Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กายภาพ ม ๕ เทอม ๑

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กายภาพ ม ๕ เทอม ๑

Published by buritkongmali, 2019-05-03 03:16:42

Description: แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กายภาพ ม ๕ เทอม ๑

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นรู้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ รายวิชา วิทยาศาสตร์กายภาพ รหัสวิชา ว 32101 ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปี 5 ภาคเรียนที่ 1 จดั ทาโดย นายบุรศิ ร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 ตาบลชา่ งเค่งิ อาเภอแม่แจ่ม จังหวดั เชยี งใหม่ สานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สานกั งานการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

คาอธบิ ายรายวชิ า รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหสั วิชา ว 32101 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 ภาคเรียนท่ี 1 และ ปีการศกึ ษา 2561 เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรยี น จานวน 1.0 หนว่ ยกติ **************************************** ศึกษาธาตุและสารประกอบ โครงสร้างอะตอม แบบจาลองอะตอม อนุภาคมูลฐานของอะตอม สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ ไอโซโทปตารางธาตแุ ละสมบตั ิของธาตุตามตารางธาตุ พนั ธะเคมสี ารละลายอิเล็กโทรไลต์และสารละลายนอนอิเล็กโทรไลต์ สมบัติของ สารกมั มันตรงั สี ครึ่งชีวิตของสารกมั มนั ตรงั สี โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การอธิบาย การอภิปรายและสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสารถในการตัดสินใจ ส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้นาความรู้ไปใช้ใน ชวี ิตประจาวัน มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ เห็นคุณคา่ ของวิทยาศาสตร์ มจี รยิ ธรรม คุณธรรมและคา่ นิยมท่ีเหมาะสม มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบตั ขิ องสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พันธร์ ะหว่างสมบตั ขิ อง สสารกบั โครงสร้างและแรงยดึ เหน่ยี วระหว่างอนุภาค หลกั และธรรมชาตขิ องการเปลยี่ นแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี รหสั ตวั ช้วี ดั ว 2.1 ม.5/1 , ระบวุ า่ สารเป็นธาตหุ รอื สารประกอบและอยู่ในรปู อะตอม โมเลกุลหรอื ไอออนจากสตู รเคมี ว 2.1 ม.5/2 , เปรยี บเทยี บความเหมอื นและความแตกตา่ งของแบบจาลองอะตอมของโบร์กับแบบจาลองอะตอมแบบกลมุ่ หมอก ว 2.1 ม.5/3 , ระบจุ านวนโปรตอน นวิ ตรอน และอิเล็กตรอนของอะตอม และไอออนท่เี กิดจากอะตอมเดียว ว 2.1 ม.5/4 , เขยี นสัญลักษณ์นวิ เคลยี รข์ องธาตแุ ละระบุการเป็นไอโซโทป ว 2.1 ม.5/5 , ระบหุ มู่และคาบของธาตุ และระบุวา่ ธาตเุ ป็นโลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ กลุ่มธาตเุ รพรเี ซนเททฟี หรือกล่มุ ธาตแุ ทรชนั จากตารางธาตุ ว 2.1 ม.5/6 , เปรยี บเทยี บสมบัติการนาไฟฟา้ การใหแ้ ละรบั อิเลก็ ตรอนระหว่างธาตใุ นกล่มุ โลหะกบั อโลหะ ว 2.1 ม.5/7 , สบื คน้ ข้อมลู และนาเสนอตัวอยา่ งประโยชน์และอันตรายทเี่ กิดจากธาตเุ รพรเี ซนเททีฟและธาตแุ ทรนซชิ นั ว 2.1 ม.5/8 , ระบุว่าพนั ธะโคเวเลนตเ์ ปน็ พันธะเดยี่ วพนั ธะคู่ หรอื พันธะสาม และระบจุ านวนคอู่ เิ ลก็ ตรอน ระหวา่ งอะตอมค่รู ว่ มพนั ธะ จากสูตรโครงสรา้ ง ว 2.1 ม.5/9 , ระบุสภาพขวั้ ของสารทโ่ี มเลกลุ ประกอบด้วย ๒ อะตอม ว 2.1 ม.5/10 , ระบุสารที่เกิดพนั ธะไฮโดรเจนได้จากสตู ร โครงสร้าง ว 2.1 ม.5/11 , อธิบายความสมั พนั ธ์ระหว่างจุดเดอื ดของสาร โคเวเลนต์กับแรงดงึ ดูดระหว่างโมเลกุลตามสภาพขั้วหรอื การเกดิ พนั ธะไฮโดรเจน ว 2.1 ม.5/12 , เขียนสูตรเคมีของไอออนและสารประกอบไอออนกิ ว 2.1 ม.5/13 , ระบวุ า่ สารเกิดการละลายแบบแตกตัวหรือไมแ่ ตกตวั พร้อมให้เหตุผลและระบวุ ่าสารละลายท่ีไดเ้ ปน็ สารละลายอิเลก็ โทรไลตห์ รือนอนอเิ ล็กโทรไลต์ ว 2.1 ม.5/17 , อธบิ ายสมบัตกิ ารละลายในตัวทาละลายชนดิ ตา่ ง ๆของสาร ว 2.1 ม.5/24 , อธิบายสมบตั ขิ องสารกัมมนั ตรงั สแี ละคานวณครงึ่ ชีวติ และปรมิ าณของสารกัมมันตรงั สี ว 2.1 ม.5/25 สืบค้นข้อมลู และนาเสนอตวั อย่างประโยชนข์ องสารกัมมนั ตรังสีและการปอ้ งกนั อันตรายท่ีเกิดจากกัมมันตภาพรงั สี รวม 16 ตัวชีว้ ัด

ผงั มโนทัศน์ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ รหัสวชิ า ว 32101 ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2561 ช่ือหน่วย แบบจาลองอะตอม ชอ่ื หนว่ ย สมบตั ิตามตารางธาตุ จานวน 8 ช่ัวโมง : 15 คะแนน จานวน 8 ชว่ั โมง : 15 คะแนน รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 จานวน 40 ช่วั โมง ชอื่ หน่วย พันธะเคมี ชอ่ื หน่วย สารกมั มันตรังสี จานวน 16 ชัว่ โมง : 45 คะแนน จานวน 8 ชั่วโมง : 15 คะแนน

โครงสรา้ ง รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเ ท่ี ชื่อหนว่ ย รหัส มฐ.ตัวชีว้ ัด/ ผลการเรียนรู้ 1 แบบจาลองอะตอม ว 2.1 ม.5/1 , ระบวุ า่ สารเป็นธาตุหรือ สาร โมเล สารประกอบและอยู่ในรปู อะตอม แตก อะต โมเลกุลหรือไอออนจากสูตรเคมี อิเล สญั ว 2.1 ม.5/2 , เปรยี บเทยี บความเหมือน หมู่แ และความแตกต่างของแบบจาลองอะตอม กลุ่ม ธาต ของโบร์กบั แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่ม ธาต ทีเ่ ก หมอก ว 2.1 ม.5/3 , ระบจุ านวนโปรตอน นิวตรอน และอเิ ลก็ ตรอนของอะตอม และ ไอออนท่ีเกิดจากอะตอมเดียว ว 2.1 ม.5/4 , เขยี นสัญลักษณ์นิวเคลียร์ ของธาตุและระบกุ ารเปน็ ไอโซโทป 2 สมบัตติ ามตารางธาตุ ว 2.1 ม.5/5 , ระบุหม่แู ละคาบของธาตุ และระบวุ ่าธาตเุ ปน็ โลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ กลมุ่ ธาตุเรพรเี ซนเททีฟ หรือกลุ่มธาตุแทรน ชัน จากตารางธาตุ ว 2.1 ม.5/6 , เปรยี บเทยี บสมบัตกิ ารนา ไฟฟ้า การให้และรับอเิ ลก็ ตรอนระหว่างธาตุ ในกลมุ่ โลหะกบั อโลหะ

งรายวิชา เวลา คะแนน A รหสั วิชา ว 32101 (ชม.) รวม K P 5 เรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2561 8 15 10 5 สาระสาคัญ รเปน็ ธาตุหรือสารประกอบและอยู่ในรูปอะตอม ลกลุ หรอื ไอออนจากสตู รเคมีความเหมอื นและความ กตา่ งของแบบจาลองอะตอมของโบร์กับแบบจาลอง ตอมแบบกลมุ่ หมอกจานวนโปรตอน นวิ ตรอน และ ล็กตรอนของอะตอม และไอออนทีเ่ กิดจากอะตอมเดียว ญลกั ษณ์นิวเคลียรข์ องธาตุและระบกุ ารเปน็ ไอโซโทป และคาบของธาตุ และธาตุเป็นโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ 8 15 10 5 5 มธาตุเรพรีเซนเททีฟ หรือกลุ่มธาตุแทรชัน จากตาราง ตุสมบัติการนาไฟฟ้า การให้และรับอิเล็กตรอนระหว่าง ตุในกลุ่มโลหะกับอโลหะ ตัวอย่างประโยชน์และอันตราย กดิ จากเรพรีเซนเททีฟและธาตุแทรนซชิ ัน

ว 2.1 ม.5/7 , สืบค้นข้อมูลและนาเสนอตวั อยา่ ง ประโยชน์และอันตรายที่เกดิ จากธาตุเรพรีเซนเททีฟ และธาตุแทรนซิชัน 3 พนั ธะเคมี ว 2.1 ม.5/8 , ระบวุ ่าพนั ธะโคเวเลนต์เปน็ พันธ พันธะเด่ียวพนั ธะคู่ หรือพันธะสาม และระบุ ระบ จานวนคู่อิเลก็ ตรอน ระหว่างอะตอมครู่ ่วม สูตร พนั ธะ จากสูตรโครงสรา้ ง อะต ว 2.1 ม.5/9 , ระบุสภาพขวั้ ของสารที่ ควา โมเลกลุ ประกอบดว้ ย ๒ อะตอม ดึงด ไฮโด ว 2.1 ม.5/10 , ระบสุ ารท่ีเกดิ พันธะ ว่าส เหต ไฮโดรเจนไดจ้ ากสูตร โครงสรา้ ง ไลต ชนิด ว 2.1 ม.5/11 , อธบิ ายความสมั พันธ์ ระหว่างจุดเดือดของสาร โคเวเลนตก์ บั แรง ดงึ ดดู ระหวา่ งโมเลกุลตามสภาพขั้วหรอื การ เกิดพันธะไฮโดรเจน ว 2.1 ม.5/12 , เขยี นสตู รเคมีของไอออน และสารประกอบไอออนิก ว 2.1 ม.5/13 , ระบวุ า่ สารเกดิ การละลายแบบแตก ตวั หรอื ไม่แตกตวั พรอ้ มใหเ้ หตผุ ลและระบุว่า สารละลายทไ่ี ดเ้ ป็นสารละลายอเิ ลก็ โทรไลตห์ รือนอนอิ เล็กโทรไลต์ ว 2.1 ม.5/17 , อธบิ ายสมบัติการละลาย ในตัวทาละลายชนิดต่าง ๆของสาร

ธะโคเวเลนต์เปน็ พันธะเดี่ยวพนั ธะคู่ หรือพนั ธะสาม และ 16 20 10 5 5 บจุ านวนค่อู เิ ลก็ ตรอน ระหว่างอะตอมคูร่ ว่ มพันธะ จาก รโครงสรา้ งสภาพขัว้ ของสารทโ่ี มเลกลุ ประกอบดว้ ย ๒ ตอมสารทเ่ี กิดพนั ธะไฮโดรเจนได้จากสูตร โครงสรา้ ง ามสมั พนั ธ์ระหว่างจุดเดอื ดของสาร โคเวเลนต์กับแรง ดดู ระหวา่ งโมเลกุลตามสภาพข้วั หรือการเกิดพันธะ ดรเจนสตู รเคมขี องไอออนและสารประกอบไอออนิก สารเกิดการละลายแบบแตกตัวหรือไม่แตกตวั พรอ้ มให้ ตผุ ลและระบุว่าสารละลายที่ไดเ้ ปน็ สารละลายอิเล็กโทร ต์หรือนอนอเิ ล็กโทรไลต์สมบัตกิ ารละลายในตวั ทาละลาย ดตา่ ง ๆของสาร

4 สารกมั มันตรงั สี ว 2.1 ม.5/24 , อธิบายสมบัตขิ องสาร สมบ ของ กมั มันตรงั สีและคานวณคร่งึ ชีวติ และปรมิ าณ และ ของสารกัมมนั ตรงั สี ว 2.1 ม.5/25 สบื ค้นข้อมูลและนาเสนอ ตัวอยา่ งประโยชน์ของสารกมั มันตรังสีและ การปอ้ งกนั อนั ตรายทเี่ กิดจาก กมั มนั ตภาพรงั ส สอบกลางภาค สอบปลายภาค รวมทง้ั สน้ิ

บัติของสารกัมมนั ตรงั สีและคานวณคร่ึงชีวติ และปรมิ าณ 8 10 4 4 2 งสารกัมมันตรังสี ตัวอยา่ งประโยชนข์ องสารกัมมันตรังสี ะการปอ้ งกันอนั ตรายที่เกดิ จากกัมมนั ตภาพรังสี 20 20 40 100 34 19 17

การวเิ คราะหม รายวิชา วิทยาศาสตรก์ ายภาพ รหัสวชิ า ว 32101 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเ ตัวชีว้ ดั / ร้อู ะไร ทาอะไร ผลการเรยี นรู้ ว 2.1 รู้อะไร - ม.5/1 , ม.5/2 , ม.5/3 สารเปน็ ธาตหุ รอื สารประกอบและอยใู่ นรูปอะตอม นวิ เคลยี ร์แล , ม.5/4 , โมเลกลุ หรอื ไอออนจากสตู รเคมคี วามเหมือนและ , ม.5/24 , ม.5/25 ความแตกต่างของแบบจาลองอะตอมของโบรก์ บั แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกจานวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนของอะตอม และไอออน ทเ่ี กิดจากอะตอมเดียวสัญลักษณ์นวิ เคลยี รข์ องธาตุ และระบกุ ารเป็นไอโซโทป ทาอะไร ค้นควา้ หาความรู้ โดยมหี ัวข้อให้ อภปิ รายผล การทางาน สรุปเป็นความคิดรวบยอด และ นาเสนอ ครแู นะนา

หม์ าตรฐานและตวั ช้ีวดั ชอ่ื หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 เรื่อง แบบจาลองอะตอม เรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 ภาระงาน/ชนิ้ งาน สมรรถนะสาคัญ คุณลักษณะ คุณลักษณะ ของวชิ า อนั พงึ ประสงค์ ใบงานที่ 2 เรอ่ื ง สัญลักษณ์ ความสามารถใน - ความรบั ผิดชอบ . ซื่อสตั ย์สุจรติ - ความรอบคอบ . มวี ินยั ละไอโซโทป การสอ่ื สาร - กระบวนการ . ใฝเ่ รยี นรู้ กลุ่ม . มงุ่ มน่ั ในการ ความสามารถใน ทางาน การคดิ ความสามารถใน การแกป้ ญั หา

การวัดและประเม รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์กายภาพ รหสั วิชา ว 32101 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเ เป้าหมายการเรียนรู้ ภาระงาน/ชิ้นงาน สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด - ใบงานที่ 2 สญั ลกั ษณน์ ิวเคลยี สารเป็นธาตหุ รือสารประกอบและอยู่ และไอโซโทป ในรปู อะตอม โมเลกุลหรือไอออนจากสตู ร เคมีความเหมอื นและความแตกตา่ งของ แบบจาลองอะตอมของโบรก์ ับแบบจาลอง อะตอมแบบกลุม่ หมอกจานวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนของอะตอม และ ไอออนทเี่ กิดจากอะตอมเดียวสญั ลักษณ์ นิวเคลียรข์ องธาตุและระบุการเปน็ ไอโซโทป

มินผลการเรยี นรู้ ชื่อหนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 เรอ่ื ง แบบจาลองอะตอม เรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2561 วธิ วี ดั เครอ่ื งมอื วัด ประเด็น/เกณฑก์ ารให้ คะแนน คะแนน ยร์ ตรวจใบงาน แบบตรวจใบงาน 15 - ความถกู ตอ้ ง ความถูกต้องในการ - ความครบถ้วน - การนาเสนอเน้ือหา ทาใบงาน สาระ

การวเิ คราะหม์ าต รายวิชา วทิ ยาศาสตร์กายภาพ รหัสวิชา ว 32101 ช ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเ ตวั ชี้วดั / รอู้ ะไร ทาอะไร ผลการเรยี นรู้ ว 2.1 ร้อู ะไร - ใบงานที่ , ม.5/5 , ม.5/6 , ม.5/7 , ม. หมู่และคาบของธาตุ และธาตเุ ป็นโลหะ ในตารางธาต 5/24 , ม.5/25 อโลหะ กึง่ โลหะ กลมุ่ ธาตเุ รพรเี ซนเททฟี หรอื - ใบงานท่ี กล่มุ ธาตุแทรชนั จากตารางธาตุสมบตั กิ ารนา ไฟฟ้า การใหแ้ ละรับอเิ ล็กตรอนระหว่างธาตุใน กลุม่ โลหะกับอโลหะ ตัวอย่างประโยชนแ์ ละ อนั ตรายท่ีเกดิ จากเรพรีเซนเททฟี และธาตแุ ทรน ซชิ ันสมบัติของสารกมั มันตรงั สีและคานวณครง่ึ ชีวติ และปริมาณของสารกมั มนั ตรงั สี ตวั อย่าง ประโยชนข์ องสารกัมมันตรงั สแี ละการป้องกัน อนั ตรายที่เกิดจากกัมมันตภาพรังสี ทาอะไร คน้ คว้าหาความรู้ โดยมีหวั ข้อให้ อภปิ รายผล การทางาน สรุปเปน็ ความคดิ รวบยอด และ นาเสนอ ครแู นะนา

ตรฐานและตัวชว้ี ัด ชอื่ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 เรื่อง สมบตั ติ ามตารางธาตุ เรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562 ภาระงาน/ชนิ้ งาน สมรรถนะสาคัญ คณุ ลกั ษณะ คณุ ลกั ษณะ ของวิชา อนั พงึ ประสงค์ 3 เรื่อง การจดั หมวดหมู่ธาตุ ความสามารถใน - ความรับผิดชอบ . ซอื่ สัตย์สจุ ริต ตุ การส่อื สาร - ความรอบคอบ . มวี ินัย 4 เรอ่ื ง ธาตุแทรนซชิ นั ความสามารถใน - กระบวนการ . ใฝ่เรียนรู้ กลุ่ม . มุง่ มั่นในการ การคดิ ความสามารถใน ทางาน การแก้ปญั หา

การวดั และประเม รายวชิ า วิทยาศาสตร์กายภาพ รหัสวชิ า ว 32101 ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเ เปา้ หมายการเรียนรู้ ภาระงาน/ชิ้นงาน สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด - ใบงานที่ 4 เรือ่ ง การจดั หมวดหมู่ธาตใุ นตารางธาตุ หมู่และคาบของธาตุ และธาตุเปน็ โลหะ อโลหะ กง่ึ โลหะ กลมุ่ ธาตเุ รพรเี ซนเททีฟ - ใบงานที่ 5 เรือ่ ง ธาตแุ ทรนซชิ นั หรอื กลมุ่ ธาตุแทรชัน จากตารางธาตุ สมบัติการนาไฟฟ้า การให้และรบั อิเลก็ ตรอนระหว่างธาตุในกลุม่ โลหะกับ อโลหะ ตัวอยา่ งประโยชน์และอนั ตรายท่ี เกดิ จากเรพรเี ซนเททีฟและธาตแุ ทรน ซชิ นั สมบตั ิของสารกมั มันตรงั สีและ คานวณครึ่งชวี ติ และปริมาณของสาร กมั มันตรงั สี ตวั อยา่ งประโยชนข์ องสาร กัมมันตรงั สแี ละการปอ้ งกนั อันตรายท่เี กดิ จากกมั มนั ตภาพรงั สี

มนิ ผลการเรยี นรู้ ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรอื่ ง สมบตั ิตามตารางธาตุ เรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 วธิ ีวดั เครอื่ งมอื วัด ประเดน็ /เกณฑ์การให้ คะแนน คะแนน ตรวจใบงาน แบบตรวจใบงาน 15 - ความถูกต้อง ความถกู ต้องในการ - ความครบถว้ น - การนาเสนอเนื้อหา ทาใบงาน สาระ น

การวิเคราะหม์ าต รายวชิ า วิทยาศาสตรก์ ายภาพ รหัสวชิ า ว 32 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 ภาคเ ตัวชี้วัด/ รูอ้ ะไร ทาอะไร ภ ผลการเรียนรู้ ว 2.1 ม.5/8 , ม.5/9 , รู้อะไร - ชิ้น ม.5/10 , ม.5/11 , ม. อา 5/12 , ม.5/13, พันธะโคเวเลนต์เปน็ พนั ธะเดี่ยวพนั ธะคู่ หรอื ปอ ม.5/17 พันธะสาม และ ระบจุ านวนคู่อเิ ลก็ ตรอน ระหวา่ ง อะตอมคู่ร่วมพนั ธะ จากสตู รโครงสรา้ งสภาพข้ัวของ - ชุด สารที่โมเลกุลประกอบด้วย ๒ อะตอมสารท่ีเกิดพนั ธะ ไฮโดรเจนได้จากสตู ร โครงสรา้ งความสัมพันธ์ระหวา่ ง จุดเดอื ดของสาร โคเวเลนตก์ บั แรงดึงดูดระหวา่ ง โมเลกุลตามสภาพข้วั หรือการเกดิ พันธะไฮโดรเจนสตู ร เคมขี องไอออนและสารประกอบไอออนิก ทาอะไร คน้ คว้าหาความรู้ โดยมีหวั ขอ้ ให้ อภิปราย ผลการทางาน สรปุ เป็นความคดิ รวบยอด และ นาเสนอ ครูแนะนา สร้างสรรคช์ ิ้นงาน

ตรฐานและตวั ชว้ี ดั 2101 ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เร่ือง พันธะเคมี เรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562 ภาระงาน/ชิน้ งาน สมรรถนะสาคญั คณุ ลักษณะ คณุ ลักษณะ ของวิชา อันพึงประสงค์ นงาน สรปุ เนอ้ื หาพนั ธะเคมี ความสามารถใน - ความรับผดิ ชอบ . ซอื่ สตั ย์สจุ รติ าจทาบนพื้นผ้า กระดาษ 100 การสอื่ สาร - ความรอบคอบ . มีวนิ ัย อนต์ ความสามารถใน - กระบวนการ . ใฝ่เรียนรู้ ดแบบฝึกหดั พันธะเคมี การคดิ กลุม่ . ม่งุ มนั่ ในการ ความสามารถใน การแกป้ ัญหา ทางาน

การวดั และประเม รายวิชา วิทยาศาสตร์กายภาพ รหัสวิชา ว 3210 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเ เป้าหมายการเรยี นรู้ ภาระงาน/ชิน้ งาน สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด - ชน้ิ งาน สรุปเนอ้ื หาพนั ธะเคมี พันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะเดี่ยวพนั ธะคู่ หรอื อาจทาบนพน้ื ผา้ กระดาษ 10 ปอนต์ พนั ธะสาม และ ระบุจานวนคู่อเิ ล็กตรอน ระหวา่ งอะตอมคู่ร่วมพันธะ จากสูตรโครงสร้าง - ชดุ แบบฝึกหดั พันธะเคมี สภาพขัว้ ของสารทโี่ มเลกุลประกอบดว้ ย ๒ อะตอมสารทเ่ี กดิ พันธะไฮโดรเจนได้จากสตู ร โครงสร้างความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งจุดเดือดของสาร โคเวเลนต์กบั แรงดึงดูดระหว่างโมเลกลุ ตาม สภาพขั้วหรือการเกิดพันธะไฮโดรเจนสตู รเคมี ของไอออนและสารประกอบไอออนิก วา่ สารเกดิ การละลายแบบแตกตัวหรอื ไมแ่ ตกตัว พรอ้ มใหเ้ หตุผลและระบวุ ่าสารละลายท่ีไดเ้ ป็น สารละลายอเิ ล็กโทรไลต์หรอื นอนอเิ ล็กโทรไลต์ สมบัตกิ ารละลายในตวั ทาละลายชนิดตา่ ง ๆของ สาร

มินผลการเรยี นรู้ 01 ช่ือหนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 3 เรอ่ื ง พนั ธะเคมี เรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2561 วธิ ีวดั เครือ่ งมอื วัด ประเด็น/เกณฑ์การให้ คะแนน คะแนน ตรวจชน้ิ งานความ แบบตรวจชิน้ งาน 45 สวยงาม - ความถูกตอ้ ง - ความครบถว้ น 00 ความถกู ต้องของ - การนาเสนอเนื้อหา สาระ ชน้ิ งาน

การวิเคราะหม์ าต รายวิชา วทิ ยาศาสตร์กายภาพ รหสั วชิ า ว 3210 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเ ตวั ชว้ี ัด/ รอู้ ะไร ทาอะไร ภ ผลการเรียนรู้ รอู้ ะไร - ชุดแบบฝึกหดั ว 2.1 ครงึ่ ชีวติ , ม.5/24 , ม.5/25 สมบตั ขิ องสารกมั มันตรงั สีและคานวณครงึ่ ชวี ติ และปริมาณของสารกมั มนั ตรงั สี ตวั อย่าง ประโยชนข์ องสารกัมมันตรังสแี ละการป้องกัน อนั ตรายท่ีเกดิ จากกัมมันตภาพรังสี ทาอะไร ค้นคว้าหาความรู้ โดยมหี ัวขอ้ ให้ อภปิ ราย ผลการทางาน สรุปเป็นความคดิ รวบยอด และ นาเสนอ ครูแนะนา สรา้ งสรรคช์ น้ิ งาน

ตรฐานและตัวชี้วัด 01 ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 เรื่อง สารกมั มนั ตรังสี เรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 ภาระงาน/ชิ้นงาน สมรรถนะสาคัญ คุณลกั ษณะ คณุ ลกั ษณะ ดสารกัมมนั ตรงั สี การคานวณ ของวิชา อันพงึ ประสงค์ ความสามารถใน - ความรับผดิ ชอบ . ซื่อสัตย์สจุ ริต การสอื่ สาร - ความรอบคอบ . มวี ินัย ความสามารถใน - กระบวนการ . ใฝเ่ รียนรู้ การคิด กลมุ่ . มงุ่ มั่นในการ ความสามารถใน การแก้ปญั หา ทางาน

การวดั และประเม รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์กายภาพ รหสั วชิ า ว 32101 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเ เปา้ หมายการเรยี นรู้ ภาระงาน/ช้นิ งาน สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด - ชุดแบบฝกึ หดั สารกมั มนั ตรังสี กา คานวณคร่ึงชีวิต สมบัติของสารกัมมันตรังสีและคานวณคร่งึ ชีวิตและปริมาณของสารกมั มันตรงั สี ตวั อยา่ งประโยชน์ของสารกมั มนั ตรงั สีและ การป้องกนั อันตรายทีเ่ กดิ จาก กัมมนั ตภาพรังสี

มนิ ผลการเรยี นรู้ ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4 เรอ่ื ง สารกัมมนั ตรังสี เรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2561 วธิ วี ัด เครอื่ งมอื วัด ประเดน็ /เกณฑ์การให้ คะแนน คะแนน าร ตรวจชิน้ งานความ แบบตรวจช้ินงาน 15 - ความถกู ตอ้ ง สวยงาม - ความครบถ้วน ความถูกตอ้ งของ - การนาเสนอเน้ือหา ช้นิ งาน สาระ

ผงั มโนทัศน์ รายวิชาวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ รหสั วชิ า ว 32101 ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษา 5 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรอื่ ง ตารางธาตุ จานวน 8 ชว่ั โมง : 15 คะแนน ชอื่ เรอื่ ง สัญลักษณน์ วิ เคลยี ร์ จานวน 4 ชวั่ โมง : 10 คะแนน หน่วยการเรยี นรู้ที่ เรอื่ ง ตารางธาตุ จานวน 12 ชว่ั โมง ชอ่ื เร่ือง แบบจาลองอะตอม จานวน 4 ชั่วโมง : 5 คะแนน

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรอื่ ง ตารางธาตุ แผนจัดการเรียนรทู้ ่ี 1 เรอื่ ง สัญลกั ษณน์ วิ เคลยี ร์ รายวชิ า วิทยาศาสตรก์ ายภาพ รหัสวิชา ว 32101 ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2562 นา้ หนกั เวลาเรยี น 1 (นน./นก.) เวลาเรียน 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ เวลาที่ใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 4 ชัว่ โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคญั สารเป็นธาตุหรือสารประกอบและอยู่ในรูปอะตอม โมเลกุลหรือไอออนจากสูตรเคมีจานวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนของอะตอม และไอออนที่เกิดจากอะตอมเดียวสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุและระบุการ เป็นไอโซโทป 2. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวช้ีวดั ช้นั ปี/ผลการเรยี นร/ู้ เป้าหมายการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบตั ิของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสมบตั ิของ สสาร กบั โครงสร้างและแรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการเปลยี่ นแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ว 2.1 ม.5/1 , ระบวุ า่ สารเป็นธาตุหรือสารประกอบและอยใู่ นรูปอะตอมโมเลกุลหรอื ไอออนจากสูตรเคมี ว 2.1 ม.5/3 , ระบจุ านวนโปรตอนนิวตรอน และอิเลก็ ตรอนของอะตอม และไอออนท่ีเกดิ จากอะตอมเดยี ว ว 2.1 ม.5/4 , เขยี นสัญลกั ษณ์นิวเคลยี รข์ องธาตแุ ละระบุการเปน็ ไอโซโทป 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เนอ้ื หาสาระหลกั : Knowledge จานวนโปรตอน นวิ ตรอนและอิเลก็ ตรอนของอะตอม และ ไอออนที่เกดิ จากอะตอมเดยี วสญั ลักษณ์นิวเคลยี ร์ของธาตุและระบกุ ารเป็นไอโซโทปหมู่และคาบของธาตุ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process เกดิ กระบวนการศึกษาท่ีดีในการศกึ ษา สังเกตหาคความแตกต่าง 3.3 คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ : Attitude นกั เรยี นเกดิ ความสนใจในการศกึ ษาคน้ ควา้ กล้าแสดงออก ความคิดเหน็ จากขอ้ มลู ทศี่ กึ ษาได้ ในกลุ่มเพอ่ื น 4. สมรรถนะสาคัญของนักเรียน 4.1 ความสามารถในการสือ่ สาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 4.3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา 5. คุณลกั ษณะของวชิ า - ความรบั ผิดชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกลมุ่

6. คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ 2. ซือ่ สตั ยส์ ุจรติ 3. มวี นิ ัย 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 6. มงุ่ มั่นในการทางาน 7. ชิน้ งาน/ภาระงาน : - ใบงานท่ี 1 เร่ือง การ swot ตนเอง - ใบงานท่ี 2 เรื่อง สญั ลักษณ์นิวเคลียรแ์ ละไอโซโทป 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ (กระบวนเรียนร้แู บบสบื เสาะหาความรแู้ สดงตามขัน้ ตอน : เวลาทใ่ี ช้ 4 ชวั่ โมง) - ข้นั สรา้ งความสนใจ ยกอยา่ งสารเคมีในชีวิตประจาวนั ครตู ้ังคาถามถงึ ธาตใุ นชีวติ ประจาวัน จากนน้ั แบง่ กลมุ่ นักเรยี น กลมุ่ ละ 5 – 6 คน - ข้นั สารวจและคน้ พบ นกั เรยี นศึกษาวธิ กี ารเขยี นสญั ลกั ษณน์ วิ เคลยี รอ์ ยา่ งถกู ตอ้ ง รวมถงึ ความหมายขององคป์ ระกอบ ของสญั ลักษณน์ วิ เคลยี รข์ องธาตุ และแบบจาลองอะตอมแบบตา่ งๆ - ขัน้ อธบิ ายและลงข้อสรุป นกั เรยี นอธบิ ายและลงขอ้ สรปุ จากการศกึ ษาคน้ ควา้ โดยสรปุ เปน็ ขอ้ ในแต่ละกลมุ่ - ขั้นขยายความรูแ้ ละนาเสนอผลการคน้ หาคาตอบ เช่ือมโยงความรุ้สัญลักษณเ์ คลียร์และแบบจาลองอะตอมแบบต่างๆ สงั เกตลกั ษณะเด่นของแต่ละ แบบจาลองท้งั แบบของโบร์ กลุม่ หมอก - ขัน้ สรุปและประเมินผล ครสู รปุ และใหข้ ้อเสนอแนะเพิม่ จากการทานาเสนอของนักเรียนเพอ่ื ให้ครบถ้วนตามเนอื้ หา ชัว่ โมงที่ 1 1. ชัแ้ จงหน่วยการเรยี นรนู้ ักเรียน สรา้ งขอ้ ตกลงในห้องเรยี น เชน่ เขา้ หอ้ งเรยี น การรว่ มกิจกรรมใน ห้องเรยี นและการส่งงานท่ไี ด้รับหมอบหมาย 2. ทาการประเมนิ วเิ คราะห์ตนเอง โดยผัง swot เพอ่ื เป็นฐานในการพัฒนาคุณลกั ษะอันพงึ ประสงค์ 3. แบง่ กลุ่มนกั เรยี นแบบถาวร เพอื่ เตรียมทากจิ กรรมในหอ้ งเรยี นกลมุ่ ละ 5 - 6 นกั เรยี น ช่ัวโมงที่ 2 1. ยกตัวอย่างสารเคมใี นชวี ิตประจาวัน เชน่ นา้ นา้ มนั แอลกอฮอล์ อากาศ เหลก็ อลูมเิ นยี ม เกลอื ต่างๆ

2. สร้างแนวทางในการแยกแยะสารเคมใี นชวี ติ และ กาหนดหวั ขอ้ ใหผ้ ู้เรยี นคน้ หวา้ เร่อื งหน่วยย่อยของ สารเคมีนนั้ คอื อะตอม โดยศึกษาสัญลักษณน์ ิวเคลียร์ ช่วั โมงที่ 3 - 4 1. นกั เรยี นทอ่ี ภปิ รายและนาเสนอผลจากการคน้ ควา้ โดยนาเสนอโดยการเขยี นอธบิ ายบนกระดาน ระบแุ ละ แยกแยะส่วนประกอบในชัดเจน 2. ครูในคาแนะนาเพอื่ ใหเ้ นอ้ื หาครบถ้วนและเปน็ แนวทางในการทากจิ กรรมครัง้ ตอ่ ไป โดยเปรยี บเทียบ องคป์ ระกอบของอะตอม และธาตทุ เี่ ป็นไอโซโทปใหน้ ักเรยี นเหน็ ชัดเจน 3. ครูสรปุ เนื้อหาและให้นกั เรียนทาใบงานเพ่ือเปน็ การสรุปความรทู้ ่ไี ดร้ ับการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 9. สอ่ื การเรียนการสอน / แหลง่ เรียนรู้ รายการสื่อ จานวน สภาพการใชส้ ือ่ 1. ใบงานที่ 1 การ swot ตนเอง 2. ใบงานท่ี 2 เรอ่ื ง สัญลกั ษณน์ ิวเคลยี รแ์ ละไอโซโทป 1 ชุด ขั้นเตรียมความพร้อม 1 ชุด ขั้นสรปุ 10. การวัดผลและประเมนิ ผล เปา้ หมาย หลกั ฐานการเรียนรู้ วิธวี ัด เครื่องมือวดั ฯ ประเดน็ / การเรยี นรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน แบบตวรจใบงาน เกณฑก์ ารให้ แบบตวรจใบงาน นกั เรียนเขยี นสัญลกั ษณ์ ใบงานที่ 2 ตวรจใบงาน - คะแนน นวิ เคลยี สของาตุ ระบุ ใบงานที่ 3 ตวรจใบงาน ความถูกตอ้ งร้อยละ องค์ประกอบของธาตุ - - และระบธุ าตุในสารเคมี 80 ข้นึ ไป ชวี ิตประจาวันได้ ความถกู ตอ้ งรอ้ ย ละ 80 ขน้ึ ไป -

11. การบูรณาการตามจุดเนน้ ของโรงเรียน กจิ กรรมท่สี อดคลอ้ งหลกั บทบาทของครู บทบาทของผู้เรียน ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 1. ความมเี หตผุ ล - ยึดถอื การประกอบอาชีพด้วยความถกู ตอ้ ง ไม่หยุดน่ิงท่หี าหนทางในชีวติ หลุดพน้ จาก สุจริต แมจ้ ะตกอยู่ในภาวะขาดแคลน ใน ความทุกขย์ าก (การคน้ หาคาตอบเพ่ือให้ การดารงชวี ติ หลุดพน้ จากความไมร่ ู้) 2. มภี มู ิคุมกนั ในตวั ทีด่ ี ภูมปิ ัญญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ภูมปิ ญั ญา : มีความรู้ รอบคอบ และ ระมัดระวงั ระมดั ระวงั สร้างสรรค์ 3. เงือ่ นไขความรู้ ความรอบรู้ เรือ่ ง ธาตุและสารประกอบ ความรอบรู้ เรื่อง ธาตแุ ละสารประกอบ ในชีวิตประจาวนั ในชีวิตประจาวนั 4. เงื่อนไขคุณธรรม มคี วามตระหนกั ใน คุณธรรม มคี วาม มีความตระหนกั ใน คุณธรรม มคี วาม ซอ่ื สัตย์สจุ ริตและมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ และมคี วามอดทน มีความเพยี ร ใชส้ ติปญั ญาในการดาเนินชวี ติ ใช้สตปิ ัญญาในการดาเนนิ ชีวติ ลงชอื่ ..................................................ผู้สอน (............................................) - ใบงานท่ี 1 เร่อื ง การ swot ตนเอง

ใบงานที่ 2 เรอ่ื ง สญั ลักษณ์นิวเคลียร์และไอโซโทป จงเติมตวั เลขลงในตารางใหเ้ กดิ ความสอดคล้องกัน สัญลกั ษณ์ เลข เลข จำนวน จำนวน จำนวน สญั ลักษณ์นิวเคลียร์ มวล อะตอม โปรตอน นิวตรอน อิเล็กตรอน 24 12Mg Mg 24 12 12 12 12 168O 8 8 O 16 8 8 16 15 31 20 19 15 ������ P 31 15 15 10 10 3199K K 39 19 19 2100Ne Ne 20 10 10

แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 1 เรอ่ื ง แบบจาลองอะตอม แผนจดั การเรียนรทู้ ่ี 2 เรื่อง แบบจาลองอะตอม รายวชิ า วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ รหัสวิชา ว 32101 ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562 นา้ หนกั เวลาเรียน 1 (นน./นก.) เวลาเรยี น 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์ เวลาท่ใี ช้ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 4 ชว่ั โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคญั แบบจาลองอะตอม เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของแบบจาลองอะตอมของโบร์กับ แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก 2. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวช้วี ัดชน้ั ป/ี ผลการเรียนรู้/เปา้ หมายการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบตั ิของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสมบัตขิ อง สสาร กบั โครงสร้างและแรงยดึ เหน่ียวระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาตขิ องการเปล่ยี นแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี ตัวช้วี ดั /ผลการเรียนรู้ ว 2.1 ม.5/2 เปรียบเทยี บความเหมอื นและความแตกต่างของแบบจาลองอะตอมของโบร์กบั แบบจาลองอะตอมแบบ กลุ่มหมอก 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เนือ้ หาสาระหลกั : Knowledge หมู่และคาบของธาตุ และธาตเุ ปน็ โลหะ อโลหะ กึง่ โลหะ กลุ่ม ธาตุเรพรเี ซนเททฟี หรอื กล่มุ ธาตุแทรชนั จากตารางธาตสุ มบัติการนาไฟฟ้า การให้และรบั อเิ ล็กตรอนระหวา่ งธาตุ ในกลุ่มโลหะกบั อโลหะ ตัวอย่างประโยชน์และอันตรายทเ่ี กดิ จากเรพรเี ซนเททีฟและธาตุแทรนซชิ ันสมบัตขิ องสาร กัมมันตรังสีและคานวณครึ่งชีวติ และปริมาณของสารกมั มันตรงั สี ตวั อยา่ งประโยชนข์ องสารกัมมันตรงั สีและการ ป้องกันอันตรายทเ่ี กิดจากกัมมันตภาพรงั สี 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process เกดิ กระบวนการศกึ ษาทด่ี ใี นการศกึ ษา สังเกตหาคความแตกต่าง มกี ารเปรยี บเทยี บ การจัดหมวดหมู่ เพ่อื ประโยชนใ์ นการนาขอ้ ูลไปใชใ้ นเกิดประโยชน์ 3.3 คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ : Attitude นกั เรยี นเกดิ ความสนใจในการศกึ ษาคน้ ควา้ กลา้ แสดงออก ความคดิ เหน็ จากขอ้ มลู ทศี่ ึกษาได้ ในกล่มุ เพ่ือน

4. สมรรถนะสาคญั ของนักเรยี น 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 4.3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา 5. คุณลักษณะของวชิ า - ความรับผิดชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกล่มุ 6. คุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ 2. ซอ่ื สัตยส์ จุ ริต 3. มีวินยั 4. ใฝเ่ รียนรู้ 6. ม่งุ ม่ันในการทางาน 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน : - แผงผงั วฒั นาการของแบบจาลองอะตอม จากเมล็ดพืช 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (กระบวนเรยี นร้แู บบเสาะหาความรู้ แสดงตามขนั้ ตอน : เวลาท่ใี ช้ 4 ชั่วโมง) - ขน้ั สรา้ งความสนใจ ใชแ้ ผนผังการทดลองของนกั วทิ ยาศาสตร(์ ท่ีมาของแบบจาลองอะตอม)ของในเร่อื ง ลักษณะของ อะตอม แต่ละอยา่ ง โดยให้มีวิธีการของแบบจาลองอะตอมแต่ละแบบ คอื ดอลดัล ทอมสนั รทั เธอรฟ์ อรด์ โบร์ แบบกลุม่ หมอก เพ่อื ใหม้ ีการสงั เกต ความแตกตา่ ง - ขั้นสารวจและค้นพบ นกั เรยี นรว่ มกลมุ่ ตามกลมุ่ 5 กลมุ่ ตามทแี่ บง่ ไว้ เพอ่ื สรุปขอ้ มูลในรูปแบบแผนผงั แบบจาลอง โดย มกี ารแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ ในกล่มุ รบั ฟังแนวคดิ และเกบ็ ขอ้ มลู จากความคดิ ของเพื่อน - ขั้นอธบิ ายและลงข้อสรปุ หาความคิดแนวร่วมที่เหมือนกนั และสรุปขอ้ มูลทสี่ ามารถนามาวาดภาพแบบจาลองอะตอมได้ จะน้ันอธิบายและเขยี นภาพของแบบจาลองอะตอมลงในกระดาษ - ขน้ั ขยายความรแู้ ละนาเสนอผลการค้นหาคาตอบ จัดทาแผนผงั ววิ ฒั นาการ ของแบบจาลองอะตอม เปรียบเทียบใหเ้ ห็นความแตกตา่ งของ แบบจาลองอะตอมแตล่ ะประเภท เชือ่ มโยงโดยครอู ธบิ ายถึงความสามารถในการใชง้ านของแบบจาลอง อะตอมแตล่ ะประเภท และการนาแบบจาลองอะตอมสกู่ ารจดั ทาตารางธาตุ - ขน้ั สรุปและประเมินผล ครูสรปุ และใหข้ ้อเสนอแนะเพม่ิ จากการทานาเสนอของนักเรียนเพอื่ ใหค้ รบถว้ นตามเนอ้ื หา

ชัว่ โมงท่ี 1 1. ทบทวนความร้เู ดมิ ในเรอ่ื งองคป์ ระกอบของอะตอม โดยทบทวน โปรตอน อิเลก็ ตรอน นิวตรอน 2. ใช้คาถามในการกระตนุ้ ผูเ้ รยี น “เราทราบถงึ องค์ประกอบแล้ว แตน่ ักเรยี นคิดว่ารูปร้างของอะตอมนั้น เป็นอย่างไร” 3. อธิบายกิจกรรมโดยให้นักเรยี นศกึ ษาการทดลองของนักวทิ ยาศาสตร์ในการศกึ ษาอะตอม ตามกลมุ่ 5 กลุม่ ช่วั โมงที่ 2 1. แจกบัตรความรู้ใหน้ ักเรียนศกึ ษา และออกความเหน็ ในการสรปุ แบบทดลองแตล่ ะแบบจากการ ทดลอง ที่กาหนดให้ 2. สรปุ ความเหน็ ของกลมุ่ และจดั ทาผังโดยใช้เมล็ดของพืช แทนองค์ประกอบของอะตอมคือ โปรตอน อเิ ลก็ ตรอน นิวตรอน เพือ่ เตรยี มพูดและนาเสนอหนา้ ชัน้ เรยี น ช่ัวโมงที่ 3 - 4 1. ใหน้ กั เรยี นนาเสนอหน้าช้นั เรยี น โดยแสดงวิธีการออกแบบของชนิ้ งานตน วิธีการอา่ นแผนผงั ของตน และผลสรปุ ของแบบจาลองอะตอมทีก่ ลมุ่ ของตนสรุปได้ 2. ใหน้ กั เรยี นกลมุ่ อ่นื ใหข้ ้อเสนอแนะแกก่ ล่มุ ท่นี าเสนอ 3. ครูให้ข้อเสนอแนะเพ่มิ เติมด้านเนือ้ หาวชิ า เตมิ จดุ บกพรอ่ งของข้อมูลทส่ี าคัญ 4. สรุปเน้ือหาของหนว่ ย แบบจาลองอะตอม และทาแบบฝกึ หัดของหนว่ ยแบบจาลองอะตอม 9. ส่อื การเรยี นการสอน / แหลง่ เรยี นรู้ จานวน สภาพการใชส้ ือ่ 1 ชดุ ขั้นนา รายการส่ือ 1 ชุด ขั้นสารวจหาความรู้ 1. ตารางธาตุ 1 ชดุ ขั้นขยายความรู้ 2. บตั รเน้ือหาแบบจาลองอะตอม 3. แผงผังวัฒนาการของแบบจาลองอะตอม

10. การวดั ผลและประเมนิ ผล เป้าหมาย หลักฐานการเรยี นรู้ วิธีวดั เคร่ืองมอื วดั ฯ ประเดน็ / ตรวจช้นิ งาน แบบตรวจชน้ิ งาน เกณฑ์การใหค้ ะแนน การเรยี นรู้ ชิน้ งาน/ภาระงาน ร้อยละ 80 ของนาเรียน นกั เรยี นสามารถ แผงผังวัฒนาการของ สามารถเรียงลาดับและ เปรยี บเทยี บลักษณะของ เรียงลาดับและ แบบจาลองอะตอม แบบจาลองแตล่ ะประเภทได้ เปรยี บเทยี บลักษณะของ แบบจาลองแตล่ ะประเภท ได้ 11. การบูรณาการตามจดุ เน้นของโรงเรียน กิจกรรมที่สอดคล้องหลัก บทบาทของครู บทบาทของผู้เรยี น ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง การใชว้ ัสดรุ อบข้างให้เกิดประโยชน์ 1. ความพอประมาณ ออกแบบการเรยี นรู้ ในการใช้วสั ดุรอบขา้ ง ใชเ้ หตุผลในการเลอื กเมลด็ พันธพ์ ืชในการ ทางาน ใหเ้ กิดประโยชน์ 2. ความมเี หตผุ ล ใชเ้ หตุผลในการเลอื กเมลด็ พันธ์พืชในการ ทางาน 3. มีภูมิคุมกนั ในตัวที่ดี ภมู ิปญั ญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภมู ิปัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ระมัดระวัง ระมัดระวัง สร้างสรรค์ 4. เง่อื นไขความรู้ ความรอบรู้ เร่ือง แบบจาลองของ ความรอบรู้ เร่อื ง แบบจาลองของอะตอม อะตอม 5. เงื่อนไขคุณธรรม มีความตระหนักใน คุณธรรม มคี วาม มีความตระหนักใน คณุ ธรรม มีความ ซือ่ สตั ยส์ จุ รติ และมคี วามอดทน มีความเพียร ซือ่ สัตย์สจุ รติ และมคี วามอดทน มีความเพียร ใช้สตปิ ญั ญาในการดาเนนิ ชวี ิต ใชส้ ติปัญญาในการดาเนินชวี ิต กิจกรรมทส่ี อดคลอ้ งสวน ครู ผเู้ รยี น พฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น การใชเ้ มลก็ พนั ธ์พชื ในการจัดการเรยี นรู้ ฝึกการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ ในการแทน องค์ประกอบท่ี 2 การนาพันธ์พชื มา ใชป้ ระโยชน์ โดยใหน้ ักเรียนพิจารณาเมลด็ ทม่ี ีให้ สัญลักษณข์ ององค์ประกอบอะตอม โรงเรยี นและเลอื กด้วยตนเอง โปรตอน นิวตรอน อเิ ล็กตรอน

กิจกรรมที่สอดคล้อง ครู ผู้เรยี น ส่งิ แวดล้อม ออกแบบใหก้ ารสรา้ งจิตสานกึ ในการใช้วัสดุ พฒั นาจิตสานึกและแนวทางในการหาวสั ดุ การใชเ้ ศษวสั ดธุ รรมชาตใิ หเ้ กิด ธรรมชาติ ทดแทนวสั ดุสงั เคราะห์ ย่อยสลาย ทดแทนวสั ดุสังเคราะห์ ยอ่ ยสลายยาก ประโยชนใ์ นการเรยี น เพ่อื ลด ยาก ปัญหาพลาสตกิ - ลงชือ่ ..................................................ผูส้ อน (............................................) แผงผังวฒั นาการของแบบจาลองอะตอม

แบบทดสอบทา้ ยหนว่ ย แบบจาลองอะตอม ว 2.1 ม.5/1 , ระบวุ ่าสารเป็นธาตุหรอื สารประกอบและอยู่ในรปู อะตอม โมเลกุลหรอื ไอออนจากสูตรเคมี ว 2.1 ม.5/2 , เปรยี บเทยี บความเหมือนและความแตกตา่ งของแบบจาลองอะตอมของโบร์กับแบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก ว 2.1 ม.5/3 , ระบจุ านวนโปรตอน นวิ ตรอน และอเิ ล็กตรอนของอะตอม และไอออนทเ่ี กดิ จากอะตอมเดียว ว 2.1 ม.5/4 , เขียนสญั ลกั ษณ์นวิ เคลียร์ของธาตแุ ละระบกุ ารเป็นไอโซโทป ว 2.1 ม.5/5 , ระบุหมแู่ ละคาบของธาตุ และระบวุ ่าธาตุเป็นโลหะ อโลหะ ก่งึ โลหะ กลุ่มธาตเุ รพรเี ซนเททฟี หรอื กลุม่ ธาตแุ ทรชนั จากตารางธาตุ 1. ขอ้ ใดคือความหมายของธาตไุ อโซโทปได้ถกู ตอ้ ง (ความรู้ ว 2.1 ม.5/4) ก. คอื ธาตทุ มี่ จี านวนอิเล็กตรอนเท่ากัน ข. คือธาตุท่ีมจี านวนโปรตอนเทา่ กัน ค. คอื ธาตทุ ่มี ี เลขมวล ซง่ึ คอื จานวนโปรตอนและนวิ ตรอน ง. คือธาตทุ ่ีมี เลขมวล ซง่ึ คือจานวนโปรตอนและนวิ ตรอน จ. คอื ธาตุทม่ี เี ลขอะตอม จานวนโปรตอน เท่ากัน 2. แบบจาลองอะตอมของนักวทิ ยาศาสตร์คนใดต่อไปน้ี ไมม่ นี วิ ตรอนเปน็ องคป์ ระกอบ แตม่ โี ปรตอนเปน็ องคป์ ระกอบ(ความรู้ ว 2.1 ม.5/2) ก ดอลตัน ข. ทอมสัน ค. รทั เทอร์ฟอร์ด ง โบร์ จ. กลุม่ หมอก 3. ข้อใดคอื ลกั ษณะเดน่ ในการใชแ้ บบจาลองอะตอมของโบร์ (นาไปใช้ ว 2.1 ม.5/2) ก สามารถอธบิ ายรูปทรงของอะตอมได้ ข. สามารถบอกได้ถงึ องคป์ ระกอบของอะตอม ค. สามารถบอกลักษณะการเรยี งตวั ของโปรตอน ง. สามารถบอกลักษณะการเรยี งตวั ของอิเล็กตรอน จ. สามารถบอกความหนาแนน่ ของอเิ ล็กตรอน 4. จากสญั ลักษณน์ วิ เคลยี ร์ขา้ งต้นข้อใดกล่าวถกู ตอ้ ง (ความจาว 2.1 ม.5/3) ก. A หมายถงึ เลขอะตอม ซ่งึ คอื จานวนโปรตอน ข. A หมายถงึ เลขอะตอม ซง่ึ คอื จานวนโปรตอนและนวิ ตรอน ค. X หมายถงึ เลขมวล ซงึ่ คือจานวนโปรตอนและนิวตรอน ง. Z หมายถงึ เลขมวล ซึ่งคือจานวนโปรตอนและนวิ ตรอน จ. Z หมายถงึ เลขอะตอม ซงึ่ คือจานวนโปรตอน

5. จากข้อท่ี ถา้ หากนา A ลบดว้ ย B จะมีคา่ เท่ากับองคป์ ระกอบใดของธาตุ X (เขา้ ใจ ว 2.1 ม.5/3 ) ก โปรตอน ข. นวิ ตรอน ค. อิเลก็ ตรอน ง โปรตอนและนวิ ตรอนรวมกนั จ. อิเลก็ ตรอนและโปรตอนรวมกัน 6. ขอ้ ใดคอื ธาตทุ ่ีมจี านวนนิวตรอนในอะตอมมากทส่ี ุด (เข้าใจ ว 2.1 ม.5/3) ก 3199K ข 168O ค 1351Ne ง 73������������ จ 2173������������ 7. ข้อใดคอื ความแตกต่างของอิเลก็ ตรอน ระหวา่ งแบบจาลองอะตอมของทอมสันและรทั เทอร์ฟอร์ด (วิเคราะห์ ว 2.1 ม.5/2) ก ประจขุ ององคป์ ระกอบ ข. จานวนของประจุ ค. รปู ทรงแบบจาลอง ง ตาแหนง่ ของอเิ ล็กตรอน จ. ขนาดของแบบจาลอง 8. ถ้านักเรียนเปน็ ผ้เู กบ็ ธาตโุ ซเดยี มบรสิ ทุ ธ์ิ นกั เรยี นควรเลอื กวิธกี ารเก็บแบบใด (ประเมนิ คา่ ว 2.1 ม.5/5) ก. เกบ็ ในกล่องกระดาษอยา่ งดี ข. เก็บใหก้ ลอ่ งพลาสติก ค. แชน่ า้ ไว้ขณะเกบ็ ง. แช่นา้ มันไวข้ ณะเก็บ จ. วางไวบ้ นช้ันเกบ็ ตามปกติ 9. ถา้ นกั เรยี นแยกออกประกอบของนา้ ด้วยไฟฟ้า ธาตทุ ทคี่ วรแยกออกมากไดค้ วรเปน็ ธาตใุ ด (วิเคราะห์ ว 2.1 ม.5/1) ก. H O ข. H Cl ค. O Cl ง. S O จ. C O จงพจิ ารณาตวั เลอื กต่อไปนี้ เพอ่ื ตอบคาถามข้อท่ี 10 11 ก. H ข. Na ค. Cl ง. Si จ. S 10. ถ้าตอ้ งการเลือกธาตุทม่ี มี วลน้อยทีส่ ดุ ควรเลือกธาตุใหข้ อ้ ใดต่อไปน้ี (ความรู้ ว 2.1 ม.5/3) ก 11. ถา้ นกั เรยี นเปน็ เลือกธาตุทม่ี ีมวลมากทีส่ ดุ ควรเลือกธาตุใหข้ ้อใดต่อไปน(ี้ ความรู้ ว 2.1 ม.5/3) จ จงพิจารณาตวั เลือกตอ่ ไปนี้ เพอ่ื ตอบคาถามข้อที่ 12 13 ก. Li ข . He ค. Fe ง. Cu จ. O2 12. ถา้ ตอ้ งการเลือกธาตใุ นข้อตอ่ ไปนี้ เพ่ือนาไปผลติ เป็นตัวนาไฟฟ้า ในเครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ควรเลอื กธาตใุ นขอ้ ใด (ประเมินคา่ ว 2.1 ม.5/5) ง 13. ถ้าต้องการเลอื กธาตใุ นขอ้ ตอ่ ไปนี้ เพอื่ นาไปอดั ในบอลลนู โดย ไมใ่ หเ้ กิดอันตราย ควรเลอื กธาตนุ ขื อ้ ใด (ประเมนิ ค่า ว 2.1 ม.5/5) ข 14. 1399K จากสญั ลกั ษณ์นิวเคลยี ร์ของธาตโุ พแทสเซียม ธาตุน้มี ีจานวนโปรตอนรวมกับนวิ ตรอนจานวน เท่าใด (เขา้ ใจ ว 2.1 ม.5/3) ก. 19 ข . 38 ค. 39 ง. 20 จ. 58

จงพจิ ารณาตวั เลอื กต่อไปนี้ เพื่อตอบคาถามขอ้ ท่ี 15 16 ก. 3104Si ข. 1340O ค. 1286Si ง. 2186O จ. 1264Si 15. ถ้านักวทิ ยาศาสตรน์ าธาตุ 1284Si มาเตมิ โปรตอนเขา้ ไปอีก 2 โปรตอน ธาตดุ ังกล่าวจะเขียนสัญลกั ษณ์ นวิ เคลยี ร์แบบใดไดจ้ งึ ถกู ตอ้ ง (สงั เคราะห์ ว 2.1 ม.5/3) ง 16. จากขอ้ ที่ 15 ถา้ หากนาธาตตุ ัวเดิมมาเตมิ นวิ ตรอนเข้าไปจานวน 2 นิวตรอนธาตนุ ้จี ะเขียนสญั ลักษณ์ นิวเคลยี รแ์ บบใดได้จงึ ถกู ต้อง (สงั เคราะห์ ว 2.1 ม.5/3) ก 17. ธาตใุ ดข้อใดคือไอโซโทปของ 126C (เขา้ ใจ ว 2.1 ม.5/4 ) ก. 136C ข. 126C ค. 127N ง. 148O จ. 115B 18. ข้อใดไมใ่ ช่ ประโยชน์ของการจัดทาตารางธาตใุ นปจั จบุ นั (นาไปใช้ ว 2.1 ม.5/3) ก. สามารถเลอื กใชจ้ ัดเรยี งของธาตุ แตล่ ะธาตุตามเลขอะตอมได้ ข. สามารถเลือกใชจ้ ดั หม่ขู องธาตุตามอเิ ลก็ ตรอนวงนอกสดุ ได้ ค. สามารถเลือกใชจ้ ัดหมวดหมธู่ าตุตามคณุ สมบัติของธาตไุ ด้ ง. สามารถเลอื กใชจ้ ัดคาบของธาตตุ ามจานวนช้นั อิเล็กตรอนได้ จ. สามารถเลอื กใชจ้ ดั หมขู่ องธาตตุ ามประจุทเ่ี กิดข้ึนของธาตุได้ 19. ขอ้ เรียงลาดบั มวลขององค์ประกอบของอะตอม จากมากไปหาน้อย (เขา้ ใจว 2.1 ม.5/3) ก Ca Mg Be ข. Na K Li ค. He Ne Ar ง.N O F จ. Al Si P 20. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกบั อะตอม (วิเคราะห์ ว 2.1 ม.5/2) ก. แบบจาลองอะตอมทงั้ 5 แบบ เกิดจากนกั วทิ ยาศาสตร์ท้งั หมด 5 คน ข. แบบจาลองแบบแรกท่ีถูกคิดข้นึ คือ แบบจาลองอะตอมของ ทอมสัน ค. แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ดจะมีลักษณะเปน็ ทรงกลมตนั ง. แบบจาลองอะตอมของโบรจ์ ะมอี เิ ล็กตรอนลอ้ มรอบนิวเคลียสเปน็ วงแหวนหลายชน้ั จ. ไม่มีขอ้ ใดถกู

ผังมโนทัศน์ รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ รหสั วชิ า ว 32101 ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษา 5 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เร่ือง สมบตั ิตามตารางธาตุ จานวน 8 ชว่ั โมง : 15 คะแนน ช่อื เรอ่ื ง ธาตหุ มู่ A ตามหมแู่ ละคาบ จานวน 6 ช่วั โมง : 10 คะแนน หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ เรอ่ื ง สมบัติตามตารางธาตุ จานวน 12 ชวั่ โมง ชอื่ เรอ่ื ง ธาตแุ ทรนซชิ นั จานวน 2 ช่ัวโมง : 5 คะแนน

แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เรอื่ ง สมบตั ิตามตารางธาตุ แผนจดั การเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง ธาตุหมู่ A ตาม หมแู่ ละคาบ รายวิชา วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ รหัสวิชา ว 32101 ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 นา้ หนกั เวลาเรยี น 1 (นน./นก.) เวลาเรยี น 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์ เวลาทีใ่ ชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 4 ช่วั โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคญั หมูแ่ ละคาบของธาตุ และธาตุเป็นโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ จากตารางธาตุสมบัตกิ ารนาไฟฟ้า การใหแ้ ละรับ อเิ ลก็ ตรอนระหว่างธาตใุ นกลมุ่ โลหะกบั อโลหะ 2. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วดั ช้นั ป/ี ผลการเรียนรู/้ เปา้ หมายการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบตั ิของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พันธ์ระหว่างสมบัตขิ อง สสาร กับโครงสร้างและแรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมี ตวั ชวี้ ัด/ผลการเรียนรู้ ว 2.1 ม.5/5 , ระบุหมูแ่ ละคาบของธาตุและระบุว่าธาตุเป็นโลหะ อโลหะ กง่ึ โลหะ กลุ่มธาตเุ รพรีเซนเททีฟ หรอื กลมุ่ ธาตแุ ทรนชัน จากตารางธาตุ ว 2.1 ม.5/6 , เปรยี บเทยี บสมบัติการนาไฟฟ้า การให้และรบั อิเล็กตรอนระหวา่ งธาตใุ นกลุ่มโลหะกับอโลหะ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนอ้ื หาสาระหลกั : Knowledge จานวนโปรตอน นิวตรอนและอเิ ลก็ ตรอนของอะตอม และ ไอออนทเี่ กดิ จากอะตอมเดยี วสัญลักษณน์ วิ เคลียร์ของธาตุและระบุการเปน็ ไอโซโทปหมู่และคาบของธาตุ 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process เกดิ กระบวน สงั เกตหาความแตกตา่ ง การจดั จาแนกขอ้ มลู 3.3 คุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ : Attitude นกั เรยี นเกดิ ความสนใจในการศกึ ษาคน้ ควา้ กลา้ แสดงออก ความคดิ เหน็ จากขอ้ มลู ท่ีศึกษาได้ ในกลุ่มเพอื่ น 4. สมรรถนะสาคญั ของนักเรยี น 4.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร 4.2 ความสามารถในการคิด 4.3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา 5. คณุ ลกั ษณะของวชิ า - ความรบั ผดิ ชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกล่มุ

6. คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ 2. ซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ 3. มีวินยั 4. ใฝเ่ รียนรู้ 6. มุ่งม่ันในการทางาน 7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน : - กิจกรรมจดั จาแนกประเภท ธาตแุ ตล่ ะประเภท 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ (กระบวนเรยี นรแู้ บบสบื เสาะหาความรแู้ สดงตามขั้นตอน : เวลาท่ีใช้ 6 ช่วั โมง) - ขัน้ สร้างความสนใจ ใช้เกมส์ในการจดั จาแนกธาตแุ ต่ละธาตตุ ามเกณฑก์ ลุม่ ของนกั เรียนกาหนด และอธิบายถึง หลักเกณฑท์ ใี่ ช้ในการจดั จาแนกในเพอ่ื นในชั้นเรยี นฟงั - ขั้นสารวจและค้นพบ นกั เรยี นศึกษาตรวจสอบข้อมูลการจัดจาแนกธาตุตามตารางธาตุ แลกเปล่ียนความคดิ เห็น - ขน้ั อธิบายและลงข้อสรปุ นกั เรยี นอธบิ ายและลงขอ้ สรปุ จากการศึกษาค้นควา้ เพ่อื นาไปสู่การจัดจาแนกแนวทางทถ่ี ูกตอ้ ง - ขัน้ ขยายความรูแ้ ละนาเสนอผลการคน้ หาคาตอบ เช่ือมโยงความรู้ทสี่ รุปได้ ถึงเกณฑ์ในการจดั จาแนกธาตุ โดยครชู ว่ ยขยายความการจัดตามหมู่ ตามคาบ ตามสมบตั ิความเปน็ โลหะ และอธบิ ายถงึ สมบัติการถ่ายโอนอเิ ลก็ ตรอน - ขน้ั สรปุ และประเมนิ ผล ครสู รปุ และใหข้ อ้ เสนอแนะเพมิ่ เตมิ จากนัน้ ให้นกั เรยี นทาแบบฝกึ หัดเพื่อเสรมิ ความเขา้ ใจ และ เฉลยภายในหอ้ งเรียน ชว่ั โมงที่ 1 - 2 - แจกบตั รคาทีม่ สี ัญลกั ษณข์ องธาตุแตล่ ะประเภท กลุ่มละ 15 ธาตุ ทั้งหมด 5 กลุม่ - อธบิ ายการจาแนกประเภท การตั้งหลกั เกณฑใ์ นการแยกประเภท เพ่ือทจ่ี ะสามารถนาความรูท้ าง วิทยาศาสตรน์ ามาใชง้ านไดโ้ ดยง่าย - ใหน้ ักเรียนแตก่ ล่มุ คดิ หลกั เกณฑ์ในการจัดประเภทของธาตุทกี่ าหนดใหแ้ ต่ละกลุ่ม - นกั เรยี นนาเสนอหลกั เกณฑท์ ค่ี ดิ ขน้ึ หนา้ ชน้ั เรยี น - จากนั้นใหน้ ักเรียนชว่ ยกันระดมความคิดว่าหลกั เกณฑ์ของกลมุ่ ไหนท่ีสามารถจาแนกประเภทของธาตุ ไดเ้ หมาะสมและสามารถนาไปใช่งานไดง้ ่ายทีส่ ดุ

- จากน้นั ครอู ธิบายถึงหลักเกณฑท์ ี่ใช้ในการจาแนกประเภทของธาตใุ นปัจจบุ นั โดยกลา่ ว ระบบหมู่ ซึ่ง สมั พันธส์ มบตั คิ วามเปน็ โลหะ และระบบคาบ การจดั เรยี งอเิ ลก็ ตรอนอยา่ งงา่ ย - จากนั้นใหน้ ักเรียนสรุปหลกั เกณฑใ์ นการจาแนก และทดลองจาแนกตามหลักเกณฑใื นยคุ ปัจจบุ ันอกี ครงั้ เพือ่ ความเขา้ ใจทีม่ ากขึน้ ชั่วโมงที่ 3 - 4 - ให้นักเรียนนาความรจู้ ากระบบหมู่ของธาตุ ศกึ ษาเพิ่มเติมด้านสมบตั คิ วามเป็นโลหะ การนาไฟฟา้ ความเหนี่ยวของธาตแุ ตล่ ะธาตุ - อภปิ รายโดยการทาตารางสรุปประจาแตล่ ะกลมุ่ ชวั่ โมงท่ี 5 - 6 - ครอู ธบิ ายระบบหมู่ธาตุ หม่เู อ หมบู่ ี พรอ้ มท้ังเหตุผลในการแบง่ ของธาตดุ งั กล่าว - สอนวธิ กี ารจัดเรยี งอิเล็กตรอนเบ้อื งตน้ ในตารางธาตุโดยเนน้ ทธี่ าตุ ลาดับ 1 - 20 - จากน้นั ฝกึ อา่ นชื่ออา่ นชอื่ ธาตุโลหะแทรนซิชนั รวมกัน - นกั เรยี นทาแบบฝกึ หัด เรอ่ื งโลหะแทรนซชิ นั - เฉลยแบบฝึกหดั ในหอ้ งเรียน 9. ส่ือการเรยี นการสอน / แหลง่ เรียนรู้ จานวน สภาพการใชส้ ื่อ รายการสื่อ 1 ชดุ ขั้นเตรียมความพรอ้ ม 1. กิจกรรมการจัดจาแนก 2. แบบฝกึ หดั ทบทวน 1 ชดุ ขั้นสรุป

10. การวัดผลและประเมินผล เปา้ หมาย หลักฐานการเรยี นรู้ วธิ ีวัด เครือ่ งมือวดั ฯ ประเดน็ / การเรียนรู้ ชนิ้ งาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้ ระบุหมแู่ ละคาบของ แบบฝกึ หัดทบทวน ตวรจแบบฝกึ หัด แบบตวรจแบบฝึกหดั คะแนน ธาตแุ ละระบุว่าธาตุ ทบทวน ทบทวน ความถกู ต้องรอ้ ยละ เปน็ โลหะ อโลหะ ใบงานตาราง ตวรจใบงาน แบบตวรจใบงาน เปรียบเทียบสมบตั ิ เปรยี บเทยี บสมบั ตั ธิ าตุ 80 ขนึ้ ไป การนาไฟฟา้ การให้ - - - ความถกู ตอ้ งร้อย และรบั อเิ ล็กตรอน ละ 80 ข้นึ ไป ระหว่างธาตุในกลมุ่ - โลหะกับอโลหะ ลงช่อื ..................................................ผู้สอน (............................................)

แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เรอื่ ง สมบตั ติ ามตารางธาตุ แผนจัดการเรียนรูท้ ่ี 4 เร่อื ง ธาตุแทรนซิชนั รายวิชา วิทยาศาสตรก์ ายภาพ รหสั วิชา ว 32101 ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562 น้าหนกั เวลาเรยี น 1 (นน./นก.) เวลาเรียน 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์ เวลาทีใ่ ชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 2 ชั่วโมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคญั หม่แู ละคาบของธาตุ และธาตเุ ปน็ โลหะ อโลหะ ก่งึ โลหะ จากตารางธาตุสมบัติการนาไฟฟ้า การใหแ้ ละรับ อเิ ลก็ ตรอนระหว่างธาตุในกลมุ่ โลหะกับอโลหะ 2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ัดชน้ั ป/ี ผลการเรียนร/ู้ เป้าหมายการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบตั ขิ องสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสมบตั ิของ สสาร กบั โครงสร้างและแรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาตขิ องการเปลยี่ นแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี ตัวชวี้ ัด/ผลการเรียนรู้ ว 2.1 ม.5/5 , ระบหุ มแู่ ละคาบของธาตุและระบวุ ่าธาตเุ ปน็ โลหะ อโลหะ กึง่ โลหะ กลุ่มธาตุเรพรีเซนเททฟี หรือกลมุ่ ธาตแุ ทรนชัน จากตารางธาตุ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เนอ้ื หาสาระหลัก : Knowledge ธาตุโลหะแทรนซชิ นั และคุณสมบัติของโลหะแทรนซชิ ัน 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process เกดิ กระบวนค้นหาข้อมูล คดั เลือกและสรุปขอ้ มูลทีค่ น้ หา 3.3 คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ : Attitude นกั เรยี นเกดิ ความสนใจในการศกึ ษาคน้ ควา้ กลา้ แสดงออก ความคดิ เหน็ จากข้อมลู ที่ศึกษาได้ ในกลุ่มเพอื่ น 4. สมรรถนะสาคัญของนักเรยี น 4.1 ความสามารถในการสอื่ สาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 4.3 ความสามารถในการแกป้ ญั หา 5. คุณลกั ษณะของวิชา - ความรบั ผดิ ชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกลมุ่

6. คณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค์ 2. ซ่อื สตั ยส์ จุ ริต 3. มีวนิ ัย 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 6. มุ่งม่ันในการทางาน 7. ชิน้ งาน/ภาระงาน : - การสรปุ เนอ้ื หาโลหะแทรนซิชนั ใชช้ วี ิตประจาวนั 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ (กระบวนเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรแู้ สดงตามขัน้ ตอน : เวลาท่ใี ช้ 2 ช่วั โมง) - ขน้ั สร้างความสนใจ กระตนุ้ ความสนใจของนักเรียนถึงโลหะทอ่ี ยู่ในชีวิตประจาวัน โดยการใชค้ ลปิ โลหะในอปุ กรณ์ การแพทย์ - ขั้นสารวจและค้นพบ นกั เรยี นศึกษาโลหะทใ่ี ชใ้ นชวี ิตประจาวนั ศึกษาลกั ษณะการใชแ้ ละเหตุผลในการเลือกใชธ้ าตุ โลหะ ศกึ ษาการผสมโลหะ - ขนั้ อธิบายและลงขอ้ สรปุ นกั เรยี นอธบิ ายและลงขอ้ สรปุ จากการศกึ ษาคน้ ควา้ จากนาสรปุ ความร้ทู ี่ไดร้ ับ - ข้ันขยายความรู้และนาเสนอผลการค้นหาคาตอบ นาความรู้ท่สี รุปได้ ในเร่ืองคณุ สมบัตขิ องโลหะแทรนซชิ ัน การใชโ้ ลหะผมกันเพอื่ ประโยชน์ใน ชวี ิตประจาวัน - ขั้นสรปุ และประเมินผล ครูสรปุ และใหข้ ้อเสนอแนะเพ่มิ เตมิ จากนั้นใหน้ ักเรยี นทาแบบฝกึ หัดเพ่ือเสริมความเขา้ ใจ และ เฉลยภายในหอ้ งเรยี น ชวั่ โมงที่ 1 - ใช้คลิปวดิ โี อในเรื่องวัสดุทางการแพทย์ โดยต้ังขอ้ สังเกตถงึ การตา้ นการขยายตัวของโลหะ และ ปฏกิ ริ ิยาของโลหะ - สอบถามนักเรยี นแตล่ ะกลุ่ม ถึงลกั ษณะพเิ ศษของอปุ กรณท์ างการแพทย์ รวบรวมความคดิ เห็นจากแต่ ละกลมุ่ ในชน้ั เรยี น - วเิ คราะหเ์ หตผุ ลทีเ่ สนอ ในชัน้ เรยี น คัดเลอื กความคดิ เหน็ ทส่ี มเหตุสมผลทสี่ ดุ

ชัว่ โมงที่ 2 - ครูอธิบายถงึ หลักการของอปุ กรณก์ ารแพทยแ์ ละการผสมโลหะเพ่อื จุดประสงคใ์ นการใชป้ ระโยชนนทื ี่ แตกตา่ งกนั - นกั เรยี นศึกษาสง่ิ ของทเ่ี กิดจากการใชป้ ระโยชนข์ องการผสมโลหะ - สรปุ องคค์ วามร้ทู ไี่ ดร้ ับในแตล่ ะกลุม่ - นกั เรยี นทาแบบฝกึ หัด โดยยสามารถชว่ ยการในกลมุ่ ได้ จากการเฉลยคาตอบในหอ้ งเรียน 9. สือ่ การเรยี นการสอน / แหล่งเรียนรู้ จานวน สภาพการใชส้ ่ือ รายการส่อื 1 ชดุ ขั้นค้นคว้า 1. Powerpiont 2. คลิปวิดโิ อเรอ่ื ง โลหะทางการแพทย์ 1 ชุด ขั้นสร้างความสนใจ 10. การวัดผลและประเมนิ ผล เปา้ หมาย หลักฐานการเรียนรู้ วธิ วี ดั เคร่ืองมือวดั ฯ ประเดน็ / การเรยี นรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน เกณฑก์ ารให้ ธาตุโลหะแทรนซิชัน แบบฝกึ หดั เร่ืองธาตแุ ท ตรวจแบบฝึกหัด แบบตวรจแบบฝึกหดั คะแนน ทบทวน ความถกู ต้องร้อยละ และคุณสมบัตขิ อง รนซชิ นั ทบทวน 80 ขึน้ ไป โลหะแทรนซชิ ัน ลงชอื่ ..................................................ผู้สอน (............................................)

ผังมโนทศั น์ รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ รหัสวิชา ว 32101 ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษา 5 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 เร่ือง พันธะเคมี จานวน 16 ชวั่ โมง : 45 คะแนน ชื่อเรอ่ื ง สารประกอบไอออนิก ชอื่ เรือ่ ง รปู ร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ จานวน 4 ชวั่ โมง : 10 คะแนน จานวน 4 ชั่วโมง : 10 คะแนน หน่วยการเรียนรทู้ ี่ เรือ่ ง พนั ธะเคมี จานวน 16 ช่วั โมง ช่อื เร่ือง สภาพขัว้ และแรงระหว่างโมเลกุล ชือ่ เรื่อง สมบตั ขิ องสารประกอบ จานวน 4 ช่ัวโมง : 10 คะแนน จานวน 4 ช่วั โมง : 15 คะแนน

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 3 เรอ่ื ง พันธะเคมี แผนจัดการเรียนรู้ท่ี 5 เรือ่ ง สารประกอบไอออนิก รายวชิ า วิทยาศาสตร์กายภาพ รหัสวชิ า ว 32101 ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562 นา้ หนกั เวลาเรยี น 1 (นน./นก.) เวลาเรียน 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ เวลาทใ่ี ชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 4 ชัว่ โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคญั สตู รเคมขี องไอออนและสารประกอบไอออนกิ 2. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ช้ีวดั ชั้นป/ี ผลการเรียนร/ู้ เปา้ หมายการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบตั ิของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสมบตั ิของ สสาร กับโครงสร้างและแรงยดึ เหน่ยี วระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาตขิ องการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมี ตัวชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้ ว 2.1 ม.5/12 , เขยี นสตู รเคมขี องไอออนและสารประกอบไอออนกิ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เนื้อหาสาระหลัก : Knowledge การเขยี นสตู รเคมพี ันธะไอออนคิ สารประกอบไอออนิคใน ชีวติ ประจาวนั 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process เกดิ กระบวนการสงั เกตจากสิ่งท่ที ่มี ีในชีวิตประจาวัน 3.3 คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค์ : Attitude นกั เรยี นเกดิ ความสนใจในการศกึ ษาคน้ ควา้ กลา้ แสดงออก ความคิดเหน็ จากขอ้ มลู ที่ศึกษาได้ ในกลุ่มเพ่อื น 4. สมรรถนะสาคญั ของนกั เรียน 4.1 ความสามารถในการส่อื สาร 4.2 ความสามารถในการคิด 4.3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา 5. คุณลักษณะของวิชา - ความรับผดิ ชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกลุ่ม

6. คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ 2. ซอ่ื สัตยส์ จุ รติ 3. มีวนิ ัย 4. ใฝเ่ รียนรู้ 6. มงุ่ ม่ันในการทางาน 7. ช้ินงาน/ภาระงาน : - แบบฝึกหดั การของเขยี นสตู รสารประกอบไอออนกิ 8. กิจกรรมการเรียนรู้ (กระบวนเรยี นร้แู บบสบื เสาะหาความรแู้ สดงตามข้นั ตอน : เวลาทใี่ ช้ 4 ชั่วโมง) - ขน้ั สรา้ งความสนใจ ใชค้ าถามว่าเกลือแตกต่างกันอยา่ งไร เพอ่ื กระตุน้ ความสงสัยในข้อแตกตา่ ง ครูให้ความหมาย ของสารประกอบไอออนกิ - ขนั้ สารวจและค้นพบ นกั เรยี นค้นคว้าชนิดของสารประกอบไอออนิค ท่ีมีในชวี ิตประจาวนั โดยมคี รูคอยแนะนา - ข้นั อธิบายและลงขอ้ สรุป นกั เรยี นอธบิ ายและลงขอ้ สรปุ จากการศกึ ษาค้นควา้ คณุ ชว่ ยเสรมิ ถงึ หลักการในการเขยี นสูตร - ข้ันขยายความรแู้ ละนาเสนอผลการคน้ หาคาตอบ นกั เรยี นศึกษาวธิ กี ารเขยี นสารประกอบไออนิก นาไปประยกุ ต์ใชก้ ับสารอาหารประเภทแรธ่ าตุที่ สาคญั ต่อรา่ งกาย และเปรียบเทียบขอ้ แตกต่างของธาตุ และ ไอออนของธาตุ - ขั้นสรุปและประเมนิ ผล ครูสรปุ และใหข้ ้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ จากนน้ั ให้นกั เรียนทาแบบฝึกหดั เพื่อเสริมความเขา้ ใจ และ เฉลยภายในหอ้ งเรียน ชว่ั โมงที่ 1 - 2 - นาเกลือแต่ละประเภท มใี หน้ กั เรียนดู และตงั้ คาถามวา่ สารน้ี มีความแตกตา่ งกันอย่างได้ - กระตุ้นให้เกดิ ความคิด สงั เกต หาเหตผุ ล ถงึ ความแตกต่างของสาร - ครเู ฉลยความแตกต่างและบอกสตู รของสารเคมดี ังกลา่ ว จากนน้ั อธิบายว่าสารเคมดี งั กล่าวเคมี สารประกอบแบบไอออนคิ - ให้นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ ศกึ ษาหาความหมาย ตวั อย่าง สารประกอบไอออนคิ - นาเสนอองค์ความรทู้ ่สี รปุ ได้ หน้าชนั้ เรียน - ครแู นะนาความร้ทู ่นี ักเรยี นสรปุ และนาเสนอ