ ารแพทย ระดบั สูง - โรงพยาบาลเจรญิ กรงุ ประชารักษ ประเภทปฏบิ ัตกิ ารแพทย ระดับสูง ศักยภาพของสถานพยาบาลท่ีปฏบิ ัตงิ านรว มในพนื้ ที่รับผิดชอบ  หออภิบาลผูป วยอาการวกิ ฤต  ศูนยโรคหลอดเลือดสมอง  หออภิบาลผปู วยเดก็ วกิ ฤต  ศนู ยโ รคหลอดเลอื ดหวั ใจ  สูติ - นรเี วช  Burn Center  จติ เวช  ศูนยพ ิษวิทยา  ศนู ยอ บุ ัตเิ หตุ ระดบั Trauma Level 1 6. ขอบเขตพน้ื ท่ีบรกิ าร พืน้ ทเ่ี ขตกรุงเทพมหานคร (1,568.737 ตร.กม.)

เอกสารแนบ 27 หมายเหตุ ผรู ับผิดชอบ - รายช่อื โรงพยาบาลซึ่งเปน เครอื ขา ยในระบบบริการ การแพทยฉ ุกเฉินกรงุ เทพมหานคร กลมุ งานมาตรฐานฯ - ภาพเขตพ้นื ท่บี ริการ 9 โซน

หัวขอ คำอธิบาย 7. จำนวนประชากรโดยประมาณในพนื้ ทรี่ ับผดิ ชอบ จำนวน 5,538,629 คน (ขอมูล ณ เดือนกันยายน 2564) 8. จำนวนการรบั แจงเหตแุ ละสง่ั การปฏิบัตกิ ารฉกุ เฉนิ ใน 1 ป ที่ผา นมา จำนวน 97,732 คร้ัง (ขอมูลต้ังแต 1 ต.ค. 63 – 30 ก.ย.64) 9. จำนวนบคุ ลากรในหนวยปฏบิ ตั กิ าร - แพทยอำนวยการปฏบิ ัติการฉุกเฉิน จำนวน 10 คน - ผูกำกบั การปฏบิ ตั กิ ารฉุกเฉิน จำนวน 3 คน - ผจู ายงานปฏบิ ตั ิการฉกุ เฉิน จำนวน 15 คน - ผปู ระสานปฏบิ ัตกิ ารฉุกเฉิน จำนวน 5 คน - พนักงานรบั แจง การเจ็บปวยฉกุ เฉนิ จำนวน 30 คน สว นท่ี 2 เกณฑแบบประเมินตนเอง การตรวจประเมินและรับรองคุณภาพระบบบรกิ ารการแพท TEMSA) สำหรับหนว ยปฏิบัตกิ าร (Emergency Operation Division) ประเภทอำนวยการ ท ชอื่ -สกุล ผูตอบแบบประเมนิ หัวหนา กลุม งานมาตรฐานและระบบ บริการการแพทยฉ ุกเฉิน ตำแหนงของผูตอบแบบประเมิน  แพทยอ ำนวยการปฏบิ ตั ิการฉุกเฉิน  ผกู ำกบั การปฏบิ ัติการฉุกเฉนิ  ผจู า ยงานปฏบิ ตั กิ ารฉุกเฉิน  ผปู ระสานปฏบิ ัติการฉกุ เฉิน  พนกั งานรบั แจงการเจ็บปวยฉุกเฉิน  อนื่ ๆ (ระบุ) หัวหนากลมุ งานมาตรฐานและระบบบริการ การแพทยฉ ุกเฉิน

28 เอกสารแนบ หมายเหตุ ผรู ับผิดชอบ - สถิตกิ ารรบั แจงเหตแุ ละสง่ั การปฏิบัตกิ ารฉุกเฉิน กลุมงานมาตรฐานฯ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 กลมุ งานบริการการแพทย - ประวตั ิบุคลากรในหนวยปฏิบัตกิ าร - ตารางแพทยอำนวยการ ฉกุ เฉนิ ทยฉ กุ เฉนิ แหง ประเทศไทย (Thai Emergency Medical Service Accreditation : ทุกระดับ

หวั ขอ คำอธิบาย เกณฑการตรวจประเมินและรับรองคณุ ภาพระบบบรกิ ารการแพทยฉ ุกเฉนิ แหง ประเทศไทย (TE 1. หมวดการบรหิ ารจดั การองคก ร 1.1 การจดั ผงั องคกร (Organization Structure Management) 1.1.1 องคก รมแี ผนการบริหาร (Governance plan) ทร่ี ะบุถงึ ผงั อยรู ะหวางจัดทำรูปเลมร องคก ร (Organization chart) อำนาจหนา ท่ี (Authority) ประจำป พ.ศ. 2564 และความรับผดิ ชอบ (Accountability) ของผูบรหิ ารใน ทกุ ระดบั หมายเหตุ Governance plan (ควรระบวุ สิ ัยทศั น พันธกจิ คานิยม แนวทางการบริหารท่เี ชื่อมโยงการวางแผน ยทุ ธศาสตรขององคกร การจดั ตง้ั คณะกรรมการ และการ บริหารจดั การอ่ืน ๆ ใหครบถว นทกุ ดาน) 1.1.2 ผงั องคก รไดรับการบันทกึ เปน เอกสาร ไดรบั การเหน็ ชอบจาก มีการจดั ทำผังองคกรในร ทีมบริหาร มีการสื่อสารใหกบั บคุ ลากรทุกระดบั และไดรบั การ ประจำปข องศนู ยเอราวัณ ปรบั ปรงุ ใหเ ปน ปจ จบุ ันอยูเสมอ (อยา งนอ ยตามวาระการ ประจำทุกป บริหาร แตป กติคือปล ะครั้ง) 1.1.3 มกี ารประเมนิ ผลทมี บริหารอยา งสมำ่ เสมอ ผลการประเมินมี ผลการดำเนินงานตามตัว บนั ทึกเปนลายลกั ษณอกั ษร ศูนยเ อราวณั

29 เอกสารแนบ หมายเหตุ ผูรบั ผดิ ชอบ EMSA) สำหรบั หนวยปฏิบตั ิการ ประเภทปฏบิ ตั ิการอำนวยการ ทุกระดบั รายงาน - แผนยทุ ธศาสตรพ ฒั นา สำนักการแพทยระยะ4 ป (พ.ศ. 2564 – 2567 ) - แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปข องสำนักการแพทย - แผนพัฒนาศนู ยเอราวัณ - รายงานประจำป 2564 กลุม งานมาตรฐานฯ รายงาน ณ เปน วช้ีวดั ของ - รายงานการประชุมของคณะกรรมการบริหาร ศูนยเอราวณั - เอกสารคำสงั่ แตงตัง้ คณะกรรมการของศูนย ฝายบรหิ าร เอราวัณ งานทว่ั ไป

หัวขอ คำอธิบาย 1.2 การวางแผนยุทธศาสตร (Organization Strategy Management) 1.2.1 องคกรมกี ารจัดทำแผนยุทธศาสตรอ ยางสม่ำเสมอโดยกำหนด รว มจัดทำแผนยทุ ธศาสต วาจะทำทกุ เทา ไหร และทำการบันทกึ เปนลายลักษณอักษร สนพ. ระยะ 4 ป อยรู ะ โดยไดร บั การลงนามโดยผูบรหิ ารสงู สุดขององคก ร สำนักพัฒนาระบบบริการ 1.2.2 แผนยทุ ธศาสตรส ะทอนตวั ตนขององคกร มงุ เนน โดยการ การแพทยสรุปเลมแผนฯ เอาชนะความทาทาย (Challenge) และนำไปสูค วามย่ังยนื การจัดทำแผนปฏิบัติการ ขององคก ร (Sustainability) และบรรเทาสาธารณภัยข 1.2.3 บคุ ลากรทุกระดับในองคก รมีสว นรว มในการวางแผน และ หนวยงาน ไดรบั ความรวมมือจากทุกหนว ยงานในการใหข อมลู เพ่ือ นำไปสแู ผนยุทธศาสตร 1.2.4 แผนยุทธศาสตรไดรวมถึงการรบั มือสาธารณภัย สถานการณ - จดั ทำแผนรับมอื เมื่อระ ฉกุ เฉิน และเหตุการณท ่อี าจสง ผลใหเ กิดการหยุดชะงักตอ การ สารสนเทศและระบบรับ ดำเนนิ งานขององคกร (Enterprise Business Interruption) แจงเหตลุ ม และมีการสื่อสาร และซกั ซอ มใหเ กดิ ความเขา ใจในระดับ ปฏบิ ัติงาน

30 เอกสารแนบ หมายเหตุ ผูรับผิดชอบ ตรพัฒนา - แผนยทุ ธศาสตรพฒั นาสำนักการแพทยร ะยะ 4ป กลุมงานมาตรฐานฯ ะหวา ง ( พ.ศ. 2564-2567) กลมุ งานบรกิ ารฯ รทาง - แผนปฏบิ ตั กิ ารปองกนั และบรรเทาสาธารณภัย ฯ และมี ของสำนักการแพทย รปอ งกัน - แนวทางปฏบิ ัติการแจง เตือนภัยทางการแพทยใ น ของ สาธารณภยั ะบบ - แผนปฏิบตั ิการปองกนั และบรรเทาภัยจากอัคคีภยั บ - แผนปฏบิ ัติการปองกันและบรรเทาภัยจากอทุ กภัย ของสำนกั การแพทย - แผนปฏบิ ัตกิ ารทางการแพทยในการเผชิญเหตุ อุบตั ิภัยจากสารเคมีและวัตถุอันตรายในเขต กรุงเทพมหานคร - แผนปฏิบัตกิ ารปอ งกันและบรรเทาภัยจากความ ม่นั คงของสำนักการแพทย - แบบฟอรมเอกสารเพ่ือบันทึกขอมลู การรบั แจงเหตุ - แผนรับมอื กบั สาธารณภยั สถานการณฉกุ เฉินและ เหตกุ ารณท ี่ไมปกติ (Business Contingency Plan : BCP)

หัวขอ คำอธิบาย 1.3 การจัดการความเส่ียงและเหตุการณไ มพึงประสงค มกี ารประชุมความเสย่ี งป 1.3.1 องคก รมีระบบในการรายงานความเสี่ยง และเหตุการณไ มพ ึง เดอื น โดยไดม ีการรวบรว สถิติความเสยี่ งของศนู ยเ อ ประสงค (Incident and Occurrence Report) ทค่ี รอบคลมุ แสดงเปนแผนภูมิ และได และมปี ระสทิ ธภิ าพ ความเส่ยี งเขา ทีป่ ระชมุ ตา หารอื แนวทางแกไข และ 1.3.2 บุคลากรทุกคนสามารถรายงานความเสีย่ งและเหตุการณไมพึง นำเสนอทีป่ ระชุมบริหารศ ประสงคไดโดยไมต องกลัวหรือกังวลวา จะเกิดผลกระทบกับ เอราวณั ดว ย ตวั เอง (ควรระบไุ วใ นนโยบายบริหารจัดการความเสยี่ ง) - (รา ง) แนวทางบรหิ ารจดั ความเส่ียงศนู ยบ รกิ ารก ฉกุ เฉนิ กรงุ เทพมหานคร (ศูนยเอราวัณ) 1.3.3 มีการตอบสนองตอความเส่ยี งและเหตุการณไมพึงประสงค อยา งเหมาะสมโดยทีมบรหิ ารขององคกร เหตุการณไ มพึง ประสงคทม่ี คี วามรุนแรง (Sentinel Event) ไดรับการทบทวน ในเวลาทีเ่ หมาะสม (Root Cause Analysis) และมีการบนั ทกึ เปน ลายลกั ษณอ ักษร (ควรระบวุ า จะทำ RCA เมอื่ ไหร)

31 เอกสารแนบ หมายเหตุ ผูรบั ผดิ ชอบ ประจำทุก - คำสั่งคณะกรรมการบรหิ ารความเส่ียง กลุมงานบริการฯ วมขอมลู - แบบรายงานความเส่ียง/เหตุการณไมพงึ ประสงค อราวัณ - รายงานการประชมุ ความเสี่ยงประจำเดือน ดนำขอมูล - รายงานการประชมุ คณะกรรมการดำเนินระบบ าง ๆ เพือ่ บรกิ ารการแพทยฉุกเฉนิ ะยังได - รายงานการประชุมคณะกรรมการพฒั นา ศนู ย การแพทยฉกุ เฉินระดบั พื้นฐาน ดการ - เอกสารตัวอยา งการวเิ คราะหข อ มูลผลการ การแพทย ปฏบิ ัตกิ ารการแพทยฉ ุกเฉนิ ร

หัวขอ คำอธิบาย 1.3.4 องคกรนำผลลพั ธทไ่ี ดจากการทบทวนมาสอ่ื สาร ปรบั ปรงุ การ จดั ทำแผนการบรหิ ารจัดก ดำเนินงานและกระบวนการ และทำการบันทึกการ คุณภาพ เปลีย่ นแปลงไวเ ปน ลายลกั ษณอักษร (ควรระบุแนวทางการ จัดทำแนวทางการตรวจส สอ่ื สารความเสีย่ งในองคกร และระหวางหนวยงานที่เก่ียวขอ ง ภายใน ไวใ นนโยบายบรหิ ารจัดการความเสยี่ ง) หมายเหตุ (หนว ยงานควรมกี ารส่ือสารขอ มูลความเส่ียงในที่ ประชมุ คณุ ภาพ) 1.4 กระบวนการพฒั นาคณุ ภาพอยางตอเน่ือง 1.4.1 องคก รมแี ผนในการบรหิ ารจัดการดานคุณภาพ แผนบันทกึ เปน ลายลักษณอกั ษร และไดรบั การเห็นชอบจากทีมบรหิ าร (Quality Management Plan) 1.4.2 องคกรมีระบบในการตรวจสอบภายใน (Internal Compliance Audit ) เพ่ือใหม่ันใจวา การปฏบิ ตั ิงานของ บคุ ลากรเปนไปตามกฎหมาย นโยบาย กระบวนการ และ ระเบยี บวิธปี ฏิบตั ิขององคก ร และมีผลลพั ธจ ากการตรวจสอบ ภายในบันทกึ ไวเ ปนลายลกั ษณอกั ษร 1.4.3 ไดร บั การตรวจสอบความโปรงใส โดยหนวยงานภายนอก จัดเกบ็ รายงานการตรวจร (External inspection) (ยกตวั อยา ง เชน ตัวแทนจาก ของผูตรวจราชการกทม. สำนักงานสาธารณสุขจังหวดั ) และไดทำการปรับปรุง แกไ ข หนังสอื เวยี นและสมุดตรว ขอ บกพรอง หรือขอ เสนอแนะตามทไี่ ดรับคำแนะนำอยาง ถูกตอ ง และเหมาะสม

เอกสารแนบ 32 หมายเหตุ ผูรับผดิ ชอบ กลมุ งานบรกิ ารฯ การดาน - แผนการบรหิ ารจัดการดานคุณภาพ กลมุ งานบรกิ ารฯ สอบ - แนวทางการตรวจสอบภายใน ฝายบริหารฯ/ - รายงานการประชุมกลมุ งานบรกิ ารการแพทย กลมุ งานบรกิ ารฯ/กลมุ ฉกุ เฉนิ - คูมือการตรวจมาตรฐานรถบรกิ ารการแพทย งานมาตรฐานฯ ฉกุ เฉนิ กลุมงานมาตรฐานฯ - คมู ือการสอบขึ้นทะเบยี นพนักงานฉุกเฉิน การแพทย ราชการ - บนั ทกึ แจงเวียนผลการประเมินการปฏิบตั ริ าชการ ทงั้ ของสำนกั ยุทธศาสตรและประเมินผล กทม. วจราชการ - สมุดตรวจราชการของผตู รวจราชการ กทม.

หัวขอ คำอธิบาย 1.4.4 องคก รนำขอมลู ท่ีไดจากระบบคุณภาพมาใชป ระโยชนในการ บรหิ ารองคก รอยางสม่ำเสมอ 1.5 การตดิ ตามการดำเนินงาน (Organization Performance monitoring) 1.5.1 องคก รกำหนดวธิ กี ารในการตดิ ตามการดำเนินงานองคก ร - ขอมลู สถติ ิการใหบ ริการ ตวั อยาง Performance indicator สำหรบั หนว ยปฏบิ ตั ิการ การออกปฏบิ ัติการดูได ประเภทปฏิบัติการอำนวยการทุกระดับที่ควรมี ไดแก จากระบบสารสนเทศ - จำนวนสายแจง เหตทุ ไ่ี มไดรับ (Call Abandonment) - ขอมลู ความพงึ พอใจขอ - ความแมนยำของการประเมนิ ระดบั คดั แยกทางโทรศัพท ผูใชบริการ (Accuracy of Telephone Triage) - เวลาส่ังการ (ตง้ั แตร บั เรื่องจนสง่ั การ) Dispatch Time - ความถูกตอ งของการสง ตอ ขอมูล - ความแมนยำในการประมาณเวลาท่คี าดวา หนว ยปฏิบัตกิ าร เวชกรรมจะถึงที่เกดิ เหตุ หรอื สถานพยาบาล (Estimate Time of Arrival) Feedback Response: ความพงึ พอใจของผใู ชบริการ รวมถงึ ประชาชน สถานพยาบาล และหนวยปฏิบตั กิ ารแพทย 1.5.2 มีการตดิ ตามการดำเนนิ งานเปน ไปอยา งสม่ำเสมอ (ทกุ ไตรมาส) จัดการประชุมฯ เพอ่ื ติดต และมีการบันทึกผลการดำเนนิ งานเปนลายลักษณอ กั ษร และรายงานผลการปฏิบัต (Performance Review) ประจำทุกเดอื น

33 เอกสารแนบ หมายเหตุ - รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหาร ผูรับผดิ ชอบ ศนู ยเ อราวัณ ฝา ยบรหิ ารฯ - สถิติการประเมินคัดแยกระดับความฉกุ เฉิน ณ ศูนยร บั แจง เหตุ ร/ - การคดั กรองที่มากกวาระดับความรุนแรงของ ด ผปู วย (Over triage) และการคัดกรองที่นอยกวา ระดบั ความรุนแรงของผูปวย (Under triage) อง - ขอมลู สถิติการใหบ ริการ/การออกปฏบิ ตั กิ าร - ขอ มลู ความพึงพอใจของผูใ ชบริการ - รายงานการประชมุ คณะกรรมการบรหิ าร ศนู ยเอราวัณ - ขอ มลู สถติ ริ ายงานผลตวั ช้วี ัดรอยละของผปู วย กลมุ งานบรกิ ารฯ วิกฤตฉุกเฉินขัน้ สงู (Advance) สามารถไดร บั บรกิ ารภายใน 10 นาที และสวนของขัน้ พ้นื ฐาน (Basic) สามารถไดร ับบรกิ ารภายใน 15 นาที - ขอมลู สถติ ริ ะยะเวลาต้ังแตร ับแจงเหตจุ นถึงสั่ง การของศนู ยเ อราวณั ตามงาน - รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหาร กลุมงานมาตรฐานฯ/ ติงานเปน ศนู ยเอราวัณ กลมุ งานบรกิ ารฯ

หวั ขอ คำอธิบาย 1.5.3 องคก รไดใ ชผ ลลัพธในการติดตามการดำเนินงานมาปรบั ปรงุ มีการตดิ ตามการดำเนนิ ง กระบวนการทำงาน เพ่ือเพิ่มประสิทธภิ าพ ลดคา ใชจ า ย หรอื การประชุมตา ง ๆ ความย่ังยืนขององคก ร (CQI Process Improvement) 1.5.4 ผบู ริหารสูงสดุ ขององคกรไดรับรู ใหค วามเหน็ และดำเนนิ การ มีการรายงานขอมลู ผานก ปรับเปลยี่ นกระบวนการทำงาน ตามทไ่ี ดจ ากผลลัพธ ตา ง ๆ (Process Improvement, Management by Fact) 1.6 การบรหิ ารการเงินและงบประมาณ (Financial Planning and Budgeting) 1.6.1 มีแผนงบประมาณประจำปที่บันทกึ เปน ลายลกั ษณอักษร 1.6.2 ผูบรหิ ารไดใ ชขอมลู ความตอ งการของหนวยงาน และผลลัพธ การดำเนนิ งาน มาประกอบการวางแผนงบประมาณเพ่อื ใหเกดิ ประสิทธภิ าพและความปลอดภยั สงู สดุ ตอผปู วยและ ผูปฏิบตั งิ าน 1.6.3 มีการตรวจสอบการใชง บประมาณอยา งเปด เผย โปรง ใส และ ขอ มลู เปนท่รี บั รใู นองคก ร 1.6.4 ผูบ รหิ ารไดแ สดงถงึ ความมงุ มนั่ ในการแกปญหาดา นการเงิน และงบประมาณ (Due Diligence) 1.7 การจดั การทรพั ยากร (Organization Resource Management) 1.7.1 องคก รจัดทำแผนการจดั การทรพั ยากร และมีการปรับปรุงให - มีการสำรวจความจำเป เปน ปจ จบุ นั อยเู สมอ (Resource Utilization Plan) (ควรมี จัดหาทรัพยากรเพ่ือสน การกำหนดเครือ่ งมือท่ีใชในแผน) (ใชประเมนิ ใน Phase ตอไป) ปฏิบัติการของหนวยงา 1.7.2 มีการสำรวจความจำเปน ในการจัดหาทรัพยากรเพอ่ื สนับสนุน การทำงานขององคก รมิใหส ะดุดลง (การสำรวจความจำเปน

34 เอกสารแนบ หมายเหตุ งานผาน - รายงานการประชุมคณะกรรมการพัฒนา ผูรับผดิ ชอบ กลมุ งานบริการฯ การแพทยฉกุ เฉนิ ระดบั พ้ืนฐาน - รายงานการประชมุ กลุมงานบริการการแพทยฉกุ เฉนิ การประชมุ - รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารศูนยเ อราวณั - แผนงบประมาณประจำป ฝายบริหารฯ - รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหาร ศูนยเอราวัณ - โครงการยกระดับการอำนวยการและสัง่ การ ทางการแพทยในภาวะฉกุ เฉิน - รายงานการเบิกจายคาโทรศัพทเคล่ือนทปี่ ระจำป งบประมาณ 2564 ปนในการ - แบบสำรวจอุปกรณสำนกั งาน ฝายบริหารฯ/ นบั สนุนการ - แผนสำรวจการใชก ระดาษหมึกพิมพของ กลุมงานมาตรฐานฯ/ าน สำนกั งาน กลมุ งานบริการฯ - สรปุ การยมื - คนื อุปกรณที่ใชใ นการอบรม - รายงานการใชย าและเวชภัณฑ

หัวขอ คำอธิบาย ของทรพั ยากรตาง ๆ ควรระบอุ ยูในแผน และมแี บบสำรวจท่ี ครอบคลุมทรัพยากรทัง้ หมดทจ่ี ำเปน ตอการปฏบิ ตั ิงาน โดยจัด - มกี ารรวบรวมขอ มูลการ อันดับความสำคญั และวิธกี ารจัดหาใหเพยี งพอตอการใชง าน) เวชภัณฑ ผา น Google (ใชประเมินใน Phase ตอไป) โดยเจาหนาทีจ่ ะรวบรว 1.7.3 มกี ารใชทรัพยากรอยางมีประสิทธภิ าพ และมุงเนนความยงั่ ยนื การเบกิ ยาและเวชภณั ฑ ขององคก ร (Sustainability) สปั ดาห 1.7.4 มรี ะบบบรหิ ารจัดการทรัพยากรที่มปี ระสิทธภิ าพ และมี - มีการบนั ทึกขอมูลการใ ผลลัพธท ่ีแสดงใหเหน็ ถึงการใชท รัพยากรอยา งมีประสิทธิภาพ เช้ือเพลงิ โดยเมอ่ื พนกั ง (Efficiency) หมายถงึ การใชทรพั ยากรที่มีอยา งเหมาะสม รถยนตเติมน้ำมันแลว จ และใหเกดิ ประสิทธิภาพสงู สุด เชน การวางระบบ ข้ันตอน ขอมูลผาน Google Fo และพนื้ ทก่ี ารทำงานทีท่ ำใหบ ุคลากรสามารถใชศักยภาพใน ทไี่ ดจ ะใชประโยชนใ นก การทำงานไดเตม็ ท่ี กำจัดขั้นตอนการทำงานทซ่ี ้ำซอ น การ จัดการนำ้ มนั เชอื้ เพลงิ จัดลำดบั งาน การนำเทคโนโลยมี าใชอ ยา งเหมาะสม และ คมุ คา เปน ตน 1.8 จริยธรรม และจรรยาบรรณองคกร (Code of Conduct/Ethical Conduct) 1.8.1 องคก รกำหนดหลักจริยธรรม และจรรยาบรรณในการดำเนิน กำหนดใหมีการรกั ษาควา กจิ การและการใหบ รกิ าร โดยมุงเนนท่ี ปลอดภัยของขอมูล - การใหความเคารพในสิทธิผปู ว ยและญาติ - ความยุตธิ รรมโดยผปู ว ยและญาตสิ ามารถเขา ถงึ ความ ชว ยเหลือทีต่ องการ ตามความเหมาะสมในสถานการณ 1.8.2 องคก รมีระบบในการปกปอ งสิทธิผปู ว ยท่ีมปี ระสิทธภิ าพ รวมถงึ กำหนดนโยบายเกย่ี วกบั ความลับของผูป ว ยในดานการใช ภาพถาย หรอื สื่อประเภทอน่ื ๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook