Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทัศนศิลป์ ม.3

ทัศนศิลป์ ม.3

Published by niyommusic, 2021-07-27 04:05:10

Description: ทัศนศิลป์ ม.3

Search

Read the Text Version

2ตอนที่ ตอบคําถามใหถกู ตอ ง จํานวน 10 ขอ ขอละ 2 คะแนน ¤Ðá¹¹·Õè ä´Œ ¤Ðá¹¹àµÁç 20 โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 1. “การสรางสรรคผลงานทัศนศิลปของมนุษย” มคี วามหมายอยางไร อธิบายพรอมยกเหตผุ ลประกอบ .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. การออกแบบท่ดี ีสามารถสรา งคณุ คา ตอ ชวี ิตของมนษุ ย เพราะการออกแบบเปนการถา ยทอดรูปแบบจากความคดิ ออกมาเปน ผลงานทสี่ ามารถมองเห็น รบั รู หรอื สมั ผัสได นกั เรียนเห็นดว ยหรอื ไม เพราะเหตใุ ด .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. ผลงานช้นิ นตี้ อ งการส่อื สารเร่ืองราวอยางไร ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................... 4. คาํ วา “สิง่ เรา ” หรอื “แรงบนั ดาลใจ” มีความเกีย่ วของกบั งานทัศนศลิ ปอยา งไร .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 5. การวาดภาพแสดงแสงเงาใหมคี วามถกู ตองและสวยงาม มีเทคนคิ อยา งไร .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. โครงการวัดและประเมินผล (20)

6. คณุ คา ของผลงานทศั นศลิ ปจ ากภาพทก่ี าํ หนดใหค อื สงิ่ ใด อธบิ ายพรอ มยกเหตผุ ลประกอบ โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... 7. ถา ตองการผลติ สินคา ทีเ่ ปนผลิตภัณฑท ํามอื หรือสนิ คา แฮนดเ มด (Handmade) ควรปฏิบตั ิอยา งไร .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 8. เพราะเหตุใดชางศิลปไทยจึงมจี ํานวนลดนอ ยลง .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 9. การจดั เตรียมสถานทีม่ ีความสําคัญตอ การจัดนทิ รรศการทางทัศนศิลปหรือไม เพราะเหตใุ ด .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 10. การนําเสนอผลงานมวี ธิ กี ารอยางไรเพื่อที่จะใหผ ูช มจาํ นวนมากสามารถเขาชมงานไดโดยสะดวกและท่ัวถึง .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................................................................................................................................. (21) โครงการวัดและประเมินผล

เฉลยแบบทดสอบ ชุดท่ี 1 โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ ตอนที่ 1 1. ตอบ ขอ 1. เพราะผลงานทัศนศลิ ปทีเ่ กิดจากการสรา งสรรคของมนษุ ยใหเปน รูปแบบซ่ึงมลี ักษณะตางๆ กนั นน้ั เปน ผล จากการนําสวนประกอบของทัศนธาตใุ นงานทศั นศิลป หรอื อาจเรยี กโดยทั่วไปวา “องคประกอบศลิ ป” ซง่ึ หมายรวมถึงการจัดสวนประกอบของเสน สี รูปราง รูปทรง ลักษณะพื้นผิว พื้นท่ีวาง นํ้าหนักออน-แก และแสงเงา ศลิ ปน จะเลอื กใชท ศั นธาตใุ นการสรา งสรรคผ ลงานทศั นศลิ ปต ามความคดิ สรา งสรรคข องตนเอง ทเ่ี กิดจากการรบั รู จินตนาการ และประสบการณ โดยไมจาํ เปนตอ งใชทุกสว นของทศั นธาตุดงั กลา ว และเรา ก็ไมส ามารถแยกสว นประกอบของทศั นธาตอุ นั ใดอนั หนง่ึ ออกจากสว นอน่ื ๆ ได เนอื่ งดว ยทกุ สว นลว นมคี วาม สัมพันธเปนอันหนึ่งอันเดียวกันในงานทัศนศิลป และองคประกอบศิลปเหลานี้เองที่เปนสื่อแสดงความรูสึก อารมณ ตลอดจนคณุ คาทางความงามทีศ่ ิลปนตอ งการแสดงออกใหผูอืน่ ไดร บั รูแ ละช่นื ชม 2. ตอบ ขอ 4. เพราะทัศนธาตุในงานทัศนศิลปจะประกอบไปดวยจุด เสน สี รูปราง รูปทรง ลักษณะพ้ืนผิว พ้ืนท่ีวาง น้ําหนกั ออน-แก และแสงเงา สวนจดุ สนใจ สดั สวน ความสมดุล จัดเปนองคป ระกอบศิลป 3. ตอบ ขอ 2. เพราะโดยท่วั ไปแลววสั ดทุ กุ ชนิดที่เรามองเห็นในเบ้อื งตนทก่ี ระทบกบั การรับรู คอื รูปทรงของวัตถุ ถดั มา ก็คือทัศนธาตุที่เปนสีของวัตถุ สวนทัศนธาตุอื่นๆ ไดแก จุด เสน สี รูปราง ลักษณะพื้นผิว พื้นที่วาง น้ําหนกั ออน-แก และแสงเงา เปน สว นที่สามารถสงั เกตเหน็ ได เมื่อมองดรู ายละเอียดในลาํ ดับตอๆ ไป 4. ตอบ ขอ 3. เพราะภาพที่ไดจากการลากเสน ตามรูปของมือ เปนเพยี งเสน รอบนอกทีย่ งั ไมมคี วามหนา หรอื ความลึกใดๆ ซึง่ ลักษณะดังกลา วน้ี จะปรากฏเปน ทัศนธาตุทเ่ี รียกวา “รปู ราง” เปนการแสดงเสน รอบนอกของวัตถุ คน สตั ว สง่ิ ของ มลี ักษณะเปนภาพ 2 มติ ิ คอื มคี วามกวา ง และความยาว 5. ตอบ ขอ 2. เพราะจุดเปนทัศนธาตุ หรือองคประกอบอันดับแรกของงานทัศนศิลป จุดเปนสวนท่ีมีขนาดเล็กท่ีสุดของ งานศิลปะ เมือ่ นําเอาจดุ จํานวนมากๆ มาเรยี งตอ เน่อื งกันตามตําแหนง ที่เหมาะสม และซ้ําๆ กนั ก็จะทาํ ให เกดิ เสน รปู รา ง รูปทรง ลกั ษณะพน้ื ผวิ นา้ํ หนักออ น-แก และแสงเงา ซึง่ ในธรรมชาตนิ ั้นเราสามารถพบเหน็ จุดไดเ ชนเดยี วกับในงานศิลปะ 6. ตอบ ขอ 4. เพราะเสนฟนปลา หรือเสนซิกแซ็ก มีลักษณะเปนเสนคดท่ีหักเหโดยกะทันหัน เปล่ียนทิศทางอยาง รวดเร็ว ทําใหเกดิ ความรูสกึ เคลื่อนไหวอยา งเปน จังหวะ มีระเบียบ ไมร าบเรียบ นา กลวั อันตราย ขดั แยง ความรนุ แรง สว นเสน ตรงแนวนอน จะใหค วามรสู กึ ทางความกวาง สงบ ราบเรียบ นง่ิ ผอ นคลาย เสน โคง จะใหค วามรสู ึกเคลอ่ื นไหวอยางชาๆ ลื่นไหล ตอเน่อื ง สุภาพ ออนโยน นุมนวล และเสน โคงแบบกนหอย จะใหความรูส ึกเคล่ือนไหว คล่ีคลาย หรอื เติบโตในทิศทางทหี่ มนุ วนออกมา 7. ตอบ ขอ 3. เพราะจติ รกรรม จดั เปน ผลงานศลิ ปะท่แี สดงออกดวยการขดี เขยี น การวาด และระบายสี เพอ่ื ใหเกดิ ภาพ จดั เปนงานศิลปะท่มี ีลักษณะ 2 มิติ คอื รปู แบน ไมมีความลึกหรอื นูนหนา แตส ามารถเขยี นลวงตาใหเ ห็น วามคี วามลึกหรือนูนได 8. ตอบ ขอ 2. เพราะองคประกอบสาํ คัญของงานจิตรกรรม คือ ผูสรา งงาน หรือผูวาด ทีเ่ รยี กวา “จิตรกร” วัสดุที่ใชร องรับ การวาด เชน กระดาษ ผา ผนงั เปนตน สี เปน สิ่งท่ีแสดงออกถงึ เนอ้ื หาและเรือ่ งราวเกี่ยวกับผลงาน โครงการวัดและประเมินผล (22)

9. ตอบ ขอ 2. เพราะเปนการสรางสรรคผลงานทัศนศิลปท่ีมีลักษณะเฉพาะตัว เปนกระบวนการท่ีศิลปนคิดคนข้ึนมา โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ เพื่อสอ่ื ความคิดและจนิ ตนาการในการสรางสรรคผลงาน 10. ตอบ ขอ 4. เพราะความสวยงามของงานจิตรกรรมจะแสดงออกดวยการวาดภาพระบายสี และการจัดองคประกอบ ความงาม เพอ่ื ใหเ กดิ ภาพ 2 มิติ ไมม ีความลกึ หรอื ความนนู หนา สอ่ื ใหผชู มมองเห็นในเร่อื งราว คุณคา ความงดงามตามความรูส กึ นกึ คดิ และจินตนาการของผวู าด 11. ตอบ ขอ 4. เพราะภาพ “2 พ่นี อง” (Two Sisters) ผลงานของปแยร ออกุสต เรอนวั ร (Pierre Auguste Renoir) เปน งานจิตรกรรมท่ีสรางสรรคข้ึน โดยใชเทคนิคการระบายสีเรียบ ไลน้ําหนักออน-แก ซึ่งน้ําหนักจะทําให ภาพเขยี นดมู ชี วี ติ ชวี า เกิดความเปน มิติ มปี รมิ าตร ดูแลว สมจรงิ ตามธรรมชาติ 12. ตอบ ขอ 3. เพราะฟนเซนต ฟาน ก็อกฮ (Vincent van Gogh) ไดใชเทคนิควิธีการเฉพาะในการสะทอนผลงานจติ รกรรม ของตนเอง นั่นกค็ ือ การเขยี นภาพสนี ้ํามนั บนผนื ผา ใบ ทปี่ รากฏความสวยงามอยูบ นภาพจิตรกรรมที่รจู กั กันโดยทั่วไป เชน ภาพคนกนิ มนั ฝรง่ั (The Potato Eaters) ภาพดอกทานตะวัน (Sunflowers) ภาพราตรี ประดบั ดาว (The Starry Night) เปน ตน 13. ตอบ ขอ 3. เพราะคําวา “สัดสวน” ในการสรางสรรคผลงานศิลปะแบบส่ือผสมจะหมายถึง ความสัมพันธกันอยาง เหมาะสมลงตัวระหวางขนาดขององคประกอบที่แตกตา งกัน ท้ังขนาดท่ีอยูในรูปทรงเดยี วกัน หรอื ระหวา ง รูปทรง และรวมถึงความสัมพันธกลมกลืนระหวางองคประกอบทั้งหลายดวย ซึ่งเปนความพอเหมาะพอดี ไมมาก ไมนอยขององคประกอบท้ังหลายท่ีนํามาจัดรวมกัน โดยสามารถพิจารณาไดจากคุณลักษณะ ดงั ตอไปนี้ คอื สัดสว นทเี่ ปน มาตรฐาน และสดั สว นจากความรสู ึก 14. ตอบ ขอ 1. เพราะในการสรางสรรคผลงานศิลปะแบบสื่อผสม ความกลมกลืนจัดเปนองคประกอบท่ีสําคัญอยางหน่ึง ท่ีควรพึงระลึกไวเสมอ เน่ืองจากความกลมกลืนเปนหลักของการจัดองคประกอบท่ีสําคัญและมีขอบขาย กวา งขวาง เชน ความกลมกลนื ในรปู ลักษณะ สี พ้ืนผวิ ชอ งวา ง เปนตน ดังนนั้ การจดั องคประกอบของ ศิลปะแบบส่ือผสมใหกลมกลืนกนั นนั้ จงึ ชวยใหงานศิลปะแบบสื่อผสมเกดิ คุณคา ทางสนุ ทรียภาพมากขนึ้ 15. ตอบ ขอ 4. เพราะการมคี วามคดิ สรา งสรรค สามารถท่จี ะสรางความเชอื่ มน่ั ความนานับถือ และความพอใจในตัวเอง ขนึ้ มา เมอ่ื ใดกต็ ามทเ่ี ราพฒั นาความสามารถในการคดิ สรา งสรรคจ นสามารถเผชญิ หนา และแกป ญ หาตา งๆ ไดอ ยา งราบรืน่ แลว กจ็ ะกลายเปนผูน าํ ทางดา นความคิดและเกิดความภูมิใจในตนเองได 16. ตอบ ขอ 2. เพราะดนิ ทรายเปน ดินทมี่ ีคณุ สมบตั ิไมเหมาะสมทจี่ ะนํามาใชใ นงานประติมากรรม กลาวคอื ดินทราย เปน ดินท่ีมเี นื้อดนิ บนเปนดนิ ทราย หรือดนิ ทรายปนรว น มคี ณุ สมบตั ิในการระบายนํ้าไดดี แตไ มอมุ นา้ํ ทาํ ใหดนิ เกบ็ นา้ํ ไวไมอยู และเกิดการกรอนไดงาย ดนิ ประเภทน้มี ักเกดิ จากวตั ถตุ นกาํ เนดิ ดินท่เี ปนตะกอนเนอ้ื หยาบ หรือตะกอนทรายชายฝงทะเล 17. ตอบ ขอ 1. เพราะดนิ เหนยี วและดนิ นา้ํ มนั จดั เปน วสั ดทุ หี่ าไดง า ยและมรี าคาถกู กลา วคอื ดนิ เหนยี ว เปน วสั ดธุ รรมชาติ ทส่ี ามารถยึดเกาะตวั กันไดด ี หาไดง า ย และประหยัด สวนดนิ น้ํามนั เปนวสั ดทุ ่ีใชส ําหรับงานประตมิ ากรรม โดยเฉพาะ มีหลายสีใหเ ลอื กใช ซึง่ ดินนํา้ มนั มีคณุ สมบัติทดี่ ี คือ หนืด เหนยี ว ไมแขง็ ตัว ปน งาย ไมต ดิ มอื สะดวกในการเกบ็ จึงเหมาะสาํ หรับงานประติมากรรมชิ้นเล็กๆ (23) โครงการวัดและประเมินผล

โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 18. ตอบ ขอ 1. เพราะเอกภาพ คือ ความเปนอันหน่ึงอันเดียวกันของการจัดองคประกอบศิลป ทั้งดานรูปลักษณะและ ดานเนื้อหาเรื่องราว เปนการประสาน หรือจัดระเบียบของสวนตางๆ ในงานใหเกิดความเปนหน่ึงเดียว โดยการเชอ่ื มโยงสวนตา งๆ ใหมคี วามสมั พนั ธกนั ซงึ่ เอกภาพของงานทศั นศิลปจะประกอบไปดวยเอกภาพ ของการแสดงออก และเอกภาพของรปู ทรง 19. ตอบ ขอ 3. การวจิ ารณ หมายถงึ การแสดงความคดิ เห็นตอสิ่งใดส่งิ หนง่ึ ตามความรู ความเขาใจจากประสบการณของ ผูวิจารณ พรอมท้ังใหขอเสนอแนะเพ่ิมเติมตอสิ่งที่พบเห็น ไมวาจะเปนการช่ืนชม หรือกลาวช้ีแนะตอ ผลงานนั้น ท้ังน้ี การวิจารณจะตองมีเหตุผล เพื่อการปรับปรุงผลงานท่ีเกิดจากการสรางสรรคนั้นๆ ใหมี ความสมบรู ณย ง่ิ ๆ ขึน้ 20. ตอบ ขอ 3. เพราะการวิเคราะหผลงานทศั นศลิ ป เปน การพจิ ารณา แยกแยะ ศึกษาองครวมของงานทัศนศิลปอ อกเปน สว นๆ ทลี ะประเด็น ท้งั ในดา นของทัศนธาตุ องคป ระกอบศิลป และความสมั พนั ธต างๆ รวมถงึ ดานเทคนคิ วธิ ีการแสดงออก เพอ่ื นําขอ มลู ที่ไดน นั้ มาประเมนิ ผลงานทัศนศิลปว า มคี ณุ คาทางดา นความงาม ทางดาน สาระ และทางดา นอารมณค วามรูส กึ อยา งไร 21. ตอบ ขอ 3. เพราะนักวิจารณท่ีดี ควรมีคุณสมบัติดังตอไปน้ี คือ มีความรูเกี่ยวกับศิลปะทั้งศิลปะประจําชาติและ ศิลปะสากล มีความรูเก่ียวกับประวัติศาสตรศิลป มีความรูเกี่ยวกับสุนทรียศาสตร มีวิสัยทัศนกวางขวาง และไมคลอยตามคนอ่ืนไดงาย และกลาท่ีจะแสดงออกท้ังที่เปนไปตามหลักวิชาการ ตามความรูสึก และ ประสบการณ 22. ตอบ ขอ 3. เพราะผชู ม ศลิ ปน และผลงานทศั นศลิ ป จดั เปน สว นหนงึ่ ของวงจรการวจิ ารณผ ลงานทศั นศลิ ป ซง่ึ ในการทาํ ความเขา ใจในการวจิ ารณผ ลงานทศั นศลิ ปน น้ั มคี วามจาํ เปน อยา งยง่ิ ทจี่ ะตอ งเรยี นรใู นเรอื่ งองคป ระกอบ หรอื วงจรการวิจารณด วย เพ่ือใหผ ูวจิ ารณสามารถเขา ใจความสัมพนั ธร ะหวางองคป ระกอบของแตล ะสวนอยา ง เปน เหตุเปน ผลและเปน ไปอยางตอเน่ือง ซ่งึ ไดแ ก ศิลปนผสู รา งสรรคผ ลงาน ผชู มซง่ึ เปน ผูวิจารณผลงาน และผลงานทศั นศลิ ปข องศลิ ปน ทเี่ ปน สอื่ สาํ หรบั การวจิ ารณ ดงั นน้ั คาํ ตอบขอ 3. จงึ เปน คาํ ตอบทต่ี า งจากพวก 23. ตอบ ขอ 1. เพราะการวจิ ารณผ ลงานทศั นศลิ ปจ ะเรมิ่ ตน ไมไ ดถ า ผวู จิ ารณไมม คี วามรู และประสบการณท างดา นทศั นศลิ ป สาขาใดสาขาหนึ่งท่ีจะวิจารณมากอน ถาผูวิจารณมีความรูแลวก็จะสามารถเสนอแนะความคิดเห็น เพ่ือ ใหผูท่ีสรางสรรคผลงานนําไปปรับปรุงแกไขใหดีข้ึน หรือไมก็เปนการแลกเปลี่ยนประสบการณระหวางกัน ผวู จิ ารณแ ตล ะคนอาจมคี วามรู ความคดิ แตกตา งกนั จากการไดช มผลงานทศั นศลิ ปช น้ิ นนั้ ซงึ่ ไมใชเ รอ่ื งทผ่ี ดิ ทผี่ วู จิ ารณแ ตล ะคนจะมองเหน็ ความงามของการแสดงออกทแ่ี ตกตา งกนั แตก ลบั จะเปน จดุ แขง็ ที่ใหแ ตล ะคน ไดแ สดงความรู ประสบการณอ ยางกวา งขวาง และทัว่ ถึง โดยพิจารณาถงึ เหตุผลของการวิจารณเปน สําคัญ 24. ตอบ ขอ 3. เพราะการวจิ ารณผ ลงานทศั นศลิ ป จะมจี ดุ ประสงคห ลกั สาํ คญั ของการวจิ ารณ คอื ตอ งการแสดงความคดิ เหน็ ตอ ผลงานทศั นศลิ ปในรปู แบบตา งๆ อยา งชนื่ ชมในผลงาน นบั เปน การแลกเปลย่ี นเรยี นรซู ง่ึ กนั และกนั อยา ง มีหลักการ มขี อมูล ขอ เสนอแนะ เพ่ือนาํ มาปรบั ปรงุ พฒั นา และสรางความเขา ใจในเรอื่ งราวของผลงาน 25. ตอบ ขอ 2. เพราะประยุกตศิลป จัดเปนงานทัศนศิลปท่ีสรางขึ้นเพื่อตอบสนองประโยชนดานการใชสอยสําหรับการ ดํารงชวี ิตประจําวัน สว นหตั ถศลิ ป เปน งานทัศนศลิ ปท สี่ รางขนึ้ เพอ่ื นาํ ไปใชใ นงานหัตถกรรม พาณิชยศิลป เปนงานทศั นศลิ ปท ่ีสรา งขน้ึ เพอ่ื การคา เชน ปา ยโฆษณา การจัดตูโชว เปนตน และมัณฑนศลิ ป เปนงาน ทัศนศลิ ปที่สรา งขึน้ เพ่อื ใชใ นการตกแตง เชน การออกแบบเครอ่ื งเรือน ตกแตง อาคารสถานท่ี เปนตน โครงการวัดและประเมินผล (24)

26. ตอบ ขอ 2. เพราะผูที่ตองการประกอบอาชีพทางดานทัศนศิลป ไมจําเปนตองมีประสบการณทางดานศิลปะ กลาวคือ โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ ผทู ี่สามารถประกอบอาชพี ทางดา นศิลปะไดน้นั จะตองเปนบุคคลที่มคี วามคิดรเิ ร่ิมสรา งสรรค มจี ินตนาการ และสามารถถา ยทอดจนิ ตนาการออกมาเปน ผลงานทศั นศลิ ปได มคี วามถนดั และมคี วามรอบรทู างทศั นศลิ ป หลายแขนง มีความมานะ อดทน และพยายามแสวงหาความรูใหมๆ เพื่อนํามาพัฒนาผลงานทัศนศิลป ของตนใหม รี ูปแบบทแ่ี ปลกใหมอยูเสมอ 27. ตอบ ขอ 4. เพราะจะไดใ ชความรู ความสามารถ และเทคนคิ ท่มี ผี สมผสานกบั ความคดิ และจินตนาการในการออกแบบ สรางสรรคผ ลงานทัศนศิลปทมี่ ีความสวยงาม ตอบสนองความตองการของคนในสังคมและมีความทันสมยั เหมาะสมกับการใชงาน โดยอาศัยการจัดองคประกอบศิลปมาเปนสวนชวยใหผลงานทัศนศิลปมีความ เหมาะสม ลงตวั 28. ตอบ ขอ 4. เพราะคุณสมบัติของผูประกอบอาชีพนักออกแบบผลิตภัณฑน้ัน จะตองเปนคนชางคิด มีจินตนาการ รกั การเรยี นรู ชา งสงั เกต มเี หตผุ ล เขา ใจการเปลยี่ นแปลงในสถานการณต า งๆ ของสงั คม และมคี วามเขา ใจ ในงานออกแบบเฉพาะดา นเปนอยางดี 29. ตอบ ขอ 1. เพราะครูศลิ ปะ เปน บุคคลท่ีจะตอ งถา ยทอดความรูทางดา นทัศนศิลปใหแ กนักเรียน ซ่งึ ผทู จ่ี ะสามารถเปน ครูสอนศิลปะไดน ั้น จะตอ งมคี วามรพู ื้นฐานทางดานทัศนศลิ ปเ ปน อยางดี มีประสบการณในการสรา งสรรค ผลงานทัศนศิลป มีความสามารถในการถายทอดวิชาความรู เขาใจจิตวิทยาของเด็กในแตละชวงวัย รกั การสอน และตองมบี คุ ลกิ ลักษณะทเ่ี หมาะสมแกก ารเปน ครู 30. ตอบ ขอ 4. เพราะในการสรางสรรคผลงานของบุคคลที่ประกอบอาชีพศิลปนอิสระนั้น ยอมไดรับท้ังการชื่นชมและ การวจิ ารณผ ลงาน ดังนัน้ จงึ ตองมคี วามเช่อื มัน่ ในแนวทางท่ตี ัวเองยึดถอื ปฏบิ ัตอิ ยู แตกต็ องเปดใจยอมรับ ในแนวคิดใหมๆ เพื่อที่จะไดน ํามาพัฒนาผลงานของตนเองใหม คี ุณภาพทดี่ ีมากยิ่งข้ึน 31. ตอบ ขอ 1. เพราะการกระตุนการทําธุรกิจไมมีความเกี่ยวของกับการจัดนิทรรศการทางทัศนศิลป กลาวคือ การจัด นทิ รรศการทางทศั นศลิ ปน น้ั เปน การเผยแพรผ ลงานทศั นศลิ ปข องบคุ คล หรอื ศลิ ปน เพอ่ื ใหผ ชู มไดม โี อกาส ชมผลงานทศั นศลิ ปท ห่ี ลากหลาย เพอื่ สรา งความสนุ ทรยี ศลิ ป และฝก ทกั ษะในการบรหิ ารจดั การ ซงึ่ หลกั การ สําคัญในการจัดนทิ รรศการทางทศั นศลิ ปน้นั จะเปนการสงเสรมิ ความรู ความเขา ใจทางทศั นศลิ ป สง เสริม ความกลาแสดงออก และสง เสรมิ ความสามคั คี 32. ตอบ ขอ 3. เพราะการออกแบบที่ดี จะชวยสรางใหผลงานมีความโดดเดน สามารถกระตุนความสนใจของผูชมงาน ทาํ ใหส ามารถเดนิ ชมผลงานไดอ ยา งมคี วามสขุ ทงั้ นจ้ี ะตอ งอาศยั การจดั องคป ระกอบทดี่ ี การสอื่ ความหมาย ไดอยางชัดเจน ผลงานมคี วามนาสนใจ และออกแบบไดตรงกับวตั ถปุ ระสงคท ว่ี างไว 33. ตอบ ขอ 4. เพราะหลักการชมนิทรรศการที่ดี ผชู มควรปฏิบตั ติ น ดงั ตอไปน้ี 1. ควรไปถึงสถานทตี่ ามกําหนดเวลา 2. อา นเอกสารประกอบนทิ รรศการ เพอื่ ชว ยใหเ กดิ ประโยชนในการชมมากขน้ึ 3. เดินชมผลงานจนครบทุกแหง โดยยืนใหห า งจากผลงานประมาณ 1 เมตร 4. ไมสัมผัสจับตอ งผลงาน นอกจากเปนผลงานท่ีสามารถจับตอ งได หรอื ไดรับอนญุ าตจากเจาหนา ท่แี ลว 5. ไมวพิ ากษ วจิ ารณผลงานไปในทางเสยี หาย 6. เขาชมนิทรรศการดว ยความสาํ รวม รกั ษากิรยิ ามารยาท และประพฤติตนใหเ ปน สุภาพชนท่ดี ี (25) โครงการวัดและประเมินผล

โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 34. ตอบ ขอ 3. เพราะการจะคดั เลอื กผลงานทางทศั นศลิ ปม าใชใ นการจดั นทิ รรศการ จะตอ งมกี ารกาํ หนดเกณฑก ารคดั เลอื ก ผลงาน เน่อื งจากผลงานท่นี าํ ไปแสดงนัน้ จะตอ งมีความสอดคลองกบั เน้อื หาสาระท่ีกาํ หนดไว หากนาํ เสนอ ผลงานทม่ี คี วามหลากหลาย จะไมส ามารถทาํ ใหผ ชู มเขา ใจไดว า การจดั นทิ รรศการในครง้ั นมี้ เี ปา หมายอยา งไร 35. ตอบ ขอ 2. เพราะการคัดเลือกผลงานทัศนศิลปเพื่อจัดนิทรรศการที่ดีนั้น ควรใหมีบุคคลท่ีเกี่ยวของมาเขารวมในการ คดั เลอื กผลงาน ไมค วรคดั เลอื กผลงานเพยี งคนเดยี ว เนอ่ื งจากผลงานมจี าํ นวนมาก ซง่ึ จะตอ งมกี ารคดั กรอง ผลงาน โดยพจิ ารณาผลงานใหต รงกบั วัตถปุ ระสงคข องงาน หรอื เปา หมายของการจดั นิทรรศการ 36. ตอบ ขอ 2. เพราะประโยชนของการจัดนิทรรศการทางทัศนศิลปก็เพื่อตองการเพ่ิมพูนความรู ความสนใจแกผูชมได อยางมีประสิทธิภาพ สามารถรวบรวมความคิดที่เปนนามธรรมนําไปสูความคิดท่ีเปนรูปธรรม และเปน การสง เสริมความกลา แสดงออก หากนักเรียนมีโอกาสจัดนทิ รรศการเอง ก็จะไดแสดงความรู ความเขาใจ ใหก วา งขวางมากย่งิ ขึน้ ดงั น้นั การขายผลงานทศั นศิลป จงึ ไมจ ัดเปน ประโยชนของการจัดนทิ รรศการทาง ทัศนศลิ ป 37. ตอบ ขอ 4. เพราะวัฒนธรรมเปนแรงผลักดันทําใหเกิดการสรางสรรคผลงานทัศนศิลป และในขณะเดียวกันผลงาน ทศั นศลิ ปก ถ็ า ยทอดลักษณะเร่อื งราวของวฒั นธรรมลงไปดว ย ในลกั ษณะท่ีมคี วามเกอ้ื หนนุ กัน 38. ตอบ ขอ 4. เพราะคําตอบขอ 1.- 3. งานทัศนศลิ ปท่เี กิดข้นึ จากภมู ปิ ญ ญา และงานเครือ่ งกระดาษ จดั เปน งานทศั นศิลป ที่เกิดข้ึนจากภูมิปญญาเชนกัน กลาวคือ เปนงานท่ีประกอบขึ้นจากกระดาษท่ีไดมาจากวัสดุพ้ืนบาน เชน การทํากระดาษสาของภาคเหนือ เปนตน แตการประกอบรถยนตไมจัดเปนงานทัศนศิลปที่เกิดข้ึนจาก ภมู ิปญ ญา เพราะเปนสวนหนึง่ ในอุตสาหกรรมการผลติ รถยนต ทปี่ ระกอบดว ย 3 สวนหลกั คือ โรงงาน ผผู ลติ ชนิ้ สวน โรงงานประกอบรถยนต และการจัดจาํ หนายและบรกิ าร 39. ตอบ ขอ 2. เพราะจากภาพเปนพระพุทธรูปปางลีลาที่เกิดขึ้นในสมัยสุโขทัย จัดเปนพุทธศิลปท่ีมีความงดงามลงตัว แสดงใหเห็นถงึ ความงามตามแบบอุดมคติชน้ั สงู ในสมยั สุโขทยั เพราะมรี ปู รางลกั ษณะทงี่ ดงาม ทรวดทรง กริ ิยาทาทางออนชอ ย มีเครอื่ งประดบั ตกแตงดวยชฎาทีง่ ดงาม ซง่ึ แตกตา งจากยคุ สมัยอืน่ ๆ อยา งชัดเจน โดยเฉพาะพระเกศจะมรี ัศมเี ปลวเปน เอกลักษณ 40. ตอบ ขอ 3. เพราะวดั ไชยวฒั นาราม จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา เปน สถาปต ยกรรมแบบอยธุ ยาที่ไดร บั อทิ ธพิ ลและรปู แบบ ศิลปกรรมมาจากอาณาจกั รขอม ซ่ึงมปี รางคประธานและปรางคม ุมอยูบ นฐานเดียวกนั โครงการวัดและประเมินผล (26)

ตอนท่ี 2 ผลงานทางทศั นศลิ ปท ส่ี ามารถทาํ ใหผ สู มั ผสั เกดิ อารมณ และความรสู กึ ประทบั ใจไดน นั้ แสดงถงึ การสรา งสรรค โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ อยา งถกู ตอ งตามเกณฑข องการจดั อนั เปน พนื้ ฐานของความงามดา นศลิ ปะ ซง่ึ จะเกดิ ขนึ้ ไดต อ งประกอบดว ย 1. แนวตอบ องคประกอบยอยๆ หรอื ท่ีนิยมเรียกวา “ทัศนธาตขุ องงานทศั นศลิ ป” หรอื “หลกั การจัดองคประกอบศิลป” การจะเอาส่งิ ดังกลาวมาจัดรวมกนั ใหเ กดิ คณุ คาทางศิลปะไดนัน้ จะตอ งมีความรู ความเขา ใจอยา งถองแท 2. แนวตอบ ถงึ คณุ ลักษณะ ความสาํ คญั ความหมาย และการนําไปใช ซึง่ ทศั นธาตุแตละอยางกจ็ ะใหค ุณสมบตั ิ หรอื ความรสู กึ แตกตา งกนั ไป ทศั นธาตุ หรอื องคป ระกอบศลิ ปท เี่ ปน พนื้ ฐานในการนาํ ไปใชเ พอื่ สรา งสรรคผ ลงาน 3. แนวตอบ ทศั นศลิ ปจ ะประกอบไปดว ยจดุ เสน สี รปู รา ง รปู ทรง ลกั ษณะพน้ื ผวิ พนื้ ทว่ี า ง นาํ้ หนกั ออ น-แก และแสงเงา 4. แนวตอบ การออกแบบสรางสรรคผลงานตองรูจักเลือกสรรเอาสวนประกอบตางๆ ท่ีเปนทัศนธาตุ ไดแก จุด เสน สี รูปรา ง รูปทรง ลักษณะพนื้ ผวิ พน้ื ที่วาง นา้ํ หนักออน-แก และแสงเงา มาผนวกรวมกันเขา เปนผลงาน ทัศนศิลป โดยอาศัยพื้นฐานความรูทางดานการจัดองคประกอบศิลปมาเปนแนวทางในการจัดวางใหมี ความเปนเอกภาพ มีความสมดุล ไดจังหวะ ซ่ึงเราจะสามารถสรางสรรคผลงานไดดีมากนอยเพียงใดนั้น ขึ้นอยูกับความพากเพียรในการศึกษาใหเขาใจ ดูแบบอยางผลงานท่ีไดรับการยกยอง และท่ีสําคัญตอง หม่นั ฝก ฝนสรา งทักษะความชาํ นาญดว ยการลงมอื ปฏบิ ตั จิ รงิ หลักในการเลือกวสั ดแุ ละเศษวัสดมุ าใชใ นการสรางสรรคผ ลงานศลิ ปะแบบส่ือผสม มีดงั ตอไปน้ี 1. ใชวสั ดุท่ีหางายในทองถ่นิ 2. ใชว สั ดุที่มคี วามแข็งแรง และทนทาน 3. ใชวัสดทุ ีม่ คี วามหลากหลาย และมีสีสนั สวยงาม 4. ใชว สั ดทุ ีป่ ลอดภยั ไมก อใหเกดิ อันตรายตอ ผูใช 5. ใชวสั ดุใหตรงตามแบบท่รี า งไว และจะตอ งเหมาะสมกับชนิดของงาน ประโยชนข องการสรางสรรคง านศลิ ปะแบบสอ่ื ผสม จะกอใหเกดิ ประโยชนต า งๆ ดงั ตอ ไปนี้ 1. เปน การฝก ใหร จู กั คณุ คา ของส่ิงของทีเ่ หลือใชห รือของเกาที่ใชแลว สามารถนํามาสรางสรรคเ ปนผลงาน ศลิ ปะแบบสอื่ ผสมได และเปนการฝกใหรูจักการประหยัด อดออม 2. เปนการฝกใหเกิดทักษะและมีประสบการณในการสรางสรรคงานศิลปะแบบสื่อผสม ทําใหเปนคน มคี วามคดิ รเิ ริม่ สรา งสรรค 3. ใชเวลาวางใหเกิดประโยชน กอใหเกิดความสุข ความสนุกสนาน เพลิดเพลิน นอกจากน้ียังทําใหเกิด ความภาคภมู ิใจในตนเองเมอื่ ไดสรางสรรคผลงานขึ้นมา 4. เปน การสรา งใหเ กิดความรกั ความสามคั คีในหมคู ณะ การเอื้ออาทรตอ กัน ในกรณที ี่จะตองสรา งสรรค งานศิลปะแบบสอ่ื ผสมท่มี ขี นาดใหญ การทาํ งานรวมกันกจ็ ะชว ยใหเ กิดความเสียสละ รูจักการเปนผนู าํ ผตู ามที่ดี อันเปนคุณคา ท่ีจะชวยสรา งสรรคสงั คมใหน า อยขู ึน้ (27) โครงการวัดและประเมินผล

โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 5. แนวตอบ การวิจารณผลงานทัศนศิลปที่ดตี ามหลกั การและวิธกี าร มีขนั้ ตอน ดังตอ ไปน้ี 1. ขัน้ ระบุขอ มูลของผลงาน เปนขอมลู รายละเอยี ดเก่ยี วกับประเภทของงาน ช่ือผลงาน ช่อื ศิลปน ขนาด 6. แนวตอบ 7. แนวตอบ วสั ดุ เทคนคิ วธิ ีการ สรางเม่ือป พ.ศ. ใด ติดตั้งอยูที่ใด และมีรูปแบบการสรางสรรคเปน แบบใด 8. แนวตอบ 2. ข้นั ตอนการพรรณนาผลงาน เปน การบันทึกขอ มูลจากการมองเหน็ ภาพผลงานวาเปนภาพใด มเี ทคนิค ในการสรางสรรคผลงานแบบใด 3. ขัน้ วิเคราะห เปน การดภู าพรวมของผลงานวาจดั อยูในประเภทใด 4. ขั้นตีความ เปนการคนหาความหมายของผลงานวา ศิลปนตองการส่ือใหผูชมผลงานไดรับรูเก่ียวกับ เรอ่ื งใด 5. ขั้นประเมินผล เปนการประเมินคุณคาของผลงาน โดยสรุปใหเห็นขอดีและขอเสียในดานเนื้อหาและ เรอ่ื งราวของผลงานชนิ้ นั้นๆ แตกตางกัน เพราะการวิจารณศิลปะเปนวัฒนธรรมใหมของสังคมไทยท่ีมีความขัดแยงกับประเพณีดั้งเดิม ทีม่ ีกรอบทางความคิด ความเชอ่ื และคา นิยมแบบออนนอ มถอมตน หรือเชอ่ื ฟง ผูอยฐู านะสูงกวา ปจจุบนั แบบความคิดเก่ียวกับการแสดงความคิดเห็นและการวิจารณไดเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมมาก เปดโอกาสให มกี ารแสดงทัศนะอยางกวา งขวาง และหลากหลายเพม่ิ มากขน้ึ โดยเฉพาะเรอ่ื งของศลิ ปะสมัยใหมท ม่ี กี าร พัฒนาอยา งไมห ยดุ ยัง้ ท้ังรูปแบบ เนื้อหา และเทคนิค ผศู กึ ษาจาํ เปน ตองเขา ใจความหมาย ความคิด และ การแสดงออกจากผลงานเหลาน้ัน ซึ่งแนนอนวาการวิจารณศิลปะจะเปนวิธีการหน่ึงท่ีจะเชื่อมตอการ รับรูระหวางผูสรางงานศิลปะกับผูชมงานศิลปะได โดยผูวิจารณจะตองมีคุณสมบัติของนักวิจารณศิลปะ อันเหมาะสม เขาใจแนวทางการวิจารณผลงานทศั นศิลปไดอยางเปนข้ันเปนตอน รวมท้ังสามารถนําเสนอ ความคดิ เพ่มิ เติมไดโดยปราศจากอคติลําเอยี ง การสรา งสรรคง านดา นทศั นศลิ ป เปน ผลงานทสี่ รา งขนึ้ เพอื่ นาํ ไปใชใ หเ หมาะสมกบั การดาํ รงชวี ติ ของมนษุ ย การที่มนุษยรูจักสรางสรรค และรูจักดัดแปลงสิ่งตางๆ ท่ีมีอยูในธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมาประยุกตให สอดคลอ งกบั วถิ กี ารดาํ เนนิ ชวี ติ นบั เปน ความสามารถของมนษุ ยท ร่ี จู กั พฒั นาชวี ติ ใหม คี วามสขุ สะดวกสบาย คณุ คา ของงานทัศนศิลปท น่ี าํ มาประยกุ ตใชใหเ หมาะสม สง่ิ ท่ีสําคัญที่สุด คอื เพอื่ ตอบสนองความตอ งการ ทางกาย เพอ่ื ประโยชนในการดาํ รงชวี ติ นอกจากจะเนน ในเรอื่ งประโยชนใชส อยและความงามแลว ยงั คาํ นงึ ถงึ ความสุขทางดา นจิตใจดวย นิทรรศการทางศลิ ปะ เปน งานที่ใหความรู ใหความร่ืนรมยท างใจแกผ ชู ม เปน เวทีสําหรับผสู รา งสรรคและ ผูที่รักในงานศิลปะ ผูชมจํานวนมากคาดหวังจะไดเห็นผลงานศิลปะที่หลากหลาย เห็นถึงความคิดริเร่ิม สรางสรรค การพัฒนาผลงานทางศิลปะของศิลปน ผลงานทัศนศิลปท่ีไดสรางสรรคกันข้ึนมานั้น จะมี ความนาสนใจและมีคุณคามากข้ึนถานํามาจัดนิทรรศการ โดยนําเอาผลงานศิลปะหลากหลายรูปแบบจาก ผสู รางสรรคงานหลายๆ ทา น รวบรวมนาํ มาจดั แสดง เพื่อเปน การเผยแพรผลงาน ใหขอมูลขาวสาร และ ประเมินชิ้นงานท่ีไดสรางสรรคออกไปวาไดรับการตอบสนองจากผูชมมากนอยเพียงใด เพื่อจะไดนําขอมูล มาปรับปรุงผลงานใหด ีขน้ึ โครงการวัดและประเมินผล (28)

9. แนวตอบ ทศั นศลิ ป เปน ศลิ ปะของการรบั รดู ว ยสายตา อนั ประกอบไปดว ยจติ รกรรม ประตมิ ากรรม และสถาปต ยกรรม 10. แนวตอบ มวี วิ ฒั นาการสืบเน่อื งต้ังแตอดีตจนถึงปจ จบุ ัน โดยมรี ูปแบบทางทศั นศิลปท่ีมีความหลากหลายแตกตา งกัน ออกไป ขนึ้ อยกู บั ลกั ษณะประจาํ ชาตขิ องแตล ะประเทศ การสรา งสรรคผ ลงานทศั นศลิ ปม แี รงบนั ดาลใจมาจาก สภาพแวดลอ มทางธรรมชาติ ภมู อิ ากาศ ประเพณี และวฒั นธรรม และสว นประกอบอน่ื ทท่ี าํ ใหง านทส่ี รา งสรรค โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ ข้ึนมีลกั ษณะเฉพาะ ไดแก ศิลปะไทย และศลิ ปะสากล ซ่งึ ตา งกม็ ีแบบอยา งอันเปน เอกลักษณของตนเอง แสดงใหเ ห็นถงึ คณุ คาและความงดงามอยางนาสนใจ นอกจากนีย้ ังสะทอนใหเ ห็นถงึ ความสัมพนั ธเชอ่ื มโยง ระหวา งทศั นศลิ ปกบั วถิ ชี ีวติ และภูมิปญญาตางๆ ของแตละเช้อื ชาติไดอยางประสานกลมกลืน สง่ิ เหลา นี้ แสดงใหเ ห็นวา ทศั นศลิ ปมีบทบาทท่ีสาํ คัญอยา งสูงในการจรรโลงสังคมของมนษุ ยใหด าํ เนนิ ไปอยางปกติสุข เทคโนโลยี หมายถึง ความรู วทิ ยาการ เครื่องมือ และกระบวนการผลติ โดยท่ีเครื่องมอื และกระบวนการ ผลิตนั้นจะกอใหเกิดผลผลิตท่ีมีคุณภาพ ประหยัดแรงงาน และเวลา เคร่ืองมืออาจจะใชท้ังแรงงานคน ธรรมชาติ และแรงงานจักรกล เทคโนโลยจี ึงไมไ ดหมายถงึ แตเ พยี งเครอื่ งมอื และกระบวนการผลติ จักรกล อนั ทนั สมยั แตย งั หมายถงึ การผลติ อยา งใดอยา งหนงึ่ ทส่ี มั พนั ธก บั เวลา และความกา วหนา ทางวทิ ยาศาสตร สําหรับงานทัศนศิลปในยุคปจจุบันก็ไดมีการพัฒนาเปล่ียนแปลงเปนอยางมากมาย ศิลปะไมใชเพียงแต นําเสนอความประณีตงดงาม หากแตยังกาวไกลไปถึงความรูสึก อารมณ จิตใตสํานึก การเสนอความคิด อดุ มการณ สัญลกั ษณ และกระบวนการตางๆ อีกมากมาย ทางดา นกระบวนการผลติ ผลงานศิลปะสมยั ใหม ไดมีการใชเครื่องจักรกลตางๆ เขามาชวย รวมท้ังการใชคอมพิวเตอรเปนส่ือในการแสดงออก เพ่ือสราง ความแปลกใหมใหเกิดข้นึ ในวงการ (29) โครงการวัดและประเมินผล

เฉลยแบบทดสอบ ชุดท่ี 2 โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ ตอนที่ 1 1. ตอบ ขอ 2. เพราะธรรมชาติเปนผูใหกําเนิดสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมท่ีมีความสวยงาม ผลงานการสรางสรรคทาง ทัศนศิลปของมนุษยสวนใหญจึงไดรับแรงบันดาลใจมาจากธรรมชาติ โดยผูสรางสรรคพยายามถายทอด ความงามตามธรรมชาตอิ อกมาเปน ผลงานทศั นศลิ ปแ ขนงตา งๆ ดงั นน้ั ธรรมชาตจิ งึ เปรยี บเสมอื นครผู สู อน ใหม นษุ ยรจู กั ความงามจากธรรมชาติ 2. ตอบ ขอ 3. เพราะการสรางเขื่อน เปนการกอสรางสิ่งกอสรางขนาดใหญ เพ่ือใชในการเก็บกักน้ําและปองกันอุทกภัย รวมถงึ ผลิตกระแสไฟฟา โดยสวนบนของเขอ่ื นจะประกอบไปดว ยสวนท่เี รยี กวา “ทางนํา้ ลน” สาํ หรับใหน าํ้ ทีส่ งู กวาระดบั ทตี่ องการไหลผา นมาทีฝ่ ง ปลายน้าํ ดงั น้นั การสรางเขือ่ นเก็บกกั น้าํ จึงเปนการนําธรรมชาติ มาใชใ นการออกแบบ เพื่อรักษาส่งิ แวดลอมทางหนง่ึ 3. ตอบ ขอ 4. เพราะธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเปนแหลงทรัพยากรท่ีสําคัญในการสรางสรรคผลงานทัศนศิลป เปนแหลง กระตนุ ใหม นษุ ยเ กดิ แรงบนั ดาลใจ จนิ ตนาการ และการแสดงออกทางการสรา งสรรค แตธ รรมชาตทิ างกายภาพ มลี กั ษณะทเี่ ปน แงม มุ ทซี่ บั ซอ นกนั อยอู ยา งไมเ ปน ระเบยี บ ดงั นนั้ ผสู รา งงานทศั นศลิ ปจ งึ ตอ งเรยี นรวู า ตวั เอง จะศึกษาในเร่ืองใดกอน จึงจะสามารถใชแรงบันดาลใจจากธรรมชาตินํามาประยุกตใชในการสรางสรรค ผลงานทัศนศิลปอยางมคี ณุ ภาพ 4. ตอบ ขอ 1. เพราะมนษุ ยต องการสรา งสงิ่ ตางๆ ขน้ึ มา เพ่ือตอบสนองความตองการทางดา นรางกายและจิตใจ ไมว าจะ เปนส่ิงแวดลอ มทางวตั ถุ หรอื ส่ิงแวดลอ มท่ีสามารถมองเห็นได เชน อาคาร บา นเรอื น เคร่อื งบนิ โทรทัศน สวนดอกไม สนามเด็กเลน เปนตน ซง่ึ ส่ิงเหลานล้ี ว นถูกสรา งข้นึ เพือ่ อํานวยความสะดวก และตอบสนอง ความตองการในการดาํ รงชวี ติ ของมนษุ ย 5. ตอบ ขอ 2. เพราะธรรมชาตเิ ปน ปรากฏการณท ที่ าํ ใหเ กดิ การสรา งสรรคผ ลงานทศั นศลิ ปในรปู แบบตา งๆ มนษุ ยส ว นใหญ ไดรับแรงบันดาลใจ หรือเกิดความประทับใจตอความงามที่เกิดข้ึนตามธรรมชาติ จึงเลือกแงมุมบางดาน จากธรรมชาติมาเปน แบบอยา งในการสรา งสรรคผ ลงานทศั นศิลป 6. ตอบ ขอ 2. เพราะความสมดุลเปนคุณสมบัติที่สําคัญอยางหนึ่งในการจัดภาพ ซ่ึงการจัดภาพใหเกิดความสมดุลนั้น จะตองยึดเอาจุดศูนยกลางของภาพเปนหลักในการแบง เพราะตามปกติผลงานทัศนศิลปจะมีสวนท่ีเปน แกนกลาง หรือมีศูนยกลางทําใหแบงออกเปนดานซาย-ขวา บน-ลาง จึงมีความจําเปนอยางย่ิงท่ีจะตอง ทําใหทง้ั 2 ดา น โดยเฉพาะซาย-ขวา มสี วนที่สมดลุ กัน 7. ตอบ ขอ 1. เพราะประตมิ ากรรม เปน ผลงานทศั นศลิ ปส าขาหนง่ึ ทม่ี ปี ระวตั คิ วามเปน มายาวนาน ควบคกู บั งานจติ รกรรม ตงั้ แตสมัยกอ นประวตั ศิ าสตร แตง านประติมากรรมจะมคี วามแตกตางจากงานจติ รกรรม หรือการวาดภาพ เขยี น โดยมีลักษณะเปน 3 มติ ิ คอื มีความกวาง ความยาว และความหนาทสี่ ามารถจับตอ ง หรอื สัมผสั ได ซ่ึงถากลาวถึงประเภทงานประติมากรรมแลว จะหมายรวมถึงการปน การแกะสลัก ท่ีมีความแตกตางกัน ไปตามเทคนิค และกระบวนการสรางผลงาน โดยศิลปนผูสรางสรรคผลงานประติมากรรมจะสามารถสื่อ ความคิด จินตนาการ อารมณ และความรูส ึกของตนผานทางงานประตมิ ากรรมได โครงการวัดและประเมินผล (30)

8. ตอบ ขอ 3. เพราะงานปน แบบลอยตวั เปน การสรา งรปู ปน ทส่ี ามารถมองเหน็ ไดท กุ ดา นโดยรอบ ซงึ่ จะมลี กั ษณะเปน ภาพ โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 3 มิติ สว นมากจะมีฐาน เพอื่ สามารถวางตัง้ กับพื้นได เชน รูปปนอนสุ าวรีย รปู ปน เครื่องใชตางๆ เปนตน 9. ตอบ ขอ 4. เพราะในข้ันการตกแตงรายละเอียด เพื่อใหรูปปนนูนต่ํามีความคมชัด จะตองคอยๆ ปาดดินเหนียวออก ในสวนที่ไมตองการ และพอกดินเพิ่มเติมในสวนท่ีตองการปน ตกแตงสวนที่อยูภายในใหเกิดรายละเอียด ความคมชดั มคี วามสูงพอเหมาะ ปฏิบัตเิ ชน น้ีในทุกๆ สวนของรูปจนเสรจ็ สมบูรณ 10. ตอบ ขอ 2. เทคนคิ พเิ ศษท่ีออกุสต โรแดง (Auguste Rodin) นํามาใชในการสรา งงานประตมิ ากรรมของเขา คือ เทคนิค การปนและหลอ ดวยโลหะ ท่ีทําดว ยบรอนซ และหนิ ออ น 11. ตอบ ขอ 3. เพราะไมสัก เปน ไมทีม่ ีเนอ้ื ไมท ี่ไมแ ข็งจนเกินไป ลายไมจะมคี วามสวยงาม สามารถแกะเปนลวดลายตา งๆ ไดงาย เนอ้ื ไมจ ะหดตวั นอย ทนทานตอ สภาพดนิ ฟาอากาศและปลอดภยั จากปลวก มอด และแมลง 12. ตอบ ขอ 3. เพราะลักษณะของผลงาน “เถิดเทิง” เปนการแกะสลักไมในรูปแบบของผลงานเหมือนจริงกึ่งจินตนาการ ใหความออ นชอ ยในทิศทางของเสน และปริมาตร อากปั กิรยิ าแสดงถงึ วัฒนธรรมพน้ื บาน ซ่งึ ใหค วามรูสกึ ถึงการเคลอื่ นไหวอยา งสนกุ สนานและลงตวั 13. ตอบ ขอ 3. เพราะสสี เปรยม คี ณุ สมบตั ทิ ี่ใกลเ คยี งกบั สอี ะครลิ กิ กลา วคอื สามารถใชไ ดด กี บั วสั ดหุ ลายประเภท เชน โลหะ ไม กระจก พลาสติก แกว คอนกรีต หนิ ผา โฟม กระดาษ เปนตน จัดวา เปน สอี เนกประสงคที่แหง เรว็ สสี วย เงางาม มีความคงทน และสามารถยดึ เกาะไดดีบนทุกพ้ืนผวิ 14. ตอบ ขอ 2. เพราะการเขียนภาพที่ถกู ตอ งจะมีลําดบั วิธีการ ดงั ตอ ไปน้ี 1. จัดเตรียมภาพตนแบบและอปุ กรณก ารวาดภาพ 2. หามุมทีม่ องแลว เกิดความชัดเจนของน้ําหนกั แสงเงา 3. รา งภาพใหร ปู ทรงเหมาะสมกับหนา กระดาษ 4. แรเงาดวยดินสอดาํ หรือระบายสีใหส วยงาม 15. ตอบ ขอ 3. เพราะดินสอ 2B เปนดินสอที่นิยมนํามาใชในการวาดรูปกันมากท่ีสุด เน่ืองจากมีความเขมนอย จึงนิยม นํามาใชรางภาพบางๆ กอนที่จะลงเสนทับ ซึ่งดินสอท่ีใชในการวาดเขียน มักจะใชดินสอท่ีระบุความเขม เปนจํานวน B กํากบั ซงึ่ อาจเรมิ่ ตง้ั แต HB, 2B ไปจนถึง 6B ดินสอทมี่ ีความเขมนอยอาจใชใ นการรา งภาพ และดนิ สอทมี่ คี วามเขม มากใชใ นการแรเงา 16. ตอบ ขอ 4. เพราะสีชอลก เปนสีฝุนผงละเอียดบริสุทธ์ิท่ีนํามาอัดเปนแทง ใชในการวาดภาพ ในปจจุบันไดมีการผสม ข้ีผึง้ หรอื กาวยางไมเ ขาไป แลวอัดเปนแทงในลักษณะของดนิ สอสี แตจ ะมีเนือ้ สที ล่ี ะเอยี ดมากกวา มีขนาด แทงท่ีใหญก วา และมีราคาแพงกวา มาก สีชอลก จะนิยมนาํ มาใชในการวาดภาพเหมอื น 17. ตอบ ขอ 4. เพราะสีฝุน เปนสีท่ีมีลกั ษณะทึบแสง มเี นอ้ื สีคอ นขางหนา สามารถเขยี นสที ับกนั ได สฝี ุนนยิ มนํามาใชใน การเขียนภาพท่วั ไป โดยเฉพาะภาพวาดฝาผนัง สําหรบั ชา งจติ รกรรมไทยจะใชยางมะขวดิ หรือกาวกระถนิ เปนตัวชวยใหสีเกาะติดพ้ืนผิวหนาวัตถุไมหลุดไดโดยงาย สีฝุนในปจจุบันจะมีลักษณะเปนผง เม่ือนํามาใช งานจะตอ งนาํ มาผสมกบั นาํ้ โดยไมต อ งผสมกาว เนอ่ื งจากในกระบวนการผลติ ไดผ สมกาวเอาไวเ รยี บรอ ยแลว 18. ตอบ ขอ 3. เพราะจากภาพไดแ สดงความแตกตา งทชี่ ดั เจนทสี่ ดุ คอื สกี ายของตวั ละคร เชน พระรามสเี ขยี ว พระลกั ษมณ สเี หลือง หนมุ านสขี าว เปนตน (31) โครงการวัดและประเมินผล

โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 19. ตอบ ขอ 4. เพราะศิลปะรูปลักษณ (Figurative Art) เปนงานทัศนศิลปที่แสดงรูปลักษณะของคน สัตว และส่ิงอ่ืนๆ ท่ีพบเห็นในธรรมชาติ มีความหมายตรงขามกับศิลปะนามธรรม (Abstract Art) และบางคร้ังมักใชใน ความหมายเดยี วกนั กบั คาํ วา “ศิลปะแสดงลกั ษณ” (Representation Art) ซ่ึงศิลปะรปู แบบนสี้ ามารถสังเกต ไดจ ากศลิ ปน จะนาํ เสนอสงิ่ ทเี่ ขามปี ระสบการณแ ละไดพ บเหน็ เทา นนั้ โดยไมม กี ารเปลยี่ นแปลง หรอื บดิ เบอื น ไปจากความเปนจรงิ แตอยางใด 20. ตอบ ขอ 3. เพราะศลิ ปะไรร ปู ลกั ษณ (Non-Figurative art) ซงึ่ สามารถสงั เกตไดจ ากภาพทศี่ ลิ ปน ตอ งการสอ่ื ความหมาย กลาวคอื ศิลปะไรรปู ลกั ษณ เปนแบบอยางท่แี ยกความรสู ึกหรอื อารมณจ ากรูปทรงท่ีเปน จรงิ แสดงใหเหน็ ถึงสนุ ทรยี ภาพ จดั เปน ผลงานทศั นศิลปท ี่สามารถรบั รูและซาบซ้ึงไดตามเอกตั ภาพ โดยไมจําเปน ตองเปน อยา งเดยี วกบั ความตัง้ ใจของผูส รา งสรรคผลงาน ศลิ ปะไรร ปู ลักษณ จงึ เปน ลักษณะผลงานทศั นศลิ ปท่สี กดั ความรสู ึกโดยรวมจากสภาพ หรอื สิง่ แวดลอมอนั เปนโลกภายนอก นาํ มาแสดงใหปรากฏดวยส่อื และวสั ดุ ตา งๆ ความรสู กึ ทส่ี มั ผสั ผลงานไดน นั้ จะผา นคณุ ภาพ และบคุ ลกิ ภาพของผสู รา งสรรคอ อกมา การถา ยทอด ศลิ ปะจะไมส นใจในเรื่องธรรมชาตติ ามที่ตาเห็น แตจ ะใหความสําคญั กับสวนประกอบการเหน็ หรอื ทัศนธาตุ เชน สี รปู รา ง รปู ทรง เปน ตน 21. ตอบ ขอ 1. เพราะภาพหวีด (The Scream) ผลงานของเอด็ วารด มุงค (Edvard Munch) แสดงใหเห็นถึงภาพผูชาย ทก่ี ําลงั ทาํ ทากรดี รอ งและเอามือปอ งหู แสดงอารมณห วาดกลวั ที่สอื่ ออกมาอยางชัดเจน การใชสกี ส็ ะทอน ความกังวลและความทอแทส้ินหวัง จัดเปนภาพที่แสดงออกทางจิตสํานึก คือ เปนภาพที่แสดงใหเห็น อารมณต างๆ ทางจติ ใจ เชน ความเหงา ความเจบ็ ปวด ความกลวั เปน ตน 22. ตอบ ขอ 1. เพราะวดั จดั เปน สถานทท่ี ี่ใชป ระกอบพธิ กี รรมตามความเชอ่ื ในพระพทุ ธศาสนา ซง่ึ ในเรอื่ งของความศรทั ธาน้ี สามารถแสดงออกมาในเรอื่ งความเชอื่ ลทั ธิ การเคารพบชู า โดยศลิ ปน จะแสดงออกถงึ ความศรทั ธาแรงกลา ท่ี มตี อ ศาสนาออกมาเปน ผลงานทศั นศลิ ป เชน อาจารยเ ฉลมิ ชยั โฆษติ พพิ ฒั น ไดอ ทุ ศิ ตนสรา งวดั รอ งขนุ ขนึ้ ทต่ี าํ บลปา ออ ดอนชยั อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั เชยี งราย โดยมแี รงบนั ดาลใจมาจากชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ  เปน ตน 23. ตอบ ขอ 2. เพราะงานลงรักปดทอง จัดเปนงานประณีตศิลปประเภทหนึ่งท่ีแสดงออกซึ่งความงาม เปนการตกแตงผิว ภายนอกของศิลปวัตถุ หรอื องคประกอบของงานสถาปตยกรรมแบบไทยประเพณี ดวยการลงรกั หรือทา ยางรกั แลว ปด ทองคาํ เปลวทบั จงึ ทาํ ใหผ วิ ของศลิ ปวตั ถุ หรอื องคป ระกอบของงานสถาปต ยกรรม เปน สที อง เหลอื งอรา ม ประหนงึ่ วา ทาํ จากทองคาํ อนั เปน ความเชอื่ ตามขนบนยิ มในสงั คมไทยทม่ี มี าแตโ บราณ ผลงาน จะมีความละเอยี ดออน สวยงาม เพราะชางจะใชค วามวริ ิยะอดทนเปนอยา งมากในการสรา งสรรคผลงาน 24. ตอบ ขอ 3. เพราะการวิเคราะหผลงานทัศนศิลปจะทําใหทราบถึงขอดีและขอควรปรับปรุงแกไขของผลงาน เพ่ือนํา ขอ คดิ ที่ไดร ับไปปรบั ปรุง แกไ ข พัฒนาผลงานทศั นศิลปใหม ีคุณคา มากย่งิ ข้ึน 25. ตอบ ขอ 3. เพราะความคิดสรา งสรรค (Creative Thinking) ในทางศลิ ปะจะมีลักษณะเปน การสรา งสรรค หรือนาํ เสนอ ผลงานทม่ี กี ารพฒั นาเปลยี่ นแปลงไปจากเดมิ หรอื ทาํ ของเดมิ ใหด ขี น้ึ หรอื มคี วามแปลกใหม อาจจะเปน การ พฒั นาของเดมิ ใหด ขี นึ้ หรอื ทาํ ในสง่ิ ทค่ี นอนื่ ไมเ คยทาํ มากอ นก็ได ซงึ่ ผลงานนนั้ ควรมคี ณุ คา ตอ ตวั ผสู รา งสรรค ผลงานเอง รวมท้ังสังคมและวัฒนธรรมดว ย 26. ตอบ ขอ 1. เพราะการคิดสรางสรรคจะเกิดข้ึนจากการบูรณาการสวนประกอบท่ีสําคัญ 3 ประการ เขาดวยกัน ไดแก การรับรู จินตนาการ และประสบการณ โครงการวัดและประเมินผล (32)

27. ตอบ ขอ 2. เพราะบุคคลที่จะเปน นักสรางสรรคผ ลงานทศั นศิลปท ดี่ ีจะตองมคี ุณลักษณะ ดงั ตอ ไปนี้ โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 1. จะตอ งมคี วามไวตอการรบั รู 2. เปนคนท่ีมีลักษณะยืดหยุน ในความคดิ 3. มีลกั ษณะอสิ ระทางการคดิ 4. เปน คนใจกวา ง มองโลกในแงดี 5. มีความสามารถในการคิดวิเคราะห 6. มคี ณุ ลกั ษณะทแี่ สดงความสามารถในเชงิ สงั เคราะห หรอื บรู ณาการองคป ระกอบตา งๆ เขา ดว ยกนั ใหเ ปน รูปแบบใหม 7. มลี กั ษณะท่แี สดงถงึ ความมีพลงั มีแรงจงู ใจ 8. ไมหยุดน่ิงทางความคิด 28. ตอบ ขอ 3. เพราะนักออกแบบผลิตภัณฑจะทําหนาท่ีออกแบบผลิตภัณฑที่มีลักษณะและรูปแบบการใชงานท่ีแตกตาง กันออกไป เชน เฟอรน ิเจอร เครอ่ื งมอื เครื่องใช ของตกแตง บา น เคร่อื งประดับ เปน ตน นอกจากน้ี ยงั ทํา หนาท่ีในการเขียนแบบ พัฒนาผลิตภัณฑ และควบคุมดูแลการผลิตใหเปนไปตามแบบที่ถูกกําหนดไว เพือ่ ใหไดผลงานท่มี ีลักษณะตรงตามความตอ งการของผบู ริโภค 29. ตอบ ขอ 4. เพราะชางสิบหมู เปนชา งศิลปท ี่มฝี มอื มีประสบการณ สรา งผลงานทรงคุณคา ในแตล ะชนิ้ ไดนาํ ไปใชเปน เครื่องราชูปโภค ผลงานแตล ะชิน้ ท่ถี กู สรา งขึน้ มายอ มมคี วามประณีต และสวยงามเปนพเิ ศษ 30. ตอบ ขอ 4. เพราะจากภาพจัดเปนงานทัศนศิลปประเภทลงรักปดทอง ซึ่งเปนการตกแตงผิวภายนอกของศิลปวัตถุ ดวยการลงรัก หรือทายางรัก แลวปดทับดวยแผนทองคําเปลว จึงทําใหผิวของศิลปวัตถุมีสีทอง มันวาว เหมอื นวา ทาํ ดว ยทองคํา 31. ตอบ ขอ 1. เพราะข้ันวางแผน เปน การเตรยี มการเพอ่ื กาํ หนดข้ันตอนสําหรับเปนกรอบในการปฏบิ ัติงาน เพื่อใหบุคคล ที่มีความเก่ียวของเกิดความเขา ใจท่ีตรงกัน มองเห็นภาพรวมของผลงาน ซงึ่ การกําหนดวัตถปุ ระสงคจะถูก สรา งขึน้ ในข้นั ตอนน้ี 32. ตอบ ขอ 4. เพราะการจัดนิทรรศการที่ดีนั้น นับวาเปนประโยชนตอผูสรางสรรคผลงานที่จะไดมีพ้ืนที่สําหรับแสดง ฝม ือ ความสามารถทางศิลปะของตนเอง กอใหเ กิดการพัฒนาในวงการศลิ ปะ การจดั นทิ รรศการจะประสบ ความสาํ เรจ็ ไดม ากนอยเพียงใดนัน้ ข้ึนอยกู ับผลงานทัศนศลิ ปท ีม่ ที งั้ ปรมิ าณ และคณุ ภาพ ดังนน้ั จงึ มีการ กําหนดกฎเกณฑสําหรับใชคัดเลือกผลงานทัศนศิลป ซึ่งเกณฑดังกลาวตองกําหนดใหมีความเหมาะสม สอดคลองกบั วัตถปุ ระสงคของการจดั นทิ รรศการ 33. ตอบ ขอ 1. เพราะจากภาพผลงานชิ้นน้ี จะมีเอกลักษณที่โดดเดนในเรื่องการใชสีที่รุนแรง ในการสื่อความหมายทาง อารมณ มที ง้ั การใชค สู ตี รงขา มมาอยดู ว ยกนั หรอื มหี ลายสีในภาพเดยี วกนั สรา งความรสู กึ ตนื่ เตน แปลกใหม ใหแ กผ ทู ่ีไดช ม ซึง่ จดั เปน ศิลปะลทั ธิโฟวิสม (Fauvism) เปนลัทธทิ างศลิ ปะทม่ี จี ดุ เร่ิมตนในประเทศฝรง่ั เศส โดยมอี อ็ งรี มาติส (Henri Matisse) เปน หวั หนาลัทธิ 34. ตอบ ขอ 1. เพราะเปน การเตรยี มการ โดยกาํ หนดขน้ั ตอนสาํ หรบั ใชเ ปน กรอบในการปฏบิ ตั งิ าน เพอื่ ใหบ คุ คลทเ่ี กยี่ วขอ ง มองเห็นภาพรวมของงาน และเกิดความเขา ใจในรูปแบบของงานที่ตรงกนั (33) โครงการวัดและประเมินผล

โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 35. ตอบ ขอ 2. เพราะข้ันวางแผน เปนขั้นของการคิดในการดําเนนิ การจดั นทิ รรศการทงั้ หมด โดยเร่มิ ตงั้ แตการหาชอื่ เรื่อง ของนทิ รรศการ การกําหนดจดุ มุง หมาย งบประมาณ สถานที่ ไปจนถงึ ข้นั สดุ ทา ยของการจดั นทิ รรศการ คือ การสรุปและประเมินผล 36. ตอบ ขอ 2. เพราะมนุษยไดเขียนภาพสี ขูดขีดบนผนังถํ้าและเพิงผา เปนภาพสัตว การลาสัตว และภาพลวดลาย เรขาคณิต โดยมีจุดมุงหมายเพ่ือแสดงออกเกี่ยวกับวิถีชีวิตประจําวัน และแสดงความสามารถในการ ลาสัตว ภาพเหลาน้ีจะระบายดวยถานไม และสีที่ผสมกับไขมันสัตว สามารถพบภาพเหลาน้ีไดภายใน ถาํ้ ลาสโกซ (Lascaux Cave) ประเทศฝรั่งเศส และถ้ําอัลตามริ า (Altamira Cave) ประเทศสเปน 37. ตอบ ขอ 2. เพราะชาวอียิปตมีศาสนาและพิธีกรรมอันซับซอน แทรกซึมอยูในวัฒนธรรมมาเปนระยะเวลายาวนาน มี การนับถือเทพเจาและกษัตรยิ ทเ่ี รียกวา “ฟาโรห” ดังนัน้ ผลงานทัศนศิลปป ระเภทจติ รกรรม ประติมากรรม และสถาปตยกรรมสวนมากจึงเปนเร่ืองเก่ียวกับศาสนา พิธีกรรม โดยเฉพาะพิธีฝงศพ ซ่ึงชาวอียิปตมี ความเชอ่ื วา เมอื่ ตายแลว จะยงั มชี วี ติ อยูในโลกใหมไ ดอ กี จงึ มกี ารรกั ษาศพไวอ ยา งดี และนาํ สงิ่ ของเครอื่ งใช ทีม่ คี าของผูต ายบรรจุลงไปในโลงศพดวย 38. ตอบ ขอ 3. เพราะงานจิตรกรรมของโรมนั นยิ มนาํ โมเสก ซง่ึ เปนเศษหนิ กระเบอ้ื ง แกว ทีม่ รี ูปลักษณและสีตา งๆ มาใช โดยการติดลงไปที่รูปทีละชิ้นจนเกิดเปนภาพ โดยใชกาวหรือปูนเปนตัวยึด การทําภาพโมเสกเปนงานที่มี ความละเอยี ดออนและประณตี จะใชระยะเวลาในการสรา งผลงานยาวนาน 39. ตอบ ขอ 3. เพราะลักษณะเดน ของสถาปตยกรรมในยุคน้ี คอื ความเทอะทะ ลักษณะตัวอาคารมีความเรยี บงา ย ดขู งึ ขงั และไมซับซอน นิยมทําหลังคาเปนรูปโคง ตัวอาคารหนาทึบคลายกับปอมปราการ ใชหนาตางแบบวงลอ เปน รูปวงกลมทถ่ี กู แบง ออกเปนซีๆ่ ผลงานช้ินสาํ คญั เชน มหาวิหารแซงตเ อเตียนนแ หง บรู ก (Bourges Cathedral) ประเทศฝรงั่ เศส หอเอนเมืองปซา (The Leaning Tower of Pisa) ประเทศอติ าลี เปนตน 40. ตอบ ขอ 4. เพราะลักษณะของผลงานทัศนศิลปส ว นใหญท ี่มีลักษณะเฉพาะของศลิ ปนแตละคน จะเนน ความเปนตัวของ ตัวเองทั้งน้ัน ซึง่ จดั เปน รูปแบบของศิลปะสมัยใหม หรอื ศิลปะรวมสมยั ผลงานจะมีลกั ษณะเปน สากล และ มแี บบอยางเฉพาะของแตละบุคคล โครงการวัดและประเมินผล (34)

ตอนที่ 2 การออกแบบที่ดีสามารถนํามาใชในการวางแผนการทํางานใหเปนไปตามขั้นตอนอยางเหมาะสม และ โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ ประหยดั เวลา การออกแบบจะชว ยใหผ ทู เ่ี กย่ี วขอ งมคี วามเขา ใจตรงกนั อยา งชดั เจน สามารถสอ่ื ความหมาย 1. แนวตอบ เพอ่ื สรา งความเขา ใจระหวา งกนั ได สามารถอธบิ ายรายละเอยี ดเกยี่ วกบั งานบางประเภททอี่ าจมรี ายละเอยี ด 2. แนวตอบ มาก ซึง่ ชวยใหผูเกี่ยวของ และผูพ บเหน็ มีความเขาใจท่ีชดั เจนขน้ึ และการออกแบบจะมคี วามสาํ คัญมาก ถา ผูออกแบบกับผูสรางงาน หรือผผู ลติ เปน คนละคนกนั 3. แนวตอบ ผลงานการสรา งสรรคท างทศั นศลิ ปข องมนษุ ยส ว นใหญไ ดร บั แรงบนั ดาลใจมาจากธรรมชาติ โดยผสู รา งสรรค 4. แนวตอบ พยายามถา ยทอดความงามตามธรรมชาตอิ อกมาเปน ผลงานทางทศั นศลิ ปแ ขนงตา งๆ อยา งไรกต็ าม ผลงานท่ี ธรรมชาตสิ รา งสรรคข นึ้ นนั้ เราไมน บั วา เปน ผลงานศลิ ปะ ซง่ึ การทบี่ คุ คลจะสามารถนาํ ความรู ความประทบั ใจ 5. แนวตอบ มาสรา งสรรคเ ปน ผลงานทศั นศลิ ปไดด เี พยี งใดนนั้ จะตอ งเขา ใจองคป ระกอบทส่ี าํ คญั ในการสรา งสรรคผ ลงาน 6. แนวตอบ ทัศนศิลปก อน นอกจากน้ี ยงั จะตอ งรูและเขา ใจเทคนคิ รวมถึงกระบวนการสรา งสรรคผลงานอกี ดวย จงึ จะ สามารถถายทอดผลงานออกมาไดอ ยางงดงาม นา ประทับใจตามเจตนารมณท ่กี ําหนดไว ขัน้ ตอนและวิธีการปน รปู ตามแบบของจรงิ มีดงั ตอ ไปนี้ 1. หาแบบตวั อยางทส่ี นใจแลว พิจารณาลักษณะ 2. ปนดินเหนียว หรือดินนํ้ามันเปนโครงสรางแบบคราวๆ จากน้ันหารูปแบบสวนรวมของแบบใหถูกตอง ตามทเ่ี ปนจรงิ 3. ปน ดินเหนียว หรอื ดนิ นาํ้ มันใหไดส ดั สว น โดยพอกดนิ ทลี ะนอย 4. เตรยี มองคป ระกอบ และรายละเอยี ดทเี่ กย่ี วของ เพื่อนาํ มาเสรมิ ใหเหมอื นจริง และนา สนใจ 5. ตกแตง รายละเอยี ดเพิ่มเติมตามจนิ ตนาการไดอยา งอสิ ระ จนผลงานเสร็จเรียบรอยสมบูรณ แตกตา งกนั เพราะสนี า้ํ จะมคี วามโปรง ใส (Transparent) ละลายนาํ้ งา ย และเกาะตดิ กระดาษ เวลาระบายจะ ใชพ กู นั แตะสลี ะลายกบั นาํ้ จากนนั้ นาํ มาระบายบนกระดาษขาว ควรระบายเพยี งครง้ั เดยี ว และไมค วรระบาย สตี างๆ ซํา้ หรือทบั กันหลายๆ รอบ เพราะจะทาํ ใหสหี มน สว นสีโปสเตอร จดั เปนสีชนิดสฝี นุ (Tempera) ท่ี ผสมกาวนา้ํ บรรจใุ นขวด การใชง านมีลักษณะเหมือนกบั สีนํ้า คอื ใชนาํ้ เปน ตัวผสมใหเจือจาง สโี ปสเตอร เปนสที บึ แสง มีเน้ือสที ี่ขน แหง เรว็ สามารถระบายใหมเี นอ้ื เรียบได และสามารถใชส ีขาวมาผสมกบั สอี ื่นๆ ใหม นี าํ้ หนกั สอี อ นลงไดเ หมอื นกบั สนี า้ํ มนั หรอื สอี ะครลิ กิ นอกจากน้ี ยงั สามารถระบายสที บั กนั ไดห ลายครง้ั เพราะงานประณีตศิลป เปนงานที่สรางข้ึนดวยความละเอียดออน ซึ่งเกิดจากความตั้งใจของผูสรางสรรค ผลงานในการท่ีจะถายทอดฝมือท้ังหมดลงไปอยูในงานช้ินน้ันๆ จึงทําใหผลงานที่ออกมามีความงดงาม ออ นชอ ยแตกตางไปจากงานท่ถี ูกสรางขึน้ จากอุตสาหกรรมศลิ ปในปจจบุ ัน ผูป ระกอบอาชีพทางทัศนศลิ ปทมี่ ีคุณภาพ จําเปนตอ งมีคณุ สมบตั ติ า งๆ ดงั ตอไปนี้ 1. มคี วามซื่อสัตย 2. มวี นิ ัยในตนเอง 3. มีความคิดสรางสรรค 4. มีความรอบรทู างศิลปะ (35) โครงการวัดและประเมินผล

โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 7. แนวตอบ 5. มีความอดทน มานะ พยายาม 8. แนวตอบ 6. มีทศั นคติท่ดี ตี อ การประกอบอาชพี 7. มมี นษุ ยสัมพนั ธท่ดี ีตอ คนรอบขาง 9. แนวตอบ 8. มคี วามรูพ้ืนฐานในการเริม่ ตน ประกอบอาชพี 10. แนวตอบ 9. มกี ารพัฒนาตนเองใหม ีคุณลักษณะเหมาะสมกับการประกอบอาชพี ทางทศั นศลิ ป นทิ รรศการ (Exhibition) การแสดงผลงาน สนิ คา ผลติ ภัณฑ หรือกิจกรรมใหค นทวั่ ไปไดช ม ถอื เปน วธิ กี าร ประกาศ โฆษณา ประชาสัมพนั ธอยางหน่ึง ที่จําเปน ตอ งมสี ิ่งของ รปู ภาพ ตลอดจนการแสดง เพ่ือดึงดูด ความสนใจของผทู จี่ ะเขา มาชมงาน เชน การจดั นทิ รรศการทางวทิ ยาศาสตร การจดั นทิ รรศการทางทศั นศลิ ป การจัดนทิ รรศการทางเทคโนโลยี เปนตน ซึง่ เปนการจัดเพอ่ื ใหผชู มทราบถึงเรื่องราว ประวตั ิความเปน มา และส่ิงทีผ่ ูผลติ สรา งขน้ึ การจดั นิทรรศการใหป ระสบผลสําเร็จ ควรดาํ เนนิ การ ดังตอ ไปน้ี 1. ควรมีการวางแผนไวลว งหนา และมเี วลาในการเตรยี มตัวอยา งพอเพียง 2. ควรแบงหนา ท่คี วามรับผิดชอบในทมี โดยพจิ ารณาจากความถนัดของแตล ะบุคคล 3. ติดตอ ประสานงาน ประชาสัมพันธ ขอความรว มมือจากบุคคลทมี่ ีหนา ทเี่ ก่ียวของ 4. ประชาสมั พนั ธก ารจัดนิทรรศการ 5. คดั เลือกผลงานทจ่ี ะนาํ มาจัดแสดง โดยการพิจารณาอยา งรอบคอบ สมเหตสุ มผล 6. จัดเตรียมวสั ดุ อุปกรณ และเครื่องมอื เพ่อื ใชใ นการจัดนิทรรศการ 7. ดาํ เนนิ การจดั สรา งตามขน้ั ตอนท่ีไดม ีการวางแผนไว 8. จดั วางส่ิงของที่แสดงในตําแหนง ท่ีกําหนดไว โดยจัดไวใ หอ ยูในระดบั สายตาของผชู ม แตล ะประเทศจะมลี ักษณะทางวัฒนธรรมท่ีตางกัน จึงทาํ ใหร ปู แบบของงานทศั นศิลปทีเ่ กดิ ข้ึนน้นั มีรูปแบบ ที่แตกตางกันออกไปดวย เพราะจะมีรูปแบบและเอกลักษณเฉพาะตัวท่ีสามารถทําใหเห็นถึงความแตกตาง แลว สามารถบอกไดวาเปนผลงานท่ีเกดิ ขน้ึ จากชาติใด งานศิลปะพ้ืนบาน หรือศิลปกรรมหัตถกรรมพ้ืนบาน ที่เลือกใชวัสดุซ่ึงดัดแปลงจากทรัพยากรธรรมชาติท่ี หาไดงายในทองถิ่นมาประดิษฐเปนเคร่ืองมือ เครื่องใชตางๆ ตามเทคนิคและรูปแบบท่ีไดรับการถายทอด สบื ตอ กันมา โดยจุดประสงคหลกั คอื ทาํ ขึน้ เพื่อใชส อยในชวี ติ ประจําวัน และเพือ่ ตอบสนองความตองการ ของมนุษยในดา นรางกายและจติ ใจ งานศลิ ปะพ้ืนบา นท่ีแสดงใหเห็นถงึ ภูมปิ ญ ญาที่ไดรับการสบื ทอดกนั มา มอี ยูหลายชนิด เชน งานจักสาน งานแกะสลัก งานปน งานหลอ ดวยโลหะ การกอสราง เปนตน โครงการวัดและประเมินผล (36)

เฉลยแบบทดสอบ ชุดที่ 3 ตอนที่ 1 1. ตอบ ขอ 1. เพราะการออกแบบ หมายถงึ การสรางสรรคส ิ่งใหมๆ เพื่อประโยชนใชสอยและความสวยงาม ดว ยการนํา โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ ทัศนธาตทุ างทัศนศลิ ป และหลักการจดั องคประกอบของการออกแบบมาใช รวมไปถึงการปรับปรงุ ของเดมิ ทีม่ ีอยูแลวดัดแปลงใหมีความเหมาะสมมากยงิ่ ข้ึน ดังนน้ั การสรา งสง่ิ ใดๆ ก็ตาม สง่ิ แรกจะตองเร่ิมตนดวย การออกแบบ อาจจะออกแบบโดยการคดิ หรอื มคี วามคดิ อยูในสมอง ซง่ึ เปน แนวคดิ ของผสู รา งเพยี งคนเดยี ว และสามารถอธิบายใหคนอ่ืนเขาใจได ซึ่งก็เปนการออกแบบเหมือนกัน แตอาจจะยังไมสมบูรณมากนัก การออกแบบที่ถูกตอง จะตองสามารถมองเห็นแบบ อาจจะเปนภาพ หรือแบบจําลองที่มีขนาดสัดสวน เหมาะสมสามารถมองเหน็ ผลงานทจี่ ะสรางไดอ ยางชัดเจน 2. ตอบ ขอ 2. เพราะการออกแบบ เปนการถา ยทอดรปู แบบจากความคดิ ออกมาเปน ผลงานท่สี ามารถมองเห็น รับรู หรอื สมั ผสั ได ซ่ึงในการออกแบบจะมีความสาํ คญั ดงั ตอ ไปนี้ 1. การวางแผนการทาํ งาน หรือการออกแบบ จะชว ยใหการทํางานเปน ไปตามข้ันตอน และประหยดั เวลา 2. การนาํ เสนอผลงาน ผลงานออกแบบจะชว ยใหผ ทู เ่ี ก่ียวขอ งเกดิ ความเขาใจทตี่ รงกนั 3. อธิบายรายละเอียดเก่ียวกับผลงาน ผลงานออกแบบจะชวยใหผูท่ีเก่ียวของและผูชมมีความเขาใจ ท่ชี ัดเจนขึ้นมากย่ิงขน้ึ 4. แบบจะมคี วามสาํ คญั มาก ในกรณที นี่ กั ออกแบบกบั ผสู รา งงาน หรอื ผผู ลติ เปน คนละคนกนั เชน สถาปนกิ กับชา งกอสรา ง นักออกแบบกับผผู ลิตในโรงงาน เปนตน 3. ตอบ ขอ 2. เพราะผูที่จะออกแบบงานกราฟกไดดี นอกจากจะตองมีทักษะความรู ความเขาใจในดานการใชเคร่ือง- คอมพวิ เตอรแ ลว ส่ิงสาํ คญั อีกประการหน่ึง คอื ตอ งมีความรู ความเขาใจดานสุนทรยี ะ หรือรอบรหู ลกั การ จัดองคประกอบศลิ ปดวย 4. ตอบ ขอ 2. เพราะการออกแบบรา งภาพในงานทัศนศลิ ป หมายถงึ การถายทอดจินตนาการทางความคดิ ใหออกมาเปน ภาพตนแบบ โดยใชว ิธกี ารสเกตชภาพ มปี ระโยชนอยางมากตอการสรางสรรคผลงาน เพราะผูส รางสรรค สามารถปรับปรงุ แกไขตน แบบไดง า ย 5. ตอบ ขอ 4. เพราะการออกแบบงานทศั นศลิ ปจ าํ เปนตองมคี วามรู ความสามารถดา นการจดั องคป ระกอบศิลป โดยเนน หลกั ความเปน เอกภาพ ความกลมกลืน และความสมดลุ เพอื่ ใหงานออกมามคี วามสวยงาม และมคี ณุ คา ทางศิลปะท่ีผสมผสานกนั 6. ตอบ ขอ 2. เพราะการใชเสนท่ีเห็นเดนชัด คือ เสนตรงแนวนอน ที่ใหความรูสึกกวางขวาง เงียบสงบ น่ิง ราบเรียบ ผอนคลายสายตา เสนตรงแนวต้ัง ที่ใหความรูสึกสูง สงา ม่ันคง แข็งแรง รุงเรือง และเสนโคง ท่ีให ความรูส ึกตางๆ เชน ออ นไหว สุภาพ ออนโยน สบาย นุมนวล เปน ตน 7. ตอบ ขอ 3. เพราะการใชวัสดุ อุปกรณท่ีมีราคาแพง ไมมีความเกี่ยวของกับความสวยงามของงานศิลปะแบบส่ือผสม ซงึ่ ความสวยงามของงานศลิ ปะแบบสอื่ ผสมสามารถดูไดจ ากรปู แบบของผลงาน การจดั วางองคป ระกอบศลิ ป การเลือกใชว สั ดุ อปุ กรณ ความคดิ สรางสรรค วธิ กี ารนาํ เสนอ รวมถงึ โอกาสของผชู มท่ีไดใชจ นิ ตนาการของ ตนเองในการตคี วามผลงานไปไดตางๆ นานา ซึง่ อาจจะเหมือนหรอื แตกตา งกันก็ได (37) โครงการวัดและประเมินผล

โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 8. ตอบ ขอ 1. เพราะงานศิลปะแบบสื่อผสม เปนผลงานท่ีมนุษยสรางสรรคข้ึนโดยใชเทคนิคและวิธีการท่ีหลากหลายมา ผสมผสานกนั โดยเนนหลักการจดั องคป ระกอบศิลป แสดงออกถงึ อารมณของผสู รางสรรคผลงาน ซ่ึงวัสดุ ที่ใชในการสรางผลงานศลิ ปะแบบสือ่ ผสมสวนใหญ สามารถหาไดจ ากวสั ดุธรรมชาติ เชน พชื สัตว แรธาตุ เปนตน และวสั ดสุ ังเคราะห เชน กระดาษ โลหะ เปน ตน 9. ตอบ ขอ 2. เพราะในปจจุบันการถายทอดผลงานทัศนศิลปไมไดจํากัดอยูกับการแสดงออกในลักษณะใดลักษณะหน่ึง เทา นั้น ผลงานทัศนศิลปอาจมีการผสมผสานกนั ทงั้ การวาดเขียน ระบายสี การพิมพ ประติมากรรม หรอื อาจมกี ารนําเทคโนโลยีสมยั ใหมเขา มาผสมผสานกันได 10. ตอบ ขอ 4. เพราะการท่ีจะสรางสรรคผลงานทัศนศิลปใหมีความสวยงามไดนั้น จําเปนตองศึกษาเก่ียวกับเทคนิค การสรา งงานทศั นศลิ ปห ลากหลายรปู แบบจากศลิ ปน หลายๆ ทา น จากนน้ั นาํ ความรทู ่ีไดม าทดลองปฏบิ ตั งิ าน ดวยความพยายามและตั้งใจ เพราะอาจจะตองเสียเวลาในการลองผิดลองถูกอยูนาน จึงจะคนพบเทคนิค เฉพาะของตนเองได 11. ตอบ ขอ 1. เพราะการมชี อ่ื เสยี งในวงการศลิ ปะ ไมไ ดม คี วามสมั พนั ธเ กยี่ วขอ งในเหตผุ ลทคี่ วรเรยี นรเู ทคนคิ วธิ กี ารทาํ งาน ของศิลปน การท่ีเราเรียนรูเกี่ยวกับเทคนิค วิธีการทํางานของศิลปนจะทําใหเกิดการเรียนรูในเร่ืองตางๆ ดังตอ ไปน้ี 1. เขา ใจเทคนคิ วิธีการทํางานศลิ ปะ 2. เปดมมุ มองทางศิลปะ 3. เหน็ แบบอยา งการทํางานทีด่ ี 4. รูจกั รปู แบบผลงานของศิลปน 5. คนพบแนวทางของตนเอง 6. ปรบั เปล่ียนทัศนคติ 12. ตอบ ขอ 2. เพราะเน้ือหาของงานจิตรกรรมไทยสวนใหญ นิยมถายทอดเร่ืองราวเกี่ยวกับพุทธประวัติ ทศชาติชาดก ไตรภูมิ วรรณคดี ชีวิตไทย และพงศาวดารตางๆ สวนใหญนิยมเขียนประดับฝาผนังพระอุโบสถ วิหาร อันเปนสถานท่ศี กั ดิส์ ิทธิ์ที่ใชประกอบพธิ กี รรมทางศาสนา 13. ตอบ ขอ 3. เพราะสีเอกรงค คือ สๆี เดียว หรือสที แ่ี สดงอทิ ธพิ ลออกมาอยางเดนชดั เพียงสเี ดยี ว คลา ยกบั สวี รรณะรอ น และสีวรรณะเย็น แตการใชสีเอกรงคน้ัน คือ การเจือสีหลักสีใดสีหน่ึงใหมีครอบคลุมไปทุกสีในกรณีที่ใช หลายสี เชน จะใชสีเหลืองเปนสีหลัก และตอ งการใชส แี ดงและสีเขียวเพิม่ จะตองนาํ สีเหลอื งมาผสมลงใน สแี ดงและสเี ขียวดวย ซ่ึงเปนอกี วิธีการหนง่ึ ในการทําใหภาพมคี วามประสานกลมกลนื สวยงาม เปนตน 14. ตอบ ขอ 1. เพราะการทบ่ี ุคคลจะสามารถนาํ ความรู จินตนาการ ประสบการณ และความประทบั ใจมาสรางเปนผลงาน ทัศนศิลปไดดีเพียงใดนั้น จะตองมีความเขาใจในองคประกอบท่ีสําคัญในการสรางสรรคผลงานทัศนศิลป เสียกอน นอกจากนี้ ยังตองรแู ละเขาใจเทคนิค รวมถึงกระบวนการสรา งสรรคผ ลงานอีกดวย จงึ จะสามารถ ถายทอดผลงานออกมาไดอ ยางงดงาม นา ประทบั ใจตามเจตนารมณท ่ีไดม งุ หวังไว 15. ตอบ ขอ 4. เพราะความงดงามของภาพและแสงเงาท่ีเกิดจากการจัดวางวัตถุใหไดรับแสงท่ีพอเหมาะ จะทําใหภาพ มีความเหมือนจริงมากข้ึน ดังนั้น การเขียนภาพแสงเงาท่ีดีนั้น จะตองแสดงนํ้าหนักของแสงและเงาให มคี วามเหมาะสมดว ย โครงการวัดและประเมินผล (38)

16. ตอบ ขอ 2. เพราะการเตรียมวัสดุอุปกรณในการปฏิบัติงานทัศนศิลป ผูสรางสรรคผลงานควรจัดเตรียมวัสดุอุปกรณให โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ พรอมกอนลงมือปฏบิ ัติงาน ไมใชป ฏบิ ัตงิ านไปหาอุปกรณไป ท้งั นี้ เพ่ือเปนการฝกตนเองใหมรี ะเบียบวินยั ในการทํางาน เปนการฝกความคิดใหเห็นภาพของการทํางานต้ังแตตน จนถึงข้ันสุดทาย ซึ่งจะชวยทําให เปนคนท่มี ีกระบวนการทํางานอยา งเปน ระบบ 17. ตอบ ขอ 1. เพราะหลงั จากปฏิบัตงิ านเรยี บรอยแลว ควรเกบ็ เคร่อื งมอื ใสก ลอ ง หรือแขวนไวท ่ขี า งฝาอยา งเปน ระเบียบ เพอื่ ความสะดวกในการนํามาใชใ นคร้งั ตอ ไป 18. ตอบ ขอ 1. เพราะภาพ “คนกินมนั ฝรั่ง” (The Potato Eaters) ผลงานของฟนเซนต ฟาน ก็อกฮ (Vincent van Gogh) เปนภาพท่ีตองการถายทอดใหเห็นถึงสภาพความเปนจริงของชีวิตผูคนในอีกชนช้ันหนึ่งของสังคม เนื้อหา ของภาพสะทอ นใหเ ห็นถึงวิถีชีวติ ของชาวเหมืองถานหินผูยากไร ท่แี สดงอากปั กริ ยิ า สีหนา และแววตาที่ แฝงไวซง่ึ ความทกุ ขและความโศกเศรา ขณะท่กี ําลังแบงปน มนั ฝร่ังตม ใหก ันภายในกระทอมอันผผุ ัง 19. ตอบ ขอ 1. เพราะมนษุ ยทกุ ชนชาตยิ อ มมีศาสนา วัฒนธรรม และประเพณีของตนเอง และดวยความรัก ความศรทั ธา จงึ ทาํ ใหเ กดิ แรงบนั ดาลใจในการทจ่ี ะถา ยทอดความเชอื่ ความศรทั ธาใหผ อู น่ื ไดร บั รเู รอื่ งราวเกย่ี วกบั ศาสนา และวัฒนธรรมของตนเอง จึงไดสรางสรรคผลงานทัศนศิลปในหลากหลายรูปแบบ เพ่ือสะทอนใหเห็นถึง จนิ ตนาการและความคดิ สรา งสรรค เชน การสรา งผลงานภาพจติ รกรรมไทยทแ่ี สดงเนอ้ื หา เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ชาดก พุทธประวตั ิ วถิ ชี วี ติ ความเปนอยู เปนตน 20. ตอบ ขอ 4. เพราะจะทําใหผลงานทัศนศิลปมีรูปแบบท่ีแปลกตา ชวนใหนาสนใจติดตาม แสดงใหเห็นถึงอารมณและ ความรูสึกของศิลปนในการสรางสรรคผลงาน ผูท่ีชมผลงานทัศนศิลปประเภทนี้ จําเปนจะตองมีความรู ความเขาใจเก่ียวกับลักษณะงานทัศนศิลปแบบก่ึงนามธรรม เพราะคุณคาของผลงานนั้นจะเนนในเรื่อง โครงสรา ง องคประกอบ สที มี่ ีความแปลกใหม นาสนใจ และใหแนวความคิดที่หลากหลาย ซ่งึ ผชู มตองใช จนิ ตนาการผสมผสานเขาไปดวย 21. ตอบ ขอ 3. เพราะคุณคาทางการเห็นที่มีตอผลงานทัศนศิลป สามารถเกิดขึ้นไดจากตัวของผลงานเอง วาสามารถ นําเสนอเร่อื งราวใหผ ชู มเขาใจไดส อดคลองกบั วตั ถปุ ระสงคห รือไม ซ่งึ คณุ คาทางการเหน็ สามารถแบงออก เปน 2 สวน คือ คณุ คา ดานเนอื้ หา และคุณคา ทางสนุ ทรยี ภาพ 22. ตอบ ขอ 3. เพราะภาพบทเรียนกายวภิ าคของนายแพทยทลุ พ (Doctor Nicolaes Tulp Demonstrating the Anatomy of the Arm) ไดแสดงใหเ ห็นถึงคณุ คา ของผลงานทศั นศลิ ปในดานคุณคาทางโครงสราง และคณุ คา ทางการ มองเห็น กลา วคอื แสดงใหถ งึ คณุ คา ในการจดั องคป ระกอบดานแสงและเงา โดยจะเนน แสงเฉพาะในสวนที่ ตอ งการใหเ ปนจดุ เดน ไดแก รา งกายของศพ ใบหนาของคนแตล ะคนทแี่ สดงความรูสกึ แตกตา งกันออกไป นอกจากนี้ ยังแสดงใหเห็นถึงความแตกตางระหวางคนท่ีมีชีวิตท่ีมีผิวพรรณสวยงาม และคนที่ไมมีชีวิต เปน ศพทมี่ ผี ิวพรรณสขี าว ซีด ซงึ่ ศิลปนสามารถนําเอาภาพเหมอื นของบคุ คลตา งๆ มาจัดเปน กลุมไดอ ยา ง เหมาะสม ลงตวั ทัง้ ในเรอื่ งของความเปน เอกภาพ ความกลมกลืน และความสมดลุ 23. ตอบ ขอ 1. เพราะแตกตา งกนั ตรงทว่ี สั ดอุ ปุ กรณท น่ี าํ มาใชแ ละลกั ษณะของผลงาน กลา วคอื ชา งแกะ เปน ผทู ส่ี รา งสรรค ผลงานใหมีลวดลาย หรอื เปนรปู ภาพดวยวิธกี าร “แกะ” โดยมีเครื่องมือท่ีใชคอื “มดี แกะ” งานที่นิยมนาํ มา แกะจะเปน งานท่ีมีขนาดเลก็ ทต่ี องการความละเอยี ดและความประณตี เชน ไม งาชา ง หิน ฟก ทอง เปน ตน ประเภทของงานแกะ จะแบง ออกตามวสั ดทุ น่ี ํามาใชท ําเปน สื่อทางการแกะ ซึ่งมอี ยู 2 ประเภท คอื งานแกะ เคร่ืองสด และงานแกะเคร่ืองวัตถุถาวร สวนชางสลัก เปนผูที่สรางสรรคผลงานใหมีลวดลาย หรือเปน (39) โครงการวัดและประเมินผล

รปู ภาพดว ยวธิ กี าร “สลัก” โดยมีเคร่ืองมอื ท่ีใชคือ “ส่วิ ” งานของชา งสลกั นยิ มนําไม หิน หนงั กระดาษ มาเปน สอ่ื สาํ หรบั ถา ยทอดความคดิ ความเช่ือ และความงาม 24. ตอบ ขอ 3. เพราะสินคา ที่ผลิตดวยมือ จะใชก าํ ลังแรงงานคนเปน หลกั ในการสรางสรรคผ ลงาน โดยผลงานที่ทําออกมา ดว ยมอื ทง้ั 2 มอื น้ี จะใหช น้ิ งานทมี่ เี อกลกั ษณโดดเดน ไมเ หมอื นใคร ดว ยเหตนุ เ้ี อง จงึ ทาํ ใหส นิ คา ทผ่ี ลติ ดว ย มอื บางอยา งนัน้ มรี าคาสงู 25. ตอบ ขอ 1. เพราะผปู ระกอบอาชพี ผลติ ภณั ฑท าํ ดว ยมอื จะมกี ารนาํ วสั ดจุ ากธรรมชาตทิ หี่ าไดง า ยในทอ งถนิ่ หรอื เศษวสั ดุ ทม่ี ลี ักษณะเฉพาะมาใชใ นการผลิต สามารถผลิตไดโ ดยไมต องลงทุนสงู 26. ตอบ ขอ 3. เพราะการใชต วั อกั ษร หรอื ใชข อ ความ หรอื คาํ บรรยายสนั้ ๆ สอ่ื ความหมายชดั เจน ตวั อกั ษรมขี นาดพอเหมาะ ไมเล็กหรือใหญจ นเกนิ ไป และควรใชสอ่ื อนื่ ๆ มาประกอบ เชน ภาพตัวอยางของจรงิ หนุ จําลอง การสาธิต ประกอบ เปน ตน 27. ตอบ ขอ 4. เพราะการจดั ปา ยนิเทศ ควรคาํ นงึ ถงึ ความสวยงาม ประโยชนใชส อย มีความมน่ั คงแขง็ แรง ความสูง ซึ่งจะ ตอ งอยูในระดบั สายตา งา ยแกก ารมอง การประกอบ และติดต้ังปายนเิ ทศสามารถทําไดง า ย โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 28. ตอบ ขอ 3. เพราะในข้ันแสดงผลงานอาจมีการนําเสนอกิจกรรมตางๆ ดังตอไปนี้ 1. พิธเี ปดนิทรรศการ การสาธติ การจดั กิจกรรม 2. การอธิบาย และตอบคําถามของผูชมงาน 3. การประชาสัมพันธภ ายในงาน 4. การอาํ นวยความสะดวก เชน ชีแ้ จงเสนทางจราจร แนะนาํ สถานทที่ ่จี ะไปชมนิทรรศการวา ที่ใดจดั แสดง เรอ่ื งใด เปนตน 29. ตอบ ขอ 1. เพราะการจัดนิทรรศการบางประเภท อาจมกี ารแสดงผลงานท่ีตองมกี ารสาธิตใหแ กผ ชู มทราบวา จะใชง าน ไดอยางไร ซง่ึ บางครงั้ การดดู วยตา อานคาํ อธบิ าย อาจยงั ทาํ ใหไมเขาใจเน้ือหาอยางแจมชัด จึงจําเปนตอ ง มผี ูนําชมคอยอธิบายเน้ือหาเพมิ่ เตมิ การสาธติ การอภปิ ราย หรือการบรรยายประกอบนัน้ จะสามารถสอ่ื เน้ือหาไดตรงตามประเด็นที่ตองการนําเสนอมากย่ิงข้ึน และการสาธิตน้ันอาจกระทําไดตลอดเวลา เม่ือมี ผูมาชมหรือมาซกั ถาม 30. ตอบ ขอ 2. เพราะแบบสอบถามจะตองงายตอการตอบ แบบสอบถามที่ใหผูเขาชมประเมินควรหลีกเลี่ยงคําถาม ปลายเปด แลว ใหผ ชู มเขยี นตอบตามความคดิ เหน็ ของตนเอง เพราะจะมผี ลสมั ฤทธนิ์ อ ย ควรกาํ หนดคาํ ตอบ เปนกรอบไว แลวใหตอบโดยวธิ กี ารเขยี นสัญลกั ษณ เชน เครือ่ งหมาย  เปน ตน จะใหผลที่ดกี วา 31. ตอบ ขอ 4. เพราะจะไดท ราบวานิทรรศการทจี่ ดั ขน้ึ นน้ั บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคท ต่ี ง้ั ไวหรือไม มขี อ ดแี ละขอ ควรปรับปรงุ อยา งไร ทง้ั นี้ เพอ่ื จะไดน าํ ไปใชเ ปน ขอ มลู ในการพจิ ารณา ปรบั ปรงุ แกไ ขการจดั นทิ รรศการในครงั้ ตอ ไป และ หลังจากจัดนิทรรศการผานพนไป ควรมีการประชุมคณะทํางาน เพื่อทําการประเมินผลการจัดนิทรรศการ วา การจัดนทิ รรศการทีผ่ านมานน้ั เปน อยางไร พบปญหา อุปสรรค ขอดี ขอเสยี อยา งไร มสี ิ่งทีค่ วรปรบั ปรงุ แกไ ข หรือขอเสนอแนะ เมอ่ื ฝา ยตางๆ นําเสนอครบแลว กส็ รุปผลของการจดั นิทรรศการอกี คร้งั ซึง่ การ สรุปผลอาจทําในรปู ของรายงานก็ได 32. ตอบ ขอ 2. เพราะผูคนแตละคน มีความรูสึกถึงความงามและมีความประทับใจตอผลงานที่แตกตางกันออกไป ถามี เกณฑค ดั เลอื กผลงานทนี่ าํ ไปแสดงจะมคี วามหลากหลายมาก ซง่ึ เมอื่ นาํ ไปรวมจดั นทิ รรศการจะไมม จี ดุ เดน ไมสามารถทําใหผูชมเขาใจไดวา นิทรรศการที่จัดแสดงในครั้งน้ีมีเปาหมายอยางไร ตองการส่ือถึงผลงาน เกยี่ วกับส่งิ ใด (40) โครงการวัดและประเมินผล

33. ตอบ ขอ 2. เพราะควรพจิ ารณาอยา งกวางขวางและครบถวนทุกดา น ท้ังในลกั ษณะรูปแบบและเนอ้ื เร่ือง รวมทง้ั การใช โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ วสั ดุ อปุ กรณ ความตงั้ ใจ ความอตุ สาหพยายาม ไมค วรเลอื กเฉพาะผลงานที่โดดเดน ทางฝม อื เทา นน้ั แตค วร พจิ ารณาผลงานทแี่ สดงใหเ หน็ ถงึ ความสามารถดา นอน่ื ๆ ทซี่ อ นเรน อยูในงานทแี่ สดงออกดว ย เชน ความคดิ ริเร่ิมสรางสรรค การแสดงออกทางศิลปะดวยวิธีการที่แปลกใหม ลักษณะพิเศษเฉพาะของผูสรางสรรค ผลงาน การส่อื ความหมายและการบั รสสัมผสั ทางศิลปะ ความประหยดั สภาพแวดลอ มท่ีเอื้ออาํ นวยตอการ ปฏิบัตงิ าน เปน ตน 34. ตอบ ขอ 2. เพราะสุนทรียภาพ หมายถึง ความเขา ใจ ความรสู ึกของบุคคลทมี่ ตี อความงามในธรรมชาติ หรอื ในผลงาน ทศั นศิลป ซง่ึ ผลงานทศั นศิลปจ ะสัมผัสความงามดว ยประสาทตาหรอื จากการมองเหน็ ซึง่ ผชู มแตละคนจะ เกิดสุนทรียภาพตอ งานทศั นศิลปท ีแ่ ตกตา งกนั ออกไป ข้ึนอยกู บั ประสบการณ จินตนาการ ความรูสกึ นกึ คดิ ที่มตี อ ผลงานชิน้ น้นั 35. ตอบ ขอ 3. เพราะศลิ ปะสมยั อยธุ ยาไดม กี ารรบั เอาศลิ ปะสมยั อทู องมาเปน แมแ บบผสมผสานกบั ศลิ ปะสมยั สโุ ขทยั จงึ กลาย เปน “ศิลปะสกุลชางอยุธยา-อูทอง” กลาวคือ เปนการนําเอาศิลปะท่ีทรงอํานาจของอูทอง ท่ีแฝงไวดวย ความออนหวานของสุโขทัย และความอดุ มสมบูรณของเชยี งแสน มาสรา งเปน ผลงานทศั นศลิ ป 36. ตอบ ขอ 1. แตกตางกัน เพราะสถาปตยกรรมสมัยรัตนโกสินทรไดรับการสืบทอดแบบสมัยอยุธยาตอนปลายและมี วิวฒั นาการมาโดยลาํ ดับ คือ สถาปต ยกรรมแบบแผนอยุธยา เปนอาคารสรา งเลยี นแบบอยธุ ยา โดยเฉพาะ อาคารประเภทเคร่อื งกอ เชน โบสถ วหิ าร ปราสาทราชมณเฑียร เปน ตน สถาปตยกรรมแบบสมัยรัชกาล ที่ 3 สมัยนมี้ ีแบบสถาปตยกรรมที่เรียกวา “อยา งใน” และ “อยางนอก” คือ แบบลายไทยกับแบบลายจีน แบบลายไทยน้ันไมนิยมรูปเทพเปนลายประธาน และไมนิยมลายกนก มักใชลายใบเทศเปนหลัก อาคาร มีตัวหัวเสา ไมติดคันทวย และสถาปตยกรรมยุคปรับตัวตามกระแสตะวันตก มีรูปลักษณะผสมผสานและ รบั แบบอยางสถาปต ยกรรมตะวนั ตกเขา มาใชใ นสถาปตยกรรมไทย เชน พระท่นี ่ังจกั รมี หาปราสาท ภายใน พระบรมมหาราชวงั กรงุ เทพฯ สรา งขนึ้ ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยหู วั (รชั กาลที่5) โดยได รบั อทิ ธพิ ลจากศลิ ปะตะวนั ตก แตย งั คงรกั ษายอดมหาปราสาท ซงึ่ ถอื เปน เอกลกั ษณส าํ คญั ของสถาปต ยกรรม ไทยไว เปนตน 37. ตอบ ขอ 3. เพราะผลงานสวนใหญเปนงานแกะสลกั หนิ ตามฝาผนงั เหนอื ประตหู นาตา งเก่ยี วกับศาสนา นิยมใชล วดลาย แบบเรขาคณิต รูปแกะสลักจะมีลักษณะยาวเรียวไมเหมือนจริง ซ่ึงแตกตางจากศิลปะกรีกและโรมันท่ีเนน รูปทรงสดั สวนเหมอื นจริงตามธรรมชาติ 38. ตอบ ขอ 1. เพราะมหี ลากหลายเชอื้ ชาตเิ ขา มาอาศยั อยรู ว มกนั ไมว า จะเปน แขก ฝรงั่ และจนี มีการสรางบา นเปน ตกึ ปนู แบบจีนมากข้ึน ในสมัยนี้จึงนับเปนยุคทองแหงศิลปะจีน เพราะมีการกออิฐถือปูนและใชลวดลายดินเผา เคลือบประดับหนาบนั แทนแบบเดมิ ดังเชนท่ผี านมา 39. ตอบ ขอ 4. เพราะเปน ชว งเวลาทเ่ี กดิ การเปลยี่ นแปลงทางวฒั นธรรมในทวปี ยโุ รป นบั เปน จดุ เรมิ่ ตน ของวฒั นธรรมยคุ ใหม สมัยฟนฟูศิลปวิทยาจึงเปนการเคล่ือนไหวทางวัฒนธรรมท่ีกินเวลาตั้งแตคริสตศตวรรษท่ี 14-17 ที่มีการ เปลย่ี นแปลงทางดานวรรณกรรม วทิ ยาศาสตร ศลิ ปะ ศาสนา การเมอื ง และการศกึ ษา 40. ตอบ ขอ 3. เพราะศิลปนตองการวาดภาพส่ือความหมายของภาพอยางอิสระ ซึ่งจะมีรูปแบบเฉพาะตัว มีการนําเสนอ แนวคดิ เทคนคิ วธิ กี าร และรปู แบบทแ่ี ตกตา งกนั ออกไป นอกจากนย้ี งั มกี ารนาํ เครอื่ งจกั รกล และเทคโนโลยี เขามาชว ยสรา งสรรคผ ลงานอีกดว ย (41) โครงการวัดและประเมินผล

โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ ตอนที่ 2 พน้ื ฐานการสรา งสรรคผ ลงานทศั นศลิ ปข องมนษุ ยส ว นใหญจ ะไดร บั แรงบนั ดาลใจ หรอื เกดิ จากความประทบั ใจ ตอ ความงามทเ่ี กดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาติ เชน ดอกไมบ าน นาํ้ ตก ดวงอาทติ ยส อ งแสง เปน ตน ทง้ั นเี้ ราไมน บั 1. แนวตอบ ความงามตามธรรมชาติวาเปนศิลปะ เน่ืองจาก “ศิลปะไมใชธรรมชาติ” และ “ธรรมชาติก็ไมใชศิลปะ” เพราะส่ิงที่ไดรบั การยอมรบั วา เปน ศิลปะนั้นจะตอ งมรี ูปแบบและรปู ทรงทแี่ ตกตางไปจากธรรมชาติ รวมทัง้ 2. แนวตอบ ตอ งเปนงานที่เกิดขน้ึ จากความคดิ สรางสรรค มลี กั ษณะทแี่ สดงใหเหน็ ถงึ กระบวนการคิดท่อี สิ ระ มลี ักษณะ เฉพาะตวั มบี คุ ลกิ ภาพ และมีเอกภาพ หรืออาจกลา วอกี นยั หนงึ่ ไดวา ปรากฏการณท างธรรมชาติ ถึงแม 3. แนวตอบ จะมคี วามสวยงามเพยี งใดนน้ั แตไ มน บั เปน ศลิ ปะ ดว ยเหตผุ ลทว่ี า “ปราศจากผสู รา ง” ในทางกลบั กนั ผลงาน 4. แนวตอบ ทศั นศลิ ปท ีเ่ กดิ ขึน้ มา แมว าเราจะไมร ูวา ใครเปน ศิลปน ผสู ราง เราก็ยอมรบั ผลงานช้ินนัน้ เปน ศลิ ปะ เพราะ เรายอมรูโดยนยั วา ผลงานนนั้ เกดิ ขึน้ จากความคิดสรางสรรคข องมนษุ ย เห็นดว ย เพราะการออกแบบเปน การถา ยทอดรปู แบบจากความคิดออกมาเปนผลงาน ท่สี ามารถมองเห็น รับรู หรือสัมผสั ได ซ่งึ การออกแบบจะมีคณุ คาตอวิถชี ีวติ ของมนษุ ยในดา นตา งๆ ดังตอไปนี้ 1. คณุ คาทางดานรา งกาย 2. คุณคาทมี่ ปี ระโยชนใชส อยในชวี ิตประจําวันโดยตรง 3. คุณคาทางดานอารมณและความรูสึก เปนคุณคาที่เนนความชื่นชอบ ความพึงพอใจ สบายใจ หรือ ความรูส กึ นึกคิดดานอ่ืนๆ ไมม ีผลทางประโยชนใชส อยโดยตรง 4. คณุ คา ทางดา นทศั นคติ เนน การสรา งทศั นคตอิ ยา งใดอยา งหนง่ึ ตอ ผพู บเหน็ เชน อนสุ าวรยี  สรา งทศั นคติ ใหรักชาติ กลาหาญ ทาํ ความดี งานจิตรกรรม หรือประติมากรรมบางรูปแบบ อาจจะแสดงความกดขี่ ขูดรดี เพ่อื เนน การระลึกถงึ ทัศนคติท่ดี แี ละถูกตอ งในสังคม เปนตน ภาพ “กจิ กรรมของชวี ิตชนบท” เปน การสรา งสรรคผ ลงาน โดยใชวัสดุ อุปกรณ และเครอ่ื งมือ เครอื่ งใช ในการดํารงชพี ท่ีสามารถพบเห็นไดในทองถ่ินชนบท เชน เสียม คราด ไมนวดขาว บวั รดน้ํา กระบวยตกั นํ้า ฟางขาว รวงขา ว ดนิ เหนยี ว เปน ตน โดยนาํ ปนู ขาวมาใชเ ปนส่ือประกอบเขา กับรอยของมือ เพอื่ ใชแ ทน สญั ลกั ษณข องการใชแ รงกายในการทํางานหนกั ซึง่ เปน แบบอยางของการดํารงชีวติ ของผูคนในชนบท การสรางสรรคผลงานทัศนศิลปของมนุษยในแตละคร้ัง ยอมเกิดจากสาเหตุใดสาเหตุหน่ึง ซ่ึงตนเหตุก็คือ “สงิ่ เรา ” หรอื “แรงบนั ดาลใจ” อาจจะเปน ภายนอก หรอื ภายใน หรอื อาจจะเปน ทง้ั ภายนอกและภายในก็ได ซ่ึงถาไดรับแรงบันดาลใจจากภายนอก รูปแบบงานทัศนศิลปท่ีถายทอดออกมาก็จะมีลักษณะเปนรูปธรรม แตถาเปน แรงบนั ดาลใจจากภายใน รปู แบบงานทศั นศิลปก จ็ ะมลี ักษณะเปน นามธรรม นอกจากนหี้ ากไดร ับ แรงบนั ดาลใจทงั้ ภายนอกและภายใน รปู แบบงานทศั นศลิ ปท ถ่ี า ยทอดออกมากจ็ ะมลี กั ษณะเปน กง่ึ นามธรรม อยางไรก็ตาม การที่เราจะมีความรู ความเขาใจทางดานทัศนศิลป หรือสามารถสรางสรรคงานทัศนศิลป ออกมาไดอ ยา งมคี ณุ ภาพนนั้ เราจะตอ งหมนั่ ขวนขวายหาความรเู พม่ิ เตมิ จากแหลง การเรยี นรตู า งๆ รวมทงั้ รจู กั นาํ ภมู ปิ ญ ญาไทยซงึ่ มอี ยมู ากมายหลายลกั ษณะทบ่ี รรพบรุ ษุ ไดส ง่ั สมสบื ตอ กนั มานาํ มาใชป ระโยชนด ว ย โครงการวัดและประเมินผล (42)

5. แนวตอบ เทคนคิ วธิ ีเขียนภาพแสงเงาใหมีความสวยงาม มีขน้ั ตอน ดงั ตอไปน้ี โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 6. แนวตอบ 1. วาดภาพลายเสน ของภาพถาย หรือภาพตน แบบ 7. แนวตอบ 2. เขียนน้ําหนักแสงและเงาตามที่เห็นจากภาพตนแบบ โดยไลนํ้าหนักจากออนไปเขม คือ สวนท่ีเปน 8. แนวตอบ แสงสวางของภาพ หรือสวนท่ีโดนแสง ใหเขียนเสน หรือแรเงาบางๆ และสวนที่เปนเงามืดของภาพ ใหเ ขียนเสน หรือแรเงาเขมตามลําดับ 3. เขียนเงาของภาพใหทอดตามแนวนอนไปกับพ้ืนตามแนวการสองของแสง โดยเงาตองมีรูปรางลักษณะ เหมอื นกบั ภาพตน แบบ คุณคาในงานทัศนศิลป อยูที่การสื่อความคิดของศิลปน ซึ่งมองเห็นผานทางทัศนธาตุที่นํามาใช ไมวาจะ เปนเสน สี แสงเงา รูปราง รูปทรง โดยเฉพาะการเลือกใชสีที่ดูแลวทําใหเกิดความโศกเศรา ในการจัด องคประกอบศิลป มีการเลือกใชสีใหเปนจุดเดน การจัดภาพมีความเปนเอกภาพ ความกลมกลืน และมี ความสมดุลท่เี หมาะสมลงตัว การทีจ่ ะสามารถผลติ สินคา ท่เี ปนผลิตภัณฑท าํ มอื หรอื สนิ คาแฮนดเมด (Handmade) ควรทาํ การศึกษาใน เรอ่ื งตา งๆ ดังตอไปนี้ 1. พยายามดสู ินคาที่เปนผลติ ภัณฑท าํ มอื หรอื สนิ คา แฮนดเมด (Handmade) ท่ีมอี ยูในทอ งตลาดใหมาก เพื่อจะไดเกิดมุมมองวาควรจะผลติ สินคาประเภทใด 2. ควรผลติ สนิ คา ทต่ี นเองมคี วามถนดั ถา สนิ คา ชน้ิ นน้ั สามารถสอื่ เอกลกั ษณข องทอ งถนิ่ หรอื จงั หวดั ไดด ว ย แลว ก็จะเปนการดเี ปน อยางยงิ่ 3. เลือกใชว ัตถดุ ิบทสี่ ามารถหาไดง ายภายในทองถ่ินเปนหลัก และใชเ งินลงทุนในการผลติ ไมส ูงมาก 4. พยายามพฒั นาสนิ คา ใหม รี ปู แบบแปลกใหมอ ยเู สมอ โดยอาจคาํ นงึ ถงึ ยคุ สมยั หรอื ความสนใจของตลาด เปน หลกั 5. หาชอ งทางในการจัดจาํ หนา ยสินคาอยางหลากหลาย เชน การขายสินคาผานทางเว็บไซต เพื่อเปน การ ขยายตลาด เปนตน 6. สาํ รวจความตอ งการของตลาดอยา งสมา่ํ เสมอ เพอ่ื จะไดว เิ คราะหค วามตอ งการของตลาดไดอ ยา งถกู ตอ ง ตรงจดุ เพราะบุคคลท่ีจะประกอบอาชีพชางศิลปนั้น จะตองมีคุณสมบัติหลายประการ เชน มีฝมือทางศิลปะ มีความอดทนในการทํางานหนัก มีความคิดริเร่ิมสรางสรรค ยึดมั่นในแบบแผนที่สืบทอดมาต้ังแตโบราณ จดจํากรรมวิธีในการสรางสรรคงานไดเปนอยางดี รูจักวัสดุ อุปกรณ เคร่ืองมือ เคร่ืองใชครบถวนถูกตอง ตามลกั ษณะงาน และตอ งมคี วามรอบรใู นเรอ่ื งเทคนคิ เฉพาะดา น เปน ตน ซง่ึ ปจ จยั เหลา นล้ี ว นเปน สว นหนง่ึ ท่ที ําใหเ ยาวชนรนุ หลังละเลย และไมใหความสนใจกบั งานชา งศลิ ปม ากนักดงั เชน ในอดีตทผ่ี านมา จงึ ทําให ชางศิลปไทยขาดแคลนเยาวชนรนุ หลังทีจ่ ะสืบสานมรดกทางภมู ปิ ญ ญาทางดานน้ี (43) โครงการวัดและประเมินผล

9. แนวตอบ การจัดเตรียมสถานที่มีความสําคัญ เพราะจะตองคํานึงถึงการออกแบบสถานที่ โดยจะตองพิจารณาใน 10. แนวตอบ ลกั ษณะของโครงสรา งวา มคี วามแขง็ แรง กนั แดด กนั ฝน กนั ลมหรอื ไม ทงั้ นจ้ี ะตอ งเปน พน้ื ท่ีโปรง กวา งขวาง มที างเขา -ออกสะดวก อากาศทถี่ า ยเทไดด ี อณุ หภมู พิ อเหมาะ ไมร อ นหรอื เยน็ จนเกนิ ไป มแี สงสวา งทเ่ี พยี งพอ ปราศจากเสยี งทดี่ งั รบกวน และสามารถควบคุมบรรยากาศหรือสภาพแวดลอมไดด ี การนําเสนอผลงานควรจดั วางปา ยนิเทศในลักษณะตางๆ ดงั ตอ ไปน้ี 1. การจดั แสดงตามระเบยี งทางเดนิ 2. การจดั แสดงแบบตอเน่ืองกนั ไป 3. ปายนิเทศท่ีจัดตั้งใหเ ห็นสง่ิ ท่ีแสดงท้งั 2 ดาน 4. จัดแสดงแบบตอเน่อื ง ใชป ายนิเทศทด่ี ูไดท งั้ 2 ดาน 5. การวางปา ยนิเทศที่แยกจากกนั 6. จัดปายนเิ ทศแบบสลับฟนปลา โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ โครงการวัดและประเมินผล (44)

โครงการบรู ณาการ โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ การเร�ยนรสู ูบนั ได 5 ข้นั 1. ช่ือโครงการ สรางงานทัศนศลิ ปทองถน่ิ ของฉนั 2. หลักการและเหตุผล การสรางสรรคผลงานทัศนศิลปที่ดีน้ัน นักเรียนจําเปนท่ีจะตองมีความรู ความเขาใจในผลงานท่ีจะสรางสรรค ในเรื่องของ ทัศนธาตุ หลกั การออกแบบ และเทคนคิ วิธีการที่นักเรยี นจะปฏบิ ตั ิ รวมถงึ การวเิ คราะหรูปแบบ เน�้อหา ส่อื วสั ดุ อปุ กรณ และ คุณคาของผลงานทัศนศิลปอยางถองแท กอนท่ีจะลงมือปฏิบัติช้ินงานนั้นๆ ซ�ึงสิ�งเหลาน้�จะสงผลใหนักเรียนตระหนักถึงคุณคา และประโยชนท่ีจะไดรับจากผลงานทัศนศิลป นักเรียนสามารถนําความรูทางทัศนศิลปมาเชื่อมโยงกับสิ�งตางๆ ที่มีอยูรอบๆ ตัว นาํ มาใชใ นการสรางสรรคผลงานทัศนศลิ ปจากเศษวัสดุทีม่ อี ยูภายในทอ งถิ�น นาํ มาใชป ระดับตกแตง อาคาร บานเรือน มุมทาํ งาน มุมพกั ผอ นของตนเองได 3. วตั ถุประสงคของโครงการ 1. เพอ่ื เปนการเช่อื มโยงส่ิงที่ไดจากการเรียนรู และเทคนิควิธีการในการสรา งสรรคผลงานทศั นศิลป 2. เพื่อวางแผนการจัดทําโครงการสรางงานทัศนศิลปทองถิ่นของฉัน โดยการนําเศษวัสดุท่ีมีอยูภายในทองถิ่นของตน มา ประยุกตใช กอใหเ กิดเปน ผลงานทส่ี รา งประโยชนแ กต นและชุมชนได 3. เพือ่ ใหนกั เรยี นไดแสดงออกทางความคดิ รเิ ร่ิมสรา งสรรคของแตล ะบุคคลไดอ ยา งมีประสทิ ธภิ าพ 4. เพื่อสงเสริมใหน กั เรยี นมสี ว นรว มในการวางแผนจัดโครงการสรา งงานทัศนศลิ ปทองถ่ินของฉัน 5. เพอ่ื ใหน กั เรยี นสามารถนาํ ผลงานทสี่ รา งสรรคข น้ึ มาเผยแพรแ กบ คุ คลทส่ี นใจ ทอ่ี าศยั อยภู ายในทอ งถนิ่ ไดศ กึ ษา เรยี นรู และ เกิดความรักในงานทัศนศิลปม ากยิง่ ขนึ้ 4. เปา หมาย นักเรียนทุกคนมสี วนรว มในโครงการ ไมวาจะเปน การรวมคดิ รว มตัดสินใจ รวมแสดงความคิดเหน็ ตามแนวทางประชาธิปไตย พรอ มทั้งสามารถสรางสรรคผลงานทัศนศิลปจากเศษวสั ดุท่ีมีอยภู ายในทองถ�นิ และนําเสนอผลงาน เพอ่ื นําไปใชประโยชนไดจรงิ จาํ นวน 1 ช้ิน (45) โครงการวัดและประเมินผล

โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ 5. ขนั้ ตอนการจัดกิจกรรม คําชแ้ี จง ใหนกั เรียนแบง กลมุ กลุม ละเทา ๆ กัน จากน้ันใหน ักเรยี นแตล ะกลุม รว มกันปฏิบัตกิ จิ กรรม ดงั ตอ ไปนี้ ข้นั ที่ 1 ต้งั ประเด็นคาํ ถาม เปนข้นั ที่ฝกใหน ักเรียนรูจักคิด สงั เกต ตัง้ คาํ ถามอยางมเี หตุผล มีความคิดริเร่มิ สรางสรรค และมีความเปนไปได ในการแสวงหาคําตอบ ดังน้ัน ครูจึงควรมีบทบาทในการกระตุนใหนักเรียนเกิดความอยากรู อยากเห็น กลาคิด กลาแสดงออกดวยวิธีการตางๆ เชน ใหนักเรียนรวมกันสังเกตผลงานทัศนศิลปที่มีอยูภายในทองถิ่นของตนเอง เปนตน โดยครตู งั้ คําถามเปน ตัวอยา ง เชน • นักเรียนควรทําอยางไรใหบาน หรือโรงเรียนนาอยู โดยใชผลงานทัศนศิลปมาสรางสรรค และจําเปนตองใช วัสดุ อุปกรณชนิดใดมาจัดทําผลงานท่ีแสดงใหเห็นถึงคุณคา สะทอนเอกลักษณทางวัฒนธรรมภายในทองถิ่น ทมี่ คี วามสวยงาม สามารถนาํ ไปใชป ระโยชนในชีวิตประจาํ วนั ไดอยา งมปี ระสิทธิภาพ จากนั้น ครูใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันตั้งประเด็นคําถามจากการสังเกตผลงานทัศนศิลปที่มีอยูภายในทองถ�ิน ของตนเอง ขัน้ ที่ 2 สบื คน ความรู เปนข้ันท่ีฝกใหนักเรียนมีการแสวงหาความรู ขอมูล หรือสารสนเทศที่มีประโยชนเก่ียวของกับประเด็นคําถามท่ี ต้งั ขน้ึ โดยการสืบคน จากแหลงการเรียนรทู หี่ ลากหลาย เชน หองสมดุ โรงเรียน หอ งสมุดชมุ ชน ส่อื อินเทอรเนต็ สอบถามจากศลิ ปน ภายในทอ งถนิ่ เปน ตน โดยใหน กั เรยี นแตล ะกลมุ รว มกนั สบื คน ขอ มลู เกยี่ วกบั ผลงานทศั นศลิ ป ที่มีอยูภายในทองถ่นิ ของตนเอง แลวบนั ทึกขอมลู นัน้ ๆ ไว ขั้นที่ 3 สรุปองคความรู เปน ขนั้ ทฝ่ี ก ใหน กั เรยี นนาํ ความรู หรอื สารสนเทศท่ีไดร บั จากการแสวงหาความรมู าอภปิ รายรว มกนั เพอ่ื นาํ ไปสรปุ องคความรู บทบาทของครูในขั้นนี้จึงควรเสนอแนะแนวทางในการสรุปองคความรู วาควรนําขอมูลท่ีไดจากการ สืบคนมาวิเคราะห และหาความสัมพันธของขอมูล จากนั้นจึงใหนักเรียนแตละกลุมนําขอมูลท่ีไดจากการสืบคน มาวเิ คราะห ตีความ และนําเสนอแนวทางในการปฏบิ ตั งิ าน พรอ มทั้งสรางสรรคผลงานทศั นศลิ ปจากเศษวัสดุท่มี ี อยภู ายในทอ งถ่นิ และนําเสนอผลงาน เพอื่ นาํ ไปใชประโยชนไดจ ริง จํานวน 1 ช้ิน ขั้นท่ี 4 สือ่ สารและนําเสนอ เปนข้ันท่ีฝกใหนักเรียนนําความรูที่ไดมาสื่อสาร หรือนําเสนอใหผูอ่ืนไดรับรูอยางมีประสิทธิภาพ ดังนั้น ครูจึง ควรเสนอแนะวิธีการในการนําเสนอขอมูลท่ีนาสนใจ โดยอาจใชส่ือตางๆ เขามาชวยในการนําเสนอ จากนั้นให นกั เรยี นแตล ะกลมุ รว มกนั ตรวจสอบความถกู ตอ งของขอ มลู ทจ่ี ะนาํ เสนอ แลว นาํ เสนอผลงานการสรา งสรรคผ ลงาน ทัศนศลิ ปจ ากเศษวัสดทุ ่มี ีอยภู ายในทองถ่นิ ใหเ พือ่ นชมหนาชั้นเรียน ขั้นที่ 5 บริการสังคมและสาธารณะ เปนขั้นท่ีสงเสริมใหนักเรียนนําความรูไปใช ไปปฏิบัติ โดยนักเรียนตองเช่ือมโยงความรูสูการปฏิบัติ หรือการทํา ประโยชน เพื่อชุมชนและสังคม ตามความเหมาะสมกับวุฒิภาวะของนักเรียน อันจะสงผลใหนักเรียนเปนผูที่มี จติ สาธารณะ ดงั นน้ั บทบาทของครจู งึ ควรนาํ เสนอแนะถงึ การนาํ องคค วามรทู นี่ กั เรยี นทาํ โครงการสรา งงานทศั นศลิ ป ทองถิ่นของฉัน ไปเผยแพรแกสังคม โดยอาจจัดเปนนิทรรศการทางทศั นศิลปภายในโรงเรียนเผยแพรแ กนักเรียน หรือบคุ คลในทองถน่ิ ท้ังนี้ เพอ่ื ใหบคุ คลเหลา นนั้ ตระหนักถงึ คณุ คา และประโยชนที่จะไดรบั จากผลงานทัศนศิลป โครงการวัดและประเมินผล (46)

แบบประเมนิ คุณภาพการจดั ทาํ โครงการ ประเดน็ ดเี ยย่ี ม (4) ระดับคุณภาพ ปรับปรุง (1) การประเมนิ ดี (3) พอใช (2) ต้ังประเดน็ คาํ ถามในเรอื่ ง ต้ังประเด็นคําถามในเร่อื ง ตง้ั ประเดน็ คําถามในเร่อื ง ใชคาํ ถามท่คี รูช้แี นะ ทส่ี นใจไดดวยตนเอง ที่สนใจ โดยมีครเู ปน ผคู อย ทีส่ นใจ โดยมคี รูเปนผคู อย มากาํ หนดประเดน็ คําถาม ขอบขายประเด็นคาํ ถาม ช้ีแนะ ขอบขายประเดน็ ชแ้ี นะ ขอบขา ยประเดน็ 1. ชดั เจน ครอบคลมุ ขอ มูล คาํ ถามชดั เจน ครอบคลุม คําถามชดั เจน แตยงั ทเ่ี กีย่ วขอ งกบั ตนเอง ขอมูลทีเ่ กีย่ วขอ งกับตนเอง ไมค รอบคลมุ ขอ มลู การตง้ั ประเดน็ เชอ่ื มโยงกับชุมชน เชือ่ มโยงกบั ชมุ ชน มคี วาม ทเ่ี กย่ี วของกับตนเองและ คําถาม มคี วามแปลกใหมและ เปน ไปไดในการแสวงหา ไมเ ชื่อมโยงกับชุมชน สรางสรรค มคี วามเปน คาํ ตอบ ไปไดในการแสวงหาคําตอบ วางแผนสบื คนขอ มลู วางแผนสบื คน ขอมลู วางแผนสืบคนขอมูล ไมมีการวางแผน หรือมี ชัดเจน และปฏบิ ัติได ชัดเจน และปฏบิ ตั ไิ ด ชดั เจน และปฏบิ ตั ไิ ด การวางแผน แตไมสามารถ 2. ศึกษา คนควา หาความรู ศึกษา คนควา หาความรู ศึกษา คน ควา หาความรู นาํ ไปปฏบิ ตั จิ ริงได โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ การสบื คน ความรู จากแหลงการเรียนรู จากแหลง การเรียนรู จากแหลง การเรียนรู ศกึ ษา คนควา หาความรู ทห่ี ลากหลาย มีการบันทกึ ที่หลากหลาย ท่ีไมหลากหลาย จากแหลง การเรียนรู ขอ มูลท่ถี กู ตอ งเหมาะสม ท่ีไมห ลากหลาย วเิ คราะหขอมลู โดยใช วิเคราะหข อ มลู โดยใช วิเคราะหขอ มลู โดยใช ไมม กี ารวเิ คราะหขอมูล วธิ กี ารทีเ่ หมาะสม วธิ กี ารท่เี หมาะสม วิธีการที่เหมาะสม หรือวเิ คราะหขอ มลู สงั เคราะหแ ละสรุป สงั เคราะหแ ละสรปุ สังเคราะหแ ละสรุป ไมถ ูกตอ ง สังเคราะหและ 3. องคค วามรไู ดอ ยางชัดเจน องคความรไู ดอยางชัดเจน องคความรไู ดอยางชดั เจน สรุปองคค วามรูไ ดไ มช ัดเจน มีการอภิปรายผลเชือ่ มโยง มีการอภปิ รายผลเชื่อมโยง มีการอภปิ รายผลเช่ือมโยง ไมมกี ารนําองคความรู การสรุป ความรูอ ยา งสมเหตุสมผล ความรู นาํ องคความรูท ี่ได ความรูย ังไมชดั เจน ไปเสนอแนวคิด วธิ ีการ องคค วามรู และนําองคค วามรทู ่ีไดไ ป ไปเสนอแนวคดิ วิธีการ นาํ องคความรูที่ไดไปเสนอ แกปญ หา เสนอแนวคดิ วธิ กี าร แกป ญ หาได แตยงั ไมเปน วธิ กี ารแกปญ หาได แกป ญหาอยางเปน ระบบ ระบบ แตย งั ไมเปน ระบบ 4. เรยี บเรยี งและถา ยทอด เรียบเรยี งและถา ยทอด เรียบเรยี งและถา ยทอด เรียบเรยี งและถา ยทอด ความคิดจากการศึกษา ความคิดจากการศึกษา ความคดิ จากการศึกษาได ความคดิ จากการศกึ ษาได การสือ่ สาร คนควาไดอ ยางชัดเจน คนควาไดอยางชัดเจน ไมค อยเปนระบบ นําเสนอ ไมเปน ระบบ นาํ เสนอ และการนาํ เสนอ เปนระบบ นาํ เสนอผลงาน เปน ระบบ นําเสนอผลงาน ผลงานโดยใชส ่ือประกอบ ผลงานโดยไมใชส่อื โดยใชสือ่ ทีห่ ลากหลาย โดยใชส ื่อประกอบรปู แบบ รูปแบบ ประกอบ อยา งเหมาะสม นาํ ความรจู ากการศกึ ษา นาํ ความรูจากการศกึ ษา นําความรจู ากการศึกษา ไมไ ดน ําความรูจากการ คนควาไปประยกุ ตใชใ น คน ควา ไปประยุกตใชใ น คน ควาไปประยุกตใชใน ศกึ ษา คนควา ไปประยุกต 5. กจิ กรรมทส่ี รางสรรค เปน กจิ กรรมทสี่ รา งสรรค กิจกรรมที่สรางสรรค ใชในกจิ กรรมทีส่ รา งสรรค การนําความรูไปใช ประโยชนตอโรงเรียนและ เปน ประโยชนตอ โรงเรยี น ท่เี ปนประโยชนตอ โรงเรยี น ท่เี ปนประโยชน ชมุ ชน เผยแพรความรู และชุมชน เผยแพรความรู และเผยแพรความรู และบริการ และประสบการณจากการ และประสบการณจ ากการ และประสบการณจากการ สาธารณะ ปฏบิ ตั ผิ านส่อื หลากหลาย ปฏิบตั ิผานส่อื รูปแบบใด ปฏิบัตผิ า นสื่อรูปแบบใด รูปแบบ รูปแบบหนึง� รปู แบบหน�งึ (47) โครงการวัดและประเมินผล

แบบประเมินทกั ษะแหงศตวรรษท่ี 21 คําชี้แจง : ใหผสู อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหวางการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม แลวขดี ✓ลงในชองวางทตี่ รงกบั ระดบั คะแนน ทักษะแหง รายการประเมนิ ระดบั คะแนน ศตวรรษที่ 21 1.1 ความสามารถในการอา น 321 1. • สรปุ จบั ใจความสาํ คญั ของขอมลู ทอ่ี านไดค รบถว น ตรงประเดน็ ทักษะการเรยี นรู 1.2 ความสามารถในการคดิ วิเคราะห และพฒั นา ตนเอง • คดิ อยางมรี ะบบ โดยใชแ หลงขอมลู และสรปุ ประเด็นสาํ คัญได • วิเคราะหข อมูล จาํ แนกขอ มลู และแสดงการคิดเพื่อคน หาคาํ ตอบ 1.3 ความสามารถในการเขยี น • เขียนสือ่ ความหมายไดช ดั เจน ถูกตอง • เขียนถกู ตอ งตามรปู แบบการเขยี น และสรุปองคความรูอยางมีขั้นตอน 2.1 ความยดื หยุนและการปรบั ตัว • ปรับตัวเขากับบทบาทท่แี ตกตาง งานที่ไดร บั มอบหมาย กําหนดการทเ่ี ปลีย่ นไป โครงการ ูบรณาการ แบบทดสอบ • นําผลลพั ธทเ่ี กดิ ข้นึ มาใชป ระโยชนไดอ ยา งไดผ ล 2.2 การรเิ ร่ิมและเปนตัวของตวั เอง • กําหนดเปาหมายโดยมเี กณฑค วามสําเร็จท่จี บั ตองได และที่จับตอ งไมได 2. • ใชเ วลา และจดั การภาระงานอยางมีประสิทธิภาพ ทกั ษะชวี ิต • ทํางานสําเร็จไดดว ยตนเอง โดยกาํ หนดงาน ติดตามผลงาน และลําดบั ความสําคญั ของงาน และการทํางาน 2.3 ทักษะทางสังคมและความเขาใจความตางทางวัฒนธรรม • เคารพความแตกตางทางวฒั นธรรม และการทาํ งานรวมกบั คนท่มี ีพ้ืนฐานแตกตา งกันได 2.4 เปน ผูผลิตและผูร ับผดิ ชอบตอผลงาน • กําหนดเปา หมาย ลาํ ดบั ความสําคัญ และทําใหบรรลุเปาหมายนั้น แมจ ะมีอปุ สรรค • ทาํ งานอยางมจี รยิ ธรรมและดวยทา ทีเชิงบวก รวมถึงเคารพและเห็นคุณคา ของความแตกตา ง 2.5 ภาวะผนู าํ และความรบั ผดิ ชอบ • ใชทักษะมนษุ ยสมั พันธแ ละทักษะแกป ญ หาในการชกั นําผูอืน่ ไปสูเปาหมาย • ดาํ เนนิ การอยางมีความรบั ผิดชอบ โดยถอื ประโยชนสว นรวมเปนท่ีต้งั 3.1 ความคดิ สรางสรรคแ ละนวัตกรรม • คิดอยางเปนเหตุเปนผลหลายแบบ รวมถงึ วเิ คราะห เปรยี บเทยี บ และประเมนิ ความเห็นหลักๆ 3. • สงั เคราะหแ ละเชือ่ มโยงระหวา งสารสนเทศกับขอโตแยง ทกั ษะการเรียนรู 3.2 การคิดอยางมวี ิจารณญาณและการแกปญหา และนวตั กรรม • เรยี บเรียงความคดิ และมมุ มองไดเ ปนอยางดี ส่ือสารออกมาใหเ ขา ใจงาย และหลายแบบ • แสดงความรับผดิ ชอบในงานทต่ี องทํางานเปน ทมี และเหน็ คุณคา ของบทบาทของผูรว มทมี 3.3 การสอ่ื สารและความรวมมอื • สรา งมมุ มองแปลกใหม ทัง้ ทีเ่ ปน การปรบั ปรุงเล็กนอยจากของเดิม หรอื ทแี่ หวกแนวโดยส้นิ เชิง • เปด ใจรบั และตอบสนองตอ มมุ มองใหมๆ รวมทงั้ การประเมนิ ผลงานจากกลมุ เพอ่ื นาํ ไปปรบั ปรงุ 4. • ลงมอื ปฏบิ ัตติ ามความคิดสรา งสรรค เพื่อนาํ ไปสูผลสาํ เร็จท่เี ปนรปู ธรรม ทกั ษะดาน 4.1 ดา นสารสนเทศ สารสนเทศ สอ่ื และเทคโนโลยี • เขา ถงึ ใช และประเมนิ สารสนเทศอยางมปี ระสทิ ธิภาพ ประสิทธผิ ล ครบถวน และรเู ทาทัน 4.2 ดา นเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร • ใชเทคโนโลยีเพอื่ วิจัย จัดระบบ ประเมิน และสื่อสารสนเทศ • ใชเ ครือ่ งมือสอ่ื สารอยา งถกู ตองเหมาะสม เพ่ือทาํ หนา ท่ีในฐานความรู เกณฑการพจิ ารณาใหค ะแนน ลงชอ่ื ……………………………………….ผปู ระเมนิ พฤติกรรม คะแนน ……………/……………/…………… พฤติกรรมที่ปฏิบตั ชิ ดั เจนและสม่ําเสมอ 3 คะแนน พฤตกิ รรมท่ปี ฏิบตั ชิ ัดเจนและบอ ยคร้ัง 2 คะแนน พฤติกรรมทีป่ ฏบิ ตั บิ างครงั้ 1 คะแนน โครงการวัดและประเมินผล (48)

สรา้ งอนาคตเดก็ ไทย ดว้ ยนวตั กรรมการเรยี นรรู้ ะดบั โลก >> ราคาเลม่ นกั เรยี นโปรดดจู ากใบสง่ั ซอ้ื ของ อจท. คคู่มู่มือือคครรู บู บรร..ททัศัศนนศศิลิลปป์ ม์ ม.3.3 บรษิ ทั อกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จำกดั 142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรงุ เทพมหานคร 10200 โทร./แฟกซ.์ 02 6222 999 (อตั โนมตั ิ 20 คสู่ าย) 330000..--88 885588664499 112211449933 www.aksorn.com Aksorn ACT ราคาน้ี เปน็ ของฉบบั คมู่ อื ครเู ทา่ นน้ั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook