Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กิจกรรมการจัดสิ่งแวดล้อมศึกษา

กิจกรรมการจัดสิ่งแวดล้อมศึกษา

Published by buritkongmali, 2020-06-27 04:41:50

Description: กิจกรรมการจัดสิ่งแวดล้อมศึกษา

Search

Read the Text Version

กิจกรรมสิง่ แวดล้อมศกึ ษา โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 งานส่งเสริมงานอาคารสภานที่ กลุม่ งานอาคารสถานที่ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ สานกั บริการงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานกั คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงทรวงศกึ ษาธกิ าร

คานา ความรู้และความเข้าใจในเรื่องของธรรมชาติสิ่งแวดล้อมในยุคสมัยปจั จุบันถือเปน็ องคปื ระกอบสาคัญในการพัฒนา เยาวชนของประเทศในเป็นบุคคลท่ีมีคุณภาพ ตลอดจนจาสานึกรักในธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ตระหนักถึงความสัมพันธ์ ของมนุษยแ์ ละสิ่งแวดล้อม การจดั กิจกรรมสิ่งแวดล้อมศึกษาภายในสถานศึกษาเป็นการสร้างองคค์ วามรู้ให้แก่เยาวชนและ ยังเป็นการบ่มเพาะจิตใจนักอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในระหว่างรับการศึกษา ทางโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ได้ เห็นความสาคัญในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการสิ่งแวดล้อมศึกษา เพ่ือมุ่งเน้นสร้างคุณภาพนักเรียนในเป็นไปตาม มาตรฐานการจดั การศกึ ษาดา้ นคณุ ภาพผู้เรียน ลงช่ือ ผเู้ ขียน นายบุรศิ ร์ กองมะลิ กลุม่ งานส่งเสรมิ อาคารสถานท่ี

\"การจัดการเรยี นร้ตู ามสภาพจริง\" โดยม่งุ ใหก้ ารจัดการศึกษาต้องยดึ หลกั วา่ ผเู้ รียนทุกคนมีความสามารถ เรยี นรู้ เเละพฒั นาตนเองได้ เเละถือว่าผู้เรยี นมคี วามสาคัญท่ีสุด ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ เตม็ ศกั ยภาพ โดย จดั กจิ กรรมใหผ้ ้เู รียนได้เรยี นรู้จากประสบการณ์จรงิ ฝกึ การปฏบิ ตั ิ คิดเป็น ทาเปน็ เเก้ปัญหาเปน็ เกิดการใฝร่ ู้ อย่างต่อเน่ือง มกี ารจัดบรรยากาศ สภาพเเวดล้อม สอื่ การเรียน เเละอานวยความสะดวก เพื่อใหผ้ ้เู รียนเกดิ การเรียนรู้มีความรอบรู้ รวมทงั้ มกี ารจดั การเรียนรู้ใหเ้ กดิ ขึน้ ได้ในทุกเวลาเเละทุกสถานท่ี แลว้ จะทาให้ผเู้ รยี นสนกุ กับการเรียนและเรียนรเู้ พื่อพัฒนาตนเอง ได้เต็มศกั ยภาพและมปี ระสิทธิภาพในการเรียนสูงข้ึน



กจิ กรรม เจา้ ใบไม้ ขัน้ ตอนจดั กจิ กรรม 1. เกรนิ กจิ กรรม โดยการเล้าถึงลกั ษณะใบไม้ ประเพรกี ารใบไมข้ องประเทสญีป่ ่นุ 2. ใชค้ าถามในเชือ่ มโยงลักษณะใบไม้ในปา่ และความแตกต่างของใบไม้บนตน้ ไม้ 3. ใหน้ กั เรยี นไปดูและสารวจตน้ ไมภ้ ายนอกหอ้ งเรียน และทาการเก็บตวั อย่าง 4. ใหผ้ เู้ รียนทาการปรึกษา เสนอความเหน็ ต้ังเกณฑ์ในการจาแนกใบไม้ที่เป็นตวั อยา่ งท้งั หมดตาม แนวคดิ ของนกั เรยี น 5. จดั ทาคู่มือการชมใบไม้ สาหรบั ทอ้ งถน่ิ และชุมชนของเรา 6. นาเสนอผลงานของนักเรียนแต่ละกลุ่ม เพือ่ บอกเลา่ แนวคิดของนักเรียน 7. ผจู้ ัดกิจกรรม อธบิ ายแนวคิดการจัดแนกใบไมแ้ ละสอดแทรกความอัสจรรยข์ องใบไม้ในป่า

ใบเด่ียว (simple leaf) หมายถงึ ใบทมี่ เี พียงใบเดยี วติดกบั ก้านท่แี ตกออกจากกิง่ หรือลาต้น เชน่ ใบมะมว่ ง กล้วย แตย่ ังมใี บเดี่ยวบางชนิดท่ีขอบใบ เวา้ เข้าไปมากทาใหด้ คู ล้ายใบประกอบ เช่น ใบมะละกอ ใบมนั สาปะหลัง ใบประกอบ (compound leaves) หมายถึงใบทมี่ ใี บย่อยตง้ั แต่ 2 ใบอยตู่ ดิ กับก้านใบ 1 กา้ น แต่ละใบของใบประกอบเรียก ใบยอ่ ย (leaflet หรือ pina) ก้าน ใบย่อยเรยี ก เพทิโอลลู (petiolute หรือ petiolet) ส่วนกา้ นใบใหญท่ ่ีอยรู่ ะหวา่ งช่วงก้านใบยอ่ ยเรียก ราคสิ (rachis) ใบ ประกอบแยกย่อยได้ 2 แบบ ใบประกอบแบบฝ่ามอื หรือแบบน้วิ มอื (palmately compound leaves) ใบย่อยแต่ละใบจะแยกออกจากกา้ นใบท่จี ุดรวมเดียวกนั โดยจะมีใบย่อยตง้ั แต่ 2 ใบ เชน่ มะขามเทศ ใบย่อย 3 ใบ เชน่ ยางพารา ถั่ว ใบย่อย 4 ใบเช่น ใบนนุ่ หนวดปลาหมึก ใบประกอบแบบขนนก (pinnately compound leaves) ใบยอ่ ยแต่ละใบแยกออกจากกา้ น 2 ขา้ งของแกนกลาง คล้ายขนนก ถ้าปลายสุดของใบจะเปน็ ใบย่อยเพียงใบเดียวเรยี ก แบบขนนกคี่ (odd pinnate) เชน่ กุหลาบ อญั ชนั ก้ามปู ถ้าสุดปลายใบมี 2 ใบ เรยี กแบบขนนกคู่ (even pinnate) เชน่ มะขาม ขีเ้ หลก็ แคบ้าน ใบประกอบแบบขนนกอาจแบง่ ย่อยไดอ้ ีก คือ

o ใบประกอบแบบขนนกช้นั เดยี ว (unipinnate) เปน็ ใบประกอบท่ีมีใบย่อยแยกออกจากแกนกลางเพียงครง้ั เดียว เชน่ กหุ ลาบ มะขาม ขีเ้ หล็ก o ใบประกอบแบบขนนกสองช้ัน (bipinnate) เปน็ ใบประกอบแบบขนนกท่ีแยกออกจากก้านเป็นครง้ั ที่ 2 จงึ มใี บยอ่ ย เช่น จามจุรี หางนกยงู o ใบประกอบแบบขนนกสามชั้น (tripinnate) เปน็ ใบประกอบแบบขนนกท่ีแตกแขนงออกจากก้านเป็นครั้งท่ี 3 จงึ มี ใบย่อย เช่น ปบี มะรมุ ใบประกอบขนนกคี่ ใบประกอบขนนกคู่ ใบประกอบ รปู รา่ งใบ (leaf shape)

ขอบใบ (leaf margin) ปลายใบ (leaf apex) โคนใบ (leaf base)

ชบาเป็นใบเดีย่ ว รูปรี ปลายใบแหลม ขอบจัก จง๋ั เปน็ ใบเดี่ยว รูปแฉกแตด่ คู ล้ายใบประกอบ กระถินเป็นใบประกอบขนนกสองชั้น แบบขนนกคู่ ขอบขนาน แว่นแก้วเป็นใบเด่ยี ว รปู วงกลม ก้านใบติดใตแ้ ผ่นใบ ปลายใบมน กหุ ลาบเปน็ ใบประกอบขนนกชนั้ เดยี ว แบบขนนกค่ี รปู รี โพธเ์ิ ปน็ ใบเดี่ยวรูปหัวใจ ปลายใบแหลมเป็นหาง ปลายใบแหลม



กิจกรรม เสน้ ทางของดนิ เกี่ยวกบั การชะลา้ งหนา้ ดิน ซึ่งมีแร่ธาตุที่สาคญั ของพชื อยู่ การดแู ลรักษาหน้าดินจึงเปน็ สงิ่ สาคัญใน การดูพน้ื ทด่ี ินตา่ งๆ ตลอดจนการดแู ลทรัพยากรต่างๆ กิจกรรมน้ใี ห้เด็กได้ตามหาสาเหตุทผี่ ่ืนดินถูกชะลา้ งทา ใหผ้ ่ืนดนิ ขาดความสมบรู ณ์ และคิดคน้ วิธีการแก้ไขปัญหาในชวี ิตจริง ขั้นตอนการทากจิ กรรม 1. ใชภ้ าพดินถล่มในการกระตุ้นความคิด 2. ร่วมกันหาคาตอบว่าหน้าดินทถี่ ูกต้องชะลา้ งนน้ั ไปไหน 3. ใช้การสารวจในพน้ื ที่ สงั เกตการไหลของนา้ ในพน้ื ที่จริง เช่น สวน ป่า 4. ทดลองวาดแผนทภ่ี ูมิประเทศครา่ วๆ งา่ ยๆ 5. นามารวมกลมุ่ วเิ คราะห์ หาวิธพี ัฒนา แกไ้ ข หนา้ ดนิ ทถ่ี ูกชะลา้ ง 6. จัดทาแบบจาลองของวิธกี ารแกไ้ ขปญั หา โดยอิงพนื้ ท่ที ส่ี ารวจมา 7. นาเสนอแนวคิดและแลกเปลี่ยน

ปา่ 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อยา่ ง \"...การปลกู ป่า 3 อยา่ ง แต่ให้ประโยชน์ 4 อยา่ ง ซง่ึ ได้ไม้ผล ไม้สร้างบา้ น และไมฟ้ ืนนัน้ สามารถใหป้ ระโยชน์ ได้ถงึ 4 อยา่ ง คอื นอกจากประโยชน์ในตัวเองตามช่ือแลว้ ยังสามารถให้ประโยชน์อันท่ี 4 ซ่ึงเป็นข้อสาคัญ คอื สามารถช่วยอนุรักษด์ ินและต้นนา้ ลาธารดว้ ย...\" พระราชดารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร เมื่อวนั ท่ี 7 มกราคม พ.ศ. 2523 ณ โรงแรมรนิ คา อ.เมือง จ.เชยี งใหม่ ประโยชนข์ องปา่ 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง พอกนิ คือ การปลูกตน้ ไม้ที่กินได้ รวมท้งั ใช้เป็นยาสมนุ ไพร ไม้ในกลุ่มนี้ เช่น แค มะรมุ ทเุ รยี น สะตอ ผกั หวาน ฝาง แหม้ กล้วย ฟักขา้ ว ไม้ผลต่าง ๆ พอใช้ คอื การปลูกตน้ ไม้ใหเ้ ปน็ ปา่ ไม้ สาหรับทาเครอื่ งใชส้ อยในครัวเรอื น อาทิ ทาฟืน เผาถา่ น ทางานหตั ถกรรม หรอื ทานา้ ยาซักล้าง ไมใ้ นกลุ่มนี้ เช่น มะคาดีควาย หวาย ไผ่ หมีเหม็น พออยู่ คอื การปลูกตน้ ไมท้ ใี่ ช้เน้ือไม้และไม้เชิงเศรษฐกจิ ให้เป็นป่า ไมก้ ลมุ่ น้ีเป็นไม้อายุยืนเพ่ือใช้สร้างบ้าน ทาเคร่ือง เรือน ต้นไม้กลุ่มนี้ เชน่ ตะเคียนทอง ยางนา สัก พะยงู พยอม พอร่มเยน็ คอื ประโยชนอ์ ย่างท่ี 4 ท่ีเกิดจากการปลูกป่า 3 อยา่ ง จะช่วยฟื้นฟรู ะบบนิเวศดนิ และน้าใหก้ ลบั มาอดุ ม สมบูรณ์ ร่มรนื่ และฉ่าเยน็ ขนึ้ มา การปลูกป่า 5 ระดบั แบบกสิกรรมธรรมชาติ ประกอบดว้ ยต้นไมห้ ลากหลายชนิดพันธุ์ โดยเราสามารถจดั แบ่งตามระดับช่วงความสูงและระบบนเิ วศได้ 5 ระดับ ดังน้ี - ไมส้ ูง เป็นกลุม่ ไม้เรือนยอดสูงสุดและอายุยืน ไม้ในระดับนี้ เชน่ ตะเคียน ยางนา เต็ง รัง - ไมก้ ลาง เป็นกลมุ่ ตน้ ไม้ท่ีไม่สงู นัก ไมใ้ นระดบั นี้ ได้แก่ บรรดาไมผ้ ลทเ่ี ก็บกนิ ได้ เช่น มะมว่ ง ขนนุ มงั คุด กระท้อน ไผ่ สะตอ - ไม้เตี้ย เปน็ กลุ่มต้นไมพ้ ันธ์ุพ่มุ เต้ีย ไม้ในระดับน้ี เช่น พรกิ มะเขือ กะเพรา ติ้ว ผกั หวานบ้าน เหลยี ง - ไมเ้ ล้ือยเรี่ยดนิ ไม้ในระดบั น้ีเป็นตระกูลไม้ล้มลกุ ที่ทอดยอดเล้อื ยได้ เช่น พรกิ ไทย รางจืด ฟกั ทอง แตงกวา - ไมห้ ัวใตด้ ิน ไม้หัวอยูใ่ ตด้ ิน ไม้ในระดบั น้ี คือ มัน เผือก กลอย กวาวเครือ ขงิ ข่า





กจิ กรรม อยู่กับป่า กิจกรรมเพ่ือให้นักเรยี นสง่ิ ท่มี มนษุ ย์กระทาต่อธรรมชาติอย่างไร้จติ สานึกอันดีตอ่ เพ่ือนร่วมโลก ทั้งตน้ ไม้ สัตวป์ ่า สิ่งมีชวี ิต ตลอดจนส่งิ ไม่มีชวี ิต เชน่ ดิน น้า ภูเขา ทะเล โดยมีการใหเ้ ด็กๆ สังเกตหรือช่วยกนั นึกถึงเหตกุ ารณก์ ารกระทาของมี มนษุ ย์ที่ไมเ่ ปน็ ผลดีต่อสง่ิ แวดล้อม ช่วยการยกตวั อย่าง จากนัน้ นึกจิตนาการว่าเราจะเลี่ยงสิง่ เหลา่ นั้นได้อยา่ งไร เหตุการณต์ ัวอย่าง การใช้ตะปูติดปา้ ยบนตน้ ไม้ การตัดต้นไม้เพ่อื การก่อสรา้ ง เปน็ ตน้ ข้นั ตอนในการทากิจกรรม 1. คาถามในกระบวนการกระตุ้น มมุ มองของนกั เรยี น มนุษย์ทาเกินไปหรือไม่กบั ธรรมชาติ 2. ให้นกั เรียนเสนอความคิดของต้น แล 3. ช่วยกันระดมความคดิ สิ่งทตี่ วั เราเคยทากับธรรมชาติ หรอื คนใกล้ติดเปน็ ผูท้ า 4. เขียนจดหมายขอโทษ ธรรมชาติ ขอโทษตน้ ไม้ ขอโทษแม่น้า 5. คดิ วิธีการใหม่หรอื วิธเี ลย่ี ง การทารา้ ยธรรมชาตอิ ย่างไม่จาเปน็



กิจกรรม เลน่ ลูกไม้ หนึง่ ในกระบวนการฟืน้ ฟูหรือเพิ่มจานวนทรัพยากรปา่ ไม้ คอื การปลูกป่านัน้ เอง โดยมกั นาเมล็ดจากต้นไม้ในป่าท่ีเรา ต้องการดูแลมาเพาะต้นกล้าพืชสาหรับปลูกป่า โดยในป่าในเมล็ดของพืชในป่าในมีลักษณะเฉพาะและเหตุผลของลักษณะ ทางชวี ภาพท่ีแตกตา่ งกนั การศึกษาธรรมชาตขิ องพรรณพืชน้ันจงึ เป็นส่วนจาเปน็ สาหรบั การเพาะกลา้ สาหรบั ปลูกป่า กิจกรรมนีจ้ ึงมุ่งเนน้ ให้นกั เรยี นพบประสบการณต์ รงในการสงั เกต และแยกแยะเมล็ดพชื ตามแนวคิดของตนเอง ขนั้ ตอนการดาเนนิ กิจกรรม 1. พานักเรยี นเกบ็ ตัวอย่างเมลด็ พันธ์พุ ชื ในสถานท่ีตา่ งๆ เชน่ สวน ปา่ ไม้ พชื ในโรงเรยี น 2. นามาจัดแยกตามแนวคิดของนกั เรียน 3. นาเสนอเพอ่ื แลกเปลี่ยนความคิดเหน็ ของการจัดจาแนก 4. คาถามท่ีนาไปสู่การใช้ประโยชน์ ลักษณะเมล็ดหรือเกณฑ์การจัดแนกของนักเรียนมีความสาคัญอย่างไรในการ คดั เลอื กเมลด็ พันธไุ์ ปปลูก

การเดนิ ทางของเมล็ดพนั ธ์ุ ผูเ้ รม่ิ ต้นการเปล่ียนแปลง อะไรท่ีได้มาง่ายๆ มกั จะถูกเจือจางคุณค่าลงด้วยความเคยชิน แตไ่ ม่นา่ เช่ือว่า อยู่มาวนั หนึ่ง เรากลบั มาตระหนักว่า เร่ือง ปากเรอื่ งท้อง โดยเฉพาะอาหารการกิน ซง่ึ เร่ิมต้นด้วยข้าวและพืชผักตา่ งๆ ลว้ นมาจากเมลด็ พันธุ์ เม็ดเล็กๆ ซึ่งหากจะมอง ลงไปดลู กึ ๆแลว้ เมล็ดพันธ์ุของพืชบางชนิดก็ไม่ไดม้ ขี ายตามทอ้ งตลาด แต่กลบั มวี างตากแหง้ อยู่ตามใตถ้ ุนบา้ นเรือน ใน ชนบทบางหลงั แทน นัน่ คือ เมล็ดพันธุ์พื้นเมือง เมล็ดพันธ์ุแต่ละชนิดกว่าจะเติบโตมาเป็นพชื ผักใหเ้ ราเกบ็ กิน ตา่ งมีการเดนิ ทางท่นี ่ามหศั จรรย์ให้เราเฝา้ ค้นหาและรอคอย ตัง้ แต่เร่มิ ได้เมล็ดมา จนเพาะให้เกดิ รากท่ีแข็งแรง เพื่อใช้ดดู สารอาหารหล่อเล้ียงชพี แลว้ กลายเป็นกล้าตน้ เล็กๆ ก่อน เตรยี มพร้อมท่ีจะนาไปเฝา้ ปลกู เล้ยี งดูจนเตบิ โต ให้เกบ็ ดอก ผลกนิ เมลด็ พันธุบ์ างชนดิ เดนิ ทางไดเ้ องตามธรรมชาติท่เี กดิ จากการรว่ งโรย และปลิวไป แต่เมลด็ พันธ์บุ างชนิด กลับมกี าร เจริญเติบโตด้วยการพึง่ พาอาศัย ของส่งิ มชี ีวิต ทีอ่ าศยั อยตู่ ามธรรมชาติ เชน่ นก แมลง คน ฯลฯ ไมน่ า่ เชือ่ เลยวา่ แคเ่ หน็ ภาพเมลด็ พนั ธทุ์ ่ีตากอยู่ใตถ้ ุนบา้ น เราจะมองเห็นภาพของหว่ งโซ่ สายใยอาหาร และความสมั พันธุ์ ของส่ิงมชี วี ิต และส่งิ แวดล้อมตา่ งๆตามมากอกี มากมาย เรอื่ งของธรรมชาติ บางทีเรามองดูมนั กป็ กติดี แต่หากมองอยา่ งลึกซ้ึง เรากลบั เห็น คุณคา่ และความร้สู ึกท่ีกาลังตามหา ซงึ่ ถกู ความธรรมดาที่ไมธ่ รรมดากลบเกลือ่ นอยมู่ ากมาย



กิจกรรม ผึง้ บอกปา่ ความอุดมสมบุรณ์ของป่าไม้สามารถตรวจวัดได้จากการตัวบ่งช้ีชีวภาพเช่นเดียวกับน้า สาหรับตัวบ่งชี้ความสมบูรณ์ ของป่าน้ันมักพิจารณาจากลาดับสุดท้ายห่วงโซ่อาหาร เช่น เสือ งู ซึ่งอยากต่อการเรียนรู้ในประสบการณ์จริง แมลงจึงเป็น ทางเลือกของตัวบ่งช้ีทางธรรมชาติที่ง่ายต่อการเรียนรู้ โดยเหตุผลดังกล่าว กิจกรรมนี้จึงเลือกผึ้งและน้าผ้ึงเป็นตัวบ่งช้ี ธรรมชาติของพืน้ ทใี่ นชุมชนได้เปน็ อยา่ งดี โดยให้นักเรยี นคน้ ควา้ ลกั ษณะพฤตกิ รรมของผงึ้ เพอื่ คาดเดาความสมบูรณ์ ขน้ั ตอนการดาเนนิ กิจกรรม 1. พานกั เรยี นเรียนรู้โดยการเขยี นวงจรชีวิตของผงึ้ ลักษณะนสิ ยั ของผง้ึ 2. ชว่ ยกนั เขยี นแผนผงั โดยทาตามสายใยอาหารของผ้งึ 3. ทดลองชิมนา้ ผึ้ง 4. วเิ คราะห์ว่าป่าทผี่ ึ้งชนดิ นอ้ี าศยั อยู่เป็นอยา่ งบ้าง (จณิ ตนาการ)

ส่ิ ง มี ชี วิ ต ช นิ ด ห นึ่ ง ท่ี จั ด เ ป็ น สั ต ว์ สั ง ค ม ก า ร เ ป็ น อ ยู่ ต่ า ง กั น กั บ สั ต ว์ อ่ื น ๆ สั ต ว์ สั ง ค ม เ ช่ น พวก ผ้ึง มด ต่อ แตน ปลวก นั่นเองครับ แต่ผทจะพูดถึงเรื่อง ชนิดของผึ้งในเมืองไทยครับ ว่ามีกี่ชนิด แต่ละชนิด รูปรา่ งแตกต่างกนั อยา่ งไรบ้าง ทารงั อยู่ทีไ่ หนกันบา้ ง ตามธรรมชาติผ้ึงอาศัยอยู่ตามโพรงไม้หรอื กิ่งไม้ ส่วนผ้ึงเล้ียงก็อยู่ในรังในหีบเล้ียง ท่ีคนสร้างให้เพื่อความสะดวกใน การเกบ็ น้าผงึ้ ในรังผงึ้ ใหญ่ ๆ อาจมีผึ้งถงึ 50,000 ตวั ผึง้ ทั้งหมดในหนึ่งรงั มาจากผง้ึ นางพญาตวั เดียวกันท้ังหมด ดังนนั้ ใน รังผึ้งก็เปรียบได้เป็นครอบครัวขนาดมหึมาทีเดยี ว ผ้ึงนางพญาเป็นผู้ปกครองอาณาจักรรังผึ้ง ทาหน้าที่สร้างประชากรโดย สามารถวางไขไ่ ด้ทลี ะเปน็ พนั ฟอง ผง้ึ นางพญามีขนาดตัวใหญ่กวา่ ผ้ึงงาน มอี ายปุ ระมาณ 1 – 2 ปี สว่ นผ้งึ งานจะเป็นหมัน ผ้งึ งานทาหนา้ ท่ีทุกอย่างในรังผึ้ง เชน่ ดูแลทาความสะอาด ซ่อมแซมรัง ปอ้ งกนั ศัตรู หา อาหาร และป้อนอาหารให้ตัวอ่อน ผ้ึงนางพญา รวมท้ังผ้ึงตัวผู้ด้วย ผ้ึงงานทุกตัวทาหน้าที่ของตัว อย่างเคร่งครัดเพ่ือ ประโยชนข์ องสว่ นรวม นกั วิทยาศาสตร์พบว่าผง้ึ งานมสี ารพันธุกรรมที่ควบคุมพฤตกิ รรมการทางาน ทาใหผ้ ง้ึ งานทาหน้าท่ี เฉพาะดา้ นตา่ ง ๆ ภายในรังได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ผง้ึ งานมีขนาดเล็กกวา่ ผึง้ นางพญา มีอา ยุประมาณ 2 เดือน ผึ้งตัวผู้มีขนาดใหญ่ ลาตัวอ้วนและสั้นกว่าผึ้งนางพญา ผึ้งตัวผู้ไม่มีเหล็กใน หาอาหารเองไม่ได้ มีหน้าท่ีผสมพันธุ์ เท่าน้ัน เมื่อผสมพันธ์ุแล้วก็ตกลงมาตาย ส่วนผ้ึงตัวผู้ที่ไม่ได้ผสมพันธุ์จะถูกปล่อยให้อดอาหารตาย ดังน้ัน จึงพบผึ้งตัวผู้ เฉพาะในช่วงฤดผู สมพันธุเ์ ทา่ นนั้ ผึ้งท้ังสามพวกคือ ผ้ึงงาน ผึ้งนางพญา และผ้ึงตัวผู้ต่างก็ทาตามหน้าที่ได้อย่างมีระเบียบ ทาให้ผ้ึงสามารถสร้างรัง และสะสมอาหารได้มากอย่างนา่ พิศวง ทง้ั ทผ่ี ง้ึ เป็นแมลงตวั เลก็ ๆ ผึ้งในประเทศไทย มอี ยู่ 4 ชนิด ไดแ้ ก่ ผ้ึงหลวง เป็นผ้ึงที่มีขนาดใหญ่ท่ีสุดและรังใหญ่ที่สุดดว้ ย ลาตัวยาวประมาณ 1.5 – 2 เซนติเมตร ท้องเป็นปล้องสีดาสลบั เหลือง พบไดต้ ามป่าหรือชนบท สรา้ งรังบนทส่ี งู มาก ๆ เป็นผ้งึ ทีด่ แุ ละต่อยปวดกว่าชนดิ อื่น ๆ ผ้ึงหลวงให้น้าผ้งึ ดที ี่สุดใน เดือนเมษายน ที่เรียกกันว่าน้าผง้ึ เดือนห้า

ผง้ึ โพรง ขนาดเลก็ กว่าผึ้งหลวง ทอ้ งเปน็ ปล้องสีน้าตาลสลับเหลือง สร้างรงั ในโพรงหรือชายคา นามาเลยี้ งในหีบได้ ผ้งึ โพรงให้นา้ ผงึ้ มากในฤดูที่มดี อกของไมผ้ ล เชน่ เงาะ ทเุ รียน มะพรา้ ว ล้นิ จี่ ลาใย บ้านเรามกี ารเลี้ยงผง้ึ โพรงในหีบไม้ ที่กระจายอยู่ตามภาคต่างๆของประเทศ และเม่ือเร็ว ๆ น้ีเอง นักวิจัยจากจุฬาลงภรณ์มหาวิทยาลัย พบว่าผ้ึงโพรงมี ความสามารถพิเศษกว่าผึ้งพันธ์ุคือ มีความต้านทานต่อไร ศัตรูผ้ึงได้ดีมาก นับเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการปรับสายพันธุ์ ผึง้ ในบา้ นเรา

ผึง้ มม้ิ ขนาดลาตัวเลก็ กว่าผึ้งโพรง ขนาดรังกเ็ ล็กด้วย ขนาดของผง้ึ ม้ิมใกล้เคียงกับแมลงวันบ้าน จึงทาใหบ้ างทีเรยี ก ผง้ึ แมลงวัน ท้องผ้ึงม้ิมเป็นสีดาสลับขาว พบผึ้งม้ิมได้ท่ัว ๆ ไปตามขนมหวาน ผลไม้สุก สร้างรังในที่ไม่ค่อยสูงนัก ให้น้าผ้ึง มากในเดือนกมุ ภาพนั ธ์ถงึ เมษายน ผ้งึ พันธุ์ หรอื ผง้ึ ฝรง่ั มีขนาดเลก็ กว่าผ้ึงหลวง แต่ใหญ่กว่าผ้งึ โพรง เป็นผง้ึ ท่ีนาเขา้ มาจากต่างประเทศ ผ้งึ พันธุถ์ กู เล้ียงใน อตุ สาหกรรมน้าผง้ึ มานาน ขนาดรังผงึ้ พนั ธเุ์ หมาะสมกบั การเลยี้ งในหีบและเกบ็ นา้ ผึ้งได้มาก วงจรชวี ิตและสงั คมผึง้ ไม่มีผ้ึงตัวหนึ่งตัวใด สามารถดารงชีวิตอยู่อย่างโดดเด่ียวเป็นระยะเวลานาน โดยขาดความสัมพันธ์กับผ้ึงวรรณะอื่น ภายในสังคมเดียวกัน เพราะผ้ึงเป็นแมลงสังคมท่ีมีวิวัฒนาการสูง มีระบบสังคมมาเป็นเวลาช้านานประมาณถึง ๓๐ ล้านปี ผงึ้ แต่ละรังเปรียบเสมือนครอบครวั หนึ่ง ซงึ่ ประกอบด้วย ๓ วรรณะคือ ผง้ึ นางพญาหนึง่ ตวั ผึง้ ตวั ผ้หู ลายรอ้ ยตัว และผงึ้ งาน อกี จานวนเปน็ หม่นื ตวั โดยเฉพาะผึ้งเล้ียง อาจจะมีผ้ึงงานได้หลายหม่นื ตัว รังผึ้งรังหนง่ึ ๆ หรือสังคมหนง่ึ ๆ จะดาเนินชวี ติ ไปได้อย่างมีระเบียบ ในระบบสงั คมที่มีนางพญาเป็นศูนย์กลาง ทาหน้าท่ี ผสมพันธ์ุ สร้างประชากร ปกตินางพญาผ้ึงโพรงไทยจะวางไข่ได้วันละ ๑,๐๐๐ ฟอง นางพญาผ้ึงโพรงฝร่ังสามารถวางไข่ได้ ถงึ วันละ ๓,๐๐๐ ฟอง โดยมีผ้งึ งานคอยรับใช้ ทาความสะอาด ใหอ้ าหาร และนาของเสียไปทิ้ง ผ้งึ นางพญา มีลักษณะตัวใหญ่กว่าผง้ึ งาน และลาตวั ยาวกว่าผง้ึ ตวั ผู้ ปกติจะมอี ายุ ๑-๒ ปี แต่บางตัวอาจมีอายนุ านถึง ๓ ปี ผง้ึ งาน เป็นผง้ึ เพศเมีย มขี นาดเลก็ ทส่ี ดุ เนื่องจากในระยะทเี่ ปน็ ตัวอ่อน ได้รบั อาหารพเิ ศษคอื นมผง้ึ หรือรอยัลเยลลี (royal jelly) เพียง ๓ วัน หลังจากน้ันตัวอ่อนผงึ้ งานท่มี ีอายุมากขนึ้ จะได้กินแตเ่ กสร และนา้ ผึง้ ทาให้ขบวนการพฒั นาแตกต่างไป จากผึง้ นางพญามาก ในขณะทผี่ ึ้งนางพญาได้กนิ นมผ้ึงตัง้ แต่เป็นตัวอ่อนอายุ ๑ วัน และไดก้ ินต่อไปจนตลอดชวี ิต ดว้ ยเหตุน้ี จึงทาให้เพศเมีย ๒ วรรณะนี้ ผิดแผกแตกต่างกัน ทั้งลักษณะภายนอก และภายใน ตลอดจนภารกิจต่างๆ ผึ้งงานมีหน้าที่ หลักในการทางาน เช่น ทาความสะอาดรัง เล้ียงดูป้อนอาหารให้ผ้ึงตัวอ่อน สร้างและซ่อมแซมรัง เป็นทหารเฝ้ารัง ป้องกัน ศัตรู และหาอาหาร ผึ้งงานต้องรับภาระดังกล่าวเท่ากันทุกตัว ไม่มีการเอาเปรียบแก่งแย่งกัน หรือหลบงานเลย ทุกตัว รับผิดชอบงานของตนเอง โดยไม่มีใครบังคับ และไม่ต้องส่ังสอนกัน นักวิทยาศาสตร์กล่าวว่า ผ้ึงงานคือ หุ่นยนต์ท่ีมีชีวิตตัว นอ้ ยๆ ทางานเกอื บตลอดเวลาตัง้ แตเ่ กิดจนตาย ดังนน้ั ผ้ึงงานจึงมอี ายสุ ั้นเพียง ๖-๘ สัปดาห์ เทา่ นั้น ผง้ึ ตัวผู้ มีขนาดใหญ่ ลาตัวอ้วนและสั้นกวา่ ผง้ึ นางพญา ผึ้งตัวผู้ไม่มีเหลก็ ใน มีล้ินสั้น หาอาหารเองไม่ได้ แต่จะรับอาหารจาก ผ้งึ งานเทา่ น้นั ผ้ึงตวั ผู้ไม่มีหนา้ ที่ทางานภายในรงั ดังนั้นจงึ มีหนา้ ทผี่ สมพนั ธุ์อย่างเดียว เมือ่ ผสมพนั ธ์ุในอากาศเสร็จจะตกลง

มาตาย เม่ือหมดฤดูผสมพันธุ์ ผ้ึงตัวผู้ท่ียังไม่มีโอกาสผสมพันธ์ุจะถูกผ้ึงงานปล่อยให้อดตายด้วย เราจะพบผึ้งตัวผู้ปรากฎใน รงั เฉพาะช่วยฤดผู สมพันธุเ์ ทา่ นั้น หลังจากผสมพนั ธุ์กบั นางพญาแล้ว ผงึ้ ตัวผจู้ ะตายทนั ที ส่วนประกอบของน้าผง้ึ น้าผึ้งมีน้าตาลเป็นส่วนประกอบถึง 80-85% ประกอบไปด้วยน้าตาลชนิดต่างๆ น้าตาลโมเลกุลเด่ียว ได้แก่ กลูโคส และฟรักโทส ซ่ึงเป็นน้าตาลที่ย่อยเป็นพลังงานให้กับร่างกายได้อย่างรวดเร็ว อีกกลุ่มคือน้าตาลโม เลกุลคู่ ได้แก่ มอลโทส ซโู ครส แลก็ โทส และมสี ่วนของนา้ ตาลท่ีมโี มเลกุลซบั ซอ้ น อย่างเดกซ์โทรสผสมอยู่ด้วย ซึ่งท้ังหมดที่กล่าวมา เป็นส่วนผสมความหวานที่ได้จากธรรมชาติล้วนๆ ดังนั้นน้าผ้ึงจากธรรมชาติที่บริสุทธ์ิจริงจะมีปริมาณ ซโู ครสไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 5-8 เทา่ นน้ั ถา้ สูงกวา่ นั้นแสดงว่า น้าผ้งึ นัน้ มกี ารผสมน้าเชอ่ื ม หรือไม่ใช่นา้ ผึ้งบริสทุ ธ์ินน้ั เอง ตารางคุณคา่ ทางอาหารของนา้ ผ้งึ ปริมาณคณุ ค่าทางอาหารตอ่ นา้ ผึ้ง 1 ช้อนโตะ๊ นา้ 3.59 g. พลงั งาน 64 kcal โปรตนี 0.06 g. ไขมนั 0.00 g. คาร์โบไฮเดรต 17.30 g. ไฟเบอร์ 0.0 g. น้าตาล 17.25 g.



กิจกรรม สืบสายลม อากาศเป็นส่ิงจาเป็นสาหรับทุกชีวิต มนุษย์ไม่สามารถขาดอากาศได้เกิน 3 นาทีเท่านั้นการดูแลอากาศท่ีเราทุกคน หายใจจึงเป็นส่ิงที่เราทุกคนต้องตระหนัก นักเรียนสามารถสารวจตัวบ่งชี้อากาศได้อย่างง่ายๆ ผ่านสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กคื อ ไลเคน เมอ่ื ทาการสารวจเรยี บร้อยและสามารถบอกคณุ ภาพอากาศได้แล้ว จินตนาการวธิ กี ารดูแลอากาศในทอ้ งถิน่ ข้นั ตอนการดาเนนิ กิจกรรม 1. เรียนร้ชู นิด และประเภทของไลเคน 2. ออกแบบตารางและสารวจไลเคนบริเวณพ้นื ท่ีเรียนรู้ เช่น โรงเรียน สวนสาธารณะ 3. วิเคราะห์คุณภาพของอากาศ 4. รวมกันคดิ วิเคราะห์การกระทาเพ่อื แกไ้ ขปญั หา 5. แลกเปลย่ี นความเหน็ และสง่ิ ทไ่ี ดร้ บั จากกิจกรรม

ไลเคน ตัวช้ีวดั อากาศ ‘ดี’ หรอื ‘แย’่ .เวลาไปเดินเทยี่ วตามสวนปา่ หรอื บริเวณที่มตี ้นไม้หนาแนน่ อย่างเขตอุทยาน หรือแหล่งธรรมชาติทอ่ี ยู่ไกลออกไปจาก ชมุ ชนเมอื ง ไกลจากแหลง่ อุตสาหกรรม เคยรู้สกึ บา้ งหรือไม่วา่ อากาศท่เี ราหายใจเข้าไปมีความสะอาดเพียงใด หากแต่วา่ ร่างกายของหลายคนอาจจะไม่สามารถสัมผัสได้ จึงอยากจะแนะนาวิธีสังเกตความ บรสิ ทุ ธิข์ องคณุ ภาพอากาศดว้ ยวิธกี ารสงั เกตธรรมชาติจากส่ิงมชี วี ิตชนดิ หนึ่งทมี่ องเห็นง่าย ๆ ดว้ ยตาเปลา่ สง่ิ มชี ีวติ ชนดิ นี้ มรี ปู ร่างที่แตกตา่ งกนั ออกไป บ้างเปน็ แผ่นคล้าย ๆ เช้อื รา บา้ งคล้ายใบไม้ ไม่ตดิ แน่น จะเกาะอยู่ตามลาต้น ของต้นไม้ ซง่ึ ถือกาเนิดขึ้นมาจากการอย่รู ว่ มกันแบบพ่ึงพาอาศยั ของเหด็ ราและสาหรา่ ย มชี ื่อเรยี กว่า ไลเคน(Lichen) ทตี่ ่าง ฝ่ายตา่ งไดร้ บั ประโยชน์ซงึ่ กันและกัน เพราะหากแยกกันอยู่จะไม่สามารถดารงชวี ิตตอ่ ไปได้ โดยเห็ดราดารงชวี ิตอยไู่ ดเ้ พราะ อาศัยความช้ืนและก๊าซออกซเิ จนจากสาหร่าย และสาหร่ายใช้กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซดจ์ ากเหด็ ราในการสังเคราะห์ ทาให้ เห็ดราไดร้ บั อาหารและออกซิเจนจากสาหรา่ ย จึงเห็นไดช้ ดั ว่า “ไลเคน” เปน็ ดัชนชี ี้วดั คณุ ภาพของอากาศได้เป็นอย่างดี ไลเคน มคี ณุ สมบัติในการชี้วัดคณุ ภาพอากาศได้ 3 กลุ่ม คือ กลุม่ ที่ 1 เจรญิ เตบิ โตไดใ้ นคุณภาพอากาศดเี ทา่ นั้น ไดแ้ ก่ ฟรูติโคส (Fruticose) ลกั ษณะเป็นเส้นสาย มลี กั ษณะคล้ายหนวดเครา มลี ักษณะห้อยลงมาออ่ นไหวมากชอบอากาศ บรสิ ทุ ธ์ิ ความช้นื สงู และโฟลิโอส (Foliose) ลักษณะคล้ายใบไม้ ไมต่ ิดแน่น ออ่ นไหวชอบอากาศดี มคี วามชืน้ จดั เป็น กลมุ่ ไลเคนอากาศดี ส่วนกลุ่มท่ี 2 มีความทนทานต่อมลภาวะทางอากาศ ได้แก่ สแควมโู ลส (Squamulose) ลกั ษณะเปน็ เม็ดคล้ายลกู หนิ ติดแน่นอยู่กับต้นไม้ ทนทานตอ่ ความแห้งแล้ง มลภาวะ จดั เปน็ กล่มุ ไลเคนทนทาน กลุ่มท่ี 3 ไลเคนทม่ี ีทนทานสงู อย่แู ละเติบโตไดท้ ัง้ ๆ ที่อากาศเต็มไปด้วยมลพิษ ไดแ้ ก่ ครัสโตส (Crustose) ลกั ษณะเปน็ แผ่นแขง็ ติดอย่บู นต้นไม้ ทนทานสูงตอ่ ความแห้งแลง้ มลภาวะ จัดอยใู่ นกลุ่มไลเคนทนทานสูง คุณค่าของไลเคนไม่ใชเ่ พียงเป็นดชั นชีว้ ดั คุณภาพอากาศเทา่ นนั้ แตย่ ังนามาใช้เป็นยาพน้ื บ้าน ลดไข้ รักษาโรคผิวหนงั แผล ตดิ เช้อื บรรเทาอาการทอ้ งเสีย จนถึงขั้นนามาผลิตเปน็ นา้ หอมกันเลยทีเดียว นอกจากนี้ยังนามาสกัดสีสาหรบั ย้อมผา้ และใส่ ในเครื่องด่มื และวิทยาการในยคุ 4.0 ยังนาสมบตั ิของไลเคนในด้านการดูดซับแสง UVB และมสี ารต้านอนุมลู อิสระ มาใช้ เป็นสว่ นประกอบในเคร่ืองสาอางอีกดว้ ย ปจั จุบนั น้ี ไม่สามารถพบ ไลเคนชนิดอากาศดี ในเมืองใหญแ่ ละเขตอุตสาหกรรม รวมถงึ กรงุ เทพมหานคร แต่กลับ พบวา่ มไี ลเคนชนดิ ทนทาน-ทนทานสูงต่อมลภาวะอากาศเสียสว่ นใหญ่ แม้ถกู จัดใหเ้ ป็นเพียงพชื ชั้นตา่ แตก่ ลบั สรา้ งคณู ปการใหก้ บั โลกใบน้ีได้อย่างไม่น่าเชือ่ ถึงเวลาแลว้ ท่เี ราต้องชว่ ยกนั ดูแล รับผดิ ชอบใส่ใจคุณภาพอากาศให้สะอาดสดใสเพอื่ อกี หลายชีวติ ที่ต้องดารงอยู่ต่อไปอกี ยาว ๆ

ตัวช้ีวัดอากาศทางธรรมชาติ ไลเคนสามารถใช้เป็นตัวช้ีวัดคุณภาพทางอากาศ [2] และจากงานวิจัยของ Writh [3] พบว่าไลเคนเป็นสิ่งมีชีวิตท่ีมีความไวต่อมลพิษทางอากาศ โดยเฉพาะก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) ก๊าซฟลูออไรด์ (Fluorides) และสารเคมีท่ีมีฤทธเิ์ ปน็ สารออกซไิ ดซส์ ูงเช่น โอโซนและไลเคนแต่ละชนดิ มีความทนทานต่อมลพษิ ทางอากาศ ไมเ่ ท่ากนั ซง่ึ ทาใหเ้ ราสามารถใช้เปน็ ตัวบง่ ช้ีคณุ ภาพอากาศไดใ้ นเบ้ืองต้นหากบริเวณสถานที่ท่ีเราอาศัยเช่น ตน้ ไม้ แผ่นหิน แผ่นไม้ เป็นต้นมไี ลเคนเกิดขึ้น [4] ซึง่ แบง่ ประเภทลกั ษณะการเกิดขนึ้ ของไลเคนตามธรรมชาติที่ทนทานต่อระดบั มลภาวะ ไม่เท่ากนั ได้ 3 กลุม่ คือ อากาศดี ทนทาน และทนทานสูง แสดงดังรปู ท่ี 1 รูปท่ี 1 กลุ่มของไลเคนท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ, ท่ีมาของภาพ: นักสืบสายลม, สารวจไลเคน, ตัวบ่งช้ีคุณภาพ อากาศใน กทม, [5]



กจิ กรรม ขาดนา้ ไม่ได้ การทากิจกรรมของเราในชีวิตประจาวันน้ันต้องการน้าเป็นองค์ประกอบสาคัญ ไม่ว่าจะเป็นการ ล้างจาน ทาอาหาร ทาเคร่ืองดื่ม กิจวัตรประจาวันต่างๆ ล้วนต้องใช้น้าเปน็ ตัวช่วยไม่มาทางตรงหรือทางอ้อม กิจกรรมน้ีจะต้องทาเป็นกลมุ่ โดย ใหน้ กั เรียนจะได้รับบทบาทประจาตัวและและภารกิจทต่ี ้องทา ซึ่งจาเป็นต้องใชน้ าในการทาภารกิจซ่ึงจาเป็นจะต้องใช้น้าใน การทางานหรอื ภารกจิ คล้ายกบั เกมเศรษฐี ขนั้ ตอนการดาเนินกจิ กรรม 1. แบ่งกล่มุ นักเรียนให้เป็น 5 กลุม่ กลมุ่ ละไมเ่ กนิ 5 คน 2. อธิบายบทบาทของการเลน่ เกมสและวิธีการเล่นเกมส์ 3. สรปุ ขอ้ คดิ ท่ไี ดจ้ ากเกมสแ์ ละแลกเปลย่ี นความคิดเห็นกัน 4. ใชค้ าถามตอ่ ยอด ถงึ สงิ่ ทนี่ กั เรยี นยากจะทาต่อจากนี้ ในการอนุรักษน์ า้

บ้านท่ี 1 แสงตะวัน บ้านที่ 2 ภูดาว สมาชิกในบ้านจานวน 2 คน สมาชิกในบ้านจานวน 4 คน บา้ นที่ 3 รวงหญา้ บา้ นที่ 4 เมืองหนาว สมาชิกในบา้ นจานวน 4 คน สมาชิกในบา้ นจานวน 6 คน บา้ นที่ 5 ร่มเยน็ สมาชิกในบา้ นจานวน 10 คน

ภารกจิ 5 แต้ม ภารกจิ 5 แตม้ ทาสระปลา ทาสระว่ายนา้ ใช้น้า 7 คิว ใชน้ ้า 8 ควิ ภารกจิ 5 แต้ม ภารกจิ 5 แตม้ ทาสระวา่ ยนา้ ทาสระวา่ ยน้า ใช้นา้ 8 ควิ ใช้นา้ 8 คิว ภารกิจ 5 แต้ม ภารกจิ 5 แต้ม ทาสระว่ายน้า ทาสระปลา ใชน้ า้ 7 คิว ใชน้ ้า 8 ควิ

ภารกจิ 5 แตม้ ภารกจิ 5 แตม้ ทาสวนปาลม์ น้ามนั ทาสวนปาล์มนา้ มัน ใชน้ า้ 6 คิว ใชน้ า้ 6 ควิ ภารกิจ 5 แต้ม ภารกจิ 5 แต้ม ทาสวนปาลม์ น้ามนั ทาสวนปาลม์ น้ามนั ใช้นา้ 6 คิว ใช้นา้ 6 ควิ ภารกิจ 5 แตม้ ภารกิจ 5 แตม้ ทาสระปลา ทาสระปลา ใชน้ า้ 7 ควิ ใชน้ ้า 7 คิว

ภารกจิ 3 แต้ม ภารกิจ 3 แต้ม สรา้ งสวน 5 ไร่ สรา้ งสวน 5 ไร่ ใชน้ ้า 4 คิว ใช้นา้ 4 คิว ภารกิจ 3 แต้ม ภารกิจ 3 แต้ม สร้างสวน 5 ไร่ สร้างสวน 5 ไร่ ใชน้ ้า 4 ควิ ใชน้ า้ 4 ควิ ภารกิจ 3 แต้ม ภารกจิ 3 แต้ม สร้างโรงลา้ งรถ สรา้ งโรงลา้ งรถ ใช้นา้ 3 ควิ ใช้น้า 3 ควิ

ภารกจิ 3 แตม้ ภารกิจ 3 แตม้ สร้างโรงล้างรถ สร้างโรงลา้ งรถ ใช้นา้ 3 ควิ ใช้นา้ 3 คิว ภารกิจ 3 แต้ม ภารกิจ 3 แต้ม สรา้ งโรงซกั รีด สรา้ งโรงซกั รีด ใชน้ า้ 5 ควิ ใช้น้า 5 ควิ ภารกจิ 3 แตม้ ภารกจิ 3 แต้ม สรา้ งโรงซักรีด สรา้ งโรงซกั รดี ใชน้ ้า 5 คิว ใชน้ า้ 5 คิว

ภารกิจ 1 แตม้ ภารกจิ 1 แต้ม ปลกู ปา่ 1 ไร่ ปลูกปา่ 1 ไร่ ใช้น้า 2 ควิ ใช้น้า 2 คิว ภารกจิ 1 แต้ม ภารกจิ 1 แตม้ จัดการนา้ ในสวน ลา้ งลานหนา้ บ้าน ใชน้ า้ 2 คิว ใชน้ ้า 2 คิว ภารกิจ 1 แต้ม ภารกิจ 1 แต้ม ลา้ งลานหนา้ บ้าน ลา้ งลานหน้าบา้ น ใช้น้า 2 คิว ใช้น้า 2 คิว

ภารกจิ 1 แตม้ ภารกจิ 1 แต้ม ปลูกปา่ 1 ไร่ ซอื้ เคร่ืองกดน้าเยน็ ใช้นา้ 1 คิว ใช้นา้ 1 ควิ ภารกจิ 1 แต้ม ภารกิจ 1 แตม้ ซ้ือเคร่อื งกดน้าเยน็ ซอ้ื เครอื่ งกดนา้ เย็น ใชน้ า้ 1 คิว ใชน้ า้ 1 ควิ ภารกจิ 1 แต้ม ภารกิจ 1 แตม้ ปลูกปา่ 1 ไร่ ซื้อเคร่ืองกดนา้ เยน็ ใชน้ า้ 1 คิว ใช้นา้ 1 คิว

ภารกิจ 1 แต้ม ภารกิจ 1 แต้ม ปลกู ป่า 1 ไร่ เปดิ รา้ นอาหาร ใชน้ า้ 1 ควิ ใช้นา้ 2 ควิ ภารกิจ 1 แต้ม ภารกจิ 1 แตม้ ทานา้ พุตกแต่ง ทานา้ พตุ กแตง่ ใชน้ ้า 1 คิว ใช้น้า 1 คิว ภารกิจ 1 แตม้ ภารกิจ 1 แตม้ เปิดรา้ นอาหาร จดั การนา้ ในสวน ใชน้ า้ 2 ควิ ใชน้ า้ 2 ควิ

อปุ กรณ์เสริม อปุ กรณ์เสรมิ ขดุ บอ่ นา้ ใช้ 2 แตม้ ขุดบ่อนา้ ใช้ 2 แตม้ คุณสมบัติ ไดน้ า้ +2 ทกุ วัน คณุ สมบตั ิ ได้นา้ +2 ทุกวัน อปุ กรณเ์ สรมิ อปุ กรณ์เสรมิ ขุดบอ่ นา้ ใช้ 2 แตม้ ขดุ บอ่ นา้ ใช้ 2 แตม้ คณุ สมบตั ิ ได้น้า +2 ทกุ วัน คุณสมบตั ิ ไดน้ ้า +2 ทกุ วนั

อุปกรณเ์ สริม อปุ กรณ์เสรมิ ซ้อื ถงั เกบ็ น้า ใช้ 2 แตม้ ซื้อถังเกบ็ น้า ใช้ 2 แตม้ คุณสมบัติ เก็บนำ้ ไวไ่ ด้ไมเ่ กิน 5 คิว คุณสมบตั ิ เก็บนำ้ ไว่ได้ไมเ่ กิน 5 คิว อปุ กรณเ์ สรมิ อปุ กรณเ์ สริม ซอ้ื ถงั เก็บน้า ใช้ 2 แตม้ ซอ้ื ถังเกบ็ น้า ใช้ 2 แตม้ คณุ สมบตั ิ เก็บนำ้ ไว่ไดไ้ มเ่ กิน 5 คิว คุณสมบตั ิ เก็บน้ำไวไ่ ด้ไมเ่ กิน 5 คิว

อุปกรณเ์ สริม อปุ กรณ์เสรมิ ปรับปรุงท่อประปา ใช้ 3 แต้ม ปรบั ปรุงท่อประปา ใช้ 3 แตม้ คณุ สมบตั ิ ได้นำ้ เพิม่ ตำมจ้ำนวนคน คณุ สมบัติ ได้นำ้ เพิ่มตำมจ้ำนวนคน เมือ่ ประปำเปน็ ผจู้ ำ่ ยน้ำ เมื่อประปำเป็นผจู้ ำ่ ยนำ้ อปุ กรณเ์ สริม อปุ กรณ์เสรมิ ปรับปรุงท่อประปา ใช้ 3 แต้ม ปรบั ปรุงท่อประปา ใช้ 3 แต้ม คุณสมบัติ ได้นำ้ เพิม่ ตำมจ้ำนวนคน คุณสมบตั ิ ได้นำ้ เพิม่ ตำมจำ้ นวนคน เมื่อประปำเปน็ ผจู้ ำ่ ยน้ำ เมือ่ ประปำเปน็ ผจู้ ำ่ ยน้ำ

แหล่งมาของน้า แหล่งมาของนา้ ประปาหมบู่ า้ น บัดบัดน้าเสียจากบา้ นเรอื น ได้นา้ จานวนคน × 2 ควิ ไดน้ ้าจานวนคน × 1 คิว แหลง่ มาของนา้ แหลง่ มาของน้า หาบนา้ จากคลอง รองน้าฝน ไดน้ า้ 4 คิว ไดน้ า้ 6 ควิ

กิจกรรมกิจวตั รประจาวนั กิจกรรมกจิ วตั รประจาวัน อาบน้า เสียน้าคร่ึงของวัน ทาอาหาร เสียนา้ ไป 2 คิว กจิ กรรมกจิ วัตรประจาวนั กจิ กรรมกจิ วตั รประจาวัน ลา้ งจาน เสยี น้าไป 1 คิว ซกั ผ้า เสียนา้ ในถังเกบ็ นา้ คร่ึงหน่ึง



กจิ กรรม อย่าปล่อยน้าไป การกิจกรรมอย่าปล่อยน้าไปเก่ียวกับการอนุรักษ์น้า การดูแลคุณภาพน้าในชุมชนในกระบวนการสารวจตัวชี้วัดทาง ชีวภาพท่ีสามารถสารวจได้ในชุมชน ให้มีการวิเคราะห์สาเหตุที่มาของคุณภาพน้า วิธีการอนุรักษ์น้าหรือบาบัดคุณภาพให้ดี ขน้ึ กวา่ เดิม โดยใช้วิธีการธรรมชาตบิ าบดั เช่นการทาฝาย การปลกู พชื กรองน้า เป็นต้น ขั้นตอนการดาเนนิ กจิ กรรม 1. แบง่ นาเรียนเปน็ กลุม่ ตามความเหมาะสม 2. ให้ความรู้เก่ียวกบั ตวั บง่ ชตี้ ามธรรมชาติ 3. ลงมอื ปฏบิ ัตทิ าการสารวจและจาแนกประเภทเพื่อทาการบ่งบอกคุณภาพนา้ 4. สรุปคณุ ภาพน้าทที่ าการสาหรับ 5. ออกแบบวธิ ีการอนกุ ษน์ ้าท่สี ารวจตามจนิ ตนาการ 6. นาเสนอและแลกเปล่ยี นความรู้สึก










Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook