Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ม.1

โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ม.1

Published by buritkongmali, 2020-04-24 02:06:36

Description: โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ม.1

Search

Read the Text Version

1 โครงสรา้ งรายวิชา รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 21101 ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ จดั ทาโดย นายบุรศิ ร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนักงานราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ ตาบลชา่ งเคิ่ง อาเภอแม่แจ่ม จงั หวดั เชยี งใหม่ สานกั บริหารงานการศึกษาพเิ ศษ สานักงานการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร โดย นายบุริศร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนักงานราชการ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

2 คาอธิบายรายวิชา รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 21101 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 เวลา 60 ช่วั โมง จานวน 1.5 หนว่ ยกติ คาอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับสารรอบตัว สมบัติของสาร การจาแนกสารด้วยสถานะ เนื้อสาร และขนาดอนุภาคของ สาร การเปลี่ยนแปลงของสาร สารบริสุทธิ์และสารผสม สมบัติของสารบริสุทธ์ิและสารผสม การใช้ความรู้ ทางเคมีให้เป็นประโยชน์ต่อการเลือกใช้สารเคมีในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย การศึกษา ชีววิทยาโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ศึกษาประเภทโครงสรา้ งและหน้าท่ขี องส่วนประกอบภายในเซลล์ ส่ิงมีชีวิตด้วยกล้องจุลทรรศน์ ศึกษากระบวนการลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ด้วยวิธีการแพร่และ การออสโมซิส ศึกษาการดารงชีวิตของพืช กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การลาเลียงสารในพืช การเจริญเติบโตของพืช การสืบพันธ์ขุ องพืช และเทคโนโลยีชีวภาพของพืช ศึกษาเก่ียวกับอุณหภูมิและการวัด ผลของความร้อนที่มีผลต่อการเปล่ียนแปลงของสาร การถ่ายโอนความร้อน การดูดกลืนและคายความร้อน สมดุลความร้อน องค์ประกอบของบรรยากาศ การแบ่งชั้นบรรยากาศ ผลของรังสีจากดวงอาทิตย์ต่อ บรรยากาศ องค์ประกอบของบรรยากาศ ไดแ้ ก่ อุณหภูมอิ ากาศ ความดันอากาศ ความชื้นอากาศ ลม เมฆและ ฝน พายุฟ้าคะนอง พายหุ มุนเขตร้อน มรสมุ การพยากรณอ์ ากาศ และการเปลย่ี นแปลงภูมิอากาศของโลก โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธิบาย และสรุป เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ ส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู้และนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน มีจติ วิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม และจรยิ ธรรม ตวั ชวี้ ัด ว 1.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 ม.1/10 ม.1/11 ม.1/12 ม.1/13 ม.1/14 ม.1/15 ม.1/16 ม.1/17 ม.1/18 ว 2.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 ม.1/10 ว 2.2 ม.1/1 ว 2.3 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ว 3.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 รวม 43 ตวั ชว้ี ัด โดย นายบุริศร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนักงานราชการ กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

3 ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง วิทยาศาสตร์ * สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบตั ิของสิง่ มชี วี ติ หนว่ ยพนื้ ฐานของสิง่ มชี วี ติ การลาเลียงสารผ่านเซลล์ ความสัมพนั ธ์ ของโครงสรา้ ง และหนา้ ท่ีของระบบตา่ ง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพนั ธก์ ัน ความสัมพนั ธข์ องโครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของอวยั วะต่าง ๆ ของพชื ท่ีทางานสมั พนั ธ์กนั รวมทงั้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ชั้น ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 1. เปรยี บเทยี บรูปรา่ งและ  เซลลเ์ ปน็ หน่วยพน้ื ฐานของส่งิ มีชวี ิต ส่ิงมีชวี ติ บางชนดิ มี โครงสร้างของเซลลพ์ ชื และสัตว์ เซลล์เพียงเซลล์เดยี ว เชน่ อะมบี า พารามีเซียม ยีสต์ บาง รวมทงั้ บรรยายหน้าทีข่ องผนัง ชนิดมีหลายเซลล์ เช่น พชื สตั ว์ เซลล์ เย่ือหมุ้ เซลล์ ไซโทพลาซึม  โครงสรา้ งพน้ื ฐานท่ีพบท้งั ในเซลล์พืชและเซลลส์ ัตว์ และ นวิ เคลยี ส แวคิวโอล ไมโทคอน สามารถสังเกตไดด้ ว้ ยกล้องจุลทรรศนใ์ ชแ้ สง ได้แก่ เยอ่ื หุ้ม เดรีย และคลอโรพลาสต์ เซลล์ ไซโทพลาซมึ และนวิ เคลยี ส โครงสรา้ งทพ่ี บในเซลล์ 2. ใช้กล้องจุลทรรศน์ใชแ้ สงศึกษา พืชแต่ไมพ่ บในเซลล์สตั ว์ ไดแ้ ก่ ผนงั เซลล์ และคลอโร- เซลลแ์ ละโครงสร้างต่าง ๆ พลาสต์ ภายในเซลล์  โครงสรา้ งตา่ ง ๆ ของเซลล์มีหนา้ ทแ่ี ตกต่างกัน - ผนังเซลล์ ทาหน้าที่ให้ความแขง็ แรงแกเ่ ซลล์ - เยื่อหุ้มเซลล์ ทาหนา้ ทีห่ ่อหุ้มเซลล์ และควบคุมการ ลาเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์ - นวิ เคลียส ทาหนา้ ทคี่ วบคุมการทางานของเซลล์ - ไซโทพลาซึม มีออรแ์ กเนลล์ทีท่ าหน้าทแี่ ตกต่างกนั - แวควิ โอล ทาหนา้ ทเี่ กบ็ น้าและสารต่าง ๆ - ไมโทคอนเดรีย ทาหน้าที่สลายสารอาหารเพื่อให้ได้ พลังงานแก่เซลล์ - คลอโรพลาสต์ เปน็ แหลง่ ที่เกิดการสังเคราะหด์ ้วยแสง 3. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง  เซลล์ของส่ิงมีชวี ติ มีรูปร่างลกั ษณะที่หลากหลาย และมี รปู ร่างกับการทาหนา้ ท่ีของเซลล์ ความเหมาะสมกบั หน้าทีข่ องเซลล์นั้น เชน่ เซลลป์ ระสาท สว่ นใหญม่ ีเส้นใยประสาทเป็นแขนงยาว นากระแสประสาท ไปยังเซลล์อื่น ๆ ท่ีอยู่ไกลออกไป เซลล์ขนรากเป็นเซลลผ์ วิ ของรากที่มีผนังเซลลแ์ ละเยื่อห้มุ เซลลย์ นื่ ยาวออกมา โดย นายบุริศร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนักงานราชการ กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

4 ชั้น ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 4. อธบิ ายการจัดระบบของ ลกั ษณะคลา้ ยขนเส้นเลก็ ๆ เพอ่ื เพ่ิมพ้นื ที่ผิว ในการดูดนา้ ส่งิ มชี วี ติ โดยเรม่ิ จากเซลล์ และแรธ่ าตุ เนอื้ เยอ่ื อวัยวะ ระบบอวัยวะ  พชื และสัตวเ์ ปน็ สิง่ มชี วี ิตหลายเซลล์มีการจดั ระบบ โดยเริ่ม จนเปน็ สงิ่ มีชวี ิต จากเซลลไ์ ปเป็นเน้ือเยื่อ อวัยวะ ระบบอวัยวะ และสงิ่ มีชีวติ ตามลาดับ เซลลห์ ลายเซลล์มารวมกันเป็นเนื้อเยื่อ เนื้อเย่ือ 5. อธิบายกระบวนการแพรแ่ ละ หลายชนิดมารวมกัน และทางานรว่ มกนั เป็นอวัยวะ อวัยวะ ออสโมซิส จากหลักฐานเชิง ตา่ ง ๆ ทางานร่วมกันเป็นส่ิงมีชีวติ นอกจากนใี้ นกระดกู ฟัน ประจักษ์ และยกตวั อยา่ งการแพร่ และกล้ามเนื้อจะมีธาตเุ ป็นองค์ประกอบดว้ ย และออสโมซสิ ในชีวติ ประจาวนั  เซลลม์ ีการนาสารเข้าส่เู ซลล์เพอ่ื ใช้ในกระบวนการต่าง ๆ ของเซลล์ และมกี ารขจดั สารบางอยา่ งท่ีเซลลไ์ ม่ต้องการ 6. ระบปุ ัจจัยทจี่ าเป็นในการ ออกนอกเซลล์ การนาสารเข้าและออกจากเซลล์ มหี ลาย สังเคราะห์ด้วยแสงและผลผลิต วธิ ี เช่น การแพร่ เป็นการเคลื่อนท่ีของสารจากบรเิ วณทมี่ ี ที่เกดิ ขนึ้ จากการสงั เคราะห์ด้วย ความเขม้ ข้นของสารสงู ไปสบู่ รเิ วณท่มี ีความเข้มขน้ ของสาร แสง โดยใช้หลกั ฐานเชิง ตา่ ส่วนออสโมซสิ เป็นการแพร่ของน้าผา่ นเย่ือหุ้มเซลลจ์ าก ประจกั ษ์ ดา้ นทีม่ คี วามเข้มขน้ ของสารละลายตา่ ไปยังดา้ นท่ีมีความ เขม้ ขน้ ของสารละลายสูงกวา่ 7. อธิบายความสาคญั ของการ  กระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพืชทีเ่ กิดขึน้ ในคลอโรพ สังเคราะห์ด้วยแสงของพชื ต่อ ลาสต์ จาเป็นตอ้ งใชแ้ สง แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ สิ่งมชี วี ิตและส่ิงแวดล้อม คลอโรฟิลล์ และนา้ ผลผลิตที่ได้จากการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง ได้แก่ นา้ ตาลและแกส๊ ออกซิเจน 8. ตระหนักในคุณค่าของพืชที่มตี อ่ สง่ิ มีชวี ติ และสิง่ แวดล้อม โดย  การสงั เคราะหด์ ้วยแสงเป็นกระบวนการทส่ี าคญั ต่อสง่ิ มชี วี ิต การร่วมกันปลูกและดแู ลรักษา เพราะเป็นกระบวนการเดียวที่สามารถนาพลังงานแสงมา ตน้ ไม้ในโรงเรยี น เปลยี่ นเป็นพลงั งานในรูปสารประกอบอนิ ทรยี ์และเก็บ สะสมในรูปแบบต่าง ๆ ในโครงสรา้ งของพชื พชื จงึ เป็น 9. บรรยายลักษณะและหน้าที่ แหล่งอาหารและพลงั งานท่ีสาคญั ของสงิ่ มชี วี ติ อน่ื นอกจากนี้กระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสงยังเปน็ กระบวนการหลักในการสรา้ งแกส๊ ออกซิเจนให้กับ บรรยากาศเพ่ือใหส้ ิง่ มีชีวติ อื่นใชใ้ นกระบวนการหายใจ  พชื มีไซเล็มและโฟลเอม็ ซง่ึ เป็นเน้อื เย่อื มลี ักษณะคล้ายท่อ โดย นายบุริศร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

5 ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ของไซเลม็ และโฟลเอม็ เรียงตวั กนั เป็นกลุ่มเฉพาะที่ โดยไซเลม็ ทาหน้าทีล่ าเลียงนา้ 10. เขียนแผนภาพทีบ่ รรยายทศิ และธาตุอาหาร มีทิศทางลาเลยี งจากรากไปสูล่ าตน้ ใบ และ ส่วนตา่ ง ๆ ของพชื เพ่ือใช้ในการสงั เคราะหด์ ้วยแสง รวมถึง ทางการลาเลยี ง สารในไซเล็ม กระบวนการอืน่ ๆ ส่วนโฟลเอ็ม ทาหนา้ ทลี่ าเลียงอาหารท่ี และโฟลเอ็มของพชื ไดจ้ ากการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง มที ศิ ทางลาเลียงจากบริเวณ ที่มีการสังเคราะห์ด้วยแสงไปสู่ส่วนตา่ ง ๆ ของพืช 11. อธบิ ายการสบื พนั ธ์แุ บบอาศัย เพศ และไม่อาศยั เพศของพืช  พชื ดอกทุกชนิดสามารถสืบพันธุแ์ บบอาศัยเพศได้ และบาง ดอก ชนดิ สามารถสบื พันธุ์แบบไม่อาศัยเพศได้ 12. อธิบายลกั ษณะโครงสร้างของ  การสบื พันธุ์แบบอาศยั เพศเป็นการสืบพันธทุ์ ี่มีการผสมกัน ดอกท่มี ีสว่ นทาให้เกิดการถ่าย ของสเปริ ์มกบั เซลล์ไข่ การสบื พนั ธแ์ุ บบอาศัยเพศของพืช เรณู รวมทง้ั บรรยาย การปฏสิ นธิ ดอกเกิดข้นึ ท่ีดอก โดยภายในอับเรณขู องส่วนเกสรเพศผ้มู ี ของพชื ดอก การเกดิ ผลและ เรณู ซ่งึ ทาหนา้ ที่สร้างสเปริ ์ม ภายในออวลุ ของส่วนเกสร เมล็ด การกระจายเมลด็ และการ เพศเมีย มีถุงเอ็มบริโอ ทาหน้าท่สี ร้างเซลลไ์ ข่ งอกของเมลด็  การสืบพันธแ์ุ บบไม่อาศยั เพศ เปน็ การสบื พันธุท์ ี่พืชต้นใหม่ 13. ตระหนักถึงความสาคัญของ ไม่ได้เกิดจากการปฏสิ นธริ ะหว่างสเปริ ์มกบั เซลลไ์ ข่ แต่เกิดจาก สตั ว์ ทีช่ ่วยในการถ่ายเรณู ส่วนต่าง ๆ ของพชื เชน่ ราก ลาตน้ ใบ มีการเจรญิ เติบโตและ ของพชื ดอก โดยการไมท่ าลาย พัฒนาข้นึ มาเป็นตน้ ใหม่ได้ ชวี ิตของสตั ว์ ทช่ี ว่ ยในการ ถ่ายเรณู  การถ่ายเรณู คือ การเคล่ือนย้ายของเรณูจากอบั เรณูไปยงั ยอดเกสรเพศเมยี ซงึ่ เกยี่ วข้องกับลกั ษณะและโครงสรา้ ง ของดอก เช่น สีของกลบี ดอก ตาแหนง่ ของเกสรเพศผแู้ ละ เกสรเพศเมีย โดยมีสิง่ ท่ีชว่ ย ในการถา่ ยเรณู เช่น แมลง ลม  การถ่ายเรณจู ะนาไปสูก่ ารปฏสิ นธิ ซ่งึ จะเกดิ ข้นึ ที่ถุงเอ็มบรโิ อ ภายในออวลุ หลังการปฏสิ นธจิ ะไดไ้ ซโกตและเอนโดสเปริ ์ม ไซ โกต จะพัฒนาตอ่ ไปเป็นเอม็ บริโอ ออวุลพฒั นาไปเป็นเมล็ด และ รังไข่พฒั นาไปเปน็ ผล  ผลและเมลด็ มีการกระจายออกจากต้นเดิม โดยวิธีการตา่ ง ๆ เมอื่ เมล็ดไปตกในสภาพแวดล้อมทีเ่ หมาะสมจะเกดิ การ งอกของเมลด็ โดยเอ็มบรโิ อภายในเมลด็ จะเจริญออกมา โดยระยะแรกจะอาศัยอาหารทส่ี ะสมภายในเมลด็ จนกระท่งั ใบแท้พัฒนา จนสามารถสงั เคราะหด์ ้วยแสงได้ โดย นายบุรศิ ร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

6 ชน้ั ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง เตม็ ทแ่ี ละสรา้ งอาหารได้เองตามปกติ 14. อธบิ ายความสาคัญของธาตุ  พืชต้องการธาตอุ าหารที่จาเป็นหลายชนดิ ในการ อาหารบางชนิดท่มี ีผลตอ่ การ เจริญเตบิ โต และการดารงชวี ติ เจริญเตบิ โต และการดารงชวี ิต  พืชตอ้ งการธาตอุ าหารบางชนิดในปริมาณมาก ได้แก่ ของพชื ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั โพแทสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม 15. เลอื กใชป้ ยุ๋ ท่ีมีธาตุอาหาร และกามะถัน ซ่ึง ในดินอาจมไี มเ่ พียงพอสาหรบั การ เหมาะสมกบั พชื ในสถานการณ์ เจริญเติบโตของพืช จงึ ต้องมี การใหธ้ าตุอาหารในรปู ของ ท่กี าหนด ปยุ๋ กับพืชอย่างเหมาะสม 16. เลือกวธิ กี ารขยายพนั ธ์ุพืชให้  มนษุ ย์สามารถนาความรูเ้ รื่องการสบื พนั ธแุ์ บบอาศัยเพศและ เหมาะสมกับความต้องการของ ไม่อาศยั เพศ มาใช้ขยายพันธ์ุเพื่อเพ่ิมจานวนพืช เช่น การใช้ มนษุ ย์ โดยใชค้ วามรเู้ ก่ียวกบั การ เมล็ดท่ีได้จากการสืบพนั ธ์แุ บบอาศยั เพศมาเพาะเล้ยี ง วธิ ีการ สบื พันธุข์ องพชื นจี้ ะได้พชื ในปริมาณมาก แต่อาจมลี ักษณะที่แตกต่างไปจาก 17. อธบิ ายความสาคญั ของ พ่อแม่ ส่วนการตอนกง่ิ การปักชา การต่อกิ่ง การตดิ ตา การ เทคโนโลยี การเพาะเลีย้ ง ทาบกิ่ง การเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือ เปน็ การ นาความรู้เรื่อง เนื้อเย่ือพืชในการใช้ประโยชน์ การสบื พันธแ์ุ บบไม่อาศยั เพศของพืชมาใช้ในการขยายพันธ์ุ ดา้ นต่าง ๆ เพ่ือให้ได้พืชที่มลี กั ษณะเหมือนต้นเดิม ซ่ึงการขยายพันธุ์แต่ 18. ตระหนกั ถึงประโยชน์ของการ ละวธิ ี มีข้ันตอนแตกต่างกนั จึงควรเลือกให้เหมาะสมกับความ ขยายพันธ์พุ ืช โดยการนาความรู้ ตอ้ งการของมนุษย์ โดยต้องคานงึ ถึงชนิดของพืชและลักษณะ ไปใช้ในชีวติ ประจาวัน การสบื พันธข์ุ องพชื  เทคโนโลยีการเพาะเลยี้ งเนื้อเยื่อพชื เปน็ การนาความรู้ เกีย่ วกบั ปจั จัยทีจ่ าเป็นต่อการเจริญเติบโตของพชื มาใชใ้ นการ เพ่ิมจานวนพืช และทาใหพ้ ืชสามารถเจริญเติบโตได้ในหลอด ทดลอง ซ่ึงจะได้พชื จานวนมากในระยะเวลาสัน้ และสามารถ นาเทคโนโลยีการเพาะเล้ยี งเน้ือเย่ือมาประยุกตเ์ พื่อการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืช ปรบั ปรุงพันธ์ุพชื ทมี่ ีความสาคัญทาง เศรษฐกิจ การผลิตยา และสาระสาคัญในพชื และอ่นื ๆ โดย นายบรุ ศิ ร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

7 สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลง สถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมี ช้นั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 1. อธิบายสมบตั ทิ างกายภาพบาง  ธาตุแตล่ ะชนิดมีสมบัติเฉพาะตัว และมสี มบัตทิ าง ประการของธาตโุ ลหะ อโลหะ และ กายภาพ บางประการเหมือนกนั และบางประการ กึ่งโลหะ โดยใช้หลกั ฐานเชิง ต่างกนั ซ่ึงสามารถนามาจัดกลุ่มธาตุเปน็ โลหะ อโลหะ ประจกั ษ์ทไี่ ดจ้ ากการสงั เกต และ และก่งึ โลหะ ธาตโุ ลหะมจี ุดเดือด จุดหลอมเหลวสูง การทดสอบ และใช้สารสนเทศทีไ่ ด้ มผี วิ มันวาว นาความรอ้ น นาไฟฟา้ ดงึ เปน็ เส้นหรอื ตี จากแหล่งข้อมูลตา่ ง ๆ รวมท้ังจัด เปน็ แผน่ บางๆ ได้ และมีความหนาแน่นทั้งสูงและตา่ กลุ่มธาตเุ ปน็ โลหะ อโลหะ และกึ่ง ธาตุอโลหะ มจี ดุ เดือด จดุ หลอมเหลวตา่ มผี ิวไม่ โลหะ มนั วาว ไมน่ าความร้อน ไมน่ าไฟฟ้า เปราะแตกหักงา่ ย และ มคี วามหนาแนน่ ตา่ ธาตุกง่ึ โลหะมสี มบตั บิ าง ประการเหมือนโลหะ และสมบัติบางประการเหมือน อโลหะ 2. วิเคราะหผ์ ลจากการใชธ้ าตโุ ลหะ  ธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ที่สามารถแผ่รงั สไี ด้ อโลหะ ก่งึ โลหะ และธาตุ จัดเป็นธาตุกมั มันตรังสี กมั มันตรังสีท่มี ีต่อส่ิงมชี ีวิต สง่ิ แวดลอ้ ม เศรษฐกจิ และสงั คม จากข้อมลู ท่รี วบรวมได้ 3. ตระหนักถงึ คุณคา่ ของการใช้ธาตุโลหะ  ธาตมุ ีทงั้ ประโยชนแ์ ละโทษ การใชธ้ าตุโลหะ อโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ ธาตกุ ัมมนั ตรังสี โดย กง่ึ โลหะ ธาตกุ มั มันตรงั สี ควรคานงึ ถงึ ผลกระทบต่อ เสนอแนวทางการใชธ้ าตุอย่างปลอดภัย สิง่ มีชวี ิต ส่ิงแวดลอ้ ม เศรษฐกิจและสังคม คมุ้ ค่า 4. เปรยี บเทยี บจดุ เดือด จุดหลอมเหลว  สารบรสิ ุทธิ์ประกอบด้วยสารเพยี งชนดิ เดยี ว ส่วนสาร ของสารบริสุทธ์ิและสารผสม โดย ผสมประกอบดว้ ยสารตง้ั แต่ 2 ชนดิ ขึ้นไป สารบรสิ ุทธ์ิ การวัดอณุ หภมู ิ เขียนกราฟ แปล แต่ละชนิดมสี มบตั บิ างประการที่เปน็ คา่ เฉพาะตวั เช่น ความหมายข้อมลู จากกราฟ หรือ จดุ เดอื ดและจดุ หลอมเหลวคงท่ี แตส่ ารผสมมจี ดุ เดือด สารสนเทศ และจุดหลอมเหลวไมค่ งที่ ข้ึนอยูก่ บั ชนิดและสดั สว่ น ของสารท่ผี สมอยูด่ ้วยกัน 5. อธบิ ายและเปรียบเทียบความ  สารบริสุทธแ์ิ ต่ละชนิดมีความหนาแน่น หรือมวลต่อ โดย นายบุรศิ ร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

8 ชัน้ ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง หนาแน่นของสารบริสทุ ธิแ์ ละสาร หนง่ึ หนว่ ยปริมาตรคงท่ี เป็นค่าเฉพาะของสารนน้ั ณ ผสม สถานะ และอณุ หภมู หิ น่ึง แต่สารผสมมีความหนาแน่น 6. ใช้เครือ่ งมือเพื่อวดั มวลและปริมาตร ไม่คงท่ี ขึ้นอยู่กับชนิดและสดั ส่วนของสารที่ผสมอยู่ ของสารบริสทุ ธแ์ิ ละสารผสม ดว้ ยกนั 7. อธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ ระหว่างอะตอม ธาตแุ ละ  สารบริสทุ ธิแ์ บ่งออกเป็นธาตแุ ละสารประกอบ สารประกอบ โดยใชแ้ บบจาลอง และสารสนเทศ  ธาตปุ ระกอบดว้ ยอนุภาคท่เี ล็กทส่ี ุดทย่ี งั แสดงสมบัติ ของธาตุนั้น เรียกวา่ อะตอม ธาตแุ ตล่ ะชนิด 8. อธบิ ายโครงสร้างอะตอมท่ี ประกอบด้วยอะตอมเพยี งชนิดเดียว และไมส่ ามารถ ประกอบดว้ ย แยกสลายเปน็ สารอนื่ ได้ดว้ ยวิธีทางเคมี ธาตุเขียนแทน ดว้ ยสัญลักษณธ์ าตุ สารประกอบเกิดจากอะตอมของ โปรตอน นิวตรอน และอเิ ลก็ ตรอน ธาตตุ ั้งแต่ 2 ชนดิ ข้ึนไปรวมตัวกันทางเคมีในอัตราสว่ น โดยใชแ้ บบจาลอง คงที่ มีสมบัติแตกต่างจากธาตุที่เป็นองคป์ ระกอบ สามารถแยกเป็นธาตุไดด้ ้วยวิธที างเคมี ธาตุและ 9. อธบิ ายและเปรยี บเทยี บการจดั เรียง สารประกอบสามารถเขียนแทนได้ด้วยสูตรเคมี อนุภาค แรงยึดเหน่ียวระหว่าง อนภุ าค และการเคล่ือนทข่ี อง  อะตอมประกอบดว้ ยโปรตอน นิวตรอน และ อนภุ าคของสสารชนิดเดียวกันใน อเิ ลก็ ตรอน โปรตอน มปี ระจุไฟฟา้ บวก ธาตชุ นดิ สถานะของแขง็ ของเหลว และแก๊ส เดียวกันมีจานวนโปรตอนเท่ากัน และเปน็ ค่าเฉพาะ โดยใช้แบบจาลอง ของธาตนุ ัน้ นวิ ตรอนเปน็ กลางทางไฟฟา้ สว่ น อเิ ลก็ ตรอนมปี ระจุไฟฟ้าลบ เม่อื อะตอมมจี านวน โปรตอนเทา่ กบั จานวนอเิ ลก็ ตรอนจะเปน็ กลาง ทางไฟฟ้า โปรตอนและนวิ ตรอนรวมกันตรงกลาง อะตอมเรยี กว่า นิวเคลยี ส ส่วนอเิ ล็กตรอนเคล่ือนที่อยู่ ในทวี่ ่างรอบนวิ เคลียส  สสารทุกชนิดประกอบดว้ ยอนุภาค โดยสารชนดิ เดียวกนั ท่ีมีสถานะของแขง็ ของเหลว แกส๊ จะมีการ จัดเรียงอนุภาค แรงยดึ เหน่ยี วระหวา่ งอนุภาค การ เคลื่อนที่ของอนุภาคแตกตา่ งกนั ซึง่ มผี ลต่อรปู รา่ งและ ปรมิ าตรของสสาร  อนุภาคของของแข็งเรยี งชดิ กัน มแี รงยดึ เหนยี่ ว ระหวา่ งอนภุ าคมากทสี่ ุด อนุภาคสั่นอยู่กบั ท่ี ทาให้มี โดย นายบุริศร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนักงานราชการ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

9 ชัน้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง 10. อธิบายความสัมพนั ธ์ระหว่าง รปู รา่ งและปรมิ าตรคงท่ี พลงั งานความร้อนกับการเปลี่ยน สถานะของสสาร โดยใชห้ ลกั ฐาน  อนภุ าคของของเหลวอยู่ใกลก้ ัน มแี รงยดึ เหนีย่ ว เชิงประจักษ์และแบบจาลอง ระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของแข็ง แต่มากกว่าแก๊ส อนภุ าคเคล่ือนท่ีได้แต่ไม่เปน็ อิสระเท่าแกส๊ ทาใหม้ ี รปู รา่ งไม่คงที่ แตป่ ริมาตรคงที่  อนุภาคของแกส๊ อยหู่ ่างกนั มาก มแี รงยึดเหน่ยี ว ระหว่างอนภุ าคน้อยทส่ี ดุ อนุภาคเคลอ่ื นที่ได้อย่าง อิสระทุกทศิ ทาง ทาใหม้ รี ูปรา่ งและปริมาตรไม่คงที่  ความร้อนมผี ลต่อการเปลี่ยนสถานะของสสาร เมื่อให้ ความรอ้ นแก่ของแขง็ อนุภาคของของแข็ง จะมี พลงั งานและอุณหภูมิเพิ่มข้นึ จนถงึ ระดบั หนึง่ ซ่ึง ของแข็งจะใช้ความร้อน ในการเปล่ียนสถานะเปน็ ของเหลว เรียกความรอ้ นท่ีใช้ในการเปลย่ี นสถานะจาก ของแขง็ เปน็ ของเหลววา่ ความรอ้ นแฝงของการ หลอมเหลว และอุณหภูมิขณะเปลย่ี นสถานะจะคงที่ เรียกอุณหภมู นิ ้ีว่า จดุ หลอมเหลว  เมอื่ ให้ความร้อนแก่ของเหลว อนุภาคของของเหลวจะ มีพลังงานและอณุ หภูมเิ พิ่มข้ึนจนถงึ ระดับหนึ่ง ซ่ึง ของเหลวจะใช้ความรอ้ นในการเปลย่ี นสถานะเป็นแก๊ส เรยี กความร้อนทใี่ ชใ้ นการเปล่ียนสถานะจากของเหลว เป็นแกส๊ วา่ ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ และ อุณหภมู ิขณะเปลยี่ นสถานะจะคงที่ เรียกอุณหภูมินีว้ ่า จุดเดือด  เมื่อทาใหอ้ ุณหภูมิของแก๊สลดลงจนถึงระดับหน่งึ แกส๊ จะเปลย่ี นสถานะเปน็ ของเหลว เรียกอุณหภมู ิน้วี ่า จดุ ควบแนน่ ซ่ึงมีอุณหภูมเิ ดยี วกับจุดเดอื ดของของเหลว  เมือ่ ทาให้อุณหภมู ขิ องของเหลวลดลงจนถงึ ระดบั หนึ่ง ของเหลวจะเปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง เรยี กอุณหภูมิ นี้วา่ จุดเยือกแข็ง ซ่งึ มีอุณหภูมเิ ดยี วกบั จุดหลอมเหลว ของของแขง็ นน้ั โดย นายบุรศิ ร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนักงานราชการ กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

10 มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องแรงในชวี ติ ประจาวัน ผลของแรงท่ีกระทาต่อวตั ถุ ลักษณะการเคลื่อนที่ แบบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ รวมทงั้ นาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ ชัน้ ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ม.1 1. สรา้ งแบบจาลองท่ีอธิบาย  เม่ือวัตถุอยใู่ นอากาศจะมแี รงทอ่ี ากาศกระทาตอ่ วัตถใุ นทุก ความสมั พันธร์ ะหว่างความ ทิศทาง แรงท่ีอากาศกระทาต่อวัตถุขึน้ อยกู่ ับขนาดพน้ื ทข่ี อง ดนั อากาศกับความสงู จากพื้น วัตถุนั้น แรงที่อากาศกระทาต้ังฉากกับผวิ วัตถตุ ่อหนึ่งหนว่ ย โลก พื้นที่ เรยี กวา่ ความดนั อากาศ ความดันอากาศ มี ความสมั พันธก์ ับความสงู จาก พ้ืนโลก โดยบริเวณทส่ี งู จาก พื้นโลกขึ้นไป อากาศเบาบางลง มวลอากาศน้อยลง ความ ดนั อากาศก็จะลดลง มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลยี่ นแปลง และการถา่ ยโอนพลังงาน ปฏสิ ัมพนั ธ์ ระหว่างสสาร และพลงั งาน พลังงานในชีวิตประจาวนั ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณ์ที่ เกย่ี วข้องกบั เสยี ง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมท้งั นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ชั้น ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.1 1. วเิ คราะห์ แปลความหมาย  เม่อื สสารได้รับหรือสูญเสียความร้อนอาจทาให้สสารเปลี่ยน ขอ้ มูล และคานวณปริมาณ อุณหภมู ิ เปลี่ยนสถานะ หรอื เปลีย่ นรูปรา่ ง ความรอ้ นที่ทาให้สสารเปลย่ี น  ปรมิ าณความร้อนที่ทาใหส้ สารเปล่ยี นอณุ หภูมขิ น้ึ กบั มวล อุณหภูมิและเปล่ยี นสถานะ ความร้อนจาเพาะ และอุณหภูมทิ ี่เปลี่ยนไป โดยใชส้ มการ Q = mc∆t  ปริมาณความร้อนท่ีทาใหส้ สารเปลี่ยนสถานะขน้ึ กับมวล และ Q = mL และความร้อนแฝงจาเพาะ โดยขณะทสี่ สารเปลยี่ นสถานะ 2. ใช้เทอรม์ อมิเตอร์ในการวัด อุณหภูมิจะไม่เปลี่ยนแปลง อุณหภมู ิของสสาร 3. สรา้ งแบบจาลองท่ีอธิบาย  ความรอ้ นทาใหส้ สารขยายตวั หรือหดตัวได้ เนอ่ื งจากเม่อื การขยายตัว หรอื หดตัวของ สสารได้รบั ความรอ้ นจะทาให้อนุภาคเคลื่อนทีเ่ ร็วข้ึน ทาให้ สสารเนอ่ื งจากได้รับ หรอื เกิดการขยายตวั แต่เม่ือสสารคายความร้อน จะทาให้ สญู เสียความรอ้ น อนุภาคเคล่ือนท่ีช้าลง ทาใหเ้ กิดการหดตวั 4. ตระหนกั ถึงประโยชนข์ อง  ความรู้เรอื่ งการหดและขยายตวั ของสสารเน่ืองจากความ ความรูข้ องการหดและ ร้อน นาไปใชป้ ระโยชน์ ในดา้ นตา่ ง ๆ เช่น การสร้างถนน ขยายตวั ของสสารเน่อื งจาก การสรา้ งรางรถไฟ การทาเทอรม์ อมเิ ตอร์ โดย นายบุรศิ ร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

11 ช้ัน ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ความร้อน โดยวเิ คราะห์ สถานการณป์ ัญหา และ เสนอแนะวิธีการนาความรู้มา แก้ปญั หา ในชวี ิตประจาวัน 5. วิเคราะหส์ ถานการณ์การถ่าย  ความรอ้ นถ่ายโอนจากสสารท่ีมีอุณหภมู ิสงู กวา่ ไปยงั สสารที่ โอนความร้อน และคานวณ มีอณุ หภมู ติ ่ากวา่ จนกระทงั่ อุณหภมู ิของสสารทงั้ สองเทา่ กัน ปรมิ าณความร้อนท่ีถ่ายโอน สภาพท่ีสสารทงั้ สองมีอุณหภมู ิเท่ากัน เรยี กวา่ สมดุลความ ระหวา่ งสสารจนเกดิ สมดุล รอ้ น ความร้อนโดยใช้ สมการ Qสญู เสีย = Qไดร้ บั  เม่ือมีการถ่ายโอนความร้อนจากสสารที่มีอณุ หภูมติ ่างกันจน เกิดสมดุลความร้อน ความร้อนท่เี พิ่มขน้ึ ของสสารหนึง่ จะ 6. สร้างแบบจาลองที่อธิบายการ เท่ากบั ความร้อนที่ลดลงของอีกสสารหนึง่ ซึ่งเปน็ ไปตาม ถ่ายโอนความร้อนโดยการนา กฎการอนุรักษ์พลงั งาน ความรอ้ น การพาความรอ้ น การแผ่รังสี ความรอ้ น  การถ่ายโอนความร้อนมี 3 แบบ คอื การนาความร้อน การพาความร้อน และการแผร่ ังสคี วามรอ้ น การนาความ 7. ออกแบบ เลอื กใช้ และสรา้ ง ร้อน เป็นการถ่ายโอนความร้อนที่อาศัยตัวกลาง โดยที่ อปุ กรณ์เพื่อแก้ปัญหาใน ตวั กลางไม่เคลือ่ นท่ี การพาความร้อนเป็นการถา่ ยโอน ชีวิตประจาวันโดยใช้ความรู้ ความรอ้ นที่อาศัยตวั กลาง โดยทตี่ ัวกลางเคล่ือนที่ไปดว้ ย เกี่ยวกบั การถ่ายโอนความร้อน สว่ นการแผ่รังสีความรอ้ นเป็นการถ่ายโอนความรอ้ นท่ไี ม่ ต้องอาศยั ตัวกลาง  ความรู้เก่ยี วกับการถ่ายโอนความรอ้ นสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ เช่น การเลือกใชว้ สั ดเุ พ่ือ นามาทาภาชนะบรรจุอาหารเพอ่ื เก็บความร้อน หรือการ ออกแบบระบบระบายความร้อนในอาคาร โดย นายบรุ ิศร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนักงานราชการ กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

12 สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบ และความสัมพนั ธข์ องระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก และบนผวิ โลก ธรณีพบิ ตั ิภยั กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟา้ อากาศและภมู ิอากาศโลก รวมทัง้ ผลต่อส่งิ มีชวี ติ และส่งิ แวดลอ้ ม ชน้ั ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ม.1 1. สรา้ งแบบจาลองท่ีอธบิ ายการ  โลกมบี รรยากาศห่อหมุ้ นกั วิทยาศาสตร์ใชส้ มบัติและ แบง่ ช้นั บรรยากาศ และ องคป์ ระกอบของบรรยากาศในการแบง่ บรรยากาศของโลก เปรยี บเทยี บประโยชน์ของ ออกเปน็ ชน้ั ซ่งึ แบ่งได้หลายรูปแบบตามเกณฑท์ ่แี ตกต่าง บรรยากาศแตล่ ะช้ัน กัน โดยทวั่ ไปนักวทิ ยาศาสตร์ใชเ้ กณฑ์การเปลย่ี นแปลง อณุ หภมู ติ ามความสงู แบง่ บรรยากาศได้เปน็ 5 ช้ัน ได้แก่ ชัน้ โทรโพสเฟียร์, ช้ันสตราโตสเฟียร์, ช้นั มโี ซสเฟยี ร์, ช้ัน เทอร์โมสเฟียร์ และช้ันเอกโซสเฟียร์  บรรยากาศแต่ละชน้ั มีประโยชน์ตอ่ สิง่ มชี ีวิตแตกตา่ งกนั โดยชนั้ โทรโพสเฟียร์มปี รากฏการณล์ มฟ้าอากาศทสี่ าคัญ ตอ่ การดารงชีวติ ของสง่ิ มชี ีวิต ชนั้ สตราโตสเฟยี ร์ ชว่ ย ดดู กลืนรงั สีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทติ ย์ไม่ใหม้ ายังโลก มากเกินไป ช้นั มีโซสเฟียร์ช่วยชะลอวตั ถนุ อกโลกท่ผี ่านเขา้ มาใหเ้ กิดการเผาไหม้กลายเป็นวัตถุขนาดเล็ก ลดโอกาสท่ี จะทาความเสียหายแก่สงิ่ มชี วี ติ บนโลก ช้ันเทอรโ์ มส-เฟยี ร์ สามารถสะท้อนคล่นื วทิ ยุ และชัน้ เอกโซสเฟียร์เหมาะ สาหรบั การโคจรของดาวเทียมรอบโลกในระดับต่า 2.อธบิ ายปัจจัยท่ีมีผลตอ่ การ  ลมฟา้ อากาศเป็นสภาวะของอากาศในเวลาหน่ึงของพนื้ ที่ เปลี่ยนแปลงองคป์ ระกอบของ หนึง่ ทมี่ ีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลาขนึ้ อยกู่ ับองค์ประกอบ ลมฟา้ อากาศ จากข้อมูลที่ ลมฟา้ อากาศ ได้แก่ อุณหภมู ิอากาศ ความกดอากาศ ลม รวบรวมได้ ความชนื้ เมฆ และหยาดน้าฟ้า โดยหยาดน้าฟ้าที่พบบ่อย ในประเทศไทย ได้แก่ ฝน องค์ประกอบลมฟ้าอากาศ เปล่ียนแปลงตลอดเวลาข้ึนอยู่กบั ปัจจยั ต่าง ๆ เช่น ปริมาณ รังสีจากดวงอาทติ ยแ์ ละลักษณะพืน้ ผวิ โลกส่งผลต่อ อุณหภมู ิอากาศ อุณหภมู อิ ากาศ และปริมาณไอนา้ ส่งผลต่อ ความชื้น ความกดอากาศส่งผลต่อลม ความช้ืน และลม ส่งผลต่อเมฆ 3. เปรียบเทยี บกระบวนการเกิด  พายฝุ นฟ้าคะนอง เกิดจากการท่ีอากาศท่ีมีอุณหภูมแิ ละ โดย นายบรุ ิศร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนักงานราชการ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

13 ช้ัน ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง พายุฝนฟ้าคะนองและพายุ ความชื้นสงู เคลอื่ นที่ข้ึนสรู่ ะดับความสูงทม่ี ีอุณหภูมิต่าลง หมนุ เขตร้อน และผลทมี่ ีต่อ จนกระทง่ั ไอนา้ ในอากาศเกิดการควบแนน่ เปน็ ละอองนา้ สิ่งมีชวี ติ และส่ิงแวดล้อม และเกิดต่อเน่ืองเปน็ เมฆขนาดใหญ่ พายุฝนฟา้ คะนอง ทา รวมท้งั นาเสนอแนวทางการ ใหเ้ กิดฝนตกหนัก ลมกรรโชกแรง ฟา้ แลบฟ้าผ่า ซงึ่ อาจ ปฏบิ ัตติ นใหเ้ หมาะสมและ กอ่ ใหเ้ กิดอันตรายต่อชวี ิตและทรพั ย์สนิ ปลอดภยั  พายหุ มุนเขตรอ้ นเกิดเหนอื มหาสมุทร หรือทะเลทนี่ า้ อณุ หภูมสิ งู ตง้ั แต่ 26–27 องศาเซลเซยี สขึน้ ไป ทาให้ 4. อธิบายการพยากรณ์อากาศ อากาศท่มี ีอุณหภูมิและความชื้นสูงบริเวณนน้ั เคลื่อนที่ และพยากรณ์อากาศอยา่ งงา่ ย สงู ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ เป็นบรเิ วณกวา้ ง อากาศจากบรเิ วณอ่นื จากข้อมลู ที่รวบรวมได้ เคลอ่ื นเข้ามาแทนท่ี และพัดเวียนเข้าหาศนู ย์กลางของพายุ ยงิ่ ใกล้ศนู ย์กลางอากาศจะเคลอ่ื นทีพ่ ัดเวียนเกือบเป็น 5. ตระหนกั ถงึ คุณคา่ ของการ วงกลม และมีอัตราเร็วสูงที่สุด พายุหมุนเขตร้อนทาให้เกิด พยากรณอ์ ากาศโดยนาเสนอ คล่นื พายซุ ัดฝั่ง ฝนตกหนกั ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายตอ่ แนวทางการปฏิบตั ิตน และ ชวี ิตและทรพั ย์สิน จึงควรปฏิบตั ิตนใหป้ ลอดภัยโดยตดิ ตาม การใช้ประโยชนจ์ ากคา ข่าวสารการพยากรณ์อากาศ และไม่เขา้ ไปอยู่ในพ้ืนทที่ ่ี พยากรณ์อากาศ เสี่ยงภัย  การพยากรณ์อากาศเปน็ การคาดการณ์ลมฟ้าอากาศท่จี ะ 6. อธบิ ายสถานการณ์และ เกดิ ขน้ึ ในอนาคตโดยมีการตรวจวัดองค์ประกอบลมฟ้า ผลกระทบการเปลี่ยนแปลง อากาศ การสอ่ื สารแลกเปลี่ยนขอ้ มูลองค์ประกอบลมฟ้า ภูมอิ ากาศโลกจากข้อมูลท่ี อากาศระหว่างพ้นื ที่ การวิเคราะหข์ ้อมลู และสรา้ งคา รวบรวมได้ พยากรณอ์ ากาศ  การพยากรณ์อากาศสามารถนามาใชป้ ระโยชน์ด้านต่าง ๆ เช่น การใชช้ ีวิตประจาวัน การคมนาคม การเกษตร การปอ้ งกนั และเฝา้ ระวงั ภยั พบิ ัตทิ างธรรมชาติ  ภมู ิอากาศโลกเกดิ การเปลีย่ นแปลงอย่างต่อเนื่องโดยปัจจัย ทางธรรมชาติ แต่ปจั จบุ นั การเปลยี่ นแปลงภมู ิอากาศ เกดิ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ เนอื่ งจากกจิ กรรมของมนษุ ย์ในการ ปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกสู่บรรยากาศ แกส๊ เรอื นกระจก ที่ถูกปลดปล่อยมากที่สุด ได้แก่ แกส๊ คาร์บอนไดออกไซดซ์ ่ึง โดย นายบรุ ิศร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

14 ชั้น ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง หมุนเวียนอยใู่ นวัฏจกั รคารบ์ อน 7. ตระหนักถงึ ผลกระทบของการ  การเปล่ยี นแปลงภมู อิ ากาศโลกก่อใหเ้ กิดผลกระทบตอ่ เปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศโลกโดย สง่ิ มชี วี ติ และส่ิงแวดล้อม เช่น การหลอมเหลวของน้าแขง็ นาเสนอแนวทางการปฏบิ ตั ติ น ขว้ั โลก การเพม่ิ ขึน้ ของระดับนา้ ทะเล การเปลีย่ นแปลง ภายใต้การเปลย่ี นแปลง วัฏจักรนา้ การเกิดโรคอบุ ัติใหม่และอุบตั ิซา้ และการเกิด ภูมอิ ากาศโลก ภัยพบิ ัติทางธรรมชาติทร่ี ุนแรงขึน้ มนุษยจ์ งึ ควรเรียนรแู้ นว ทางการปฏิบัติตนภายใต้สถานการณด์ งั กลา่ ว ท้งั แนวทาง การปฏิบตั ใิ ห้เหมาะสม และแนวทางการลดกิจกรรม ที่ส่งผลต่อการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศโลก * สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, ตัวช้ีวัดและสาระการ เรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2560) โดย นายบรุ ิศร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

15 คาอธบิ ายรายวิชา รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 21101 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 60 ช่วั โมง จานวน 1.5 หน่วยกิต คาอธิบายรายวชิ า ศึกษา วิเคราะห์ การเรียนวิทยาศาสตร์ สมบัติของสารบริสุทธ์ิ การจาแนกและองค์ประกอบของสาร บริสุทธิ์ เซลล์ การลาเลยี งสารเข้าออกเซลล์ การสบื พันธ์และขยายพันธพ์ ืชดอก การสังเคราะห์ด้วยแสง การลา เล้ียงน้า ธาตอุ าหาร และอาหารของพชื โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ การแก้ปัญหา การนาความรู้ ไปใชใ้ นชวี ิตประจาวัน มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และคา่ นิยมที่เหมาะสม ตวั ชีว้ ัด ว1.2 ม.1/1 เปรยี บเทียบรูปร่าง ลกั ษณะ และโครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สัตวร์ วมท้ังบรรยายหน้าที่ ของผนงั เซลล์เยื่อหมุ้ เซลลไ์ ซโทพลาซึมนิวเคลียส แวควิ โอล ไมโทคอนเดรยี และคลอโรพลาสต์ ว1.2 ม.1/2 ใชก้ ล้องจลุ ทรรศน์ใช้แสงศกึ ษาเซลลแ์ ละโครงสร้างต่าง ๆ ภายในเซลล์ ว1.2 ม.1/3 อธบิ ายความสัมพันธร์ ะหว่างรปู รา่ งกับการทาหน้าท่ีของเซลล์ ว1.2 ม.1/4 อธิบายการจัดระบบของสิ่งมีชีวิต โดยเร่ิมจากเซลล์เนื้อเย่ือ อวัยวะ ระบบอวัยวะ จนเป็น สิ่งมชี วี ติ ว1.2 ม.1/5 อธิบายกระบวนการแพร่และออสโมซิสจากหลักฐานเชิงประจักษ์และยกตัวอย่างการแพร่ และออสโมซิสในชีวิตประจาวัน ว1.2 ม.1/6 ระบุปัจจัยที่จาเป็นในการสังเคราะหด์ ้วยแสงและผลผลิตที่เกิดข้ึนจากการสังเคราะห์ดว้ ยแสง โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ ว1.2 ม.1/7 อธิบายความสาคัญของการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื ต่อสิ่งมีชวี ติ และสิ่งแวดลอ้ ม ว1.2 ม.1/8 ตระหนักในคุณค่าของพืชที่มีต่อส่ิงมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม โดยการร่วมกันปลูกและดูแลรักษา ต้นไม้ในโรงเรยี นและชมุ ชน ว1.2 ม.1/9 บรรยายลกั ษณะและหน้าท่ีของไซเลม็ และโฟลเอ็ม ว1.2 ม.1/10 เขยี นแผนภาพที่บรรยายทศิ ทางการลาเลยี งสารในไซเล็มและโฟลเอม็ ของพืช ว1.2 ม.1/11 อธิบายการสืบพันธุแ์ บบอาศัยเพศ และไม่อาศัยเพศของพชื ดอก โดย นายบรุ ศิ ร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

16 ว1.2 ม.1/12 อธิบายลักษณะโครงสร้างของดอกที่มีส่วนทาให้เกิดการถ่ายเรณูรวมทั้งบรรยาย การปฏิสนธิ ของพชื ดอก การเกดิ ผลและเมล็ด การกระจายเมล็ด และการงอกของเมล็ด ว1.2 ม.1/13 ตระหนักถึงความสาคัญของสตั ว์ท่ีช่วยในการถ่ายเรณูของพชื ดอก โดยการไม่ทาลายชีวติ ของ สัตว์ท่ีช่วยในการถา่ ยเรณู ว1.2 ม.1/14 อธิบายความสาคัญของธาตุอาหารบางชนิดท่ีมีผลต่อการเจริญเติบโตและการดารงชีวิตของ พชื ว1.2 ม.1/15 เลือกใชป้ ุย๋ ท่ีมีธาตุอาหารเหมาะสมกับพืชในสถานการณท์ ี่กาหนด ว1.2 ม.1/16 เลือกวิธีการขยายพันธ์ุพืชให้เหมาะสมกับความต้องการของมนุษย์โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับการ สืบพนั ธข์ุ องพชื ว1.2 ม.1/17 อธบิ ายความสาคญั ของเทคโนโลยกี ารเพาะเลยี้ งเน้อื เยื่อพชื ในการใชป้ ระโยชนด์ ้านตา่ ง ๆ ว1.2 ม.1/18 ตระหนักถึงประโยชน์ของการขยายพันธพุ์ ืชโดยการนาความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวัน ว2.1 ม.1/1 อธิบายสมบัติทางกายภาพบางประการของธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ โดยใช้หลักฐาน เชิงประจักษ์ที่ได้จากการสังเกตและการทดสอบและใช้สารสนเทศท่ีได้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆรวมท้ังจัดกลุ่ม ธาตเุ ป็นโลหะ อโลหะ และกึง่ โลหะ ว2.1 ม.1/2 วิเคราะห์ผลจากการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะและธาตุกัมมันตรังสีที่มีต่อสิ่งมีชีวิต สิ่งแวดลอ้ มเศรษฐกจิ และสังคม จากขอ้ มลู ทรี่ วบรวมได้ ว2.1 ม.1/3 ตระหนักถึงคุณค่าของการใชธ้ าตโุ ลหะ อโลหะกง่ึ โลหะ ธาตกุ มั มันตรงั สีโดยเสนอแนวทางการ ใชธ้ าตอุ ยา่ งปลอดภยั คุม้ ค่า ว2.1 ม.1/4 เปรียบเทียบจุดเดือดจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารผสม โดยการวัดอุณหภูมิเขียน กราฟแปลความหมายข้อมลู จากกราฟ หรือสารสนเทศ ว2.1 ม.1/5 อธบิ ายและเปรยี บเทียบความหนาแนน่ ของสารบริสุทธแ์ิ ละสารผสม ว2.1 ม.1/6 ใชเ้ ครือ่ งมือเพอื่ วัดมวลและปรมิ าตรของสารบรสิ ุทธิ์และสารผสม ว2.1 ม.1/7 อธิบายเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างอะตอมธาตุและสารประกอบ โดยใช้แบบจาลองและ สารสนเทศ ว2.1 ม.1/8 อธิบายโครงสร้างอะตอมท่ีประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน โดยใช้ แบบจาลอง รวมท้ังหมด 26 ตวั ชี้วดั โดย นายบุรศิ ร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนักงานราชการ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

17 ผังมโนทศั น์ รายวิชา วิทยาศาสตร์ รหสั วิชา ว 21101 ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 ช่อื หนว่ ยท่ี 1 สารรอบตวั จานวน 26 ชว่ั โมง : 35 คะแนน รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 จานวน 60 ชั่วโมง ชือ่ หนว่ ยท่ี 2 หนว่ ยของส่ิงมีชวี ติ ชือ่ หนว่ ยท่ี 3 การดารงชีวิตของพืช จานวน 12 ชว่ั โมง : 25 คะแนน จานวน 22 ช่ัวโมง : 40 คะแนน โดย นายบุริศร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

18 ผงั มโนทศั น์ 1 รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 เร่ือง สารรอบตัว จานวน 26 ชวั่ โมง : 35 คะแนน หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 เรอื่ ง สารรอบตัว จานวน 26 ช่วั โมง 1. ช่ือเร่ือง สารและการจาแนกสาร 4. ชื่อเรอ่ื ง ธาตกุ ัมมนั ตรงั สี จานวน 4 ช่วั โมง : 5 คะแนน จานวน 2 ช่วั โมง : 5 คะแนน 2. ช่ือเร่อื ง การเปลีย่ นแปลงของสาร 5. ชอื่ เรื่อง สารประกอบ จานวน 4 ชั่วโมง : 5 คะแนน จานวน 2 ช่ัวโมง : 5 คะแนน 3. ชอื่ เรอ่ื ง สารบริสุทธ์ิ 6. ชอื่ เรอื่ ง สารผสม จานวน 5 ช่ัวโมง : 5 คะแนน จานวน 4 ชวั่ โมง : 5 คะแนน 7. ช่อื เรอื่ ง สมบัติของสารบรสิ ุทธแ์ิ ละสารผสม จานวน 5 ช่ัวโมง : 5 คะแนน โดย นายบุริศร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

19 ผงั มโนทศั น์ 2 รายวชิ า วิทยาศาสตร์ รหสั วิชา ว21101 ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 เรื่อง หน่วยของสิ่งมชี ีวิต จานวน 12 ช่ัวโมง : 25 คะแนน 1. ชื่อเร่ือง เซลลข์ องสิ่งมชี ีวติ จานวน 5 ชัว่ โมง : 10 คะแนน หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 เร่อื ง หนว่ ยของส่งิ มีชีวิต จานวน 12 ชว่ั โมง 2. ช่อื เร่ือง เซลลพ์ ืชและเซลลส์ ตั ว์ 3. ชอื่ เร่อื ง การแพร่และออสโมซสิ จานวน 4 ชัว่ โมง : 10 คะแนน จานวน 3 ชว่ั โมง : 5 คะแนน โดย นายบุรศิ ร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนักงานราชการ กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่

20 ผังมโนทัศน์ 3 รายวิชา วทิ ยาศาสตร์ รหัสวิชา ว21101 ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 เรื่อง การดารงชีวิตของพืช จานวน 22 ช่ัวโมง : 40 คะแนน หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3 เร่ือง การดารงชีวิตของพืช จานวน 22 ชว่ั โมง 1. ชอื่ เรอื่ ง การสังเคราะหด์ ้วยแสง 4. ชือ่ เรือ่ ง การสืบพันธุแ์ บบไม่อาศยั จานวน 4 ช่วั โมง : 5 คะแนน เพศของพืช 2. ชื่อเรือ่ ง การลาเลยี งสารในพืช จานวน 2 ชัว่ โมง : 5 คะแนน จานวน 5 ชว่ั โมง : 10 คะแนน 5. ช่อื เรอื่ ง การสบื พนั ธุแ์ บบอาศัย 3. ช่อื เรื่อง การเจริญเติบโตของพชื เพศของพืช จานวน 3 ชั่วโมง : 10 คะแนน จานวน 5 ชวั่ โมง : 5 คะแนน 6. ช่ือเรอื่ ง เทคโนโลยีชีวภิ าพของพชื จานวน 3 ชั่วโมง : 5 คะแนน โดย นายบุริศร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

21 โครงสรา้ งรายวิชา วิทยาศาสตร์ ม.1 ภาคเรยี นท่ี 1 ลาดับ ชอื่ หน่วย มาตรฐาน สาระสาคญั เวลา คะแนน A ที่ การเรียนรู้ การเรยี นรู/้ (ชม.) รวม KP ตวั ชีว้ ัด 1. สาร ว 2.1 สารรอบตัวประกอบไปด้วยธาตุและ 26 35 15 15 5 รอบตัว ม.1/1 สารประกอบ สารแต่ละชนิดมีสมบัติทาง ม.1/2 กายภาพและสมบัติทางเคมีท่ีเหมือนและ ม.1/3 แตกต่างกัน ความร้อนเป็นปัจจยั หน่งึ ที่ทา ม.1/4 ให้สถานะของสาร ซึ่งเป็นสมบัติทาง ม.1/5 กายภาพเปลี่ยนแปลงไป ม.1/6 สารบริสุทธิ์ คือ สารที่มีองค์ประกอบ ม.1/7 เพียงชนิดเดียว ประกอบไปด้วยธาตุและ ม.1/8 สารประกอบ โดยธาตุแบ่งออกเป็นธาตุ ม.1/9 โลหะ ธาตุกึ่งโลหะ และธาตุอโลหะ ซ่ึง ม.1/10 ธาตุบางชนิดสามารถแผ่รังสีได้ เรียกว่า ธาตกุ มั มันตรังสี เม่อื ธาตมุ ากกว่าหนง่ึ ชนิด มารวมกันทางเคมีกลายเป็นสารประกอบ ที่มีสมบัติแตกต่างไปจากธาตุเดิมที่เป็น องค์ประกอบ สารมากกว่าหน่ึงชนิดมาผสมกันเรียกว่า สารผสม บางชนิดผสมเป็นเน้ือเดียวกัน เรียกว่า สารละลาย บางชนิดผสมไม่เป็นเนื้อ เดียวกนั เช่น สารแขวนลอย คอลลอยด์ เป็น ตน้ 2. หน่วย ว 1.2 สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีเซลล์เป็นหน่วยท่ีเล็ก 12 25 10 10 5 ของ ม.1/1 ที่สุดเป็นองค์ประกอบ ซ่ึงส่ิงมีชีวิตบาง สงิ่ มีชีวติ ม.1/2 ชนิดสามารถดารงชีวิตอยู่ได้เพียงเซลล์ ม.1/3 เดียว บางชนิดจาเป็นต้องมีหลายเซลล์มา ม.1/4 รวมกันเป็นเนื้อเยื่อ ซ่ึงมีรูปร่างและหน้าที่ ม.1/5 แตกต่างกัน ซึ่งองค์ประกอบพ้ืนฐานของ เซลล์ ได้แก่ นิวเคลียส ไซโตพลาซึม และ เย่อื หุม้ เซลล์ โดย นายบรุ ศิ ร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

22 ลาดบั ชื่อหนว่ ย มาตรฐาน สาระสาคญั เวลา คะแนน A ท่ี การเรียนรู้ การเรียนรู้/ (ชม.) รวม KP ตัวชี้วดั กระบวนการแพร่และออสโมซิสเป็น กระบวนการท่ีส่ิงมีชีวิตใช้ลาเลียงสารเข้า และออกจากเซลล์ 3. การ ว 1.2 พืชดารงชีวิตอยู่ได้ด้วยส่วนประกอบ 22 40 25 10 5 ดารงชีวติ ม.1/6 ต่าง ๆ ดังน้ี ของพืช ม.1/7 ใบ ไม้ มี ค ล อ โร พ ล า ส ต์ ที่ มี ส า ร ม.1/8 คลอโรฟิลล์ซึ่งเก่ียวข้องกับกระบวนการ ม.1/9 สั ง เค ร า ะ ห์ ด้ ว ย แ ส ง โ ด ย มี แ ก๊ ส ม.1/10 คาร์บอนไดออกไซด์และน้าเป็นสารต้ังต้น ม.1/11 และได้น้าตาลกลูโคส และแก๊สออกซิเจน ม.1/12 เป็นผลิตภัณฑ์ ซ่ึงจาเป็นต่อการดารงชีวิต ม.1/13 ของสิ่งมีชีวิต รากและลาต้น ประกอบไป ม.1/14 ด้วยเน้อื เยอื่ ลาเลียงไซเล็ม ทาหน้าที่ดูดน้า ม.1/15 และแร่ธาตุ โดยอาศัยกระบวนการแพร่ ม.1/16 และออสโมซิส เน้ือเย่ือลาเลียงโฟลเอ็ม ม.1/17 ทาหน้ าที่ ลาเลียงอาห าร โดยอาศัย ม.1/18 กระบวนการทรานสโลเคช่นั ดอกไม้ เป็นอวัยวะสืบพันธ์ุของพืช เมื่อ ถกู ผสมเกสร ดอกจะเจริญกลายเป็นผลซ่ึง ภายในมีเมล็ด ทาหน้าที่กระจายพันธุ์พืช โดยพืชต้นใหม่จะมีลักษณะท่ีแตกต่างไป จากตน้ พ่อแม่ พืชสามารถขยายพันธุ์ โดยใช้ส่วน โครงสร้างพิเศษต่าง ๆ ของพืช เช่น ราก ลาต้น ใบ และมนุษย์สามารถนาส่วนต่าง ๆ ของพืชมาขยายพันธ์ุได้ เช่น การปักชา การติดตา การตอนก่ิง เป็นต้น ซึ่งพืชต้น ใหม่จะมีลักษณะไม่แตกต่างไปจากต้นพ่อ แม่ โดย นายบุรศิ ร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

23 ลาดบั ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐาน สาระสาคัญ เวลา คะแนน A ที่ การเรียนรู้ การเรยี นร้/ู (ชม.) รวม KP ตัวช้วี ัด มนุ ษ ย์ น าค วาม รู้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ ม า ประยุกต์ใช้กับพืช เช่น การเพาะเลี้ยง เนื้อเยื่อพืช การดัดแปรพันธุกรรมพืช เป็น ต้น เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการของ มนษุ ย์ รวมท้ังหมด 60 100 50 35 15 โดย นายบุริศร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนักงานราชการ กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

โครงสร้างแผนการจัดการเรยี นรู้ วทิ ยาศาส หนว่ ย การ แผนการจัดการเรยี นรู้ เรยี นรู้ 1. สาร แผนที่ 1 เรื่อง สารและการจาแนก สาร รอบตัว เนื้อหา สารรอบตวั ประกอบไปด้วยธาตแุ ละสารประกอบ สารแตล่ ะชนดิ มีส กายภาพและสมบตั ทิ างเคมีที่เหมือนและแตกตา่ งกนั

24 สตร์ ม.1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 เวลา 60 ช่วั โมง วิธีการสอน/ ทักษะทไี่ ด้/ การประเมิน เวลา เทคนิค/ คุณลกั ษณะ (ชว่ั โมง) ชิ้นงาน/ กิจกรรม แบบสบื ทกั ษะทีไ่ ด้ - ตรวจแบบฝึกหดั 4 เสาะหา - ทั ก ษ ะ ก าร โดยแบบตรวจ สมบตั ทิ าง ความรู้ สงั เกต  สังเกต (5Es - ทั ก ษ ะ ก าร พฤติกรรมการ structional จัดกล่มุ ปฏิบตั กิ ารจาก Model) - ทั ก ษ ะ ก าร การทากิจกรรม ช้ินงาน เปรียบเทียบ  สงั เกต แบบฝึกหดั - ทั ก ษ ะ ก าร พฤติกรรมการ เร่อื ง จ า แ น ก ทางานรายกลุ่ม ประเภทของ ประเภท สาร - ทั ก ษ ะ ก าร สารวจ คุณ ลักษ ณ ะ อั น พึ ง โดย นายบุริศร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

หนว่ ย การ แผนการจดั การเรยี นรู้ เรียนรู้ แผนที่ 2 การเปลย่ี นแปลงของสาร เน้ือหา ความรอ้ นเป็นปัจจัยหน่ึงที่ทาให้สถานะของสาร ซ่ึงเป็นสมบตั ิทางกาย ไป

25 วธิ ีการสอน/ ทักษะทไ่ี ด้/ การประเมิน เวลา เทคนิค/ คุณลักษณะ (ชวั่ โมง) ช้ินงาน/ กิจกรรม ประสงค์ . ซือ่ สตั ย์สจุ รติ . มวี ินยั . ใฝเ่ รียนรู้ . ม่งุ มัน่ ในการ ทางาน แบบสืบ ทกั ษะท่ไี ด้ - ตรวจแบบฝึกหดั 4 เสาะหา - ทั ก ษ ะ ก าร โดยแบบตรวจ ยภาพเปล่ียนแปลง ความรู้ สงั เกต  สงั เกต (5Es - ทั ก ษ ะ ก าร พฤติกรรมการ Instructional ระบุ ปฏบิ ตั ิการจาก Model) - ทั ก ษ ะ ก าร การทากิจกรรม ชิน้ งาน เชือ่ มโยง - สังเกตพฤตกิ รรม แบบฝึกหดั - ทั ก ษ ะ ก าร การทางาน เร่อื ง การ จ า แ น ก รายบคุ คล โดย นายบรุ ิศร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนักงานราชการ กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

หนว่ ย การ แผนการจัดการเรียนรู้ เรียนรู้ แผนท่ี 3 สารบรสิ ทุ ธิ์ เนอ้ื หา สารบริสทุ ธ์ิ คือ สารที่มีองค์ประกอบเพียงชนิดเดียว ประกอบไปด้วยธา

26 วิธกี ารสอน/ ทักษะที่ได้/ การประเมิน เวลา เทคนิค/ คุณลักษณะ (ชั่วโมง) ชนิ้ งาน/ กิจกรรม ประเภท - ทั ก ษ ะ ก าร เปล่ยี นแปลง น า ค ว า ม รู้ ไ ป ของสาร ใช้ คุณ ลักษ ณ ะ อั น พึ ง ประสงค์ . ซ่ือสตั ยส์ ุจริต . มวี นิ ยั . ใฝเ่ รียนรู้ . มุ่งม่ันในการ ทางาน แบบสืบ ทักษะท่ีได้ - ตรวจแบบฝกึ หดั 5 เสาะหา - ทั ก ษ ะ ก าร โดยใช้แบบตรวจ าตแุ ละ ความรู้ สังเกต - สังเกต โดย นายบรุ ศิ ร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนักงานราชการ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

หนว่ ย การ แผนการจัดการเรียนรู้ เรียนรู้ สารประกอบ โดยธาตแุ บง่ ออกเป็นธาตโุ ลหะ ธาตกุ ง่ึ โลหะ และธาตอุ โล

27 วธิ ีการสอน/ เทคนิค/ ทกั ษะทไ่ี ด้/ การประเมิน เวลา ชิ้นงาน/ คณุ ลกั ษณะ (ชั่วโมง) กิจกรรม ลหะ (5Es - ทั ก ษ ะ ก าร พฤติกรรมการ Instructional ระบุ ทางานรายกลุ่ม Model) - ทั ก ษ ะ ก าร ชน้ิ งาน เปรียบเทยี บ แบบฝึกหัด - ทั ก ษ ะ ก าร สารบรสิ ุทธ์ิ จ า แ น ก ธาตโุ ลหะ ประเภท ธาตกุ ่งึ โลหะ - ทั ก ษ ะ ก าร และธาตุ สารวจค้นหา อโลหะ - ทั ก ษ ะ ก าร รวบรวมข้อมลู - ทั ก ษ ะ ก าร สรุปย่อ - ทั ก ษ ะ ก าร น า ค ว า ม รู้ ไ ป ใช้ โดย นายบรุ ิศร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

หนว่ ย การ แผนการจดั การเรยี นรู้ เรียนรู้ แผนที่ 4 ธาตุกัมมนั ตรังสี เนือ้ หา ธาตุบางชนิดสามารถแผร่ งั สไี ด้ เรียกว่า ธาตุกมั มันตรงั สี

28 วิธีการสอน/ ทักษะทีไ่ ด้/ การประเมิน เวลา เทคนิค/ คณุ ลักษณะ (ช่วั โมง) ชน้ิ งาน/ กจิ กรรม คุณ ลักษ ณ ะ อั น พึ ง ประสงค์ . ซ่ือสตั ย์สุจรติ . มีวนิ ยั . ใฝ่เรียนรู้ . มงุ่ ม่นั ในการ ทางาน แบบสืบ ทกั ษะทไ่ี ด้ - ตรวจแบบฝึกหัด 2 เสาะหา - ทักษะการ โดยแบบตรวจ ความรู้ สังเกต - สังเกต (5Es - ทักษะการ พฤติกรรมการ Instructional ระบุ ทางานรายกลมุ่ Model) - ทกั ษะการ เปรียบเทียบ โดย นายบุรศิ ร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนักงานราชการ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

หน่วย การ แผนการจดั การเรยี นรู้ เรยี นรู้

29 วิธีการสอน/ ทักษะทีไ่ ด้/ การประเมิน เวลา เทคนคิ / คณุ ลักษณะ (ชัว่ โมง) ชน้ิ งาน/ กจิ กรรม - ทกั ษะการ จาแนก ชิ้นงาน ประเภท แบบฝกึ หัด - ทกั ษะการ สารวจค้นหา เร่อื งธาตุ - ทกั ษะการ รวบรวมขอ้ มูล กมั มนั ตรังสี - ทักษะการ สรปุ ย่อ - ทกั ษะการ นาความรไู้ ป ใช้ คุณ ลักษ ณ ะ อั น พึ ง ประสงค์ . ซ่อื สตั ยส์ จุ รติ โดย นายบุริศร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

หนว่ ย การ แผนการจดั การเรยี นรู้ เรียนรู้ แผนที่ 5 สารประกอบ เน้อื หา เม่อื ธาตุมากกวา่ หนงึ่ ชนดิ มารวมกนั ทางเคมีกลายเปน็ สารประกอบท่มี สี ม จากธาตเุ ดมิ ที่เปน็ องค์ประกอบ

30 วิธีการสอน/ ทกั ษะท่ีได้/ การประเมิน เวลา เทคนิค/ คณุ ลกั ษณะ (ชั่วโมง) ชิ้นงาน/ กจิ กรรม . มวี ินยั . ใฝเ่ รยี นรู้ . มุง่ มั่นในการ ทางาน แบบสบื ทักษะทีไ่ ด้ - สงั เกต 2 เสาะหา - ทกั ษะการ พฤติกรรมการ มบตั ิแตกต่างไป ความรู้ สังเกต ทากิจกรรม (5Es - ทกั ษะการ Instructional ระบุ Model) - ทกั ษะการ กจิ กรรม เปรยี บเทียบ เกมสเ์ ขยี น - ทักษะการ ตามคาใบ ใน จาแนก โดย นายบุรศิ ร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

หนว่ ย การ แผนการจัดการเรียนรู้ เรียนรู้ แผนที่ 6 สารผสม เน้อื หา สารมากกวา่ หน่งึ ชนิดมาผสมกนั เรียกวา่ สารผสม บางชนิดผสมเป็นเนอื้ เด สารละลาย บางชนดิ ผสมไม่เป็นเน้ือเดียวกัน เช่น สารแขวนลอย คอลลอย

31 วิธกี ารสอน/ ทักษะที่ได้/ การประเมิน เวลา เทคนิค/ คุณลกั ษณะ (ชวั่ โมง) ชน้ิ งาน/ กิจกรรม หวั ข้อความ ประเภท แตกตา่ งของ - ทักษะการ ธาตแุ ละ สารวจค้นหา สารประกอบ คุณ ลักษ ณ ะ อั น พึ ง ประสงค์ . ซือ่ สตั ย์สจุ ริต . มีวินัย . ใฝเ่ รียนรู้ . มุ่งมัน่ ในการ ทางาน แบบสบื ทักษะทไี่ ด้ - ตรวจช้ินงาน 4 เสาะหา - ทักษะการ โดยใชแ้ บบ ดยี วกนั เรยี กว่า ความรู้ สังเกต ตรวจ ยด์ เป็นตน้ (5Es - ทักษะการ - สังเกตพฤติกรรม Instructional ระบุ การทางาน โดย นายบรุ ิศร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

หน่วย การ แผนการจดั การเรยี นรู้ เรยี นรู้

32 วิธีการสอน/ เทคนคิ / ทักษะทไ่ี ด้/ การประเมิน เวลา ชิ้นงาน/ คุณลกั ษณะ (ชวั่ โมง) กิจกรรม Model) - ทักษะการ รายบคุ คล จัดกลมุ่ - สังเกต ช้ินงาน - ทกั ษะการ พฤติกรรมการ ตาราง เปรยี บเทียบ ทางานรายกลมุ่ เปรียบเทียบ - ทักษะการ คณุ สมบตั ิของ จาแนก สารผสม ประเภท - ทกั ษะการ เช่ือมโยง - ทกั ษะการให้ เหตุผล - ทกั ษะการ สารวจ - ทักษะการ สรุปยอ่ - ทักษะการ โดย นายบุริศร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่

หนว่ ย การ แผนการจัดการเรยี นรู้ เรียนรู้ แผนที่ 7 สมบตั ิของสารบรสิ ุทธ์ิและสารผสม เนื้อหา สารรอบตวั ประกอบไปด้วยธาตแุ ละสารประกอบ สารแตล่ ะชนดิ มีสมบ และสมบตั ทิ างเคมีที่เหมือนและแตกตา่ งกนั

33 วธิ กี ารสอน/ ทักษะทไี่ ด้/ การประเมนิ เวลา เทคนคิ / คุณลกั ษณะ (ชว่ั โมง) ชิ้นงาน/ กจิ กรรม รวบรวมข้อมลู คุณ ลักษ ณ ะ อั น พึ ง ประสงค์ . ซ่อื สัตย์สจุ ริต . มวี ินัย . ใฝเ่ รียนรู้ . มงุ่ มน่ั ในการ ทางาน แบบสบื ทักษะท่ไี ด้ - สังเกตการทา 5 เสาะหา - ทกั ษะการ กิจกรรมการ บตั ทิ างกายภาพ ความรู้ สงั เกต ทดลอง (5Es - ทกั ษะการ - ประเมนิ การ Instructional ระบุ นาเสนอผลงาน Model) - ทกั ษะการ จากกจิ กรรม โดย นายบุริศร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่

หน่วย การ แผนการจดั การเรยี นรู้ เรยี นรู้

34 วิธีการสอน/ ทักษะทีไ่ ด้/ การประเมิน เวลา เทคนคิ / คุณลักษณะ (ชั่วโมง) ช้ินงาน/ กิจกรรม เปรยี บเทียบ group activity กิจกรรม - ทกั ษะการ - สังเกต การทดลอง การผสมจุด จาแนก พฤติกรรมการ เดือนของนา้ โดยการใช้ ประเภท ทางานกล่มุ เกลือ - ทักษะการ - สังเกต เชอ่ื มโยง คุณลกั ษณะอนั คุณ ลักษ ณ ะ พึงประสงค์ อั น พึ ง ประสงค์ . ซอื่ สตั ย์สุจริต . มวี ินัย . ใฝ่เรยี นรู้ . ม่งุ มัน่ ในการ ทางาน โดย นายบรุ ิศร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนักงานราชการ กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่

หน่วย การ แผนการจัดการเรยี นรู้ เรยี นรู้ 2. หนว่ ย แผนท่ี 1 เซลลข์ องสง่ิ มชี วี ติ ของ เนื้อหา ส่งิ มีชี ส่ิงมีชีวิตทุกชนิดมีเซลล์เป็นหน่วยท่ีเล็กท่ีสุดเป็นองค์ประกอบ ซึ่งส วิต สามารถดารงชีวิตอยู่ได้เพียงเซลล์เดียว บางชนิดจาเป็นต้องมีหลายเซ เนื้อเย่ือ ซ่ึงมีรูปร่างและหน้าที่แตกต่างกัน ซึ่งองค์ประกอบพ้ืนฐาน นวิ เคลียส ไซโตพลาซึม และเยื่อหมุ้ เซลล์

35 วธิ ีการสอน/ เทคนคิ / ทกั ษะทไ่ี ด้/ การประเมนิ เวลา ช้นิ งาน/ คณุ ลกั ษณะ (ช่ัวโมง) กิจกรรม แบบสืบ ทักษะท่ไี ด้ - ตรวจ 5 เสาะหา - ทั ก ษ ะ ก าร แบบทดสอบ ส่ิงมีชีวิตบางชนิด ความรู้ สงั เกต กอ่ นเรยี น ซลล์มารวมกันเป็น (5Es - ทั ก ษ ะ ก าร - ตรวจแบบฝึกหดั นของเซลล์ ได้แก่ Instructional สารวจคน้ หา โดยใชแ้ บบตรวจ Model) - ทั ก ษ ะ ก าร ชิน้ งาน วเิ คราะห์ แบบฝกึ หดั คุณ ลักษ ณ ะ เรอื่ ง อั น พึ ง สว่ นประกอบ ประสงค์ ของเซลล์ . ซือ่ สัตย์สุจริต . มวี นิ ยั . ใฝ่เรียนรู้ . มุ่งมน่ั ในการ ทางาน โดย นายบุริศร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่

หนว่ ย การ แผนการจัดการเรยี นรู้ เรียนรู้ แผนที่ 2 เซลลพ์ ืชและเซลลส์ ัตว์ เน้ือหา สิง่ มีชีวติ ทกุ ชนิดมีเซลล์เป็นหนว่ ยที่เลก็ ที่สดุ เป็นองคป์ ระกอบ ซงึ่ สงิ่ มีชีว สามารถดารงชีวิตอยไู่ ด้เพียงเซลล์เดียว บางชนิดจาเป็นต้องมีหลายเซล เนือ้ เย่ือ ซงึ่ มีรูปร่างและหน้าท่ีแตกตา่ งกนั ซงึ่ องค์ประกอบพืน้ ฐานของเ นิวเคลียส ไซโตพลาซมึ และเย่ือห้มุ เซลล์

36 วิธกี ารสอน/ ทักษะทไ่ี ด้/ การประเมนิ เวลา เทคนคิ / คณุ ลกั ษณะ (ชั่วโมง) ชิน้ งาน/ กจิ กรรม แบบสบื ทกั ษะที่ได้ - ตรวจแบบฝึกหัด 4 เสาะหา - ทกั ษะการ โดยใช้ใบกจิ กรรม วติ บางชนิด ความรู้ สังเกต - สงั เกต ลล์มารวมกนั เป็น (5Es - ทักษะการ พฤติกรรมการ เซลล์ ได้แก่ Instructional ระบุ ทางานรายกลุ่ม Model) - ทักษะการ - ประเมนิ การ เปรียบเทียบ นาเสนอใบงาน กจิ กรรม - ทักษะการ การทดลอง จาแนก เรือ่ งการใช้ ประเภท กลอ้ ง คุณ ลักษ ณ ะ จุลทรรศน์ใน อั น พึ ง โดย นายบุรศิ ร์ กองมะลิ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่

หน่วย การ แผนการจัดการเรยี นรู้ เรยี นรู้ แผนท่ี 3 การแพรแ่ ละออสโมซสิ เน้อื หา กระบวนการแพร่และออสโมซิสเป็นกระบวนการท่ีส่ิงมีชีวิตใช้ลาเลียงสา จากเซลล์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook